Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 1 คู่มือใช้ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง

เล่ม 1 คู่มือใช้ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง

Published by boonsong kanankang, 2019-10-01 04:03:17

Description: เล่ม 1 คู่มือใช้ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง

Search

Read the Text Version

คำชีแ้ จง หลักสูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ พุทธศักราช 2561 ได้ปรับปรุงเอกสารประกอบ หลักสูตรซ่ึงเรียกว่า เอกสารชุดการศึกษาด้วยตนเอง คู่มือการใช้ชุดการศึกษาด้วยตนเองเล่มน้ี เป็นเอกสาร เล่มที่ 1 ในจานวน 16 เลม่ ซึง่ ไดก้ าหนดไว้ 5 หนว่ ย ดังนี้ หนว่ ยที่ 1 ความเป็นมาและวตั ถุประสงคข์ องการอบรมครูเพื่อให้ได้รับวุฒบิ ตั รครูการศึกษาพิเศษ หน่วยที่ 2 หลกั สตู รการฝกึ อบรมครดู า้ นการสอนคนพกิ าร พุทธศกั ราช 2561 หนว่ ยที่ 3 แนวทางการจดั อบรมตามหลักสตู รการฝึกอบรมครดู า้ นการสอนคนพกิ าร พุทธศกั ราช 2561 หน่วยที่ 4 ชดุ เอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง (16 เลม่ ) หนว่ ยที่ 5 แนวทางการขอรบั เงินเพิม่ หรือค่าตอบแทนสาหรับตาแหน่งที่มเี หตุพิเศษของขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ ลกู จา้ งประจา และครูการศึกษาพเิ ศษอัตราจ้างชว่ั คราว เพ่ือให้ผู้ประสงค์จะเข้ารับการพัฒนาได้เข้าใจหลักสูตรและทราบแนวทางการดา เนินงานสาหรับการ พัฒนาตนเองให้มีคุณสมบัติตามเง่ือนไขที่กาหนด รวมท้ังเป็นข้อมูลสาหรับหน่วยจัดฝึกอบรมได้ทาความเข้าใจ กบั ผเู้ ขา้ รบั การอบรมในการพฒั นาตนเองตามทห่ี ลกั สตู รกาหนด ดังน้ัน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงควรศึกษาชุดศึกษาด้วยตนเอง เล่ม 1-16 ให้เข้าใจและ วางแผนพัฒนาตนเองใหม้ ีความพรอ้ มสาหรบั การพัฒนาตามขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. ศกึ ษาคาช้ีแจง และวางแผนการใชเ้ วลาในการศึกษาเอกสารท้ังหมด 2. ศึกษาสาระสาคญั จดุ ประสงค์ ขอบข่ายเนื้อหาแต่ละเล่มใหล้ ะเอียด 3. จดั ทาบันทึก สรปุ การศกึ ษาดว้ ยการเขียนสะทอ้ นคิดท่ีได้จากการศึกษาด้วยตนเอง 4. ศึกษาคน้ ควา้ และหาประสบการณจ์ ากแหลง่ ความรู้อืน่ ๆ เพิ่มเติม เนอื่ งจากชุดศกึ ษาด้วยตนเอง เป็นเพยี งส่วนหนึ่งทจ่ี ะทาใหผ้ ู้ศกึ ษามีความรู้พ้ืนฐานในบางด้าน แต่สาระการเรียนรู้มีปริมาณมากและมีการ ศึกษาวิจัยทสี่ รา้ งการเปลีย่ นแปลงขององค์ความรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง ซ่ึงชดุ ศึกษาดว้ ยตนเองแต่ละเลม่ ไดเ้ สนอแนะ แหล่งเรยี นรู้เพ่ิมเติมสาหรับการศึกษาค้นคว้า 5. ทบทวนสาระความรู้ต่าง ๆ ตามกรอบสาระของหลกั สตู รเพือ่ เตรียมตัวเขา้ รับการทดสอบ

สำรบัญ หนำ้ คำนำ คำชแี้ จง สำรบญั หน่วยท่ี 1 ความเป็นมาของการอบรมครเู พ่ือให้ไดร้ บั วฒุ ิบตั รครูดา้ นการสอนคนพกิ าร...............................1 หนว่ ยที่ 2 หลักสูตรการฝึกอบรมครดู า้ นการสอนคนพกิ าร พทุ ธศักราช 2561 ......................................... 6 หนว่ ยที่ 3 แนวทางการจดั อบรมตามหลกั สูตรการฝึกอบรมครูดา้ นการสอนคนพิการ พทุ ธศกั ราช 2561..................................................................................................................... 18 หน่วยที่ 4 ชุดเอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง...................................................................................................... 21 หน่วยที 5 แนวทางการขอรบั เงนิ เพิ่มหรือค่าตอบแทนสาหรบั ตาแหน่งทมี่ เี หตพุ เิ ศษของขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา และครูการศึกษาพิเศษ อัตราจา้ งชว่ั คราว..................................................................................................................... 37 บรรณำนุกรม.................................................................................................................................... 39 ภำคผนวก - ระเบยี บ ก.ค.ศ.วา่ ดว้ ยเงินเพ่มิ สาหรบั ตาแหน่งทม่ี ีเหตุพเิ ศษของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาที่ปฏบิ ตั หิ นา้ ทสี่ อนคนพิการ พ.ศ. 2556 - ระเบยี บคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการเกย่ี วกบั ค่าตอบแทนพเิ ศษ ครูทสี่ อนนักเรยี นพิการในโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2561 - ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เรอื่ ง ค่าตอบแทนสาหรับตาแหนง่ ที่มีเหตพุ ิเศษของ พนักงานราชการ พ.ศ. 2561 - ระเบียบ ก.พ. วา่ ดว้ ยเงนิ เพิ่มสาหรับตาแหนง่ ที่มีเหตุพเิ ศษของขา้ ราชการพลเรือน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2560 และ ประกาศ ก.พ. เรอ่ื ง กาหนดตาแหน่งและเงินเพมิ่ สาหรบั ตาแหน่งท่ีมีเหตพุ เิ ศษของ ข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560

1 หนว่ ยท่ี 1 ความเป็นมาของการอบรมครเู พอื่ ใหไ้ ดร้ บั วฒุ บิ ตั รครูดา้ นการสอนคนพิการ ความเปน็ มา การศึกษาพิเศษมีกาเนิดข้ึนในเมืองไทย เม่ือ พ.ศ. 2481 โดยมีการจัดตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดข้ึน เป็นแห่งแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการศึกแก่บุคคลท่ีมีความบกพร่องทาง การได้ยิน ปรากฏว่าเฉพาะผู้ริเร่ิมงานและครูใหญ่คนแรกเท่าน้ันที่ได้รับการศึกษาอบรมทางการสอนเด็กพิการ มาโดยเฉพาะ สว่ นครูคนอ่ืน ๆ น้ันได้รับการแนะนาวิธีสอนจากครูใหญ่ และเรียนจากประสบการณ์ด้วยตนเอง จึงมีครูจานวนหน่ึงปฏิบัติการสอนอยู่ได้ไม่นานต้องขอโอน ขอย้าย หรือลาออก ไปประกอบอาชีพอื่น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจากครูสอนคนพิการมิเคยได้รับการฝึกอบรมในหลักและวิธีการสอนคนพิการ ซึ่งมีลักษณะส่วนหน่ึงแตกต่าง จากการสอนเดก็ ปกติ ทาให้ครูท่ีขาดความรู้และประสบการณ์ทางานด้วยความยากลาบาก นอกจากน้ีครูยังต้อง มีความอุตสาหะ ความเพียรพยายามและความเมตตากรุณาอย่างสูงด้วย จึงจะสามารถทนต่อสภาพความพิการ และทุพพลภาพของนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการจึงเห็นความจาเป็นที่จะต้องฝึกอบรมครูสอนคนพิการ ให้มีความรู้ในการสอนและความพิการของนักเรียนของตนเอง แต่เนื่องจากยังขาดบุคลากรการดาเนินการ ขั้นแรกจึงส่งครูไปศึกษาอบรมและดูงานการศึกษาพิเศษจากต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และออสเตรเลยี ในปี พ.ศ. 2507-2510 กระทรวงศึกษาธิการได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิอเมริกันเพื่อช่วยเหลือ คนตาบอดโพ้นทะเล (American Foundation for Overseas Blind, Inc.) และองค์การทุนสงเคราะห์เด็ก แหง่ สหประชาชาติ (UNICEF) จดั ใหเ้ ด็กตาบอดเรียนร่วมกับเด็กปกติในชั้นเรียนท่ัวไป ในการดาเนินโครงการนี้ จาเป็นต้องมีการฝึกอบรมครูที่จะสอนเด็กตาบอดให้เข้าใจวิธีการท่ีถูกต้องเพื่อให้สามารถช่วยเหลือเด็กตาบอด ใหเ้ รียนรแู้ ละดารงชีวิตอย่างมปี ระสิทธิภาพเหมอื นกบั คนทั่วไปมากทส่ี ดุ ปี พ.ศ. 2508 ได้อบรมครูสอนคนตาบอดเป็นรุ่นแรกที่วิทยาลัยครูสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร ผู้เข้ารบั การอบรมมีจานวน 10 คน ผเู้ ขา้ รับการอบรมเป็นครูที่เคยทาการสอนเด็กพิการมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี มีวุฒิ ป.กศ. สูงหรือเทียบเท่า ซึ่งสังกัดกรมต่าง ๆ ในกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนการอบรมรุ่นท่ี 2 เป็นครูสังกัด กรมสามญั ศึกษา จานวน 10 คน การอบรมทั้งสองรุ่นใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรครูสอนคนตาบอด (หลักสูตร 1 ป)ี พุทธศกั ราช 2508 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในระหว่างการดาเนินการฝึกอบรมครูสอน คนตาบอดอยู่นั้น กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอ ก.พ. ขอกาหนดอัตราเงินเดือน และ ก.พ. พร้อมท้ัง กระทรวงการคลังได้อนุมัติ ใหเ้ พ่ิมเงนิ ประจาตาแหน่งแกค่ รสู อนคนตาบอดและเงินเพิ่มพเิ ศษ ดังนี้ “ครูที่สาเร็จหลักสูตรประกาศนียบัตรครูสอนเด็กตาบอดพุทธศักราช 2508 ของกระทรวงศึกษาธิการ” จะไดร้ ับสิทธิดังน้ี 1. อัตราเงินเดือนประจา ตามที่กาหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา และ กฎ ก.พ. ตามตาแหน่งและวุฒิเดิม ในขณะทเ่ี ข้ารับการฝึกอบรมตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรครสู อนเดก็ ตาบอด

2 2. เงินเพิ่มพิเศษ ในขณะที่ทาการสอนเด็กตาบอดเดือนละ 100 บาท และเมื่อได้ทาการสอนเด็กตาบอด ตดิ ต่อกนั เปน็ เวลา 10 ปีบริบูรณ์ ให้ได้รับเงินเพิ่มพิเศษเดือนละ 150 บาท แต่เมื่อพ้นหน้าที่ครูสอนเด็กตาบอดแล้ว ใหห้ มดสทิ ธิได้รับเงนิ เพิ่มพิเศษ หากยา้ ยไปท่อี นื่ จะงดให้เช่นกนั โดยใหจ้ ่ายควบกบั เงินเดอื น ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ร่างหลักสูตรฝึกอบรมครูสอนเด็กพิการอีก 3 ฉบับ คือ ครูสอน เด็กหูหนวก ครูสอนเด็กร่างกายพิการทางแขน ขา และลาตัว และครูสอนเด็กปัญญาอ่อน เป็นหลักสูตร 1 ปี เช่นเดียวกับหลักสูตรประกาศนียบัตรครูสอนคนตาบอด พ.ศ. 2508 เพื่อใช้ฝึกอบรมครูสอนเด็กพิการ 3 ประเภท โดยมีความมุ่งหมายให้ได้รับเงินเพิ่มประจาตาแหน่งเช่นเดียวกับครูสอนคนตาบอด แต่เนื่องจาก ความไมพ่ ร้อมและเหตขุ ัดข้องบางประการ หลักสตู รดงั กลา่ วน้ีจึงยังมิไดน้ ามาใช้ ต่อมา เดือนมีนาคม 2514 นายอภัย จันทวิมล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เห็น ความสาคัญและจาเป็นท่ีต้องมีการฝึกอบรมครูการศึกษาพิเศษและขอให้ ก.พ. พิจารณากาหนดเงินเพ่ิมพิเศษ จากหลักสูตรฝึกอบรมนั้น ทั้งได้พิจารณาเห็นว่าถ้าใช้หลักสูตรเดิมซ่ึงมีกาหนดเวลา 1 ปี จะทาความลาบาก ให้แก่โรงเรียนและนกั เรียน จึงพิจารณาปรับปรงุ หลกั สูตรจากเดิมเป็นหลักสูตรเฉพาะกาลใช้เวลาเพียง 4 เดือน คือให้มีการฝึกอบรมไม่ต่ากว่า 180 ชั่วโมง โดยแบ่งเป็นภาคทฤษฎีไม่ต่ากว่า 70 ช่ัวโมง และภาคปฏิบัติ ไม่ต่ากว่า 110 ช่ัวโมง หลักสูตรนี้ใช้เฉพาะครูประจาการซึ่งเคยทาการสอนคนหูหนวกมาแล้ว และเป็นผู้มีวุฒิ ไมต่ า่ กว่าประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษา (ป.กศ.) หรอื ประกาศนยี บตั รประโยคมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายอาชีพ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอโครงการฝึกอบรมครูและพัฒนาหลักสูตรสอน คนพิการ รวม 4 ประเภท คือ ครูสอนคนหูหนวก ครูสอนคนตาบอด ครูสอนคนปัญญาอ่อน และครูสอน คนรา่ งกายพกิ าร แขน ขา และลาตัว พรอ้ มท้งั รา่ งระเบียบวา่ ด้วยเงินเพิม่ เตมิ ประจาตาแหน่งสาหรับข้าราชการ พลเรือนและลูกจ้าง ซึ่งดารงตาแหน่งครูสอนคนพิการ พ.ศ. 2514 ไปยัง ก.พ. ในวันจันทร์ท่ี 20 ตุลาคม พ.ศ. 2514 และไดใ้ ชช้ ื่อหลักสูตรการอบรมคนพิการประเภทต่าง ๆ วา่ “ครกู ารศกึ ษาพิเศษ” ปี พ.ศ. 2516 ได้จัดอบรมครู 2 รุ่น รุ่นแรก เป็นครูสอนคนหูหนวก รุ่นที่สองเป็นครูสอนคนตาบอด ปี พ.ศ. 2518 ได้แก้ไขหลักสูตรการฝึกอบรมครูการศึกษาพิเศษเพ่ือให้ครูมีความรู้ความเข้าใจอันเป็นพื้นฐาน ในทุกแขนงวิชาการศึกษา และสามารถทาการสอนเด็กพิการประเภทต่าง ๆ ได้ และใช้ช่ือการอบรมเป็น “การอบรมครูการศึกษาพิเศษ”และใช้ฝึกอบรมเร่ือยมาโดยปรับเป็นหลักสูตรฝึกอบรมเข้ม 45 วัน และฝึก ปฏบิ ตั ิงานในสถานศึกษาท่ปี ฏบิ ัติงานเป็นเวลา 1 ปีการศึกษา โดยให้ผู้รับการอบรมจัดทาเอกสารประกอบการ อบรม จานวน 2 ชิ้น และได้รับการกากับ ติดตาม ประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา อย่างน้อย 2 คร้งั ใน 2 ภาคเรียน ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ได้มีการแก้ไขและปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมครูการศึกษาพิเศษ เพ่ือให้มี ความเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ในการขยายการอบรมให้กว้างขวางมากขึ้น การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ครั้งนี้สืบเนื่องจากสถานที่การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการเปล่ียนแปลง นับตั้งแต่ พระราชบัญญัติการฟ้ืนฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 ซึ่งคนพิการได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการมาจนกระทั่ง พ.ศ. 2540 มีรัฐธรรมนูญของประเทศไทยฉบับของประชาชน ได้กาหนดการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ทาให้คนพิการ ได้รับสิทธิประโยชน์จากบริการที่รัฐต้องจัดให้เท่าเทียมกับคนปกติทั่วไป และมีพระราชบัญญัติการศึกษา

3 แห่งชาติ พ.ศ. 2542 บังคับให้รัฐต้องจัดการศึกษาให้เด็กพิการผู้ยากไร้ ผู้มีความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ หรือสังคม ตลอดจนผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ให้ได้รับการศึกษาโดยทั่วถึง ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดแผนพัฒนาคนพิการทอ่ี ย่ใู นวยั เรียนไว้หลายดา้ น เช่น การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาพิเศษ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนส่ือ อุปกรณ์ ส่ิงอานวยความสะดวก ต่าง ๆ สาหรับคนพิการเป็นเป้าหมายสาคัญอย่างหนึ่ง ท่ีต้องดาเนินการโดยเร่งด่วนเพื่อให้สามารถดารงชีวิต ร่วมกับคนทั่วไปได้อย่างปกติสุข ในปี พ.ศ. 2544 กรมสามัญศึกษาได้ขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กพิการ เข้าเรยี นรว่ มในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาท่ัวประเทศ และได้พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาพิเศษข้ึน โดยการฝึกอบรมครูตามหลักสูตรฝึกอบรมครูการศึกษาพิเศษ พุทธศักราช 2517 (ปรับปรุงพุทธศักราช 2544) กระทรวงศึกษาธิการ ไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง ซึ่งมีวิธีการศึกษาชุดศึกษาด้วยตนเอง จานวน 15 เล่ม และนา ความร้ทู ไ่ี ดม้ าสอบภาคความร้พู ืน้ ฐานเกย่ี วกับการศึกษาพิเศษ หากผู้สมัครเข้าอบรมสอบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จะคิดเป็นผู้ที่สมัครเข้าอบรมมีความรู้พ้ืนฐาน 120 ช่ัวโมง สาหรับผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ดังกล่าว จะได้รับการ อบรมเข้มวชิ า การศึกษาพเิ ศษเฉพาะทาง และฝกึ ปฏบิ ตั ิไมน่ ้อยกว่า 80 ช่ัวโมง และจัดทาเอกสารประกอบการ อบรม จานวน 2 ช้ิน พร้อมท้ังได้รับการกากับ ติดตาม ประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา อย่างน้อย 2 คร้ัง ใน 2 ภาคเรียน หลักสูตรดังกล่าวได้นาไปใช้เพ่ือพัฒนาครู บุคลากร ทั้งในโรงเรียนเฉพาะ ความพิการ และโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วมจนถึงปี พ.ศ. 2551 เมื่อพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับ คนพิการ พ.ศ. 2551 ประกาศใช้ ได้บัญญัติมาตรา ๒๙ ให้ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาท่ีผ่านการอบรม วุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษตามหลักสูตรที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอนุมัติ กอ่ นการประกาศใชพ้ ระราชบัญญัติน้ีเป็นครูการศึกษาพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ พร้อมทั้งระบุในบทเฉพาะกาลว่า “ภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับให้ผู้ที่ผ่านการอบรมวุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษตาม หลักสูตรที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอนุมัติ มีสิทธิได้รับแต่งต้ังเป็นครูการศึกษา พิเศษตามพระราชบัญญัติน้ี” ทาให้การพัฒนาครูการศึกษาพิเศษตามหลักสูตรที่ปรับปรุงปี พ.ศ. 2544 หยดุ ชะงกั ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้มีการทบทวนหลักสูตรและเง่ือนไขต่างๆ ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พร้อมท้ังได้สารวจความต้องการของครูในโรงเรียนเฉพาะ ความพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ และโรงเรียนท่ีจัดการเรียนร่วม ซึ่งมีความต้องการให้มีการจัดอบรมจานวน มาก ในช่วงปี 2557-2560 สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้ประชุมร่วมกับคณะกรรมการจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงหลักสูตรครูสอนการศึกษาพิเศษ พทุ ธศักราช 2544 และเอกสารชุดศึกษาด้วยตนเอง ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาการและ กฎหมาย และระเบียบ ก.ค.ศ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาทปี่ ฏิบตั ิหน้าที่สอนคนพิการ พ.ศ. 2556 ไดป้ ระกาศใช้เม่ือวันที่ 13 มิถุนายน 2556 และนาเสนอ ต่อ ก.ค.ศ. และได้มีการเปลี่ยนช่ือหลักสูตรมาเป็นหลักสูตรการฝึกอบรมครูสอนคนพิการ พุทธศักราช 2561 โดยมีการปรับปรุงการจัดฝึกอบรมให้มีความเข้มข้นทั้งด้านทฤษฏีและภาคปฏิบัติ คือผู้เข้ารับการอบรมจะต้อง ไดร้ บั การพัฒนาภาคทฤษฎีไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง โดยการศึกษาชุดเอกสารด้วยตนเอง จานวน 16 เล่ม และ

4 แหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ จานวน 120 ชั่วโมง และนาความรู้ท่ีได้มาสอบภาคความรู้พื้นฐานด้านการจัดการศึกษา สาหรับคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ หากผู้สมัครเข้าอบรมสอบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จะ ได้รับการอบรมเข้มวิชาความรู้เฉพาะประเภทความพิการ จานวน 80 ช่ัวโมง และในภาคปฏิบัติ ต้องฝึก ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน หรือ 160 ช่ัวโมง รวมทั้งจัดทาผลงานทางวิชาการ จานวน 2 รายการ พร้อมทัง้ ไดร้ ับการกากบั ติดตาม ประเมินผลการฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาอย่างน้อย 2 ครง้ั เป้าหมาย เป้าหมายในการฝึกอบรมตามหลักสูตร ได้แก่ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติหน้าที่ สอนคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ตามประเภทของคนพิการท่ีกาหนดไว้ในประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง “กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552” ในสถานศกึ ษาทุกสงั กัด โดยมีคุณสมบัติ ดงั นี้ คณุ สมบตั ิของผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือนักวิชาชีพ ที่ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่สี อนคนพกิ ารหรอื ผู้เรยี น ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษในสถานศกึ ษาท้ังของรฐั และเอกชน 2. เปน็ ผสู้ าเร็จการศกึ ษาต้ังแตร่ ะดบั ปรญิ ญาตรขี ึ้นไป ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการฝึกอบรม ในการฝกึ อบรมคร้ังน้ีใช้เวลาทง้ั ส้นิ 1 ปี ประกอบด้วยการฝกึ อบรม 2 สว่ น คอื 1. ภาคทฤษฎี ประกอบด้วย การศกึ ษาเนื้อหาความรู้พ้ืนฐานด้านการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ หรอื ผูเ้ รียนท่ีมีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษแต่ละประเภทด้วยตนเอง และ การอบรมเข้ม รวมทั้งสิ้น 200 ช่ัวโมง 2. ภาคปฏิบัติ 2.1 ฝึกปฏิบตั ิการสอน 1 ภาคเรียน 2.2 จัดทาผลงานทางวชิ าการด้านการศึกษาพเิ ศษ และจดั ทารายงานการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น - รายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน จานวน 1 เรือ่ ง - รายงานผลงานทางวชิ าการอ่นื เชน่ รายงานโครงการท่เี ก่ียวข้องกับการพฒั นา การเรียนการสอน การพัฒนาสื่อ นวตั กรรม การเขยี นหรือแปลบทความ ความรู้เกยี่ วกับการศกึ ษาพเิ ศษ เปน็ ตน้ จานวน 1 เร่อื ง 2.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมสัมมนาวิชาการ จุดมุ่งหมาย 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจหลักการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนท่ี มีความต้องการจาเป็นพิเศษ การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดชั้นเรียน การวัดและประเมินผล การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก บริการ

5 และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการ จาเปน็ พิเศษแตล่ ะประเภท 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีเจตคติที่ดีและถูกต้องเกี่ยวกับคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ แต่ละประเภท เข้าใจปรัชญาความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่ือว่าคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ทกุ คน สามารถพฒั นาได้เต็มศักยภาพ 3. เพ่ือใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเป็นครูผู้สอนคนพิการหรือผู้เรียน ที่ มคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ มคี วามกระตอื รือร้นในการศึกษา คน้ คว้าวิจยั หาความรู้ในการพัฒนากระบวนการ เรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างตอ่ เนื่อง 4. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม นาผลการพัฒนาคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ที่ได้จากการฝึกอบรมภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มาจัดทารายงาน สะสมผลงาน และต่อยอดองค์ความรู้ ดา้ นการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารหรือผู้เรยี นทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ บั 1. ผู้ผ่านการอบรม ครู ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาพิเศษมีแหล่งความรู้ สาหรับศึกษา คน้ ควา้ และพฒั นางานใหม้ ีความก้าวหน้า 2. เป็นแนวทางสาหรับครูและผูเ้ กย่ี วขอ้ งใชใ้ นการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ บริการ ต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ แตล่ ะประเภท ในบริบททเ่ี ปลยี่ นแปลง 3. เป็นการปรับความรู้พ้ืนฐานด้านการศึกษาพิเศษแก่ครูและบุคลากรอื่นที่เก่ียวข้อง ให้สามารถสอน คนพิการหรอื ผู้เรยี นทมี่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษแตล่ ะประเภท รวมทง้ั พฒั นาต่อยอดการศึกษาพิเศษต่อไป 4. ทาให้เกิดพลวัตทางการศึกษาพิเศษสาหรับหน่วยงานต่างๆ ได้นาไปศึกษา ค้นคว้า พัฒนาการ จัดบริการตา่ ง ๆ ทีเ่ หมาะสมและตรงกับความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษของผ้รู บั บรกิ าร

6 หนว่ ยที่ 2 หลักสตู รการฝกึ อบรมครดู ้านการสอนคนพิการ พุทธศกั ราช 2561 หลักสูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ พุทธศักราช 2561 ได้ปรับปรุง จากหลักสูตร การฝึกอบรมครูสอนการศกึ ษาพิเศษ กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2544 มีองค์ประกอบ และสาระสาคัญ ดงั ต่อไปนี้ หลกั การของหลักสตู ร คนพิการเป็นทรัพยากรมนุษย์กลุ่มหน่ึงของสังคม ท่ีหากได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างถูกต้อง และเปน็ ระบบ จะสามารถพฒั นาให้มศี ักยภาพ มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพ พึ่งพาตนเอง และ สร้างสรรค์สังคมได้เช่นเดียวกับคนท่ัวไป การพัฒนาคนพิการท่ีสาคัญอย่างหน่ึงคือการให้การศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทุกด้านอย่างเต็มศักยภาพ โดยครูและบุคลากรทางการศึกษาพิเศษจัดว่าเป็นหัวใจสาคัญ ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาสาหรับคนพิการหรือที่ทางการศึกษาเรียกว่า ผู้เรียนที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษ ดังนั้นครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีจัดบริการทางการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษจึงจาเป็นต้องมีองค์ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ท่ีส่งเสริมศักยภาพของคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ วิเคราะห์ผู้เรียนและเข้าใจ ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล ปรบั กระบวนการเรียนรู้ และเลือกใช้เทคโนโลยี สื่อ สิ่งอานวยความสะดวก บริการ และ ความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษาทส่ี อดคล้องต่อความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษของผู้เรียนแต่ละบุคคล จึงได้มีการ พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ เพ่ือใช้ในการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการ จาเปน็ พิเศษขึน้ การฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ เป็นการพัฒนาครูระหว่างการปฏิบัติงานสอน เพ่ือเพ่ิมสมรรถนะ ให้ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีทักษะชีวิต และประกอบอาชีพอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เสมอภาค และสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยมุ่งให้ความรู้ ความเข้าใจ และวิทยาการใหม่ ๆ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ แกค่ รูสอนคนพิการหรอื ผเู้ รยี นท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มุ่งเนน้ ใหม้ ีการฝึกปฏิบัติจริงระหว่างการฝึกอบรม ได้รับการนิเทศ กากับติดตาม และประเมินผล จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้เกิดการพัฒนา อย่างตอ่ เน่อื ง นาไปสู่การจดั การศกึ ษาท่สี อดคลอ้ งต่อความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของแต่ละบคุ คล หลกั สตู รการฝกึ อบรมครูด้านการสอนคนพิการ กาหนดให้ผู้เข้าอบรมศึกษาเอกสารประกอบหลักสูตร 16 เล่ม ทาแฟ้มสะสมงานเขียนสะท้อนคิดจากการศึกษาด้วยตนเอง และเข้ารับการทดสอบวัดความรู้พ้ืนฐาน เมื่อผ่านการทดสอบตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร จึงจะเข้ารับการอบรมเข้ม.เพื่อเรียนรู้.แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ฝึกปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้สาหรับคนพิการหรือผู้เรียน ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษในสถานศึกษาที่ตนปฏิบัติงาน ซึ่งกาหนดเป็นการฝึกอบรมภาคปฏิบัติตาม

7 หลักสูตร ที่มีการนิเทศ กากับ และติดตาม โดยมีท่ีปรึกษาให้คาชี้แนะ เกิดความม่ันใจในการจัดกระบวนการ เรยี นรใู้ ห้กับผ้เู รียนได้ หลักสูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การพัฒนา หลักสูตรอบรมครูสอนการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2544 ใน พ.ศ. 2551 (คร้ังท่ี 1) พ.ศ. 2556 (คร้ังที่ 2) และการพัฒนาหลักสูตรฉบับปัจจุบัน เพ่ือปรับเน้ือหาสาระในการ ฝกึ อบรมให้สอดคล้องกับวิทยาการที่ก้าวหน้าและองค์ความรู้ท่ีเกิดข้ึนใหม่.ซ่ึงในกระบวนการฝึกอบรมได้มีการ ปรับเปล่ียนให้ส่วนราชการเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมเข้ม เพ่ือพัฒนาศักยภาพ และสมรรถภาพการจัด การศึกษาสาหรบั คนพิการหรอื ผ้เู รียนทีม่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษท่ีมปี ระสิทธภิ าพ จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียน ท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดชั้นเรียน การวัดและประเมินผล การจัดสภาพแวดล้อม เทคโนโลยี สื่อ สิ่งอานวยความสะดวก และ บริการอื่นใดทางการศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการของคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ แต่ละประเภท 2. เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมมีเจตคติที่ดีและถูกต้องเก่ียวกับคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ แต่ละประเภท เข้าใจปรัชญาความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่ือว่าคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ทุกคนสามารถพฒั นาไดเ้ ตม็ ศักยภาพ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเป็นครูผู้สอนคนพิการหรือผู้เรียน ที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ มคี วามกระตือรอื รน้ ในการศึกษา ค้นควา้ วิจัย หาความรู้ในการพัฒนากระบวนการ เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม นาผลการพัฒนาคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ที่ได้จากการฝึกอบรมภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มาจัดทารายงาน สะสมผลงาน และต่อยอดองค์ ความรู้ ดา้ นการจดั การศึกษาสาหรับคนพกิ ารหรือผู้เรยี นทีม่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ โครงสร้างหลักสตู รการฝึกอบรม หลักสูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ พุทธศักราช 2561.มีสาระสาคัญ 2 ส่วน คือ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนต้องผ่านการศึกษาภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการสอน ในสถานศกึ ษา รวมทั้งจดั ทาผลงานและเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลกั สตู รกาหนดมรี ายละเอยี ดดังน้ี

8 สาระการอบรม การประเมนิ ผล 1. ภาคทฤษฎี 1.1 การศกึ ษาเนื้อหาความรู้พ้ืนฐาน - งานเขียนสะท้อนคดิ 200 ชวั่ โมง ดา้ นการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ - ผา่ นการประเมินจากการทา 2. ภาคปฏิบตั ิ ภายใน หรือผู้เรยี นที่มคี วามต้องการจาเป็น แบบทดสอบ ไดค้ ะแนนร้อยละ 80 ขึน้ ไป 1 ปกี ารศึกษา พเิ ศษแต่ละประเภทดว้ ยตนเอง จงึ มีสทิ ธเิ ข้ารับการอบรมเขม้ จากเอกสาร 16 เล่ม 120 ช่วั โมง 1.2 การอบรมเขม้ 80 ชั่วโมง การวดั และประเมินผลระหว่างการอบรมเข้ม - หลกั การจดั การศึกษาสาหรับ ได้แก่ คนพกิ ารหรือผู้เรียนที่มคี วามต้องการ - ผ้เู ขา้ รบั การอบรมต้องมีเวลา จาเปน็ พิเศษ ฝกึ อบรมเขม้ ร้อยละ 80 ข้ึนไป - ความรเู้ ฉพาะตามประเภท - ผู้เขา้ รบั การอบรมต้องรับการทดสอบ ความพิการ ที่สอดคล้องกับ รายวชิ า ระหว่างการอบรม และปฏิบตั ิงาน การปฏบิ ตั ิงาน ตามที่รับมอบหมาย การศึกษาดูงาน และรับการทดสอบเม่ือส้ินสดุ การอบรม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป สาระการอบรม การประเมนิ ผล 2.1 ฝึกปฏิบัติการสอน 1 ภาคเรียน ผา่ นการประเมินโดยคณะกรรมการนเิ ทศ (ไมน่ ้อยกวา่ 160 ชั่วโมง) ตามเกณฑ์คุณภาพอย่างน้อย 2 ครง้ั 2.2 จัดทาผลงานทางวิชาการ จานวน มีผลงานผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์คุณภาพ 2 รายการ ท้ัง 2 รายการ 2.3 เข้าร่วมกิจกรรมสมั มนา ผา่ นการร่วมกจิ กรรมสัมมนา/ดูงาน 1. ภาคทฤษฎี การฝึกอบรมภาคทฤษฎี 200 ชั่วโมง ประกอบด้วยกิจกรรมการศึกษา 2 ส่วน คือ การศึกษาเน้ือหาความรู้ พื้นฐานด้านการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษแต่ละประเภท ด้วยตนเอง และการอบรมเข้ม มรี ายละเอียดดังนี้ 1.1 การศกึ ษาเน้อื หาความรู้พน้ื ฐานด้านการจดั การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารหรอื ผู้เรยี นท่ีมี ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษแต่ละประเภท ด้วยตนเอง (120 ช่ัวโมง) ผเู้ ขา้ รบั การอบรมตอ้ งศึกษาเอกสารการฝกึ อบรมตามหลักสูตร จานวน 16 เลม่ ดงั นี้ 1) คู่มือการใชช้ ดุ ศึกษาด้วยตนเอง 2) หลักการพ้ืนฐานทางการศึกษาพเิ ศษ 3) การจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารหรือผูเ้ รียนทม่ี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ 4) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

9 5) การจดั กิจกรรมฟื้นฟูศกั ยภาพคนพกิ ารหรือผู้เรียนทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ 6) การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น 7) การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางการเหน็ 8) การจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน 9) การจดั การศกึ ษาสาหรับบุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางสติปัญญา 10) การจดั การศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สุขภาพ 11) การจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ 12) การจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพดู และภาษา 13) การจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ 14) การจดั การศึกษาสาหรบั บคุ คลออทสิ ติก 15) การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลพิการซ้อน 16) การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม โดยผู้จัดการฝึกอบรมจัดทาเว็บไซต์เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการอบรม เพ่ืออานวย ความสะดวกให้ผู้รับการฝึกอบรมได้ศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมด้วยตนเอง เช่น ศัพท์เทคนิคทางการศึกษา เป็นต้น และเปิดโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และข้อคิดเห็นจากการอบรมให้เกิดความเข้าใจ ในทศิ ทางเดียวกัน ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีการจัดทางานเขียนสะท้อนคิดจากการศึกษาความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับ คนพิการหรือผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษทุกประเภทด้วยตนเอง และเข้ารับการทดสอบ โดยต้องมีผล การสอบผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ข้ึนไป จึงมสี ิทธเ์ ข้ารับการอบรมเขม้ ต่อไป 1.2 การอบรมเข้ม (80 ช่ัวโมง) ผู้ผ่านการทดสอบความรู้พื้นฐานเก่ียวกับคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ แต่ละประเภทด้วยตนเองตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป ตามที่หลักสูตรกาหนด สามารถเข้ารับการอบรมเข้ม ภาคทฤษฎีซึง่ มสี าระสาคัญในการอบรม 80 ชั่วโมง โดยแบง่ เปน็ 2 ส่วน คอื ส่วนท่ี 1 สาระสาคัญเกี่ยวกับหลักการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนที่มี ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ที่ครสู อนคนพิการทุกประเภทความพกิ ารต้องศึกษา จานวน 31 ช่วั โมง ส่วนท่ี 2 สาระสาคัญเก่ียวกับความรู้เฉพาะประเภทความพิการที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน จานวน 49.ชวั่ โมง ไดแ้ ก่ ความบกพรอ่ งทางการเห็น ความบกพร่องทางการได้ยิน ความบกพร่องทางสติปัญญา ความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ความบกพร่องทุกประเภทที่รับบริการในศูนย์ การศกึ ษาพเิ ศษ และความบกพร่องทกุ ประเภทในชัน้ เรียนรวม มีรายละเอียด ดงั น้ี

10 สว่ นท่ี 1 สาระสาคญั เก่ยี วกับหลกั การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมีความตอ้ งการ จาเปน็ พิเศษ ประเภท สาระสาคัญ ระยะเวลา (ชว่ั โมง) ทุกประเภท 1. ความรู้พืน้ ฐานการศกึ ษาพิเศษและการช่วยเหลอื ระยะแรกเร่ิม ความพิการ 2. การคดั กรองและความรเู้ กี่ยวกับคนพิการหรอื ผู้เรยี นที่มีความตอ้ งการ 3 จาเปน็ พิเศษทางการศึกษาแต่ละประเภท 3 3. การจัดการเรยี นรวม 4. การจดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized 3 Education Program: IEP) และแผนชว่ งเชอ่ื มต่อเฉพาะบุคคล 7 (Individaulized Transition Plan: ITP) แผนการสอนรายบุคคล (Individual Implementation Plan: IIP) แผนจัดบรกิ ารเฉพาะครอบครัว 3 Individualized Family Service Plan: IFSP) 5. สื่อ ส่งิ อานวยความสะดวก บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใด 6 ทางการศึกษาสาหรบั คนพกิ ารหรอื ผู้เรยี นที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ 6 6. แผนการชว่ ยเหลอื ทางพฤตกิ รรม (Behavioral Intervention Plan: BIP) 31 7. การวิจัยในชน้ั เรียน รวม

11 ส่วนที่ 2 สาระสาคัญเก่ียวกับความรู้เฉพาะประเภทความพิการ ทส่ี อดคลอ้ งกับการปฏิบตั งิ าน ประเภท สาระสาคัญ ระยะเวลา ความพกิ าร (ช่วั โมง) 2.1 ความ 1. ลักษณะ ข้อจากดั และความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของบคุ คล บกพร่อง ทีม่ ีความบกพร่องทางการเหน็ 1 ทางการเห็น 2. การประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐานบุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ 3 เปน็ รายบคุ คล 3. การเลอื กและปรบั ใชเ้ ทคโนโลยีสง่ิ อานวยความสะดวก ส่ือ บริการ 4 และความช่วยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษา สาหรับบุคคลทีม่ ีความบกพร่อง ทางการเหน็ ในโรงเรยี นเฉพาะความพิการและชนั้ เรยี นรวม 7 4. การวเิ คราะห์หลกั สตู รและการวางแผนการจัดทาแผนจดั การศกึ ษาเฉพาะ บุคคล การวัดและประเมนิ ผล 6 5. วธิ ีสอน/เทคนคิ การจดั การเรียนการสอนและการผลิตสอ่ื สาหรับบคุ คล 6 ท่มี ีความบกพร่องทางการเห็น 11 6. ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดลอ้ มและการเคลอื่ นไหว 5 7. การเขยี นอ่านอักษรเบรลล์ 6 8. การใชล้ ูกคิดสาหรบั คนตาบอด 49 9. การจัดการพฤตกิ รรมเชงิ บวก รวม

12 ประเภท สาระสาคัญ ระยะเวลา ความพิการ (ช่ัวโมง) 2.2 ความ 1. วิถชี ีวิตและวัฒนธรรมของบคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการได้ยิน บกพร่อง 2. การประเมินความสามารถพื้นฐานบุคคลที่มีความบกพรอ่ ง 3 ทางการ ทางการได้ยินเป็นรายบุคคล 3 ได้ยนิ 3. การเลือกและปรบั ใช้เทคโนโลยีส่งิ อานวยความสะดวก สือ่ บริการ และความชว่ ยเหลอื อ่ืนใดทางการศกึ ษา สาหรับบคุ คลท่ีมคี วามบกพร่อง 4 ทางการได้ยิน ในโรงเรยี นเฉพาะความพิการและชนั้ เรยี นรวม 4. การวเิ คราะห์หลกั สูตรและการวางแผนการจดั ทาแผนจัดการศึกษา 7 เฉพาะบคุ คล การวัดและประเมินผล 5. วธิ ีสอน/เทคนคิ การจัดการเรยี นการสอนและการผลติ สื่อสาหรบั 6 บคุ คลทมี่ ีความบกพร่องทางการได้ยนิ 6 6. การพฒั นาทักษะการส่ือสาร 14 7. ภาษามอื ไทย และภาษามืออเมรกิ ัน (American Sign Language: ASL) 6 8. การจดั การพฤตกิ รรมเชงิ บวก 49 รวม

13 ประเภท สาระสาคัญ ระยะเวลา ความพกิ าร (ชัว่ โมง) 2.3 ความ 1. ลกั ษณะ ขอ้ จากัด และความต้องการจาเปน็ พิเศษของบุคคล 1 บกพร่องทาง ทม่ี คี วามบกพร่องทางสติปญั ญา 6 สตปิ ญั ญา 2. การประเมนิ ความสามารถพื้นฐานบุคคลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา 4 เปน็ รายบคุ คล 7 3. การเลอื กและปรบั ใชเ้ ทคโนโลยสี ่ิงอานวยความสะดวก ส่อื บรกิ าร 10 15 และความช่วยเหลอื อืน่ ใดทางการศึกษา สาหรบั บุคคลทม่ี ีความบกพร่อง 6 49 ทางสติปัญญา ในโรงเรยี นเฉพาะความพกิ ารและช้นั เรียนรวม 4. การวเิ คราะห์หลกั สตู รและการวางแผนการจัดทาแผนจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล การวดั และประเมินผล 5. วธิ สี อน/เทคนิคการจดั การเรียนการสอนและการผลิตสื่อสาหรบั บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา 6. การสอนพฤตกิ รรมการปรับตวั (Adaptive Behavior) 7. การจดั การพฤติกรรมเชิงบวก รวม

ประเภทความ สาระสาคญั 14 พิการ ระยะเวลา (ชว่ั โมง) 2.4 ความ 1. ลักษณะ ข้อจากัด และความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของบุคคล 1 บกพร่องทาง ที่มคี วามบกพร่องทางรา่ งกาย หรอื การเคล่ือนไหว หรอื สขุ ภาพ 3 รา่ งกาย 2. การประเมนิ ความสามารถพืน้ ฐานของบคุ คลท่มี คี วามบกพร่อง 4 หรือการ ทางรา่ งกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสขุ ภาพ เปน็ รายบุคคล 7 เคล่ือนไหว 3. การเลือกและปรับใชเ้ ทคโนโลยสี ่งิ อานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร 6 หรอื สขุ ภาพ และความชว่ ยเหลอื อืน่ ใดทางการศกึ ษา สาหรบั บุคคลที่มีความบกพร่อง 3 ทางรา่ งกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรือสขุ ภาพ ในโรงเรียน 3 6 เฉพาะความพกิ ารและช้ันเรียนรวม 3 7 4. การวิเคราะหห์ ลกั สูตรและการวางแผนการจัดทาแผนจัดการศกึ ษา 6 49 เฉพาะบุคคล การวดั และประเมินผล 5. วิธีสอน/เทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนและการผลิตส่อื สาหรับ บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรอื สขุ ภาพ 6. การพฒั นาศักยภาพ (15 ชว่ั โมง) 6.1 การเคลื่อนไหว 6.2 การดูแลรักษาพยาบาล และส่งเสรมิ สขุ ภาพ 6.3 ทกั ษะการดารงชวี ิต 6.4 การพูดและภาษา 7. กายอปุ กรณ์ และการปรับสภาพแวดลอ้ ม 8. การจดั การพฤติกรรมเชิงบวก รวม

15 ประเภท สาระสาคัญ ระยะเวลา ความพิการ (ช่วั โมง) 2.5 ทกุ 1. บทบาทหน้าทข่ี องศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประเภท 2. หลักการและข้ันตอนการให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเร่ิม 3 ทีร่ บั บริการ (Early Intervention : EI) 3 ในศูนย์ 3. การประเมนิ ความสามารถพื้นฐานคนพิการหรือผเู้ รียนที่มี 12 การศกึ ษา ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ พเิ ศษ 4. การเลอื กและปรับใชเ้ ทคโนโลยีส่งิ อานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร 4 และความช่วยเหลอื อื่นใดทางการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผูเ้ รยี น ท่ีมีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษในโรงเรียนเฉพาะความพิการและช้นั เรียนรวม 7 5. การวิเคราะห์หลกั สูตรและการวางแผนการจดั ทาแผนจดั การศกึ ษา เฉพาะบคุ คล การจัดทาแผนบรกิ ารเฉพาะครอบครวั (Individualized 14 Family Services Plan : IFSP) และแผนการเช่ือมต่อ การวัดและ 3 ประเมินผล 3 6. วิธสี อน/เทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนและการผลิตส่อื สาหรบั คนพิการ 49 หรือผูเ้ รยี นทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ 7. การใหบ้ ริการการศึกษาภายใต้แนวคดิ การฟ้นื ฟคู นพกิ ารโดยชมุ ชน (Community Based Rehabilitation: CBR) 8. การส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรียนรวม รวม

16 ประเภท สาระสาคญั ระยะเวลา ความพิการ (ชว่ั โมง) 2.6 บุคคล 1. หลักการและกระบวนการชว่ ยเหลือคนพกิ ารหรือผเู้ รียนทมี่ ีความต้องการ 4 ทม่ี ีความ- จาเปน็ พเิ ศษเรียนรวม 6 บกพร่อง 2. ลักษณะและความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของคนพิการหรือบคุ คล 6 6 ในช้นั เรยี น- ทีม่ ีความบกพร่องไมร่ ุนแรง บุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ 6 รวม ออทิสตกิ สมาธสิ ั้น พฤติกรรมและอารมณ์ และผ้เู รียนท่ีมภี าวะเสย่ี ง 12 ตอ่ การลม้ เหลวในการเรียน 9 49 3. การคัดกรอง การประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐาน และการวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น 4. การวิเคราะหห์ ลักสูตรและการวางแผนการจดั ทาแผนจัดการศึกษา เฉพาะบคุ คล 5. การเลือกและปรับใช้เทคโนโลยสี ง่ิ อานวยความสะดวก สอ่ื บริการ และความช่วยเหลอื อืน่ ใดทางการศึกษา สาหรับผู้เรยี นในโรงเรยี นเรยี นรวม 6. วิธกี าร เทคนิคการจดั การเรยี นรู้ในชนั้ เรยี นรวม 7. การจัดการพฤตกิ รรมเชิงบวก รวม 2. ภาคปฏิบัติ ในการอบรมภาคปฏบิ ัติ ผู้เขา้ อบรมต้องฝึกปฏิบัติ 3 สว่ น ดังน้ี 2.1 การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องนาหลักการ ทฤษฎี และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไปปฏิบตั ิการสอน ณ สถานศึกษาของผ้เู ข้ารบั ฝกึ อบรมภายหลงั การฝึกอบรมภาคทฤษฎีแล้ว กาหนดระยะเวลา ไมต่ า่ กว่า 1 ภาคเรียน แต่ไม่เกนิ 2 ภาคเรยี น โดยปฏบิ ัตดิ ังนี้ 2.1.1.โรงเรียนกาหนดชั้นเรียนให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติการสอนคนพิการหรือผู้เรียน ที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษแตล่ ะประเภทตามทเี่ ข้ารับการอบรม 2.1.2 ผู้รับการอบรมจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Plan: IEP) และแผนการสอนรายบุคคล (Individualized Implementation Plan: IIP) ให้นักเรียนอย่างน้อย 1 ราย 2.1.3 ผู้รับการอบรมนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และแผนการสอนตามข้อ 2.1.2 ไปปฏบิ ตั ิจรงิ ในชนั้ เรียน

17 2.1.4 ผรู้ บั การอบรมรับการช้ีแนะ ประเมิน และตรวจสอบการปฏิบัติการสอนและจัดทาเอกสาร ท่ีเก่ยี วข้องจากผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรอื คณะกรรมการการจดั อบรมอยา่ งน้อย 2 ครงั้ 2.2 การจัดทาผลงานทางวิชาการ 2 รายการ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมทกุ คนจะตอ้ งทาผลงานทางวชิ าการด้านการศึกษาพเิ ศษ จานวน 2 เรอ่ื ง ดังรายการต่อไปนี้ 2.2.1 รายงานการวจิ ัยในช้ันเรียนทางการศึกษาพิเศษ 2.2.2 รายงานผลงานทางวิชาการทางการศึกษาพเิ ศษอน่ื ๆ 2.3 การเขา้ รว่ มกจิ กรรมสัมมนา ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมต้องเข้าร่วมการสัมมนาทางวชิ าการ 1 ครัง้ เป็นระยะเวลา 1-2 วัน ตามท่คี ณะกรรมการจดั การอบรมกาหนด การวดั และประเมินผลตามหลกั สูตร วิธีการ 1. การวัดและประเมนิ ผลจากการทาแบบทดสอบความรู้ การศกึ ษาดว้ ยตนเองในเอกสารทห่ี ลักสูตร กาหนดร้อยละ 80 ขึน้ ไป 2. การวดั และประเมินผลจากแฟ้มสะสมงานเขียนสะท้อนคิดทไี่ ดจ้ ากการศึกษาชุดเอกสารศกึ ษา ด้วยตนเอง 16 เลม่ ตามเกณฑ์ที่กาหนด 3. การวัดและประเมินผลระหวา่ งการอบรมเข้ม ไดแ้ ก่ การสงั เกต การเข้ารับการฝึกอบรม การตรวจสอบผลงาน/ช้นิ งานและการทดสอบ 3.1 ผู้เข้ารบั การอบรมตอ้ งมเี วลาฝึกอบรมเขม้ รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป 3.2 ผู้เข้ารบั การอบรมตอ้ งรับการทดสอบและผ่านเกณฑก์ ารประเมินความรูภ้ าคทฤษฎีระหว่าง และหลังการอบรมเข้มร้อยละ 80 ขึ้นไป 4. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏิบัติ ประเมินจาก 4.1.ผลปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน แต่ไม่เกิน 1 ปีการศึกษา ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 80 ขนึ้ ไปโดยมีคณะกรรมการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลของหน่วยจัดฝึกอบรม.อย่างน้อย 2 ครัง้ 4.2 การประเมินผลงานทางวิชาการ โดยการจัดทารายงานวิจัยในช้ันเรียน 1 เร่ือง และการจัดทา รายงานผลงานทางวิชาการอื่นๆ เชน่ รายงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เป็นตน้ 1 เรอื่ ง โดยมคี ุณภาพงาน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 ข้ึนไป ทง้ั สองรายการ 5. การวัดและประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการ ต้องเขา้ รว่ มทุกคน

18 หนว่ ยท่ี 3 แนวทางการจัดอบรมตามหลกั สตู รการฝกึ อบรมครดู ้านการสอนคนพกิ าร พุทธศกั ราช 2561 การจัดอบรมหลกั สูตรการฝึกอบรมครดู ้านการสอนคนพิการ พุทธศักราช 2561 กาหนดให้หน่วยท่ีจัด อบรม ต้องดาเนินการดงั น้ี 1. แต่งต้งั คณะกรรมการจัดการอบรม กาหนดปฏิทินปฏิบตั งิ านตามเงอ่ื นไขของหลักสตู ร ประชาสัมพนั ธก์ ารจดั อบรม 2. รับสมคั รผเู้ ขา้ รับการอบรม โดยประสานงานกบั สถานศึกษา สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษา เขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ 3. กาหนดปฏทิ ินและตารางการอบรมตามลาดับ คือ 3.1 กาหนดปฏทิ ินให้ผู้เขา้ รับการอบรมศึกษาชุดเอกสารการศึกษาดว้ ยตนเอง 3.2 กาหนดใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมรับการทดสอบจากการศึกษาชุดเอกสารด้วยตนเอง 3.3 ประกาศผลการทดสอบโดยกาหนดให้ผู้ทีส่ อบผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80 รายตวั ณ หน่วยฝึกอบรม 3.3 กาหนดตารางการอบรมตามหลกั สตู ร 3.4 ดาเนินการฝึกอบรมตามตารางทีก่ าหนด และกากบั ให้การอบรมเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของหลักสตู ร 4. การประเมนิ ผลหลงั การอบรมเขม้ ใหห้ นว่ ยจัดอบรมดาเนนิ การทดสอบผูเ้ ข้ารบั การอบรมพร้อมทง้ั แจ้งผลและมอบหมายงานรวมทง้ั ปฏิทินการนเิ ทศ ติดตาม แกผ่ ูเ้ ข้าอบรม 5. การนิเทศตดิ ตามและการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิการสอน กาหนดให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมจัดทา แผนการ จดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล แผนการสอน ปฏิบตั ิการสอน โดยให้มีคณะกรรมการนเิ ทศตดิ ตามภาค เรียนละ 1 คร้งั รวมทงั้ ติดตามความก้าวหนา้ การจัดทาผลงานทางวิชาการสองรายการ 6. การจัดสัมมนาให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรม กาหนดใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมไดเ้ ข้าร่วมสมั มนาเพื่อแลกเปลย่ี น เรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั งิ านและการพัฒนาผลงาน/ช้ินงานเม่ือสน้ิ สุดการนิเทศครง้ั ท่ี 2 7. หน่วยจัดการอบรม รวบรวมข้อมลู จากการประเมนิ ผล และประมวลผลตัดสนิ ตามเกณฑ์ ท่ีกาหนด รวมทง้ั จัดทาแบบบันทึกการประเมินผลผเู้ ขา้ รบั การอบรม เสนอชื่อผูผ้ ่านเกณฑ์ขอรบั วฒุ บิ ตั รจาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 8. หนว่ ยจัดอบรมจดั ทาสรปุ และรายงานผลการอบรมต่อสานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

19 กระบวนการและข้ันตอนการปฏบิ ัตขิ องผปู้ ระสงคเ์ ขา้ รับการอบรม หลกั สตู รการฝกึ อบรมครูดา้ นการสอนคนพิการ พทุ ธศกั ราช 2561 การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามหลกั สูตรการฝึกอบรมครูด้านการสอนคนพิการ พทุ ธศกั ราช 2561 มีกระบวนการและข้ันตอนสาหรบั หนว่ ยจัดอบรมและผปู้ ระสงคจ์ ะเข้ารับการพัฒนาเพื่อรบั วฒุ บิ ัตรครดู ้านการสอนคนพิการนัน้ จะต้องดาเนนิ การตามลาดับท้งั 3 ข้นั ตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : ภาคความรพู้ ้ืนฐานเกยี่ วกบั การศกึ ษาพิเศษ ผู้สมัครเข้ารับการฝกึ อบรมทกุ คนจะตอ้ งศกึ ษาชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง จานวน 16 เล่ม รวมทง้ั ศกึ ษาจากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ และเข้ารับการทดสอบความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ หากสอบผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80 จงึ จะมีสทิ ธเิ ขา้ อบรมเขม้ ในขัน้ ตอนท่ี 2 ข้นั ตอนท่ี 2 : การอบรมครูด้านการสอนคนพิการภาคทฤษฎี ผ้เู ขา้ อบรมจะเข้าอบรมหลักการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ ารหรือผูเ้ รียนท่มี คี วามต้องการ จาเปน็ พเิ ศษ ความรูเ้ ฉพาะตามทประเภทความพิการ รวมถึงการศึกษาดงู านในสถานศึกษาท่เี กยี่ วข้อง และการฝกึ ปฏบิ ัติงานในสถานการณจ์ รงิ ในระหว่างการอบรม รวมระยะเวลาในการอบรมไม่น้อยกว่า 80 ชวั่ โมง โดยผู้เข้าอบรมจะต้องได้รับการประเมินผลตามเกณฑ์ในด้านความรู้และการปฏบิ ัติต่าง ๆ ร้อยละ 80 ขนั้ ตอนท่ี 3 : การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนและการประเมนิ ผลในสถานศึกษา ผเู้ ขา้ อบรมจะต้องฝกึ ปฏิบัติการสอนคนพิการหรือผ้เู รยี นที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ หรือปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับคนพิการประเภทตา่ ง ๆ หรอื กบั บคุ คลที่มีความตอ้ งการพเิ ศษ และได้รบั การกากับ ติดตามผล ประเมินผล จากคณะกรรมการทไ่ี ด้รับมอบหมายอยา่ งน้อย 2 คร้งั พรอ้ มทงั้ จัดทาเอกสารผลงานวชิ าการประกอบการอบรมจานวน 2 รายการ และเขา้ ร่วมกจิ กรรม สมั มนาการศึกษาพิเศษ รวมระยะเวลาในการปฏิบัตงิ านในขั้นตอนท่ี 3 ทงั้ สน้ิ 1 ปี (2 ภาคเรียน) นบั จากระยะเวลาอบรมเขม้ ในข้ันตอนท่ี 2

20 แผนผงั กระบวนการและขั้นตอนการอบรมหลกั สตู รการฝึกอบรมครดู ้านการสอนคนพิการ พุทธศกั ราช 2561 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบตั ิ - ชุดเอกสารศึกษาด้วย อบรมการสอนคนพิการ ผลงานทางวชิ าการ ผลงานทางวชิ าการ การนิเทศ การเข้ารว่ ม ตนเอง (120 ชวั่ โมง) ภาคทฤษฎี (80 ชั่วโมง) ชิ้นท่ี 1 ช้นิ ท่ี 2 คร้ังที่ 1 กจิ กรรมสัมมนา - รับการทดสอบความรู้ ครง้ั ท่ี 2 การศึกษาพิเศษ ปฏบิ ตั งิ านตามท่ี ศกึ ษาดูงาน ทดสอบตาม ทดสอบระหวา่ งการอบรม ทดสอบเม่ือส้ินสดุ การอบรม ฝา่ ยจดั อบรม มอบหมาย จุดประสงค์รายวชิ า (ดลุ พินิจของฝา่ ยจดั อบรม) (ใชข้ อ้ สอบจากส่วนกลาง (ดุลยพินจิ ของฝ่ายจดั อบรม) ฉบบั เดยี วกันทกุ จดุ อบรม) หมายเหตุ ทุกขน้ั ตอนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 80

21 หน่วยท่ี 4 ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง หลกั สตู รการฝกึ อบรมครูดา้ นการสอนคนพกิ าร พทุ ธศักราช 2561 ได้จัดทาเอกสารประกอบ หลกั สูตร เรยี กว่า “ชดุ เอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง” โดยมีวัตถุประสงค์ให้ครู ผ้บู รหิ าร และผูส้ นใจไดม้ ีโอกาส ศึกษาและพัฒนาในดา้ นวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ โดยมกี ลมุ่ เป้าหมายซึ่งประกอบไปด้วย 1. ครผู ้สู อนบคุ คลท่มี คี วามต้องการพิเศษในโรงเรียนทัว่ ไปและโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ที่เปดิ รับ เดก็ พิการเรียนรว่ ม 2. ครูผู้สอนบุคคลทมี่ ีความต้องการพิเศษในโรงเรียนเฉพาะความพิการและศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ 3. ผู้บรหิ าร บุคลากรทางการศึกษาพเิ ศษ ผ้ปู กครองและผู้สนใจอ่นื ๆ ชดุ เอกสารศึกษาดว้ ยตนเองชุดนี้ประกอบด้วยเอกสารทง้ั หมด 16 เล่ม ประกอบด้วย เล่มท่ี 1 ค่มู ือการใช้ชดุ เอกสารศึกษาด้วยตนเอง ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชแี้ จง 3. แนวทางการใช้ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง หน่วยที่ 1 ความเป็นมาของการอบรมครเู พื่อใหไ้ ด้รบั วุฒิบตั รครูดา้ นการสอนคนพิการ หนว่ ยที่ 2 หลกั สตู รการฝึกอบรมครูดา้ นการสอนคนพกิ าร พทุ ธศักราช 2561 หน่วยท่ี 3 แนวทางการจดั อบรมตามหลกั สูตรการฝึกอบรมครูดา้ นการสอนคนพกิ าร พุทธศกั ราช 2561 หนว่ ยท่ี 4 ชดุ เอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง หนว่ ยที่ 5 แนวทางการขอรับเงนิ เพิม่ หรือคา่ ตอบแทนสาหรับตาแหน่งทม่ี ีเหตพุ เิ ศษของ ข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา และครูการศึกษาพิเศษ อตั ราจา้ งชว่ั คราว 4. ภาคผนวก 5. คณะทางาน

22 เลม่ ที่ 2 ความร้พู ืน้ ฐานทางการศกึ ษาพิเศษ ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาช้ีแจง 3. แนวทางการใชช้ ุดศึกษาด้วยตนเอง หน่วยที่ 1 ความร้พู ื้นฐานทางการศึกษาพเิ ศษ ความหมาย หลักการจัดการศึกษาพเิ ศษ ปรชั ญาการศึกษา พิเศษ เหตผุ ลความจาเป็นและสภาพปจั จบุ ันของการจดั การศึกษาสาหรบั บุคคลท่ีมีความบกพร่อง การจาแนก ประเภทความพกิ ารทางการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 หน่วยท่ี 2 กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 พระราชบัญญตั สิ ่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ. 2550 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 หน่วยท่ี 3 จติ วทิ ยาการศึกษาเพ่ือพฒั นาเดก็ ท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ จติ วิทยาพัฒนาการ พัฒนาการ ของมนุษย์ ทฤษฎี แนวคิด หลักการเกี่ยวกับจติ วิทยาการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 การวดั และประเมินผลสาหรับคนพกิ ารหรือผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ การประเมนิ ผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล แนวทางการวดั ประเมนิ ผลผเู้ รยี นเรยี นรวม หน่วยท่ี 5 การประกันคณุ ภาพการศึกษาพเิ ศษ มาตรฐานการศกึ ษาศนู ย์การศึกษาพิเศษ มาตรฐาน การศกึ ษาโรงเรียนเฉพาะความพกิ าร 4. สรุปสาระสาคญั 5. แหลง่ ข้อมูลเพ่มิ เติมที่ต้องศกึ ษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคดิ

23 เล่มท่ี 3 การจดั การศกึ ษาสาหรับคนพกิ ารหรอื ผเู้ รียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาช้แี จง 3. แนวทางการใชช้ ดุ ศกึ ษาด้วยตนเอง หน่วยท่ี 1 รูปแบบการจัดการศึกษาสาหรับผูเ้ รยี นท่มี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ รูปแบบการจัด การศึกษาของศูนย์การศกึ ษาพิเศษ รปู แบบการจดั การศึกษาของโรงเรียนการศึกษาพเิ ศษ รปู แบบการจัด การศึกษาของโรงเรียนเรียนร่วม รูปแบบการจดั การศึกษาของศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ หนว่ ยที่ 2 การจดั บรกิ ารเพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาสาหรับผเู้ รียนที่มีความต้องการ จาเปน็ พิเศษ การใหบ้ ริการช่วยเหลอื ระยะแรกเริ่ม (Early Intervention: EI) การจดั ทาแผนการจดั การศึกษา เฉพาะบุคคล (Individualized Education Program: IEP ) การจดั ทาแผน การให้บรกิ ารเฉพาะครอบครัว (Individual Family Service Plan: IFSP) การใหบ้ ริการชว่ งเชอ่ื มต่อ ของ ผ้เู รียนท่มี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ (Transition Services) ศนู ยบ์ ริการสนบั สนนุ ผู้เรียนที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษ (Student Support Services Center: SSSC) หน่วยที่ 3 นวัตกรรมการจัดการศึกษาสาหรบั ผู้เรยี นทีม่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ การตอบสนอง ตอ่ การช่วยเหลือ เทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวก การออกแบบการเรียนรู้ท่ีเป็นสากล กรอบแนวคิด SETT 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหลง่ ข้อมูลเพมิ่ เติมท่ตี ้องศึกษา 6. บรรณานกุ รม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคิด

24 เลม่ 4 แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชแ้ี จง 3. แนวทางการใช้ชุดเอกสารศกึ ษาด้วยตนเอง หน่วยที่ 1 ประวัติความเปน็ มาของการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล ความหมายของการ จดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล หลกั การจัดทาแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล วัตถปุ ระสงค์ ของการจดั ทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล องคป์ ระกอบของของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล กลมุ่ เปา้ หมายท่ีได้รับประโยชนจ์ ากแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล หน่วยท่ี 2 กระบวนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ขน้ั เตรียมการ ขั้นจดั ทาแผนการจัด การศกึ ษาเฉพาะบุคคล ขัน้ การนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คลไปใช้ ข้นั การประเมินผลตามแผนการ จดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล ข้นั การสรุปและรายงานผล ขน้ั การส่งตอ่ (Transfer) หน่วยท่ี 3 วธิ ีการจัดทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล องค์ประกอบของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บคุ คล ตัวอยา่ งแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตามทักษะการเรยี นรู้ แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ตามทกั ษะการเรยี นรู้ ตวั อยา่ งการวิเคราะหง์ านเพ่อื จดั ทาแผนการสอน เฉพาะบุคคล (IIP) ตามทักษะการเรียนรู้ ตัวอยา่ งแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตามสาระ การเรียนรู้ ตัวอย่างแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ตามสาระการเรียนรู้ 4. สรปุ สาระสาคญั 5. แหลง่ ขอ้ มลู เพิ่มเติมทต่ี ้องศึกษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคิด 9. ภาคผนวก

25 เลม่ ที่ 5 การจดั กจิ กรรมฟื้นฟูศักยภาพคนพิการหรือผเู้ รียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ประกอบด้วย 1. คานา 2. คาชแ้ี จง 3. แนวทางการใช้ชุดเอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง หนว่ ยที่ 1 ความหมาย จดุ ม่งุ หมายและความสาคญั ของแนวทางการจดั กจิ กรรมเพ่ือการฟน้ื ฟู สมรรถภาพ และพฒั นาศกั ยภาพของผู้เรยี นท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ หนว่ ยที่ 2 กิจกรรมเพือ่ การพฒั นาและฟน้ื ฟสู มรรถภาพของบคุ คลท่ีมีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ กายภาพบาบดั กิจกรรมบาบัด พลศึกษาเพ่ือบรรดิการ การแก้ไขการพูด ศลิ ปะบาบัด ดนตรีบาบดั ธาราบาบดั กจิ กรรมนันทนาการ การบาบัดทางเลอื กอน่ื ๆ กรณศี ึกษา หนว่ ยที่ 3 การทางานแบบทมี สหวิชาชพี ระหวา่ งครู ผู้ปกครอง และนักวิชาชีพ ความหมาย รูปแบบการ ทางานแบบสหวิชาชพี สรปุ หลกั การทางานเปน็ ทมี สหวชิ าชพี 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหลง่ ขอ้ มูลเพม่ิ เติมทตี่ ้องศกึ ษา 6. บรรณานกุ รม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคดิ

26 เลม่ ที่ 6 การวิจัยในชน้ั เรยี น ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาช้แี จง 3. แนวทางการใชช้ ุดเอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง หน่วยท่ี 1 แนวคดิ และหลักการเก่ยี วกบั การวจิ ัยในชัน้ เรียน ความสาคัญของการวจิ ยั ในชั้นเรยี น ประโยชน์ของการวจิ ยั ในชน้ั เรียน ลกั ษณะของการวิจัยในชนั้ เรยี น ประเภทของการวจิ ยั ในชนั้ เรียน รูปแบบการวจิ ัยในชั้นเรียน หน่วยท่ี 2 การวางแผนการวิจยั การกาหนดชือ่ เรอ่ื งงานวจิ ัย การทบทวนวรรณกรรม ทีเ่ ก่ยี วข้อง การวางวางแผนการวจิ ัยและดาเนนิ การวิจัย หนว่ ยที่ 3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การสรา้ งและพฒั นาการเครื่องมือเก็บขอ้ มูล การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล หน่วยท่ี 4 การวเิ คราะห์ข้อมลู และการเสนอผลการวเิ คราะห์ การออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล การเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล หน่วยที่ 5 การนาเสนอผลงานวิจัย องค์ประกอบในการเขียน 5 บท การจดั รูปแบบการพมิ พ์ของหนา้ การเขียนอา้ งอิง หนว่ ยที่ 6 บทสรุปและตัวอยา่ งการวจิ ยั ในช้นั เรียนดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษ บทสรุปตัวอย่างการวิจยั ใน ช้ันเรยี นด้านการศึกษาพิเศษ 4. บรรณานุกรม 5. แบบทดสอบท้ายบท 6. แบบเขียนสะท้อนคิด

27 เลม่ 7 การจัดการศึกษาสาหรบั บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางการเหน็ ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชีแ้ จง 3. แนวทางการใชช้ ดุ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง หนว่ ยที่ 1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ียวกับบุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น ความหมายและประเภท บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ ลกั ษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น สาเหตุของความ บกพร่องทางการเหน็ การป้องกนั ความบกพร่องทางการเห็น ประวตั ิการจัดการศกึ ษาสาหรับบคุ คลทมี่ ี ความบกพร่องทางการเห็น หน่วยท่ี 2 หลกั การ เทคนคิ วิธีการช่วยเหลือและการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลทีม่ ีความบกพร่อง ทางการเห็น การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและการเตรยี มความพรอ้ ม การช่วยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ และ การเตรยี มความพร้อม การอ่านและการเขยี นอักษรเบรลล์ การสร้างความค้นุ เคยกับสภาพแวดล้อม และการเคล่ือนไหว ทกั ษะการดารงชีวติ ของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ นวัตกรรมและ เทคโนโลยี สิง่ อานวยความสะดวก ส่อื บริการ และความชว่ ยเหลอื อ่ืนใดทางการศึกษาสาหรบั นักเรียน ทีม่ ีความบกพร่องทางการเหน็ การผลิตสอื่ อักษรเบรลล์ การผลิตสอื่ ภาพนูน กรณศี กึ ษา 4. สรปุ สาระสาคญั 5. แหล่งข้อมลู เพ่มิ เติมที่ต้องศึกษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคิด 9. ภาคผนวก

28 เลม่ 8 การจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ ประกอบด้วย 1. คานา 2. คาชีแ้ จง 3. แนวทางการใชช้ ุดศกึ ษาดว้ ยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกบั บคุ คลที่มีความบกพร่องทางการไดย้ ิน ความหมาย ประเภทของ ความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ลักษณะของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน หน่วยท่ี 2 หลักการ เทคนิค วิธีการช่วยเหลือและการจัดการศึกษาสาหรบั บคุ คลทีม่ ีความบกพร่อง ทางการได้ยิน การช่วยเหลอื ระยะแรกเร่ิมและเตรยี มความพร้อม การส่อื สาร ภาษา และวฒั นธรรม ของบุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน การจัดการเรยี นรูส้ าหรบั บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางการได้ยิน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก ส่อื บริการ และความชว่ ยเหลอื อ่นื ใดทางการศึกษา กรณีศึกษา 4. สรปุ สาระสาคญั 5. แหล่งขอ้ มูลเพ่มิ เติมทีต่ ้องศึกษา 6. บรรณานกุ รม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคดิ 9. ภาคผนวก

29 เลม่ ท่ี 9 การจัดการศกึ ษาสาหรับบคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชีแ้ จง 3. แนวทางการใชช้ ุดศกึ ษาด้วยตนเอง หนว่ ยที่ 1 ความรู้ทั่วไปกับบุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา ความหมาย ลกั ษณะและประเภท สาเหตุ ของความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา การป้องกนั ความบกพร่องทางสติปัญญา ประวัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลท่มี ีความบกพร่องทางสติปัญญา หน่วยที่ 2 หลักการ เทคนิค วธิ กี ารช่วยเหลอื และการจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลท่มี ีความบกพร่องทาง สตปิ ญั ญา ประเมนิ คดั กรองเบื้องตน้ เพ่ือทราบปญั หาและสาเหตุของปัญหาวางแผนช่วยเหลือ หลกั การการให้ ความชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิม/แรกพบ และเทคนิควธิ กี ารในการชว่ ยเหลอื ทกั ษะการดารงชวี ติ ของบุคคลทีม่ ี ความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา การจัดการเรียนรูส้ าหรบั บคุ คลทีม่ ี ความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา เทคนคิ การสอนเชิงพฤติกรรม นวัตกรรมและเทคโนโลยีสงิ่ อานวย ความสะดวก สือ่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออ่นื ใดทางการศกึ ษา 4. สรปุ สาระสาคญั 5. แหล่งขอ้ มลู เพม่ิ เติมทีต่ ้องศึกษา 6. แบบทดสอบท้ายบท 7. แบบเขียนสะท้อนคดิ 8. ภาคผนวก

30 เลม่ ที่ 10 การจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหวหรอื สุขภาพ ประกอบด้วย 1. คานา 2. คาช้แี จง 3. แนวทางการใชช้ ดุ ศึกษาดว้ ยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกบั บคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว หรือสขุ ภาพ ความหมาย สาเหตุ ลกั ษณะโรคหรือสภาวะทที่ าใหเ้ กิดความบกพร่อง ประวัติความเปน็ มาของโรงเรยี น เฉพาะความพิการดา้ นรา่ งกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสขุ ภาพ ในประเทศไทย หนว่ ยที่ 2 หลกั การ เทคนิค วิธกี ารช่วยเหลือและการศึกษาสาหรบั บุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ แนวทางการให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเร่ิมสาหรับบุคคลท่มี ีความบกพร่อง ทางรา่ งกายหรือการเคลอ่ื นไหว หรือสขุ ภาพ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตาม แนวทางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การวดั และประเมนิ ผลโดยการใช้ แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) กรณศี กึ ษา 4. สรุปสาระสาคญั 5. แหลง่ ขอ้ มูลเพิ่มเติมที่ต้องศกึ ษา 6. บรรณานกุ รม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคิด 9. ภาคผนวก

31 เล่มที่ 11 การจัดการศกึ ษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชแ้ี จง 3. แนวทางการใชช้ ดุ เอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกบั บุคคลทีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2 การตรวจสอบ ประเมิน คัดกรอง/คัดแยกผู้เรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ (กรณศี ึกษา) หน่วยที่ 3 หลกั การ รูปแบบ เทคนิค/วิธีการสอน และการจดั หาผลิต และใช้เทคโนโลยี ส่งิ อานวยความ สะดวก สอื่ บริการและความชว่ ยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษาสาหรับบคุ คลทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (กรณีศึกษา) หน่วยที่ 4 การวัดประเมินผล และตดั สินผลการเรยี นของผูเ้ รียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ (กรณีศึกษา) 4. สรุปสาระสาคญั 5. แหลง่ ขอ้ มูลเพิ่มเติม 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคิด 9. ภาคผนวก

32 เลม่ ที่ 12 การจดั การศกึ ษาสาหรบั บคุ คลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการพดู และภาษา ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชีแ้ จง 3. แนวทางการใช้ชดุ ศึกษาด้วยตนเอง หน่วยที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา ความหมาย การพูด ภาษา หนว่ ยท่ี 2 หลักการ เทคนิค วธิ ีการชว่ ยเหลอื และการจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลทีม่ ีความบกพร่อง ทางการพดู และภาษา ปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ การพัฒนาภาษาและการพดู การประเมนิ และการวนิ ิจฉัย หลักการสอน กรณีศึกษา 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหล่งข้อมลู เพิ่มเติมท่ีต้องศึกษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคดิ 9. ภาคผนวก

33 เลม่ ท่ี 13 การจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ ประกอบด้วย 1. คานา 2. คาช้ีแจง 3. แนวทางการใช้ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ความหมาย ลกั ษณะ และประเภทของบคุ คลทมี่ ีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ประวตั ิความเป็นมาทางการศึกษา หน่วยที่ 2 หลักการ เทคนคิ วธิ ีการช่วยเหลอื และการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ การประเมนิ คดั กรองเบอื้ งต้น เพื่อทราบปัญหาและสาเหตุของปญั หา วางแผน ช่วยเหลอื หลกั การการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ระยะแรกเริ่ม/แรกพบ และเทคนิควธิ กี ารในการชว่ ยเหลือ การจดั การพฤติกรรมของบุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ การจดั การเรยี นรสู้ าหรบั บคุ คล ท่มี คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ นวัตกรรมและเทคโนโลยี สงิ่ อานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษา การวัดและประเมินผล กรณศี ึกษา 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหล่งข้อมลู เพมิ่ เติมท่ีต้องศึกษา 6. บรรณานกุ รม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขยี นสะท้อนคดิ 9. ภาคผนวก

34 เล่มที่ 14 การจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลออทิสตกิ ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชแ้ี จง 3. แนวทางการใชช้ ุดเอกสารศกึ ษาด้วยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบคุ คลออทสิ ติก หนว่ ยที่ 2 วิธีการช่วยเหลอื และการจัดการศกึ ษาสาหรับบคุ คลออทสิ ติก หนว่ ยท่ี 3 เทคนิคการช่วยเหลือบุคคลออทิสติกตามแนวทาง ‘TEACCH’ หน่วยท่ี 4 การสอ่ื สารของบุคคลออทิสติก หนว่ ยท่ี 5 การจดั การพฤติกรรมออทิสติก หนว่ ยท่ี 6 การจดั การเรียนรว่ มสาหรับนักเรยี นออทิสติก หนว่ ยที่ 7 การสอนนักเรียนออทิสติก กรณศี ึกษา 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหล่งข้อมลู เพิม่ เติมทตี่ ้องศึกษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคดิ 9. ภาคผนวก

35 ล่มท่ี 15 การศึกษาสาหรบั บุคคลทมี่ คี วามพิการซ้อน ประกอบดว้ ย 1. คานา 2. คาชีแ้ จง 3. แนวทางการใช้ชุดศึกษาด้วยตนเอง หน่วยท่ี 1 ความรูท้ ว่ั ไปเกี่ยวกับบคุ คลพิการซ้อน หน่วยท่ี 2 หลกั การ เทคนิค วิธีการชว่ ยเหลอื และการจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลพิการซอ้ น หนว่ ยที่ 3 การปรบั พฤตกิ รรมทีท่ ้าทาย หนว่ ยที่ 4 ทักษะการดารงชีวิตกับบุคคลพิการซ้อน หน่วยที่ 5 การจดั การเรยี นรู้สาหรบั นกั เรียนพกิ ารซ้อน หน่วยที่ 6 การจดั ท่าทางสาหรบั บุคคลพิการซ้อน หน่วยท่ี 7 การจดั สภาพแวดลอ้ มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์ หนว่ ยที่ 8 การฟนื้ ฟูสมรรถภาพบุคคลพิการซอ้ น และกรณีตวั อย่าง 4. สรุปสาระสาคัญ 5. แหล่งขอ้ มลู เพม่ิ เติมทีต่ ้องศึกษา 6. บรรณานุกรม 7. แบบทดสอบท้ายบท 8. แบบเขียนสะท้อนคดิ 9. ภาคผนวก

36 เล่ม 16 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ประกอบด้วย 1. คานา 2. คาชี้แจง 3. แนวทางการใชช้ ุดศกึ ษาดว้ ยตนเอง หน่วยที่ 1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ียวกบั การจดั การศึกษาแบบเรียนรวม หนว่ ยที่ 2 การบริหารจดั การเรยี นรวม หนว่ ยท่ี 3 รปู แบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาแบบเรียนรวม หนว่ ยที่ 4 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นรวม หน่วยที่ 5 การจดั สภาพแวดลอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ การจดั การเรียนรวม หน่วยที่ 6 การจัดการพฤติกรรมนกั เรียนในชน้ั เรียนรวม หนว่ ยที่ 7 ตัวอย่างกรณีศึกษานักเรยี นเรยี นรวมประเภทต่าง ๆ 4. บรรณานกุ รม 5. แบบทดสอบท้ายบท 6. แบบเขยี นสะท้อนคิด

37 หน่วยที่ 5 แนวทางการขอรับเงินเพิ่มหรือคา่ ตอบแทนสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพเิ ศษ ของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พนกั งานราชการ ลูกจา้ งประจำ และครูการศกึ ษาพิเศษอัตราจ้างชวั่ คราว สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสาคัญของการ พัฒนาครูสอนการศึกษาพิเศษจึงอนุมัติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้หลักสูตรท่ีผ่านการเห็นชอบ ของก.ค.ศ. พัฒนาครูการศึกษาพิเศษท่ีได้ปฏิบัติงานไปแล้วให้ได้เพ่ิมพูนความรู้ความสามารถ เมื่อได้พัฒนา ตนเอง ตามหลักเกณฑ์จนได้รับวุฒิบัตรครูสอนการศึกษาพิเศษแล้ว ได้กาหนดระเบียบเพ่ือให้ข้าราชการครู ได้รับเงินเพิ่ม เนื่องจากพิจารณาว่าครูท่ีปฏิบัติงานกับคนพิการมีภาระงานที่เป็นงานที่มีลักษณะยากลาบาก ต้องใช้ความอดทนสูงและตรากตราในการทางาน ตลอดจนต้องใช้ความรู้ ความชานาญ และความเอาใจใส่ เป็นพิเศษต่อคนพิการ ระเบียบดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารราชการ มาตรการด้านอัตรากาลังข้าราชการ ทาให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ครูการศึกษาพิเศษมิได้จากัดเฉพาะข้าราชการ ในโรงเรียนเฉพาะความพิการเท่าน้ัน แต่หมายรวมถึงข้าราชการครูในโรงเรียนเรียนร่วมหรือหน่วยงานอื่นท่ีจัด การศึกษาสาหรับคนพิการ ครูอัตราจ้างช่ัวคราว พนักงานราชการ และลูกจ้างประจา ท่ีมีคุณสมบัติและ ปฏบิ ัติงานตามเกณฑท์ กี่ ฎหมายกาหนด โดยมีกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องดงั นี้ 1. ระเบยี บ ก.ค.ศ.วา่ ด้วยเงนิ เพ่ิมสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาที่ปฏบิ ตั หิ น้าท่สี อนคนพิการ พ.ศ. 2556 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษของลูกจ้างประจา พ.ศ. 2551 3. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ืองค่าตอบแทนสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษของ พนักงานราชการ พ.ศ. 2561 4. ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับค่าตอบแทน พเิ ศษครทู ีส่ อนนักเรียนพิการในโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2561 ผู้ที่ประสงค์จะขอรับเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งด้วยเหตุพิเศษ ควรศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อ ตรวจสอบหลักเกณฑ์สาหรับการปฏิบัติให้เข้าใจและใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการให้ถูกต้องเพื่อ ครูการศึกษาพิเศษจะได้รับสิทธิ์ตามกฎหมาย อน่ึง ในการดาเนินการขอรับเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งท่ีมี เหตุพิเศษ ของครูการศึกษาพิเศษ ครูการศึกษาพิเศษกรณีเรียนร่วม ครูการศึกษาพิเศษอัตราจ้างช่ัวคราว และ ลูกจ้างประจา ตามระเบียบข้างต้น ครูการศึกษาพิเศษท่ีประสงค์จะขอรับสิทธิ์ควรร่วมดาเนินการกับ สถานศึกษาในการจัดทาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพ่ือใช้ประกอบการดาเนินการ เอกสาร หลักฐานท่ีใช้ประกอบ ไดแ้ ก่

38 1. แบบคาขอรับเงินเพมิ่ สาหรบั ตาแหน่งท่มี เี หตุพเิ ศษ 2. แบบรายงานข้อมูลขา้ ราชการครทู ่ีได้รบั คาส่งั อนุมตั ิเงินเพ่ิมสาหรับตาแหนง่ ที่มีเหตุพิเศษ 3. บัญชีแสดงจานวนนักเรียนประจาปีการศึกษา โดยระบุประเภทของนักเรียนในโรงเรียน เช่น นกั เรยี นไป - กลบั นักเรยี นประจา นกั เรยี นพิการ 4. ตารางสอนรวม เป็นตารางสอนท่ีโรงเรียนจัดทาอย่างสมบูรณ์ และตารางสอนจะต้องระบุชื่อ โรงเรียน ภาคเรียน ปีการศึกษา วัน เวลา ระดับชั้นทุกช้ัน ชื่อครูผู้สอนกากับไว้ทุกคาบพร้อมทั้งให้ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และผู้อานวยการสถานศึกษารับรองความถูกต้อง (กรณีสอนระดับปฐมวัยหรือ เตรยี มความพร้อมใหส้ รุปลกั ษณะการจัดการเรยี นการสอนด้วย) 5. ตารางสอนรายบุคคล เป็นตารางสอนที่โรงเรียนจัดทาอย่างสมบูรณ์ และตารางสอนจะต้องระบุช่ือ โรงเรียน ภาคเรียน ปีการศึกษา ชื่อครูผู้สอนเป็นรายบุคคล วัน เวลา ระดับช้ัน และครูผู้สอนลงชื่อกากับ ตารางสอน พร้อมทั้งให้รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และผู้อานวยการสถานศึกษารับรองความถูกต้อง (กรณีสอนระดบั ปฐมวยั หรอื เตรยี มความพรอ้ มให้สรปุ ลกั ษณะการจดั การเรียนการสอนดว้ ย) 6. ตารางสอนเสริมวิชาการ เปน็ ตารางสอนท่ีโรงเรียนจัดทาอย่างสมบูรณ์ และตารางสอนจะต้อง ระบุ ชือ่ โรงเรียน ภาคเรยี น ปกี ารศึกษา ชอื่ ครผู ู้สอนเป็นรายบคุ คล ชื่อนกั เรยี นพกิ ารท่ีมารบั บริการเสรมิ วิชาการ วัน เวลา ระดับช้ัน และให้ครูผู้สอนลงช่ือกากับตารางสอน พร้อมท้ังให้รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และ ผ้อู านวยการสถานศึกษารับรองความถกู ต้อง 7. สาเนาวุฒิปริญญาทางการศึกษาพิเศษ หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษาพิเศษ หรือ วฒุ บิ ตั รผา่ นการอบรมด้านการศกึ ษาพเิ ศษที่ ก.ค.ศ. รับรอง 8. สาเนาคาส่ังบรรจุแต่งตั้ง คาส่ังย้าย คาส่ังในกรณีช่วยราชการ คาส่ังมอบหมายการปฏิบัติหน้าท่ี กรณี ครูการศึกษาพเิ ศษอัตราจา้ งช่วั คราว ให้ส่งสาเนาคาส่ังให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนให้กับนักเรียน พกิ าร และสาเนาสญั ญาจ้าง 9. กาหนดปดิ -เปิดภาคเรยี นของสถานศกึ ษา (ยกเว้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ให้ส่งคาช้ีแจงกรณีไม่มี การ เปิด-ปิดภาคเรียน) 10. สาเนาบัตรประจาตัวคนพิการ หรือเอกสารรับรองความพิการ หรือใบรับรองแพทย์จากแพทย์ เฉพาะทางหรอื โรงพยาบาลของทางราชการ 11. สาเนาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program: IEP) 12. สาเนา ก.พ.7 13. สาเนาใบสาคัญสมรสหรือสาเนาเอกสารการเปล่ียนช่ือตัวหรือช่ือสกุล (กรณีชื่อตัว ช่ือสกุล ไมต่ รงกบั วฒุ กิ ารศึกษา หรือวฒุ บิ ตั ร) ดงั นั้น การขอรบั เงนิ เพิ่มหรอื ค่าตอบแทนสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างประจาและครูการศึกษาพิเศษอัตราจ้างชั่วคราว ให้สถานศึกษาได้นา ระเบียบที่กล่าวถึงข้างต้นมาใช้และตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ เพ่ือรับรองความถูกต้อง ก่อนจัดส่งตามเวลา ทก่ี าหนด

39 บรรณานุกรม กลุ่มสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาพิเศษ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มปป. แนวปฏิบัติการขอรับเงิน เพิ่มสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษหรือค่าตอบแทนสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษของครูการศึกษา พิเศษ อัดสาเนา. หน่วยศกึ ษานิเทศก์ กรมสามัญศกึ ษา (2544). คูม่ ือเอกสารชุดการศึกษาดว้ ยตนเอง. อัดสาเนา. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา. 2556. ระเบียบ ก.ค.ศ.วา่ ดว้ ยเงินเพิ่ม สาหรบั ตาแหน่งทีม่ ีเหตุพเิ ศษของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏบิ ัติหน้าท่ีสอนคน พิการ พ.ศ. 2556 ราชกจิ จานุเบกษา เล่มท่ี 130 ตอนพเิ ศษ 71 ง คน้ เม่ือวันท่ี 20 กรกฎาคม 2556 ท่ี http://\\AAAAA/.kkzonel.go.th/new3/index.php?topic=7943.0

ภาคผนวก









เลม่ ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๖๙ ง หนา้ ๑ ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ระเบยี บคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารเกีย่ วกับค่าตอบแทนพิเศษครทู ี่สอนนักเรียนพิการในโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการเก่ียวกับค่าตอบแทนพิเศษครูที่สอนนักเรียนพิการ ในโรงเรียนเอกชน เพื่อให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๐ ที่ให้ปรับ ค่าตอบแทนพเิ ศษครูที่สอนนักเรียนพิการในโรงเรียนเอกชนให้ได้รับค่าตอบแทนเพิม่ ข้ึน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ (๔) แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับมติคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชนจึงออกระเบยี บไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารเกี่ยวกับคา่ ตอบแทนพเิ ศษครูทีส่ อนนักเรยี นพิการในโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ระเบยี บน้ใี หใ้ ช้บังคบั ต้งั แตว่ ันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายความว่า โรงเรยี นตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรียนเอกชน “ครูท่ีสอนนักเรียนพิการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการ หรือครูซ่ึงปฏิบัติหน้าที่สอนนักเรียนพิการ ในโรงเรียนในระบบ “นักเรียนพิการ” หมายความว่า คนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ และไดล้ งทะเบยี นเปน็ นักเรยี นในโรงเรียน “ค่าตอบแทนพิเศษ” หมายความว่า เงินเพิ่มพิเศษท่ีจ่ายให้แก่ครูที่สอนนักเรียนพิการ นอกเหนือจากเงินเดือนประจาํ “หน่วยช่วั โมง” หมายความวา่ เวลาทาํ การสอนไมน่ ้อยกวา่ ห้าสิบนาทใี นชว่ งเวลาหน่งึ ช่วั โมง “ผู้อนุญาต” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือ ศึกษาธิการจังหวดั หรือผวู้ า่ ราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี “สาํ นกั งาน” หมายความวา่ สาํ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน ขอ้ ๔ ครูที่สอนนักเรียนพิการที่จะได้รับค่าตอบแทนพิเศษ จะตอ้ งมวี ุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี ทางการศึกษาพิเศษ หรือมีวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษาพิเศษ หรือเทียบเท่า หรือเป็น ผผู้ ่านการอบรมวุฒิบตั รด้านการสอนคนพิการ ตามหลักสูตร ก.ค.ศ. รับรอง โดยมเี วลาทาํ การสอน ดงั น้ี (๑) ผู้อํานวยการท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสอนนักเรียนพิการ ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า สัปดาห์ละ ๕ หน่วยชวั่ โมง (๒) ครูท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสอนนักเรียนพิการ ต้องมีเวลาทําการสอนไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ ๑๘ หน่วยชวั่ โมง

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๖๙ ง หนา้ ๒ ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๕ ให้ครทู ่สี อนนกั เรยี นพกิ ารได้รับคา่ ตอบแทนพิเศษในอัตราเดอื นละ ๒,๕๐๐ บาท ข้อ ๖ หลักเกณฑ์วิธีการจ่ายค่าตอบแทนพิเศษครูที่สอนนักเรียนพิการในโรงเรียนเอกชน ใหเ้ ปน็ ไปตามที่สํานกั งานกําหนด ข้อ ๗ ครูที่สอนนักเรียนพิการท่ีจะได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ตามข้อ ๖ จะต้องได้รับอนุมัติ จากผูอ้ นุญาต ขอ้ ๘ ในกรณีที่โรงเรียนเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษให้ครูที่สอนนักเรียนพิการโดยไม่มีสิทธิ ใหผ้ รู้ ับใบอนญุ าตชดใช้คา่ ตอบแทนพิเศษคนื ภายในสามสบิ วันนับแตว่ นั ท่ไี ด้รบั แจง้ เปน็ หนังสือ เมื่อปรากฏว่ามีการทุจริตเก่ียวกับการขอรับเงินค่าตอบแทนพิเศษ ให้ผู้อนุญาตดําเนินการ สัง่ ลงโทษตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรยี นเอกชน และดําเนินการคดตี ามกฎหมายตอ่ ไป ขอ้ ๙ ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มอี าํ นาจวินิจฉัยชข้ี าดเกยี่ วกับปญั หา หรอื ขดั แย้งท่เี กดิ ขนึ้ จากการใช้ระเบียบนี้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook