Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 55 รูปแบบการสอนสู่การปฏิบัตื

55 รูปแบบการสอนสู่การปฏิบัตื

Published by boonsong kanankang, 2019-10-05 16:43:30

Description: 55 รูปแบบการสอนสู่การปฏิบัตื

Search

Read the Text Version

รวมความรู้เร่ืองเทคนิคการสอน เพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ช้ สกู่ ารพฒั นาผเู้ รยี น 5 เทคนคิ การสอน



1.การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้คาถาม (Questioning Method) แนวคิด เปน็ กระบวนการเรียนรู้ทีม่ ุ่งพฒั นากระบวนการทางความคดิ ของผเู้ รียน โดยผู้สอนจะปอ้ นคำถามใน ลกั ษณะต่าง ๆ ทเ่ี ป็นคำถามท่ีดี สามารถพฒั นาความคิดผ้เู รียน ถามเพื่อให้ผเู้ รยี นใชค้ วามคิดเชงิ เหตุผล วิเคราะห์ วจิ ารณ์ สงั เคราะห์ หรอื การประเมินค่าเพื่อจะตอบคำถามเหลา่ นั้น การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบใช้คำถามมีขนั้ ตอนสำคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ขั้นวางแผนการใชค้ ำถาม ผู้สอนควรจะมีการวางแผนไวล้ ่วงหน้าวา่ จะใชค้ ำถามเพอ่ื วตั ถุประสงคใ์ ด รูปแบบหรือประการใดท่จี ะสอดคล้องกับเน้ือหาสาระและวัตถุประสงค์ของบทเรียน 2.ข้ันเตรยี มคำถาม ผสู้ อนควรจะเตรยี มคำถามท่จี ะใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดย การสรา้ งคำถามอย่างมหี ลักเกณฑ์ 3. ข้ันการใชค้ ำถาม ผู้สอนสามารถจะใช้คำถามในทุกข้ันตอนของการจัดกจิ กรรมการ เรียนรแู้ ละอาจจะสรา้ งคำถามใหมท่ ่นี อกเหนือจากคำถามที่เตรียมไว้ก็ได้ ท้ังน้ตี ้องเหมาะสมกบั เนื้อหาสาระและ สถานการณ์นน้ั ๆ 4.ขั้นสรปุ และประเมินผล 4.1 การสรปุ บทเรยี นผู้สอนอาจจะใช้คำถามเพ่ือการสรปุ บทเรียนกไ็ ด้ 4.2 การประเมนิ ผล ผู้สอนและผู้เรียนรว่ มกนั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยใช้วิธกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประโยชน์ 1. ผูเ้ รียนกับผู้สอนส่ือความหมายกนั ได้ดี 2. ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเข้ารว่ มกิจกรรมได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3. สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน 4. ชว่ ยเนน้ และทบทวนประเดน็ สำคัญของสาระการเรียนรู้ท่เี รยี น 5. ชว่ ยในการประเมินผลการเรยี นการสอน ให้เข้าใจความสนใจทแี่ ทจ้ ริงของผูเ้ รียน และ วินิจฉัยจุดแขง็ จดุ อ่อนของผเู้ รียนได้ 6. ชว่ ยสรา้ งลักษณะนิสยั การชอบคิดให้กับผู้เรียน ตลอดจนนิสัยใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี นตลอดชีวติ

2.วธิ ีสอนแบบโมเดลซิปปา แนวคดิ การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็นแนวคดิ ของทิศนา แขมมณี ทีก่ ลา่ วว่า ซปิ ปา (CIPPA) เปน็ หลักการซึง่ สามารถนำไปเป็นหลกั ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ให้แก่ผเู้ รียน การจัดกระบวนการเรียนการ สอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธกี ารและกระบวนการท่ีหลากหลาย อาจจดั เป็นแบบแผนไดห้ ลายรูปแบบ CIPPA MODEL เป็นวธิ ีหน่ึงในการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปน็ รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ม่งุ เนน้ ให้นักเรยี นศึกษาค้นคว้า รวบรวมขอ้ มูลด้วยตนเอง การมีสว่ นรว่ มในการสรา้ งคามรู้ การมปี ฏิสมั พันธ์กบั ผู้อื่น และการแลกเปลยี่ นความรู้ การได้เคล่ือนไหวทางกาย การเรยี นรกู้ ระบวนการต่าง ๆ และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ การจัดการเรยี นการสอนแบบ CIPPA MODEL มาจากแนวคิดหลัก 5 แนวคดิ ซง่ึ เป็นแนวคิดพนื้ ฐานใน การจดั การศึกษา ได้แก่ 1. แนวคิดการสร้างสรรค์ความรู้ (Contructivism) 2. แนวคิดเรอื่ งกระบวนการกลุ่มและการเรยี นแบบรว่ มมือ (Group Process and Cooperative Learning) 3. แนวคิดเก่ียวกับความพรอ้ มในการเรยี นรู้ (Learning Readiness) 4. แนวคดิ เกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ (Process Learning) 5. แนวคิดเกีย่ วกบั การถา่ ยโอนการเรยี นรู้ (Transfer of Learning) การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) ตามรูปแบบของ ทิศนาแขมมณี มี ขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูด้ ังน้ี ขนั้ ที่ 1 การทบทวนความรูเ้ ดมิ ขน้ั นเี้ ปน็ การดงึ ความรเู้ ดมิ ของผู้เรียนในเร่ืองทจี่ ะเรยี น เพื่อช่วยให้ผู้เรยี นมีความพร้อมในการเชื่อมโยง ความรใู้ หม่กับความรู้เดิมของตน ซ่ึงผสู้ อนอาจใชว้ ิธกี ารตา่ ง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย เช่น ผู้สอนอาจใช้การสนทนา ซักถามใหผ้ ู้เรยี นเล่าประสบการณ์เดมิ หรอื ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงโครงความรู้เดิม (Graphic Organizer) ของตน ขั้นท่ี 2 การแสวงหาความรใู้ หม่ ข้นั น้เี ป็นการแสวงหาข้อมูลความรูใ้ หม่ของผู้เรียนจากแหล่งข้อมลู หรอื แหลง่ ความรู้ต่าง ๆ ซ่งึ ผู้สอนอาจ จดั เตรยี มมาใหผ้ ู้เรยี นหรือให้คำแนะนำเก่ยี วกบั แหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ผู้เรยี นไปแสวงหาก็ได้ในขัน้ นีผ้ ู้สอนควร แนะนำแหล่งความร้ตู า่ ง ๆ ใหแ้ ก่ผู้เรียนตลอดทั้งจดั เตรียมเอกสารสอ่ื ต่าง ๆ ขั้นที่ 3 การศกึ ษาทำความเข้าใจข้อมูล / ความร้ใู หม่ และเชือ่ มโยงความรูใ้ หม่กบั ความรู้เดมิ ข้ันน้ีเป็นข้ันทีผ่ เู้ รยี นศกึ ษาและทำความเขา้ ใจกับข้อมลู / ความรู้ที่หามาได้ ผู้เรยี นสรา้ งความหมายของ ข้อมูล / ประสบการณใ์ หม่ ๆ โดยใช้กระบวนตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการกลุม่ ในการ อภปิ ราย และสรปุ ความเข้าใจเกีย่ วกับข้อมูลนน้ั ๆ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยการเช่ือมโยงกบั ความรู้เดิม

ในขน้ั น้ี ผ้สู อนควรใช้กระบวนการตา่ ง ๆ ในการจัดกจิ กรรม เช่น กระบวนการคดิ กระบวนการกลุม่ กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการสร้างลักษณะนิสยั กระบวนการทักษะทางสังคม ฯลฯ เพื่อให้ผเู้ รียนสรา้ งความรู้ข้นึ มาด้วยตนเอง ขัน้ ที่ 4 การแลกเปล่ยี นความรูค้ วามเขา้ ใจกับกลุม่ ข้นั น้ีเปน็ ขนั้ ทผ่ี ้เู รยี นอาศยั กลุม่ เปน็ เครื่องมือในการตรวจสอบความรวมท้งั ขยายความรู้ความเข้าใจของตน ใหก้ วา้ งขนึ้ ซึ่งจะชว่ ยให้ผู้เรยี นไดแ้ บ่งปันความรคู้ วามเข้าใจของตนเองแกผ่ อู้ ื่น และได้รับประโยชน์จากความรู้ ความ เขา้ ใจของผูอ้ น่ื ไปพร้อม ๆ กนั ขน้ั ท่ี 5 การสรุปและจดั ระเบียบความรู้ ขั้นนเ้ี ปน็ ข้นั ของการสรุปความรูท้ ี่ไดร้ บั ท้งั หมด ท้ังความรู้เดิมและความรใู้ หม่ และจดั สง่ิ ท่ีเรียนใหเ้ ป็น ระบบระเบยี บ เพื่อให้ผู้เรยี นจดจำสงิ่ ทเ่ี รียนรไู้ ด้ง่าย ผูส้ อนควรให้ผู้เรยี นสรปุ ประเดน็ สำคัญประกอบด้วยมโนทัศน์หลัก และมโนทศั นย์ ่อยของความรู้ทั้งหมด แลว้ นำมาเรียบเรียงให้ไดส้ าระสำคัญครบถ้วน ผ้สู อนอาจให้ผเู้ รยี นจดเป็น โครงสร้างความรู้ จะช่วยให้จดจำข้อมูลได้งา่ ย ขัน้ ที่ 6 การปฏบิ ัติและ / หรือการแสดงผลงาน ขั้นนี้จะช่วยใหผ้ เู้ รียนได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้างความรขู้ องตนให้ผู้อ่ืนรบั รู้ เปน็ การชว่ ยให้ผเู้ รียนได้ ตอกย้ำหรือตรวจสอบความเข้าใจของตน และชว่ ยส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นใช้ความคดิ สร้างสรรค์ แตห่ ากต้องมีการปฏบิ ัตติ าม ข้อมูลที่ได้ ขน้ั นจี้ ะเปน็ ข้ันปฏบิ ัติ และมกี ารแสดงผลงานที่ได้ปฏิบัติดว้ ย ในข้นั น้ผี ู้เรียนสามารถแสดงผลงานดว้ ยวธิ ีการ ตา่ ง ๆ เช่น การจัดนทิ รรศการ การอภปิ ราย การแสดงบทบาทสมมติ เรียงความ วาดภาพ ฯลฯ และอาจจดั ใหม้ ีการ ประเมนิ ผลงานโดยมีเกณฑ์ทเี่ หมาะสม ข้นั ท่ี 7 การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ข้นั นเ้ี ป็นขัน้ ของการส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นได้ฝึกฝนการนำความรู้ความเขา้ ใจของตนไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีหลากหลาย เพิม่ ความชำนาญ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและความจำในเรอื่ งน้ัน ๆ เป็นการใหโ้ อกาส ผู้เรยี นใช้ความรู้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เปน็ การส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์ หลงั จากประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ อาจมีการนำเสนอผลงานจากการประยุกต์อีกคร้ังกไ็ ด้ หรืออาจไมม่ ีการ นำเสนอผลงานในข้นั ท่ี 6 แต่นำความมารวม แสดงในตอนทา้ ยหลังข้นั การประยุกต์ใช้ก็ได้ เช่นกัน ขั้นที่ 1-6 เปน็ กระบวนการของการสร้างความรู้ (Construction of Knowledge) ขน้ั ท่ี 7 เปน็ ขั้นตอนท่ีช่วยให้ผู้เรยี นนำความรู้ไปใช้ (Application) จงึ ทำให้รปู แบบนี้มคี ุณสมบัตคิ รบตามหลัก CIPPA ประโยชน์ 1. ผู้เรยี นร้จู ักการแสวงหาข้อมลู ข้อเทจ็ จรงิ จากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ เพ่ือนำมาใชใ้ นการเรยี นรู้ 2. ผู้เรียนได้ฝึกทกั ษะการคิดทหี่ ลากหลาย เป็นประสบการณท์ ี่จะนำไปใชไ้ ดใ้ นการดำเนินชีวติ 3. ผเู้ รยี นมีประสบการณ์ในการแลกเปลยี่ นความรคู้ วามเข้าใจกับสมาชิกภายในกลุ่ม

3.วิธสี อนแบบโครงงาน (Project Method) แนวคิด เป็นวีการจดั การเรยี นรูท้ ใี่ หผ้ ้เู รยี นได้ศึกษาค้นควา้ หรอื ปฏิบัตงิ านตามหวั ข้อที่ผู้เรียนสนใจ ซึง่ ผูเ้ รียน จะต้องฝึกกระบวนการทำงานอยา่ งมีขั้นตอน มกี ารวางแผนในการทำงานหรอื การแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ จนการ ดำเนนิ งานสำเรจ็ ลลุ ่วงตามวัตถุประสงค์ ส่งผลให้ผ้เู รียนมีทักษะการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย อนั เป็นประสบการณต์ รงที่ มคี ุณคา่ สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ ได้วีการสอนโครงงานสามารถสอนตอ่ เนื่องกับวสี อนแบบ บูรณาการได้ ท้งั ในรปู แบบบรู ณาการภายในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และบูรณาการระหวา่ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพื่อให้ ผ้เู รยี นไดน้ ำองค์ความรู้และประสบการณ์ทีไ่ ด้มาบูรณาการเพอ่ื ทำโครงงาน การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขนั้ กำหนดปัญหา หรือสำรวจความสนใจ ผสู้ อนเสนอสถานการณ์หรือตวั อย่างท่เี ปน็ ปัญหาและกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนหาวีการแกป้ ัญหาหรือยวั่ ยุให้ผ้เู รียนมีความต้องการใคร่เรียนใคร่รู้ ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง 2. ข้นั กำหนดจุดมงุ่ หมายในการเรียน ผสู้ อนแนะนำให้ผเู้ รียนกำหนดจุดมุง่ หมายให้ ชัดเจนวา่ เรยี นเพ่ืออะไร จะทำโครงงานนน้ั เพื่อแกป้ ญั หาอะไร ซึง่ ทำใหผ้ ู้เรียนกำหนดโครงงานแนวทางในการ ดำเนินงานไดต้ รงตามจุดม่งุ หมาย 3. ขั้นวางแผนและวเิ คราะห์โครงงาน ใหผ้ เู้ รยี นวางแผนแก้ปญั หา ซึ่งเปน็ โครงงานเดยี่ ว หรอื กลุม่ กไ็ ด้ แล้วเสนอแผนการดำเนินงานใหผ้ สู้ อนพจิ ารณา ให้คำแนะนำช่วยเหลือและขอ้ เสนอแนะการวางแผน โครงงานของผเู้ รียน ผู้เรียนเขียนโครงงานตามหัวข้อซ่ึงมีหัวข้อสำคัญ (ชอ่ื โครงงาน หลักการและเหตผุ ลวัตถุประสงค์ หรอื จุดมงุ่ หมาย เจ้าของโครงการ ทปี่ รึกษาโครงการ แหล่งความรู้ สถานท่ีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนนิ การ งบประมาณ วิธดี ำเนนิ การ เครอื่ งมือท่ใี ช้ ผลที่คาดว่าจะได้รบั ) 4. ขั้นลงมอื ปฏบิ ัตหิ รือแกป้ ัญหา ให้ผู้เรยี นลงมอื ปฏบิ ตั ิหรือแกป้ ญั หาตามแผนการท่ี กำหนดไว้โดยมีผสู้ อนเปน็ ที่ปรึกษา คอยสังเกต ติดตาม แนะนำใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั สงั เกต เก็บรวบรวมข้อมลู บันทึกผล ดำเนนิ การด้วยความมานะอดทน มกี ารประชมุ อภปิ ราย ปรึกษาหารือกันเปน็ ระยะ ๆ ผู้สอนจะเขา้ ไปเกย่ี วข้องเทา่ ท่ี จำเปน็ ผู้เรยี นเปน็ ผใู้ ช้ความคิด ความรู้ ในการวางแผนและตัดสนิ ใจทำด้วยตนเอง 5. ข้ันประเมินผลระหว่าปฏิบตั งิ าน ผ้สู อนแนะนำให้ผ้เู รียนร้จู ักประเมินผลก่อน ดำเนินการระหวา่ งดำเนนิ การและหลังดำเนินการ คอื รู้จักพิจารณาวา่ ก่อนทีจ่ ะดำเนินการมีสภาพเป็นอยา่ งไร มีปัญหา อย่างไรระหวา่ งทีด่ ำเนินงานตามโครงงานนัน้ ยังมสี ง่ิ ใดท่ีผิดพลาดหรอื เปน็ ขอ้ บกพร่องอยู่ ต้อแก้ไขอะไรอีกบา้ ง มี วธิ ีแกไ้ ขอย่างไร เมอ่ื ดำเนนิ การไปแล้วผ้เู รียนมแี นวคิดอยา่ งไร มีความพึงพอใจหรือไม่ ผลของการดำเนนิ การตาม โครงงาน ผู้เรียนได้ความรู้อะไร ไดป้ ระโยชน์อย่างไร และสามารถนำความรู้น้นั ไปพฒั นาปรับปรงุ งานได้อยา่ งดยี ิ่งขน้ึ หรอื เอาความร้นู ัน้ ไปใชใ้ นชีวิตไดอ้ ย่างไร โดยผ้เู รียนประเมินโครงงานของตนเองหรอื เพื่อนร่วมประเมิน จากนนั้ ผสู้ อน จึงประเมินผลโครงงานตามแบบประเมิน ซ่ึงผปู้ กครองอาจจะมสี ่วนร่วมในการประเมนิ ด้วยก็ได้ 6. ขนั้ สรุป รายงานผล และเสนอผลงาน เมอ่ื ผู้เรียนทำงานตามแผนและเก็บข้อมลู แลว้

ตอ้ งทำการวิเคราะห์ข้อมลู สรุปและเขียนรายงานเพื่อนำเสนอผลงาน ซ่ึงนอกเหนอื จากรายงานเอกสารแล้ว อาจมี แผนภมู ิ แผนภาพ กราฟ แบบจำลอง หรอื ของจริงประกอบการนำเสนอ อาจจดั ไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ จดั นิทรรศการ การแสดงละคร ฯลฯ ประโยชน์ 1. เป็นการสอนทม่ี งุ่ ให้ผู้เรยี นมีบทบาท มีส่วนร่วมในการจดั กระบวนการเรียนรู้ได้ปฏบิ ัติ จรงิ คิดเอง ทำเอง อย่างละเอียดรอบคอบ อยา่ งเปน็ ระบบ 2. ผู้เรยี นรจู้ ักวแี สวงหาขอ้ มูล สรา้ งองคค์ วามรู้และสรุปความร้ไู ด้ด้วยตนเอง 3. ผูเ้ รียนมีทักษะในการแกป้ ัญหา มที ักษะกระบวนการในการทำงาน มีทกั ษะการเคล่ือนไหวทางกาย 4. ผูเ้ รียนไดฝ้ ึกกระบวนการกล่มุ สัมพันธ์ ทำงานรว่ มกนั กับผู้อน่ื ได้ 5. ฝกึ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย คือการรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั มีเหตผุ ล มีการยอมรบั ในความรู้ ความสามารถซึ่งกนั และกัน 6. ผเู้ รยี นได้ฝึกลักษณะนิสัยทด่ี ีในการทำงาน เช่น การจดบนั ทึกข้อมูล การเกบ็ ข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ ความ รบั ผดิ ชอบ ความซอ่ื ตรง ความเอาใจใส่ ความขยนั หมน่ั เพียรในการทำงาน ร้จู ักทำงานอย่างเปน็ ระบบ ทำงานอย่างมี แผน ใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 7. ผู้เรียนเกดิ ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ และสามารถนำความรู้ ความคดิ หรือแนวทางที่ได้ไปใช้ในการ แกป้ ญั หาในชีวิต หรือในสถานการณ์อ่ืน ๆ ได้ 4.การจัดการเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน แนวคดิ เป็นกระบวนการจดั การเรียนรู้ที่เรม่ิ ต้นจากปัญหาทีเ่ กิดข้ึนโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทำงานกลุม่ ตวั ปญั หาจะเปน็ จุดตง้ั ต้นของกระบวนการเรียนรู้ และเป็นตวั กระตนุ้ การพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหาด้วยเหตุผล และการ สบื ค้นหาขอ้ มูลเพ่ือเขา้ ใจกลไกของตัวปญั หา รวมทง้ั วธิ ีการแก้ปญั หา การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ 1. ขนั้ ท่ี 1 กำหนดปญั หาจดั สถานการณ์ต่าง ๆ กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจ มองเห็นปัญหากำหนดสง่ิ ที่ เป็นปัญหาทีผ่ เู้ รียนอยากรอู้ ยากเรียน และเกดิ ความสนใจที่จะค้นหาคำตอบ 2. ทำความเขา้ ใจกับปัญหา ผู้เรยี นจะตอ้ งสามารถอธิบายสิง่ ตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อกบั ปัญหาได้ 3. ดำเนินการศึกษาค้นควา้ กำหนดสิ่งท่ตี ้องการเรียนและดำเนนิ การศึกษาค้นควา้ อยา่ งหลากหลาย 4. สงั เคราะหค์ วามรู้ ผเู้ รียนนำความรู้ทไี่ ด้ค้นควา้ มาแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกนั อภิปรายผลและสังเคราะห์ ความรู้ทไ่ี ด้มาวา่ มีความเหมาะสมหรอื ไม่ 5. สรปุ และประเมนิ ค่าของคำตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปสรุปผลงานของกลุ่มตนเอง ประเมนิ ผลงานว่าขอ้ มูลที่ ไดศ้ ึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสมเพยี งใด โดยการตรวจสอบแนวคดิ ภายในกลุ่มของตนเองอยา่ งอสิ ระ ทุกกลุ่มรว่ มกนั สรุปองค์ความร้ใู นภาพรวมของปญั หาอีกครั้ง

6. นำเสนอและประเมนิ ผลงาน ผเู้ รยี นนำข้อมูลที่ได้มาจัดระบบองคค์ วามรู้และนำเสนอในรปู แบบผลงานที่ หลากหลาย ผเู้ รยี นทกุ คนและผูเ้ กี่ยวขอ้ งกบั ปญั หา รว่ มกันประเมินผลงาน ประโยชน์ มงุ่ เน้นพัฒนาผ้เู รยี นในดา้ นทกั ษะและกระบวนการเรียนรู้ และพฒั นาผู้เรยี นใหส้ ามารถเรียนรโู้ ดยการชี้นำ ตนเอง ซ่งึ ผู้เรยี นจะไดฝ้ ึกฝนการสร้างองค์ความรโู้ ดยผ่านกระบวนการคดิ ด้วยการแก้ปัญหาอยา่ งมีความหมายต่อผ้เู รยี น 5.การจดั การเรียนรูแ้ บบคน้ พบ (Discovery Method) แนวคิด เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ให้ผู้เรยี นค้นหาคำตอบ หรือความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยผ้สู อนจะเป็นผ้สู รา้ ง สถานการณ์ในลกั ษณะท่ีผเู้ รียนจะเผชญิ กับปญั หา ซึ่งในการแกป้ ญั หานัน้ ผู้เรียนจะใช้กระบวนการทต่ี รงกับธรรมชาติ ของวิชาหรือปญั หานั้น เช่นผเู้ รียนจะศึกษาปัญหาทางชีววทิ ยา กจ็ ะใชว้ ธิ ีเดียวกนั กับนักชีววิทยาศึกษา หรือผ้เุ รียนจะ ศึกษาปัญหาประวตั ิศาสตร์ ก็จะใชว้ ิธีการเชน่ เดียวกบั นกั ประวตั ิศาสตร์ศึกษา ดงั นั้น จงึ เป็นวิธจี ดั การเรียนรทู้ เ่ี น้น กระบวนการ เหมาะสำหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ แตก่ ็สามารถใช้กับวธิ ีอน่ื ๆ ได้ ในการแก้ปัญหาน้ัน ผเู้ รียน จะตอ้ งนำข้อมลู ทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบใหมห่ รือเกดิ ความคดิ รวบยอดในเร่อื งนน้ั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรแู้ บบคน้ พบเน้นให้ผูเ้ รยี นคน้ หาคำตอบหรือความรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงผ้เู รียนจะใชว้ ธิ กี ารหรือ กระบวนการต่าง ๆ ที่เห็นวา่ มีประสิทธภิ าพและตรงกับธรรมชาตขิ องวิชา หรือปัญหา ดังนน้ั จงึ มผี ้นู ำเสนอวิธกี ารการ จดั การเรียนรู้ไวหลากหลาย เชน่ การแนะให้ผเู้ รยี นพบหลักการทางคณิตศาสตรด์ ว้ ยตนเองโดยวิธอี ปุ นัย การทผี่ เู้ รียน ใช้กระบวนการแก้ปัญหาแล้วนำไปสกู่ ารค้นพบ มีการกำหนดปญั หา ต้งั สมมตฐิ านและรวบรวมขอ้ มูล ทดสอบ สมมติฐานและสรุปข้อคน้ พบ ซง่ึ อาจใชว้ ธิ กี ารเก็บข้อมูลจากการทดลองดว้ ย การทผี่ ูส้ อนจดั โปรแกรมไวใ้ หผ้ เู้ รียนใช้ การคิดแบบอุปนัยและนิรนัยในเรอื่ งต่างๆ กส็ ามารถได้ข้อคน้ พบดว้ ยตนเอง ผู้สอนจะเป็นผู้ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำหรือ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนใช้วิธีหรอื กระบวนการทีเ่ หมาะสม จากเหตุผลดังกลา่ ว ขัน้ ตอนการเรยี นรู้จงึ ปรับเปลีย่ นไปตามวิธีหรอื กรอบกระบวนการต่างๆท่ีใช้ แตใ่ น ที่น้จี ะเสนอผลการพบความรู้ ขอ้ สรุปใหม่ ด้วยการคิดแบบอปุ นัยและนิรนัย การจดั การเรียนรู้แบบคน้ พบมขี ัน้ ตอนสำคัญดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรียน ผู้สอนกระตุน้ และเร้าความสนใจของผู้เรยี นใหส้ นใจทจ่ี ะศกึ ษาบทเรยี น 2. ขน้ั เรียนรู้ ประกอบด้วย 2.1 ผู้สอนใชว้ ิธีจัดการเรียนรู้ แบบอปุ นัยในตอนแรก เพอ่ื ให้ผ้เู รียนค้นพบขอ้ สรุป 2.2 ผ้สู อนใชว้ ธิ ีตดั การเรยี นรู้ แบบนริ นัย เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนนำข้อสรปุ ท่ีได้ในข้อ 2 ไปใชเ้ พื่อเรียนรหู้ รือ คน้ พบข้อสรปุ ใหม่ในตอนที่สอง โดยอาศยั เทคนิคการซักถาม โตต้ อบ หรอื อภปิ รายเพื่อเป็นแนวทางในการค้นพบ 2.3 ผูเ้ รียนสรุปขอ้ คน้ พบหรอื ความคิดรวบยอดใหม่ 3. ข้นั นำไปใช้

ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนนำเสนอแนวทางการนำข้อคน้ พบที่ได้ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา อาจใชว้ ธิ ีการใหท้ ำ แบบฝกึ หัดหรอื แบบทดสอบหลงั เรียน เพื่อประเมินผลวา่ ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรจู้ รงิ หรือไม่ ประโยชน์ 1. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นคิดอยา่ งมเี หตผุ ล 2. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นคน้ พบสงิ่ ที่ค้นพบได้นานและเข้าใจอยา่ งแจ่มแจง้ 3. ผูเ้ รยี นมคี วามม่นั ใจ เพราะได้เรยี นร้สู ง่ิ ใหม่อย่างเขา้ ใจจริง 4. ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนมีพฒั นาการทางดา้ นความคดิ 5. ปลูกฝังนิสัยรักการอา่ น คน้ คว้าเพ่ือหาคำตอบดว้ ยตนเอง 6. กอ่ ใหเ้ กิดแรงจูงใจ ความพึงพอใจในตนเองต่อการเรียนสงู 7. ผู้เรยี นรู้วธิ ีสร้างความร้ดู ว้ ยตนเอง เช่น การหาขอ้ มลู การวิเคราะห์และสรุปขอ้ ความรู้ 8. เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นทฉ่ี ลาด มคี วามเชือ่ มัน่ ในตนเองและมีแรงจูงใจสูง 6.การจัดการเรยี นรแู้ บบนิรนยั (Deductive Method) แนวคิด กระบวนการท่ีผูส้ อนจดั การเรียนรูใ้ ห้ผ้เู รยี นมีความเข้าใจเกีย่ วกบั กฎ ทฤษฎี หลกั เกณฑ์ ข้อเท็จจริงหรือ ข้อสรุปตามวัตถปุ ระสงคใ์ นบทเรียน จากนนั้ จึงใหต้ ัวอยา่ งหลายๆตัวอย่าง หรืออาจให้ผู้เรยี นฝึกการนำ ทฤษฎี หลักการ หลกั เกณฑ์ กฎหรอื ขอ้ สรุปไปใชใ้ นสถานการณ์ทห่ี ลากหลาย หรอื อาจเป็นหลกั ลักษณะให้ผ้เู รียน หาหลักฐานเหตผุ ลมาพิสูจน์ยืนยันทฤษฎี กฎหรอื ข้อสรุปเหล่านน้ั การจัดการเรยี นรแู้ บบนีจ้ ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเป็นคนมี เหตุผล ไมเ่ ช่ืออะไรง่ายๆ และมคี วามเขา้ ใจในกฎเกณฑ์ ทฤษฎี ขอ้ สรุปเหล่าน้ันอยา่ งลกึ ซงึ้ การสอนแบบนอี้ าจกล่าว ไดว้ า่ เปน็ การสอนจากทฤษฎีหรือกฎไปสูตวั อยา่ งท่เี ปน็ รายละเอยี ด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสอนแบบนิรนัยมขี ัน้ ตอนสำคัญดังต่อไปน้ี 1. ขั้นกำหนดขอบเขตของปัญหา เปน็ การนำเข้าสูบทเรียนโดยการเสนอปัญหาหรือระบสุ ่ิงท่ี จะสอนในแง่ของปัญหา เพ่อื ยัว่ ยุให้ผู้เรียนเกดิ ความสนใจท่ีจะหาคำตอบ ปญั หาทจี่ ะนำเสนอควรจะเกี่ยวขอ้ งกบั สถานการณ์ของชวี ิตและเหมาะสมกับวฒุ ภิ าวะของผเู้ รียน 2. ขน้ั แสดงและอธิบายทฤษฎี หลกั การ เปน็ การนำเอาทฤษฎี หลกั การ กฎ ข้อสรปุ ทีต่ อ้ งการสอนมาให้ ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ทฤษฎี หลกั การนั้น 3. ขน้ั ใชท้ ฤษฎี หลกั การ เปน็ ข้นั ทผ่ี ูเ้ รยี นจะเลือกทฤษฎี หลกั การ กฎ ขอ้ สรปุ ท่ีได้จากการเรยี นรู้มาใช้ ในการแกป้ ัญหาที่กำหนดไว้ได้ 4. ข้ันตรวจสอบและสรุป เป็นขัน้ ทีผ่ เู้ รียนจะตรวจสอบและสรุปทฤษฎี หลกั การ กฎ ขอ้ สรุปหรือนิยามทใ่ี ช้ ว่าถูกตอ้ ง สมเหตสุ มผลหรอื ไม่ โดยอาจปรึกษาผูส้ อน หรอื คน้ ควา้ จากตำราต่างๆ หรอื จากการทดลอง ข้อสรปุ ที่ได้ พิสจู นห์ รือตรวจสอบว่าเป็นจริง จงึ จะเปน็ ความรู้ท่ีถูกต้อง 5. ขนั้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ เมอื่ ผ้เู รียนเกิดความเขา้ ใจในทฤษฎี หลักการ กฎ ขอ้ สรุป พอสมควรแลว้ ผู้สอนเสนอ สถานการณ์ใหม่ใหผ้ เู้ รยี นฝึกนำความรมู้ าประยุกต์ใช้ในสถานการณใ์ หม่ๆท่ีหลากหลาย

ประโยชน์ 1. เป็นวธิ ีการท่ชี ว่ ยในการถา่ ยทอดเน้ือหาสาระไดง้ า่ ย รวดเรว็ และไม่ยุ่งยาก 2. ใช้เวลาในการจัดการเรยี นรู้ไม่มากนัก 3. ฝึกให้ผเู้ รยี นรไู้ ด้นำเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุปหรือนิยามไปใชใ้ นสถานการณ์ใหมๆ่ 4. ใชไ้ ด้ผลดีในการจดั การเรียนรู้วชิ าศลิ ปศกึ ษาและคณิตศาสตร์ 5. ฝึกให้ผู้เรียนมเี หตผุ ล ไม่เช่อื อะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพสิ ูจนใ์ ห้เห็นจรงิ 7. การจดั การเรยี นรแู้ บบอปุ นยั (Induction Method) แนวคิด กระบวนการท่ผี ้สู อนจากรายละเอยี ดปลีกยอ่ ย หรอื จากส่วนยอ่ ยไปหาส่วนใหญ่ หรือ กฎเกณฑ์ หลกั การ ข้อเท็จจรงิ หรอื ข้อสรปุ โดยการนำเอาตวั อยา่ งข้อมลู เหตุการณ์ สถานการณห์ รือ ปรากฏการณ์ ท่ีมหี ลักการแฝงอยมู่ าให้ผู้เรียนศึกษา สังเกต ทดลอง เปรยี บเทยี บหรอื วิเคราะหจ์ นสามารถสรุป หลกั การหรอื กฎเกณฑไ์ ด้ดว้ ยตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรแู้ บบอุปนยั มีขน้ั ตอนสำคญั ดังตอ่ ไปน้ี 1. ขน้ั เตรียมการ เปน็ การเตรยี มตวั ผเู้ รยี น ทบทวนความรูเ้ ดิมหรือปูพนื้ ฐานความรู้ 2. ขน้ั เสนอตัวอย่าง เปน็ ขั้นท่ีผู้สอนนำเสนอตัวอยา่ งข้อมลู สถานการณ์ เหตกุ ารณ์ ปรากฏการณ์ หรอื แนวคิดให้ผ้เู รยี นได้สงั เกตลักษณะและคุณสมบตั ิของตัวอย่างเพื่อพจิ ารณาเปรยี บเทยี บสรปุ เป็นหลกั การ แนวคิด หรือ กฎเกณฑ์ ซึง่ การนำเสนอตวั อยา่ งควรเสนอหลายๆตัวอยา่ งใหม้ ากพอท่ผี ้เู รยี นสามารถสรุปเปน็ หลกั การหรอื หลักเกณฑ์ ต่างๆได้ 3. ข้ันเปรยี บเทยี บ เปน็ ข้ันที่ผ้เู รียนทำการสงั เกต ค้นคว้า วิเคราะห์ รวบรวม เปรยี บเทยี บความ คล้ายคลึงกันขององคป์ ระกอบในตัวอย่าง แยกแยะขอ้ แตกตา่ ง มองเหน็ ความสัมพนั ธ์ในรายละเอียดท่ี เหมือนกนั ต่างกนั ในขัน้ น้ีหากตวั อย่างท่ีให้แกผ่ ู้เรียนเป็นตัวอย่างทด่ี ี ครอบคลุมลักษณะหรือคุณสมบตั สิ ำคัญๆของ หลกั การ ทฤษฎกี ็ย่อมจะชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถศึกษาและวเิ คราะหไ์ ด้ตรงตามวัตถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างรวดเร็ว แตห่ าก ผู้เรียนไมป่ ระสบความสำเรจ็ ผู้สอนอาจให้ข้อมลู เพิม่ เติม หรอื ใช้วธิ ีกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นได้คิดคน้ ต่อไป โดยการตั้ง คำถามกระต้นุ แต่ไมค่ วรให้ในลกั ษณะบอกคำตอบ เพราะวิธีสอนน้ีมุง่ ให้ผเู้ รยี นได้คิด ทำความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง ควร ใหผ้ เู้ รียนได้ร่วมกันคดิ วิเคราะหเ์ ป็นกลุ่มยอ่ ย เพ่อื จะได้แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ซ่งึ กนั และกนั โดยเนน้ ให้ผเู้ รียนทุกคน มีสว่ นรว่ ม ในการอภปิ รายกลมุ่ อย่างท่ัวถึง และผู้สอนไม่ควรรีบร้อนหรอื เรง่ เรา้ ผู้เรยี นจนเกนิ ไป 4. ขั้นกฎเกณฑ์ เป็นการให้ผ้เู รียนนำขอ้ สังเกตตา่ งๆ จากตัวอย่างมาสรุปเป็นหลักการ กฎเกณฑ์หรอื นยิ าม ด้วยตัวผเู้ รยี นเอง

5. ขน้ั นำไปใช้ ในขน้ั นี้ผู้สอนจะเตรียมตัวอย่างข้อมลู สถานการณ์ เหตกุ ารณ์ ปรากฏการณห์ รือความคิด ใหม่ๆ ท่ีหลากหลายมาใหผ้ ู้เรียนใชใ้ นการฝกึ ความรู้ ข้อสรุปไปใช้ หรอื ผ้สู อนอาจให้โอกาสผเู้ รียนชว่ ยกันยกตัวอย่าง จากประสบการณข์ องผเู้ รยี นเองเปรยี บเทยี บกไ็ ด้ เป็นการส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนนำความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั และจะทำให้ผู้เรียนเกดิ ความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ยง่ิ ข้ึน รวมทั้งเป็นการทดสอบความเข้าใจของผเู้ รยี นวา่ หลักการท่ีได้รัยนนั้ สามารถนำไปใชแ้ ก้ปัญหาและทำแบบฝกึ หัดไดห้ รือไมห่ รือเปน็ การประเมินว่าผเู้ รียนไดบ้ รรลุ วัตถปุ ระสงค์ทีต่ งั้ ไวห้ รือไม่นนั่ เอง ประโยชน์ 1. เป็นวธิ กี ารทท่ี ำใหผ้ เู้ รียนสามารถค้นพบความรู้ดว้ ยตนเอง ทำใหเ้ กิดความเข้าใจและจดจำได้นาน 2. เปน็ วธิ ีการทฝ่ี ึกใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ัฒนาทักษะการสงั เกต คิดวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ ตามหลักตรรกศาสตร์ และหลกั วิทยาศาสตร์ สรุปด้วยตนเองอย่างมเี หตผุ ลอนั จะเป็นเครื่องมือสำคญั ของการเรียนรู้ ซ่งึ ใชไ้ ดด้ ีกบั การวิชา วิทยาศาสตร์ 3. เป็นวธิ กี ารท่ีผเู้ รยี นไดท้ ัง้ เน้ือหาความรู้ และกระบวนการซ่งึ ผูเ้ รียนสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้ เรือ่ งอน่ื ๆได้ 8.การพฒั นาทกั ษะ/กระบวนการแกป้ ัญหา แนวคิด การพฒั นาทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหา โดยการจดั สถานการณ์ หรือปัญหา หรือเกมส์ทนี่ า่ สนใจ ทา้ ทายใหอ้ ยากคดิ อาจเร่ิมดว้ ยปญั หาทผ่ี ู้เรยี นสามารถใช้ความรู้ท่เี รียนมาแลว้ มาประยกุ ต์ก่อน ต่อจากนั้นจึงเพิม่ สถานการณห์ รือปญั หาที่แตกตา่ งจากทีเ่ คยพบมา การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กระบวนการแกป้ ญั หามี 4 ข้ันตอน 1. ทำความเข้าใจปัญหาหรือวเิ คราะห์ปญั หา 2. วางแผนแก้ปญั หา 3. ดำเนนิ การแก้ปัญหา 4. ตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ ประโยชน์ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามเข้าใจกระบวนการและพัฒนาทกั ษะ เนน้ ฝึกวเิ คราะห์แนวคดิ อย่างหลากหลาย

9.การพฒั นาทกั ษะ/กระบวนการใหเ้ หตผุ ล แนวคดิ เป็นการจัดสถานการณห์ รอื ปัญหาทีน่ ่าสนใจใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติ ผสู้ อนจะใชค้ ำถามกระตนุ้ ด้วยคำ วา่ ทำไม อย่างไร เพราะเหตใุ ด เป็นตน้ พร้อมทัง้ ให้ข้อคิดเพ่ิมเตมิ เช่น “ถา้ ......แลว้ ผ้เู รียนคิดว่า จะเป็น อยา่ งไร” เหตุผลทไี่ ม่สมบูรณ์ตอ้ งไมต่ ัดสินวา่ ไมถ่ ูกตอ้ ง แต่ใชค้ ำพูดเสรมิ แรงใหก้ ำลังใจ เชน่ “คำตอบท่ีนักเรียนใหม้ ี บางส่วนถกู ตอ้ ง นกั เรยี นคนใดจะอธบิ ายหรือให้เหตุผลเพ่ิมเตมิ ของเพื่อนได้อีกบา้ ง” เพื่อให้ผู้เรยี นมีการเรียนรรู้ ่วมกัน มากข้ึน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ วิธกี ารจัดการเรยี นรู้ 1. ใหน้ ักเรยี นพบกบั โจทยป์ ัญหาท่ีน่าสนใจเป็นปัญหาทไี่ ม่ยากเกินทีน่ ักเรียนจะคดิ และให้เหคุผลของคำตอบได้ 2. ผู้เรยี นมโี อกาส มอี สิ ระในการแสดงความคดิ เห็นในการใชแ้ ละใหเ้ หคผุ ลของตนเอง 3. ผสู้ อนช่วยสรปุ และชแ้ี จงให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจว่าเหตผุ ลของผู้เรียนถกู ตอ้ งตามหลกั เกณฑ์หรือไม่ ขาดตกบกพร่อง อยา่ งไร ประโยชน์ การพัฒนาทักษะ/กระบวนการใหเ้ หตผุ ล เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนสามารถคิดอย่างมเี หตผุ ลและรู้จักให้ เหตผุ ลและรว่ มกนั หาคำตอบ 10. การพฒั นาทกั ษะ/กระบวนการส่อื สาร การส่อื ความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนาเสนอ แนวคดิ เป็นการฝึกทกั ษะใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักคิดวเิ คราะหป์ ัญหา สามารถเขียนปญั หาในรปู แบบของตาราง กราฟหรือ ข้อความ เพ่อื ส่ือสารความสัมพนั ธ์ของจำนวนเหล่าน้ัน การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การพัฒนาทกั ษะ/กระบวนการสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอมีแนวทาง ดงั น้ี 1. กำหนดโจทย์ปญั หาทีน่ า่ สนใจ และเหมาะสมกบั ความสามารถของผเู้ รียน 2. ใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมือปฏิบัติและแสดงความคิดเห็นดว้ ยตนเอง โดยผูส้ อนชว่ ยชแ้ี นะแนวทางในการ สือ่ สาร สื่อความหมายและการนำเสนอ ประโยชน์ การพฒั นาทักษะ/กระบวนการสอื่ สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอเพ่ือให้ นกั เรยี นเกิดทักษะ การสื่อสาร การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ

11. การคน้ หารปู แบบ (Pattern Seeking) แนวคิด เปน็ การสังเกต และบนั ทึกปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ หรอื ทำการสำรวจตรวจสอบ โดยท่ีไม่สามารถ ควบคุมตวั แปรได้ แลว้ คิดหารูปแบบจากข้อมูลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การค้นหารูปแบบประกอบดว้ ย 1. การจำแนกประเภทและการระบุช่อื 2. การสำรวจและค้นหา 3. การพฒั นาระบบ 4. การสร้างแบบจำลองเพ่ือการสำรวจตรวจสอบ ประโยชน์ การค้นหารปู แบบ (Pattern Seeking) เพ่อื ฝึกนักเรยี นใหส้ ามารถสร้างรปู แบบ และสร้างความรู้ได้ 12.การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) แนวคิด เปน็ กระบวนการที่ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นได้สบื ค้น สบื เสาะ สำรวจ ตรวจสอบ และคน้ ควา้ ด้วยวธิ กี าร ต่างๆ จนเกดิ ความเขา้ ใจและรับรูค้ วามรูน้ ้นั อยา่ งมคี วามหมาย การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ประกอบดว้ ย 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) เป็นการนำเขา้ สู่บทเรียนโดยนำเรือ่ งท่ีสนใจ อาจมาจากเหตุการณ์ท่ี กำลงั เกิดขน้ึ อยู่ในชว่ งเวลานน้ั หรอื เช่อื มโยงกบั ความรูเ้ ดิมท่ีเรยี นมาแลว้ เปน็ ตวั กระต้นุ ใหน้ กั เรยี นสรา้ งคำถาม เป็น แนวทางทีใ่ ชใ้ นการสำรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย 2. ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) เมื่อทำความเขา้ ใจในประเด็นหรอื คำถามทสี่ นใจ มีการกำหนดแนว ทางการสำรวจตรวจสอบ ตัง้ สมมติฐาน กำหนดทางเลอื กที่เปน็ ไปได้ ลงมอื ปฏบิ ัติเพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มลู ข้อสนเทศ หรอื ปรากฏการณต์ า่ งๆ วธิ กี ารตรวจสอบอาจทำไดห้ ลายวิธี เชน่ ทำการทดลอง ทำกิจกรรมภาคสนาม การศกึ ษา ขอ้ มลู จากเอกสารตา่ งๆ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) เมอ่ื ไดข้ ้อมูลเพยี งพอ จงึ นำข้อมลู ท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ แปล ผล สรปุ ผล นำเสนอผลทไ่ี ด้ในรปู แบบต่างๆ เชน่ บรรยายสรปุ สรา้ งแบบจำลองหรอื รปู วาด 4. ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) เปน็ การนำความรทู้ ส่ี ร้างขึน้ ไปเช่ือมโยงกับความรเู้ ดมิ แนวคดิ ท่ีไดจ้ ะช่วย เช่ือมโยงกบั เร่ืองตา่ งๆ ทำให้เกิดความรู้กว้างข้ึน 5. ข้ันประเมิน (Evaluation) เปน็ การประเมนิ การเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ วา่ นกั เรยี นมคี วามรู้ อะไรบ้าง อย่างไรและมากน้อยเพยี งใด จากนั้นจะนำไปสู่การนำความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นเร่อื งอน่ื ๆ ประโยชน์

กระบวนการสบื เสาะหาความรูช้ ว่ ยให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้ท้ังเนื้อหา หลักและ หลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมอื ปฏิบัติเพือ่ ให้ได้ความรู้ 13.วธิ สี อนแบบอปุ นยั (Inductive Method) วธิ ีสอนแบบอปุ นยั เป็นการสอนรายละเอยี ดปลกี ย่อยไปหากฎเกณฑ์ หรอื สอนจากตัวอย่าง ไปหากฎเกณฑ์ น่นั คือ นกั เรียนไดเ้ รียนร้ใู นรายละเอียดกอ่ นแล้วจงึ สรุป ตวั อยา่ งของวธิ สี อนน้ี ได้แก่ การให้โอกาส นักเรียนในการศกึ ษาค้นคว้าสังเกต ทดลอง เปรยี บเทยี บแล้วพิจารณาค้นหาองค์ประกอบทเ่ี หมอื นกันหรอื คล้ายคลึงกนั จากตวั อย่างต่างๆ เพื่อนำมาเป็นข้อสรุป ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบอุปนยั 1. เพือ่ ให้นักเรยี นได้ค้นพบกฎเกณฑ์หรือความจริงท่สี ำคัญๆ ดว้ ยตนเอง โดยการทำความ เขา้ ใจความหมาย แล้วจงึ สร้างความสมั พันธ์ของความคิดต่างๆ ให้แจ่มแจง้ ก่อนนำมาสรุปกฎเกณฑ์ ครูผู้สอนมีหน้าทใี่ น การกระตุ้นและให้แนวทางการศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเองของนักเรียน 2. เพือ่ ให้นักเรยี นมีทักษะในการสรปุ หลักเกณฑจ์ ากรายละเอียดอยา่ งมรี ะบบ ขนั้ ตอนในการสอนแบบอุปนัย 1. ขั้นเตรยี มนักเรียน เป็นการเตรยี มความรูแ้ ละแนวทางในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนักเรียน ดว้ ยการทบทวนความรู้เดิม กำหนดจดุ มงุ่ หมาย และอธบิ ายความมุ่งหมายใหเ้ ข้าใจอยา่ งแจม่ แจง้ 2. ขั้นเสนอตัวอยา่ งหรือกรณีศกึ ษาต่างๆ ให้นักเรยี นพจิ ารณาเปรยี บเทยี บและสรปุ กฎเกณฑ์ การเสนอตวั อย่างควรเสนอหลายๆ ตัวอยา่ งใหม้ ากพอท่ีจะสรปุ กฎเกณฑ์ได้ 3. ขน้ั หาองค์ประกอบรวม คือ การใหน้ ักเรยี นมีโอกาสพจิ ารณาความคลา้ ยคลึงกนั ของ องคป์ ระกอบจากตัวอยา่ งเพื่อเตรยี มสรปุ กฎเกณฑ์ 4. ขนั้ สรุปขอ้ สงั เกตตา่ งๆ จากตัวอยา่ งเปน็ กฎเกณฑ์ นยิ าม หลักการ ด้วยตัวนักเรยี นเอง 5. ขน้ั นำขอ้ สรปุ หรือกฎเกณฑ์ทไี่ ดจ้ ากการทดลองหรือส่งิ ท่ีเข้าใจไปใช้ในสถานการณ์อื่น ข้อดีของวธิ สี อนแบบอุปนัย 1. นกั เรียนสามารถสร้างความเขา้ ใจในรายละเอียด และหาขอ้ สรุปไดอ้ ย่างชัดเจนจดจำนาน 2. นักเรยี นไดร้ ับการฝึกทกั ษะการคิดตามหลกั การ เหตผุ ล และหลกั วิทยาศาสตร์ 3. นกั เรียนเขา้ ใจวธิ กี ารในการแก้ปญั หาและสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประวันได้ดี ข้อสงั เกตของวธิ ีสอนแบบอุปนยั 1. ในการสอนแตล่ ะขน้ั ครูควรให้โอกาสนักเรียนคดิ อย่างอิสระ 2. ครคู วรสรา้ งบรรยากาศในการเรียนรทู้ ไ่ี มเ่ ปน็ ทางการเพ่ือลดความเครยี ดและเบื่อหน่าย 3. วิธสี อนแบบอุปนัยจะให้ผลสมั ฤทธิส์ ูงถ้าครสู ร้างความเข้าใจทกุ ขั้นตอนอย่างดีก่อนสอน *********************

14.วธิ สี อนแบบนิรนยั (Deductive Method) เปน็ วธิ สี อนที่เรม่ิ จากกฎเกณฑห์ รือหลักการต่างๆแล้วให้นักเรียนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสจู น์ยืนยนั นน่ั คือการฝกึ ทกั ษะในการคดิ อย่างมีเหตุผล มกี ารพสิ ูจนต์ รวจสอบขอ้ เท็จจรงิ อนั มีที่มาจากหลักการ ความมงุ่ หมายของวธิ สี อนแบบนริ นยั 1. เพอื่ ให้นักเรียนไดเ้ รยี นรวู้ ิธีการแกป้ ัญหาโดยยึดกฎ สูตร และหลกั เกณฑต์ ่างๆ 2. เพ่อื ฝกึ ทกั ษะการแก้ปัญหาและตัดสนิ ใจในการทำงาน ด้วยการพสิ จู นใ์ ห้ทราบขอ้ เทจ็ จริง ขนั้ ตอนของวิธีสอนแบบนิรนัย 1. ขน้ั อธบิ ายปญั หาเปน็ ข้ันของการกำหนดปญั หาและกระตุ้นใหน้ กั เรยี นเกดิ ความสนใจที่จะ หาคำตอบในการแก้ปัญหา 2. ขั้นอธบิ ายกฎหรอื หลักการเพือ่ การแก้ปัญหา เปน็ การนำเอาข้อสรปุ กฎเกณฑ์ หลักการ มาอธบิ ายให้นักเรยี นได้เลือกใช้ในการแกป้ ัญหา 3. ขน้ั ตัดสินใจ เป็นข้นั ทน่ี ักเรียนจะเลือกกฎ หรือหลักการ หรือขอ้ สรปุ มาใช้ในการแกป้ ัญหา 4. ขนั้ พิสจู น์หรือตรวจสอบ เปน็ ข้ันการนำหลักฐานหรือเหตุผลมาพสิ ูจนต์ รวจสอบข้อเท็จจริง ตามหลักการนั้นๆ ข้อดีของวิธีสอนแบบนริ นยั 1. วธิ ีสอนแบบนิรนยั ใชไ้ ด้กบั การสอนเน้ือหาวชิ าง่ายๆ เนอื่ งจากหลักการหรอื กฎเกณฑ์ ตา่ งๆจะสามารถอธบิ ายให้นักเรยี นเข้าใจความหมายได้ดี เป็นการอธิบายจากสว่ นใหญ่ไปหาส่วนย่อย 2. เปน็ วิธสี อนทฝ่ี ึกทักษะการคิดอย่างมเี หตุผล และพิสจู น์ข้อเท็จจรงิ ได้ ขอ้ สังเกตของวธิ สี อนแบบนิรนยั 1. ครูผสู้ อนตอ้ งศึกษากฎเกณฑ์ หลกั การหรือข้อสรุปต่างๆ อย่างแม่นยำก่อนทำการสอน 2. การสอนวธิ นี ี้ครูเป็นผกู้ ำหนดความคิดรวบยอดใหน้ กั เรียน จงึ ไมช่ ่วยฝกึ ทักษะในการคิด หาเหตผุ ลและแก้ปัญหาด้วยตัวนกั เรียนเองไดม้ ากเทา่ ที่ควร *********************

15. วธิ ีสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) เปน็ การสอนโดยทนี่ กั เรียนแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกันเพ่ือช่วยแก้ไขปญั หาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การ อภิปรายกระทำระหว่างครกู บั นกั เรียน หรือระหว่างนักเรียนด้วยกัน โดยมีครูเป็นผูป้ ระสานงาน วธิ ีการสอนแบบ อภิปรายจะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นคิดเป็น พูดเปน็ และสร้างความเปน็ ประชาธปิ ไตย ความมุ่งหมายของวธิ ีสอนแบบอภปิ ราย 1. เพอื่ ส่งเสรมิ การทำงานร่วมกันแบบประชาธปิ ไตย 2. เพือ่ ฝกึ ทักษะในการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ซ่งึ กนั และกัน 3. เพ่อื ฝึกทักษะในการพูด และการแสดงความคิดสร้างสรรค์ ขนั้ ตอนของวธิ สี อนแบบอภิปราย 1. ขั้นนำเขา้ ส่หู ัวข้อการอภิปรายเปน็ ขัน้ การกระตุ้นหรือเร้าความสนใจของนกั เรียนให้มีความ สนใจรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเห็น 2. ขน้ั อภปิ ราย ใหแ้ บ่งนักเรียนเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝา่ ยผ้อู ภปิ รายซึ่งอยูห่ นา้ ชัน้ เรยี นกับฝ่ายผูฟ้ ัง ฝา่ ยผู้อภปิ รายประกอบด้วยประธาน 1 คนทำหนา้ ทเี่ ป็นผู้ดำเนนิ การอภปิ รายเปน็ ผูเ้ สนอปญั หา สรุปประเด็นสำคัญ และนำการอภปิ รายไม่ใหอ้ อกนอกทาง ตัดบทสมาชกิ ท่ถี กเถียงกัน การนำเข้าสู่หวั ข้อการอภปิ ราย ประธานตอ้ งแนะนำ หัวขอ้ ที่จะอภิปรายจากนัน้ แนะนำสมาชิกผู้ร่วมอภปิ รายแต่ละคน ขอ้ ดีของวธิ ีสอนแบบอภิปราย 1. สง่ เสริมให้นกั เรยี นทกุ คนมีโอกาสแสดงความคิดเหน็ และรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื 2. พฒั นาสตปิ ญั ญาของนักเรียนดา้ นการคดิ หาเหตผุ ล 3. สง่ เสรมิ การค้นควา้ หาความรู้ของนักเรียนเพ่อื นำมาใช้ในการอภปิ ราย 4. ผเู้ รียนสามารถนำวิธกี ารอภิปรายไปใชไ้ ด้ในชวี ิตประจำวัน ข้อสังเกตของวธิ ีสอนแบบอภปิ ราย 1. หากผดู้ ำเนินการอภิปรายไม่มคี วามสามารถในการอภิปราย จะทำให้การอภปิ รายไม่ สัมฤทธิผ์ ล และสิ้นเปลอื งเวลามาก 2. หากการต้ังหวั ข้อไมด่ ีจะทำใหไ้ ม่ได้ข้อสรปุ ของการอภิปราย 3. ครูผสู้ อนตอ้ งควบคุมให้การอภิปรายดำเนนิ ไปตามหลกั การท่ีถูกต้อง เช่น ประธานต้องไม่ ใชค้ วามคิดของตนเองชนี้ ำจนผูร้ ว่ มอภิปรายไม่ใชค้ วามคดิ ของตนเอง *********************

16.วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน ความมงุ่ หมายของการสอบแบบสืบสวนสอบสวน 1. เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนสบื สวนสอบสวนความรู้หรือข้อเท็จจรงิ ดว้ ยตนเอง 2. เพ่อื ฝกึ ใหน้ ักเรียนรจู้ กั คดิ หาเหตผุ ล 3. เพอื่ ฝึกใหน้ ักเรียนรู้จักคดิ เปน็ ทำเป็น แกป้ ัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง ขน้ั ตอนของวิธีการสอนแบบสบื สวนสอบสวน ขน้ั ที่ 1 การสังเกต (Observation) หลงั จากกำหนดประเด็นปัญหา ใหน้ กั เรียนสังเกตสภาพ แวดลอ้ มท่ีก่อใหเ้ กดิ ปัญหา พยายามนำความคดิ รวบยอดเดิมมาแกป้ ญั หาโดยคดิ หาเหตผุ ล จัดลำดบั ความคิดในรปู แบบ ต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งสัมพนั ธ์กับสภาพการณ์อนั เป็นปัญหานั้น ขั้นท่ี 2 การอธบิ าย (Explanation) นกั เรยี นจดั ระบบความคิด ต้ังสมมุติฐานเพือ่ อธบิ าย ความคดิ รปู แบบต่างๆ ในการแกป้ ญั หา ทบทวนความคดิ และทำความเข้าใจปัญหานน้ั ๆใหช้ ดั เจน ข้นั ที่ 3 การทำนาย (Prediction) เม่อื อธบิ ายความคดิ รปู แบบต่างๆ ในการแก้ปัญหาแล้วให้นักเรียนทำนาย หรอื พยากรณป์ ัญหาท่ีอาจเกิดขน้ึ ได้อีกวา่ เม่ือเกดิ แลว้ ผลเปน็ อย่างไรและแก้ไขอย่างไร ขั้นที่ 4 การนำไปใชแ้ ละสรา้ งสรรค์ (Control and Creativity) นกั เรยี นสามารถนำเหตุผลและความเข้าใจใน การแกป้ ัญหาไปใช้ประโยชน์ให้กว้างไกลในชีวติ ประจำวันได้ รวมท้ังมีความคดิ สร้างสรรคน์ ำไปใช้ในสภาพการณอ์ ื่นๆ ข้อดีของวิธสี อนแบบสบื สวนสอบสวน 1. นักเรยี นสามารถใชค้ วามคิด สติปญั ญาและประสบการณ์เดิมของตนเองอย่างมีอสิ ระ 2. ชว่ ยส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นเปน็ คนชา่ งสงั เกต มีเหตุผลไมเ่ ชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่ตรวจสอบ 3. นกั เรยี นเกดิ ความเช่ือม่ัน กล้าแสดงความคิดเห็น ขอ้ สังเกตของวิธสี อนแบบสืบสวนสอบสวน 1. ครูมบี ทบาทสำคญั ในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เน่ืองจากครตู ้องป้อนคำถามให้กับ นักเรียนเพ่ือนำไปสกู่ ารคดิ ค้นคว้า 2. ครตู อ้ งให้โอกาสนกั เรยี นทั้งหอ้ งในการอภปิ ราย วางแผน และกำหนดวธิ กี ารแกป้ ญั หาเอง 3. ปญั หาทก่ี ำหนดเพอ่ื สืบสวนสอบสวนไม่ควรยากเกนิ ความสามารถของนักเรยี น

17. วธิ สี อนแบบแบ่งกลุม่ ทางาน (Committee Work Method) วิธสี อนแบบแบ่งกลุม่ ทำงานเป็นวิธสี อนท่คี รูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทำงานร่วมกันเป็นกลุม่ รว่ มมอื กันศึกษา ค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกจิ กรรมตามความสามารถ ความถนัด หรอื ความสนใจ เปน็ การฝกึ ใหน้ ักเรียน ทำงานรว่ มกันตามวถิ แี ห่งประชาธปิ ไตย ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบแบง่ กลุ่มทำงาน 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบร่วมกนั ในการทำงานนั่นคอื ส่งเสรมิ การทำ งานเป็นทีม 2. เพ่ือสรา้ งวฒั นธรรมในการทำงานร่วมกันอยา่ งมีระบบและมีระเบียบวินยั รจู้ ักทำหนา้ ท่ี 3. เพ่อื ฝึกทกั ษะในการแก้ปัญหา การศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง โดย ปฏบิ ัติงานทงั้ เปน็ รายบุคคลและเป็นกลมุ่ และมีประสบการณ์ตรงในการทำงาน 4. เพอื่ ใหน้ ักเรียนได้ทำงานตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ ขนั้ ตอนในการสอนแบบแบง่ กลุม่ ทำงาน 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั กำหนดความม่งุ หมายของการทำงานในแต่ละกลุ่ม ขน้ั ตอนนเี้ ปน็ ข้นั ทก่ี ำหนดความมุ่งหมายและวิธีการทำงานอย่างละเอียด 2. ครูเสนอแนะแหลง่ วทิ ยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ บอกรายละเอียดของหนงั สอื ท่ี ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ 3. นกั เรียนรว่ มกนั วางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ครแู ละนักเรียนประเมินผลการทำงาน ในกรณีท่ีเป็นครูใหส้ ังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ในการปฏิบตั ิงาน ในกรณีนักเรยี นร่วมกันประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานในกลมุ่ ตนเองโดยบอกขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ผลท่ี ได้รบั และการพัฒนางานในโอกาสต่อไป ข้อดีของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. นกั เรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ ของตนเองอย่างเต็มที่ 2. นกั เรยี นไดท้ ำงานตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจของตนเอง ข้อสังเกตของวธิ กี ารสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. ถา้ ครูเพิ่งเร่ิมใชว้ ธิ ีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงานเป็นครัง้ แรก ครูควรดูแลนักเรียนใกล้ชดิ เช่น ตอ้ งดูแลใหน้ กั เรยี นทุกคนทำหนา้ ทีต่ ามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย นักเรียนผ้ทู เี่ ปน็ หวั หน้ากลมุ่ ต้องทำหนา้ ท่ปี ระสานงาน ระหว่างสมาชกิ ในกล่มุ และนอกกลุม่ รวมทง้ั ประสานงานกับครู 2. หนา้ ทก่ี ารเป็นหัวหนา้ กลุม่ ควรหมนุ เวยี นสับเปล่ยี นกนั เพอื่ ฝึกการเป็นผูน้ ำและผ้ตู ามท่ดี ี 3. การปฏิบตั กิ จิ กรรมในกลมุ่ ควรปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑ์อย่างเครง่ ครดั *********************

18. วธิ สี อนแบบแบง่ กลุม่ ทางาน (Committee Work Method) วิธสี อนแบบแบง่ กลุ่มทำงานเป็นวธิ สี อนที่ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วมมือกันศกึ ษา ค้นควา้ หาวธิ ีการแกป้ ัญหาหรือปฏบิ ัติกิจกรรมตามความสามารถ ความถนดั หรือความสนใจ เปน็ การฝกึ ให้นักเรียน ทำงานร่วมกนั ตามวิถีแหง่ ประชาธิปไตย ความมุ่งหมายของวิธกี ารสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. เพื่อใหน้ ักเรียนมคี วามรับผดิ ชอบร่วมกันในการทำงานนั่นคือสง่ เสริมการทำ งานเปน็ ทีม 2. เพอ่ื สรา้ งวฒั นธรรมในการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีระเบียบวนิ ัย ร้จู ักทำหนา้ ที่ 3. เพอื่ ฝึกทักษะในการแกป้ ัญหา การศกึ ษาคน้ คว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดย ปฏบิ ัติงานทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกล่มุ และมีประสบการณต์ รงในการทำงาน 4. เพอื่ ใหน้ ักเรียนได้ทำงานตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถ ขัน้ ตอนในการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันกำหนดความม่งุ หมายของการทำงานในแต่ละกล่มุ ขน้ั ตอนน้เี ปน็ ขัน้ ที่กำหนดความมุ่งหมายและวธิ ีการทำงานอย่างละเอยี ด 2. ครเู สนอแนะแหล่งวิทยาการท่ีจะใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ บอกรายละเอยี ดของหนังสอื ท่ี ใช้ในการศึกษาค้นควา้ 3. นกั เรยี นร่วมกนั วางแผนและปฏิบัติงานตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 4. ครแู ละนกั เรียนประเมนิ ผลการทำงาน ในกรณีทีเ่ ป็นครใู ห้สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น ในการปฏิบตั งิ าน ในกรณีนักเรียนรว่ มกนั ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านในกลุ่มตนเองโดยบอกขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน ผลที่ ได้รับ และการพฒั นางานในโอกาสต่อไป ข้อดีของวธิ ีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. นักเรียนได้แสดงความคดิ เห็นของตนเองอยา่ งเต็มที่ 2. นักเรียนได้ทำงานตามความถนดั ความสามารถ และความสนใจของตนเอง ข้อสังเกตของวธิ ีการสอนแบบแบง่ กลุ่มทำงาน 1. ถา้ ครูเพ่ิงเริ่มใชว้ ธิ ีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงานเปน็ ครงั้ แรก ครคู วรดูแลนักเรยี นใกล้ชิด เชน่ ตอ้ งดูแลให้นักเรียนทุกคนทำหนา้ ทตี่ ามทไ่ี ด้รับมอบหมาย นักเรยี นผู้ที่เป็นหวั หนา้ กล่มุ ตอ้ งทำหน้าทีป่ ระสานงาน ระหว่างสมาชกิ ในกลุ่มและนอกกลมุ่ รวมทั้งประสานงานกบั ครู 2. หนา้ ที่การเป็นหวั หนา้ กล่มุ ควรหมนุ เวยี นสบั เปลีย่ นกนั เพ่ือฝึกการเปน็ ผูน้ ำและผตู้ ามทีด่ ี 3. การปฏิบัติกิจกรรมในกลมุ่ ควรปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์อย่างเคร่งครัด

19.วิธสี อนแบบหน่วย (Unit Teaching Method) วิธสี อนแบบหนว่ ยเป็นวิธีการสอนที่นำเน้ือหาวิชาหลายวิชามาสมั พันธก์ ัน โดยไมก่ ำหนดขอบเขตของวิชา แต่ ยดึ ความมุ่งหมายของบทเรียนท่ีเรยี กว่า “หน่วย” นักเรียนอาจเรียนหลายๆวชิ าพร้อมๆกันไปตามความต้องการและ ความสามารถของนักเรยี น ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบหนว่ ย 1. เพื่อให้นักเรยี นเรยี นรดู้ ว้ ยการปฏิบตั ิการศึกษาค้นควา้ หาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง 2. เพือ่ ส่งเสริมการทำงานทีเ่ ป็นประชาธปิ ไตย ได้แก่ นักเรียนร่วมกนั ปรกึ ษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการปฏิบตั งิ านและแก้ปัญหารว่ มกนั ข้ันตอนของวิธีการสอนแบบหน่วย 1.ขัน้ นำเข้าส่หู นว่ ย ข้ันตอนน้ีครเู ปน็ ผู้เรา้ ความสนใจของนักเรยี นด้วยการนำหนงั สือทีน่ า่ สนใจ หรอื สนทนาพูดคุยหรือเล่าเรื่องหรอื อภิปรายหรือพาไปทัศนศึกษา หรือชมนิทรรศการ หรือชมภาพยนตร์ หรอื ชมวดี ี ทศั น์ ฯลฯ 2.ขั้นนกั เรียนและครวู างแผนรว่ มกนั ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เริ่มดว้ ยการกำหนดความมงุ่ หมายทวั่ ไป ความมุ่ง หมายเฉพาะ ช่วยกันตั้งปญั หาและแบง่ หวั ข้อปญั หา กำหนดกิจกรรมของแตล่ ะปัญหากำหนดสอื่ การสอนท่ีจะนำไปใช้ แกป้ ัญหา แล้วจดั แบง่ นักเรียนเปน็ กลุ่มย่อยเพื่อทำกิจกรรม และรายงานผลการปฏบิ ัติงาน 3.ข้ันลงมอื ทำงาน เร่ิมตน้ ดว้ ยการสำรวจและรวบรวมความรตู้ ่างๆจากห้องสมุดพิพธิ ภัณฑ์ ไดแ้ ก่ หนังสือพิมพ์รายวัน นติ ยสาร เอกสาร แบบเรยี น ตำรา ร้านคา้ ภาพยนตร์ ความสมั พันธ์กบั วชิ าตา่ งๆ เชน่ ประวตั ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลป ฯลฯ 1. ข้นั เสนอกิจกรรม ได้แก่ การเสนอกจิ กรรมด้วยการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานโดยวาจาหรือ รายงานผลเปน็ ข้อเขยี น การอภปิ ราย การแสดงละคร การจัดนทิ รรศการ การใช้เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และการเสนอ กิจกรรมเชงิ สรา้ งสรรค์แบบอื่นๆ 2. ขนั้ ประเมินผล เป็นการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตามขั้นตอน และจุดประสงค์ของหนว่ ย โดยพจิ ารณาความรเู้ ชงิ วิชาการ เจตคติ และความสนใจตา่ งๆ รวมท้ังคุณสมบตั ิส่วนตวั เชน่ คุณสมบตั ดิ ้านการเป็นผนู้ ำ ความรับผดิ ชอบ ความมรี ะเบียบวินยั การแสดงความคิดเห็นต่อกล่มุ และยอมรับฟังความคิดเห็นของกล่มุ ข้อดีของวิธีสอนแบบหนว่ ย 1. เปน็ วิธีการสอนที่สง่ เสริมความถนัดตามธรรมชาติของนักเรียน เพราะการสอนแบบน้ีมี กจิ กรรมหลายประเภทให้นักเรยี นไดเ้ ลือกปฏิบตั ทิ ำตามทถ่ี นัดและสนใจ 2. นักเรยี นไดม้ ีสว่ นรว่ มในการวางแผนการเรียนรว่ มกับครู 3. นักเรยี นได้รับการสง่ เสริมความเป็นประชาธิปไตย และได้ฝึกทกั ษะการทำงานเปน็ กลุ่ม 4. เป็นการสอนทีส่ ร้างเสริมความสัมพันธ์ระหวา่ งวชิ าตา่ งๆในหลักสูตร ขอ้ สังเกตของวิธสี อนแบบหนว่ ย 1. วธิ สี อนแบบน้ีตอ้ งใช้เวลามาก 2. ครูผสู้ อน ต้องมีแหล่งความร้ใู หน้ กั เรยี นได้ศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ และหลากหลาย

20.วิธีสอนแบบหน่วย (Unit Teaching Method) วิธีสอนแบบหนว่ ยเป็นวิธีการสอนทน่ี ำเน้ือหาวชิ าหลายวชิ ามาสมั พนั ธ์กัน โดยไมก่ ำหนดขอบเขตของวิชา แต่ ยดึ ความมุ่งหมายของบทเรียนที่เรียกวา่ “หน่วย” นกั เรยี นอาจเรยี นหลายๆวชิ าพร้อมๆกันไปตามความต้องการและ ความสามารถของนกั เรียน ความมุ่งหมายของวิธสี อนแบบหนว่ ย 1. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นเรียนรดู้ ว้ ยการปฏิบัติการศึกษาคน้ ควา้ หาความรแู้ ละแกป้ ญั หาด้วยตนเอง 2. เพือ่ สง่ เสริมการทำงานทเ่ี ป็นประชาธปิ ไตย ได้แก่ นกั เรยี นร่วมกนั ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ในการปฏิบัติงานและแก้ปญั หาร่วมกัน ข้ันตอนของวิธกี ารสอนแบบหนว่ ย 1.ขั้นนำเข้าสู่หน่วย ขน้ั ตอนน้ีครเู ปน็ ผู้เรา้ ความสนใจของนักเรียนด้วยการนำหนังสือทีน่ า่ สนใจ หรอื สนทนาพดู คุยหรือเลา่ เร่ืองหรอื อภปิ รายหรือพาไปทัศนศึกษา หรือชมนทิ รรศการ หรือชมภาพยนตร์ หรือชมวีดี ทศั น์ ฯลฯ 2.ขน้ั นักเรยี นและครวู างแผนรว่ มกนั ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม เริ่มดว้ ยการกำหนดความมุง่ หมายท่วั ไป ความมุ่ง หมายเฉพาะ ชว่ ยกันตั้งปัญหาและแบง่ หวั ข้อปัญหา กำหนดกิจกรรมของแตล่ ะปัญหากำหนดส่อื การสอนทีจ่ ะนำไปใช้ แกป้ ญั หา แลว้ จดั แบง่ นักเรียนเปน็ กลุ่มย่อยเพื่อทำกจิ กรรม และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน 3.ขั้นลงมอื ทำงาน เร่ิมต้นดว้ ยการสำรวจและรวบรวมความรู้ตา่ งๆจากห้องสมุดพพิ ิธภัณฑ์ ไดแ้ ก่ หนังสือพิมพร์ ายวนั นติ ยสาร เอกสาร แบบเรยี น ตำรา ร้านคา้ ภาพยนตร์ ความสัมพันธ์กับวชิ าตา่ งๆ เชน่ ประวตั ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลป ฯลฯ 1. ขนั้ เสนอกจิ กรรม ไดแ้ ก่ การเสนอกจิ กรรมดว้ ยการรายงานผลการปฏิบัติงานโดยวาจาหรอื รายงานผลเป็นขอ้ เขยี น การอภิปราย การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ การใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ และการเสนอ กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์แบบอ่ืนๆ 2. ขนั้ ประเมนิ ผล เป็นการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตามข้ันตอน และจดุ ประสงค์ของหนว่ ย โดยพจิ ารณาความรูเ้ ชงิ วิชาการ เจตคติ และความสนใจตา่ งๆ รวมท้ังคณุ สมบตั ิสว่ นตวั เชน่ คุณสมบตั ิดา้ นการเป็นผูน้ ำ ความรับผิดชอบ ความมรี ะเบียบวินัย การแสดงความคิดเห็นตอ่ กล่มุ และยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม ข้อดีของวธิ ีสอนแบบหนว่ ย 1. เป็นวธิ ีการสอนทส่ี ง่ เสริมความถนัดตามธรรมชาติของนักเรยี น เพราะการสอนแบบนี้มี กจิ กรรมหลายประเภทให้นกั เรียนได้เลือกปฏบิ ัติทำตามทถ่ี นดั และสนใจ 2. นักเรยี นได้มสี ่วนร่วมในการวางแผนการเรยี นรว่ มกบั ครู 3. นกั เรียนไดร้ ับการสง่ เสริมความเป็นประชาธปิ ไตย และได้ฝึกทกั ษะการทำงานเปน็ กลุ่ม 4. เปน็ การสอนทสี่ ร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างวิชาตา่ งๆในหลกั สูตร ขอ้ สังเกตของวธิ ีสอนแบบหน่วย 1. วธิ สี อนแบบนตี้ ้องใชเ้ วลามาก 2. ครูผสู้ อน ตอ้ งมีแหลง่ ความรู้ให้นักเรยี นได้ศกึ ษาค้นควา้ อย่างเพยี งพอ และหลากหลาย

21.วิธีสอนแบบแสดงบทบาท (Role Playing Method) วิธีสอนแบบแสดงบทบาทเปน็ วธิ ีสอนทใี่ ชก้ ารแสดงบทบาทสมมตุ ิ หรือการเทยี บเคียง สถานการณ์ท่ีเป็นจริงมาเปน็ เคร่อื งมือในการสอน โดยท่ีครูสร้างสถานการณส์ มมตุ ิและบทบาทขึ้นมาให้นกั เรยี นได้ แสดงออกตามทตี่ นคิดว่าควรจะเปน็ การแสดงบทบาทอาจกระทำไดท้ ้ังทางด้านความรู้ความคิด และพฤติกรรมของผู้ แสดง วธิ ีการนจ้ี ะสรา้ งความเข้าใจและความรู้สกึ ใหเ้ กิดกบั นักเรยี นได้ดี ความมุ่งหมายของวธิ ีสอนแบบแสดงบทบาท 1. เพื่อฝึกใหน้ ักเรยี นทำงานร่วมกันเป็นทีม 2. เพอ่ื ให้นักเรยี นกลา้ แสดงออกซึง่ ความรสู้ กึ ความคดิ และพฤติกรรม 3. เพื่อฝกึ ทกั ษะการแกป้ ัญหา ขน้ั ตอนของวิธสี อนแบบแสดงบทบาท 1. เลือกปญั หาท่นี ักเรยี นทำความเขา้ ใจยาก จำยากสับสน หรอื กล่าวตามสภาพจรงิ ไม่ได้มา เป็นเรอื่ งทจ่ี ะแสดงบทบาท 2. ใหน้ ักเรียนรว่ มกันกำหนดตัวบุคคลใหเ้ หมาะสมกบั บทบาทน้นั ๆ เท่าท่ลี ักษณะของบุคคล จะเอ้ืออำนวยให้กับสภาพความเป็นจริง ขอ้ ดขี องวิธีสอนแบบแสดงบทบาท 1. นักเรียนไดเ้ รียนพร้อมกับความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ 2. สามารถเขา้ ใจเร่ืองราวได้ง่าย และจดจำได้ดี 3. ชว่ ยพฒั นาการทางอารมณ์และสังคม 4. ส่งเสริมการสร้างความร่วมมอื รว่ มใจกนั ในการทำงาน ขอ้ สังเกตของวธิ ีสอนแบบบทบาท 1. ครผู ้สู อนต้องมีภาระในการเตรยี มสอนมากขน้ึ และการแสดงบทบาทบางครัง้ ใชเ้ วลามาก ทงั้ ในการแสดงจริงและการฝึกซอ้ ม 2. การแสดงบทบาทบางครั้งต้องส้นิ เปลืองค่าใชจ้ ่าย 3. การกำหนดเรือ่ งทีน่ ำมาแสดงบทบาทต้องมสี าระสอดคล้องกับจุดประสงค์ทก่ี ำหนดไว้

22.วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) วธิ ีสอนแบบวทิ ยาศาสตร์ เปน็ วิธีสอนท่ีเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนพบปญั หา และคดิ หาวธิ แี ก้ปญั หาโดยข้นั ทง้ั 5 ของวทิ ยาศาสตร์ ข้นั ตอนของวิธสี อนแบบวิทยาศาสตร์ 1. ขน้ั กำหนดปญั หา และทำความเขา้ ใจถึงปัญหา เปน็ ขน้ั ในการกระตุน้ หรือเรา้ ความสนใจให้นกั เรียนเกิดปญั หา อยากรู้อยากเห็นและอยากทำกิจกรรมในส่งิ ที่เรียน หนา้ ท่ีของครคู ือการแนะแนนำใหน้ กั เรยี นเหน็ ปญั หา จดั สิ่งแวดลอ้ มในการแกป้ ัญหาโดยมีนวัตกรรมต่างๆ เป็น เครอื่ งช่วย 2. ขั้นแยกปญั หา และวางแผนแกป้ ัญหา ขนั้ นคี้ รแู ละนักเรียนช่วยกันแยกแยะปัญหา กำหนดขอบขา่ ยการแกป้ ัญหาและจัดลำดับข้ันตอนก่อนหลังในการ แกป้ ญั หา ดังนี้ 2.1 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันวางแผนและกำหนดวิธกี ารแกป้ ัญหา 2.2 แบง่ นักเรยี นเป็นกลมุ่ รับผดิ ชอบและทำงานตามความสามารถและความสนใจ 2.3 แนะนำให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มรจู้ ักแหลง่ ความรูเ้ พ่ือศกึ ษาคน้ ควา้ และนำไปใชป้ ระโยชน์ในการ แกป้ ัญหา 3. ข้นั ลงมอื แก้ปญั หาและเกบ็ ข้อมลู เปน็ ขั้นการเรียนรู้ของนักเรยี นเองโดยการกระทำจริงๆ โดยสง่ เสริมให้ นักเรียนไดม้ ีความรูค้ วามสามารถที่จะนำมาใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ ในข้ันนี้ครูมหี น้าที่ ดงั น้ี 3.1 แนะนำให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ เขา้ ใจปัญหา รจู้ กั วธิ แี กป้ ัญหา และรจู้ กั แหลง่ ความรสู้ ำหรบั แกป้ ัญหา 3.2 แนะนำให้นักเรยี นทำงานอยา่ งมหี ลกั การ 4. ขัน้ วิเคราะห์ข้อมลู หรอื รวบรวมความรู้เขา้ ดว้ ยกันและแสดงผล เป็นขนั้ การรวบรวมความรูต้ ่างๆ จากปัญหา ทแ่ี ก้ไขแล้ว นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มจะต้องแสดง ผลงานของตน 5. ขั้นสรุปและประเมินผลหรอื ขั้นสรุปและการนำไปใช้ ครูและนกั เรียนช่วยกันสรุปและประเมินผลการ ปฏิบตั ิการแกป้ ัญหาดังกลา่ วว่ามีผลดีผล เสยี อย่างไร แล้วบันทกึ เรยี บเรยี งไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ขอ้ ดขี องวธิ ีสอนแบบวิทยาศาสตร์ 1. นักเรยี นได้ศึกษาค้นควา้ หาความร้ดู ว้ ยตนเองและไดร้ ว่ มปฏิบัตงิ านเป็นทมี 2. ส่งเสรมิ ความเปน็ ประชาธิปไตย 3. ส่งเสริมให้มคี วามรับผิดชอบ 4. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดใ้ ช้ความคิดหาเหตุผลและมกี ารคิดอย่างเป็นระบบ ขอ้ สังเกตของวิธสี อนแบบวิทยาศาสตร์ 1. ปญั หาทน่ี ำมาใช้ต้องเปน็ ปัญหาทีเ่ กิดจากนกั เรียน ไมใ่ ชเ่ ปน็ ปัญหาท่คี รูกำหนด 2. ครตู ้องยึดมนั่ ในบทบาทของตนในการทำหนา้ ท่ใี ห้แนวทางในการคิดแก้ปัญหา ไม่ใช่เป็นผู้ชี้นำความคิดของ นักเรยี น

23.วิธสี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) เป็นวิธีสอนที่ผูส้ อนใหค้ วามรู้ตามเนอื้ หาสาระด้วยการเลา่ อธบิ ายแสดงสาธติ โดยท่ีผูเ้ รียนเป็นผูฟ้ ังเพียงอย่างเดียว อาจเปดิ โอกาสใหซ้ กั ถามปัญหาได้บ้างในตอนท้ายของการบรรยาย ความมุ่งหมายของวิธสี อนแบบบรรยาย 1. เป็นการสอนทเ่ี นน้ เน้ือหาสาระทนี่ ำเสนอโดยครูผสู้ อน ผู้บรรยายจะเสนอปญั หาวิธกี าร ตา่ งๆในการแก้ปัญหา และสรุปดว้ ยว่าวิธกี ารใดเปน็ วิธกี ารแก้ปญั หาท่ีดีท่ีสุดตามหลักการ 2. เพือ่ ให้ผ้เู รียนไดร้ ับความรู้หลายๆแนวคิดก่อนทจ่ี ะสรุปเปน็ ขอ้ คิดหรอื ทางเลือกท่เี หมาะสม ข้อดขี องวิธีสอนแบบบรรยาย 1. ดำเนนิ การสอนได้รวดเร็ว 2. งา่ ยตอ่ การสอนเพราะไม่ต้องเตรยี มสื่อการสอน เพียงแต่ครูเตรียมเน้ือหาสาระทีจ่ ะสอน ลว่ งหน้ากเ็ พียงพอ 3. สามารถใชส้ อนได้ในเวลาอันจำกดั สง่ เสรมิ ทกั ษะในการย่อและเขียนสรปุ ขอ้ สังเกตของวิธสี อนแบบบรรยาย 1. หากผู้เรยี นมคี วามตั้งใจฟงั การบรรยาย จะช่วยเสรมิ ทักษะในการสรุปความ 2. ผสู้ อนต้องร้จู กั การสรา้ งบรรยากาศด้วยวาทศลิ ป์ เพ่อื มิให้ผู้ฟงั สญู เสยี ความสนใจ 3. สาระทไี่ ด้จากการบรรยายมิไดเ้ กิดจากการเรยี นรทู้ ี่เกดิ กับผเู้ รยี นโดยตรง แต่เปน็ สาระ ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการบอกเล่าจากครูผสู้ อน 4. ความรู้ทไี่ ดร้ บั จากการฟงั เพยี งอย่างเดียวอาจลมื งา่ ย เป็นความทรงจำที่ไม่ถาวร *********************

24.วิธีสอนแบบปฏบิ ัตกิ ารหรือการทดลอง (Laboratory Method) วิธสี อนแบบปฏบิ ตั กิ ารหรอื การทดลอง เปน็ วิธีสอนท่ีครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนลงมอื ปฏิบัติหรอื ทำการทดลอง คน้ หาความร้ดู ้วยตนเอง ทำใหเ้ กิดประสบการณ์ตรง วธิ สี อนแบบปฏบิ ตั หิ รอื การทดลองแตกตา่ งจากวธิ ีสอนแบบสาธิต คอื วธิ สี อนแบบปฏบิ ตั ิการหรอื การทดลองผู้เรียนเปน็ ผกู้ ระทำเพ่ือพสิ จู นห์ รือคน้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง ส่วนวธิ สี อนแบบ สาธิตน้ันครหู รือนกั เรยี นเปน็ ผู้สาธติ กระบวนการและผลทไี่ ด้รบั จากการสาธติ เม่ือจบการสาธติ แล้วผู้เรยี นต้องทำตาม กระบวนการและวธิ กี ารสาธิตนัน้ ความมุ่งหมายของวิธสี อนแบบปฏบิ ตั กิ ารหรือการทดลอง 1. เพ่ือให้นักเรยี นไดล้ งมอื ปฏิบตั หิ รอื ทดลองคน้ หาความรดู้ ้วยตนเอง 2. เพ่อื ส่งเสริมการใชป้ ระสบการณต์ รงในการแก้ปัญหา 3. เพือ่ ส่งเสรมิ การศึกษาค้นควา้ แทนการจดจำจากตำรา ขัน้ ตอนของวธิ ีสอนแบบปฏิบตั กิ ารหรือการทดลอง 1. ขัน้ กลา่ วนำ 2. ขนั้ เตรียมดำเนนิ การ 3. ขั้นดำเนินการทดลอง 4. ขัน้ เสนอผลการทดลอง 5. ข้ันอภิปรายและสรปุ ผล ข้อดีของวธิ ีสอนแบบปฏิบตั ิการหรือทดลอง 1. ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณต์ รงของการปฏบิ ตั กิ ารหรอื ทดลอง 2. เปน็ การเรียนรูจ้ ากการกระทำ หรือเปน็ การเรียนรจู้ ากสภาพจรงิ 3. เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล 4. เป็นการเรียนรูเ้ พื่อนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้ 5. เป็นการเรยี นรู้โดยผา่ นประสาทสมั ผัสหลายดา้ น 6. การปฏบิ ัตกิ ารหรือทดลอง นอกจากช่วยเพ่ิมความเข้าใจในการเรียนรแู้ ลว้ ยงั ทำใหน้ ักเรยี นมคี วามสนใจ และต้งั ใจเรยี นเพราะได้ปฏิบัติจริงดว้ ยตนเอง ขอ้ สังเกตของวธิ ีสอนแบบปฏิบัติการหรือทดลอง 1. ผูเ้ รียนทุกคนตอ้ งมีโอกาสใช้เครอ่ื งมือและ อุปกรณเ์ ท่าๆ กนั จงึ จะได้ผลดี 2. ต้องมีการควบคุมความปลอดภยั ในการใช้อปุ กรณ์และห้องปฏบิ ตั กิ าร 3. ตอ้ งมเี วลาในการเตรียมจัดตั้งเครอื่ งมอื หรืออุปกรณ์การทดลองอย่างเพยี งพอ 4. ต้องใช้งบประมาณมาก เน่ืองจากเครื่องมือเครื่องใชใ้ นการทดลองมรี าคาแพง หากไมเ่ ตรยี มการสอนทด่ี พี อ ผลทไี่ ดจ้ ะไมค่ ุ้มค่า 5. ต้องกำหนดสัดส่วนจำนวนนกั เรียนต่อพื้นที่ทปี่ ฏิบตั กิ ารหรือทดลองให้เหมาะสม โดยปกตแิ ล้ววิธีสอนแบบ ปฏบิ ตั กิ ารหรือการทดลองทำไดก้ บั นักเรียนจำนวนน้อย

25.วธิ สี อนแบบศกึ ษาด้วยตนเอง (Self Study Method) วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง เปน็ วธิ สี อนทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นศึกษาหาความรู้จากแหลง่ วชิ าดว้ ยตนเอง ได้แก่ การศกึ ษาจากหนังสอื และการศกึ ษานอกสถานที่ การสอนวิธีน้ีบางคร้ังเรยี กวา่ วิธี Problem Solving หรือ Discovery Method ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบศกึ ษาด้วยตนเอง 1. เพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ภายใต้การดูแลและการแนะนำของครู เพ่ือให้ นกั เรียนได้มโี อกาสแกป้ ัญหาด้วยการแสดงความคดิ เหน็ ในกลมุ่ ยอ่ ย และหาข้อสรปุ ขั้นตอนของวิธสี อนแบบศกึ ษาด้วยตนเอง 1. จัดกลมุ่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่มเลก็ ๆ หรืออาจเป็นผู้เรียนคนเดียวศกึ ษาค้นคว้าตามลำพงั 2. ครูกระตุ้นให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ หรืออภปิ รายและใหค้ ำแนะนำให้มีการร่วมมือกนั ในการวางแผนทีจ่ ะศึกษาคน้ ควา้ ในเรือ่ งต่างๆ ดูแลและให้ความช่วยเหลอื ในการศกึ ษาของนักเรียนแตล่ ะคน จัดหาและ เสนอแนะแหลง่ ความรู้ ไดแ้ ก่ วัสดุ หนงั สือและส่งิ พิมพ์อน่ื ๆ ทน่ี กั เรียนต้องใช้ รวมท้ังอาจแนะนำใหห้ าความรไู้ ด้จากการ สัมภาษณบ์ ุคคลภายนอกโรงเรียน 3. หลงั การแสดงความคิดเห็นและปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ีเนน้ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองแลว้ นกั เรยี นเขียนรายงานผลการ วินิจฉัยปญั หา ข้อดีของวิธีสอนแบบศกึ ษาด้วยตนเอง 1. เป็นการสอนท่ีพฒั นาความงอกงามทางด้านสติปัญญา ส่งเสรมิ นสิ ัยในการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู และการตัดสินใจ การเลือกวธิ แี กป้ ัญหา 2. ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนรู้จกั ทจ่ี ะควบคุมการทำงานของตนเองได้ 3. เสรมิ สร้างนสิ ัยรักการศึกษาค้นควา้ และความรับผดิ ชอบตนเอง 4. เปน็ วิธีท่ีมุง่ เนน้ ทผ่ี ลการเรียนรูด้ ้วยตนเอง มิใชเ่ รยี นรู้จากการสอนของครู ขอ้ สังเกตของวิธสี อนแบบศึกษาด้วยตนเอง 1. วิธนี ้ีอาจจะไม่ไดผ้ ล ถา้ ผเู้ รียนขาดความรบั ผดิ ชอบและไม่ตัง้ ใจจรงิ 2. การเรยี นร้ทู ่เี กดิ กับนักเรียนอาจใชเ้ วลาไม่เท่ากนั จงึ ยากแก่การประเมนิ ผล

26.วิธีสอนตามคาดหวัง (Expectation Method) วธิ สี อนตามความคาดหวงั ของนกั เรยี นเปน็ วธิ สี อนที่ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามความคาดหวังของ นกั เรยี น นกั เรยี นได้เกดิ การเรียนรดู้ ว้ ยตวั เองตามสอื่ /ประสบการณท์ ี่ครูจดั ให้ ความมุ่งหมายของวธิ กี ารสอนตามความคาดหวัง 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้เรยี นร้ตู ามความคาดหวังและความสนใจ 2. เพือ่ ใหน้ ักเรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมร่วมกับกล่มุ เพ่ือนท่ีมีความคาดหวงั ในสิง่ เดียวกนั 3. เพือ่ ตอบสนองความต้องการและความถนดั ของนักเรียน 4. เพ่อื เสริมสร้างการเรียนรคู้ วามแตกต่างระหว่างบุคคล ข้นั ตอนของวิธีสอนตามความคาดหวัง 1. ครทู ราบถึงจดุ ประสงค์การเรียนรพู้ รอ้ มท้ังกำหนดเนือ้ หาสาระทจ่ี ะใหก้ ารเรยี นรู้ 1. ครูแจกกระดาษใหน้ ักเรยี นเขยี นความคาดหวงั ที่จะได้รับจากการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค และเนือ้ หาสาระท่ีกำหนดให้ 3. ครจู ำแนกความคาดหวงั ของนักเรียนเป็นกลุ่มตามความคาดหวงั ที่ตรงกนั 2. เปรียบเทยี บความคาดหวังของแต่ละกลุ่มกบั จุดประสงค์ทีก่ ำหนดไวต้ ามแผนการเรยี นรู้ เพือ่ ดวู ่าจดุ ประสงค์ที่นักเรียนคาดหวังกบั จดุ ประสงค์ท่ีกำหนดในแผนการเรยี นรูค้ รบถ้วนตรงกนั หรือไม่ หากไม่ครบตาม จดุ ประสงคใ์ นแผนการเรียนรู้ครูตอ้ งเพ่ิมความคาดหวังของครทู ่ตี อ้ งการให้นักเรยี นเกิดการเรยี นรู้ลงไปดว้ ย 5. ครจู ัดสอื่ หรอื วตั กรรมการเรียนการสอนจำแนกตามความคาดหวงั ของนักเรยี น และความคาดหวงั ของครู 6. ให้นักเรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่มตามสื่อ หรอื วัตกรรมทค่ี รจู ัดเตรียมให้เพ่ือตอบสนองความคาดหวังของ ตนเองและสมาชิกในกลมุ่ 7. ครูแสดงความคาดหวังของตนและแสดงให้นักเรียนไดร้ ับทราบ 8. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มสรปุ วา่ การเรยี นรูไ้ ดร้ บั ตามความคาดหวงั หรือไม่ 9. ให้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รายงานผลการศกึ ษาคน้ คว้าหรือเรียนรูต้ ามความคาดหวังของตนเองและความ คาดหวงั ของกลุม่ ข้อดีของวิธสี อนตามความคาดหวัง 1. นกั เรยี นได้เรยี นรูใ้ นสงิ่ ท่ีต้องการรู้ 2. ช่วยเสรมิ สร้างทกั ษะในการคดิ และคาดหวงั 3. นักเรยี นมคี วามสนใจและตั้งใจจริงเพราะได้เรียนตามความคาดหวงั ของตน ขอ้ สังเกตของวิธีการสอนตามความคาดหวัง 1. ครูตอ้ งเตรยี มส่ือหรอื วัตกรรมท่ีหลากหลายเพ่ือตอบสนองความคาดหวังของนักเรียน 2. ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนรว่ มกจิ กรรม ครจู ึงต้องเตรียมส่ือให้พอกบั จำนวนนักเรยี น 3. หลังจากท่ีนักเรียนได้รายงานผลงานทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรู้ตอบสนองความคาดหวังแล้ว ครแู ลว้ นักเรียนตอ้ งชว่ ยกนั สรปุ เนื้อหาตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้อู กี ครง้ั เพื่อเป็นการประสานความร้คู วามเข้าใจในองค์ รวมหรือความคดิ รวบยอด โดยรวมความคาดหวงั ของนักเรียนทุกกลุ่ม และความคาดหวังของครูเข้าดว้ ยกัน

27.วิธีสอนแบบโซเครติส (Socretis Method) เปน็ วธิ ีสอนของนักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อโซเครติส วธิ สี อนแบบนใ้ี ชก้ ารตง้ั คำถามให้นักเรียนคดิ หาคำตอบหรือ ตอบปญั หาด้วยตนเอง โดยครูจะกระต้นุ ใหน้ ักเรยี นนึกถึงเรือ่ งต่างๆ ท่เี คยเรียนแล้ว คำถามของครูจะเป็นแนวทางให้ นักเรียนคิดคน้ หาความรู้ นักเรียนจะเรยี นด้วยการพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อหาคำตอบทีถ่ ูกต้อง และเป็นการ เสริมสร้างสตปิ ัญญาให้ทุกคนรจู้ ักแสดงความคิดเหน็ อภิปรายแล้วสรุปความคิดเห็นลงในแนวเดยี วกัน วิธสี อนแบบนี้ เหมาะสำหรบั นักเรียนทีช่ อบใชค้ วามคิดค้นคว้าหาความรใู้ นสงิ่ ตา่ งๆ ********************* 28.วิธีสอนแบบประสาทสมั ผสั ( Method of Sense Realism) เป็นวิธีสอนทีใ่ หน้ กั เรียนเกดิ การเรยี นรู้ผ่านประสาทสัมผสั John Amos Comenius ใหค้ วามเห็นเก่ยี วกับวธิ ีการ สอนแบบนว้ี ่า การสอนทุกอย่างต้องใช้ประสาทสัมผสั เปน็ สื่อ และการใชป้ ระสาทสัมผสั หลายๆ ทาง จะทำให้นกั เรยี น เกิดความจำและเข้าใจ เช่น การใชร้ ปู ภาพซ่งึ จะทำใหน้ ักเรียนเกิดความเขา้ ใจมากขึ้น ********************* 29.วธิ ีสอนดว้ ยส่งิ ของหรอื วตั ถุ เปน็ แนวคิดของ Johann Heinrich Pestalozasi ซงึ่ ได้กล่าววา่ การสอนจากของจริงไปสู่กฏเกณฑ์จะชว่ ยให้ นกั เรยี นเกิดการเรยี นรไู้ ดร้ วดเร็วและถาวร กจิ กรรมของนักเรียนเปน็ สง่ิ สำคัญของการเรียน ถา้ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรม จะเกิดความประทบั ใจและจดจำ นอกจากน้ีการสอนวธิ นี ห้ี ากครใู ชส้ ิ่งของหรอื วัตถุทใี่ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ของนักเรยี นจะ กอ่ ใหเ้ กิดการเรียนรทู้ ีส่ ามารถนำไปใช้แก่ตัวเองได้ดยี ิง่ ข้นึ *********************

30.วิธสี อนแบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) วิธีสอนแบบแฮร์บาร์ตเป็นไปตามแนวคิดของแฮร์บารต์ ทวี่ ่า การท่นี กั เรียนจะเรียนร้สู ิ่งไดนั้นนกั เรียนจะต้อง สนใจเปน็ เบือ้ งแรก ครผู สู้ อนจำเปน็ ต้องเร้าความสนใจของนกั เรยี นก่อนเขา้ สู่ขัน้ ของการสอนเพ่ือให้เกิดเรียนรู้ ความมุ่งหมายของวิธกี ารสอนแบบแฮร์บาร์ต 1. เพ่อื ใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรจู้ ากการสนใจ 2. เพื่อฝึกในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างความรเู้ ก่าและความรใู้ หม่ท่ีได้รับ 3.เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักเรียนสามารถจัดลำดับความรจู้ ากง่ายไปหายากปละจากความจรงิ ทวั่ ไปไปส่หู ลกั เกณฑ์หรือ ข้อสรปุ ข้ันตอนของการวิธีสอนแบบแฮร์บารต์ 1. ขน้ั เตรียม เปน็ ขน้ั ตอนของการเรา้ ใหน้ กั เรียนเกดิ ความสนใจท่ีจะเรยี นรู้ในส่งิ ใหม่ ครจู ะต้องทบทวนความรู้ เดมิ ของนักเรยี นให้ประสานกับความรูใ้ หม่ 2. ขน้ั สอน เป็นขน้ั ตอนท่ีครูดำเนินการสอนเพ่ือใหน้ กั เรยี นได้รบั ความรตู้ ามบทเรียน 3. ขน้ั สมั พนั ธห์ รือขน้ั ทบทวนและเปรียบเทยี บ เป็นขัน้ ตอนต่อจากการสอนของครเู มอ่ื ครู สอนจบบทเรยี นแล้ว ครตู ้องทบทวนความรู้ทน่ี ักเรียนเรยี นไปแลว้ และนำความรู้ใหม่ไปสมั พนั ธ์กับความรู้เดมิ ด้วยการ วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทียบความแตกต่างและคลา้ ยคลงึ กนั ระหวา่ งความรเู้ ดิมกับความรู้ใหม่ 4. ขน้ั ตัง้ กฎหรอื ข้อสรปุ เป็นข้ันทน่ี ักเรียนเขา้ ใจบทเรียนกว้างข้นึ ครแู ละนักเรยี นจะต้องชว่ ยกันรวบรวม ความรจู้ ากขน้ั ตอนที่ 1-4 ตามลำดบั จากงา่ ยไปหายากอย่างเปน็ ระบบ และจดบนั ทกึ ไว้ 5.ขั้นการนำไปใช้ เป็นขน้ั ตอนทีน่ ักเรียนนำเอาความรู้ความเข้าใจที่ได้เรยี นมาแล้วไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันหรอื ใช้ ในสถานการณ์อน่ื ข้อดขี องวธิ ีสอนแฮร์บาร์ต 1.นกั เรยี นไดเ้ รียนรจู้ ากความสนใจ 2.การเรยี นรู้ดำเนนิ ไปจากง่ายไปหายากตามลำดบั 3.การสร้างกฏเกณฑห์ รือข้อสรุปกระทำโดยนักเรียนและครู ขอ้ สังเกตของวธิ สี อนแบบแฮร์บาร์ต 1.ในขนั้ ของการสมั พันธ์หรือทบทวนและเปรยี บเทียบ ครตู อ้ งให้โอกาสนักเรยี นในการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบ ความแตกต่างและคลา้ ยคลึงกันระหวา่ งความรเู้ ดิมกบั ความรู้ใหม่ด้วยตนเองมใิ ชเ่ กิดจากการแนะนำของครู 2.ครคู วรเน้นยำ้ ให้นักเรียนจดบันทกึ ความรตู้ ามลำดบั ข้ันตอนจากง่ายไปหายาก *********************

31.วธิ สี อนแบบกจิ กรรม (Self-Activity Method) เปน็ วธิ ีท่ีครสู อนเน้นวัสดรุ ูปลกั ษณ์ต่างๆ ได้แก่ รูปทรงกลม ทรงกระบอก และลกู บาศก์ มาให้ นักเรียนเล่นโดยอิสระ ครคู วรใชโ้ อกาสในการสอนแบบน้ปี ลกู ฝงั ค่านยิ มที่ดีในสังคมและเสรมิ สร้างพัฒนาการทาง อารมณ์ ********************* 32.วธิ ีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem-Solving Method) เปน็ การสอนทีเ่ นน้ ข้ันตอนในการแก้ปัญหาตามหลักการของ John Dewey มีขน้ั ตอน ดังน้ี 1.ข้ันตง้ั ปญั หา 2.ขน้ั สมมุตฐิ านและว่างแผนในการแกป้ ญั หา 3.ขั้นทดลองและเก็บของมูล 4.ขัน้ วเิ คราะหข์ ้อมลู 5.ขั้นสรุปผล กระบวนการแกป้ ญั หาตามหลกั อริยสจั 4 โดยสาโรช บัวศรี เป็นผรู้ เิ รม่ิ จดุ ประกายความคิดในการนำหลักพทุ ธศาสนามาประยุกตใชก้ บั การจดั การเรียนการสอน ซ่ึง กระบวนการแกป้ ญั หาตามหลักอริยสจั 4 เปน็ รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่ประยุกตห์ ลักธรรมอรยิ สัจ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมทุ ยั นิโรธ และมรรค โดยใชค้ วบคกู่ บั แนวทางปฏิบัตทิ เี่ รียกกว่า \"กิจในอริยสัจ 4\" ประกอบด้วย ปริญญา (การกำหนดร้)ู ปหานะ (การละ) สัจฉิกริ ยิ า (การทำใหแ้ จง้ ) และภาวนา (การเจริญหรือการลงมือปฏบิ ตั )ิ โดย ประกอบดว้ ยกระบวนการแก้ปัญหา 4 ขนั้ ดังน้ี 1. ขน้ั กำหนดปัญหา (ขัน้ ทุกข์) คือ การให้ผ้เู รยี นระบปุ ัญหาทีต่ อ้ งการแก้ไข 2. ขั้นต้ังสมมตฐิ าน (ขั้นสมทุ ยั ) คอื การให้ผูเ้ รียนวิเคราะหห์ าสาเหตุของปัญหา และต้ังสมมตฐิ าน 3. ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (ข้ันนโิ รธ) คือ การใหผ้ ูเ้ รียนกำหนดวัตถปุ ระสงค์ และวธิ ีการทดลองเพอื่ พสิ จู น์ สมมตฐิ านและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. ขน้ั วิเคราะห์ข้อมูลและสรปุ ผล (ขัน้ มรรค) คือการนำข้อมลู มาวเิ คราะห์และสรุป

33. วธิ ีสอนแบบโครงการ (Project Method) เป็นการสอนตามแนวคิดของ William H. Kilpatrick วิธสี อนนีเ้ ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนได้กำหนดโครงการและ ดำเนินงานให้เสรจ็ ตามนนั้ โครงการท่ีกำหนดข้นึ อาจเป็นโครงการรายบคุ คลหรือเป็นกลุม่ ข้นั ตอนของการจัดการโครงการ มีลำดับดงั นี้ 1.ขัน้ ตง้ั ปัญหา 2.ขน้ั กำหนดโครงการ 3.ขนั้ ดำเนินงานหรอื ลงมือปฏบิ ตั ติ ามโครงการ 4.ขั้นประเมินผลโครงการ ********************* 34. วธิ สี อนแบบดลั ตนั (Dalton Laboratory Plan) เปน็ วิธีสอนทีไ่ ม่แบ่งชน้ั เรยี นและไม่จัดตารางสอนเปน็ ชว่ั โมง แตใ่ ช้ห้องทดลอง (Laboratory) ตามวิชาท่ี กำหนดไว้ในหลักสตู ร ทั้งนโี้ ดยให้โอกาสนกั เรยี นเลือกเรยี นตามความสมัครใจและรับผดิ ชอบในการเรยี นของตน นักเรียนมสี ิทธเิ ลือกเรียนวชิ าใดก่อนหลังได้ตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถ เป็นการสอนที่ให้เสรีภาพกับ นกั เรียนภายในขอบเขต การสอนท่ยี ดึ หลกั สำคัญท่คี วามแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลห้องสมุดและอุปกรณ์การสอนจึงต้อง เตรียมไวอ้ ยา่ งเพียงพอสำหรับการศกึ ษาค้นควา้ ข้อดขี องการสอนแบบดัลตนั 1.เป็นการสอนทีม่ ่งุ สง่ เสริมให้นักเรยี นร้จู ักแบ่งเวลาและใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 2.นกั เรียนมคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง มีการจดั ตารางของตนเอง ภายใต้การแนะนำของครู 3.นกั เรยี นสามารถรู้ว่าการเรยี นรู้มีความก้าวหน้าไปเพยี งใด ข้อสงั เกตของวธิ ีสอนแบบดัลตัน ครูผ้สู อนวิธนี ี้ตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถในการแนะแนวนักเรยี นได้อย่างดีดว้ ย ********************* 35. วิธีสอนแบบวินเนทกา้ (The Winnetka Plan) เปน็ วธิ ีสอนท่เี ปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนได้เรยี นรตู้ ามอัตราความเร็วทตี่ ่างกัน นกั เรยี นคนใดมีความพร้อมกส็ ามารถ เรยี นบทเรยี นตอ่ ไปโดยไม่ต้องรอเพ่ือน สว่ นนักเรียนทยี่ งั ไม่พร้อมสำหรบั การเรยี นรูต้ ่อไปก็สามารถเรยี นซ้ำในบทเรยี น เดิม จนกวา่ จะพรอ้ มทีจ่ ะเรียนรตู้ ่อไป *********************

36.วิธีสอนแบบนิเทศ (Supervised Plan) เปน็ วธิ ีสอนทีค่ รใู ห้คำแนะนำแกน่ ักเรียนในการปฏิบัตกิ ารเรยี นร้ทู ่ลี ะข้ันตอนทงั้ ทเ่ี ปน็ รายบคุ คลหรือรายกลุม่ นกั เรยี นมีโอกาสในการเรยี นรู้ตามลำพัง โดยมีครูคอยช่วยเหลอื การสอนแบบนิเทศเนน้ ยำ้ ให้นักเรียนเข้าใจเทคนิค วธิ กี ารเรียนใหเ้ กิดผลดี โดยสามารถทำไดส้ องแบบ คือ 1. นักเรียนเรียนรู้เปน็ รายบุคคล 2. นกั เรียนเรียนรเู้ ปน็ กล่มุ ********************* 37.วธิ ีสอนแบบใชค้ รพู ่ีเล้ยี ง (Tutorial Method) เปน็ วธิ สี อนท่ีใชก้ บั นักเรียนกลมุ่ เลก็ จำนวน 1-5 คน ข้นั การสอนแบ่งเป็น 3 ขั้น คอื 1. ขน้ั นำ 2. ขน้ั ศึกษาค้นคว้าหรือขัน้ เรยี นรู้ 3. ข้นั สรุปและประเมนิ ผล ********************* 38.วธิ ีสอนแบบใชโ้ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วิธีสอนทน่ี ำอุปกรณโ์ สตทัศนว์ ัสดุมาช่วยพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทศั นว์ ัสดดุ ังกล่าว ได้แก่ ภาพยนตร์ สไลด์ วทิ ยุ โทรทัศน์ เครื่องเลน่ เทปซีดี ฯลฯ *********************

39.วิธสี อนแบบทีม (Team Teaching Method) ----------------------------------------------------------- เปน็ การสอนทม่ี ีครูอย่างน้อย 2 คน ร่วมมือกันเตรียมการสอนอย่างใกล้ชิดและสอนนกั เรยี นรว่ มกันในหอ้ ง เดียวกนั หรอื กลุ่มเดยี วกนั การสอนแบบทมี จะมีครูท่เี ปน็ หวั หนา้ ทมี (Team Leader) ครูร่วมทีม ได้แก่ ครู อาวโุ ส (Senior Teacher) ครูประจำ (Master Teacher) และครูช่วยสอน (Co-operative Teacher) การสอนแบบน้ี ได้ผลดถี า้ ครหู ัวหนา้ ทีมและครรู ว่ มทมี เขม้ แข็งรว่ มมือร่วมใจกันปฏิบัตงิ านอย่างดี ลกั ษณะของการสอนเป็นทีม 1. ในห้องเรียนมคี รูสอนมากกว่าหนง่ึ คนรับผดิ ชอบรว่ มกนั ในการจดั การเรยี นการสอน เรมิ่ ต้งั แต่กำหนดจดุ มุ่งหมาย เนือ้ หาวิชา วิธีสอน สอ่ื การสอน ลงมือสอน ประเมินผล 2. ใชว้ ธิ ีสอนหลายรูปแบบ ได้แก่ การบรรยาย การค้นควา้ ด้วยตนเอง การอภปิ ราย การ แกป้ ญั หา การสาธติ เป็นต้น 3. มรี ปู แบบของการสอนเป็นทมี ไดแ้ ก่ แบบมีผ้นู ำคณะ (Team Leader Type) แบบ ไม่มผี ู้นำคณะ (Associate Type) และแบบครูพีเ่ ลย้ี ง 4. คณะผู้สอนมรี ะหวา่ ง 2-7 คน แต่ละคนจะต้องมีการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ รว่ มกัน ข้อดีของการสอนเปน็ ทีม 1. ผ้สู อนแต่ละคนได้แสดงความสามารถในการสอนของตนอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. การวางแผนทรี่ ่วมกนั คิดรว่ มกันทำให้ได้ผลงานทีส่ มบูรณ์กวา่ คิดคนเดียว 3. ผู้เรียนได้สัมผสั ผสู้ อนในหลายลกั ษณะทำใหไ้ มเ่ บอื่ หน่าย ขอ้ สังเกตของการสอนเปน็ ทมี 1. เสยี เวลาในการเตรียมงานมาก 2. ผ้สู อนในคณะต้องมคี วามสามารถเพียงพอและตอ้ งเขา้ ใจรปู แบบการทำงานเปน็ ทีม 3. เครอ่ื งอำนวยความสะดวกและสื่อการสอนต้องมีจำนวนมากพอ *********************

40.วธิ ีสอนแบบจุลภาค (Micro-Teaching Method) ------------------------------------------------------------ เปน็ วธิ สี อนท่ียดึ หลกั การยอ่ ส่วนทั้งขนาดของชน้ั เรียน ระยะเวลาทีส่ อนและชนิดของทักษะ วิธีสอนแบบ จลุ ภาคใชเ้ วลาประมาณ 10-15 นาที ในการฝึกทกั ษะแต่ละชนดิ เม่ือสอนเสร็จมกี ารวิเคราะห์และประเมนิ ผลการสอน จากภาพและเสยี งบนั ทึกไวใ้ น Video Tape และนำผลไปปรับปรงุ พฒั นาการสอน การสอนแบบจลุ ภาคจึงเป็นการฝกึ ทกั ษะการสอนในสถานการณ์ย่อสว่ นจากสถานการณจ์ รงิ ๆ เพอ่ื ง่ายแก่การฝกึ ภายใต้การควบคุมอย่างมี ประสิทธิภาพ ผฝู้ กึ ได้มีโอกาสตรวจสอบและปรังปรุงการสอนของตน ลกั ษณะการสอนแบบจลุ ภาคท่ีสำคญั มีดังนี้ 1. เปน็ สถานการณจ์ ริงในสถานการณ์จำลอง 2. เป็นการลดความซับซ้อนของการสอนตามชั้นเรียนปกติ ได้แก่ ลดขนาดของห้องเรยี น ลด ขอบเขตของเน้ือหาวิชา และลดเวลา 3. เปน็ การฝึกทักษะเฉพาะอยา่ ง เช่น ทกั ษะการอภิปราย การแก้ปัญหา และการสาธติ ฯลฯ 4. ได้ทราบผลการประเมินประสทิ ธภิ าพการสอนและนำไปสู่การปรับปรงุ พัฒนา ขนั้ ตอนการสอนแบบจลุ ภาค ขั้นท่ี 1 เตรยี มครผู ูส้ อน ไดแ้ ก่ การศกึ ษาทักษะการสอน ข้ันท่ี 2 ทดลองสอนและบนั ทึกเทปวดี ที ศั น์ ขน้ั ท่ี 3 เรียนร้ผู ลการประเมินการสอน ขั้นท่ี 4 ปรบั ปรงุ พัฒนาการสอนกับนักเรยี นกลุม่ ใหม่ ********************* 41. วธิ ีสอนแบบอริยสจั ------------------------------------------ วธิ ีสอนแบบอรยิ สจั คลา้ ยคลงึ กับวิธสี อนแบบวิทยาศาสตรอ์ ย่างทีส่ ุด ขน้ั ตา่ งๆ คือ 1. ทุกข์ (ข้ันปัญหา) การพิจารณาเพ่ือกำหนดปัญหาได้ถูกต้อง 2. สมทุ ยั คอื การรู้ทข่ี องปญั หา และหาวิธแี ก้ไขปัญหา 3. นิโรธ การดบั ทกุ ข์ คอื การทดลองและการบันทกึ ผล หรอื การเก็บข้อมูล 4. มรรค คอื การหาเหตุผลและการแกป้ ัญหา *********************

42.วิธสี อนแบบแบ่งกลมุ่ ระดมพลังสมอง --------------------------------------------------------- เปน็ วธิ ีสอนท่ีครูแบ่งนักเรยี นเปน็ กลมุ่ ย่อย กลุ่มละ 8-10 คน หรืออยา่ งมากไมเ่ กิน 15 คน ครแู ละนักเรียน รว่ มกนั กำหนดปญั หาในการระดมพลงั สมองโดยใชเ้ วลาสน้ั ๆ ประมาณ 10-15 นาที แต่ละกลมุ่ มีประธานกลุ่มเลขานุการ กลุ่ม ประธานเป็นผูส้ ง่ เสรมิ ให้สมาชกิ ในกลุ่มแสดงความคดิ เห็น ซึง่ ความคิดเห็นไมม่ ีการตำนิว่า “ถูก” หรือ ”ผดิ ” และ เลขานกุ ารมีหน้าทจ่ี ดบันทึกโดยไมค่ ำนึงถงึ ความสำคญั ก่อนหลัง จากนัน้ ผแู้ ทนกลมุ่ นำมารายงานใหก้ ลมุ่ ใหญใ่ นช้นั เรียน ทราบผลการระดมพลงั สมอง *********************** 43. วธิ ีสอนแบบเอ็กซพ์ ลิซทิ (Explicit Teaching Method) ------------------------------------------------------------ วธิ สี อนแบบเอก็ ซ์พลซิ ทิ เปน็ กระบวนการสอนทีเ่ นน้ การทบทวนประจำวนั ประจำสปั ดาห์และประจำเดือน มี การตรวจสอบการบ้าน และมีขน้ั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ้นั ๆ เขา้ ใจงา่ ยได้ คำตอบท่ีถูกต้องรวดเรว็ และแนน่ อน ขั้นตอนของวธิ ีสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท ขนั้ ตอนที่ 1 ทบทวนประจำวันและตรวจสอบการบ้าน มีขั้นตอนดังน้ี 1.1 ตรวจการบา้ น (ครูอาจใหน้ ักเรยี นช่วยกันตรวจการบา้ น) 1.2 สอนใหม่เมื่อจำเป็นในเน้อื หาทสี่ ำคัญๆ 1.3 ทบทวนความร้เู ดมิ ทเี่ ก่ียวข้องกับความรู้ใหม่และครอู าจซกั ถามเพิ่มเติม 1.4 ฝกึ ปฏิบตั ิ ขั้นตอนท่ี 2 การนำเสนอสาระความรู้ มีขนั้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี 2.1 แจง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ส้นั ๆแตเ่ ข้าใจง่าย 2.2 เสนอโครงสร้างและภาพรวมของสาระความรู้ 2.3 เริ่มสอนเนือ้ หาทีละนอ้ ยทีละขัน้ 2.4 ซักถามนักเรียนเพ่ือเป็นการตรวจสอบความเขา้ ใจ 2.5 เน้นประเดน็ ทส่ี ำคญั ให้นกั เรียนทราบ 2.6 อธบิ ายให้ตัวอยา่ ง อย่างชดั เจน 2.7 สาธิตและทำแบบให้ดู 2.8 อธบิ ายรายละเอียดและยกตัวอย่างประกอบประเด็นเนือ้ หาท่ีสำคัญๆ ข้ันตอนท่ี 3 การปฏิบตั ิโดยครูคอยแนะนำ มีขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรดู้ งั นี้ 1.1 การฝกึ นกั เรยี นในระยะแรกครูควรคอยช่วยเหลอื แนะนำโดยตลอด 1.2 ซักถามนักเรียนบอ่ ยๆถามคำถามใหม้ ากเพอื่ ให้นักเรียนตอบและให้ฝกึ อย่างเพยี งพอ 1.3 คำถามที่ถามควรเกีย่ วข้องกบั เน้ือหาใหมห่ รือทักษะใหม่ 1.4 ครูตรวจสอบความเข้าใจโดยประเมนิ จากคำตอบของนกั เรียน

1.5 ระหว่างตรวจสอบความเข้าใจ ครูจะใหค้ ำอธิบายเพ่ิมเติม ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับหรือ อธบิ ายซ้ำ (ถา้ จำเป็น) และให้นกั เรยี นมีการตอบสนองและให้ข้อมลู ย้อนกลบั ครูควรแนใ่ จวา่ นกั เรยี นคนมสี ว่ นรว่ มใน การเรียนรู้ 1.6 การให้ฝกึ ปฏบิ ตั ิในระยะแรก ครคู วรคอยแนะนำจนนักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิเอง โดยลำพังภายหลงั 1.7 การฝึกปฏบิ ตั คิ วรทำอย่างตอ่ เนื่องจนกวา่ นักเรียนจะชำนาญถงึ ขน้ั ท่นี ักเรยี นนักเรยี นทำ ได้ 80 % ในขนั้ ตอนนม้ี ีข้อเสนอแนะในการตรวจสอบความเขา้ ใจเพอ่ื จะไดแ้ ก้ไขความผิดพลาด ความบกพร่อง ดว้ ย กิจกรรมดงั น้ี 1) เตรียมคำถามไว้ลว่ งหนา้ ให้มากเพือ่ ถามให้นักเรียนตอบอย่างท่ัวถึงและคำตอบที่ ได้ควรเป็นคำตอบท่ีตรงประเดน็ สำคัญ หรอื ตรงตามในเรื่องหรือทักษะทีส่ อน 2) ให้นกั เรียนสรุปกฎหรือกระบวนการด้วยตนเอง 3) ให้นักเรียนตอบโดยเขยี นคำตอบในสมดุ 4) หลังจากการสอน ครคู วรใหน้ ักเรยี นเขยี นสาระหรือประเด็นสำคัญของบทเรยี น และสรุปประเด็นสำคญั ลงในสมุด ดังนั้นการตรวจสอบความเขา้ ใจจงึ มีความสำคญั และจำเปน็ เพ่ือเปน็ การทบทวนเน้อื หาสาระที่ เรียนผา่ นมาและย้ำเพื่อความเขา้ ใจของผูเ้ รยี น ขัน้ ตอนที่ 4 การแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง และการให้ข้อมลู ย้อนกลบั มขี น้ั ตอน ดงั น้ี 1.1 ครูควรรับร้แู ละตอบรบั คำตอบทีร่ วดเรว็ และมน่ั ใจของนกั เรยี นอย่างสน้ั ๆ เชน่ ถูกต้อง หรือคำชมอืน่ ๆ 4.2 คำตอบทลี่ งั เลของนกั เรียนครอู าจต้องให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ ให้ตอบอย่างมนั่ ใจ 4.3 การตอบผิดหรือปฏบิ ตั ิผดิ ของนักเรียนบ่งบอกถงึ ความจำเปน็ ในการฝกึ เพ่ิม 4.4 ตรวจสอบตดิ ตามบทเรียนของนักเรยี นเสมอ 4.5 พยายามให้การตอบสนองทุกคำถามทน่ี กั เรยี นถาม 4.6 การแก้ไขการตอบผิดของนกั เรยี น ครคู วรใหข้ ้อมลู เพม่ิ เติม เช่น ถามคำถามให้ง่ายขน้ึ ให้คำแนะนำ อธิบาย ทบทวน หรอื สอนใหมใ่ นข้นั สดุ ท้าย 4.7 ถามคำถามซ้ำจนกว่าจะถูกตอ้ ง 4.8 การใหฝ้ ึกปฏิบัตโิ ดยครูคอยแนะนำการแกไ้ ขควรทำต่อไป จนกว่าครูจะแนใ่ จวา่ นักเรียน บรรลุผลสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงคข์ องบทเรียน 4.9 ใหค้ ำชมเชยแตพ่ อควร ในเร่อื งที่เฉพาะเจาะจง จะทำให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ การ ชมเชยแบบพรำ่ เพร่ือ ในประเดน็ ของการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั เพ่ือแก้ไขข้อผิดพลาดของนักเรียนมีขอ้ เสนอเพ่ือการตอบสนองคำตอบ ของนักเรยี น ดงั น้ี 1) ตอบถกู ต้องเรว็ ด้วยความม่ันใจในคำตอบโดยปกติพฤติกรรมนักเรยี น จะปรากฎในชว่ ง การเรียนตอนแรกๆ ตอนท่ีมีการทบทวน ครูควรถามคำถามใหม่ๆ พร้อมท้ังมีการฝึกเพ่ิมเตมิ และกลา่ วคำชมเชย

2) ตอบถกู แต่ลงั เลไม่แนใ่ จ จะปรากฎในการเรยี นในตอนต้นหรือในช่วงใหฝ้ กึ โดยมีครูคอย แนะนำ ครูควรให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับหรือตอบสนองกลบั ดว้ ยคำพูดสั้นๆ เชน่ ถกู ต้อง ดมี าก การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั ใน ลักษณะนี้ครคู วรให้ขอ้ มูลเพม่ิ เติมเพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจวา่ คำตอบนั้นถูกต้องเพราะอะไร 3) ถา้ นกั เรียนตอบผดิ เพราะสะเพร่าควรใหก้ ารทบทวนแก้ไขและให้ขอ้ มูลย้อนกลับทันที 4) ตอบผดิ เพราะไม่มีความรู้ ไมจ่ ำเน้ือหาสาระ นักเรียนทต่ี อบผิดในช่วงตน้ ซึ่งเปน็ ระยะการ เรียนเนอ้ื หาสาระใหม่ ช้ีใหเ้ หน็ ว่า มีความรู้ไม่แน่นพอ ไม่รู้จริงเกย่ี วกบั สาระความรนู้ ้นั ครูควรแก้ไขดังนี้ 4.1) ครูชน้ี ำเสนอแนะแนวทางเพื่อใหไ้ ด้คำตอบทถ่ี ูกต้อง โดยถามคำถามใหมแ่ ละง่าย พร้อมท้ังยกตัวอย่างและเหตผุ ลประกอบ 4.2) สอนใหม่ สำหรบั นักเรยี นทไี่ มเ่ ขา้ ใจ 4.3) บอกเป็นนยั ถามคำถามท่ีงา่ ยๆ หรือทำการสอนใหม่ การให้ข้อมูลยอ้ นกลับเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญเพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นร้ไู ดป้ ระการหน่งึ ขั้นตอนท่ี 5 การฝึกอยา่ งอิสระ (ฝกึ ปฏบิ ัติทโ่ี ต๊ะ) มีข้อเสนอแนะการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้ 5.1 ให้นักเรียนฝึกอยา่ งเพียงพอ 5.2 ฝกึ ทกั ษะเนอื้ หาสาระทีเ่ รียนไปแล้ว 5.3 ฝึกเพอื่ ให้เกดิ ความชำนาญ 5.4 การฝกึ ปฏิบตั โิ ดยลำพัง ควรปฏิบตั ิไดถ้ กู ตอ้ ง 95% 5.5 นักเรียนจะต่ืนตัว ถา้ การให้ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ได้โดยมีการติดตามตรวจสอบ 5.6 กระตุ้นใหน้ ักเรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบในงานทต่ี นเองปฏบิ ัติ และมีความกระตือรือรน้ เสมอการฝึกปฏิบัตทิ ่โี ตะ๊ เพ่ือให้การปฏบิ ตั ิกิจกรรมโดยลำพังทมี่ ีประสิทธิภาพ ควรปฏิบัติดงั นี้ 1) ครคู วรเดนิ ดูนกั เรียนทำงาน ใหข้ ้อมูลย้อนกลับ ถามคำถามและอธบิ ายส้นั ๆ อย่างทัว่ ถึง 2) ครูควรจดั ทน่ี ่ังให้มองเหน็ นักเรียนทัง้ ชั้นในขณะปฏิบัตงิ าน 3) ครูควรวางแผนการปฏิบัติกจิ กรรมโดยใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏิบตั ิอย่างอสิ ระและประสบผลสำเรจ็ ครตู อ้ งจัด กิจกรรมใหเ้ ปน็ ไปตามจุดประสงค์ มีการเตรยี มการฝึกให้พร้อม และเพยี งพอสำหรบั นกั เรียนทุกคน และตอ้ งเปน็ กิจกรรมท่ีมปี ระสิทธิภาพ โดยความมงุ่ หวงั ใหน้ ักเรียนสามารถตอบไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ โดยการท่ใี ห้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติมาก ๆ ข้นั ตอนที่ 6 การทบทวนรายสัปดาหแ์ ละรายเดือน มขี อ้ เสนอการจัดการเรียนรูด้ ังน้ี 6.1 ทบทวนเนือ้ หาท่ีเรียนไปแล้วอย่างเป็นระบบโดยทบทวนเปน็ ประจำสปั ดาห์ และทบทวนประจำเดือน การทบทวนของครชู ่วยให้ครไู ด้ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น และเพ่ือใหแ้ น่ใจวา่ ความรู้ ทักษะท่ีเรียนไปแล้ว นกั เรียนรูแ้ ละปฏบิ ตั เิ ขา้ ใจเป็นอย่างดแี ละเพ่ือความคงทนของความรู้ 6.2 ตรวจการบา้ นท่ีใหท้ ำ 6.3 ทดสอบบ่อย ๆ 6.4 สอนใหมใ่ นเน้ือหาที่บกพร่อง ****************

44.วิธสี อนแบบสาธิต ------------------------------------------------------- เปน็ วิธีสอนทค่ี รแู สดงใหน้ กั เรยี นดแู ละให้ความร้แู ก่นักเรียนโดยใชส้ ่ือการเรียนรทู้ ี่เปน็ รปู ธรรม และผู้เรียนได้ ประสบการณต์ รง การสอนแบบสาธิตแบง่ ออกเป็นประเภทตา่ งๆ ๆดแ้ ก่ ผ้สู อนเปน็ ผสู้ าธิต ผู้สอนและผเู้ รยี นรว่ มกัน สาธติ ผเู้ รียนสาธติ เป็นกลุ่ม ผเู้ รยี นสาธิตเปน็ รายบคุ คล วิทยากรเป็นผ้สู าธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นกั เรียนสังเกต เอง ขนั้ ตอนของการสอนแบบสาธติ 1.ขั้นเตรียมการสอน 1.1 กำหนดจดุ ประสงค์การเรียนรโู้ ดยวธิ กี ารสาธิต 1.2 ศึกษาเนื้อหาสาระให้ชัดเจน และจดั ลำดบั ใหเ้ หมาะสม 1.3 เตรียมกจิ กรรมให้ผ้เู รียนปฏบิ ัติ 1.4 เตรยี มส่ือ อุปกรณ์ เอกสารให้เพยี งพอกบั ผ้เู รียน 1.5 กำหนดเวลาการสาธิตให้พอเหมาะ 1.6 กำหนดวธิ ีการประเมินผล 1.7 เตรยี มสภาพหอ้ งเรียน 1.8 ทดลองสาธติ ก่อนสอนจริงในหอ้ งเรียน 2. ขัน้ สาธติ 2.1 แจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระท่ีจะเรยี นรู้ 2.2 บอกให้นกั เรยี นรู้บทบาทของตนเอง ได้แก่ การทดลองปฏบิ ัติ การจดบันทึก การสรุป 2.3 แนะนำส่ือการเรียนรู้ 2.4 ดำเนนิ การสาธติ 3.ขนั้ สรปุ 3.1 ผ้สู อนและผู้เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลทเี่ กดิ จากการสาธิต 3.2 บันทกึ ข้ันตอนการสาธิตพร้อมทั้งผลท่เี กิดขึ้น 4.ข้นั วดั และประเมินผล 4.1 ผู้เรียนทดลองสาธิตให้ผู้อ่ืนดพู ร้อมทั้งบอกผลและข้อคดิ ที่ได้ 4.2 ให้เขยี นรายงาน ตอบคำถามจากแบบฝกึ หัด และแสดงความคดิ เหน็ ข้อดขี องการสอนแบบสาธติ 1. นกั เรียนได้ประสบการณต์ รง 2. สรา้ งความสนใจ และความกระตอื รือรน้ 3. ฝึกการสงั เกต การสรปุ ผล การบนั ทึก และการจัดข้ันตอน ข้อจำกัดของการสอนแบบสาธติ 1. การสาธิตบางคร้ังไมส่ ามารถใช้กับผเู้ รยี นกลุ่มใหญ่ 2. ผู้สอนต้องแนะนำขนั้ ตอน อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ในการสาธติ อยา่ งชดั เจน 3. ผูส้ อนตอ้ งทดลองการสาธติ ก่อนสอนใหแ้ ม่นยำเพ่ือลดข้อผดิ พลาดท่ีอาจเกดิ ข้ึน

45.วิธีการสอนแบบทดลอง เปน็ วธิ กี ารสอนทีม่ งุ่ เนน้ ใหน้ กั เรยี นเรียนรู้ด้วยการกระทำเป็นประสบการณต์ รงหรือโดยการสังเกต เปน็ การนำ รูปธรรมมาอธบิ าย นกั เรียนจะคน้ หาข้อสรุปจากการทดลองนน้ั ด้วยตนเอง อาจสอนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้ การ ทดลองแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื การทดลองแบบไมม่ กี ล่มุ เปรยี บเทียบ และการทดลองทม่ี ีกลุ่มเปรยี บเทียบ ซ่ึงมี ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. ขนั้ เตรยี ม เปน็ ขั้นของการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรเู้ พือ่ ให้สอดคล้องตามหลักสูตร มาตรฐานการ เรยี นชว่ งชั้นหรือผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง รวมท้ังสอดคล้องกับเน้ือหาสาระ จากนั้นจงึ วางแผนการให้การเรียนรู้ดว้ ย การทดลอง มกี ารเตรยี มวสั ดุ ส่อื อุปกรณ์ หรอื เอกสารต่างๆ ในการนตี้ ้องตรวจสอบประสิทธภิ าพของส่ือหรอื อปุ กรณ์ที่ จำเปน็ ต้องใชใ้ นการทดลองด้วย 2. ข้ันทดลอง เป็นขนั้ ของการดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรม่ิ ต้นดว้ ยการนำเข้าสู่บทเรยี น แจ้งจุดประสงค์และเน้ือหาสาระการเรียนรู้ และแบง่ กลุ่มนักเรยี นเปน็ กลมุ่ ย่อยตามท่ีต้องการ จากนั้นจึงดำเนินการ ทดลองตามรปู แบบท่ีกำหนดไว้ 3. ขนั้ เสนอผลการทดลอง เป็นการนำเสนอผลการทดลองด้วยการสรุปขนั้ ตอนและผลการทดลอง รวมทั้ง ปัญหาและข้อเสนอแนะ โดยกลุ่มของนักเรียนเองหรือผสู้ อนรว่ มกับนักเรียน ข้อดขี องการสอนแบบทดลอง 1. ผู้เรยี นได้ปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถสรปุ ผลการทดลองไดด้ ้วยตนเอง 2. เรา้ ใจใหอ้ ยากเรียนรู้และค้นหาคำตอบ 3. มที กั ษะในการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝกึ ความมเี หตผุ ล และมรี ะบบ ข้อจำกดั ของการสอนแบบทดลอง 1. ใช้เวลามากในการดำเนนิ กิจกรรมการทดลอง 2. ตอ้ งระมัดระวังการทดลองบางอยา่ งทอ่ี าจเกิดอันตรายหรอื ความผิดพลาดอุบัติเหตุ *********************

46.การสอนแบบบรู ณาการ (Integration Instruction) ------------------------------------------------------- เปน็ การสอนที่นำเอาศาสตรส์ าขาวิชาต่างๆท่มี ีความสัมพันธ์เก่ยี วข้องกนั เขา้ มาผสมผสานกนั เพื่อให้เกดิ ความรู้ที่ หลากหลายและสอดคล้องกับชวี ติ ประจำวัน จดุ เน้นของการบรู ณาการคือการองคร์ วมของวิชามากกว่ารายละเอียดของ วิชา การบรู ณาการจำแนกเป็นบูรณาการตามจำนวนผู้สอน ไดแ้ ก่ บรู ณาการแบบผ้สู อนคนเดียว แบบคู่ขนาน แบบ เปน็ ทมี บูรณาการตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และบูรณาการแบบสหวทิ ยาการและแบบพหวุ ทิ ยาการ ขน้ั ตอนของ การบรู ณาการมี ดงั นี้ 1.ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในภาพรวม และวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรชู้ ่วงชนั้ จากน้นั จึงกำหนด สาระการเรียนรู้และผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง 2.จดั ทำคำอธิบายรายวชิ าและหนว่ ยการเรียนรู้ 3.สร้างเครอื ขา่ ยการเรยี นรทู้ ี่สมั พันธก์ นั ในแต่ละศาสตรส์ าขาวิชาและทำแผนการเรียนรู้ ********************* 47.กลวิธกี ารสอนให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ --------------------------------------------------------- การสอนเพอื่ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์มมี ากมายหลายวิธแี ลว้ แต่สาขาวิชา แตโ่ ดยทัว่ ไปนิยมสอนตามแนวคดิ ของวลิ เล่ยี มส์ ซึ่งสง่ เสริมพฤติกรรมความคิดสรา้ งสรรค์ ดา้ นความรู้ เจตคติในห้องเรียนสอนใหผ้ ู้เรยี นรู้จกั คิดและแสดง ความรูส้ กึ หรอื แสดงออกเชิงความคดิ สร้างสรรค์ซึ่งมีกลวธิ ีการสอน 18 ลักษณะ ดังน้ี 1. การสอนใหแ้ สดงความคดิ เหน็ หมายถงึ การสอนให้ผู้เรียนอยากแสดงความคิดเห็น ซึ่งมีตัวอย่าง หลากหลาย ลักษณะ ดังนี้ • ขดั แยง้ ในตวั มันเอง ยกตัวอย่าง เชน่ คนสวย มักไม่ฉลาด (โง)่ • ค้านกับสามญั สำนกึ เช่น ถุงกระดาษใส่น้ำสามารถนำไปตม้ ให้น้ำสุกได้โดยถงุ กระดาษไม่ไหมไ้ ฟ • ความจรงิ ทีย่ ากจะเช่ือหรอื อธิบายได้ เช่น โรคกระเพาะเกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รีย • ความเชอ่ื ท่ฝี งั ใจมานาน เช่น สรุ ิยคราสเกิดจากราหูอมพระอาทติ ย์ 2. การพจิ ารณาคุณลักษณะ หมายถงึ การสอนให้ผเู้ รียนคิดพิจารณาคณุ ลักษณะตา่ ง ๆ ของคน สตั ว์ สิ่งของแลว้ ใหแ้ สดงความคิดเหน็ ตัวอย่างเชน่ • การพิจารณาหาส่วนใดส่วนหนง่ึ ที่เห็นว่าแปลกไปจากอย่างอื่น เชน่ คณุ ลกั ษณะของน้ำ • บอกประโยชนข์ องหนังสือพิมพม์ าให้มากทส่ี ดุ 3. การเปรยี บเทียบ หมายถึง การเปรยี บเทยี บสิง่ ของ สถานการณ์ โดยใหผ้ ู้เรียนแสดงความคิดเห็น ออกมา ตวั อย่างเช่น • พืช และสตั ว์ ตา่ งก็เปน็ สิ่งมีชวี ติ เหมอื นกนั ให้บอกความแตกต่าง • ลิงเปน็ บรรพบุรษุ ของคนเหน็ ดว้ ยหรือไม่ อย่างไร

4. การพิจารณาความไมส่ มบรู ณ์ หมายถึง การสอนให้ผู้เรียนแสดงความคดิ เห็นของสิง่ ทไ่ี ม่สมบูรณ์ หรอื ผิด แผกไปตวั อย่าง เชน่ ขณะน้ีอากาศร้อนมาก ท่านเคยอยใู่ นหอ้ งแอร์เยน็ สบายแตต่ อนนี้ไฟฟ้าดับ ท่านจะหาวธิ ีอย่างไร มาชว่ ยคลายรอ้ นใหก้ ับตวั เอง แสดงความคิดเห็นมาเป็นข้อ ๆ 5. การใชค้ ำถามยั่วยุ หมายถึง การสอนโดยผู้สอนใชค้ ำถามยว่ั ยุ เร้าความรสู้ กึ หรือกระตุ้นใหต้ อบ ตัวอยา่ งเชน่ • ท่านเป็นหญิงมเี พ่ือนชายชวนใหไ้ ปอา่ นหนงั สอื ท่ีบ้านของเขาในตอนเย็น ท่านไม่อยากไปแต่กไ็ มอ่ ยาก ให้เพอื่ นชายเสยี น้ำใจและโกรธท่าน ท่านจะตอบปฏเิ สธอยา่ งไร จึงจะนุม่ นวลทีส่ ุด • ถ้าทา่ นมีเงนิ 1 ลา้ นบาท ท่านจะทำอย่างไร เพ่ือให้ฐานะความเป็นอยขู่ องท่านมั่นคงตลอดไป 6. การสอนใหค้ ิดเปลี่ยนแปลง หมายถึง การสอนให้เกิดการคดิ ดัดแปลง ปรับปรุง สิง่ ตา่ งๆ ให้อยู่ในรูปอืน่ ๆ ที่คิดวา่ สร้างสรรค์ ตัวอย่างเช่น • การใช้ตน้ ผกั ตบชวามาทำเปน็ เครื่องจกั สานต่าง ๆ • การใชก้ ะลามะพร้าวมาทำเป็นภาชนะเคร่ืองใช้ในบา้ น • การใชเ้ กล็ดปลามาทำเปน็ ของชำร่วยให้ผู้เรยี นจนิ ตนาการ คิดหาวสั ดุเหลอื ใช้อนื่ ๆ มาทำเป็นของใช้ หรอื ของชำรว่ ยเชิงสร้างสรรค์ 7. การเปล่ียนแปลงความเชื่อ หมายถงึ การฝึกให้ผเู้ รียนมคี วามยืดหยนุ่ คลายความยึดม่นั ยอมรับการ เปล่ียนแปลงตัวอย่างเชน่ • ถา้ ไดก้ นิ ตัวเดียวอนั เดียวของกวาง จะช่วยเพ่มิ สมรรถภาพทางเพศได้ท่านคิดเห็นเป็นอย่างไร • ลกู ผูช้ ายตอ้ งสูบบุหร่ีเป็นดื่มเหลา้ เปน็ และเท่ยี วผู้หญงิ เป็นหรอื มเี พ่ือนหญิงหลายคน จึงจะถือวา่ แนเ่ ป็น ชายชาตรี ใหท้ า่ นแสดงความเหน็ 8. การดดั แปลงส่ิงใหม่จากส่ิงเดิม หมายถงึ การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสร้างสง่ิ ใหม่จากโครงสร้างหรอื กฎเกณฑเ์ ดมิ ตวั อยา่ งเช่น • การใช้แตงกวาแทนมะละกอในการทำส้มตำ (ฝึกปฏบิ ตั )ิ • การเลอื กใชพ้ ลงั งานอน่ื ทดแทนการใชน้ ้ำมนั เป็นเชอ้ื เพลงิ ใหย้ กตวั อยา่ งเปน็ ข้อ ๆ 9. ทักษะการค้นควา้ หาข้อมูล หมายถึง การฝึกให้ผูเ้ รยี นร้จู กั การหาข้อมูลหรือคำตอบด้วยตนเอง เพ่ือตอบ คำถามทีส่ นใจ ตวั อยา่ งเชน่ • เหลก็ จมน้ำ แตท่ ำไมเรอื เหล็กจึงลอยน้ำได้ ให้อธิบาย • ประเทศไทยเคยเป็นเจา้ ภาพกีฬาเอเซ่ยี นเกมส์ก่ีคร้ัง ในปี พ.ศ. ใดบา้ ง และแต่ละครง้ั ไดเ้ หรยี ญทอง เท่าไร 10. การค้นควา้ คำตอบจากคำถามที่ไมช่ ัดเจน หมายถึง การฝึกใหผ้ เู้ รียนพยายามค้นหาคำตอบจากคำถาม ทีก่ ำกวม ไมช่ ัดเจน ตวั อยา่ งเช่น • ผมี ใี นโลกนห้ี รือไม่ ให้อภิปราย • มีมนุษย์ตา่ งดาว หรอื ยาน UFO จริงหรอื ไม่ ให้อภปิ ราย

11. การแสดงออกจากการหย่งั รู้ หมายถงึ การฝกึ ใหผ้ เู้ รียนรู้จักแสดงความรูส้ ึกทเ่ี กิดจากส่งิ ที่มาเร้าอวัยวะ สมั ผัสตัวอยา่ งเชน่ • ทา่ นเหน็ ฝูงชนขูดตน้ ไม้ประหลาดเพ่ือหาเลขเด็ดไปแทงหวยใต้ดนิ ทา่ นรู้สึกอย่างไร ใหแ้ สดงความคดิ เห็น • ทา่ นเห็นคนนอนตายกลางถนนจากอุบตั เิ หตุรถชน ใหท้ า่ นแสดงความรู้สึกโดยอภิปราย 12. การพฒั นาปรับตัว หมายถงึ การฝกึ ให้ผ้เู รียนรู้จักพิจารณาศึกษาจากความพลาดพลั้ง ล้มเหลวแล้วใช้ เป็นบทเรยี นสู่ความสำเร็จ ตัวอย่างเชน่ • ประเทศไทยเสียกรงุ ให้แกพ่ ม่าคร้ังแรกเพราะสาเหตุใด จงสรปุ บทเรียนเพ่ือเปน็ แนวทางการป้องกนั ได้ อยา่ งไร • เศรษฐกจิ ฟองสบแู่ ตกทำให้บรษิ ทั ห้างรา้ นขาดทุน ปดิ กจิ การเกดิ จากสาเหตุอะไรแนวทางในการป้องกนั การเกิดซ้ำจะทำได้อยา่ งไร 13. ลักษณะบคุ คลสำคัญและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ หมายถงึ การศึกษาประวัตบิ ุคคลสำคัญทั้งในแง่ ลกั ษณะพฤติกรรมและกระบวนการคิดตลอดจนวธิ กี ารและประสบการณ์สรา้ งสรรค์ของเขา ตวั อยา่ งเชน่ • บโี ทเฟน นักดนตรหี ูหนวกแต่ไม่ท้อถอย มุมานะสร้างสรรค์โลกใหง้ ดงามดว้ ยเสยี งดนตรจี นเปน็ คตี กวเี อก ของโลก ใหส้ รุปลกั ษณะเด่นของนกั ดนตรีเอกผนู้ ี้ • บิล เกตต์ ผู้พัฒนาซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์และบุกเบกิ จนผคู้ นยอมรับและ สามารถครองตลาดโลก คอมพวิ เตอร์ไวไ้ ด้ ขณะน้ีเป็นบุคคลรำ่ รวยท่ีสดุ ของโลก ให้สรปุ ขอ้ เดน่ ของ บิล เกตต์ วา่ ทำไมจงึ ประสบ ความสำเร็จ 14. การประเมนิ สถานการณ์ หมายถึง การฝึกหาคำตอบโดยคำนึงถงึ คำถามวา่ ส่งิ น้ีเกิดข้ึนแล้วจะเกิดผล อย่างไรตวั อย่างเช่น • ถ้าท่านหลงทางในทะเลทราย ทา่ นอยากได้อะไรติดตัวไปกับทา่ น เพื่อให้ ท่านปลอดภัยและสามารถรอดตายกลับมาได้ • ถา้ โลกรอ้ นขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเรอื นกระจกจะกอ่ ผลเสียต่อโลกอยา่ งไรบ้าง 15. พัฒนาทักษะการอา่ นอย่างสรา้ งสรรค์ หมายถึง การฝกึ แสดงความคดิ ภายหลังการอา่ นหนังสอื หรือ บทความดี ๆบางเรือ่ ง ตัวอยา่ งเช่น • ให้ผูเ้ รียนอา่ น เรอื่ ง “ กอ่ งขา้ วน้อยฆ่าแม่ ” แลว้ แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่าน • ให้ผู้เรยี นอ่านบทความเร่ือง “ โลกหลงั ยคุ 2000 ” แลว้ แสดงความคิดเหน็ ด้านการเรยี นการสอนควร เป็นอยา่ งไร 16. พัฒนาการฟังอยา่ งสรา้ งสรรค์ หมายถึง การฝึกให้ผเู้ รียนคดิ ขณะฟงั บทความหรอื สุนทรพจน์แล้วแสดง ความร้สู ึกตวั อย่างเช่น • ใหผ้ เู้ รยี นฟัง สนุ ทรพจน์ เรอื่ ง “พระคุณของแม่” จากเทปแล้วแสดงความคดิ เหน็ 17. พัฒนาการเขยี นอยา่ งสร้างสรรค์ หมายถงึ การฝกึ ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเหน็ ความรูส้ กึ ดว้ ยการเขียน บรรยาย • ถ้าท่านได้รบั คดั เลอื กเป็นตัวแทนไปประเทศสหรฐั อเมริกา ทา่ นจะเตรยี มอะไรไปแสดงใหต้ า่ งชาติร้จู ัก

วัฒนธรรมของชาติไทย • ถ้าฝนไม่ตกตลอดปีพ้นื ท่แี หง้ แล้งชาวไร่ ชาวนาเดือดรอ้ น ทา่ นเปน็ ผูน้ ำท่านจะจัดการปัญหานี้อย่างไร 18. ทกั ษะการใชภ้ าพพรรณนา หมายถึง การฝกึ ให้ผู้เรียนแสดงความร้สู กึ ความคดิ จากภาพในเชิงสร้างสรรค์ ตวั อยา่ งเช่น • วาดภาพให้เข้าใจได้วา่ สังคมปัจจบุ ันไร้พรมแดน • วาดภาพใหเ้ ขา้ ใจวา่ ถ้าประเทศขาดตน้ ไม้แล้วจะเกดิ ปัญหาต่าง ๆ ตามมาอย่างไรบา้ ง สรปุ ท้ังหมดท่ียกตัวอยา่ งนี้ เป็นเพียงแนวทางของกลวิธีการสอนเพอ่ื แสดงให้เหน็ เป็นข้อคิดสำหรบั ผู้สอนทเี่ ร่ิมเขา้ ใจ เร่ือง ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถสร้างความคิด ความสนใจตอ่ เนอื่ งในการพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เปรียบประดุจต้นไม้ท่ีงอกจากเมล็ดซง่ึ กำลงั เตบิ โตข้นึ และมีความสวยงามไดจ้ ากการปรุงแต่งอย่างสร้างสรรคข์ องผู้ดูแล กลวิธีการสอนความคิดสรา้ งสรรคย์ ังมอี ีกมากมายสมควรศึกษาเพ่มิ เติม เพื่อให้เกิดแนวคิดในการประยกุ ตใ์ ช้ เป็นวิธกี ารสอนใหเ้ หมาะสมกับสาขาวชิ าของตนเอง 48.กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบ แอล.ท.ี ( L.T ) ------------------------------------------------------- “ L.T. ” คือ “Learning Together” ซง่ึ มีกระบวนการที่ง่ายไม่ซับซ้อน ดังน้ี 1. จดั ผ้เู รยี นเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - ออ่ น ) กลุ่มละ 4 คน 2. กลุ่มย่อยกลุ่มละ 4 คน ศึกษาเน้อื หาร่วมกันโดยกำหนดให้แตล่ ะคนมีบทบาทหน้าที่ช่วยกลุ่ม ในการเรยี นรู้ ตวั อยา่ งเช่น สมาชกิ คนท่ี 1 : อา่ นคำส่ัง สมาชกิ คนที่ 2 : หาคำตอบ สมาชกิ คนท่ี 3 : หาคำตอบ สมาชิกคนท่ี 4 : ตรวจคำตอบ 3. กลุม่ สรุปคำตอบรว่ มกัน และส่งคำตอบน้นั เป็นผลงานกลมุ่ 4. ผลงานกลมุ่ ไดค้ ะแนนเทา่ ไร สมาชิกทุกคนในกล่มุ นัน้ จะได้คะแนนนั้นเทา่ กนั ทกุ คน ทม่ี า : ทศิ นา แขมมณี . (2548). ศาสตร์การสอน. พมิ พค์ ร้ังท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

49. กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบ จี.ไอ. ( G.I. ) --------------------------------------------------------- “ G.I. ” คือ “ Group Investigation ” รูปแบบนี้เป็นรูปแบบท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนชว่ ยกันไปสืบคน้ ข้อมลู มาใช้ ในการเรียนรูร้ ว่ มกนั โดยดำเนินการเป็นข้ันตอน ดังนี้ 1. จดั ผ้เู รยี นเข้ากลุม่ คละความสามารถ ( เก่ง-กลาง-ออ่ น ) กลุ่มละ 4 คน 2. กลุ่มยอ่ ยศึกษาเนื้อหาสาระร่วมกนั โดย ก. แบ่งเนือ้ หาออกเปน็ หัวข้อยอ่ ย ๆ แลว้ แบ่งกนั ไปศึกษาหาขอ้ มูลหรือคำตอบ ข. ในการเลอื กเนื้อหา ควรใหผ้ ูเ้ รยี นอ่อนเปน็ ผเู้ ลอื กก่อน 3. สมาชกิ แตล่ ะคนไปศึกษาหาขอ้ มูล /คำตอบมาให้กลมุ่ กลุ่มอภปิ รายรว่ มกัน และสรปุ ผลการศกึ ษา 4. กลุม่ เสนอผลงานของกลุ่มตอ่ ชัน้ เรยี น ท่ีมา : ทศิ นา แขมมณี . (2548). ศาสตร์การสอน. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ********************* 50. การเรยี นการสอนของรูปแบบ เอส.ท.ี เอ.ด.ี ( STAD ) ----------------------------------------------------------- “ STAD ” คอื “Student Teams Achievement Division” กระบวนการดำเนนิ การมีดงั น้ี 1. จดั ผู้เรียนเขา้ กลุม่ คละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - อ่อน ) กลมุ่ ละ 4 คนและเรยี กกล่มุ นว้ี า่ กลุ่ม บา้ นของเรา (Home Group) 2. สมาชกิ ในกลุ่มบา้ นของเรา ไดร้ ับเน้ือหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระน้ันร่วมกนั เนือ้ หาสาระนนั้ อาจจะมหี ลายตอนซึ่งผเู้ รียนอาจต้องทำแบบทดสอบในแตล่ ะตอนและเก็บคะแนนของตนไว้ 3. ผ้เู รยี นทุกคนทำแบบทดสอบคร้งั สดุ ท้าย ซง่ึ เปน็ การทดสอบรวบยอดและนำคะแนนของตน ไปหาคะแนนพฒั นาการ (Improvement Score) ซง่ึ หาได้ดงั นี้ คะแนนพ้นื ฐาน : ได้จากคา่ เฉล่ียของคะแนนทดสอบย่อยหลาย ๆ ครง้ั ที่ผู้เรยี น แตล่ ะคนทำได้ คะแนนพฒั นาการ : ถา้ คะแนนท่ีไดค้ ือ - 11 ข้ึนไป คะแนนพฒั นาการ = 0 - 1 ถึง -10 คะแนนพฒั นาการ = 10 +1 ถึง +10 คะแนนพัฒนาการ = 20 +11 ขึน้ ไป คะแนนพฒั นาการ = 30 4. สมาชกิ ในกลุ่มบ้านของเรานำคะแนนพัฒนาการของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกนั เปน็ คะแนนของกลุ่ม กลมุ่ ใดได้คะแนนพฒั นาการของกลุ่มสูงสดุ กล่มุ นั้นไดร้ างวัล ที่มา : ทศิ นา แขมมณี. (2548). ศาสตรก์ ารสอน. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร :จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

51. กระบวนการเรียนการสอนของรปู แบบจ๊ิกซอร์ ( Jigsaw ) ------------------------------------------------------ 1. จัดผเู้ รยี นเข้ากลุม่ คละความสามารถ ( เกง่ -กลาง-ออ่ น ) กลุ่มละ 4 คนและเรยี กกลมุ่ นี้วา่ กลมุ่ บ้านของเรา (home group) 2. สมาชกิ ในกลุม่ บ้านของเราได้รบั มอบหมายให้ศกึ ษาเนอื้ หาสาระคนละ 1 ส่วน (เปรยี บเสมือนได้ชิน้ ส่วนของ ภาพตัดต่อคนละ 1 ช้ิน) และหาคำตอบในประเดน็ ปัญหาท่ีผ้สู อนมอบหมายให้ 3. สมาชกิ ในกลุ่มบ้านของเรา แยกยา้ ยไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอนื่ ซ่งึ ไดร้ บั เน้ือหาเดียวกนั ตั้งเปน็ กลมุ่ ผู้เช่ยี วชาญ (expert group) ข้นึ มา และร่วมกนั ทำความเข้าใจในเนอ้ื หาสาระนนั้ อย่างละเอียด และรว่ มกันอภิปรายหาคำตอบ ประเด็นที่ผู้สอนมอบหมายให้ 4. สมาชกิ กลุม่ ผเู้ ช่ียวชาญ กลับไปสกู่ ลมุ่ บา้ นของเรา แตล่ ะกลุ่มชว่ ยสอนเพื่อนในกลุ่ม ให้เขา้ ใจสาระท่ตี นได้ ศกึ ษาร่วมกบั กลุ่มผู้เชย่ี วชาญเช่นนี้ สมาชกิ ทกุ คนก็จะไดเ้ รียนรู้ภาพรวมของสาระทั้งหมด 5. ผู้เรยี นทุกคนทำแบบทดสอบ แต่ละคนจะได้คะแนนเปน็ รายบคุ คล และนำคะแนนของทกุ คนในกลุ่มบ้าน ของเรามารวมกัน (หรือหาค่าเฉลย่ี ) เป็นคะแนนกลมุ่ กลุ่มทีไ่ ดค้ ะแนนสูงสุดไดร้ ับรางวลั ท่มี า : ทศิ นา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน. พมิ พค์ ร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . *********************

52. รปู แบบการเรียนการสอนของการเรียนร้แู บบร่วมมอื (Instructional Models of Cooperative Learning) ---------------------------------------------------- ก. ทฤษฎ/ี หลกั การ/แนวคดิ ของรูปแบบ รปู แบบการเรียนการสอนของการเรียนรแู้ บบร่วมมือพัฒนาขนึ้ โดยอาศยั หลักการเรยี นรูปแบบรว่ มมอื ของจอหน์ สัน และจอห์นสัน ( Johnson & Johnson, 1974 : 213 - 240 ) ซง่ึ ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ วา่ ผเู้ รยี นควรร่วมมือกันใน การเรียนรู้มากกวา่ การแข่งขันกนั เพราะการแขง่ ขันก่อใหเ้ กิดสภาพการณ์ของ การแพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซ่ึง ก่อใหเ้ กิดสภาพการณ์ของการชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณท์ ีด่ กี ว่าทั้งทางดา้ นจติ ใจและสติปัญญาหลกั การเรียนรแู้ บบ รว่ มมอื 5 ประการ ประกอบดว้ ย (1) การเรยี นรตู้ ้องอาศัยหลักการพ่ึงพากนั (positive interdependence) โดยถือวา่ ทุกคน มีความสำคัญเท่าเทยี มกนั และจะต้องพงึ่ พากนั เพ่ือความสำเร็จรว่ มกนั (2) การเรยี นรู้ทด่ี ตี อ้ งอาศัยการหนั หนา้ เข้าหากัน มีปฏิสมั พันธ์กัน (face to face interaction) เพอ่ื แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น ขอ้ มูล และการเรยี นร้ตู ่าง ๆ (3) การเรยี นรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทกั ษะในการทำงานรว่ มกัน (4) การเรียนร้รู ว่ มกันควรมีการวเิ คราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ท่ีใชใ้ น การทำงาน (5) การเรยี นรรู้ ว่ มกนั จะต้องมผี ลงานหรอื ผลสมั ฤทธ์ทิ ้ังรายบคุ คลและรายกลุ่มทส่ี ามารถตรวจสอบและวดั ประเมินได้ (individual accountability)หากผเู้ รยี นมีโอกาสได้เรยี นรูแ้ บบรว่ มมือกนั นอกจากจะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดการ เรียนร้ทู างด้านเน้ือหาสาระต่าง ๆ ได้กวา้ งขน้ึ และลึกซ้ึงขึ้นแลว้ ยงั สามารถช่วยพฒั นาผู้เรยี นทางด้านสังคมและอารมณ์ มากข้นึ ดว้ ย รวมท้ังมโี อกาสได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิตอกี มาก ข. วัตถปุ ระสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนม้ี ุ่งชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นร้เู นอ้ื หาสาระตา่ ง ๆ ด้วยตนเองและดว้ ยความรว่ มมือและความ ชว่ ยเหลือจากเพ่ือน ๆรวมทัง้ ได้พัฒนาทักษะทางสังคมตา่ ง ๆ เช่น ทกั ษะการสื่อสาร ทักษะ การทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ทักษะการสร้างความสมั พนั ธ์ รวมทงั้ ทักษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการคิด การแก้ปญั หาและอ่นื ๆ ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ รปู แบบการเรียนการสอนท่สี ง่ เสริมการเรียนรแู้ บบร่วมมือมีหลายรปู แบบ ซึ่งแต่ละรปู แบบจะมวี ธิ ีการ ดำเนินการหลัก ๆ ซึ่งได้แก่ การจัดกลมุ่ การศึกษาเนื้อหาสาระ การทดสอบ การคิดคะแนน และระบบการใหร้ างวัล แตกตา่ งกนั ออกไปเพ่อื สนองวัตถุประสงค์เฉพาะแต่ไมว่ า่ จะเป็นรูปแบบใด ตา่ งก็ใช้หลกั การเดยี วกนั คือหลกั การเรียนรู้ แบบรว่ มมือ 5 ประการและมีวัตถปุ ระสงค์มงุ่ ตรงไป ในทิศทางเดยี วกันคือเพื่อช่วยใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ในเรอื่ งที่ ศึกษาอย่างมากท่ีสดุ โดยอาศัย การร่วมมือกนั ชว่ ยเหลอื กันและแลกเปลี่ยนความรกู้ นั ระหว่างกลมุ่ ผู้เรยี นด้วยกนั ความ แตกต่างของรูปแบบแต่ละรูป จะอยูท่ ี่เทคนิคในการศกึ ษาเน้ือหาสาระและวธิ ีการเสรมิ แรงและการใหร้ างวลั เป็น ประการสำคัญ ทมี่ า : ทิศนา แขมมณี . (2548). ศาสตรก์ ารสอน. พมิ พค์ รัง้ ที่ 4. กรงุ เทพมหานคร :จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

53. การสอนแบบเอกตั ภาพ ( Individualized Instruction ) ---------------------------------------------------------- การเรยี นการสอนแบบนี้ในระดบั โรงเรียนเพ่ิงเริ่มขึน้ เม่อื ไม่นานมานเี้ อง ในประเทศไทยเรมิ่ การสอน ภาษาองั กฤษแบบนใ้ี นระดบั มัธยมต้น ในปกี ารศึกษา 2523 การสอนแบบเอกัตภาพน้ยี ดึ หลกั การสอนแบบบุคคล นัน่ คือ เชือ่ ในเรื่องความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ถือวา่ คน ทุกคนมีความสามารถไมเ่ ท่ากัน ใครท่เี รียนดี เรยี นได้เร็วควรจะไปรดุ หนา้ กวา่ คนท่ีอ่อนและชา้ บทเรียนที่จัดข้ึนมที ้งั บทเรียนธรรมดาและบทเรยี นสำเรจ็ รูป ( programmed lessons ) การสอนแบบนี้ เป็นพัฒนาการของการจัดการศึกษาตามแนวทางใหม่ เป็นการปฏริ ูประบบการเรยี น การสอน และการจัดห้องเรียนจากแบบเดมิ ทม่ี ีครูเปน็ ผู้นำแตผ่ ู้เดยี วมาเปน็ ระบบท่ีครแู ละนักเรยี นมีสว่ นรว่ มรับผดิ ชอบในชนั้ เรียนหนึง่ ๆ โดยการแบ่งออกเป็นมุมตา่ ง ๆ เช่น มุม oral , reading และ writing แบง่ นักเรยี นออกเป็นกล่มุ ๆ สกั 3 – 5 กล่มุ อาจจะใชค้ รผู ู้สอน 2 หรอื 3 คนช่วยกนั สอนเปน็ team teachering วิธกี ารเรียนการสอนแบบเอกัตภาพนใ้ี ชใ้ นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ในปีการศึกษา 2523 โดยใชช้ ือ่ เรยี กสอ่ื การเรยี นการสอนชุดน้วี ่า “ ชดุ การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ( Learning Kit ) ” วธิ กี ารสอนแบบเอกตั ภาพ 1. ครสู อนสงิ่ ที่นักเรียนจะต้องเรียนพรอ้ มกันทเี ดยี วท้งั หอ้ งหรือครง่ึ ห้อง เปน็ ตน้ ว่าการออกเสยี ง ไวยากรณ์ หรือคำศัพท์ สกั 10 – 15 นาที 2. แบ่งนักเรียนออกเปน็ กลุ่มยอ่ ยสกั 3 – 5 กลุม่ มหี วั หน้าดูแลความเรยี บร้อยแต่ละกล่มุ ทำงานตามท่ีครู มอบหมายให้ทำดว้ ยตนเอง ถ้ามปี ญั หาหรอื ต้องการความช่วยเหลอื จะเขา้ มาปรกึ ษาครูได้เป็นราย ๆ ไป ในครงั้ หนึ่ง ๆ นักเรียนอาจจะเลอื กทำกิจกรรมมากกว่าหน่งึ อยา่ งก็ได้ตามความสนใจของตน แต่ครูจะต้องเป็นผู้รับรู้ดว้ ย 3. การเรยี นอา่ นและเขยี นนน้ั เป็นการเรียนดว้ ยตนเองเปน็ สว่ นใหญ่ ครูมหี น้าทใ่ี ห้คำแนะนำช่วยเหลือ อธิบาย อยา่ งคร่าว ๆ นักเรียนคนใดเรียนได้เรว็ ทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมายเสร็จเรียบรอ้ ย ครูจะให้ช่วยเหลือหรอื แนะนำหรือดูแล การทำแบบฝึกหัดของนักเรยี นทอ่ี ่อน 4. แตล่ ะคร้ังนักเรยี นเอางานท่ีสำเร็จแลว้ มาใหค้ รดู ู แล้วไปเขยี นในสมุดหรือกระดาษรายงานสว่ นตัวที่เรียกวา่ progress chart เพ่อื เป็นหลกั ฐานว่าในครั้งนัน้ ๆ ตนได้ทำงานอะไรไปแลว้ บา้ ง ข้อเสยี 1. ถ้ามนี กั เรยี นหลายคนในห้องเรยี น จะต้องอาศยั ครหู ลายคนจึงจะดแู ลนักเรยี นได้ทัว่ ถึง 2. จะตอ้ งอบรมให้นักเรยี นมรี ะเบยี บวนิ ัย ซ่อื ตรงตอ่ ตนเอง สามารถบังคับใจให้ทำงานได้เองโดย ไม่มใี ครบังคับ 3. บทเรียนท่ีใชม้ กั จะมรี าคาแพง เพราะต้องบรรจกุ ิจกรรมมากอย่างเพ่ือเร้าความสนใจของผเู้ รยี น 4. ครูจะตอ้ งมีความสนใจตอ่ นกั เรียนเป็นรายบุคคลอย่างแท้จริง จงึ จะชว่ ยใหก้ ารเรยี นเป็นผลสำเร็จ 5. ในห้องเรยี นทน่ี ักเรียนมีความสามารถต่างกนั มาก ทำให้ยากต่อการเตรยี มการสอนในส่วนของ บทเรียนท่ีจะต้องเรยี นรว่ มกนั เพราะนักเรยี นเก่งจะเรยี นรู้เกินหน้านักเรียนที่อ่อนไปมากแลว้ แต่จะต้องมาเรียน บทเรยี นยอ้ นหลงั ดังน้นั ครูจงึ ตอ้ งเตรยี มบทเรียนเป็นหลายระดบั และสอนแต่ละกลมุ่ ดว้ ยเน้ือหาทีต่ ่างกันออกไป ทำให้ ครูทำงานหนักมาก

ข้อดี 1. สามารถจะแกป้ ัญหานักเรียนทม่ี พี ้นื ฐานความรู้ตา่ งกันได้ 2. นกั เรยี นไดร้ ับการฝึกภาษาอย่างทัว่ ถึงกนั เพราะแต่ละกลมุ่ เปน็ กลมุ่ เล็ก 3. นักเรียนอ่อนไมร่ ู้สกึ มีปมด้อยในการเรียน เพราะได้เรยี นตามความสามารถของตนเปน็ การแข่งขนั กับตนเองมากกวา่ แข่งกบั คนอื่น 4. นกั เรยี นท่เี รียนเกง่ ไม่รสู้ ึกเบื่อหนา่ ยในการทจี่ ะตอ้ งรอนักเรียนที่เรยี นช้า มีโอกาสที่จะเลอื ก กิจกรรมได้มากอยา่ งตามความสนใจของแตล่ ะคน 5. ฝกึ ให้นักเรียนรูจ้ ักการให้และการรบั รู้จักช่วยเหลือเพ่อื นรว่ มชัน้ เปน็ การฝึกนิสยั ในการท่จี ะดำเนนิ ชวี ิตอยรู่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งสันตสิ ุข *********************

54.การสอนภาษาโดยใช้เน้ือหาเพ่อื นาไปสกู่ ารเรยี นรู้ภาษา (Content – Based Instruction) -------------------------------------------------------- จากประสบการณท์ ั้งดา้ นการสอนและการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นในห้องเรียนช้ใี ห้เห็นวา่ การเรียน ภาษาต่างประเทศจะได้ผลมากทีส่ ดุ ถา้ ครสู อนให้ผเู้ รยี นใช้ภาษาในสถานการณ์ที่สอดคล้องกบั สถานการณจ์ ริง ท้งั ครู และผ้ทู เ่ี กีย่ วข้องกับการจัดการเรยี นการสอนภาษาทม่ี ง่ ใุ หผ้ ู้เรียนสามารถสอ่ื สารได้ จะจดั การสอนโดยเนน้ ให้ผู้เรียนฝกึ การใช้ภาษาในสถานการณ์ท่เี หมอื นจรงิ ครูสอนภาษาต่างประเทศในประเทศไทยส่วนใหญส่ อนทักษะการสอ่ื สาร ระหว่างบคุ คลในระดับพ้ืนฐาน (Basic Interpersonal Communication Skills) ซึง่ เนน้ ให้ผเู้ รยี นฝึกการใช้ภาษาให้ ถกู ต้องตามหน้าที่ (Functions) ในสถานการณ์ซ่งึ ครูจำลองให้เหมอื นชวี ติ ประจำวันมากทส่ี ุด เชน่ การซอ้ื ของ การถาม หรือการบอกทิศทาง การแนะนำตวั เอง เปน็ ต้น การสอนลกั ษณะนจี้ ะชว่ ยให้ผูเ้ รียนสอ่ื สารได้ในระดบั หนง่ึ เท่าน้ัน ผ้เู รียนที่สำเร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาจำนวนมากจะศึกษาต่อในระดับสงู ขน้ึ ไม่วา่ จะศกึ ษาต่อในสาขาวชิ าใดก็ตาม ผ้เู รียนจำเป็นตอ้ งใช้ภาษาอังกฤษเชิงวชิ าการ (Academic English) เพอื่ ศึกษาหาความรู้และความก้าวหนา้ ทาง วทิ ยาการ การสอนภาษาโดยเนน้ เพียงการส่ือสารในชีวติ ประจำวัน จงึ ไม่สามารถเตรยี มผู้เรียนให้มีความพรอ้ มในการใช้ ภาษาองั กฤษในการศึกษาหาความรู้ต่อไป ผู้เชยี่ วชาญทางดา้ นการสอนภาษา ได้ศึกษาเปรยี บเทยี บการเรยี นภาษาเพื่อการส่ือสารระหว่างบุคคล และการ เรยี นภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ สรุปว่า ผูเ้ รียนสามารถใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสารในระดับพืน้ ฐานได้ หลังจากการเรียนใน ระยะเวลา 2 ปีแตผ่ เู้ รยี นไม่สามารถใช้ภาษาเชิงวิชาการได้ (Grabe และ Stoller, 1997, Cummins, 1983, 1989) ซึ่ง ถ้าผเู้ รียนต้องการพัฒนาทกั ษะภาษาเชงิ วชิ าการด้านพทุ ธิพิสัย หรือ Cognitive Academic Language Proficiency (CALP) จะต้องใช้เวลาเรียนถึง 7 ปี (Cummins 1983, 1989) นอกจากนี้ Cummins ยังอธบิ ายเพ่ิมเติมวา่ ถงึ แม้ ผู้เรยี นสว่ นใหญจ่ ะไม่ไดใ้ ช้ชีวิตอย่ใู นสภาพแวดล้อมท่ีใชภ้ าษาองั กฤษ แต่ผ้เู รียนยอ่ มจะมีโอกาสใชภ้ าษาอังกฤษเชิง วชิ าการ ด้วยเหตผุ ลดังกลา่ วขา้ งตน้ จึงควรเรม่ิ สอนภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ โดยเนน้ วิธีการสอนท่ใี ชเ้ น้ือหาเพ่ือนำไปสู่ การเรยี นรภู้ าษาในระดบั มัธยมศึกษา Brinton, Snow และ Wesche (1989) ให้คำอธบิ ายเกี่ยวกับการสอนภาษาโดยใช้เน้อื หาเพือ่ นำไปสู่การเรียนรู้ ภาษา หรือทเี่ รยี กว่า Content – Based Instruction (CBI) ว่าเป็นการสอนทปี่ ระสานเนอ้ื หาเข้ากบั จุดประสงค์ของการสอนภาษาเพ่ือการส่อื สาร โดยมุ่งใหผ้ ู้เรียนสามารถใช้ ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการศกึ ษาเนื้อหาพร้อมกบั พัฒนาภาษาองั กฤษเชิงวชิ าการผ้สู อนท่ีใชแ้ นวการสอนแบบน้ี เหน็ ว่าครไู ม่ควรใช้เนื้อหาเปน็ เพียงแบบฝึกหัดทางภาษาเท่าน้นั แตค่ รคู วรฝึกใหผ้ ู้เกิดความเข้าใจสาระของเนื้อหา โดย ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือ ครจู ะใชเ้ นอ้ื หากำหนดรูปแบบของภาษา (Form) หนา้ ทข่ี องภาษา (Function) และ ทักษะยอ่ ย (Sub – Skills) ทีผ่ เู้ รียนจำเป็นตอ้ งรู้เพ่อื ท่ีจะเข้าใจสาระของเนื้อหาและทำกิจกรรมได้ การใชเ้ นอ้ื หาเพื่อ นำไปสู่การเรียนรู้ภาษานี้จะทำใหค้ รสู ามารถสร้างบทเรยี นให้สอดคล้องกับสถานการณจ์ ริงได้มากท่สี ดุ ทง้ั น้ีครูจะต้อง เข้าใจการสอนแบบบูรณาการหรือทกั ษะสัมพนั ธ์ ตลอดจนเขา้ ใจเน้อื หาและสามารถ ใชเ้ น้อื หาเป็นตัวกำหนดบทเรยี น ทางภาษา (Brinton, Snow, Wesche, 1989) แนวการสอนแบบนี้ ครูจะประสานทกั ษะทั้งส่ีใหส้ ัมพนั ธ์กับหวั เรอ่ื ง (Topic) ท่ีกำหนดในการเลอื กหวั เรื่องครู จะตอ้ งแน่ใจวา่ ผ้เู รียนมที ักษะและกลวธิ ีการเรียน (Learning Strategies) ท่จี ำเป็นเพอื่ ที่จะสามารถเขา้ ใจเน้ือหาได้ การ

สอนภาษาแนวนีเ้ หมาะสมอย่างยงิ่ เพราะเป็นการฝึกกลวิธกี ารเรยี นภาษา เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถเขา้ ใจความหมายของ ภาษาและสามารถนำกลวิธีนไ้ี ปใชไ้ ดต้ ลอด สว่ นเนอื้ หาและกจิ กรรมการเรยี น ครูสามารถปรบั แต่งใหม้ ีความหลากหลาย มากขึน้ กจิ กรรมการเรยี นการสอนในแนวน้ีจะกระตุน้ ให้ผู้เรยี นคิด และเกิดการเรยี นรู้ โดยผ่านการฝึกทักษะทางภาษา กจิ กรรมเป็นแบบทกั ษะสัมพันธ์ทีส่ มจรงิ ตัวอยา่ งเช่น เมือ่ ผเู้ รยี นไดฟ้ ังหรืออ่านบทความทีไ่ ด้จากส่ือจรงิ (Authentic Material) แล้วผู้เรยี นไม่เพียงแต่ทำความเขา้ ใจข้อมลู เท่าน้ัน แต่จะต้องตคี วามและประเมนิ ข้อมลู นั้น ๆ ดว้ ย ดังน้นั ผู้เรยี นจะตอ้ งรจู้ ักการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้อมลู เพ่อื ทจ่ี ะสามารถพูดหรือเขียนเชงิ วิชาการท่เี กย่ี วกับเร่อื งน้ัน ๆ ได้ จะเห็นได้ว่าผู้เรียนจะไดฝ้ กึ ทั้งทกั ษะทางภาษา (Language Skills) และทกั ษะการเรยี น (Study Skills) ซึง่ จะเตรยี ม ผูเ้ รียนให้พร้อมท่จี ะใชภ้ าษาอังกฤษเชิงวชิ าการในสถานการณจ์ ริงในอนาคต การสอนแบบ CBI มุ่งเตรยี มผู้เรยี นใหส้ ามารถใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือหาความรู้ทางวชิ าการเพมิ่ เตมิ ซึ่งการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนไม่แตกตา่ งไปจากการสอนภาษาเพ่อื การส่ือสารโดยมีแนวการเรยี นการสอนทส่ี ำคญั ดังนี้ คือ - การสอนแบบยดึ ผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง (Learner – Centered Approach) - การสอนที่คำนึงถงึ ทกุ สิง่ ทุกอยา่ งทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ภาษา (Whole Language Approach) - การสอนทเี่ นน้ การเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์ (Experiential Learning) - การสอนท่ีเนน้ การเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project – Based Learning) นอกจากนย้ี งั เนน้ หลักสำคัญวา่ ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ภาษาไดด้ ี ถ้ามโี อกาสใชภ้ าษาในสถานการณ์ท่ีเหมอื นจรงิ และ ผู้เรียนจะใชภ้ าษามากข้ึนถ้ามีความสนใจในเนื้อหาท่เี รยี น ดังน้นั ผู้เรยี นจึงต้องนำเนื้อหาที่เปน็ จรงิ และสถานการณ์การ เรียนรทู้ ีส่ มจรงิ มาใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ ใช้ภาษา เพ่ือท่จี ะทำความเข้าใจสาระของเน้อื หา โดยผ้เู รียนสามารถใชพ้ ้ืนความรู้เดมิ ของตนในภาษาไทยมาโยงกบั เนื้อหาของวิชาในภาษาอังกฤษ และทส่ี ำคัญที่สดุ คือ แนวการสอนแนวนี้ฝกึ ให้ผเู้ รียนคิด เป็น สามารถวิพากษว์ จิ ารณข์ ้อมูลที่ได้จากเน้ือหาท่ีเรียน และใช้ทักษะทางภาษาเปน็ เครื่องมือในการค้นควา้ ขอ้ มลู เพิม่ เติมได้ ฉะนัน้ การเรยี นการสอนวธิ ีนจี้ งึ เหมาะสมกับการสอนภาษาในระดบั ประถมศึกษา *********************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook