Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความว่าง

ความว่าง

Published by Piyaphon Khatipphatee, 2021-10-29 13:32:02

Description: ความว่าง

Search

Read the Text Version

ธรรมะใกลม้ อื ความวา่ ง ชดุ แก่นพุทธศาสน์ พุุทธ หนงั สือชนะเลศิ รางวัล UNESCO ทาส แหง่ สหประชาชาติ พ.ศ.๒๕๐๘ ภิิกขุุ

ชดุ แกน่ พุทธศาสน์ -๒- ความวา่ ง พุทธทาสภิกขุ ISBN 978-616-93803-0-6 พมิ พ์คร้ังที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๔ จ�ำ นวน ๒,๕๐๐ เลม่ การบรรยาย ธรรมกถาในโอกาสพเิ ศษ ณ ชุมนุมศกึ ษาพทุ ธธรรม (ศิริราช) ในอุปการะของคณะแพทยศาสตร์และศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลยั แพทยศาสตร์ วันทีแ่ สดง ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๕ บรรณาธิกิ าร นันั ทรัตั น์์ ศุภุ วราพงษ์์ พิสิ ููจน์์อัักษร ศศกร วัฒั นาสุุทธิิวงศ์์ และกลุ่�มงานจดหมายเหตุุ กราฟฟิิก Art and Soul พมิ พท์ ่ี บริษทั พิมพด์ ี จำ�กัด โทร. ๐ ๒๔๐๑ ๙๔๐๑ จดั พมิ พแ์ ละจดั จำ�หนา่ ยโดย มลู นิธิหอจดหมายเหตพุ ุทธทาส อนิ ทปญั โญ สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) ถนนนิคมรถไฟสาย ๒ แขวงจตุจกั ร เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ สมทบหนงั สือ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๐๐ ต่อ ๕๑๐๑ [email protected]



4

ท่่านสาธุุชน ผู้้ส� นใจในธรรม ทั้�้งหลาย, การบรรยายในวัันนี้�จะได้้ว่่าด้้วยเรื่�อง “ความว่่าง” ทั้�งนี้�เป็็น ความต้้องการของท่า่ นผู้้�อำ�นวยการการอบรม. เนื่อ�่ งจากการบรรยายครั้ง� ที่แ� ล้ว้ มาได้ก้ ล่า่ วถึงึ ความว่า่ งในฐานะ ที่�เป็็นเรื่�องสำ�ำ คััญเรื่�องหนึ่�ง แต่่โอกาสไม่่อำำ�นวยให้้กล่่าวถึึงเรื่�องนั้�น แต่่เรื่�องเดีียวโดยเฉพาะ เพื่�่อความเข้้าใจที่�ทั่�วถึึง; เพราะฉะนั้�นเรื่�อง ความว่า่ งจึึงยังั มีคี วามคลุุมเครืออยู่�บางประการ จึึงได้ม้ ีีการบรรยาย เฉพาะเรื่อ� งความว่่างอย่า่ งเดียี ว ในวันั นี้.� ท่่านทั้�งหลายควรจะทราบว่่า เรื่�องความว่่างนั้�น เป็็นเรื่�องที่� เข้า้ ใจยากที่ส� ุดุ ในบรรดาเรื่อ� งของพุทุ ธศาสนา; ทั้ง� นี้เ� พราะว่า่ เป็น็ เรื่�อง หััวใจอย่่างยิ่ �งของพุุทธศาสนานั่ �นเอง. 5

สิ่ง� ที่เ� รียี กกันั ว่า่ “หัวั ใจ” ก็็พอจะมองเห็น็ หรือเข้้าใจกันั ได้้ทุกุ คนว่่า หมายถึงึ สิ่ง� ที่ล� ึึก ที่ล� ะเอีียด สุขุ ุมุ ประณีีต ไม่่เป็็นวิิสััยแห่ง่ การเดา หรือความตรึกึ ไปตามความเคยชินิ หรือตามกิริ ิยิ าอาการของ คนธรรมดา แต่จ่ ะเข้า้ ใจได้้ก็ด็ ้้วยการตั้�งอกตั้ง� ใจศึกึ ษา. .... .... .... .... คำำ�ว่่า “ศึึกษา” นี้� มีีความหมายอย่่างยิ่�งอยู่่�ตรงที่�การสัังเกต สนใจ สังั เกตพิินิิจพิจิ ารณาอยู่่�เสมอ. ทุกุ คราวที่�มีเี รื่อ� งอะไรเกิิดขึ้น� กับั ใจ ที่เ� ป็น็ ความทุกุ ข์ห์ รือเป็น็ ความสุขุ ก็ต็ าม. ผู้ท้�ี่่�มีคี วามคุ้น� เคยกับั การสังั เกตในเรื่�องทางจิติ ใจเท่า่ นั้�นที่�จะเข้้าใจธรรมะได้้ดีี ผู้ท้�ี่�เพียี งแต่่ อ่า่ นๆ ไม่ส่ ามารถจะเข้้าใจธรรมะได้้. บางทียีิ่ง� ไปกว่า่ นั้น� ก็ค็ ืือจะเฝือื . แต่่ถ้้าเป็็นผู้้�ที่�พยายามสัังเกตเรื่�องเกี่�ยวกัับจิิตใจของตััวเอง โดยเอา เรื่อ� งจริงิ ในใจของตัวั เองเป็น็ เกณฑ์อ์ ยู่�เสมอแล้ว้ ไม่ม่ ีที างที่จ� ะฟั่น� เฝือื ; จะเข้้าใจสิ่ง� ที่�เรียี กว่่าความทุกุ ข์์ และความดัับทุกุ ข์ไ์ ด้ด้ ี,ี และในที่ส� ุุด ก็็จะเข้้าใจธรรมะ คืือจะไปอ่่านหนัังสืือก็็รู้�เรื่�องดีี. ลัักษณะอย่่างนี้� เราเรีียกว่า่ มีี spiritual experience มาก. คนเราตั้�งแต่เ่ กิดิ มาจนกว่า่ จะตาย ย่อ่ มเต็ม็ ไปด้้วยสิ่�งสิ่�งนี้�: คืือ การที่ใ� จของเราได้ส้ ัมั ผัสั กันั เข้า้ กับั สิ่ง� แวดล้อ้ ม แล้ว้ เกิดิ ผลเป็น็ อะไรขึ้น� มา คราวไหนเป็น็ อย่่างไร และคราวไหนเป็็นอย่่างไร เพราะว่่าเรื่อ� งที่� เป็น็ ไปเองนั้น� ย่อ่ มมีไี ด้ท้ั้ง� ฝ่า่ ยที่เ� ป็น็ ทุกุ ข์์ และทั้ง� ฝ่า่ ยที่ไ� ม่เ่ ป็น็ ทุกุ ข์์ คืือ 6

ทำำ�ให้้ฉลาดขึ้น� และมีจี ิิตใจเป็น็ ปกติเิ ข้้มแข็็งขึ้�น. ถ้า้ หากว่า่ เราคอยสังั เกต ว่า่ ความคิดิ เดินิ ไปในรูปู ใด ก่อ่ ให้เ้ กิดิ ความทุุกข์์ขึ้�นมา; ความคิิดเดิินไปในรููปใด ก่่อให้้เกิิดความว่่างจาก ความทุกุ ข์;์ อย่า่ งนี้แ� ล้ว้ จะมีคี วามรู้ท�ี่่�ดีที่�สุด และมีคี วามเคยชินิ ในการ ที่�จะรู้ส� ึกึ หรือื เข้้าใจ หรือเข้้าถึงึ ความว่า่ งจากความทุกุ ข์น์ั้น� ได้ม้ ากขึ้น� . จะต้อ้ งทำ�ำ ในใจไว้อ้ ย่่างนี้� จึึงจะเข้้าใจเรื่อ� งที่�เรียี กว่า่ ลึึก หรือประณีตี ละเอีียดสุขุ ุมุ เช่น่ เรื่อ� งความว่่างนี้ไ� ด้.้ .... .... .... .... ท่่านทั้้�งหลายควรจะระลึึกถึึงข้้อที่�่ได้้กล่่าวในการบรรยายครั้�ง ก่อ่ นว่า่ พระอรรถกถาจารย์ท์ ั้�ง้ หลายเรียกพระพุทุ ธเจ้้าว่า่ เป็น็ แพทย์์ ในทางวิิญญาณ และแบ่ง่ โรคของคนเราออกเป็็นโรคทางฝ่า่ ยร่่างกาย จิติ ใจ และโรคทางฝ่า่ ยวิญิ ญาณ. โรคที่เ่� ราจะต้้องไปโรงพยาบาลตาม ธรรมดา หรือื ไปโรงพยาบาลสมเด็จ็ เจ้้าพระยาที่ป�่ ากคลองสานเหล่า่ นี้� เรียกว่า่ โรคทางกายทั้ง้� นั้น�้ . ส่ว่ นโรคทางวิญิ ญาณนั้น�้ หมายถึงึ ที่ต่� ้้อง แก้้กัันด้้วยธรรมะ : เพราะฉะนั้�น้ จึงึ มีีโรคทางจิิต หรืือทางวิญิ ญาณ อีีกประเภทหนึ่ง� ต่า่ งหากจากโรคทางกาย. ข้อ้ ความในอรรถกถาเรียก โรคอย่า่ งนี้�ว่่าโรคทางจิติ . ในภาษาไทยเราเอาคำ�ำ ว่่า “โรคจิติ ” นี้�มาใช้้ที่�่โรคทางกาย เช่่น โรคที่จ�่ ะต้้องไปโรงพยาบาลที่ป่� ากคลองสานนั้น้� เราเรียกกัันว่า่ โรคจิติ ; 7

แต่่โรคอย่่างนี้�ในภาษาบาลีีในทางธรรมะเรี ยกว่่าเป็็นโรคทางกาย อยู่�นั่�นเอง. การแบ่่งโรคเป็็นโรคกายกัับโรคจิิตจึึงมีีต่่างกัันกัับที่�่เรา แบ่ง่ กัันในภาษาไทยเรา. อาตมาได้้ตั้�งข้อ้ สัังเกตว่า่ ถ้้าท่า่ นทั้้�งหลายจะเข้า้ ใจโรค ก็ค็ วร จะแยกเป็็นโรคทางกายแท้้ๆ คืือทาง physical และโรคทางกายที่ล�่ ึกึ เข้า้ ไปคือื ทาง mental ทั้ง�้ สองอย่า่ งนี้เ� อาไว้้ทางฝ่า่ ยร่า่ งกาย. ส่ว่ นอีีก ฝ่า่ ยหนึ่ง� นั้น�้ ก็็คือื ฝ่่าย spiritual คือื โรคที่่เ� กิดิ แก่ส่ ติิปััญญา ไม่ใ่ ช่่ที่เ่� กิิด แก่ร่ ะบบประสาทหรืือมัันสมอง แต่่เกิิดแก่่ระบบของสติิปััญญา ที่จ่� ะรู้� จะเข้า้ ใจชีีวิิต หรือื โลกตามที่่เ� ป็น็ จริงิ ; เพราะฉะนั้น�้ ท่า่ นจึึงหมายถึงึ ความหลง หรืืออวิิชชา หรืือความเข้้าใจผิิดที่่�เนื่�องมาจากอวิิชชา นั้�้น จนมีีการกระทำ�ำ ที่่�ผิิดๆ จนต้้องเป็็นทุุกข์์ทั้�้งที่่�เราไม่่เป็็นโรคทาง physical หรืือทาง mental. นี้�เป็น็ ความหมายข้้อแรกที่จ่� ะต้้องถือื กำ�ำ หนดไว้เป็็นพื้น� ฐาน. .... .... .... .... เมื่่�อเรามีีโรคทางวิิญญาณ (spiritual) แล้้วเราจะแก้้กัันด้้วย อะไร? ถ้้ากล่่าวกัันทางธรรมะก็็แก้้ด้้วยสิ่�งที่�เรีียกว่่า “ความว่่าง” นั่น� เอง; และยิ่ง� ไปกว่า่ นั้น� ก็ค็ ืือว่า่ สิ่ง� ที่เ� รียี กว่า่ ความว่า่ ง หรือสุญุ ญตา ในภาษาบาลีีนั้น� มันั เป็น็ ทั้�งยาแก้้โรค และเป็น็ ทั้�งความหายจากโรค 8

เพราะว่่าเราไม่่มีีอะไรมากไปกว่่านั้ �น. ยาที่�จะแก้้โรคก็ค็ ือื ความรู้� หรือการปฏิบิ ัตั ิิ จนให้เ้ กิดิ ความว่า่ ง. ทีนีี้�ถ้้าความว่่างเกิิดขึ้น� มาแล้ว้ ก็็จะเป็็นยาแก้้โรค; และเมื่่�อหายจาก โรคก็ไ็ ม่ม่ ีอี ะไรนอกจากความว่า่ งจากความทุกุ ข์,์ หรือจากกิเิ ลสที่เ� ป็น็ เหตุใุ ห้้เกิดิ ทุุกข์.์ เพราะฉะนั้�นคำำ�ว่่า “ความว่่าง” จึึงหมายถึงึ ทั้�งยา แก้้โรค และความหายโรค. ความว่่างที่�มีีขอบเขตกว้้าง มีีความหมายกว้้างนั้�น หมายถึึง ความว่า่ งอยู่�ในตัวั มัันเอง; ถ้้าว่่าความว่่างแล้ว้ ต้้องเป็็นตััวเอง คืือตััว มัันเอง ไม่่มีีอะไรมาแตะต้้องปรุุงแต่่งแก้้ไข หรือทำ�ำ อะไรกัับมัันได้้ จึงึ ถืือว่่าเป็็นสภาพที่�เป็น็ นิิรัันดร คืือไม่่ต้อ้ งเกิิดในทีแี รกแล้้วดับั ไปใน ที่ส� ุดุ . มัันมีี “ความมี”ี อยู่�อีกชนิดิ หนึ่�ง ไม่เ่ หมืือนกับั ความมีีของสิ่ง� อื่�่นๆ ซึ่่�งมีกี ารเกิิดขึ้�นแล้้วดัับไป; แต่เ่ ราก็ไ็ ม่ม่ ีคี ำำ�อื่น�่ ใช้้ เราจึงึ เรียี กว่า่ “ความมี”ี มีสี ภาพที่เ� รียี กว่า่ ความว่่าง นี้อ� ยู่�เป็็นนิริ ันั ดร. ถ้้าใครเข้า้ ถึงึ ; หมายความว่า่ ถ้า้ จิติ ใจของผู้้ใ� ดเข้้าถึึงสิ่ง� สิ่�งนี้� มัันก็็จะเป็น็ ยาแก้้โรค, และเป็น็ ความหายจากโรค ขึ้�นมาทัันที;ี เป็็น สภาพที่ว� ่่างนิริ ันั ดร คืือไม่ม่ ีีโรคนั่�นเอง. .... .... .... .... ท่า่ นทั้ง� หลายลองพยายามคอยจับั ความหมายของคำำ�ว่า่ “ว่า่ ง” หรืือที่่�เรีียกเป็็นบาลีีว่่า “สุุญฺฺตา” นี้�ให้้ดีีๆ ซึ่�่งอาตมาจะได้้กล่่าว 9

เป็็นลำ�ำ ดัับไป. สิ่�งแรกที่�สุุดขอให้น้ ึึกว่า่ พระพุทุ ธเจ้้าท่า่ นทรงยืืนยัันว่า่ บรรดา คำำ�ที่่เ� ป็น็ ตถาคตภาสิติ คือื คำำ�ที่่�พระตถาคตกล่า่ วแล้้วละก็็ ต้้องหมายถึงึ เรื่�องความว่่าง จะโดยตรง หรือโดยอ้อ้ มก็็ตาม ไม่่ได้ก้ ล่่าวถึึงเรื่อ� งอื่�่น เลย. นอกนั้�นที่ไ� ม่ใ่ ช่เ่ รื่อ� งความว่่างนั้�นเป็็นคำ�ำ กล่่าวของคนอื่่�น ไม่ใ่ ช่่ ของพระตถาคต; คืือ จะเป็น็ คำ�ำ กล่า่ วของสาวกชั้น� หลังั ซึ่ง�่ นิยิ มความ เยิ่น� เย้อ้ พูดู มากเรื่�องไป เป็น็ เรื่�องที่ต�ั้�งใจจะแสดงความเฉลียี วฉลาด หรือความไพเราะ; ส่่วนคำำ�ที่่เ� ป็็นตถาคตภาสิติ นั้น� จะสั้น� ๆ ลุ่�นๆ ระบุุ ตรงไปยังั เรื่อ� งของความว่า่ ง ว่า่ งจากความทุกุ ข์์ และว่า่ งจากกิเิ ลส ซึ่ง�่ เป็็นเหตุุให้้เกิดิ ความทุุกข์์ นี้�เป็น็ ส่ว่ นสำ�ำ คัญั . แต่ถ่ ้า้ จะกล่า่ ว ยังั กล่า่ วไปได้อ้ ีกี มากมายว่า่ เป็น็ ความว่า่ งจาก ตัวั ตน, ว่า่ งจากความไม่ม่ ีอี ะไรเป็น็ ตัวั ตน หรือเป็น็ ของของตน, เพราะ ว่่าความว่่างนี้� มัันมีีความหมายมากมายมหาศาล จะกล่่าวอย่่างไร ก็็ได้้ มัันมีีลัักษณะว่่างก็็จริิง แต่่ว่่ามีีอะไรๆ ที่�แสดงให้้เห็็นอยู่�ที่�นั่�น มากมายเหลืือจะพรรณนาได้้. เรามุ่ �งหมายจะวิินิิจฉััยกัันแต่่เฉพาะความว่่างจากความทุุกข์์ และว่่างจากกิิเลสที่�เป็็นเหตุุให้้เกิิดทุุกข์์ คืือว่่างจากความรู้�สึกว่่ามีี ตัวั เรา หรือมีีของของเรา เท่่านั้�น. คำำ�ว่า่ ความว่่างในลัักษณะที่จ� ะ เป็น็ การปฏิิบัตั ินิี้.� หมายถึึงความว่่างอย่า่ งนี้�. .... .... .... .... 10

ถ้้าเราจะถามกัันขึ้�นว่่า มีีหลัักพระพุุทธภาษิิตเกี่�ยวกัับเรื่�องนี้� ว่า่ อย่่างไร? ที่�จะเป็็นหลักั กันั จริิงๆ. เราก็็จะพบว่่าโดยทั่�วๆ ไป พระพุุทธเจ้้าท่่านสอนให้้เรารู้�จัก ดูโู ลกโดยความเป็น็ ของว่า่ ง คืือบาลีวี ่า่ “สุญุ ฺฺ โต โลกํํ อเวกฺขฺ สฺสฺ ุุ โมฆราช สทาสโต”เป็น็ ต้น้ นั้น� คืือมีใี จความว่า่ “เธอจงดููโลกโดยความเป็น็ ของว่า่ ง มีีสติอิ ยู่�อย่า่ งนี้�ทุกุ เมื่อ� และเมื่อ� ท่า่ นมองเห็น็ โลกอยู่�ในลัักษณะอย่า่ งนี้� ความตายก็จ็ ะค้้นหาตััวท่่านไม่่พบ” นี้อ� ย่่างหนึ่�ง. อีีกอย่่างหนึ่�งมีีใจความว่่า “ถ้้าใครเห็็นโลกโดยความเป็็นของ ว่า่ งอยู่�แล้้ว ผู้น�้ ั้น้� จะอยู่�นอกเหนือื อำำ�นาจของความทุกุ ข์์ ซึ่ง�่ มีีความตาย เป็น็ ประธาน” หรือเรีียกกัันในนามของความตาย. นี้ก� ็เ็ ป็น็ การแสดงให้้เห็น็ ว่า่ การที่�ทรงกำ�ำ ชัับให้้ดููโลก, เห็น็ โลก โดยความเป็น็ ของว่า่ งนั้น� เป็็นสิ่ง� สูงู สุดุ อยู่�แล้้ว; ถ้้าผู้้ใ� ดอยากจะไม่่ให้้ มีีปััญหาเกี่�ยวกัับความทุุกข์์หรือความตายนี้� ให้้ดููโลก คืือสิ่่�งทั้�งปวง ให้้ถูกู ต้อ้ งตามที่ม� ันั เป็็นจริงิ คืือว่า่ งจากความมีตี ััวเรา หรือื ของเรา. ทีีนี้�พระพุุทธภาษิิตที่�ถััดไป ก็็คืือแสดงอานิิสงส์์ว่่า “นิิพฺฺพานํํ ปรมํํ สุุญฺฺ ํํ”, “นิพิ ฺฺพานํํ ปรมํํ สุุขํํ” ซึ่ง�่ แปลตามตััวพยััญชนะก็็ว่่า ที่่� ว่า่ งอย่า่ งยิ่ง� นั่น� แหละคือื นิพิ พาน และนิพิ พานคือื เครื่อ� งนำำ�มาซึ่ง่� ความ สุุขอย่า่ งยิ่�ง นี้�ท่า่ นต้้องเข้า้ ใจให้ช้ ััดลงไปว่่า สิ่ง� ที่เ� รียี กว่่า “นิพิ พาน” ที่�แปลว่่า ดัับไม่่เหลืือแห่่งทุุกข์์ นั้�นมีีความหมายว่่าเป็็นความว่่าง อย่า่ งยิ่�ง คืือเล็ง็ ถึงึ สิ่ง� ซึ่ง่� เป็็นความว่า่ งอย่า่ งยิ่�ง. 11

เราจะต้อ้ งเข้้าใจว่่า “ว่่างที่�ไม่่ใช่่อย่่างยิ่�ง” นั้น� ก็็มีอี ยู่�เหมืือนกันั หมายความว่่ารู้�เรื่�องความว่่าง เข้้าถึึงความว่่างที่�ยัังไม่่สมบููรณ์์หรือ ไม่ถ่ ูกู ต้อ้ งเต็ม็ ที่� อย่า่ งนี้ย� ังั ไม่เ่ ป็น็ ความว่า่ งอย่า่ งยิ่ง� . เราจะต้อ้ งเข้า้ ถึงึ ด้้วยสติิปััญญาอย่่างยิ่�งเต็็มที่� จนไม่่มีีความรู้�สึกว่่าตััวตนหรือของตน โดยประการทั้�งปวงจริิงๆ จึึงจะเรีียกว่่า ปรมํํ สุุญฺฺํํ คืือความว่่าง หรือของว่า่ งอย่า่ งยิ่ง� . ส่ว่ นที่�ว่า่ ความว่่างอย่า่ งยิ่�งเป็น็ นิิพพาน หรืือเป็็นอัันเดีียวกัับ นิิพพาน นั้�นหมายความว่่า : ถ้้ามัันว่่าง มัันก็็คืือดัับหมดของสิ่�งที่� ลุุกโพลงๆ อยู่� หรือของสิ่ง� ที่�ไหลเวียี นเปลี่�ยนแปลงเป็น็ กระแส เป็็น สาย เป็น็ วงกลม เป็็นต้น้ อยู่� จึึงจะเรียี กว่า่ ดัับอย่่างยิ่ง� . เพราะฉะนั้น� ว่่างอย่่างยิ่�ง กัับ ดัับอย่่างยิ่�ง มัันจึึงเป็็นของอัันเดีียวกััน. ที่�ว่่านิิพพานเป็็นสุุขอย่่างยิ่�ง คืือถ้้าว่่างอย่่างยิ่�งแล้้วก็็เป็็น นิิพพาน และเป็็นสุุขอย่่างยิ่�งนั้�น; ข้้อนี้�เป็็นคำ�ำ พููดอย่่างสมมติิ, ที่� เรีียกว่่าพููดโดยโวหารสมมติิ, พููดโดยภาษาชาวบ้้าน ทำำ�นองเป็็น โฆษณาชวนเชื่�่อให้้สนใจ; เพราะว่่าคนทั่�วไปนี้้�หลงใหลความสุุข ไม่่ ต้้องการสิ่�งอื่�่นเลย จึึงต้้องบอกว่่าเป็็นสุุข และเป็็นสุุขอย่่างยิ่�งด้้วย. แต่ถ่ ้า้ ว่า่ โดยที่แ� ท้แ้ ล้ว้ มันั ยิ่ง� กว่า่ สุขุ มันั เหนืือไปจากสุขุ เพราะว่า่ เป็น็ ความว่่าง; ไม่่ควรจะกล่่าวว่่าสุุขหรือทุุกข์์เลย เพราะอยู่่�เหนืือความ สุขุ และความทุุกข์์ ที่ค� นธรรมดาเขารู้�จักกันั อยู่�อย่า่ งไรนั้น� . .... .... .... .... 12

ความว่า่ งย่่อมอยู่่�เหนืือคำ�ำ ว่่า “ความสุุข” และ “ความทุุกข์์”. แต่่ถ้้าพููดอย่่างนี้�คนก็็ไม่่เข้้าใจ เพราะฉะนั้�น จึึงพููดว่่าเป็็นความสุุข อย่่างยิ่�ง ซึ่่�งถืือว่่าเป็็นคำ�ำ พููดอย่่างสมมติิตามภาษาชาวบ้้าน ไม่่พููด ว่่าว่า่ งอย่า่ งยิ่�ง : แต่่พูดู ว่่าสุขุ อย่า่ งยิ่�งขึ้น� มาอีีกโวหารหนึ่ง� อีกี คำ�ำ หนึ่�ง หรืออีกี ความหมายหนึ่ง� . เมื่อ่� เป็น็ ดังั กล่า่ วมานี้จ� ะต้อ้ งถืือเอาความหมายนี้ใ� ห้ถ้ ูกู ตรง, คืือ ว่่า ถ้า้ พููดกัันถึงึ ความสุขุ จริิงๆ กันั แล้ว้ มันั ต้อ้ งไม่่ใช่่ความสุขุ อย่า่ งที่� พวกคนทั่�วไปเขามองเห็็น หรือมุ่�งหมาย แต่่ต้้องเป็น็ ความสุุขอีีกแบบ หนึ่�ง มีีความหมายอีีกแบบหนึ่�ง; คืือว่่างจากสิ่�งที่่�ปรุุงแต่่งไหลเวีียน เปลี่่�ยนแปลง อะไรต่่างๆ ทั้�งหมดทั้�งสิ้�น. นั่�นแหละจึึงจะเรีียกว่่า น่า่ ดููจริงิ ๆ น่า่ ชื่�่นใจหรือน่า่ ปรารถนาจริิงๆ; เพราะว่า่ ถ้า้ มันั ยังั ไหล เวีียนเปลี่ย� นแปลง คืือโยกเยกโคลงเคลงอยู่�เสมอ มันั จะเป็็นความสุขุ ได้อ้ ย่า่ งไร. ความสุขุ ทางเนื้อ� หนังั ทางรูปู เสียี ง กลิ่น� รส สัมั ผัสั ธัมั มารมณ์์ ทำำ�นองนี้� มันั จึงึ เป็น็ มายาและไม่ถ่ ูกู ล่า่ วว่า่ เป็็นความสุุขอย่่างยิ่ง� ; จะ กล่่าวก็็เป็็นความสุุขตามความหมายของคนธรรมดาสามััญทั่ �วไป ไม่่ใช่่สุขุ อย่า่ งยิ่�ง คืือนิิพพาน หรือความว่่าง. การที่�ได้้ยิินคำำ�ว่่านิิพพานเป็็นสุุขอย่่างยิ่�งนั้�น อย่่าเพ่่อตะครุุบ เอาว่า่ มัันตรงกัับที่�เรามุ่�งหมายแล้ว้ แล้้วก็เ็ ลยฝันั ถึึงนิิพพาน โดยไม่่ เข้้าใจความหมายว่่าเป็น็ ความว่า่ งอย่่างยิ่ง� ดังั นี้�เป็น็ ต้้น. 13

.... .... .... .... พระพุุทธภาษิิตที่�แสดงถึึงหลัักปฏิิบัตั ิเิ กี่�ยวกับั ความว่า่ งนั้�น คืือ พระพุุทธภาษิิตที่�เป็็นหััวใจของพระพุทุ ธศาสนา. อาตมากำำ�ลัังกล่่าวเอ่่ยถึึงคำ�ำ ว่่าเป็็น “หััวใจของพุุทธศาสนา” ฉะนั้�น ขอให้้สนใจสัักหน่่อย นั่�นคืือพระพุุทธภาษิิตที่ว� ่า่ “สิ่�งทั้�ง้ หลาย ทั้้�งปวงอัันใครๆ ไม่่ควรเข้้าไปยึดึ มั่่�นถือื มั่�น ว่า่ เป็็นเรา หรือื เป็็นของ เรา”: ถ้า้ เป็น็ บาลีกี ็ว็ ่า่ “สพฺเฺ พ ธมฺมฺ า นาลํํ อภินิ ิเิ วสาย” แปลว่า่ “ธรรม ทั้�้งหลายทั้�้งปวงไม่่ควรยึึดมั่่�นถืือมั่�น” สั้�นๆ เท่่านี้� ตามตััวหนัังสืือ มีีเพียี งเท่า่ นั้�น. แต่ถ่ ้้าขยายความในภาษาไทยไปอีีกหน่่อยก็ว็ ่่า สิ่�ง ทั้�งหลายทั้�งปวงอัันใครๆ ไม่่ควรเข้้าไปยึึดมั่�นถืือมั่่�น ว่่าตััวเราหรืือ ของเรา. นี่�ฟังั ดููให้้ดีอี าจจะเข้้าใจได้ใ้ นตััวประโยคนั้�นเองว่่า “อัันใครๆ” คืือไม่่ยกเว้ นใคร; “ไม่่ควรเข้้าไปยึึดมั่่�นถืือมั่�น” คืือทำ�ำ ให้้เกิิดความ รู้�สึกขึ้น� มาว่า่ เป็น็ ตัวั เราหรือว่า่ เป็น็ ของของเรา เป็น็ ตััวเราคืือยึดึ มั่�นว่า่ อัตั ตา, เป็น็ ความรู้�สึกที่เ� รียี กว่า่ อหังั การ; เป็น็ ของเราก็ค็ ืือเป็น็ อัตั ตนียี า แปลว่า่ เนื่อ่� งด้ว้ ยตัวั เรา. เป็น็ ความรู้�สึกที่เ� รีียกว่า่ มมัังการ. อย่า่ ได้้มีีอหัังการหรืือมมังั การในสิ่�งใดๆ หมด นัับตั้�งแต่่ฝุ่�นที่� ไม่่มีรี าคาอะไรเลยสักั เม็ด็ หนึ่ง� ขึ้น� มาจนถึึงวัตั ถุุที่�มีีค่า่ เช่น่ เพชร นิลิ จินิ ดา, กระทั่ง� กามารมณ์์, กระทั่�งสิ่�งที่�สููงไปกว่า่ นั้�น คืือธรรมะ ปริิยััติิ 14

ปฏิิบัตั ิิ ปฏิเิ วธ มรรค ผล นิพิ พาน อะไรก็็ตาม: ไม่ค่ วรจะถููกยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ว่า่ เป็็นตััวเราหรือเป็น็ ของเรา. นี่ค� ืือหัวั ใจของพระพุทุ ธศาสนา. เรื่�องนี้ �ก็็ได้้กล่่าวไว้้ละเอีียดแล้้วในการบรรยายในที่ �บางแห่่ง หาอ่่านดููได้้ มัันยืืดยาวเหมืือนกััน ว่่าอะไรคืือหััวใจของพระพุุทธ- ศาสนา. ด้้วยการพิสิ ูจู น์์ว่า่ อย่่างไร. ในที่�นี้จ� ะชี้ใ� ห้้เห็น็ ว่่าพระพุุทธเจ้า้ ท่่านทรงยืืนยัันด้้วยพระองค์์เองว่่า “นี่�แหละคืือบทสรุุปของคำำ�สอน ทั้�งหมดทั้�งสิ้น� ของตถาคต” :- ถ้า้ ได้้ยินิ คำ�ำ นี้้� คืือคำ�ำ ว่่า “สพฺเฺ พ ธมฺมฺ า นาลํํ อภิินิเิ วสาย” นี้แ� ล้ว้ ก็็เป็็นอัันว่่าได้้ยิินได้้ฟัังทั้�งหมด, ถ้้าได้้ปฏิิบััติิในข้้อนี้�ก็็เป็็นอัันว่่าได้้ ปฏิบิ ัตั ิทิั้�งหมด, ถ้า้ ได้ผ้ ลมาจากข้อ้ นี้ก� ็ค็ ืือได้้ผลทั้�งหมด. เพราะฉะนั้น� เราไม่ต่ ้อ้ งกลัวั ว่า่ มันั จะมากมายเกินิ ไปจนเราเข้า้ ใจไม่ไ่ ด้;้ เหมืือนกับั ที่�พระพุุทธเจ้้าท่่านเปรีียบเทีียบว่่า สิ่�งที่�ตรััสรู้�นั้�นเท่่ากัับใบไม้้ทั้�งป่่า ทั้ง� ดง แต่ส่ิ่ง� ที่�นำ�ำ มาสอนให้้พวกเธอปฏิิบััตินิั้�นกำำ�มือื เดีียว ก็็หมายถึึง หลัักที่�ไม่่ให้้ยึึดมั่�นถืือมั่่�นในสิ่�งใด โดยความเป็็นตััวตน หรืือของตน นั่ �นเอง. .... .... .... .... ที่�ว่าถ้้าได้้ยิินสิ่�งนี้�เป็็นได้้ยิินทั้�งหมดนั้�น ก็็เพราะว่่าทุุกเรื่�องมััน สรุปุ รวมอยู่�ที่น�ี่� เพราะว่า่ เรื่อ� งทั้ง� หมดที่พ� ระพุทุ ธเจ้า้ ตรัสั นั้น� ไม่ม่ ีเี รื่อ� ง อื่น�่ นอกจากความทุกุ ข์ก์ ับั เรื่�องความดัับทุกุ ข์์. 15

ทีนีี้� ความยึดึ มั่น� ถืือมั่น� นี้� เป็น็ ตัวั เหตุใุ ห้เ้ กิดิ ทุกุ ข์์ ในขณะยึดึ มั่�น ถืือมั่่�นอยู่�นั่�นแหละเป็็นความทุุกข์,์ แล้ว้ ในขณะที่�ไม่่ยึดึ มั่น� ถืือมั่�น คืือ ว่่างจากความยึึดมั่�นถืือมั่่�นอยู่�นั้�น ในขณะนั้�นไม่่มีีทุุกข์์ การปฏิิบััติิ ก็็ปฏิบิ ััติิเพื่่�อไม่ใ่ ห้้เกิดิ ความยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ให้เ้ ด็ด็ ขาดลงไปเป็น็ ตลอด กาล, ไม่่มีีความยึึดมั่�นถืือมั่�นกลัับมาอีีก เท่่านี้�ก็็พอแล้้ว ไม่่มีีเรื่�อง อะไรอีีกแล้้ว. ที่�ว่าปฏิบิ ัตั ิใิ นข้้อนี้้�เป็น็ การปฏิบิ ัตั ิทิั้�งหมดนั้�น หมายความว่า่ ท่า่ น ลองคิดิ ดููว่่ามีีอะไรที่�จะเหลืืออยู่� ที่ย� ัังไม่่ได้้ปฏิบิ ััติ.ิ เพราะในขณะใด ที่บ� ุคุ คลคนหนึ่ง� จะเป็็นนาย ก. นาย ข. นาย ง. อะไรก็ต็ าม มีี จิติ ใจปราศจากความยึึดมั่น� ถืือมั่�นอยู่�นั้น� ในขณะนั้น� เขามีอี ะไรบ้า้ ง? ขอให้้ลองคิิดดูู. เราไล่่ขึ้น� ไปตั้ง� แต่ส่ รณาคมน์์ แล้้วก็็ทาน แล้ว้ ก็ศ็ ีลี แล้้วสมาธิิ แล้้วก็ป็ ััญญา มรรค ผล นิิพพาน เป็็นลำ�ำ ดัับ. ข้้อแรก เกี่�ยวกับั สรณาคมน์์ : ถ้้าในขณะนั้น� เขาเป็น็ คนเข้า้ ถึึง พระพุทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์์ คืือว่่าเขามีีหััวใจว่่างจากกิิเลสและความทุุกข์์ เป็็นอัันเดีียวกัับหััวใจ ของพระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์. เพราะฉะนั้น� ในขณะนั้�นเขาได้้ เข้้าถึงึ พระพุทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์์ โดยที่่ไ� ม่ต่ ้้องตะโกนว่่า พุุทฺธฺํ สรณํํ คจฺฉฺ ามิิ เป็น็ ต้น้ เลย. 16

การร้อ้ งว่า่ พุทุ ฺธฺํ สรณํํ คจฺฉฺ ามิิ เป็น็ ต้น้ นั้น� มันั เป็น็ พิธิ ีี เป็น็ แบบ เป็น็ พิิธีทีี่�เริ่ม� ต้น้ ด้้วยข้้างนอก ยังั ไม่่ถึงึ พระพุทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์์ ที่จ� ิิตใจ. และถ้้าในขณะใดคนใดก็ต็ าม มีีจิิตใจว่่างจากความยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ว่่าตัวั เรา - ว่า่ ของเรา แม้้ในขณะหนึ่�ง ครู่�หนึ่�งก็็ตาม; อย่่างที่� ท่า่ นทั้ง� หลายกำ�ำ ลัังนั่ง� อยู่�ที่น�ี่�บัดั นี้� ถ้า้ ผู้ใ�้ ดมีีจิิตใจว่่างจากความยึึดมั่น� ถืือมั่น� ในสิ่ง� ใดๆ ว่า่ เรา - ว่า่ ของเราแล้ว้ แปลว่า่ จิติ ใจกำำ�ลังั ว่า่ ง เข้า้ ถึงึ ความว่า่ ง มีคี วามสะอาด สว่า่ ง สงบอยู่�. เป็น็ อันั เดียี วกันั กับั หัวั ใจของ พระพุทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์์. เพราะฉะนั้น� ชั่�วขณะเวลาที่�จิตใจว่่าง อย่่างนี้� ถือื ว่า่ เป็น็ ผู้�้มีสี รณาคมน์์ คืือถึงึ พระพุทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์์. เลื่อ่� นขึ้�นมาถึงึ การให้้ทาน การบริิจาค : การให้้การบริิจาคนี้�ก็็หมายความว่่า ให้้ออกไป ให้้หมด ความยึดึ มั่�นถืือมั่่�นว่า่ ตััวกูู หรือของกูู. ส่ว่ นการทำ�ำ บุุญที่ค� ิดิ ว่่าจะได้้ ผลตอบแทนกลัับมาหลายเท่่า; เช่่นทำำ�บุุญหน่่อยหนึ่�งก็็ให้้ได้้วิิมาน หลัังหนึ่�ง อย่่างนี้�มันั เป็น็ การค้้ากำ�ำ ไรเกินิ ควร; ไม่ใ่ ช่ก่ ารให้ท้ าน. การให้้ทานต้้องเป็็นการบริิจาคสละสลััดสิ่ �งที่่�ยึดมั่ �นถืือมั่่�น ว่่าเรา - ว่่าของเรานั่�นแหละออกไป. เพราะฉะนั้�น ในขณะที่�ผู้้�ใด มีีจิิตใจว่่างจากความรู้�สึึกว่่าตััวเรา - ว่่าของเรา ในขณะนั้�นเรีียกว่่า บุุคคลนั้�นได้้บริิจาคทานถึึงที่�สุด เพราะว่่าแม้้แต่่ตััวเขาเองก็็ยัังไม่่มีี แล้ว้ จะเอาอะไรมาเหลืืออยู่�. ส่ว่ น “ของเรา” ก็พ็ ลอยหมดไปตามความที่� 17

ไม่่มีีตััวเรา; และเมื่่�อหมดความรู้�สึกว่่ามีีตััวเรา สิ่�งที่�เป็็นของเราก็็ สลายตัวั ลงไปเอง. เพราะฉะนั้�นในขณะใดที่่�ผู้ใ�้ ดมีีจิติ ว่า่ งจากตััวตน ผู้้�นั้�้นได้้ชื่�อว่่าได้้บำำ�เพ็็ญทานอย่่างยิ่�ง แม้้แต่่ “ตััวเรา” ก็็บริิจาคไป จนหมดสิ้น� และพ่ว่ ง “ของเรา” เข้า้ ไปด้ว้ ยจนหมดสิ้น� ; ดังั นั้น� ในขณะ ที่ม� ีีจิติ ว่่างอันั แท้้จริิงนี้� จึึงชื่อ�่ ว่า่ มีกี ารบำำ�เพ็็ญทานถึึงที่ส� ุดุ . เลื่อ่� นขึ้�นมาถึงึ เรื่�องศีลี : คนที่ม� ีีจิิตว่า่ งไม่่ยึึดมั่น� ถืือมั่น� ตัวั ตนของตนนั้�น เรีียกว่่าเป็น็ คน มีศี ีีลที่�แท้้จริิง และเต็ม็ เปี่�ย่ มถึึงที่�สุดุ ด้้วย. ศีีลนอกนั้�นเป็น็ ศีลี ล้ม้ ลุกุ คลุกุ คลาน คืือศีีลที่ต�ั้�งเจตนาว่่าเราจะเว้้นอย่า่ งนั้น� เราจะเว้น้ อย่่างนี้;� แล้ว้ ก็็เว้้นไม่่ได้้ ลุ่�มๆ ดอนๆ อยู่�นั่�นเอง เพราะว่า่ ไม่รู่้�จักปล่อ่ ยวาง ตััวตนเสียี ก่่อน. ไม่รู่้�จักปล่อ่ ยวางของตนเสียี ก่อ่ น คืือไม่่มีีความว่่างจากตัวั ตน เสีียก่่อน ศีีลก็ม็ ีีขึ้�นไม่ไ่ ด้้; แม้้จะมีกี ็ล็ุ่�มๆ ดอนๆ ไม่เ่ ป็น็ อริยิ กันั ตศีีล คืือไม่่เป็น็ ศีีลชนิดิ ที่พ� อใจของพระอริิยเจ้้าได้้ เป็็นแต่่โลกีียศีีล ที่�ลุ่�มๆ ดอนๆ อยู่�เรื่�อย ไม่่เป็็นโลกุุตตรศีีลขึ้�นมาได้้. ถ้้าเมื่่�อใดมีีจิิตว่่าง แม้ชั่�วขณะหนึ่�งวัันหนึ่�ง หรืือคืืนหนึ่�งก็็ตาม ก็็นัับว่่ามีีศีีลที่�แท้้จริิง ตลอดเวลาเหล่า่ นั้�น. เลื่�อ่ นขึ้�นมาเรื่�องสมาธิ:ิ 18

จิติ ว่่างนั้�น เป็็นสมาธิอิ ย่า่ งยิ่�ง เป็น็ จิิตที่ต�ั้�งมั่�นอย่า่ งยิ่�ง, สมาธิิ ที่�พยายามปลุุกปล้ำำ�� ล้้มๆ ลุุกๆ มัันก็็ยัังไม่่ใช่่สมาธิิ; และยิ่�งสมาธิิ ที่ �มีีความมุ่ �งหมายเป็็นอย่่างอื่่�นนอกไปจากเพื่่�อความไม่่ยึึดมั่ �นถืือมั่ �น ในเบญจขัันธ์์แล้้ว ล้้วนแต่เ่ ป็น็ มิจิ ฉาสมาธิทิั้ง� นั้น� . ท่่านต้้องทราบไว้้ว่่า มัันมีีทั้�งมิิจฉาสมาธิิ และสััมมาสมาธิิ. เพราะฉะนั้�นคำ�ำ ว่่า “สมาธิิ” ในที่น�ี้� เราหมายถึึงสัมั มาสมาธิิ ถ้า้ เป็น็ สมาธิิอย่่างอื่่�นก็็เป็็นมิิจฉาสมาธิิไปหมด. จิิตที่�ว่างจากความยึึดมั่�น ถืือมั่่�นว่่าเรา - ว่่าของเราเท่่านั้�น ที่�จะมั่�นคงเป็็นสมาธิิได้้อย่่างแท้้จริิง และสมบูรู ณ์์ เพราะฉะนั้น� ผู้้�ที่ม� ีจี ิติ ว่า่ งจึงึ เป็น็ ผู้้�ที่ม� ีสี มาธิอิ ย่า่ งถูกู ต้อ้ ง. เลื่�่อนขึ้�นมาถึึงเรื่�องปััญญา : ปัญั ญายิ่ง� บ่ง่ ชัดั ว่า่ รู้ค� วามว่า่ ง หรือเข้้าถึงึ ความว่่าง หรือเป็น็ ตััวความว่่างนั้�นเองก็็ตาม นั้�นเป็็นตัวั ปััญญาอย่า่ งยิ่�ง; เพราะว่า่ ขณะ ที่่�มีีจิิตว่่างนั้�น เป็็นความเฉลีียวฉลาดอย่่างยิ่�ง. ขณะที่�เป็็นความโง่่ อย่่างยิ่�งก็็คืือ ขณะที่�โมหะหรืออวิิชชาเข้้ามาครอบงำ��อยู่� แล้้วทำ�ำ ให้้ ยึดึ มั่น� ถืือมั่น� นั่น� นี่� ว่า่ เป็น็ ตััวตนหรือของตน. ลองคิิดดูกู ็จ็ ะเห็น็ ได้้ง่่ายๆ ชััดแจ้ง้ ด้้วยตนเองว่า่ พอสิ่�งเหล่า่ นี้� ออกไปแล้ว้ มันั จะโง่ไ่ ด้อ้ ย่า่ งไร; เพราะว่า่ ความโง่ม่ ัันเพิ่ง� เข้า้ มาต่อ่ เมื่อ� มีีอวิชิ ชา หลงยึดึ มั่�นว่า่ เป็น็ ตัวั เราว่่าของเรา. ขณะใดที่�จิติ ว่า่ งจาก ความโง่่อย่่างนี้� เข้า้ ถึงึ ความว่า่ งจากตัวั เราว่า่ งจากของเรา มันั ก็ต็ ้อ้ ง 19

เป็็นความรู้�หรือเป็็นปััญญาเต็็มที่� เพราะฉะนั้�นผู้้�ที่�ฉลาดเขาจึึงพููดว่่า ความว่า่ งกับั ปััญญา หรืือสติปิ ัญั ญานี้�เป็น็ สิ่�งเดีียวกััน; ไม่ใ่ ช่เ่ ป็น็ ของ สองสิ่ง� ที่เ� หมืือนกันั แต่่ว่า่ เป็็นสิ่ง� สิ่�งเดีียวกันั เลย. ข้้อนี้�ย่่อมหมายความว่่า ปััญญาที่�แท้้จริิง หรื อถึึงที่�สุุดของ ปัญั ญานั้น� ก็ค็ ืือความว่่างนั่น� เอง คืือว่า่ งจากโมหะที่�หลงยึดึ มั่น� ถืือมั่�น นั่น� เอง. หมายความว่า่ พอเอาอันั นี้อ� อกไปเสียี จิติ ก็ถ็ ึงึ สภาพเดิมิ ของ จิติ ที่เ� ป็็นจิติ แท้้ คืือปัญั ญา หรือสติปิ ััญญา. แต่ค่ ำำ�ว่า่ “จิติ ” อย่า่ งที่ก� ล่า่ วในที่น�ี้� มีคี วามหมายเฉพาะในเรื่อ� ง ที่�กล่่าวนี้�เท่่านั้�น; คนอื่่�นอาจให้้ความหมายแก่่คำ�ำ ว่่าจิิตเป็็นอย่่างอื่่�น ซึ่�่งไม่ไ่ ด้เ้ ป็็นจิติ ที่เ� ป็น็ อัันเดีียวกัันกับั ปัญั ญาอย่่างนี้ก� ็็ได้.้ ฉะนั้�นท่่าน ทั้ง� หลายอย่า่ ได้้เอาไปปนกันั ที่พ� ููดว่่าจิิต ๘๙ ดวง จิิต ๑๒๑ ดวงนั้�น ไม่ใ่ ช่่เรื่�องนี้� คนละเรื่อ� งกันั . สิ่�งที่�เราจะเรีียกว่่าจิิตแท้ที่�เป็น็ อัันเดีียว ตัวั เดียี วกันั กับั ปัญั ญานั้�น เราหมายถึงึ จิติ ที่�ว่างจากความยึดึ มั่�นถือื มั่่�น ว่่าตัวั ตน. ที่จ� ริงิ สภาพอันั นี้ก� ็ไ็ ม่ค่ วรจะเรียี กว่า่ จิติ เลย ควรจะเรียี กว่า่ ความ ว่า่ ง แต่่โดยเหตุทุี่�มันั เป็น็ สิ่�งที่ร�ู้�อะไรได้้เราจึงึ เรีียกว่่าจิิต หรือกลัับมา เรีียกว่่าจิิตอีกี ทีหี นึ่ง� . นี้�มันั แล้้วแต่่พวกไหนจะนิยิ มพููดอย่่างไร แต่่ถ้้า จะพููดไปตามที่�เป็็นจริิง หรือตามธรรมชาติิจริิงๆ ก็็พอจะพููดได้้ว่่า ธรรมชาติิเดิมิ แท้้ของจิิตก็ค็ ือื สติิปััญญา คืือจิติ ที่ว� ่่างจากความยึดึ มั่น� ถืือมั่น� เพราะฉะนั้น� ในความว่า่ งนั้น� เองจึงึ เป็น็ ปัญั ญาอยู่�โดยสมบูรู ณ์.์ 20

เลื่่�อนขึ้น� ไปถึงึ มรรค - ผล - นิิพพาน : มรรค ผล นิิพพาน นั่น� แหละคืือความว่า่ งในระดับั หนึ่ง� ๆ สููง ขึ้�นไปตามลำ�ำ ดับั จนถึึงนิิพพานที่�เรียี กว่า่ “ปรมสุุญญตา” หรือ “ปรมํํ สุญุ ฺฺํํ” คืือว่า่ งอย่า่ งยิ่�ง. นี่�่ท่่านจะเห็็นได้้ว่า นัับตั้้�งแต่่ สรณาคมน์์ขึ้�นไป แล้้วถึึงทาน แล้้วถึงึ ศีีล ถึึงสมาธิิ ถึึงปัญั ญา ก็็ไม่่มีีอะไรนอกจากความว่า่ ง ความ ไม่่ยึดึ มั่่�นถืือมั่�น ว่่าตััวตน; และ มรรค ผล นิพิ พาน ก็็ไม่ม่ ีีอะไรมาก ไปกว่า่ นี้� แต่่เป็็นความว่่างขั้น�้ เด็ด็ ขาด ขั้�้นที่ถ�่ ึึงที่�่สุดุ . ตามที่่�พระพุุทธเจ้้าท่่านตรั สว่่า ได้้ฟัังข้้อนี้�คืือได้้ฟัังทั้�้งหมด ได้้ปฏิิบััติิข้้อนี้�คืือได้้ปฏิิบััติิทั้�้งหมด และได้้รับผลจากข้้อนี้�คืือการ ได้้รับผลทั้ง�้ หมด โดยประโยคเพีียงประโยคเดีียวว่า่ สพฺเฺ พ ธมฺมฺ า นาลํํ อภิินิิเวสาย - สิ่�งทั้้�งหลายทั้้�งปวงอัันใครๆ ไม่่ควรยึึดมั่่�นถืือมั่�น ว่่าเรา - ว่่าของเรา. นี้�จงพยายามเก็็บขึ้�นมาด้้วยตััวเองให้้ได้้ว่่า ความหมายของคำ�ำ ว่า่ “ความว่่าง” นั้น�้ เป็็นอย่า่ งไร. .... .... .... .... ทีนีี้เ� ราลองมานึกึ ถึงึ สิ่ง� ทั้ง� ปวง สิ่�งทั้�งปวงนี้�ไม่ม่ ีอี ะไรอื่�นนอกจาก สิ่�งที่�เรีียกว่่า “ธรรม”. ในภาษาบาลีคี ืือคำำ�ว่า่ ธมฺฺม ในภาษาสัันสกฤตเขียี นว่่า ธรฺฺม ในภาษาไทยเรีียกว่่า “ธรรม” เฉยๆ สามเสีียงนี้�แม้้จะออกเสีียง 21

ต่่างกัันอย่่างไร ก็็หมายถึึงธรรมะซึ่่�งแปลว่่า “สิ่�ง” เท่่านั้�นแหละ; “สพฺเฺ พ ธมฺฺมา” ก็แ็ ปลว่่าสิ่�งทั้�งปวง. ท่า่ นต้อ้ งทำ�ำ ในใจให้แ้ จ่ม่ แจ้ง้ เล็ง็ ถึงึ สิ่ง� ทั้ง� ปวงกันั ก่อ่ น ว่า่ ถ้า้ เรา พููดเป็น็ ไทยๆ ว่า่ “สิ่�งทั้�งปวง” แล้้วมันั หมายถึงึ อะไรบ้้าง? มันั ต้้อง หมายถึงึ สิ่ง� ทุกุ สิ่ง� ไม่ย่ กเว้น้ อะไรหมด จะเป็น็ เรื่อ� งโลกหรือเรื่อ� งธรรมะ ก็ค็ ืือสิ่ง� ทั้ง� ปวง จะเป็น็ ฝ่า่ ยวัตั ถุุ หรือฝ่า่ ยจิติ ใจก็ค็ ืือสิ่ง� ทั้ง� ปวง, หรือถ้า้ จะมีีอะไรมากไปกว่่านั้น� อีีก คืือมากไปกว่า่ วััตถุุและจิิตใจ คืือมีสีิ่ง� ที่� สามขึ้�นมาอีีก ก็็ยัังเรียี กว่่าสิ่ง� ทั้ง� ปวง อยู่�ในคำ�ำ ว่่า “ธรรม” อยู่�นั่น� เอง. เพราะฉะนั้�น อาตมาจึึงแนะให้ท้ ่่านทั้ง� หลายรู้�จักสังั เกตว่า่ :- • ตััวโลกคืือสิ่ง� ทางวััตถุุ กล่า่ วคืือ ตัวั โลกทั้�งหมดในฝ่่ายวัตั ถุุ- ธรรม; นี้�ประเภทหนึ่�ง ก็็คืือ ธรรม. • แล้ว้ ตััวจิิตใจที่จ� ะรู้�จักโลกทั้�งหมดทั้�งสิ้�น ก็็คืือ ธรรม. • ถ้า้ ว่า่ ใจกับั โลกกระทบกันั การกระทบนั้�นก็เ็ ป็็น ธรรม. • แล้้วผลของการกระทบนั้�นเกิิดอะไรขึ้�น เกิิดเป็็นความรััก ความโกรธ ความเกลีียด ความกลััว ขึ้�นก็็ตาม หรื อ เกิิดเป็็นสติิปััญญา รู้�ยิ่ง� แจ่ม่ แจ้้งไปทางความเป็็นจริิงก็็ตาม มันั ก็เ็ รียี กว่่า ธรรม ทั้�งนั้�น. • จะเกิดิ ถููกหรือผิดิ ดีหี รือชั่ว� ก็เ็ รียี กว่่า ธรรม ทั้�งนั้�น. • ทีนีี้ส� ติปิ ัญั ญาก่อ่ ให้เ้ กิดิ ความรู้� เป็น็ ระบบต่า่ งๆ ขึ้น� มา อันั นี้� ก็็คืือ ธรรม. 22

• ความรู้�นั้�นเป็น็ เหตุุให้เ้ กิดิ การปฏิิบัตั ิิ เป็น็ ศีีล สมาธิิ ปัญั ญา หรื อปฏิิบััติิอย่่างใดอย่่างหนึ่�งขึ้�นมา การปฏิิบััติินั้�นก็็คืือ ธรรม. • ครั้น� ปฏิิบัตั ิสิิ่ง� ต่่างๆ ลงไปแล้ว้ ผลย่อ่ มจะเกิดิ ขึ้น� สรุุปแล้ว้ เรียี กว่า่ มรรค ผล นิพิ พาน เหล่า่ นี้เ� ป็็นผลที่เ� กิดิ ขึ้น� แม้ผ้ ลนี้� ก็็คืือ ธรรม. .... .... .... .... สรุปุ แล้ว้ มันั คือื ธรรมทั้�งนั้�น กินิ ความมาตั้ง� แต่เ่ ปลืือกแท้ๆ้ กล่า่ ว คืือโลกหรือวััตถุ.ุ แล้ว้ กิินความจนถึงึ จิติ ใจ ถึงึ การกระทบระหว่่างใจ กัับโลก ถึงึ ผลที่�เกิดิ ขึ้�นจากการกระทบ เป็็นความผิิด ความถูกู ความ ดีี ความชั่ว� , กระทั่�งเป็น็ วิิชชาความรู้�ชนิิดที่�ให้เ้ กิิดความรู้�ทางธรรมะ การปฏิิบััติธิ รรมะ และมรรค ผล ที่เ� กิดิ ขึ้�นจากการปฏิิบััติธิ รรมะ. นี่� ถ้้าเห็็นหมดนี้�แต่ล่ ะอย่า่ งๆ ชััดเจนแล้ว้ ก็็เรียี กว่า่ เห็น็ สิ่ง� ทั้ง� ปวง. พระพุทุ ธเจ้า้ ท่่านตรััสว่่า สิ่�งทั้�งปวงดัังที่�ว่ามานี้�แหละ ไม่่ควร ยึึดมั่�นถืือมั่่�นส่่วนไหนเลย ว่่าเป็็นเรา หรืือว่่าเป็็นของเรา; คืือส่่วนที่� เป็็นวััตถุุหรือร่่างกายนี้�ก็็ยึึดถืือไม่่ได้้ ส่่วนที่�เป็็นจิิตเป็็นใจก็็ยิ่�งยึึดถืือ ไม่ไ่ ด้้ เพราะมันั ยิ่ง� เป็น็ มายา ยิ่ง� ไปกว่า่ ส่ว่ นที่เ� ป็น็ วัตั ถุเุ สียี อีกี . เพราะ ฉะนั้�น จึึงมีีคำ�ำ ตรัสั ว่า่ ถ้า้ จะยึึดถืือตััวตนกัันแล้้ว น่่าจะยึดึ ถืือที่ว� ัตั ถุุ ดีีกว่่า เพราะมัันยัังเปลี่�ยนแปลงช้้ากว่่า ไม่่มายาหลอกลวงเหมืือน 23

จิิตใจ อย่า่ งที่เ� ราเรียี กกันั ว่า่ นามธรรมนั้�น. จิิตใจในที่�นี้� ไม่่ได้ห้ มายถึึง “จิิต” อัันเป็น็ ตัวั เดียี วกัันกับั ความ ว่า่ งอย่า่ งที่ก� ล่า่ วเมื่อ่� ตะกี้� แต่ห่ มายถึงึ จิติ ที่�เป็น็ ความรู้ส� ึกึ ทางจิติ หรือ mentality ต่่างๆ อัันเป็น็ จิติ ที่ค� นธรรมดารู้�จัก. ทีนีี้� การกระทบระหว่า่ งโลกกับั จิติ ใจ มีผี ลเป็น็ ความรู้�สึกต่า่ งๆ เป็็นความรััก ความเกลีียด ความโกรธ เหล่่านี้�ก็็คืือธรรมะ ซึ่ง่� ก็ย็ ััง ยึึดถืือไม่่ได้้ เพราะมัันเป็็นมายาที่�เกิิดจากมายา ที่�เป็็นไปฝ่่ายกิิเลส แล้ว้ ยิ่ง� เป็น็ อัันตรายอย่า่ งยิ่�ง ที่�จะไปยึดึ ถืือเข้า้ . แม้ว้ ่า่ เป็น็ ฝ่า่ ยสติปิ ัญั ญา ก็ย็ ังั สอนไม่ใ่ ห้้ยึดึ ถือื ว่า่ เรา - ว่า่ ของเรา เพราะว่่าเป็็นเพีียงสัักว่่าธรรมชาติิ. ถ้้าไปยึึดแล้้วจะเกิิดความหลง ผิดิ ขึ้น� มาใหม่่ จะมีีตััวเราและมีีของเรา คืือมีเี ราผู้้�มีสติิปัญั ญา และ มีีสติิปััญญาของเรา; เป็็นความยึึดมั่�นถืือมั่�นขึ้�นมาก็็เป็็นความหนััก เนื่�อ่ งด้ว้ ยการยึดึ ถืือนั้น� จะเกิดิ ความรวนเรไปตามความเปลี่ย� นแปลง ของสิ่�งเหล่า่ นั้น� แล้ว้ ก็็เป็น็ ทุกุ ข์.์ แม้ม้ าถึึงความรู้� ก็็ให้ถ้ ืือว่า่ เป็็นสัักแต่่ว่่าความรู้�. อย่่าเข้้าไป หลงยึดึ มั่�นถืือมั่น� จะเกิดิ อาการของสีีลัพั พััตตปรามาสต่า่ งๆ ขึ้�นมา แล้้วก็จ็ ะต้้องเป็็นทุกุ ข์์ โดยไม่รู่้�สึกตัวั เพราะเหตุนุั้�น. การปฏิบิ ัตั ิธิ รรมะนั้น� ก็เ็ หมืือนกันั มันั เป็น็ สักั ว่า่ การปฏิบิ ัตั ิิ เป็น็ ความจริงิ ของธรรมชาติิ ทำ�ำ ลงไปอย่า่ งไรผลย่อ่ มเกิดิ ขึ้น� อย่า่ งนั้น� โดย สมส่ว่ นกันั เสมอ; จะไปเอามาเป็น็ เรา เป็น็ ของเราไม่ไ่ ด้.้ เพราะถ้า้ เกิดิ 24

ไปยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ก็ค็ ืือหลงผิดิ ขึ้น� มาอีกี เป็น็ การสร้า้ งตัวั ตนที่ล� มๆ แล้ง้ ๆ ขึ้น� มาอีีก แล้้วมันั ก็็ต้้องทุกุ ข์เ์ หมืือนกับั ที่ไ� ปยึดึ ในเรื่�องกามารมณ์์ ยึึด ในเรื่�องผิดิ ๆ อย่่างอื่่�นเหมืือนกััน. พอมาถึึงมรรค ผล นิิพพาน นั่�นก็็คืือธรรมะหรือธรรมชาติิที่� เป็น็ อย่า่ งนั้�นเอง. หรือแม้ท้ี่�สุุดตัวั ความว่า่ งเองก็ส็ ัักแต่่ว่่าธรรมชาติ,ิ พระนิิพพานเอง ซึ่�่งเป็็นสิ่�งเดีียวกัันกัับความว่่าง ก็็เป็็นสัักแต่่ว่่า ธรรมชาติ.ิ ถ้้าไปยึดึ ถืือเข้า้ ก็็เป็็นผิดิ นิพิ พาน หรือผิิดความว่่าง ผิดิ ตัวั นิพิ พาน; เพราะว่า่ นิพิ พานหรือว่า่ ความว่า่ งจริงิ ไม่ใ่ ช่ว่ ิสิ ัยั ที่จ� ะถูกู ยึดึ มั่�น-ถืือมั่�นว่า่ ตัวั หรือว่า่ ของตัวั ได้้. เป็็นอันั กล่า่ วได้้ว่่า ถ้้ามีีผู้�ใ้ ดยึึดมั่่�นลงไปที่่น� ิิพพาน หรือ ความ ว่า่ ง ย่อ่ มจะผิดิ ตััวความว่า่ ง, หรือื ผิิดตััวนิิพพานทัันทีี. นี่�คืือการบอกให้้ทราบว่่า ทุุกอย่่างไม่่มีีอะไรนอกจากธรรมะ ไม่่ได้เ้ ป็็นอะไรเลยนอกจากธรรมะ. .... .... .... .... คำ�ำ ว่า่ ธรรมะนี้� หมายความว่า่ ธรรมชาติ,ิ ธรรมชาติิ เท่า่ นั้น� เอง. ที่�ว่่าธรรมะล้้วนๆ ไม่ม่ ีอี ะไรเจืือนี้�คืือธรรมชาติิ ถืือเอาหลัักให้้ ตรงตัวั พยัญั ชนะว่า่ ธรรมะได้เ้ ลย; กล่า่ วคืือ คำ�ำ ว่า่ ธรรมะนี้� แปลว่า่ สิ่�งที่� ทรงตัวั มัันอยู่่� ถ้้าสิ่�งใดมีีการทรงตััวอยู่�แล้้ว สิ่�งนั้น้� เรียกว่า่ ธรรมะ และ ต้อ้ งแบ่่งออกเป็็น ๒ ประเภท : สิ่�งที่�ไหลเวีียนเปลี่่�ยนแปลง นี้�ประเภท 25

หนึ่ง� , สิ่�งที่�ไม่่ไหลเวียี นเปลี่่�ยนแปลง ไม่ม่ ีอี ะไรปรุุงแต่่งนี้�อีกี ประเภท หนึ่ง� . ท่่านไปดููเอาเองจะพบว่่ามันั มีเี พียี งสองสิ่ง� เท่่านั้�น. สิ่�งที่�ไหลเวีียนเปลี่่�ยนแปลง เพราะมีอี ะไรปรุงุ แต่่งนั้น� มันั มีกี าร ทรงตัวั มันั เอง อยู่�ที่ค� วามไหลเวียี นเปลี่ย� นแปลงนั่น� เอง หรือว่า่ กระแส ความไหลเวียี นเปลี่ย� นแปลงนั่น� แหละคืือตัวั มันั เอง. นี้ค� ืือความหมาย ของคำำ�ว่า่ ธรรมะ คืือทรงตัวั อยู่�. ส่่วนสิ่�งใดที่�ไม่่ไหลเวีียนเปลี่่�ยนแปลง เพราะไม่่มีีเหตุุ ไม่่มีี ปััจจััย; สิ่�งนี้�หมายถึึงพระนิิพพาน หรือความว่่างอย่่างเดีียวเท่่านั้�น. สิ่ง� นี้�มัันก็ม็ ีกี ารทรงตัวั มัันเองอยู่�ได้้ ด้ว้ ยการไม่เ่ ปลี่�ยนแปลง คืือภาวะ แห่ง่ การไม่เ่ ปลี่ย� นแปลง นั่น� แหละคืือตัวั มันั เองในที่น�ี้� มันั จึงึ เป็น็ ธรรมะ ประเภทที่�ไม่่ไหลเวียี นเปลี่ย� นแปลง. แต่่ทั้ง� ประเภทที่�ไหลเวีียนเปลี่�ยนแปลงก็ต็ าม และไม่ไ่ หลเวียี น เปลี่ย� นแปลงเลยก็ต็ าม มันั ก็ส็ ักั แต่ว่ ่า่ ธรรมะ คืือสิ่ง� ที่ท� รงตัวั มันั เองอยู่� ได้้โดยภาวะอย่า่ งหนึ่ง� ๆ. ฉะนั้�น จึึงไม่่มีีอะไรมากไปกว่่าธรรมชาติ,ิ จึึงไม่่มีีอะไรมากไปกว่่าที่�จะเป็็นเพีียงธรรมชาติิ, จึึงว่่าธรรมชาติิ เท่่านั้น� ไม่่มีอี ะไร มีแี ต่่ธรรมะเท่่านั้น� ไม่ม่ ีีอะไรมากไปกว่่านั้น� . เมื่�่อเป็็นธรรมะเท่่านั้�นแล้้ว จะไปยึึดถืือว่่าเรา - ว่่าของเรา ได้้อย่่างไร? หมายความว่่าเป็็นเพีียงธรรมชาติิ ซึ่่�งในภาษาบาลีี เรียี กว่า่ ธรรมะ. คำำ�ว่า่ ธรรมะในกรณีอี ย่า่ งนี้แ� ปลว่่าธรรมชาติิ หรือ ธรรมดา ซึ่่�งหมายความว่่าเป็็นตถตา คืือมัันเป็็นอย่่างนั้�้นเอง เป็็น 26

อย่า่ งอื่่น� ไม่ไ่ ด้.้ เพราะฉะนั้�นมัันจึึงเป็น็ เพียี งธรรมะ. สิ่�งทั้ง� ปวงจึงึ ไม่ม่ ีีอะไรนอกจากธรรมะ หรือธรรมะก็็ไม่่มีอี ะไรนอกจากสิ่ง� ทั้�งปวง. ดัังนั้�นก็็แปลว่่าสิ่ง� ทั้�งปวงคืือธรรมะ. ธรรมะแท้้จะต้้องว่่างจากตััวตนหมด. ไม่่ว่่าธรรมะส่่วนไหน ข้อ้ ไหน ชั้น� ไหน ประเภทไหน ธรรมะจะต้อ้ งเป็น็ อันั เดียี วกับั ความว่า่ ง คืือว่า่ งจากตััวตนนั่น� เอง. เพราะฉะนั้�นเราต้อ้ งหาให้พ้ บความว่า่ งใน สิ่ง� ทั้�งปวง หรือว่่าจะศึึกษาความว่า่ งก็็ต้อ้ งศึกึ ษาที่ส�ิ่ง� ทั้ง� ปวง ซึ่่�งรวม เรียี กสั้น� ๆ ว่า่ ธรรมะ. หรือจะพูดู เป็็น logic ว่่า สิ่�งทั้�งปวงก็ส็ ัักแต่่ เท่่ากับั ธรรมะ, ธรรมะเท่่ากัับสิ่ง� ทั้ง� ปวง, หรือสิ่�งทั้ง� ปวงเท่่ากับั ความ ว่า่ ง; เพราะฉะนั้น� ความว่่างเท่่ากัับธรรมะ แล้ว้ แต่่จะพูดู . แต่ใ่ ห้้ รู้�ความจริงิ ว่า่ มันั ไม่ม่ ีอี ะไรนอกจากธรรมชาติิ ที่เ� ป็น็ ความว่่างไม่ค่ วร ยึดึ มั่�นถืือมั่น� เลย ว่่าเราหรือว่่าของเราก็็ตาม. ในที่น�ี้จ� ะเห็น็ ได้ช้ ััดว่่า ความว่่างนี้� หรือของว่า่ งนี้� ก็็คืือ ความ จริิงของสิ่�งทั้�งปวง. ต้้องหมดความหลงโดยประการทั้�งปวงเท่่านั้�น จึึงจะเห็น็ ความว่า่ ง; หรือถ้้าเห็็นความว่่างนั้น� ก็็คืือปัญั ญาที่ไ� ม่่หลง ปััญญาแท้้ที่�บริิสุทุ ธิ์�ที่ไ� ม่่หลง. แต่่ทีีนี้� มัันมีีธรรมอีีกประเภทหนึ่�ง คืือธรรมะประเภทอวิิชชา หรือความหลงผิิด; เป็น็ reaction ที่เ� กิิดมาจากการที่จ� ิติ ใจกระทบ กัันกับั วััตถุุหรือโลก. เพราะดัังที่�ได้้กล่่าวมาแล้ว้ ข้า้ งต้น้ ว่่า เมื่อ�่ จิิตใจ หรือธรรมะประเภทจิิตใจกระทบกัันกัับธรรมะประเภทวััตถุุนี้� ย่่อม 27

มีี reaction เป็็นความรู้�สึก; ในความรู้�สึกนี้�เดินิ ไปทางอวิิชชาก็ไ็ ด้้ เดินิ ไปทางวิชิ ชา คืือรู้�แจ้้งก็ไ็ ด้้ มัันแล้้วแต่ส่ิ่ง� แวดล้้อม แล้้วแต่ส่ ภาพ ตามที่�เป็น็ อยู่�จริิงของสังั ขารกลุ่�มนั้�น หรือของธรรมะกลุ่�มนั้น� มันั จะ เป็็นไปในรููปไหน. เพราะฉะนั้�นจึึงเป็็นธรรมะอีีกไม่่ใช่่อื่�่น แต่่เป็็น ธรรมะฝ่่ายอวิิชชา ทำ�ำ ให้้เกิิดความรู้�สึกยึึดมั่�นถืือมั่�นไปในทางที่�มีี ตััวตนหรือของของตน. แต่่อย่่าลืืมว่่านี้�ก็็คืือสัักแต่่ธรรมะ เนื้�อแท้้ ของมัันก็็คืือความว่่าง. .... .... .... .... อย่่าลืืม อวิชิ ชาก็็คือื ความว่า่ งเท่า่ กัันกับั วิิชชา หรือื เท่า่ กันั กัับ นิพิ พาน มันั เป็น็ ธรรมะเท่า่ นั้�น. ถ้้าเรามองมัันเป็็นแต่่ธรรมะเท่่านั้�้นแล้้ว เราจะเห็็นว่่าว่่างจาก ตััวตนอยู่�เรื่อ� ย; แต่ธ่ รรมะในขั้�น้ นี้� แม้้จะเป็น็ สิ่�งเดีียวกัันกัับความว่า่ ง อย่า่ งนี้� มัันก็็มีีผลไปอีีกทางหนึ่�งตามแบบของอวิชิ ชา คืือให้้เกิิดเป็น็ มายา ว่่าตััวว่่าตนขึ้�นมาได้ใ้ นความรู้�สึกึ หรืือในความยึดึ ถือื . เพราะ ฉะนั้น้� จึงึ ต้้องระวังให้้ดีีในธรรมะประเภทที่เ่� ป็น็ ความยึดึ มั่่น� ถือื มั่น� หรือื เป็็นประเภทอวิิชชา และมัันก็ร็ วมอยู่�ในสิ่�งทั้ง�้ ปวง รวมอยู่�ในคำ�ำ ว่า่ สิ่�ง ทั้้ง� ปวงคำ�ำ เดีียวกัันด้้วย. ถ้้าเรารู้�สิ่�งทั้�งปวงจริิงๆ แล้้ว ความรู้�สึกที่�ยึึดมั่�นถืือมั่�นที่�เป็็น อวิิชชานี้�ไม่่อาจเกิิด; ทีีนี้�หากว่่าเราไม่่รู้�ธรรมะ หรื อไม่่รู้�สิ่�งทั้�งปวง 28

ปล่่อยไปตามอำ�ำ นาจของสััญชาตญาณของสััตว์์ที่�ยัังโง่่ยัังหลงอยู่� มััน จึึงได้้ช่่องได้้โอกาสแก่่ธรรมะฝ่่ายอวิิชชาหรื อฝ่่ายยึึดมั่ �นถืือมั่ �นไปเสีีย ตะพึึด; ฉะนั้�นคนเราจึึงมีีแต่่ความยึึดมั่�นถืือมั่�นกัันอยู่�คล้้ายกัับว่่า เป็น็ มรดกที่�ตกทอดมาตั้ง� แต่ไ่ ม่่รู้�ว่าครั้ง� ไหน. เราจะเห็็นได้้ว่่า พอเกิิดมาก็็ได้้รัับการอบรม แวดล้้อมโดย เจตนาบ้้างไม่่เจตนาบ้้าง ให้้เป็็นไปแต่่ในทางธรรมะฝ่่ายที่�ไม่่รู้� คืือ เป็็นแต่่ในทางยึึดมั่�นว่่าตััวตนว่่าของตนทั้�งนั้�น การอบรมให้้รู้�ในทาง ไม่่ใช่ต่ ัวั ไม่ใ่ ช่ต่ นนี้� ไม่ไ่ ด้้ทำำ�กันั เลย. เด็ก็ ๆ เกิดิ มาไม่ไ่ ด้ร้ ับั การอบรมเรื่อ� งไม่ใ่ ช่ต่ ัวั ตนอย่า่ งนี้ก� ันั เลย มีีแต่่ได้้รับการอบรมไปในทางมีีตััวมีีตนทั้�้งนั้�้น. แต่่อย่่าลืืมว่่าเด็็กๆ เกิดิ มานั้น� จิติ อันั เดิมิ ของเด็ก็ ๆ นั้น� ยังั ไม่ม่ ีตี ัวั ตนอะไรมากมาย; แล้ว้ มาได้้รัับการแวดล้้อมให้เ้ กิดิ ความรู้�สึกว่่าเป็็นตััวเป็น็ ตน. พอลืืมตา พอรู้�สึกอะไรได้ก้ ็ต็ ้อ้ งมีกี ารแวดล้อ้ มให้ย้ ึดึ ถืือว่า่ พ่อ่ ของตนแม่ข่ องตน ที่อ� ยู่�อาศัยั ของตน อาหารของตน; แม้แ้ ต่่จานสำ�ำ หรัับจะกิินข้้าวก็็ต้อ้ ง ใบนี้เ� ป็็นของตน คนอื่่น� มากิินไม่่ได้้. อาการที่เ� ป็น็ ไปเองโดยไม่ต่ั้ง� ใจ autonomy อย่า่ งนี้เ� กิดิ ขึ้น� เรื่อ� ย คืือความรู้ส� ึึกว่่าตััวตนนี้�เกิิดขึ้�นมา แล้้วเจริญิ งอกงามขึ้�นเรื่�อย. ส่่วน ความรู้�สึกที่�ตรงกัันข้้าม ไม่เ่ ป็น็ ไปในทางตััวตนนั้�นไม่ม่ ีเี ลย; แล้ว้ มััน จะเป็็นอย่่างไร กว่่าจะเป็น็ หนุ่�มเป็็นสาว เป็น็ คนแก่่คนเฒ่่านี้.� มัันก็็ หนาไปด้้วยความยึึดมั่�นถืือมั่่�น หรือกิิเลสที่เ� ป็น็ เหตุใุ ห้้ยึึดมั่น� ถืือมั่�นว่่า 29

เป็็นตัวั เป็น็ ตน. นี่�แหละ เราจึึงมีีตัวั ตนเป็น็ ชีีวิิต, มีีชีีวิิตเป็็นตััวตน; คืือมีคี วาม ยึึดมั่�นถืือมั่่�นว่า่ ตัวั ตนนั่�นแหละเป็็นชีวี ิติ . หรือชีวี ิิตตามธรรมดาก็ค็ ืือ สััญชาตญาณแห่ง่ การยึึดมั่�นว่า่ ตััวตน; แล้้วเรื่อ� งมันั จึึงเป็น็ ไปในทาง ที่ม� ีีแต่จ่ ะเป็็นทุกุ ข์์. เป็็นความหนััก กดทับั บีีบคั้น� ร้อ้ ยรัดั พััวพันั หุ้�มห่อ่ เสียี บแทง เผาลน ซึ่ง�่ เป็น็ อาการของความทุกุ ข์ท์ั้�งนั้�น. เป็็นอัันว่่า ถ้้าลงยึึดมั่�นถืือมั่่�นแล้้ว แม้้ในฝ่่ายดีีในด้้านดีีก็็ เป็็นความทุุกข์์ ทีีนี้� โลกมาสมมติิฝ่่ายดีีหรื อด้้านดีีกัันแบบนี้� มััน จึึงหมายถึึงความผิิด หรื อความชั่�ว หรื อความทุุกข์์ตามแบบของ พระอริยิ เจ้้า เพราะว่า่ มันั ยังั ไม่ว่ ่า่ ง มันั ยัังวุ่�นไปเหมืือนกััน; ต่อ่ เมื่�่อ มีีความว่า่ งอยู่�เหนืือนั้�นจึงึ จะไม่ท่ ุุกข์.์ .... .... .... .... หลัักใหญ่่ของพุุทธศาสนาจึึงไม่่มีีอะไรมากไปกว่่าการกำำ�จััด สิ่�งนี้�เสีียเพีียงคำ�ำ เดีียวเท่่านั้�น กล่่าวคืือ กำำ�จััดความยึึดมั่�นถืือมั่่�นว่่า ตััวตน หรือของตนนี้�เสีีย; โดยอาศััยบทที่�ว่่า สพฺฺเพ ธมฺฺมา นาลํํ อภิินิิเวสาย นั่น� เอง ไม่่มีีอะไรมากไปกว่่านี้�. ทีีนี้�เมื่่�อตััวเรามาเป็็นตััวเดีียวกัันกัับความยึึดมั่�นถืือมั่่�น อย่่าง เป็น็ ตััวเดีียวกัันแท้้ดังั นี้�แล้้ว เราจะทำำ�อย่่างไร? ใครจะช่่วยเรา? หรือ ว่า่ ถ้้าจิติ มัันเป็น็ อย่า่ งนี้�เสียี เองแล้ว้ ใครจะไปช่่วยจิติ ? อย่า่ งนี้�ก็ไ็ ด้.้ 30

ลองตั้�งปัญั หาขึ้น� มาอย่า่ งนี้.� มัันก็ไ็ ม่่มีีอะไรอีีก มัันก็ค็ ืือจิติ นั้น� อีกี นั่�นแหละ. เพราะได้้กล่า่ วมาแล้้วว่า่ ไม่่มีอี ะไรนอกจากธรรมะ : ความผิดิ ก็ธ็ รรมะ ความถูกู ก็ธ็ รรมะ ความทุกุ ข์ก์ ็ธ็ รรมะ ความดับั ทุกุ ข์์ ก็ธ็ รรมะ เครื่อ� งมืือแก้ไ้ ขดับั ทุกุ ข์ก์ ็ธ็ รรมะ ตัวั เนื้อ� หนังั ร่า่ งกายก็ธ็ รรมะ ตัวั จิิตใจก็็ธรรมะ; เพราะฉะนั้น� จึงึ ไม่่มีีอะไรนอกจากที่ธ� รรมะจะต้้อง เป็็นไปในตัวั มัันเอง โดยอาศััยกลไกที่�เป็น็ ไปได้้ในตััวมัันเอง. อย่า่ งนี้� เราจะเรีียกว่่าเป็น็ บุญุ หรือเป็็นบาปก็ส็ ุดุ แท้.้ ถ้า้ ใครคนใดคนหนึ่�ง เมื่่�อได้ก้ ระทบโลกนี้ม� ากเข้้า เกิดิ เป็น็ ไป ในทางสติิปััญญา อย่า่ งนี้�ก็็เป็น็ บุญุ . ทีีนี้ใ� ครคนหนึ่�ง เมื่อ่� ได้้กระทบ กัับโลกนี้ม� ากเข้้า เป็็นไปในทางความโง่่ ความหลงมากขึ้น� อย่า่ งนี้� มันั ก็็เป็็นบาป. เราสังั เกตดูจู ะเห็็นได้้ว่า่ ไม่ม่ ีีใครเสีียเปรีียบใคร. เราเกิิดมาก็็ อย่่างนี้ด� ้ว้ ยกัันทุุกคน คืือเราก็ม็ ีีตา มีหี ูู มีจี มูกู มีีลิ้น� มีีกาย มีใี จ อยู่� ด้ว้ ยกัันทุุกคน; แล้ว้ ข้้างนอกก็ม็ ีรี ููป มีีเสีียง มีกี ลิ่�น มีรี ส มีสี ััมผัสั มีี ธัมั มารมณ์์ ให้ด้ ้ว้ ยกันั ทุกุ คน; แล้ว้ ก็ม็ ีโี อกาสที่จ� ะกระทบกับั สิ่ง� เหล่า่ นี้� ได้้ด้้วยกัันทุุกคน, และกระทบเหมืือนๆ กัันทุุกคน. แต่่แล้้วทำำ�ไม มัันจึึงแยกเดิินไปในทางโง่บ่ ้า้ ง ฉลาดบ้้าง? เพราะฉะนั้น� ที่แ� ยกเดิิน ไปในทางฉลาดก็็นับั ว่า่ เป็น็ กุศุ ลหรือเป็น็ บุญุ , ที่�มันั แยกเดินิ ไปในทาง โง่ก่ ็็เป็็นบาปเป็็นอกุศุ ล. แต่่มัันยัังดีีอยู่�ว่า ธรรมะนี้� ดููช่่างจะเป็็นเครื่�องคุ้�มครองคน 31

เสีียจริงิ ๆ โดยที่�มีหี ลักั อยู่�อย่่างหนึ่�งว่่า ถ้า้ ถููกความทุุกข์์เข้้าแล้้วย่่อม รู้จ� ักั หลาบ รู้จ� ัักจำ�ำ . เหมืือนอย่า่ งว่า่ เด็ก็ ๆ เอามืือไปจับั ขยำำ�เข้้าที่�ไฟ อย่า่ งนี้� มันั ก็ค็ งไม่ย่ อมขยำ�ำ อีกี เพราะมันั รู้�จักหลาบ รู้�จักจำ�ำ . แต่ว่ ่่า นี่�มัันเป็็นเรื่อ� งทางวััตถุุ มันั ง่่าย. ส่่วนเรื่�องที่�ไปขยำ�ำ เอาไฟ คืือ ความ ยึึดมั่�นถือื มั่่�น หรือความโลภ ความโกรธ ความหลงเข้้านี้� โดยมาก มันั กลับั ไม่รู่้ส� ึกึ ว่า่ เราขยำำ�ไฟ มันั ก็เ็ ลยไม่ม่ ีอี าการที่ว� ่า่ รู้�จักหลาบ รู้�จัก จำ�ำ มัันกลัับเห็็นไปด้้วยความหลงนั้�นว่่าเป็็นของน่่ารััก น่่าปรารถนา ไปเสีีย. .... .... .... .... การที่จ� ะแก้้ไขได้ก้ ็็มีอี ยู่�ทางเดีียวคืือว่า่ รู้�จักมัันอย่า่ งถูกู ต้อ้ งว่่า ธรรมะนี้้�คืออะไร จนรู้�ว่าธรรมะนี้้�คือไฟ คืือยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ไม่ไ่ ด้้ มันั ก็จ็ ักั เป็น็ ไปในทางสติปิ ัญั ญา รู้�จักหลาบ รู้�จักจำ�ำ ต่อ่ การที่จ� ะไปเที่ย� วยึดึ มั่น� ถืือมั่น� อะไร ว่า่ เป็น็ ตัวั เรา เป็น็ ของเรา แล้ว้ เกิดิ ไฟขึ้น� มา. สิ่ง� นี้ม� ันั เป็น็ ไฟเผาใจไม่่ใช่่ไฟไหม้้มืือ แต่่บางทีมี ัันเผาลึึกเกินิ ไปจนไม่่รู้�สึกว่า่ เป็็น ไฟหรือเป็็นความเร่า่ ร้้อน; ฉะนั้�นคนจึึงจมอยู่�ในกองไฟ หรือในวััฏฏ- สงสาร อัันเป็็นกองไฟที่ร� ้้อนอย่่างยิ่�ง ยิ่�งกว่า่ เตาหลอมเหล็ก็ อย่่างนี้.� ถ้้าเรามองเห็็นเช่่นเดีียวกัับที่�เด็็กขยำำ�ไฟ และไม่่ยอมจัับไฟ ต่่อไปแล้้ว มัันก็็ไปตามทางนั้�นได้้. เพราะฉะนั้�นพระพุุทธเจ้้าท่่าน จึึงได้้ตรััสอธิบิ ายข้อ้ นี้�ไว้้ว่่า เมื่่�อเห็็นโทษของความยึดึ มั่�นถืือมั่่�นเมื่่�อใด 32

จิิตก็็จะคลายจากความยึดึ มั่�นถืือมั่่�นเมื่�อนั้�น. นี่�แหละปััญหามัันมีีอยู่�ว่า เราเห็็นโทษของการยึึดมั่�นถืือมั่่�น หรือื ยังั ถ้้ายังั ก็ย็ ังั ไม่ค่ ลาย ถ้้าไม่ค่ ลายก็ไ็ ม่ว่ ่า่ ง ภาษิติ ในมัชั ฌิมิ นิกิ าย มีีอยู่�อย่่างนี้� เป็็นรููปพุุทธภาษิิต. และยัังตรััสไว้้ในที่�อีีกแห่่งหนึ่�งว่่า เมื่่�อใดเห็น็ ความว่า่ ง เมื่�อนั้�นจึงึ จะพอใจนิพิ พาน. ย้อ้ นไปดูอู ีกี ทีหี นึ่ง� ว่า่ “เมื่่�อใดเห็็นโทษของความยึึดมั่�นถืือมั่�น เมื่�่อนั้�นจิิตจึึงจะคลายจาก ความยึึดมั่�นถืือมั่�น” เมื่�่อคลายจากความยึึดมั่�นถืือมั่�น เมื่�่อนั้�นจะมีี โอกาสมองเห็็นสิ่ง� ที่�เราเรีียกกันั ว่า่ ความว่า่ ง คืือว่่างจากตััวตน. พอเริ่�มเห็็นความว่่างจากตััวตนเท่่านั้�น จิิตจะเหไปพอใจใน อายตนะนั้�นคืือนิิพพาน. อายตนะนั้�นคืือนิิพพาน ก็็หมายความว่่า นิิพพานก็็เป็็นเพีียงสิ่�งสิ่�งหนึ่�งที่�เราจะรู้�จักได้้เท่่านั้�น สิ่�งใดที่�อยู่�ใน วิิสัยั ที่เ� ราจะรู้�จักมัันได้โ้ ดยทางตา ทางหูู ทางจมููก ทางลิ้น� ทางกาย ทางใจแล้ว้ สิ่ง� นั้�นๆ เรียี กว่่า “อายตนะ” ทั้ง� นั้�น. ท่่านได้้ลดเอานิิพพานนี้ �ลงมาให้้เป็็นอายตนะอัันหนึ่ �งเหมืือน กัับอายตนะทั้�งหลาย แล้้วเรายัังจะโง่่จนถึึงกัับไม่่รู้�จักอายตนะนี้�ได้้ อย่่างไร. มัันมีีอยู่�ได้้ต่่อเมื่�่อเห็็นว่่างจากตััวตน เพราะคลายความ ยึึดมั่น� ถืือมั่น� จึึงจะพอใจในอายตนะคือื นิพิ พาน. .... .... .... .... การที่�จะให้้พอใจนิิพพาน นี้ม� ัันยาก ยากเหมืือนกับั ที่ก� ล่า่ วมา 33

แล้้วว่า่ เรามีีชีวี ิิตเป็น็ ความยึึดมั่�นถืือมั่�นอยู่�ตลอดเวลา เพราะฉะนั้น� จึึงไม่ค่ ลาย, ไม่่เห็็นว่า่ ง ไม่่พอใจในอายตนะคืือนิิพพาน. เราจะมองเห็็นความจริงิ ข้อ้ นี้�ได้้ โดยมองออกไปถึึงศาสนาอื่่�น ดููบ้า้ ง ในศาสนาอื่�นนั้�นไม่่มีคี ำ�ำ ว่่าอััตตวาทุปุ าทาน. อััตตวาทุุปาทาน แปลว่่าความยึึดมั่่�นถืือมั่�นว่่าตััวเราว่่าของเรา. เพราะเหตุุใดจึึงเป็็น เช่่นนั้�น? เพราะเหตุุว่่าในลััทธิิอื่�่นนั้�น เขามีีตััวเราสำ�ำ หรัับให้้ยึึดมั่�น ถืือมั่�น เพราะฉะนั้น� จึงึ ไม่ถ่ ืือว่า่ การยึดึ มั่�นถืือมั่�นว่า่ “ตััวเรา” นี้�เป็็น ของผิิด มัันกลายเป็็นเรื่�องถููกไป มัันกลายเป็็นความมุ่�งหมายของ ศาสนา หรือของลััทธิินั้�นๆ ไปทีีเดีียว คืือว่่าสอนให้้เข้้าถึึงสภาพที่� เป็็น “ตัวั เรา” ให้้ได้้ เพราะฉะนั้�น เขาจึงึ ไม่่มีีคำำ�ว่่า อัตั ตวาทุุปาทาน คืือความยึึดมั่�นถืือมั่�นว่่าตััวเรา ซึ่�่งพุุทธศาสนาสอนว่่าต้้องละเสีีย เขากลัับมีตี ัวั เราให้้ยึดึ ถืือ. ในพุุทธศาสนาเรานี้�มีีอััตตวาทุุปาทาน คืือกำ�ำ หนดชื่�่อลงไปว่่า นี้�เป็น็ กิิเลส นี้เ� ป็็นความโง่่ นี้�เป็็นความหลง คืือความยึึดมั่น� ถืือมั่�นว่่า ตััวเรา. เพราะฉะนั้�น หลัักปฏิิบัตั ิจิ ึึงมีอี ยู่�ตรงที่ใ� ห้้ละอััตตวาทุปุ าทาน นี้�เสียี และคำ�ำ สอนเรื่อ� งอนัตั ตาจึงึ มีีแต่่ในพุุทธศาสนา; ไม่่มีีในคำำ�สอน ลััทธิิอื่�่น ซึ่�่งสอนให้้มีีอััตตาให้้ยึึดมั่�นถืือมั่�นเข้้าถึึงให้้ได้้. ส่่วนเรานี้� ให้ท้ ำำ�ลายความรู้�สึกว่า่ ตัวั ตนเสียี ให้ห้ มดเลย ให้เ้ ห็น็ สภาพเป็น็ อนัตั ตา คืือว่่างจากอััตตาของสิ่�งทั้�งหลายทั้ง� ปวง. อนััตตานี้้�มีีพููดกัันแต่่พวกเราพุุทธศาสนา จะมีีความรู้�ความ 34

เข้้าใจขึ้�นมาได้้ก็็แต่่ในหมู่่�บุุคคลที่�ถููกสอนว่่า สิ่�งทั้�งปวงเป็็นอนััตตา ไม่่ควรยึึดมั่�นถืือมั่่�น. ถ้้าสอนว่่ามีีอััตตาที่�ควรยึึดมั่�นถืือมั่�นเสีียแล้้ว ก็ไ็ ม่่มีีทางที่�จะปฏิบิ ััติเิ พื่อ่� ความว่า่ งจากตััวตนนี้ไ� ด้้. เพราะฉะนั้�นจึงึ ต้้องสังั เกตให้้เห็็นในข้้อที่�ว่่า มันั ต้้องเห็น็ โทษของไฟ เราจึึงจะกลัวั ไฟ ไหม้เ้ รา; เช่น่ เดียี วกับั ที่เ� ราต้อ้ งเห็น็ โทษของไฟ คืือ ราคะ โทสะ โมหะ หรือไฟของความยึดึ มั่น� ถืือมั่น� ว่า่ ตัวั ว่า่ ตนซึ่ง�่ เป็น็ ต้น้ เหตุขุ องไฟทั้ง� ปวง นี้� มัันจึึงจะค่่อยเบื่�่อหน่่ายเกลีียดชัังสิ่�งที่�เรีียกว่่าไฟ คืือคลายความ ยึึดมั่�นถืือมั่น� เสีียได้้ไม่่คิิดที่จ� ะก่่อไฟอีกี ต่่อไป. .... .... .... .... ทีนีี้ก� ็็มาถึงึ ความว่่างที่�ว่าถ้้าเห็็นแล้้วจะพอใจในนิพิ พาน. เราต้้องเข้้าใจให้้ดีๆี ว่่าความว่า่ งนี้�เป็็นอย่า่ งไร? ความว่่าง ในขั้น� แรกก็ค็ ืือว่่า ว่า่ งจากความรู้ส� ึึกว่่าตััวเรา ว่า่ ของเรา เรีียกว่่าว่่าง. ถ้า้ ความรู้�สึกว่่าตััวเรา ว่า่ ของเรามีีอยู่�แล้้ว มันั ก็็ไม่ใ่ ช่ค่ วามว่่าง มััน เป็็นจิิตที่�กำำ�ลังั วุ่�นอยู่�ด้วยความยึึดมั่น� ถืือมั่�นว่า่ ตััวเรา ว่่าของเรา. เราต้อ้ งเอาคำำ� ๒ คำำ� ขึ้�นมาเป็็นเครื่�องช่ว่ ยการกำำ�หนดจดจำำ� ว่า่ ว่่าง กัับ วุ่�น, ว่า่ งคำำ�หนึ่�ง วุ่�นคำำ�หนึ่ง� . ว่า่ งก็็คืือว่่างจากความรู้�สึก ว่า่ ตัวั เราหรือของเรา; วุ่�นก็ค็ ืือ มัันวุ่�น มันั กลุ้�ม มัันปั่�นป่่วนอยู่�ด้วย ความรู้�สึกว่่าตัวั เรา ว่่าของเรา. ที่�ว่า่ ว่า่ งจากความรู้�สึกึ ว่า่ ตััวเรา ว่่าของเรา นั้น� มันั มีีอาการ 35

อย่า่ งไร? บาลีีที่�เป็น็ พระพุทุ ธภาษิติ เรีียงไว้้ให้้ ๔ ข้อ้ :- คู่�ที่� ๑ “น อหํํ กฺฺวจิินิิ” - รู้�สึกว่่าไม่่มีีอะไรที่�เป็็นตััวเรา. “น กสฺสฺ จิิ กิิญฺจฺ นํํ กิิสฺฺมิิญฺจฺ ิิ” - ความกัังวลต่่อสิ่ง� ใดหรือในอะไรๆ ก็็ ไม่ม่ ีีว่า่ เป็็นตััวเรา นี้ค�ู่�หนึ่�ง. คู่�ที่� ๒ ก็็ว่่า “น มม กฺฺวจิินิิ” - ไม่่มีีอะไรที่�เป็็นของเรา. “กิสิ ฺมฺ ิิญฺฺจิิ กิิญฺจฺ นํํ นตฺฺถิิ” - กัังวลในสิ่�งใดๆ ไม่ม่ ีวี ่่าเป็็นของเรา. พูดู กันั ง่า่ ยๆ เป็็นไทยๆ คู่�หนึ่ง� ก็ว็ ่่าไม่รู่้�สึึกว่่ามีเี รา แล้ว้ ก็ไ็ ม่่มีี กัังวลอะไรที่เ� ป็น็ เรา; แล้ว้ อีีกคู่�หนึ่ง� ก็ว็ ่่า ไม่ม่ ีอี ะไรว่า่ เป็น็ ของเรา แล้้ว ไม่ม่ ีีกังั วลในอะไรว่่าเป็็นของเรา. เรารู้�สึกว่่าไม่่มีีอะไรเป็็นเรา แต่่บางทีีก็็มีีเหลืืออยู่�เป็็นกัังวล ว่า่ จะมีอี ะไรเป็น็ เรา; เรารู้�สึกว่า่ ไม่ม่ ีอี ะไรเป็น็ ของเรา แต่เ่ ราอดสงสััย ไม่ไ่ ด้้ว่า มัันอาจมีอี ะไรที่�ว่า่ เป็น็ ของเรา. มัันจะต้้องมีีความเห็็นแจ้้งเด็็ดขาด เกลี้�ยงเกลาลงไปว่่า มััน ไม่ม่ ีอี ะไรเป็น็ เรา และที่เ� ราจะต้อ้ งคอยกังั วลว่า่ มันั อาจจะมีอี ะไรที่เ� ป็น็ เรา; มันั ไม่ม่ ีอี ะไรเป็น็ ของเราและไม่ม่ ีอี ะไรที่อ� าจจะเป็น็ ของเรา ที่เ� รา คอยสงสััยกังั วล คอยคิิด คอยนึกึ คอยท่า่ อยู่�. เมื่�อ่ ใดจิิตใจของใคร เกลี้�ยงไปจากสิ่�งทั้�งสี่�นี้� เมื่�่อนั้�นพระพุุทธเจ้้าท่่านถืือว่่าเป็็นความว่่าง. ในอาเนญชสััปปายสููตร มััชฌิิมนิิกาย บััญญััติิไว้้อย่่างนี้� ในฐานะที่� เป็น็ พุทุ ธภาษิติ . อรรถกถาก็ส็ รุปุ ไว้ด้ื้อ� ๆ ตรงๆ ว่า่ “น อตฺเฺ ตน” - ไม่เ่ ห็น็ ว่า่ เป็น็ 36

ตััวตน “น อตฺตฺ นิิเยน” - ไม่่เห็็นว่า่ เป็น็ ของตน; นี้�ก็พ็ อแล้้ว ก็เ็ หมืือน กัับที่�ได้ก้ ล่า่ วมาแล้ว้ ข้า้ งต้น้ ว่า่ ต้อ้ งปราศจากความรู้�สึกยึึดมั่�นถืือมั่น� ว่า่ ตัวั ตน ว่า่ ของตนนั่�นเอง. เมื่่อ� ไม่ม่ ีคี วามรู้�สึกอย่่างนี้แ� ล้ว้ ลองคิิดดูเู ถอะว่า่ มัันจะมีอี ะไร มัันไม่่มองเห็็นอะไรที่�ไหนที่่�น่่าจะเป็็นตััวตน หรืือเป็็นของตน, หรือ ได้้กำ�ำ ลัังเป็็นตััวตนหรือเป็็นของของตนอยู่�, หรือว่่าควรจะเป็็นตััวตน หรือของของตนต่อ่ ไปข้้างหน้า้ มันั ไม่ม่ ีทีั้�งนั้�น. อย่า่ งนี้�เรียี กว่่าไม่่มีี ทั้�งขณะนั้�น และไม่่มีทีั้ง� ที่จ� ะกัังวลข้า้ งหน้้าและข้้างหลังั ด้ว้ ย; เป็น็ จิิต ที่�เข้้าถึึงความว่่าง ด้ว้ ยการมองเห็็นสิ่�งทั้�งปวงชัดั เจน ตามลักั ษณะที่� ถููกต้้องของมัันว่่า ไม่่มีีส่่วนไหนที่�มีีความหมายของคำำ�ว่่าตััวตนหรือ ของตนเลย เป็็นธรรมะคืือธรรมชาติิล้้วนๆ เหมืือนกัับที่�ได้้กล่่าวมา แล้ว้ ข้้างต้้นอย่่างยืืดยาว. นี่แ�่ หละคือื จิติ ที่เ�่ ป็น็ อัันเดีียวกัันกัับความว่า่ ง, หรือว่า่ ความว่า่ ง ที่เ� ป็น็ สิ่ง� เดียี วกัันกับั จิิต, หรือที่�เราจะพููดว่่าจิิตเข้้าถึึงความว่่าง, หรือ บางทีกี ็พ็ ูดู ถอยหลังั มาอีกี นิิดว่่า จิิตได้รู้ถ� ึึงความว่่าง ซึ่่ง� ทำำ�ให้้บางคน เกิดิ ความเข้า้ ใจว่่าจิิตอย่่างหนึ่�ง ความว่า่ งก็็อย่่างหนึ่�ง. ที่ใ� ช้ค้ ำำ�ว่า่ “เข้า้ ไปรู้�ตัวความว่า่ ง” อย่า่ งนี้ย� ังั ไม่ถ่ ูกู ต้อ้ งนักั . ขอให้้ เข้า้ ใจว่่า ถ้้าจิิตไม่่เป็น็ อันั เดีียวกับั ความว่า่ งแล้้ว ไม่่มีีทางที่�จะรู้�เรื่�อง ความว่า่ ง และจิติ มันั ก็เ็ ป็น็ ความว่า่ งอยู่�เองแล้ว้ ตามธรรมชาติ;ิ ความ โง่่ต่่างหากที่�เข้้าไปทำ�ำ ให้้ไม่่เห็็นเป็็นความว่่าง. พอความโง่่ออกไป 37

จิิตกัับความว่่างก็็เป็็นอัันเดีียวกััน; เพราะฉะนั้�นมัันจึึงรู้�ตัวมัันเอง ไม่ต่ ้อ้ งไปรู้�อะไรที่ไ� หน คืือรู้�ความว่า่ ง และเป็น็ อันั รู้�ว่าไม่ม่ ีอี ะไรนอกจาก ความว่่างจากตัวั ตน - จากของตน. .... .... .... .... นี่�แหละความว่่างอัันนี้� คืือสิ่�งสููงสุุดเพีียงสิ่�งเดีียว ที่�เป็็นตััว พุุทธวจนะที่�ทรงสอนทรงมุ่�งหมาย จนถึึงกัับพระพุุทธเจ้้าท่่านตรััส ว่า่ ตถาคตภาสิติ คืือคำ�ำ ที่่ต� ถาคตกล่่าวนั้�น มีีแต่ส่ ุุญญตา มีีแต่่เรื่�อง สุญุ ญตา. บาลีสี ังั ยุตุ ตนิกิ ายมีอี ยู่�อย่า่ งนี้� และในบาลีนีั้น� เองก็ว็ ่า่ ธรรมะ ที่ล� ึึกที่�สุดุ ก็ค็ ืือเรื่อ� งสุญุ ญตา นอกนั้น� เรื่�องตื้น� . ธรรมที่�ลึกึ จนต้อ้ งมีี พระตถาคตตรัสั รู้�ขึ้น� มาในโลกแล้ว้ กล่า่ วนั้น� มีแี ต่ส่ ุญุ ญตา; เรื่อ� งนอกนั้น� เรื่อ� งตื้�น ไม่่จำำ�เป็น็ จะต้้องมีตี ถาคตขึ้�นมากล่า่ ว. ทีนีี้�ในอีกี วรรคหนึ่�ง ในสัังยุุตตนิิกายนั้�นว่่า ธรรมที่�่เป็็นประโยชน์์เกื้�อกููลตลอดกาลนาน แก่พ่ วกฆราวาสนั้น้� คือื เรื่อ� งสุญุ ญตา. .... .... .... .... ที่�มาเรื่�องสุุญญตานี้� เป็น็ เรื่อ� งที่�อาตมาเคยเล่า่ ให้ฟ้ ัังหลายครั้�ง หลายหนในที่อ� ื่�่นว่่า :- มีีฆราวาส คหบดีี พวกหนึ่�งเข้้าไปเฝ้้าพระพุุทธเจ้้า และทููล ขอร้อ้ งที่จ� ะได้ร้ ับั ธรรมะที่เ� ป็น็ ประโยชน์เ์ กื้อ� กูลู ตลอดกาลนานแก่พ่ วก 38

ฆราวาสที่ค� รองเรือน แออัดั อยู่�ด้วยบุตุ ร ภรรยา ลููบไล้ก้ ระแจะจันั ทน์์ ของหอม พระพุทุ ธเจ้้าก็ไ็ ด้้ตรััสสููตรนี้� คืือ สูตู รเรื่�องสุญุ ญตา. เมื่อ่� เขาว่า่ มัันยากไป ก็ท็ รงลดลงมาเพีียงเรื่อ� งโสตาปััตติยิ ังั คะ คืือข้้อปฏิิบััติิเพื่�่อความเป็็นพระโสดาบััน กล่่าวคืือให้้เข้้าถึึงพระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์ให้้จริิง, แล้้วก็็มีีศีีลเป็็นอริิยกัันตศีีล คืือเป็็นที่� พอใจของพระอริยิ เจ้า้ ได้จ้ ริงิ ; แต่แ่ ล้ว้ มันั ก็ก็ ลายเป็น็ ว่า่ ถูกู พระพุทุ ธเจ้า้ ล่่อเข้า้ บ่่วง เข้า้ กัับ ของพระองค์์ได้ส้ นิิท. พููดอย่่างโวหารหยาบๆ ของพวกเราก็็คืือว่า่ พระพุทุ ธเจ้้าท่่าน ต้ม้ คนพวกนี้ส� นิทิ คืือว่่าเขาไม่เ่ อาเรื่�องสุญุ ญตา พระองค์ก์ ็ย็ ื่น่� เรื่�องที่� หลีีกสุุญญตาไม่่พ้้น คืือบ่่วงที่�จะคล้้องเข้้าไปสู่�สุญญตาให้้คนเหล่่านี้� ไป ให้เ้ ขาไปทำำ�อย่า่ งไรที่�จะเข้้าให้้ถึงึ พระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์ ที่�แท้้จริงิ และมีศี ีีลที่�เป็น็ ที่�พอใจของพระอริยิ เจ้้าได้้ มันั ก็็มีแี ต่เ่ รื่อ� งนี้� คืือ มองเห็น็ ความไม่่น่า่ ยึดึ มั่�นถืือมั่่�นไปเรื่�อยๆ. ทีนีี้� เรามาคิดิ ดูวู ่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ เป็น็ ผู้้�ผิดหรือเปล่า่ ในการที่พ� ูดู ว่า่ เรื่�องสุุญญตานี้�เป็็นเรื่�องสำ�ำ หรัับฆราวาส? ถ้้าพระพุุทธเจ้้าถููก พวกเราสมััยนี้�ก็็เป็็นคนบ้้าๆ บอๆ ไป ทั้ง� หมด คืือผิดิ ไปทั้ง� หมด เพราะไปเห็น็ ว่า่ เรื่อ� งสุญุ ญตานั้น� ไม่ใ่ ช่เ่ รื่อ� ง สำ�ำ หรัับพวกเราฆราวาสที่�ครองเรือน, เรื่�องสุุญญตาเป็็นเรื่�องของผู้้�ที่� จะไปนิพิ พานที่ไ� หนก็ไ็ ม่รู่้�. นี่�แหละเรากำำ�ลัังพููดกัันอยู่�อย่า่ งนี้;� แต่่ พระพุุทธเจ้้ากำ�ำ ลัังพููดอีีกอย่่างหนึ่�งว่่า เรื่�องสุุญญตานี้้�คืือเรื่�องที่�เป็็น 39

ประโยชน์เ์ กื้้�อกูลู แก่ฆ่ ราวาสโดยตรง. แล้ว้ ใครจะเป็น็ ฝ่า่ ยผิดิ ฝ่า่ ยถูกู ? ถ้า้ พระพุทุ ธเจ้า้ เป็น็ ฝ่า่ ยถูกู เราก็ต็ ้อ้ งยอมพิจิ ารณาเรื่อ� งสุญุ ญตาว่า่ จะ เป็น็ ประโยชน์์เกื้�อกููลตลอดกาลนานแก่ฆ่ ราวาสอย่่างไร? ทางที่จ� ะพิิจารณาเรื่อ� งนี้� ก็จ็ ะต้อ้ งมองกัันไปตั้ง� แต่ว่ ่่า ใครมันั ทุกุ ข์ม์ ากที่�สุด ร้อ้ นมากที่ส� ุดุ หรืออยู่�ในใจกลางเตาหลอมยิ่ง� กว่า่ ใคร? มันั ก็็ไม่่มีใี ครนอกจากพวกฆราวาส. แล้ว้ เมื่่�อเป็น็ ดังั นี้�แล้้วใครเล่า่ ที่� จะต้อ้ งการเครื่อ� งดับั ไฟ หรือว่า่ สิ่ง� ที่จ� ะมากำ�ำ จัดั ความทุกุ ข์ด์ ้ว้ ยประการ ทั้ง� ปวง? มันั ก็พ็ วกฆราวาสนั้น� แหละ พวกที่อ� ยู่�กลางกองไฟจึงึ ต้อ้ งหา เครื่อ� งดับั ไฟให้พ้ บในท่า่ มกลางกองไฟ มันั ดิ้น� ไปที่�ไหนไม่ไ่ ด้้; เพราะ ไม่่มีีอะไรนอกจากไฟ, ไม่่มีีอะไรนอกจากธรรมชาติิชนิิดที่�ไปยึึด เข้้าแล้้ว เป็น็ ไฟทั้�งนั้�น. เพราะฉะนั้น� จะต้อ้ งหาจุุดที่�เย็น็ ที่�สุดที่�กลาง กองไฟนั่น� เอง มันั ก็ค็ ืือความว่า่ งจากตััวตนของตน คืือสุุญญตา. ฆราวาสต้้องหาให้้พบสุุญญตา ต้้องอยู่�ในขอบวงของสุุญญตา ถ้้าไม่่อยู่�ตรงจุดุ ศููนย์ก์ ลางของสุุญญตาได้้ อย่า่ งน้้อยอย่า่ งเลวที่�สุดุ ก็็ ควรจะอยู่�ในขอบวงของสุญุ ญตาคืือรู้เ� รื่�องความว่า่ งตามสมควรที่�จะรู้.� นี่แ� หละจึงึ จะนับั ว่า่ เป็น็ ประโยชน์ส์ ุขุ ตลอดกาลนานของพวกฆราวาส. พวกนี้�เขาไปถามว่่า อะไรจะเป็็นประโยชน์์สุุขเกื้�อกููลสิ้�นกาล นานแก่พ่ วกข้า้ พระองค์์? พระพุทุ ธเจ้้าตรััสตอบว่่า “สุญุ ฺฺตปฺปฺ ฏิิสํํ- ยุุตฺตฺ า โลกุตุ ฺฺตรา ธมฺมฺ า” แปลว่่า ธรรมทั้้�งหลายที่�่อยู่�เหนืือวิสิ ััยโลก ที่่�เนื่�องเฉพาะอยู่�ด้้วยสุุญญตา. โลกุุตฺฺตรา - อยู่�เหนืือวิิสััยโลก ก็็คืือ 40

ว่า่ มัันอยู่�เหนืือไฟ; เพราะเราหมายความในที่�นี้ว� ่่า โลกนี้ม� ัันคืือไฟ. ฉะนั้�น โลกุุตฺฺตรา ต้้องอยู่�เหนืือไฟ. และที่�ว่่าเนื่่�องเฉพาะอยู่�ด้วย สุุญญตานั้�นมัันย่อ่ มต้้องถึงึ ตััวความว่่าง. ความว่า่ งจากความยึึดมั่�น ถืือมั่�น ว่่าตัวั เราหรือว่า่ ของเรา. ดัังนั้�น “สุุญฺฺตปฺฺปฏิิสํํยุุตฺฺตา โลกุุตฺฺตรา ธมฺฺมา” นั้�น จึึงคืือ ของขวััญสำำ�หรัับฆราวาสโดยตรง ที่�พระพุุทธเจ้้าท่่านทรงมอบให้้ โดยตรง เป็็นพระพุทุ ธภาษิิตที่�ยืืนยันั อยู่�อย่่างนี้�. ขอให้ล้ องคิดิ ดูใู หม่่ ว่่ามัันจำ�ำ เป็็นเท่่าไรที่�จะต้้องสนใจ และมีีเพีียงเรื่�องเดีียวจริิงหรือไม่่ ไม่ต่ ้้องพูดู ถึึงเรื่อ� งอื่น�่ กันั เลย. ในบาลีีสัังยุุตตนิิกายนั้�น ได้้ตรััสยืืนยัันไว้้ชััดว่่า สุุญญตาคืือ นิพิ พาน นิิพพานคืือสุญุ ญตา; ในที่�แห่่งนั้น� มันั มีีเรื่อ� งที่จ� ะต้้องให้ต้ รัสั อย่่างนั้�น ซึ่�่งเป็น็ ความจริิงง่า่ ยๆ ว่า่ นิิพพานคืือสุญุ ญตา สุุญญตาคืือ นิพิ พาน ก็ห็ มายถึงึ ว่า่ งจากกิเิ ลส และว่า่ งจากความทุกุ ข์.์ ฉะนั้น� นิพิ พาน นั่�นแหละคืือเรื่�องสำ�ำ หรัับฆราวาส. ถ้้าฆราวาสยัังไม่่รู้�ความหมาย ของนิพิ พาน ยังั ไม่ไ่ ด้้อยู่่�ในขอบวงของนิพิ พาน ก็แ็ ปลว่า่ อยู่่�กลางกองไฟ มากกว่า่ คนพวกไหนหมด. นิิพพานก็็ขยายความออกไปได้้ชััดๆ ว่่า ว่่างจากความทุุกข์์ รวมทั้ง� ว่า่ งจากกิเิ ลสที่เ� ป็น็ เหตุใุ ห้เ้ กิดิ ทุกุ ข์;์ ในขณะใดพวกเรามีจี ิติ ใจ ว่่างจากตััวตน - ว่่างจากของตนอยู่�บ้าง ก็็เป็็นนิพิ พาน. เช่น่ ขณะที่�นั่ง� อยู่�ที่�นี่� เดี๋�ยวนี้� เวลานี้;� อาตมายืืนยัันได้้ว่่าทุกุ คน 41

หรื อแทบจะทุุกคนนี้� มีีจิิตว่่างจากความรู้�สึกว่่าตััวตนหรื อของตน เพราะมัันไม่่มีีอะไรมาก่อ่ ให้้เกิดิ ความรู้�สึกอย่่างนั้น� . มันั มีแี ต่่คำำ�พููด ที่อ� าตมากำำ�ลังั กล่า่ วไปในทางที่�ให้้เกลียี ดชัังตัวั ตน หรือของตน; และ ท่่านทั้�งหลายกำ�ำ ลัังสนใจฟััง เรื่�องมัันก็็ไม่่มีีโอกาสที่�จะเกิิดความรู้�สึก ว่่าตัวั ตน. แล้้วลองคิดิ ดูวู ่า่ ใจมัันว่า่ งหรือไม่่ว่่าง? ว่่างจากตััวตนหรือ ของตนนั้น� มันั ว่่างหรือไม่ว่ ่า่ ง? ถ้้ามันั ว่่างอยู่�บ้างใช้้คำำ�ว่า่ “อยู่�บ้าง” เท่า่ นั้�น ไม่่ใช่ท่ั้ง� หมดหรือตลอดกาล; นั่น� ก็็เรีียกได้้ว่า่ ท่า่ นทั้�งหลาย กำ�ำ ลัังอยู่่�ในขอบวงของนิิพพาน ในขอบวงของธรรมะประเภทที่�เรีียก ว่า่ นิิพพาน แม้ว้ ่่าไม่เ่ ด็ด็ ขาดและสมบููรณ์ก์ ็ย็ ัังเป็็นนิิพพานอยู่�นั่�นเอง. .... .... .... .... ธรรมะมีอี ยู่่�หลายความหมาย หลายชั้�น หลายระดับั . ธรรมะที่เ่� ป็น็ ความหมายของนิพิ พาน หรือในระดับั ของนิพิ พาน นั้�น มัันอยู่่�ที่่�จิิตของท่่านทั้�งหลายที่�กำำ�ลัังว่่างจากความรู้�สึึกว่่าตััวตน หรือของตนอยู่�บ้้างในบางขณะ. เพราะฉะนั้�น ขอให้้กำำ�หนดจดจำ�ำ ความรู้�สึกอัันนี้�ที่�นี่�และเดี๋�ยวนี้�ไว้้ให้้ดีีๆ และให้้มัันติิดไปที่�บ้้านด้้วย. บางทีีกลัับไปที่�บ้้าน แล้้วมัันจะรู้�สึกเหมืือนกัับขึ้�นไปบนเรือนของคน อื่น่� หรือว่า่ ไปทำ�ำ การทำ�ำ งานอะไรที่บ� ้า้ น จะได้ม้ ีคี วามรู้�สึกว่า่ เหมืือนกับั ไปช่ว่ ยงานของคนอื่น่� ที่บ� ้า้ นคนอื่น�่ ; อย่า่ งนี้ย�ิ่ง� ๆ ขึ้น� ไปแล้ว้ มันั ไม่ท่ ุกุ ข์.์ บ้า้ นหรือการงานที่�เคยเป็็นทุกุ ข์์นั้�น มันั จะไม่่ทุกุ ข์์; แต่จ่ ะเป็น็ อยู่�ด้วย 42

จิติ ว่่างจากตััวตนหรือของตนอยู่�ตลอดเวลา เรีียกว่า่ เอานิพิ พาน หรือ เอาสุุญญตา เป็็นพระเครื่อ� งรางแขวนคออยู่�เสมอ จะคุ้�มครองป้้องกันั ความทุุกข์ห์ รืออุปุ ัทั ทวะ เสนียี ดจัญั ไรนี้�โดยประการทั้�งปวง. นี้�แหละ เป็น็ เครื่อ� งรางศัักดิ์ส� ิทิ ธิ์์ข� องพระพุทุ ธเจ้้าจริงิ ๆ นอกนั้น�้ เป็น็ เรื่อ� งมายา. ทีนีี้พ� ูดู อย่่างนี้� เดี๋ย� วจะเป็็นการโฆษณาชวนเชื่่�อ ท่า่ นทั้ง� หลาย ต้อ้ งไม่ค่ ิิดว่่าอาตมาเป็็นคนเดินิ ตลาดขายสินิ ค้า้ ของพระพุุทธเจ้า้ จะ ต้้องคิดิ ว่า่ เราเป็น็ เพื่่�อนทุกุ ข์์ เกิดิ แก่่ เจ็บ็ ตาย ด้้วยกันั เป็น็ สาวกของ พระสัมั มาสััมพุุทธเจ้า้ ด้้วยกััน; ถ้า้ จะพูดู เรื่�องอะไรที่เ� ป็น็ เรื่อ� งสมมติิ ชี้�ชวนให้้เกิิดความสนใจนี้� ก็็เพราะว่่ามีีความหวัังดีีต่่อกััน. แต่่ถ้้า ใครมีสี ติปิ ัญั ญามากกว่า่ นั้น� ก็็อาจจะเห็็นได้ด้ ้้วยตนเอง โดยไม่ต่ ้อ้ ง เชื่อ�่ อาตมา ไม่ต่ ้้องเชื่อ่� ตามอาตมา ก็ม็ ีที างที่�จะสนใจศึึกษาต่อ่ ไปได้้ ถึงึ ความจริิงที่เ� ป็น็ ปรมัตั ถสััจจะนี้�ยิ่ง� ขึ้น� ไปทุุกที.ี ถ้้าเป็็นอย่่างที่�กล่่าวมานี้�แล้้ว ก็็ต้้องเขยิิบการศึึกษานี้�เลื่่�อนสููง ขึ้�นไปถึงึ เรื่�องธาตุ.ุ คำำ�ว่า่ “ธาตุ”ุ นี้�ก็มีีความหมายเช่น่ เดีียวกัับคำ�ำ ว่า่ “ธรรม” ราก ของศััพท์์ก็็เป็็น root เดีียวกัันด้้วย คำำ�ว่่าธรรมะนี้�มาจากคำำ�ว่่า ธร แปลว่่า ทรง คืือทรงตัวั มัันอยู่�ได้เ้ หมืือนที่�กล่า่ วอธิบิ ายมาแล้้ว. คำ�ำ ว่า่ ธาตุุ นี้ก� ็เ็ หมืือนกััน นัักศััพทศาสตร์์เขายอมรับั ว่า่ มัันมาจากคำ�ำ ว่่า ธร ด้ว้ ยเหมืือนกันั ก็แ็ ปลว่่า ทรง. เพราะฉะนั้น� คำำ�ว่า่ ธาตุุ นี้� ธรรมะ : ที่เ� ปลี่�ยนแปลงก็ม็ ีีการทรงตัวั มันั อยู่�ได้้ ด้้วยการเปลี่ย� นแปลง. ที่ไ� ม่่ 43

เปลี่�ยนแปลง ก็ท็ รงตัวั อยู่�ได้้ ด้ว้ ยการไม่่เปลี่�ยนแปลง. ฉะนั้�น เรา ต้้องมาเรีียนถึงึ สิ่ง� ที่�ไม่่อาจเป็น็ ตัวั ตนได้้ คืือสิ่�งที่เ� รีียกว่่า ธาตุุ นี้�บ้้าง. ท่่านทั้�งหลายรู้�จักธาตุุชนิิดไหนกัันบ้้าง ที่�จะเอาเป็็นตััวความ ว่่างได้้? คนที่�เรีียนฟิิสิิกส์์หรือเคมีี ก็็รู้�เรื่�องธาตุุแต่่ฝ่่ายวััตถุุล้้วนๆ เป็น็ ธาตุแุ ท้ก้ี่ส� ิบิ อย่า่ งหรือกี่ร� ้อ้ ยอย่า่ งและก็ย็ิ่ง� พบเรื่อ� ยๆ. ธาตุอุ ย่า่ งนี้� เป็็นความว่่างไปไม่่ได้้ หรื อว่่าถ้้าว่่างก็็เป็็นความหมายอัันลึึกของ สิ่�งเหล่า่ นี้� เพราะว่า่ นี้�เป็น็ แต่่เพียี งรูปู ธาตุ.ุ .... .... .... .... ทีีนี้�ยังั มีธี าตุฝุ ่า่ ยจิิตใจ ฝ่า่ ยวิญิ ญาณ ฝ่า่ ยนามธรรม อีีกธาตุุ หนึ่�ง ซึ่�่งเราไม่่อาจจะพิิสููจน์์ได้้ด้้วยวิิชาฟิิสิิกส์์หรือเคมีี อย่่างนั้�นมััน ก็็ต้้องเรีียนวิิชาวิิทยาศาสตร์์อย่่างของพระพุุทธเจ้้า จึึงจะรู้�เรื่�องนาม ธาตุุ หรืออรูปู ธาตุุ คืือธาตุุที่�ไม่ม่ ีรี ููป และเป็น็ แต่่เพียี งนามหรือเรื่�อง ทางจิิต ทางเจตสิกิ ทางจิติ ใจ. ที่ว� ่า่ มาถึงึ แค่่นี้เ� รารู้�มา ๒ ธาตุแุ ล้ว้ . สิ่�งที่�เรียี กว่า่ ความว่่างนี้�อยู่�ในธาตุไุ หน? ถ้า้ ใครคิดิ ว่า่ ความว่า่ งเป็น็ รูปู ธาตุหุ รือวัตั ถุธุ าตุุ เพื่อ�่ นก็ห็ ัวั เราะ ตาย. บางคนอาจจะคิดิ ว่า่ ความว่า่ งนี้ค� งจะเป็น็ นามธาตุหุ รืออรูปู ธาตุ;ุ อย่า่ งนี้พ� ระอริยิ เจ้า้ ก็ห็ ััวเราะตาย หัวั เราะคนคนนั้�น. เพราะว่า่ ความ ว่่างนี้ม� ัันไม่่ใช่่ทั้ง� รููปธาตุุและทั้ง� อรูปู ธาตุุ มันั ยัังมีีธาตุุของมัันอีกี ชนิดิ หนึ่ง� ซึ่�่งไม่อ่ ยู่�ในความหมายของคนธรรมดาจะพููดกััน ท่่านเลยเรีียก 44

มันั ว่า่ นิโิ รธธาตุุ. วัตั ถุธุ าตุุ หรือ รูปู ธาตุุ นั้น� ก็ห็ มายถึงึ ของที่เ� ป็น็ วัตั ถุนุี้อ� ย่า่ งหนึ่ง� แล้ว้ จะเป็น็ รููป เสียี ง กลิ่�น รส สััมผััส อะไรก็็ตาม. แล้้วอรููปธาตุุ นั้น� หมายถึงึ จิติ ใจ จิติ เจตสิกิ หรือความรู้�สึกคิดิ นึกึ ที่เ� กิดิ ขึ้น� ในทางจิติ ทางเจตสิิก นี้เ� รีียกว่า่ อรููปธาตุุ. แล้้วมัันจะมีธี าตุชุ นิดิ ไหนอีีกที่ม� ันั จะ ไม่่ซ้ำ��ำ กัันกัับสองธาตุุนี้�? มันั ก็ม็ ีีได้้ทางเดีียวเพีียงว่า่ ธาตุุที่�มันั ตรงกันั ข้า้ มจากสองอย่่างนี้� และเป็็นที่�ดับั สิ้�นหายไปหมดของสองธาตุุนี้ด� ้้วย ท่่านจึึงเรีียกมัันว่่า นิิโรธธาตุุ, บางทีีก็็เรีียกว่่า นิิพพานธาตุุ บางทีี ก็เ็ รีียกว่่า อมตธาตุ.ุ ที่�เรียี กว่่า นิิโรธธาตุุ หรือ นิพิ พานธาตุุ นั้น� ล้้วนแต่แ่ ปลว่่าดับั . ธาตุแุ ห่ง่ ความดับั คืือธาตุแุ ห่ง่ ความดับั ของธาตุอุื่�นๆ ทั้ง� หมด. หรือว่า่ ธาตุเุ ป็น็ ที่่�ดับั ของธาตุุอื่�น่ ๆ ทั้�งหมด. ที่เ� รียี กว่า่ อมตธาตุุ แปลว่า่ ธาตุทุี่�ไม่ต่ ายนั้น� หมายความว่า่ ธาตุุ อื่น�่ ๆ นอกจากนี้ม� ันั ตายหมด มันั ตายได้้ มันั ตายเป็น็ . ส่ว่ นนิโิ รธธาตุุ นี้� ไม่่เกี่�ยวกับั การเกิิดหรือการตาย; แต่่ว่่ากลัับเป็็นที่ด� ัับสิ้�นของธาตุุ อื่น่� ๆ. สุญุ ญตาก็ค็ ืือสิ่ง� ซึ่ง่� อยู่�ในธาตุพุ วกนี้� หรือเป็น็ ธาตุพุ วกนี้จ� ะเรียี ก ว่่า สุุญญตธาตุุ ก็็ได้้ เป็็นธาตุุอันั เป็็นที่�ทำำ�ความว่า่ งให้แ้ ก่ธ่ าตุอุ ื่่น� ๆ. เพื่อ่� ความเข้้าใจสิ่ง� ที่�เรีียกว่า่ “ธาตุ”ุ ชนิดิ ที่ท� ำ�ำ ให้เ้ ข้า้ ใจธรรมะ ได้้แล้้ว ต้้องเรีียนธาตุุอย่่างที่�กล่่าวมานี้� อย่่าไปมััวหลงเข้้าใจว่่ารู้�จัก ธาตุดุ ิิน ธาตุนุ ้ำ��ำ ธาตุุไฟ ธาตุุลม เท่า่ นั้�นแล้้วก็็พอแล้้ว มันั เป็น็ เรื่�อง 45

ของเด็็กอมมืือ. ก่่อนพุุทธกาลเขาก็็พููดเขาก็็สอนกัันอยู่� มัันต้้องรู้� ต่่อไปถึึงวิิญญาณธาตุุ คืือธาตุุทางนามธรรมหรื อวิิญญาณ แล้้วก็็ อากาศธาตุุ แล้้วก็็สุญุ ญตธาตุุ กล่า่ วคืือธาตุคุ วามว่่างเข้า้ ไปอีีกทีีหนึ่�ง ซึ่ง่� เป็น็ ที่ด� ัับหมดของ ดิิน น้ำ��ำ ลม ไฟ อากาศ วิญิ ญาณ. แปลว่่าเรา มีีธาตุุที่�ประหลาดที่�สุุดในพุุทธศาสนานี้� เรีียกว่่าธาตุุแห่่งความว่่าง หรือสุญุ ญตธาตุุ หรือนิิโรธธาตุุ หรือนิพิ พานธาตุุ หรืออมตธาตุุ. ดิิน น้ำ��ำ ลม ไฟ นั้�นมัันอยู่�ในพวกรูปู ธาตุ;ุ ส่ว่ นจิติ ใจ วิญิ ญาณ เจตสิิก อะไรต่่างๆ นั้�น มัันอยู่�ในพวกอรููปธาตุุ; ส่่วนนิิพพานหรือ สุญุ ญตานี้� มันั อยู่�ในพวกนิิโรธธาตุุ. ท่่านต้อ้ งไปนั่�งหาเวลาสงบๆ นั่�งดููธาตุใุ ห้ทั่�วทุกุ ธาตุุ แล้้วเห็็น ชััดว่่ามัันมีีอยู่่� ๓ ธาตุุ อย่่างนี้�จริิงๆ ก็็จะเริ่�มพบสุุญญตธาตุุ หรือ นิพิ พานธาตุุ แล้้วจะเข้้าใจสิ่�งที่เ� รีียกว่่า อนัตั ตา หรือสุญุ ญตา ที่เ� รา กำำ�ลัังกล่่าวนี้�ได้ม้ ากขึ้�น. เราอาจจะวางหลักั ได้ว้ ่า่ ในตัวั ความยึดึ มั่�นถือื มั่่�นว่า่ ตัวั กูวู ่า่ ของกูู นั่น� แหละมันั มีรี ููปธาตุุและอรููปธาตุุ; แล้ว้ ในที่ว� ่า่ งจากความยึดึ มั่�นถืือ มั่น� ว่า่ ตัวั กูวู ่า่ ของกูนูั่น� แหละมันั มีนี ิโิ รธธาตุ;ุ หรือจะกลับั กันั เสียี ก็ไ็ ด้ว้ ่า่ ถ้้ามีีนิโิ รธธาตุเุ ข้้ามา มันั ก็เ็ ห็็นแต่่ความว่า่ ง : เห็น็ ความว่่างจากตัวั กูู - ของกูนูี้ป� รากฏชััดออกมา. ถ้า้ ธาตุุนอกนั้�นเข้า้ มา มัันก็็เห็น็ เป็็นรููป, เป็น็ นาม : เป็็นรูปู เป็็นเสียี ง เป็น็ กลิ่น� เป็็นรส เป็็นโผฏฐััพพะ, เป็็น เวทนา สััญญา สัังขาร วิิญญาณ อะไรยุ่�งไปหมด, แล้้วก็็มีีส่่วนที่� 46

จะเกิิดความยึดึ ถืือทั้ง� นั้�น : ถ้้าไม่ย่ ึึดถืือในทางรักั ก็จ็ ะยึดึ ถืือในทาง ไม่ร่ ัักคืือเกลียี ด. ความยึึดถืือของคนเรามีี ๒ อารมณ์์นี้� เท่่านั้�น คืือพอใจกัับ ไม่่พอใจ, เราเคยชิินกันั อยู่�แต่ก่ ับั ๒ อารมณ์์นี้เ� ท่า่ นั้�น : เราสนใจกันั อยู่�แต่อ่ ารมณ์ท์ี่น� ่า่ รักั เพื่อ�่ จะให้ไ้ ด้ม้ า, และสนใจอยู่�แต่ท่ี่จ� ะหลบเลี่ย� ง อารมณ์์เกลีียดหรือทำำ�ลายมัันเสีีย; เรื่�องมัันก็็วุ่�นอยู่�ตลอดเวลาไม่่มีี ว่า่ ง. ถ้้าให้้ว่า่ งจะทำ�ำ อย่า่ งไร? ก็ค็ ืือเราอยู่�เหนืือหรือว่า่ ชนะธาตุุที่ว�ุ่�น เหล่า่ นั้�น มาอยู่�กับธาตุุที่�ว่่าง มันั ก็็ว่า่ งได้้. อีีกอย่่างหนึ่�งท่่านเรีียก เพื่่�อแสดงคุุณสมบััติิของรููปธาตุุว่่า “เนกขัมั มธาตุ”ุ . เนกขัมั มธาตุุ นี้เ� ป็น็ เหตุใุ ห้อ้ อกจากกาม, กามารมณ์.์ แล้้วถััดมาธาตุุที่�สองเรีียกว่า่ อรูปู ธาตุุ ธาตุุนี้�เป็น็ เหตุใุ ห้้ออกจากรููป, แล้ว้ ธาตุุที่ส� ามเรีียกว่า่ นิิโรธธาตุุ ธาตุุนี้�เป็็นเหตุใุ ห้้ออกจากสัังขตะ. ถ้้าพููดเป็็นบาลีีอย่่างนี้�เรื่�องชัักจะยุ่�งขึ้�นทุุกทีี จะต้้องพููดเป็็น ไทยจะดีีกว่า่ คืือว่า่ ถ้้าเรามองเห็็นเนกขัมั มธาตุุ ก็็จะเป็็นเหตุุให้อ้ อก จากกาม - กามารมณ์์ หมายความว่่าเรามองเห็็นสิ่�งที่�ตรงข้้ามจาก กาม เห็็นธาตุุชนิิดที่�ตรงข้้ามจากกาม เรีียกว่่า เห็็นเนกขััมมธาตุุ. เห็น็ กามเป็น็ ไฟ แล้ว้ ก็็ไม่่ถููกไฟนั้�นเผา คืือตรงกัันข้้ามอย่า่ งนี้�เรีียกว่่า เนกขััมมธาตุุ. จิิตที่�โน้้มไปสู่�การออกจากกามนี้�เรีียกว่า่ ประกอบอยู่� ด้้วยเนกขััมมธาตุ.ุ ทีนีี้ส� ัตั ว์ท์ั้ง� หลายที่พ� ้น้ ไปจากกามได้น้ั้น� ไปติดิ อยู่�ที่ข� องสวยงาม 47

สนุกุ สนานที่ไ� ม่เ่ กี่�ยวกับั กาม; แต่ว่ ่า่ ยังั เกี่�ยวกับั รูปู คืือรูปู ธรรมที่บ� ริสิ ุทุ ธิ์.� อย่่างพวกฤษีี มุุนีี โยคีีติิดความสุุขในรููปฌานเหล่่านี้�เป็็นต้้น, หรือ บางทีเี ราเห็็นคนแก่ๆ่ บางคน ติดิ ในเครื่อ� งลายคราม ต้้นบอน ต้้น โกสน อะไรไม่่เกี่ย� วกับั กาม แล้้วหลงใหลยิ่�งกว่่ากามก็ม็ ีี. อย่่างนี้�ก็็ สงเคราะห์เ์ รียี กว่่า เป็็นพวกติิดอยู่�ในรูปู เหมืือนกััน ออกจากรููปไม่่ได้้. ถ้้าจะออกจากรูปู ให้้ได้้ ก็็ต้้องมีีความรู้�เรื่�องอรููปธาตุุ คืือธาตุุที่� เป็น็ ไปเหนืือรููป. ทีีนี้�มัันจะไปติดิ อะไรอีีก ถ้้ามันั หลุดุ รููปไปได้้ ไม่่ติิด รูปู หลุดุ รูปู ไปได้ก้ ็ไ็ ปติดิ สิ่ง� ที่ม� ีปี ัจั จัยั ปรุงุ แต่ง่ ทั่ว� ๆ ไป ที่ม� ากไปกว่า่ นั้น� ข้้อนี้�ก็็ได้้แก่ก่ ุศุ ลธรรมทั้ง� ปวง. อกุุศลธรรมเราอย่า่ พูดู ถึงึ ก็ไ็ ด้้ เพราะ มันั ไม่่มีใี ครเอา เพราะมีีแต่ค่ นเกลีียด. แต่่กุศุ ลทั้ง� ปวงที่�ปรุุงแต่่งให้้ เป็็นคนดีคี นวิิเศษเกิิดในสวรรค์์ ฝัันกันั ไม่ม่ ีทีี่ส�ิ้น� สุดุ นี้�เรียี กว่า่ สังั ขตะ คืือ สิ่�งปรุงุ แต่ง่ . คนเราก็ม็ ัวั เมาอยู่�แต่ท่ี่จ� ะเป็น็ ตัวั ตนเป็น็ ของของตน: เป็็นตััวตนอย่่างสััตว์์เดีียรััจฉานไม่่ดีี ก็็เป็็นอย่่างมนุุษย์์, เป็็นอย่่าง มนุษุ ย์ไ์ ม่ด่ ีี ก็เ็ ป็น็ อย่า่ งเทวดา, เป็น็ อย่า่ งเทวดาไม่ด่ ีี ก็เ็ ป็น็ อย่า่ งพรหม, เป็น็ อย่่างพรหมไม่่ดีี ก็เ็ ป็น็ อย่่างมหาพรหม; แล้้วก็ม็ ีีตััวตนอยู่�เรื่อ� ย. อย่่างนี้�เรีียกว่่าสัังขตะทั้ง� นั้�น. ต่อ่ เมื่อ�่ เข้้าถึงึ นิโิ รธธาตุุ มันั จึึงจะออก จากสังั ขตะได้้. นี่�แหละธาตุุสุุดท้้าย เป็็นนิิพพานธาตุุ คืือเป็็นที่�ดัับสิ้�นแห่่ง ตััวกููและของกูู. ถ้้าดัับได้้สิ้�นเชิิงจริิงๆ ก็็เป็็นพระอรหัันต์์ เรีียกว่่า อนุุปาทิิเสสนิิพพานธาตุุ. ถ้้ายัังดัับไม่่ได้้สิ้�นเชิิงก็็เป็็นพระอริิยเจ้้าที่� 48

รองๆ ลงมา เรียี กว่า่ สอุปุ าทิเิ สสนิพิ พานธาตุุ คืือตัวั กูยู ังั มีเี ชื้อ� เหลืืออยู่� บ้า้ ง ไม่ว่ ่า่ งทีีเดียี ว หรือมัันว่่างได้้แต่่มัันไม่่ถึึงที่�สุดุ ไม่่ใช่่ ปรมํํ สุญุ ฺฺํํ. รวมความแล้ว้ เราจะต้้องรู้ธ� าตุุ คืือหมายถึงึ ส่ว่ นประกอบแท้้จริงิ ของสิ่�งทั้�งปวงนี้� ให้้เข้้าใจในลัักษณะอย่่างนี้�. คืือว่่าโดยหลัักใหญ่่ แล้้วมันั จะมีีอยู่�คือ : รููปธาตุุ - ธาตุทุี่ม� ีีรููป, อรููปธาตุุ - ธาตุทุี่�ไม่่มีีรููป, นิิโรธธาตุุ - ธาตุุซึ่�่งเป็็นที่�ดัับทั้�งของรููปและของอรููป; อย่่างนี้�แล้้ว กล้้าท้้าว่า่ ไม่่มีอี ะไรที่จ� ะอยู่�นอกไปจากคำำ� ๓ คำำ�นี้้.� นี่�แหละ เราลองเรีียนวิิทยาศาสตร์์อย่่างของพระพุุทธเจ้้ากััน บ้้าง ที่�มัันครอบงำ��ทั้้�งฝ่่ายกาย (physics) ฝ่่ายจิิต (mental) และ ฝ่า่ ยวิญิ ญาณ (spiritual) : เป็็นเหตุุให้้เรารู้จ� ัักสิ่�งทั้�ง้ หลายทั้ง้� ปวงหมด ครบถ้้วนจริงิ ๆ เราจึงึ เรียกว่า่ เรารู้จ� ัักสิ่ง� ทั้ง�้ หลายทั้ง้� ปวงหมดจริงิ จึงึ จะ ไม่่สามารถยึึดมั่�นถืือมั่�นสิ่�งทั้�งปวงได้้อีีกต่่อไป. ไม่่มีีความยึึดมั่�น ถืือมั่น� ในสิ่ง� ทั้ง� หลายทั้ง� ปวงนั้น� คืือความว่า่ ง ความว่า่ งของพุทุ ธศาสนา เรามัันต้อ้ งมีคี วามหมายอย่่างนี้�. .... .... .... .... ทีนีี้� เราจะได้พ้ ูดู กันั ถึงึ สิ่�งประกอบเล็็กๆ น้้อยๆ ให้้ยิ่�งขึ้น� ไป อีีก เพื่่�อแวดล้้อมความเข้้าใจในเรื่�องเกี่�ยวกับั ความว่า่ ง. ในอุุปริิปััณณาสก์์ มััชฌิิมนิิกาย มีีพุุทธภาษิิตว่่า สุุญญตานี้� เรียี กว่่ามหาปุุริิสวิิหาร สุุญญตาคืือมหาปุรุ ิิสวิหิ าร แปลว่่า ความว่า่ ง 49

นั้�นแหละคืือวิหิ ารของมหาบุุรุุษ คืือว่า่ มหาบุรุ ุุษอยู่�ในวิหิ ารนี้� วิหิ ารนี้� ได้้แก่ค่ วามว่่าง. นี่�หมายความว่่า มหาบุรุ ุุษนั้น� ไม่่มีีจิติ ใจที่�เที่�ยวไป ซอกแซกอยู่�ที่�มุมุ นั้�นมุมุ นี้�เหมืือนปุุถุชุ น แต่ว่ ่า่ มีีจิติ ใจอยู่�ในความว่่าง อยู่�ด้วยความว่า่ ง หรือเป็็นความว่่างเสีียเลย; ฉะนั้�น จึงึ เรียี กสุุญญตา ว่า่ มหาปุรุ ิสิ วิหิ าร โดยเฉพาะก็ค็ ืือพระพุทุ ธเจ้า้ และพระอรหันั ต์น์ั่น� เอง. ความว่า่ งเป็น็ วิหิ าร เป็น็ ที่อ� ยู่�ของมหาบุรุ ุษุ ก็แ็ ปลว่า่ จิติ ใจของท่า่ นอยู่� ด้ว้ ยความว่า่ ง คืือมีีลมหายใจอยู่�ด้วยความว่า่ ง. พระพุุทธเจ้้าท่่านตรััสยืืนยัันส่่วนพระองค์์เองโดยเฉพาะว่่า ตถาคตอยู่�ด้้วยสุุญญตาวิิหาร คืือฆ่่าเวลาอยู่�ด้วยสุุญญตาวิิหารหรือ ให้้ชีีวิิตล่่วงไปๆ ด้้วยสุุญญตาวิิหาร. คืือว่่า เมื่่�อท่่านกำ�ำ ลัังแสดง ธรรมสอนคน จิติ ของท่่านก็็ว่า่ งจากตัวั ตนของตน, เมื่�อ่ ไปบิณิ ฑบาต หรื อทำ�ำ กิิจส่่วนพระองค์์ท่่าน จิิตของท่่านก็็ยัังว่่างจากตััวตนหรื อ ของตน, หรือเมื่อ�่ ท่า่ นทรงพักั ผ่อ่ นหาความสุขุ ส่ว่ นพระองค์์ ที่เ� รียี กว่า่ ยามว่่าง ทิวิ าวิิหาร สุขุ วิหิ าร อะไรนี้;� ท่่านก็็เป็็นอยู่�ด้วยความว่่างจาก ตััวตนหรือของตน ท่่านจึึงทรงยืืนยัันแก่่พระสารีีบุุตรว่่า ตถาคตให้้ เวลาล่่วงไปด้้วยสุญุ ญตาวิหิ าร. นี้�เราไม่่พููดกัันถึึงบุุคคลธรรมดาสามััญที่�เป็็นปุุถุุชน เราพููดถึึง มหาบุรุ ุษุ พูดู ถึึงพระพุุทธเจ้้า ว่า่ ท่่านมีลี มหายใจอยู่�อย่า่ งไร ท่่านอยู่� ในโบสถ์์วิิหารอะไร. ถ้้าเราอยากไปเห็็นกุุฎีีวิิหารของพระพุุทธเจ้้า แล้้ว อย่่าได้้นึึกถึึงเรื่�องอิิฐเรื่�องปููน เรื่�องอะไรที่�อิินเดีียกัันนััก. ลอง 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook