Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารสรุป พอ.การเงินฯ

เอกสารสรุป พอ.การเงินฯ

Published by Thaksinanan Suebsimma, 2019-07-03 03:38:57

Description: เอกสารสรุป พอ.การเงินฯ

Keywords: พอ.การเงิน

Search

Read the Text Version

ชอ่ื เอกสาร เอกสารสรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมเพ่ิมประสทิ ธภิ าพหวั หน้า เจ้าหน้าที่ ด้านการบริหารการเงนิ การคลงั ระดบั อาเภอ ประเภทเอกสาร เอกสารทางวชิ าการ ลกั ษณะเอกสาร เอกสารอัดสาเนาเย็บเลม่ ขนาดเอกสาร เอ 4 หนา 69 หน้า ท่ีปรกึ ษา นายวิลาศ บุญโต ผ้อู านวยการศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี คณะผูจ้ ัดทา นางสาวทบั ทมิ แทง่ คา นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ นางสาวกลั ยา โพธิวฒั น์ นักทรพั ยากรบคุ คล นางสาวชนาทิพย์ สยนานนท์ นักทรัพยากรบุคคล ผู้วเิ คราะห์ข้อมลู /ผู้พมิ พ/์ รวบรวม/เรยี บเรยี ง นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวทบั ทมิ แทง่ คา นักทรัพยากรบุคคล นางสาวกลั ยา โพธวิ ฒั น์ ออกแบบปก/รปู เล่ม นางนฤมล ศิริวัฒนสทิ ธ์ิ เจ้าพนกั งานการเงนิ และบญั ชีชานาญงาน นางสาวกัลยา โพธวิ ฒั น์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล ปที ีพ่ ิมพ์ 2562 แหลง่ เผยแพร่ - สถาบนั การการพัฒนาชมุ ชน กรมการพัฒนาชุมชน - ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี - สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี นครพนม มกุ ดาหาร ยโสธร รอ้ ยเอ็ด ศรีสะเกษ อานาจเจรญิ - เวป็ ไชตศ์ นู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี http://training-ubon.cdd.go.th/

(ก) คานา กรมการพัฒนาชมุ ชน มอบหมายให้ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินการโครงการเพิ่มประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าที่ด้านการบริหารการเงินการคลังระดับอาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าที่ด้านการเงินการ คลังระดับอาเภอ กลุ่มเป้าหมาย คือ พัฒนาการอาเภอ จานวน 102 รุ่น จาก 7 จังหวัดในพื้นที่ให้บริการ ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี โดยแยกดาเนินการ 2 ร่นุ ร่นุ ที่ 1 ดาเนินการระหว่างวนั ท่ี 20 – 22 มกราคม 2562 และรุ่นท่ี 2 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 28 – 30 มกราคม 2562 ณ ศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมเพิ่ม ประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีด้านการบริหารการเงินการคลังระดับอาเภอ รวมท้ังประเมินผลโครงการ เพ่อื ทราบผลสัมฤทธ์ิ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพอ่ื เป็นแนวทางในการนาไปปรบั ใช้ในการดาเนินงานคร้ังต่อไป ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี กุมภาพันธ์ 2562

สารบัญ (ข) คานา หนา้ สารบัญ (ก) สารบัญตาราง (ข) บทสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหาร (ค) ส่วนที่ 1 บทนา (ง) ความสาคญั 1 วตั ถปุ ระสงค์ 1 กลุม่ เป้าหมาย 1 ขนั้ ตอนและวิธดี าเนินงาน 2 งบประมาณดาเนนิ การ 2 ระยะเวลาดาเนินการ 2 ขอบเขตเน้ือหาหลักสตู ร 2 ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 2 ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ 2 สว่ นที่ 2 สรปุ เนื้อหาวชิ าการ เน้อื หาวชิ า 3 วิชาพระราชบัญญตั ิจดั ซ้ือจดั จา้ ง ปี 2560/การรา่ ง TOR 3 วิชาระเบียบคา่ ใชว้ า่ ด้วยการฝึกอบรม และอ่ืน ๆ 19 ส่วนที่ 3 การประเมินผลโครงการ วธิ ีการประเมนิ 25 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 27 เกณฑ์การประเมนิ 27 ผลการประเมิน 28 ภาคผนวก ภาพกจิ กรรมการฝกึ อบรม 45 รายชือ่ กลมุ่ เปา้ หมาย 62 ตารางการฝกึ อบรม 66 แบบประเมินรายวชิ า 67 แบบประเมนิ โครงการ 68

(ค) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงระดบั ความคดิ เห็นเกี่ยวกับเน้อื หาวิชาพระราชบัญญตั ิจดั ซื้อจดั จ้าง ปี 2560/TOR 28 2 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวิทยากรวชิ าพระราชบญั ญัติจัดซื้อจดั จ้าง ปี 2560/TOR 29 3 แสดงระดบั ความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เน้ือหาวชิ าระเบยี บคา่ ใชจ้ ่ายวา่ ดว้ ยการฝึกอบรมและอื่น ๆ 30 4 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวทิ ยากรวชิ าระเบียบค่าใช้จา่ ยว่าดว้ ยการฝึกอบรมและอื่น ๆ 31 5 แสดงระดับความคิดเหน็ เกี่ยวกับเน้ือหาวชิ าประเดน็ ปญั หาท่ี สตง.ตรวจพบบ่อย 32 6 แสดงระดับความพึงพอใจต่อวทิ ยากรวิชาประเด็นปัญหาท่ี สตง.ตรวจพบบอ่ ย 33 7 แสดงข้อมลู ทั่วไป 34 8 แสดงระดับการบรรลวุ ัตถุประสงค์ 35 9 แสดงระดบั ความรแู้ ละความเข้าใจดา้ นวชิ าการ (กอ่ นและหลังเข้ารว่ มกจิ กรรม) 36 10 แสดงระดับความมั่นใจในการนาความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปปรับใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน 37 11 แสดงระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวทิ ยากร 38 12 แสดงระดับความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าท่ี 39 13 แสดงระดบั ความพึงพอใจเก่ยี วกับการใหบ้ รกิ ารดา้ นอาคารและสถานท่ี 40 14 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกีย่ วกับการใหบ้ รกิ ารดา้ นคุณภาพ 41

(ง) บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร รายงานผลการฝึกอบรมโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีด้านการบริหาร การเงินการคลังระดับอาเภอ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน อบุ ลราชธานีเป็นหน่วยดาเนินการฝึกอบรมโครงการดังกลา่ ว ประจาปีงบประมาณ 2562 กลุ่มเป้าหมาย คือ พัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัดในพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี จานวน 102 คน แยกดาเนินการ 2 ร่นุ ๆ 3 วนั ร่นุ ที่ 1 ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 20–22 มกราคม 2562 รุน่ ที่ 2 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 28 – 30 มกราคม 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพหัวหน้า เจ้าหน้าท่ีด้านการบริหารการเงินการคลังระดับอาเภอ รูปแบบการฝึกอบรมใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การบรรยายประกอบสื่อ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติ สาหรับการ ประเมินผล กลุ่มเป้าหมายคือผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ขอ้ มูล ใช้แบบสอบถามประเมินผลรายวิชา และประเมินผลภาพรวมในระบบออนไลน์ แล้วนาผลที่ได้มา วิเคราะห์ข้อมูลเรียบเรียงแบบร้อยแก้วเชิงพรรณนา ใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย สรุปผลการฝึกอบรมได้ ดังนี้ ผลการฝกึ อบรม 1. ข้อมลู ทั่วไปของกลุ่มเปา้ หมาย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 40 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 51.28 และเพศชาย จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 48.72 สว่ นใหญ่มอี ายุระหวา่ ง 51-55 ปี จานวน 28 คน คิดเป็น ร้อยละ 35.90 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 46–50 ปี จานวน 320 คน คิดเป็นร้อยละ 23.20 อายุ ระหว่าง 46-50 ปี จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 32.05 อายุระหว่าง 56–60 ปี จานวน 21 คน คิดเป็นร้อย ละ 26.92 และอายุระหว่าง 41-45 ปี จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 กลุ่มเป้าหมายดารงตาแหน่ง พัฒนาการอาเภอจานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 89.74 และตาแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 10.26 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 57.69 และจบการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี จานวน 33 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 42.31 2. การบรรลุวัตถุประสงคข์ องโครงการ พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการ โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.41 3. ความคิดเห็นต่อความรู้ ความเข้าใจด้านวิชาทั้งกอ่ นและหลังเข้าร่วมกจิ กรรม จานวน 3 วิชา สรปุ ได้ ดงั นี้ พบวา่ ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมสว่ นใหญม่ รี ะดับความรู้ ความเขา้ ใจต่อเน้อื หาวชิ าก่อนเข้ารับ การฝึกอบรม โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลีย่ 3.38 และหลังการฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเข้าใจต่อเนื้อหาวชิ า โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉลีย่ 4.44 และเมื่อพิจารณาเรยี งลาดบั ค่าเฉลยี่ เป็นรายวชิ าไดด้ ังนี้ 1. วิชา พรบ.จัดซ้ือจัดจา้ ง ปี ๖๐/ TOR ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมส่วนใหญ่มรี ะดับความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เน้ือหาวชิ าก่อนเขา้ รับการฝึกอบรม

อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.31 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.37 2. วชิ า ระเบียบคา่ ใชจ้ ่ายวา่ ด้วยการฝกึ อบรมและอ่ืน ๆ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมสว่ นใหญ่มี ระดบั ความรู้ความเขา้ ใจตอ่ ประเดน็ เนื้อหาวิชาก่อนเขา้ รับการฝึกอบรม อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลยี่ 3.54 และหลงั การฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนอื้ วิชา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49 3. วิชา ประเดน็ ปญั หาท่ี สตง. ตรวจพบบ่อย ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมสว่ นใหญม่ ีระดบั ความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวชิ าก่อนเข้ารบั การฝกึ อบรม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.29 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเน้อื วิชา อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 4.46 4. ความคิดเห็นตอ่ การนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ จานวน 3 ประเด็น สรุปได้ดังนี้ พบว่า ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมสว่ นใหญ่มคี วามมั่นใจต่อการนาความร้ทู ี่ได้รับไปใชป้ ระโยชน์ ในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.56 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นราย ประเด็นจากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมมีความมั่นใจในการนาความรู้ ระเบียบค่าใช้จ่ายว่า ด้วย การฝึกอบรมและอื่น ๆ ไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.62 รองลงมา ตามลาดับคือ พรบ.จัดซ้ือจัดจ้าง ปี ๖๐/ TOR อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.54 และประเด็นปัญหาที่ สตง. ตรวจพบบอ่ ย อย่ใู นระดับมากทีส่ ุดคา่ เฉล่ีย 4.51 5. ความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านวิทยากร พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ ริการด้านวิทยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.52 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการ ฝกึ อบรมส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย อยู่ในระดบั มากที่สุด มี ค่าเฉล่ีย 4.65 รองลงมาตามลาดับคือความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยู่ใน ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 ความพึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับ มาก คา่ เฉลยี่ 4.42 และความพึงพอใจตอ่ การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 4.41 6. ความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าท่ี พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านการ ใหบ้ ริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.22 และเมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายประเด็นพบว่า ผู้เขา้ รบั การ ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่มีกริ ยิ า มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยใู่ นระดบั มาก ท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.53 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่กระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย 4.49 ความพึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง ฯลฯ) เหมาะสม อยู่ใน ระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 ความพงึ พอใจต่อห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมี ความสะอาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.24 ความพึงพอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม มีคุณภาพ เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.17 ความพึงพอใจต่อสัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลยี่ 3.99 และทม่ี คี วามพึงพอใจน้อยที่สุดคือ สญั ญาณ wifi ในห้องพัก อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 3.79 7. ความพึงพอใจตอ่ การให้บรกิ ารดา้ นอาคารสถานที่ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านอาคาร และสถานท่ี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.38 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้า รับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นขนาดห้องฝึกอบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผู้เข้า

อบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.53 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อห้องพัก มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 ความพึงพอใจต่อห้องอาหาร มีความเหมาะสม ถูกสุขลักษณะ อยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 4.37 และความพึงพอใจต่อห้องน้าอาคารฝึกอบรม มีความสะอาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.23 8. ความพึงพอใจตอ่ ดา้ นคณุ ภาพ พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการ ฝกึ อบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจตอ่ ประเด็นความรู้ท่ีได้รบั สามารถนาไปปรบั ใช้ในการปฏิบัติงานได้ อยู่ใน ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเนื้อหาหลักสูตรเป็นปัจจุบันทันต่อการ เปล่ียนแปลงมีค่าเท่ากับความพึงพอใจต่อความคุ้มค่าของการฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 และ ความพึงพอใจตอ่ ความสอดคล้องของเนอื้ หาหลักสูตรกบั ความตอ้ งการ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.36 9. กรมการพัฒนาชุมชนควรเพ่ิมเตมิ ความร้เู รื่องใด หรือฝกึ ทักษะดา้ นใดใหแ้ กท่ ่าน เพอ่ื ประโยชนใ์ น การปฏิบัตงิ าน นอกเหนือจากทที่ า่ นได้รบั จากการฝกึ อบรมหลกั สตู รน้ี 9.1 การสรา้ งสอ่ื การตลาด 9.2 การบรหิ ารองคก์ ร 9.3 การใช้ Application 9.4 การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ 9.5 ระเบียบข้อกฎหมายที่เก่ียงกับงานพฒั นาชุมชน 9.6 จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและวินัยข้าราชการ 9.7 การสร้างแบบประเมินบนมือถอื ผ่าน Application 9.8 มิติการพัฒนาชุมชนแนวใหม่ 9.9 หลักการบริหารในยคุ 4.0 9.10 การบรหิ ารงานท่ีมีประสิทธิภาพ / วิทยากรกระบวนการ / เทคนิคการนาเสนองาน 9.11 เทคนคิ การขบั เคล่ือนงานให้มีประสิทธิภาพ 9.12 งานบริหารบุคคลเชงิ ประสทิ ธภิ าพ 4.0 9.13 มิตกิ ารพฒั นาชมุ ชนแนวใหม่ 10. ผลการประเมนิ รายวิชา จานวน 3 วิชา สรปุ ผลการประเมินไดด้ งั น้ี 10.1 วิชา พระราชบัญญัติจัดซ้ือจัดจ้าง ปี 2560/TOR (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 62.75 ของกลุ่มเป้าหมาย) เกี่ยวกับประเด็นเน้ือหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวมตอ่ ประเดน็ ของเนอื้ หาวิชาการ อยู่ในระดับมาก 4.41 และเม่อื พจิ ารณา เรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ มี ความพึงพอใจตอ่ ความสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ มีคา่ เฉล่ีย 4.56 รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจตอ่ ความรู้ ทักษะ ท่ีได้รับเพิ่มเติมจากวิชาน้ี ได้ค่าเฉลี่ย 4.44 พึงพอใจต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของวิชา ได้ค่าเฉลี่ย 4.39 และพึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวิชา ได้ค่าเฉลี่ย 4.25 และประเด็นเกี่ยวกับวิทยากร พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.51 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อ ประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ พึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.70

รองลงมาตามลาดบั คอื พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย คา่ เฉลี่ย 4.56 พึงพอใจ ต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉล่ีย 4.55 พึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ เรียนรู้ คา่ เฉล่ยี 4.47 และพงึ พอใจต่อเทคนิคและวธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการถา่ ยทอดความรู้ ค่าเฉลยี่ 4.25 10.2 วิชาระเบียบค่าใช้จ่ายว่าด้วยการฝึกอบรมและอ่ืน ๆ (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ76.47 ของกลุ่มเป้าหมาย) เกี่ยวกับประเด็นเนื้อหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.48 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.53 คือ ความพึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวิชาและความพึงพอใจต่อ ความรู้ ทักษะ ทไ่ี ดร้ ับเพิ่มเตมิ จากวชิ านี้ รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ คา่ เฉล่ีย 4.49 และพึงพอใจต่อการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของวชิ า ค่าเฉล่ีย 4.37 และประเด็นเกีย่ วกับวิทยากร พบว่า ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวทิ ยากร ในภาพรวมอยใู่ น ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความ พึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความ คิดเห็น ค่าเฉล่ีย 4.67 รองลงมาตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉลี่ย 4.60 พึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉล่ีย 4.49 พึงพอใจต่อ เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉลี่ย 4.42 และพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ เรียนรู้ คา่ เฉลีย่ 4.40 10.3 วิชาประเด็นปัญหาที่ สตง. ตรวจพบบ่อย (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 73.53 ของกลุ่มเป้าหมาย) เก่ียวกับประเด็นเนื้อหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน ใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.37 และเมื่อ พิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คอื ความพึงพอใจต่อความชัดเจนของเน้ือหาวิชาเท่ากับความรู้ ทักษะ ที่ได้รับเพิ่มเติมจากวิชานี้ มีค่าเฉลี่ย 4.41 รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉล่ีย 4.33 และพึงพอใจต่อ การบรรลุวัตถุประสงค์รายวชิ า ค่าเฉลี่ย 4.32 และประเด็นเก่ียวกับวิทยากร พบว่า ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนนิ การของวิทยากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.49 และเม่ือ พิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น ค่าเฉล่ีย 4.67 รองลงมาตามลาดับ คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ)ค่าเฉล่ีย 4.59 พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.55 พึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอด ความรู้ ค่าเฉลีย่ 4.35 และพึงพอใจต่อการสรา้ งบรรยากาศในการเรียนรู้ คา่ เฉลี่ย 4.32 11. ขอ้ เสนแนะ 11.1 การพฒั นาหลักสตู ร ควรจดั ทาหลักสตู รใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ขอ้ มลู จากการสารวจความต้องการ 11.2 ควรนาขอ้ มูลทไี่ ด้จากการตดิ ตามประเมินผลกลมุ่ เป้าหมายในพนื้ ที่ไปพัฒนา หลักสูตรใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 11.3 ควรมีการพฒั นาศกั ยภาพพัฒนาการอาเภออยา่ งต่อเนอ่ื งทุกปี

1 ส่วนที่ 1 บทนา ความสาคญั กรมการพัฒนาชุมชน ประกาศขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี พ.ศ. 2560 – 2564 โดยมีเป้าหมายเศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ภายในปี 2564 และการขบั เคลื่อน นโยบายสานพลังประชารฐั ในการพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก แนวคดิ การดาเนนิ งานหน่ึงตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ (One Tambon One Product : OTOP) ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี วิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise : SE) และส่งเสริมการจัดตั้งบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม จากัด กรมการพัฒนาชุมชน จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรในทุกตาแหน่งให้มีความพร้อม ด้านองค์ความรู้ มีทักษะการทางานทั้งเชิงบริหาร และปฏิบัติการ รวมทั้งปลูกฝังทัศนคติที่ดีในการทางาน ตามแนวทางและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ร่วมกับพี่น้องประชาชนทั้งประเทศ ท้ังน้ี พัฒนาการอาเภอเป็น แนวหน้าการบริหารจัดการประสานงานระดับพื้นท่ี เป็นผู้นานโยบายสู่การปฏิบัติ จึงเป็นกลไกสาคัญของ กรมการพฒั นาชมุ ชนในการขับเคลอื่ นเศรษฐกิจฐานรากของชมุ ชนใหม้ ีความมั่งคงและสามารถพ่ึงตนเองได้ กรมการพัฒนาชุมชน โดยสถาบันการพัฒนาชุมชนกาหนดกิจกรรมฝึกอบรมเสริม สมรรถนะทางการบริหารให้ข้าราชการตาแหน่ง “พัฒนาการอาเภอ” เพ่ือเสริมสมรรถนะเชิงการบริหาร ปรบั ระบบคิดในการเสริมสร้างและพัฒนากระบวนการทางานตามแนวทางยุทธศาสตร์ของรัฐบาล การสร้าง พันธมิตรในการทางาน การบริหารจัดการเครือข่ายภาคีการพัฒนาในทุกมิติ รวมทั้งการส่งเสริมและ สนับสนุนพัฒนากรในการเป็น “ผู้จัดการตาบล” ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ซึ่งเช่ือมโยง 4 งาน หลัก ได้แก่ สัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี และทุนชุมชน ให้ บรรลเุ ป้าหมายและยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชมุ ชนตอ่ ไป ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนอบุ ลราชธานี ได้รับมอบหมายจากสถาบนั การพัฒนาชมุ ชน ให้ เป็นหน่วยดาเนินการฝึกอบรมเพ่ิมประสิทธภิ าพหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีด้านการบรหิ ารการเงินการคลัง หลักสูตร เสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ เพ่ือพัฒนาศักยภาพพัฒนาการอาเภอด้านการบริหารการเงินการคลังใน การขับเคล่ือนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เตรียมความพร้อมในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชนให้บรรลเุ ป้าหมาย ในปี 2564 จึงจัดทาโครงการฝึกอบรมเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพหวั หน้าเจ้าหน้าทีด่ า้ นการ บรหิ ารการเงินการคลังระดับอาเภอข้นึ วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธิภาพหัวหนา้ เจ้าหน้าทดี่ า้ นการบรหิ ารการเงินการคลงั ระดับอาเภอ กลมุ่ เปา้ หมาย พัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัด ในพ้ืนที่ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน อบุ ลราชธานี จานวน 102 คน แยกดาเนินการ 2 ร่นุ

2 ขัน้ ตอนและวธิ ดี าเนนิ งาน 1. รบั มอบหลักสูตรจากสถาบันการพฒั นาชุมชน 2. ประชุมเจา้ หน้าทขี่ องศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี เพอื่ เตรยี มความพร้อม ในการฝึกอบรม 3. เสนอโครงการเพื่ออนุมัตใิ ช้งบประมาณ 4. จดั ทาคาสง่ั แต่งตั้งคณะทางาน 5. ประสานจังหวดั กลมุ่ เปา้ หมาย 6. ประสานวทิ ยากร 7. จัดเตรียมสถานท่ีพกั /ห้องฝึกอบรม/วสั ดอุ ปุ กรณ/์ โสตทศั นูปกรณ/์ เครื่องเสยี ง 8. ดาเนินงานตามโครงการ 9. ประเมินผล/สรุปผลการดาเนินงาน/รายงานต่อกรมการพฒั นาชุมชน งบประมาณดาเนนิ การ งบประมาณดาเนินการ จานวนท้ังสิ้น 251,825 บาท (สองแสนห้าหม่ืนหน่ึงพันแปด ร้อยย่สี บิ ห้าบาทถ้วน) ระยะเวลาดาเนินการ แยกดาเนินการ 2 รุ่น ๆ ละ 3 วัน รุ่นท่ี 1 ระหว่างวันท่ี 20 – 22 มกราคม 2562 และรนุ่ ท่ี 2 ระหวา่ งวนั ที่ 28 – 30 มกราคม 2562 ณ ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ขอบเขตเน้ือหาหลักสูตร และกจิ กรรม วิชาหลกั 1. พระราชบัญญตั กิ ารจัดซือ้ จดั จา้ ง ปี 2560 และการร่าง TOR 2. ระเบยี บค่าใช้จ่ายวา่ ด้วยการฝกึ อบรม และอืน่ ๆ 3. ประเด็นปญั หาท่ี สตง. ตรวจพบบอ่ ย กจิ กรรมเสรมิ 1. กจิ กรรมสุขภาพดี ชีวีมสี ุข 2. กจิ กรรมเสริมทักษะตุ้มโฮมด้วยน้าใจและไมตรจี ิต ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ กลุ่มเป้าหมาย พัฒนาการอาเภอ สามารถสร้างพันธมิตรและบริหารจัดการเครือข่ายใน การขับเคล่ือนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และสามารถเป็นท่ีปรึกษา (Consultant) การออกแบบ ก ร ะ บ ว น งา น ขั บ เค ลื่ อ น เศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ าน รา ก ให้ กั บ พั ฒ น า ก ร ผู้ ป ร ะ ส าน งา น ป ระ จ าต า บ ล ท่ี จ ะ ก า ห น ด Positioning “พัฒนากร One Stop Service” ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้วี ดั ผลผลติ ร้อยละ 90 ของผทู้ ่ผี า่ นการฝึกอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจในเนือ้ หาตามหลักสตู ร ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ ร้อยละ 90 ของผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมมีรูปแบบ (Model) การขับเคล่ือนงานพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก

3 ส่วนท่ี 2 สรปุ เนื้อหาวชิ าการ กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินงานโครงการฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีด้านการบริหารการเงินการคลังระดับ อาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าที่ด้าน การบริหารการเงินการคลังระดับอาเภอ กลุ่มเป้าหมายคือพัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัดในพ้ืนที่ให้บริการ ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี จานวน 102 คน แยกดาเนินการ 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ดาเนินการ ระหว่างวันท่ี 20 – 22 มกราคม 2562 และรุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 28 – 30 มกราคม 2562 ณ ศูนย์ศึกษา และพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี การดาเนินงานตามโครงการดังกล่าว ได้กาหนดประเด็นเนื้อหาวิชาหลัก ตามหลักสตู ร จานวน 3 หวั ขอ้ วิชาหลัก 2 กจิ กรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้ เนอ้ื หาวิชาหลกั จานวน 6 วิชา ดังน้ี 1. พระราชบัญญัตกิ ารจัดซ้อื จดั จ้าง ปี พ.ศ. 2560 และการรา่ ง TOR 2. ระเบยี บค่าใชจ้ า่ ยว่าดว้ ยการฝกึ อบรม และอน่ื ๆ 3. ประเด็นปญั หาท่ี สตง. ตรวจพบบ่อย กจิ กรรมเสริม 1. กิจกรรมสขุ ภาพดี ชวี ีมสี ขุ 2. กิจกรรมเสริมทักษะตมุ้ โฮมด้วยนา้ ใจและไมตรจี ิต การเรียนรู้ในแต่ละวชิ ายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบ วิธีการ เทคนิค ที่หลากหลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝึกปฏิบัติจริงโดยใช้ กระบวนการแบบมีส่วนร่วมท่ีสามารถนาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง โดยใช้กระบวนการฝึกอบรม ดงั นี้ 1. การบรรยายประกอบส่ือ Power Point 2. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. การฝึกปฏิบัติ สรุปสาระสาคัญของเนื้อหาวิชาได้ ดงั น้ี วชิ า พระราชบญั ญตั ิจัดซอื้ จัดจา้ ง ปี 2560 และการร่าง TOR วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ให้ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจพระราชบัญญัติจัดซอ้ื จัดจ้าง ปี 2560 2. เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจในการร่าง TOR ระยะเวลา 11 ชั่วโมง

4 ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า 1. การบรหิ ารงานพสั ดุและการปฏบิ ตั ิงานดา้ นการพสั ดุ 2. การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) และแนวทางการจัดทา ขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) เทคนคิ /วธิ กี าร วิทยากรแนะนาตัวเองและเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา แล้วเชื่อมโยงสู่การบรรยาย ประกอบส่ือ Power Point ในหัวข้อการบริหารงานพัสดุและการปฏิบัติงานด้านการพัสดุ โดยแยกเป็น ประเดน็ ที่สรปุ ได้ ดังน้ี จัดซ้ือจดั จา้ งอยา่ งไรไม่ทจุ ริต 1. ตอ้ งรู้ กฎหมาย หลัก รอง ระเบียบ รวมถงึ แนวทางปฏิบตั ทิ ่ีถูกตอ้ ง 2. ต้องร้กู ฎหมายอืน่ ๆ ในสว่ นที่เกี่ยวขอ้ ง 3. ต้องละเอียดรอบครอบ 4. ตอ้ งมคี วามซอ่ื สัตยส์ จุ รติ การปฏิบตั ิงานด้านการพัสดุสาหรบั หน่วยงานของรัฐภายใต้ พ.ร.บ.จัดซ้ือจดั จ้าง พ.ศ. 2560 หัวหน้าหน่วยงานของรฐั หมายความถงึ ผดู้ ารงตาแหนง่ ในหนว่ ยงานของรฐั ดงั น้ี 1. ราชการสว่ นกลาง 2. ราชการสว่ นภมู ภิ าค 3. ราชการส่วนท้องถิ่น 4. รัฐวสิ าหกจิ อานาจของหัวหน้าหนว่ ยงานรัฐ 1. อานาจในการจดั หา 2. อานาจในการอนมุ ตั สิ ง่ั ซื้อส่ังจา้ ง 3. อานาจในการลงนามในสญั ญาและบรหิ ารสัญญา ผู้ปฏบิ ัตงิ าน แยกเป็น เจ้าหนา้ ที่ หวั หนา้ เจ้าหน้าท่ี ผู้มีหน้าท่ีเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหาร ผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าสายงานซึ่งปฏิบัติงาน พสั ดหุ รือผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากผู้มีอานาจให้ปฏิบัติ เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุหรือผู้ หน้าที่เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างหรอื การบริหารพัสดุ ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานรัฐให้เป็น ของหนว่ ยงานรัฐ หวั หนา้ เจ้าหน้าท่ี

5 มาตรา 8 : หลกั การจดั ซอ้ื จดั จา้ ง - ตอ้ งคมุ้ ค่า มคี ณุ ลกั ษณะตอบสนองวัตถุประสงค์การใช้งานและมีราคาเหมาะสม - โปร่งใส เปิดเผยข้อมูล เปิดโอกาสใหแ้ ข่งขันอยา่ งเป็นธรรม มรี ะยะเวลาเพยี งพอต่อการ ย่นื ขอ้ เสนอ - ตรวจสอบได้ เกบ็ ขอ้ มูลเปน็ ระบบเพือ่ การตรวจสอบ - ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล วางแผนการจัดซื้อจัดจา้ งมกี าหนดเวลาท่ีเหมาะสม และ มกี ารประเมนิ ผล มาตรา 10 ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐเปิดเผยข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอในส่วนท่ีเป็นสาระสาคัญ และเป็น ข้อมูลทางเทคนิคของผู้ย่ืนเสนอ ซ่ึงอาจก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผู้ยื่นข้อเสนอด้วยกันต่อผู้ ซึ่งมิได้เก่ียวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้างครั้งนั้นหรือต่อผู้ข้อเสนอรายอ่ืน เว้นแต่เป็นการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้มี อานาจหนา้ ท่ีตามกฎหมายหรือการดาเนินการตามกฎหมาย มาตรา 13 การมรส่วนได้ส่วนเสีย ผูม้ ีหน้าทีด่ าเนินการ 1. เจา้ หน้าที่ 2. หวั หน้าเจา้ หน้าที่ 3. ผูม้ ีอานาจอนมุ ัตสิ ่งั ซอื้ ส่งั จ้าง/ผมู้ อี านาจลงนามในสญั ญา 4. กรรมการ วธิ ีการซื้อหรือจ้าง 1. วิธีประกาศเชญิ ชวนทวั่ ไป - วิธีสอบราคา - วธิ ปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ - วธิ ีตลาดอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2. วิธีคัดเลอื ก 3. วธิ ีเฉพาะเจาะจง กระบวนการซ้ือหรือจา้ ง ขัน้ ตอนการซ้ือหรอื จา้ ง - แผนการจัดซือ้ จดั จา้ ง - กาหนดราคากลาง - ทารายงานขอซอ้ื /จ้าง - ดาเนนิ การจดั หา - ขออนุมัติสัง่ ซอ้ื /จ้าง - ประกาศผชู้ นะการเสนอราคา - การทาสญั ญา - บรหิ ารสัญญา - การตรวจรับพัสดุ

6 ขอ้ ปฏิบตั ิท่คี วรรูเ้ ก่ียวกับการกาหนดคณุ ลักษณะเฉพาะของส่งิ ทจ่ี ะซ้ือ/งานที่จะจา้ ง มาตรา 9 การกาหนดคณุ ลกั ษณะเฉพาะ การกาหนดขอบเขตของส่ิงของท่ีซื้อ/จ้าง (Spee) ก าร ก าห น ด คุ ณ ส ม บั ติ ข อ งผู้ เส น อ ร า ค า ห รื อ ผู้ เส น อ ง า น แ ล ะ ร า ย ล ะ เอี ย ด ห รื อ คุ ณ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุท่ีซ้ือหรอื งานจ้างตลอดจนการวินจิ ฉยั ตีความคุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา หรือผเู้ สนอ งาน แต่ละรายว่าเปน็ ไปตามเงอื่ นไขท่กี าหนดไวห้ รอื ไม่ “เป็นอานาจของหนว่ ยงานที่จดั หาพัสดุสามารถใช้ ดลุ ยพินิจกาหนดได้ตามความตอ้ งการของหน่วยงาน” แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั คาสง่ั หรือมตคิ ณะรฐั มนตรที ี่เกยี่ วขอ้ งกาหนดไว้ ข้อห้ามกาหนดคุณสมบัติผู้เสนอราคาในลักษณะต่างๆ เช่น (หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ท่ีนร (กวพ) 1305/ว7914 ลว.22 กนั ยายน 2543) 1. จะต้องเปน็ นติ ิบุคคลทีม่ ที ุนจดทะเบียนจานวนหน่ึง 2. จะตอ้ งมผี ลประกอบการเปน็ กาไร 3. จะต้องมีบุคลากรหรอื เครอื่ งมอื เคร่ืองจกั รอยกู่ ่อน หรอื ขณะเข้าเสนอราคา 4. จะตอ้ งมหี นังสอื รับรองทางการเงินจากสถาบนั การเงนิ มาแสดงตั้งแต่ขณะเสนอราคา เป็นต้น เนือ่ งจากเป็นการกาหนดเงอ่ื นไขทีไ่ มเ่ ป็นธรรม กดี กนั หรือชว่ ยเหลือผู้เขา้ เสนอราคาบางราย คณะกรรมการซอ้ื หรอื จา้ ง (ขอ้ 25-27) - คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ - คณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคม - คณะกรรมการซ้อื หรือจา้ งโดยวิธคี ัดเลือก - คณะกรรมการซอ้ื หรือจ้างโดยวิธเี ฉพาะเจาะจง - คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ องค์ประกอบของคณะกรรมการ - ประธาน 1 คน - กรรมการอืน่ อยา่ งน้อย 2 คน ยกเวน้ งานจ้างทปี่ รกึ ษา กรรมการ อยา่ งนอ้ ย 4 คน - แต่งต้ังจากข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหาวทิ ยาลัย พนักงาน ของรัฐ พนักงานหน่วยงานของรัฐหรือที่เรียกช่ืออย่างอื่น โดยคานึงถึงลักษณะหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ของผูท้ ไ่ี ดร้ บั แต่งต้ังเปน็ สาคญั ใน กรณี จาเป็ นห รือเพื่ อป ระโยช น์ของห น่วยงาน ของรัฐจะแต่งต้ังบุคคล อ่ืน ร่ วมเป็ น กรรมการดว้ ยก็ได้ แตจ่ านวนกรรมการท่ีเปน็ บุคคลอ่ืนจะตอ้ งไมม่ ากกวา่ จานวนกรรมการตามวรรคหนึง่ ข้อหา้ ม ในการซื้อหรอื จ้างครัง้ เดียวกนั ห้ามแต่งตั้งผู้ที่เปน็ กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา อเิ ล็กทรอนิกส์ กรรมการพจิ ารณาผลการสอบราคา หรือกรรมการซ้ือหรือจ้างโดยวิธคี ัดเลือกเป็นกรรมการ ตรวจรับพสั ดุ

7 คณะกรรมการซื้อหรือจ้างทุกคณะ ควรแต่งตั้งผู้ชานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเก่ียวกับงาน ซ้อื หรอื จา้ งนัน้ ๆ เขา้ ร่วมเป็นกรรมการดว้ ย การประชมุ ของคณะกรรมการ - ประธาน +กรรมการไม่นอ้ ยกวา่ ก่งึ หนึ่งและประธานจะต้องอยู่ด้วยทกุ คร้ัง องค์ประชมุ - ถอื เสยี งขา้ งมาก มตกิ รรมการ - ถา้ เสยี งเท่ากนั ให้ประธานออกเสยี งเพิม่ อกี 1 เสียง - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ยกเวน้ - ตอ้ งใช้มตเิ อกฉันท์ - กรรมการของคณะใดไมเ่ ห็นด้วยกับมตขิ องคณะกรรมการให้ทาบนั ทกึ ความเหน็ แยง้ ไว้ด้วย หมวด 10 การบริหารสัญญาและการตรวจรับพสั ดุ มาตรา 100 : การตรวจรับพัสดใุ หเ้ ป็นไปตามสัญญา มาตรา 102 : การงดหรือลดคา่ ปรับหรือการขยายระยะเวลาทาการตามสญั ญาให้อยูใ่ นดุลพนิ ิจตามกรณที ่ี กาหนด มาตรา 103 : การบอกเลิกสัญญาใหอ้ ยูด่ ลุ พินิจของผู้มีอานาจตามกรณีทกี่ าหนด คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ งานซ้ือหรืองานจา้ ง ระเบยี บฯ ข้อ 175 งานจ้างก่อสรา้ ง ระเบยี บฯ ข้อ 176 งานจา้ งทีป่ รกึ ษา ระเบยี บฯ ข้อ 179 งานจ้างออกแบบควบคุมงานก่อสร้าง ระเบยี บฯ ข้อ 180 หลักเกณฑก์ ารตรวจรบั พัสดุ หลักเกณฑ์ มาตรา 100 + ระเบียบฯ คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ การซ้อื หรือการจ้างไม่เกนิ 100,000 บาท (กฎกระทรวง) แต่งต้ังบุคคลหนึง่ บคุ คลใดเป็น “ผูต้ รวจรบั ” ยกเวน้ “การซอ้ื หรือจา้ งไมเ่ กิน 500,000 บาท (มาตรา 56 (2) (ข)” กรณจี าเป็นเร่งด่วนทเี่ กิดขึน้ โดยไม่ คาดหมายไวก้ ่อนใช้ “รายงานขอความเห็นชอบ” เป็น “หลักฐานการตรวจรับ” โดยอนโุ ลม หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ - ตรวจรับพสั ดุ ณ ทท่ี าการของผ้ใู ช้พสั ด/ุ สถานท่ซี ึง่ กาหนดไวใ้ นสัญญา - การตรวจรับพสั ดุ ณ สถานทอี่ น่ื ในกรณที ี่มีไม่สญั ญาจะตอ้ งได้รับอนุมตั จิ ากหวั หน้าหนว่ ยงาน ของรัฐก่อน

8 - ตรวจรับพัสดุใหถ้ กู ต้องครบถ้วนตามหลักฐาน กรณีท่มี ีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคจะ เชญิ ผชู้ านาญการหรอื ผทู้ รงคุณวุฒเิ กย่ี วกบั พัสดนุ น้ั มาใหค้ าปรึกษา/ส่งพัสดนุ น้ั ไปทดลอง/ตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชานาญการหรือผูท้ รงคุณวฒุ นิ ั้นๆ ก็ได้ - ในกรณจี าเปน็ ที่ไม่สามารถตรวจนบั เปน็ จานวนหน่วยท้งั หมดได้ให้ตรวจรับตามหลกั วชิ าการสถติ ิ - ให้ตรวจรบั พัสดุในวันท่ผี ูข้ ายหรอื ผรู้ บั จา้ งนาพัสดุมาส่งและใหด้ าเนินการให้เสรจ็ สิน้ โดยเร็วทีส่ ุด - เมือ่ ตรวจถูกต้องครบถ้วนแลว้ ใหร้ ับพัสดุไวแ้ ละถือวา่ ผู้ขายหรอื ผ้รู บั จา้ งได้ส่งมอบพสั ดถุ กู ต้อง ครบถว้ นตง้ั แต่วันท่ีผูข้ ายหรือผู้รบั จา้ งนาพสั ดนุ น้ั มาสง่ แล้วมอบแกเ่ จา้ หน้าที่พร้อมกบั ทาใบตรวจรับโดยลง ช่อื ไวเ้ ป็นหลักฐานอยา่ งน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ผ้ขู ายหรือผู้รบั จา้ ง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าท่ี 1 ฉบับ - รายงานใหห้ ัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ทราบ การงด ลดค่าปรบั หรือการขยายเวลาการทาสัญญา ตามมาตรา 102 ให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของผ้มู ีอานาจที่จะพจิ ารณาไดต้ ามจานวนวันทม่ี เี หตเุ กดิ ข้นึ จรงิ เฉพาะในกรณดี ังต่อไปนี้ - เหตุเกดิ จากความผิด เกดิ จากความบกพร่องของหนว่ ยงานของรฐั - เหตสุ ุดวสิ ัย - เหตเุ กดิ จากพฤติการณ์อนั หนงึ่ อนั ใด ท่ีคสู่ ญั ญาไม่ต้องรับผดิ ชอบตามกฎหมาย - เหตอุ ืน่ ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ให้หน่วยงานของรฐั กาหนดให้ค่สู ัญญาตอ้ งแจง้ เหตุดังกลา่ วภายใน 15 วนั นบั ถัดจากวนั ทเ่ี หตุ นนั้ สิ้นสุดลงหรือตามที่กาหนดในกฎกระทรวง หากไมแ่ จ้งภายในเวลาทีก่ าหนดคสู่ ญั ญาจะยกขน้ึ มากลา่ ว อ้างในภายหลังไมไ่ ด้ เวน้ แต่กรณีเกิดจากความผดิ เกิดจากความบกพร่องของหนว่ ยงานของรัฐ ซึ่งมี หลกั ฐานชัดแจ้ง หรอื หนว่ ยงานของรัฐทราบดีอยู่แล้วต้ังแต่ตน้ การบริหารพสั ดุ การยืม : การยืมหรอื นาพสั ดุไปใช้ในกิจการ ซึ่งมใิ ชเ่ พื่อประโยชนข์ องทางราชการจะกระทามไิ ด้ พสั ดุประเภทใช้คงรูป - การยมื ระหวา่ งหน่วยงานของรัฐจะตอ้ งได้รับอนมุ ัตจิ ากหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั ผู้ใหย้ มื - การใชบ้ คุ คลยืมใช้ภายในสถานทีข่ องหนว่ ยงานของรัฐเดียวกนั จะต้องไดร้ บั อนมุ ตั ิจาก หวั หนา้ หนว่ ยงานซ่ึงรับผิดชอบพสั ดนุ ้นั แตถ่ ้ายืมไปใช้นอกสถานท่ขี องหนว่ ยงานของรฐั จะตอ้ งได้รับอนุมัติ จากหัวหน้าหน่วยงานของรฐั - ผู้ยืมสง่ คืนพัสดนุ นั้ ในสภาพทีใ่ ช้การได้เรียบร้อย หากเกดิ ชารดุ เสยี หายหรือใช้การไมไ่ ด้ หรอื สูญหายไป ผู้ยมื ต้องจัดการแก้ไขซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมโดยเสยี ค่าใชจ้ า่ ยของตนเอง หรอื ชดใชเ้ ปน็ พัสดปุ ระเภท ชนิด ขนาด ลกั ษณะและคุณภาพอยา่ งเดียวกัน หรอื ชดใชเ้ ป็นเงินตามราคมท่เี ป็นอยใู่ นขณะ ยมื โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ - ราชการสว่ นกลาง และราชการส่วนภูมภิ าคให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ่ี กระทรวงการคลงั กาหนด - ราชการสว่ นท้องถิ่น ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ี่กระทรวงมหาดไทยกาหนด - หน่วยงานของรฐั อนื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ี่หน่วยงานของรัฐนัน้ กาหนด

9 พสั ดุประเภทสิน้ เปลือง - ให้กระทาไดเ้ ฉพาะหน่วยงานของรัฐผูย้ ืมมีความจาเปน็ รีบด่วน จะดาเนินการ จดั หาได้ไม่ทันการ และหน่วยงานของรัฐผใู้ หย้ มื มีพัสดนุ น้ั ๆ พอทีจ่ ะใหย้ ืมได้ และใหม้ ีหลักฐานการยมื เปน็ ลายลักษณ์อักษร ท้งั นี้ โดยปกติหนว่ ยงานของรัฐผู้ยมื จะต้องจดั หาพสั ดุเปน็ ประเภท ชนดิ และปริมาณเชน่ เดียวกัน ส่งคนื ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ผู้ให้ยมื - เมื่อครบกาหนดยมื ใหผ้ ้ยู ืมหรือผูร้ บั หน้าทแี่ ทนมหี น้าท่ีติดตามทวงพัสดทุ ่ใี หย้ มื ไปคนื ภายใน 7 วัน นับแตว่ นั ครบกาหนด การกาหนดรายละเอยี ดคณุ ลักษณะเฉพาะ (Specifications) และแนวทางการจัดทาขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) ประเดน็ การเรยี นรู้ 1. จดั ทาเม่ือใด 2. ใครมีหนา้ ที่จดั ทา 3. จัดทาอย่างไร 4. ผลของการจัดทา TOR หลักการกาหนด TOR ทด่ี ี 1. TOR ท่ีดีจะทาให้ได้พัสดุ ครภุ ณั ฑ์ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์การใช้งาน ประหยัด คณุ ภาพดี และ เกิดประโยชน์สงู สดุ 2. TOR ท่ดี รี ะบุความจาเปน็ และคุณลักษณะที่ตอ้ งการนาไปใช้ประโยชน์ชดั เจน 3. TOR ทดี่ ีระบุขอ้ ความที่ไม่กากวมตรวจสอบวดั ได้ 4. TOR ท่ีดไี ม่ระบรุ ายการทเ่ี กนิ ความจาเปน็ องค์ประกอบของขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) 1. ความเป็นมา 2. วตั ถุประสงค์ 3. คณุ สมบตั ผิ ้เู สนอราคา 4. แบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ 5. ระยะเวลา 6. ระยะเวลาดาเนินการ 7. วงเงนิ ในการจดั หา วิทยากรใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมฝกึ เขยี นแนวทางการจดั ทาขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) แบง่ ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมออกเปน็ 4 กล่มุ ให้ 2 กลุม่ รับผิดชอบงานจดั ซอ้ื และ อีก 2 กลุ่มรบั ผดิ ชอบงานจดั จ้าง โดยให้ยกตัวอยา่ งในการเขยี นจะเปน็ งานใดก็ไดแ้ ล้วแต่กลุ่มจะคดั เลือก ปรากฏผล ดงั น้ี

10 กล่มุ สัมมาชีพชุมชน รุ่นท่ี 1 รายละเอยี ดคุณลกั ษณะ (TOR) โครงการชมุ ชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวถิ ี “พฒั นาศูนยเ์ รยี นรแู้ ละฐานการเรียนรู้ อาเภอตระการพืชผล” 1. หลกั การและเหตผุ ล ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี พัฒนาภาคการผลิต บรกิ ารให้ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิต มรี ายได้ สร้างความ เขม้ แข็ง ขีดความสามารถชมุ ชนดว้ ยการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ภายใต้กระบวนการมีส่วนรว่ มเรียนรู้ ของประชาชนด้วยหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง -ทาไมต้องซื้อ- 2. วตั ถปุ ระสงค์ พฒั นาศูนยเ์ รยี นรู้และฐานเรียนรู้ใหม้ ศี ักยภาพ (ตามรายละเอียดท่ีแนบทา้ ย) 3. คุณสมบัติผูเ้ สนอราคา - มคี วามสามารถตามกฎหมาย - ไม่เปน็ บคุ คลล้มละลาย - ไมอ่ ย่รู ะหวา่ งเลิกกจิ การ - ไมเ่ ปน็ บคุ คลอยรู่ ะหวา่ งถกู ระงับย่ืนข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐชวั่ คราว - ไมเ่ ป็นบุคคลซึ่งถูกระบุชอื่ ในบญั ชผี ทู้ ้ิงงานและแจง้ เวยี นผู้ทง้ิ งานของหนว่ ยงานรัฐในระบบ สารสนเทศกรมบัญชกี ลาง - ไม่มีลักษณะต้องห้าม - บคุ คลธรรมดาหรอื นิติบุคคลผ้มู ีอาชพี รบั จ้างงาน Electron - ไม่เป็นผูม้ ผี ลประโยชนก์ ับผู้ย่ืนขอ้ เสนอรายอื่น - ไมเ่ ป็นผู้ได้รับเอกสิทธิห์ รือคุ้มกนั ซึง่ อาจปฏิเสธไมย่ อมขึน้ ศาล 4. เงอ่ื นไขและขอ้ กาหนดทัว่ ไป - ผู้เสนอราคาต้องจัดส่งครุภัณฑ์ ณ สานกั งานพัฒนาการอาเภอ ............... จงั หวัดอุบลราชธานี - รับประกนั อยา่ งนอ้ ย 1 ปี หลงั สง่ มอบครุภณั ฑ์ (Computer 3 ปี) - ผ้เู สนอราคาต้องเขา้ มาดูแลแก้ไขครภุ ณั ฑแ์ ละอปุ กรณท์ ช่ี ารุดภายใน 7 วนั - ในความเสยี หายท่เี กิดจากตัวเครือ่ งอุปกรณต์ ่อพ่วงให้ผ้เู สนอราคาเปน็ ผู้ดาเนินการซ่อม รบั คนื พร้อมตดิ ต้งั ให้ปกตใิ นระยะประกนั 5. การส่งมอบงาน - ผู้ขายตอ้ งส่งสินค้าทีร่ ะบุภายใน 30 วันในเวลาราชการ - การส่งพสั ดทุ กุ รายการต้องมีผ้ตู รวจรบั /ลงชื่อครบถ้วน พร้อมภาพถา่ ยการส่งมอบและหลักฐาน การรับพสั ดุกอ่ นเบิก 6. เงอื่ นไขการจา่ ยเงนิ จ่ายทง้ั หมด 1 งวด เมื่อกรรมการตรวจรบั ถูกต้อง 7. วงเงนิ จัดซื้อ 1,321,400 บาท 8. การสงวนสทิ ธิ์ ขอสงวนสิทธใ์ิ นการปรับเปลี่ยนกจิ กรรมตามเอกสารประกวดราคาทั้งหมด ถ้าเหตสุ ดุ วสิ ัยสามารถ ปรบั เปลย่ี นกิจกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม

11 กลมุ่ หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง รุ่นท่ี 1 จ้างเหมาเปิดหมู่บ้าน OTOP นวัตวถิ ี เพื่อการท่องเท่ียว 1. ความเป็นมา นโยบายรัฐบาล ลดความเหลือ่ มล้า สร้างอาชีพ รายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่นบนพน้ื ฐานอตั ลักษณ์ภูมปิ ัญญา พื้นถนิ่ สูก่ ารเปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวชมุ ชนตืน่ ตวั รวมพลงั รวมกลมุ่ สรา้ งสรรค์ สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ จึงไดจ้ ัดทากจิ กรรมเปิดหมู่บ้าน OTOP 2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ประกาศเปน็ หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว 2. เพอ่ื ดงึ ดูดนกั ท่องเท่ยี วเข้าสู่หมู่บา้ นสร้างรายได้กบั ชมุ ชน 3. คณุ สมบัติ มีคณุ สมบัติตามระเบียบและมีอาชีพรบั จ้างงานประเภทนี้ และมีผลงานแสดงและจาหน่าย ผลิตภณั ฑ์ไมต่ า่ กวา่ 200,000 บาท ท่ี รายการละเอียด จานวน หน่วย ราคาต่อ จานวนเงนิ หน่วย 10,000 บาท 1 จดั ทาแผนดาเนินงานกลยุทธ์และ 1 งาน แผนการจัดงานในภาพรวมของงาน - 40,000 บาท เปิดหมบู่ ้าน OTOP ท่องเทีย่ ว 1 งาน 100,000 บาท ภายใตช้ อื่ งาน “ร่วมวถิ ี รว่ มสุข ร่วม 20 คหู า - สมยั ” 2 จดั ตกแตง่ คูหาและจาหน่ายสนิ คา้ พร้อม ติดตั้งจานวนไม่น้อยกว่า 20 คูหาพรอ้ ม ออกแบบการให้บริการโดยมีอุปกรณ์ ภายในคูหาประกอบด้วย - ปา้ ยพร้อมช่ือกลุม่ และหมายเลข คูหา และต้องถูกต้องตามท่ผี ู้จัดกาหนด - เฟอร์นเิ จอรป์ ระกอบด้วยโต๊ะ 1 ตัว ขนาด0.75 x 1.5 เมตร พร้อมผ้าปู โต๊ะ เกา้ อี้ 2 ตวั - อปุ กรณ์ไฟฟ้าในคหู ารวมคา่ ไฟฟา้ / หลอดไฟฟ้าใหแ้ สงสวา่ งให้เพียงพอ และปลก๊ั 5 แอมป์

ที่ รายการละเอยี ด จานวน หน่วย ราคาตอ่ 12 หนว่ ย จัดสถานท่ี/สถานทจ่ี าหนา่ ยสินคา้ / 1 งาน จานวนเงิน - 200,000 บาท จดั ตกแตง่ คูหาแสดง/จาหน่าย ราคาตอ่ จานวนเงนิ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ออกแบบก่อสร้าง หน่วย 100,000 บาท ตกแตง่ สถานที/่ เวทีพรอ้ มอปุ กรณ์ จดั - 10,000 บาท 30,000 บาท พืน้ ท่ภี มู ทิ ัศนส์ วยงาม 10,000 บาท ท่ี รายละเอยี ด จานวน หน่วย 3 การจัดพิธีเปดิ งาน 1 งาน - ดาเนินการพธิ เี ปดิ พรอ้ มพธิ ีกร 2 คน (ชาย/หญงิ ) การแสดงพิธีเปิด ระบบ 50 ชุด แสงสีเสยี ง - จดั เตรียมพื้นท่ีลงทะเบยี น/อาหาร 1 งาน วา่ ง/ของทร่ี ะลึกในพธิ ีเปิด 50 ปา้ ย 4 การบริหารจัดการ 3 ชอ่ งทาง - จดั บริการความสะอาด การอานวย 10 เล่ม/แผน่ ความสะดวกท่จี อดรถ 5 การประชาสมั พนั ธจ์ ัดงาน ปา้ ยประชาสมั พนั ธ์ คัทเอาท์ จ้างรถประชาสัมพนั ธ์ VDR เผยแพร่สอ่ื 6 สรุปงาน แบบประเมนิ โครงการ/เอกสารสรุป พร้อม CD

13 กลุ่มชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวตั วถิ ี รุ่นท่ี 1 รา่ งขอบเขตของงาน (Terms of Reference) TOR จัดซอ้ื วัสดสุ นบั สนนุ ปัจจัยในการประกอบอาชีพโครงการหมบู่ ้านอยเู่ ย็นเป็นสขุ ด้วยวิถเี ศรษฐกิจ พอเพียง 1. ความเปน็ มา จังหวดั อบุ ลราชธานีกาหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสรา้ งความเข้มแข็งชุมชน โดย การมีส่วนรว่ มของประชาชนยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้มคี วามเปน็ อยู่ทดี่ ขี นึ้ ดว้ ยการนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ แนวทางและหลักการให้ประชาชนในการดารงชวี ิตประจาวนั เป็นภมู คิ ุ้มกนั ให้กลมุ่ องคก์ ร ประชาชน มกี ารบรหิ ารจดั การชมุ ชนทีด่ ี ซ่ึงทาใหป้ ระชาชนเกิดความเข้มแขง็ เพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนาหมู่บ้านให้เปน็ หม่บู ้านอย่เู ย็นเปน็ สขุ ดว้ ยวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ี ชุมชน ปลอดยาเสพตดิ คนในชมุ ชนไมม่ หี นีส้ ินนอกระบบ รจู้ ักอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯ และมีการบริหารจดั การ ชมุ ชนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั อบุ ลราชธานี จึงไดจ้ ัดทาโครงการ “หมูบ่ า้ นอยเู่ ยน็ เป็น สุขด้วยวิถเี ศรษฐกจิ พอเพียง” ข้ึน 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ สร้างงานสร้างอาชีพ และแก้ไขปัญหาความยากจน 2. เพือ่ พัฒนาคนส่สู งั คมการเรยี นรู้ 3. เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการชมุ ชนท่ีดี 4. เพื่อให้เกิดการบรู ณาการกับหนว่ ยงานภาคีในการพัฒนาชมุ ชนคณุ ภาพชวี ิตประจาวนั 3. คณุ สมบตั ผิ เู้ สนอราคา 1. ผปู้ ระสงค์เสนอราคาต้องเป็นผมู้ ีอาชพี ขายพสั ดุท่ีจะสอบราคาซ้ือด้วยวธิ ี E-bidding 2. ผูป้ ระสงค์เสนอราคาตอ้ งเป็นนติ ิบคุ คลตามลักษณะงานทจ่ี ะซื้อ 3. ผปู้ ระสงคเ์ สนอราคาตอ้ งไมเ่ ป็นผูถ้ ูกระบุชอ่ื เป็นผทู้ ้ิงงานของทางราชการ 4. บุคคล/นิติบุคคล ท่จี ะเขา้ เปน็ คสู่ ญั ญาต้องไมอ่ ยู่ในฐานะเปน็ ผไู้ มแ่ สดงบัญชรี ายรบั – จ่าย หรอื แสดงบญั ชไี ม่ถูกต้องครบถว้ นในสาระสาคัญ 5. บุคคล/นิตบิ ุคคลท่จี ะเข้าเปน็ คู่สัญญาต้องเข้าระบบ E-GP 4. การสง่ มอบงาน 1. ผขู้ ายต้องสง่ สนิ คา้ ท่รี ะบุในแตล่ ะประเภท ณ ทต่ี ั้งของแต่ละหมู่บา้ น ตาบล จานวน 50 หมบู่ ้าน ตามระบแุ นบท้ายภายใน 60 วนั ตามเวลาราชการ 2. การส่งต้องมผี ูต้ รวจรับพสั ดุ และลงชือ่ ผู้รับครบถว้ น พร้อมมีภาพถ่าย 5. เง่อื นไขการจ่ายเงนิ การจา่ ยเงนิ มที งั้ หมด 2 งวด 1. งวดที่ 1 รอ้ ยละ 50 จา่ ยเม่ือผ้ขู ายได้สง่ มอบวัสดคุ รบ 25 หมู่บ้าน 2. งวดที่ 2 รอ้ ยละ 50 จ่ายเม่ือผขู้ ายไดส้ ่งมอบวสั ดคุ รบ 25 หมูบ่ า้ น ทงั้ น้ีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เปน็ การถูกต้องตามรายละเอยี ดในสญั ญาซื้อขายครบถ้วนทกุ ประการพรอ้ มทง้ั รายงานให้จังหวัดทราบทกุ ประการ 6. วงเงินการจัดซ้อื ภายในวง จานวน 5,000,000 บาท (ห้าล้านบาทถว้ น)

14 7. อ่ืน ๆ ผขู้ ายตอ้ งดาเนินการดังนี้ - ขออนญุ าตใหท้ าการค้าหรือซากสตั ว์ - ขออนุญาตนาหรือย้ายสตั ว์หรอื ซากสัตว์ ภายในราชอาณาจักร - มใี บรบั รองการฉดี วัคซนี สัตวต์ ้นทาง 8. การสงวนสิทธ์ิ จังหวัดอบุ ลราชธานีขอสงวนสทิ ธใิ์ นการปรบั เปล่ียนกจิ กรรมตามเอกสารสอบราคาทาง อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ถ้าเกิดเหตวุ สิ ยั จงั หวัดอุบลราชธานสี ามารถปรบั เปลยี่ นกิจกรรมท้ังหมดได้ตาม เหมาะสม รายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะ อาหารสัตว์ ดงั นี้ 1. อาหารสาเร็จรูปไก่ไข่ อายุระหว่าง 16 – 20 สัปดาห์ 2. อาหารสาเร็จรปู เปด็ พันธไุ์ ข่ อายุระหว่าง 16 – 20 สัปดาห์ 3. อาหารสาเร็จรูปเปด็ พนั ธุเ์ นอ้ื อายรุ ะหวา่ ง 1 – 2 สัปดาห์ คณุ ลกั ษณะเฉพาะ 1. ผลิตจากโรงงานทไี่ ด้รับอนุญาตจากกรมปศุสัตว์ 2. มใี บอนุญาตผลิตอาหารสตั ว์ 3. เป็นอาหารผลิตไม่เกนิ 60 วัน นบั แตว่ ันส่งของ 4. ภาชนะบรรจใุ หม่ แหง้ สะอาด

15 กล่มุ ทุนธรรมาภบิ าล รนุ่ ท่ี 1 TOR งานจา้ งเหมาออกแบบและพัฒนาภมู ทิ ัศนแ์ บบมสี ว่ นรว่ มของชุมชน องคป์ ระกอบของขอบเขตงาน 1. ความเป็นมา งบประมาณหมบู่ ้าน OTOP Village 8 เส้นทาง 400,000 บาท 2. วัตถปุ ระสงค์ พฒั นาและปรับปรงุ ภูมิทัศน์ จุดเชค็ อนิ 3. คุณสมบัติ - ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ ผ้วู ่าจา้ ง - ไม่ท้งิ งาน - ไมม่ ผี ลประโยชน์ร่วม - อืน่ ๆ 4. รปู แบบรายการ 1. งานปรับปรงุ ศนู ยเ์ รยี นรู้ 44,000 บาท 2. งานจดั ทาปา้ ย 20,700 บาท 3. จดั ทาจดุ ถ่ายภาพ/เช็คอนิ 28,400 บาท/87,500 บาท 4. ปรับปรงุ รัว้ 164,000 บาท 5. งานทาความสะอาด 15,000 บาท 5. ระยะเวลาดาเนินการ สัญญาภายใน 7 วัน 6. ระยะเวลาส่งมอบงาน ดาเนนิ การภายใน 40 วัน 7. วงเงินท่ีจดั หา 400,000 บาท หลกั ประกัน 10%

16 กลมุ่ สัมมาชีพชุมชน รนุ่ ท่ี 2 จดั ซือ้ วัสดุสานักงาน 1. ความเป็นมา จังหวดั จัดสรรงบประมาณสนับสนนุ วัสดสุ านักงานพฒั นาชุมชนอาเภอไตรมาส 2 ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 2. วัตถุประสงค์ เพอื่ สนับสนนุ การปฏบิ ัติงานของสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ 3. คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา 1. เปน็ ผมู้ อี าชีพขายวสั ดสุ านกั งาน 2. ไมเ่ ป็นผู้ทิง้ งาน 3. ไมเ่ ป็นผู้มีผลประโยชนร์ ่วมกนั 4. คุณลกั ษณะเฉพาะ (ตารางแนบท้าย) 5. ระยะเวลาดาเนนิ การ เดอื นกุมภาพันธ์ 6. ระยะเวลาสง่ มอบของ ภายใน 5 วนั ทาการ 7. งบประมาณดาเนนิ การ 4,500 บาท ตารางแนบท้าย (ข้อ 4) ลาดับ รายการ จานวน หน่วยนบั คณุ ลกั ษณะ 1 กระดาษ เอ 4 30 รมี - ขนาด 80 แกรม - บรรจุ 500 แผ่น/รีม - สีขาวผวิ เรยี บเสมอกนั ทุก แผ่น 2 แฟม้ เกบ็ เอกสารสนั แข็ง 20 แฟ้ม - สนั กวา้ งขนาด 3 น้วิ - คละสี - ปกแฟ้มทาจากกระดาษแข็ง ใสเ่ หล็กดา้ นสปรงิ โยก 1 ชดุ

17 กล่มุ หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง รนุ่ ที่ 2 จัดซ้ือวสั ดสุ ัมมาชีพชุมชน ความเปน็ มา วตั ถปุ ระสงค์ คณุ สมบัติ คุณลกั ษณะ ระยะเวลา ระยะเวลา วงเงินจดั หา ผเู้ สนอราคา เฉพาะ ดาเนนิ การ สง่ มอบงาน กรมการพัฒนาชุมชน เพือ่ ให้ครวั เรือน ได้ขับเคล่ือนยุทธฯ สมั มาชีพมีวัสดุ - ร้านคา้ /หจก. 45 วัน 15 วนั 704,000.- แหง่ ความสุขในการ ในการประกอบ ขจัดความยากจน อาชพี ทาใหม้ ี - เป็นผู้ผลติ หรอื (44x16,000) และความเหลื่อมล้า อาชพี มรี ายได้ ของคนในชุมชนให้ และมงี านทา ตวั แทนจาหนา่ ย หลกั ประกัน ชมุ ชนพึ่งตนเองได้ ภายใตโ้ ครงการสรา้ ง เปน็ ผู้ขาย/ผู้ผลติ สัญญา สัมมาชพี ชุมชน ทกุ รายการท่ีเรา 5% จะซ้อื = 35,200 = - ไม่เปน็ ผู้ถูกท้ิงงาน/ - เงินสด ลม้ ละลาย - หนงั สือ - ผู้รบั จา้ งตอ้ ง ค้าประกนั ลงทะเบยี นใน สัญญา ระบบ EGP. - ผรู้ บั จ้างต้องรบั และจ่ายเงินผา่ น บ/ช.ธนาคาร ตารางคุณลักษณะเฉพาะ รายการ คณุ ลักษณะ 1. เส้นไหม เสน้ ไหมพ่งุ ขนาด 0.6 มม./ไหมยืน 0.8 มม./ฟอก จานวน kg 2. ดา้ ย ด้ายชีกวง เบอร์ 20,40,60/สีฟา้ ,แดง,ขาว,ชมพู จานวน kg 3. เส้นกก เสน้ กกแห้งยาวไมน่ ้อยกวา่ 70 ซม. /ไมย่ ้อมสี จานวน kg 4. สียอ้ มไหม/ บรรจุขนาดซองละ 20 กรัม/สีแดง,เขียว,เหลอื ง,ฟ้า จานวน kg ย้อมกก บรรจุขนาดซองละ 20 กรมั /สีแดง,เขียว,ชมพ,ู มว่ ง จานวน kg 5. แมไ่ ก่พันธไุ์ ข่ แมไ่ กพ่ ร้อมไข่ อายุ 8 – 10 เดอื น นา้ หนักไม่น้อยกวา่ 1.5 กโิ ลกรัม จานวน ตวั 6. หวั อาหารไก่ หัวอาหารไก่ไข่กระสอบบรรจุละ 25 กโิ ลกรัม จานวน กระสอบ 7. ลูกปลาดกุ ปลาดุกบก๊ิ อุย ขนาดยาวไมน่ ้อยกวา่ 4 ซม. อายุไมน่ ้อยกว่า เดอื น 8. หวั อาหารปลาดกุ หวั อาหารปลาดกุ เล็ก/กลาง/ใหญ่ บรรจุกระสอบละ 25 กโิ ลกรมั 9. เมล็ดพนั ธุ์ผกั พันธ์ุผกั บ้งุ จีน,คะน้า,กาดขาว,กวางตุ้ง บรรจซุ องละ 20 กรัม 10. ปุ๋ยอินทรยี ์ ปยุ๋ อนิ ทรียจ์ ากมูลสตั ว์ จานวน kg

18 กลมุ่ ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี รุน่ ที่ 2 จา้ งเหมารถศกึ ษาดูงานตามโครงการชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวตั วิถี ความเป็นมา วัตถุประสงค์ คุณสมบัติ คณุ ลกั ษณะ ระยะเวลา ระยะเวลา วงเงินจัดหา ผเู้ สนอราคา เฉพาะ ดาเนินการ ส่งมอบงาน จงั หวดั อนุมตั ิ 1. เพอ่ื สร้างความรู้ 45,000 บาท โครงการฯ ให้ ความเข้าใจ - เป็นผู้มีอาชีพ - รถโดยสาร 3 วนั หลัง - จา่ ยเมื่อส่ง อาเภอดาเนินการ การดาเนนิ งาน รับจา้ ง ปรบั อากาศ ตัง้ แตว่ นั ที่ ดาเนินการ หลักฐาน จัดกจิ กรรมศึกษา โครงการชมุ ชน ประกอบการ ไมน่ ้อยกว่า 3 - 5 ก.พ. 62 ภายใน 3 วนั เบิกจงั หวัด ดูงานโครงการ ทอ่ งเทย่ี ว ขนสง่ โดยสารจะ 40 ท่ีนัง่ 7 วันทาการ ชุมชนทอ่ งเท่ยี ว OTOP นวตั วถิ ี เปน็ บคุ คล จานวน 1 คัน OTOP นวัตวิถี ธรรมดาหรือ - มี พ.ร.บ. เพอ่ื การ 2. เพ่ือนา นิตบิ คุ คลกไ็ ด้ และ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ กลุ่มเป้าหมาย - หากรถเสยี ประกนั ภัย จงึ จาเป็นต้องจ้าง ไปศึกษาเรยี นรู้ ระหว่างการ ภาคสมัครใจ เหมารถโดยสาร หมู่บ้าน/ชุมชน เดนิ ทางจัดหารถ - มรี ะบบ ปรบั อากาศ ต้นแบบดา้ น มาทดแทน เครือ่ งเสียง นากลุ่มเปา้ หมาย การทอ่ งเที่ยว - มอี ปุ กรณร์ ักษา ทวี ี จานวน 1 รนุ่ ความปลอดภัย/ ไมโครโฟน 40 คน/เจา้ หนา้ ที่ 3. เพอ่ื สร้างและ อานวยความ พร้อมใช้ โครงการ 5 คน พฒั นา สะดวกตาม งานไดด้ ี รวม 45 คน บคุ ลากรดา้ น กฎหมายขนสง่ - มีระบบ การทอ่ งเท่ียว - จากจังหวัด ป้องกันภยั อุบลราชธานีไป ใชง้ านได้ จังหวดั มุกดาหาร อยา่ ง สมบูรณ์ - มีการ ตรวจสอบ สภาพรถ ปลายปแี ละ กลางปเี ป็น ปจั จบุ นั - Lady aisbus

19 กล่มุ ทุนธรรมาภบิ าล ร่นุ ที่ 2 โครงการจ้างเหมารถศึกษาดงู านหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง 1. หลกั การและเหตผุ ล ด้วยจังหวัดได้อนุมัติจัดสรรงบประมาณโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้อาเภอดาเนินการในไตร มาส 1 – 2 กิจกรรมศึกษาดูงานบ้านพี่ จานวน 2 วัน จึงจาเปน็ ต้องจ้างเหมารถ เพ่ือนาผู้แทนครัวเรอื นเป้าหมาย บ้านเสียวอาเภอเบญจลักษณ์ จังหวดั ศรีสะเกษ จานวน 30 คน ไปศึกษาดงู าน 2. วตั ถุประสงค์ เพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนรหู้ มูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงหมูบ่ ้านตน้ แบบ 3. คุณสมบัติผรู้ บั จ้าง - บคุ คลธรรมดา/นิติบุคคล และมอี าชีพรับเหมาบริการ - เปน็ บุคคลไม่ทิง้ งาน - ไม่เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย - ไม่อยรู่ ะหวา่ งเลกิ กิจการ 4. รูปแบบ/คณุ ลักษณะจา้ ง - รถปรับอากาศขนาดไมน่ ้อยกวา่ 40 ทนี่ งั่ - มีอปุ กรณ์ครบถว้ นตามกฎหมายกาหนด พร้อมน้ามนั เชือ้ เพลิง - จุดรบั – สง่ ณ ศาลาประชาคมบ้านเสยี ว อาเภอเบญจลกั ษณ์ จังหวดั ศรีสะเกษ - เพอื่ ศึกษาดูงาน บ้านภู อาเภอหนองสงู จังหวัดมุกดาหาร จานวน 2 วนั 1 คืน - ประกันชีวติ ผโู้ ดยสาร 5. ระยะเวลา/และสง่ มอบงาน นาคณะศกึ ษาดงู านระหว่างวันที่ 13 กุมภาพนั ธ์ 2562 เวลา 06.00 น. – วันที่ 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 เวลา 20.00 น. 6. สถานท่ีดาเนินการ บา้ นเสียว อาเภอเบญจลักษณ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ 7. ขอ้ กาหนดในการจ่ายเงนิ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเบญจลกั ษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จะจ่ายเงินค้างในอัตรารอ้ ยละ 100 ของค่าจ้าง 8. วงเงนิ ในการจัดหา ภายในวงเงนิ 30,000 บาท 9. ผู้รบั ผิดชอบ สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอเบญจลกั ษณ์ 10. สถานทตี่ ิดต่อ 1) สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอเบญจลกั ษณ์ ที่วา่ การอาเภอเบญจลกั ษณ์ จ.ศรสี ะเกษ โทร 045-561388 , 081-3920311 2) ผู้ประสานงาน นางรัชนี ไชยศาสตร์ พฒั นาการอาเภอเบญจลักษณ์ นางกนกอร เหลา่ ลาย นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ

20 ผลจากการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับพระราชบัญญัติจัดซ้ือจัดจ้าง ปี 2560 และการร่างการจัดทาขอบเขตของงาน (TOR) เป็นอย่างดี สังเกตจากการมสี ่วนร่วมในการพูดคุย ตอบขอ้ ซัก-ถาม การแสดงความคดิ เหน็ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และชน้ิ งานทไ่ี ด้จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ วิชา ระเบียบค่าใชจ้ า่ ยว่าดว้ ยการฝึกอบรม และอ่นื ๆ วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบค่าใช้จ่ายว่าด้วยการ ฝกึ อบรม ระยะเวลา 3.00 ช่ัวโมง ขอบเขตเนอื้ หาวิชา องคก์ รประกอบของการฝกึ อบรม เทคนคิ /วิธีการ วิทยากรเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา และการบรรยายประกอบสื่อ Power Point ใน ประเดน็ องค์ประกอบของการฝกึ อบรม สรปุ สาระสาคญั ได้ ดงั นี้ องคป์ ระกอบการฝกึ อบรม 1. โครงการ/หลกั สตู ร 2. ระยะเวลามกี าหนดแนน่ อน 3. วตั ถุประสงค์เพอ่ื พัฒนาบคุ ลากรหรอื เพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ไมม่ กี ารแจกปริญญาบตั รหรอื ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ การฝึกอบรมแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท 1. การฝกึ อบรมประเภท ก เกนิ ก่งึ หนง่ึ เปน็ ขา้ ราชการ ทว่ั ไป : ทกั ษะพเิ ศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ,ทรงคุณวฒุ ิ อานวยการ : สงู บรหิ าร : ต้น,สงู 2. การฝกึ อบรม ประเภท ข เกนิ กึ่งหน่ึง เป็นขา้ ราชการ ทั่วไป : ปฏบิ ตั ิงาน,ชานาญงาน,อาวโุ ส วิชาการ : ปฏบิ ัตกิ าร,ชานาญการ,ชานาญการพิเศษ อานวยการ : ตน้ 3. บคุ คลภายนอก : ผ้เู ขา้ อบรมเกนิ กึ่งหนงึ่ มใิ ชบ่ คุ ลากรของรัฐ

21 ค่าใช้จา่ ยการฝกึ อบรม โครงการ/หลักสูตรการฝึกอบรมที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืนต้อง ไดร้ ับอนุมตั ิจากหัวหน้าสว่ นราชการก่อน เพื่อเบิกจ่ายคา่ ใช้จ่ายตามระเบียบน้ี บคุ คลที่จะเบกิ ค่าใช้จา่ ยได้ 1. ประธาน/แขกผูม้ เี กียรติ/ผ้ตู ดิ ตาม 2. เจ้าหน้าท่ี 3. วทิ ยากร 4. ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม 5. ผู้สงั เกตการณ์ ค่าใชจ้ ่ายท่ีเกดิ ข้ึนให้ส่วนราชการผู้จัดเป็นผู้เบกิ จา่ ย แตถ่ ้าจะเบิกจา่ ยจากส่วนราชการต้นสงั กัด ให้ ทาไดเ้ มอื่ สว่ นราชการผ้จู ัดร้องขอและตน้ สงั กัดตอลง ประเภทค่าใช้จา่ ยในการฝกึ อบรม แยกเป็น - คา่ ใช้จ่ายในภาคผู้จัด - คา่ ใชจ้ ่ายในภาคผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรม คา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรม 1. คา่ ใช้จา่ ยเกี่ยวกบั การใช้และตกแตง่ สถานทีฝ่ ึกอบรม 2. คา่ ใชจ้ า่ ยในพธิ ีเปดิ -ปดิ การฝึกอบรม 3. ค่าวัสดุ เคร่ืองเขียนและอุปกรณ์ 4. ค่าประกาศนียบัตร 5. ค่าถา่ ยเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและส่งิ พมิ พ์ 6. คา่ หนงั สอื สากรบั ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรม ขอ้ 1- 6 เบกิ ไดเ้ ท่าท่ีจา่ ยจริงตามความจาเปน็ เหมาะสมและประหยัด 7. ค่าใชจ้ า่ ยในการตดิ ต่อสอื่ สาร 8. ค่าเช่าอุปกรณต์ ่างๆ ข้อ 7–8 เบกิ ไดเ้ ทา่ ท่จี า่ ยจรงิ ตามความจาเปน็ เหมาะสมและประหยดั 9. คา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งด่มื ข้อ 9 ส่วนราชการ 35 บาท/เอกชน 50 บาท 10. คา่ กระเป๋าหรอื สง่ิ ที่บรรจุเอกสารสาหรับฝกึ อบรม ขอ้ 10 เท่าทจ่ี ่ายจรงิ ไมเ่ กินใบละ 300 บาท 11. คา่ ของสมนาคุณวทิ ยากร ข้อ 11 เท่าทีจ่ ่ายจรงิ แห่งละไม่เกิน 1,500 บาท 12. ค่าสมนาคณุ วิทยากร 13. ค่าอาหาร 14. ค่าเช่าทีพ่ กั 15. ค่ายานพาหนะ ข้อ 12-15 ให้เบิกจ่ายตามหลกั เกณฑ์และอัตราตามท่กี าหนดไว้ในระเบียบ

22 คา่ ใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม ให้ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรมใช้ดุลยพินิจเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจรงิ ตาม ความจาเป็น เหมาะสม และประหยดั ยกเว้น 1. ค่าสมนาคณุ วิทยากร 2. ค่าอาหาร 3. คา่ เช่าทพ่ี ัก 4. คา่ พาหนะ เบิกจา่ ยตามหลักเกณฑแ์ ละอัตราทีก่ าหนด ค่าสมนาคุณวิทยากร หลักเกณฑก์ ารจา่ ย บรรยาย ไมเ่ กนิ 1 คน อภปิ ราย/สัมมนาเปน็ คณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกล่มุ ไม่เกนิ กลุ่มละ 2 คน - ฝึกภาคปฏบิ ัติ - อภปิ ราย/สมั มนา - ทากิจกรรม กรณีมวี ิทยากรเกินกวา่ จานวนท่ีกาหนดให้เฉล่ียจา่ ย อตั ราค่าสมนาคณุ วิทยากร ประเภทวิทยากร ประเภท ข อัตรา (บาท : ช่ัวโมง) ประเภท ก (บคุ คลภายนอก) ประเภท ข ไมเ่ กิน 800 1. วทิ ยากรเป็นบุคลากร ไม่เกิน 600 บาท ของรัฐ ไม่เกนิ 600 บาท 2. วิทยากรท่ีมิใช่ ไม่เกนิ 1,200 บาท บุคลากรของรัฐ ไม่เกนิ 1,200 บาท ไม่เกิน 1,600 บาท การนบั เวลาบรรยาย 1. นบั ตามเวลาที่กาหนดในตารางการฝกึ อบรม 2. ไมต่ อ้ งหักเวลาทีพ่ ักรับประมานอาหารว่างและเครื่องด่ืม 3. แตล่ ะชวั่ โมงการฝกึ อบรมต้องไมน่ ้อยกว่า 50 นาที 4. ช่ัวโมงการอบรมไม่ถงึ 50 นาที แตไ่ มน่ ้อยกวา่ 25 นาที ให้เบกิ คา่ สมนาคุณ วทิ ยากรได้ก่งึ หนึ่ง ค่าอาหารใหเ้ บกิ เท่าทจ่ี ่ายจรงิ ไมเ่ กนิ อตั ราที่กาหนด

23 ประเภท ก สถานทร่ี าชการหรือหนว่ ยงานอื่นของรฐั ในประเทศ ครบมื้อ ไม่เกิน 700 บาท ไม่ครบ มอื้ ไมเ่ กนิ 500 บาท ประเภท ข /บุคคลภายนอก สถานท่ีราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐในประเทศ ครบมื้อ ไม่เกิน 500 บาท ไมค่ รบมื้อ ไม่เกนิ 300 บาท ประเภท ก ตา่ งประเทศ ไมเ่ กนิ 2,500 บาท ประเภท ข /บคุ คลภายนอกต่างประเทศ ไมเ่ กนิ 2,500 ประเภท ก สถานท่ีเอกชนในประเทศ ครบมื้อ ไม่เกนิ 1,000 บาท ไม่ครบม้ือ ไมเ่ กนิ 700 บาท ประเภท ข /บุคคลภายนอก สถานเอกชนในประเทศ ครบม้ือ ไม่เกิน 800 บาท ไม่ครบมื้อ ไม่ เกิน 600 บาท ประเภท ก ต่างประเทศ ไมเ่ กิน 2,500 บาท ประเภท ข /บคุ คลภายนอกตา่ งประเทศ ไมเ่ กิน 2,500 ค่าเช่าทพี่ กั หลักเกณฑก์ ารจัดที่พกั ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ประเภท ข และบุคคลภายนอก ผูส้ ังเกตการณห์ รอื เจา้ หน้าท่ี จัดให้พกั 2 คนขนึ้ ไป โดยพกั ห้องพักคู่ ยกเวน้ มีเหตจุ าเป็นหรอื ไม่เหมาะสม จดั ให้พักห้องพักคนเดยี วได้ อัตราค่าเช่าทพี่ ักในการฝกึ อบรมในประเทศ (บาท : วัน : คน) ระดบั การฝึกอบรม ค่าเชา่ หอ้ งพักคนเดยี ว ค่าเชา่ ห้องพกั คู่ 1. ประเภท ก ไม่เกิน 2,000 บาท ไม่เกนิ 1,100 บาท ไม่เกิน 750 บาท 2. ประเภท ข และ ไมเ่ กิน 1,200 บาท บคุ คลภายนอก อตั ราคา่ เชา่ ทีพ่ กั (บาท : วัน : คน) ตามมาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าแรงขั้นตา่ ประเภท ก พกั คนเดียว พกั คู่ ประเภท ข ไม่เกนิ 2,400 บาท ไมเ่ กิน 1,300 บาท ไม่เกิน 1,450 บาท ไม่เกนิ 900 บาท คา่ ยานพาหนะ 1. ใช้ยานพาหะของสว่ นราชการผูจ้ ัด/ยมื จากสว่ นราชการอื่น/หนว่ ยงานอื่น เบกิ ค่า น้ามนั เท่าที่จ่ายจริง 2. ใช้ยานพาหนะประจาทาง/เช่าเหมายานพาหนะ ให้จดั ประเภทยานพาหนะตามสทิ ธิ ดงั น้ี ประเภท ก : ประเภทบริหารระดับสูง ยกเว้น เครื่องบนิ ใชช้ ั้นธรุ กิจ แตถ่ า้ ไมส่ ามารถเดนิ ทางได้ให้ใช้ชน้ั หน่งึ ประเภท ข : ประเภททว่ั ไประดบั ปฏบิ ตั ิงาน โดยให้เบิกได้เท่าทจี่ า่ ยจริง ตามความจาเป็น และประหยดั

24 คา่ ใชจ้ ่ายของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม 1. ค่าลงทะเบยี นเบิกเท่าท่จี า่ ยจรงิ 2. เบ้ียเลีย้ ง คา่ เชา่ ทพี่ ัก คา่ พาหนะในการเดนิ ทางเขา้ รบั การฝกึ อบรม คา่ เคร่ืองแต่งตวั ในการเดนิ ทางไปฝกึ อบรมต่างประเทศ - เบกิ ไดเ้ ฉพาะผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมที่เป็นบุคลากรของรัฐ/เจา้ หน้าท่ี กรณีจ้างจดั ฝกึ อบรม 1. หลกั เกณฑ์/อัตราตามท่รี ะเบียบกาหนด 2. วิธีการจัดจา้ งตามระเบยี บพัสดุ 3. ใชใ้ บเสรจ็ รบั เงนิ ผ้รู ับจ้างเป็นหลกั ฐานการเบิกจ่าย 4. ถา้ ใช้เคร่อื งบนิ โดยสารเปน็ ยานพาหนะเดินทางไปฝกึ อบรมในตา่ งประเทศให้ปฏบิ ตั ิ ตาม มติ ครม. หรอื หนังสือกระทรวงการคลงั การประเมนิ ผลการฝึกอบรม 1. รายงานผลการประเมนิ การฝกึ อบรมต่อหวั หนา้ ส่วนราชการผู้จัดภายใน 60 วนั นบั แต่วนั ส้ินสดุ การฝึกอบรม 2. ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมรายงานผลการเข้ารบั ฝึกอบรมเสนอหัวหนา้ ส่วนราชการต้นสังกัด ภายใน 60 วนั นับแต่วันเดินทางกลับถงึ ที่ปฏบิ ตั ริ าชการ ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน 1. จัดงานตามแผนงาน/โครงการตามภารกิจปกติตามนโยบายของทางราชการ เช่น วัน คลา้ ยวนั สถาปนาส่วนราชการ งานนทิ รรศการ แถลงข่าว ประกวดหรือแขง่ ขัน 2. หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอนุมัติให้เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด กรณีจา้ งจัดงาน 1. อย่ใู นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ 2. วธิ กี ารจดั จา้ งทาตามระเบยี บพัสดุ 3. ใชใ้ บเสรจ็ รบั เงินของผรู้ บั จา้ งเป็นหลกั ฐานการจา่ ย ค่าใชจ้ า่ ยในการประชมุ ระหว่างประเทศ บุคคลที่จะเบกิ ค่าใช้จา่ ยได้ 1. ประธานในพธิ เี ปดิ -ปดิ แขกผู้มเี กยี รติ และผ้ตู ิดตาม 2. เจ้าหนา้ ที่ 3. เจา้ หนา้ ที่ปฏบิ ัตงิ านลกั ษณะพิเศษ 4. วทิ ยากร 5. ผู้เข้าร่วมประชมุ

25 คา่ ใชจ้ ่าย กอ่ น ระหว่าง และหลงั การจัดประชุมฯ เบิกไดเ้ ทา่ ทจี่ ่ายจริงตามความจาเปน็ เหมาะสม ยกเวน้ - คา่ สมนาคุณวิทยากร - เงินรางวัลของเจา้ หน้าที่ - ค่าอาหาร - ค่าเชา่ ท่ีพกั - คา่ พาหนะ เบกิ จ่ายตามหลักเกณฑแ์ ละอตั ราทกี่ าหนด สว่ นราชการผจู้ ัดการประชมุ ฯ เบกิ ค่าอาหาร ท่พี กั และยานพาหนะได้เท่าท่ีจ่ายจริง ดงั นี้ 1. ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นบุคคลระดับรัฐมนตรี หรือสมาชิกรัฐสภาข้ึนไป เบิกค่าใช้จ่ายได้ เทา่ ทีจ่ ่ายจรงิ โดยเปน็ ดุลยพินิจของหัวหนา้ สว่ นราชการเจ้าของงบประมาณ 2. บคุ คลนอกจากขอ้ 1 เบกิ คา่ ใชจ้ ่ายไดเ้ ท่าท่จี ่ายจริงไดไ้ ม่เกนิ อตั รา ดงั นี้ 2.1 คา่ อาหารและเครื่องด่มื - ครบทุกมอ้ื ไม่เกิน 1,200 บาท/วนั /คน - ไม่ครบทกุ มื้อ ไม่เกนิ 800 บาท/วัน/คน 2.2 ค่าเช่าทพ่ี กั ไมเ่ กิน 2,000 บาท/วนั /คน 2.3 ค่าพาหนะ เบิกจ่ายไดเ้ ท่าที่จา่ ยจริง ค่าใช้จ่ายของผเู้ ขา้ ร่วมประชุม 1. ค่าลงทะเบยี น เบิกได้เท่าท่ีจา่ ยจริง 2. กรณีค่าลงทะเบียน รวมค่าอาหาร/ท่ีพัก/ยานพาหนะท้ังหมดให้ผู้เข้าร่วมประชุมงด เบิกคา่ ใชจ้ ่าย 3. กรณีค่าลงทะเบียนไม่รวมค่าอาหาร/ท่ีพัก ยานพาหนะหรือรวมไว้บางส่วน ผู้จัดการ ประชุมไม่ออกหรือออกค่าใช้จ่ายให้บางส่วน ให้ผู้เข้าร่วมประชุมเบิกค่าใช้จ่ายท้ังหมดหรือส่วนที่ขาดหรือ ส่วนทมี่ ิไดอ้ อกตามหลกั เกณฑท์ ่ีกาหนด กรณีส่วนราชการผู้จัดการประชุมได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายจากที่อื่นให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่าย สมทบ ได้เฉพาะส่วนที่ขาด การจา้ งจดั การประชมุ ระหวา่ งประเทศ - ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของหวั หนา้ สว่ นราชการเจา้ ของงบประมาณ - ใหใ้ ช้ใบเสรจ็ ของผรู้ ับจา้ งเป็นหลักฐานการเบกิ จ่าย ผลจากการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระเบียบค่าใช้จ่ายว่าด้วยการ ฝึกอบรมและอ่ืน ๆ เป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การตอบข้อซัก-ถาม การแลกเปลีย่ นเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างชดั เจน

26 สว่ นที่ 3 การประเมินผลโครงการ การประเมินผลการฝึกอบรมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพหัวหน้าเจ้าหน้าท่ีด้านการบริหาร การเงินการคลังระดับอาเภอ ผู้ประเมินได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยใช้ แบบสอบถามสาหรบั กลมุ่ เป้าหมาย จานวน 102 คน โดยแยกดาเนินการ 2 รนุ่ วธิ ีการประเมิน 1. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการประเมนิ คือ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม จานวน 102 คน โดยแยก ดาเนนิ การ จานวน 2 รุ่น 2. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถามท้ัง 2 รุ่น โดยแยก การประเมนิ ออกเปน็ 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนท่ี 1 การประเมินผลรายวิชา แยกเป็น 1. ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เน้อื หาวิชา จานวน 4 ประเด็น ดงั น้ี 1.1 การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของรายวชิ า 1.2 ความชดั เจนของเนอ้ื หาวิชา 1.3 ความรู้ ทักษะ ทีไ่ ดร้ ับเพิม่ เติมจากวิชานี้ 1.4 ความสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ 2. ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร จานวน 5 ประเดน็ ดังน้ี 2.1 ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย 2.2 เทคนคิ และวธิ กี ารทใี่ ช้ในการถา่ ยทอดความรู้ 2.3 การเปดิ โอกาสใหซ้ ักถาม แสดงความคิดเหน็ 2.4 การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 2.5 บคุ ลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง นา้ เสียง ฯลฯ) 3. ส่งิ ทีป่ ระทับใจตอ่ วิทยากร 4. สิง่ ที่วทิ ยากรควรปรับปรงุ 5. ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมอน่ื ๆ สว่ นที่ 2 การประเมินผลโครงการภาพรวม จานวน 5 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป แยกเป็น 1.1 เพศ 1.2 อายุ 1.3 ตาแหน่งปัจจบุ ัน 1.4 การศกึ ษา

27 ตอนที่ 2 ความคิดเห็นตอ่ โครงการ 2.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2.2 การประเมินผลระดับความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านวิชาการ (ก่อนและหลัง เข้า ร่วมกิจกรรม) การฝึกอบรม จานวน 6 ประเด็น ดังน้ี 1) พรบ. จัดซอื้ จัดจ้าง ปี ๖๐/ TOR 2) ระเบยี บค่าใชจ้ า่ ยวา่ ด้วยการฝกึ อบรมและอน่ื ๆ 3) ประเด็นปญั หาที่ สตง. ตรวจพบบ่อย 2.3 การประเมินผลระดับความคิดเห็นต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน จานวน 6 ประเด็น ดงั น้ี 1) พรบ. จดั ซ้ือจดั จา้ ง ปี ๖๐/ TOR 2) ระเบียบคา่ ใช้จา่ ยว่าดว้ ยการฝกึ อบรมและอืน่ ๆ 3) ประเดน็ ปญั หาที่ สตง. ตรวจพบบ่อย 2.4 การประเมินผลระดับความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ จานวน 3 ด้าน ดงั น้ี 1) ด้านวทิ ยากร (1) ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย (2) เทคนิคและวธิ กี ารที่ใช้ในการถา่ ยทอดความรู้ (3) การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเห็น (4) การสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ 2) ด้านการให้บรกิ าร (1) เจา้ หน้าท่ีมีกิริยา มารยาท และการแตง่ กายเหมาะสม (2) เจ้าหน้าท่ีกระตอื รอื รน้ ในการใหบ้ รกิ าร (3) สัญญาณ wifi ในหอ้ งฝึกอบรม (4) สัญญาณ wifi ในหอ้ งพัก (5) โสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่อื งเสียง ฯลฯ) เหมาะสม (6) ห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมี ความสะอาด (7) อาหาร/อาหารว่าง/เคร่ืองดื่ม มีคุณภาพเหมาะสม 3) ดา้ นอาคาร และสถานที่ (1) ขนาดห้องฝึกอบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผเู้ ขา้ อบรม (2) หอ้ งอาหาร มคี วามเหมาะสม ถกู สุขลกั ษณะ (3) หอ้ งพกั มีความเหมาะสม (4) ห้องนา้ อาคารฝกึ อบรม มคี วามสะอาด 4) ดา้ นคณุ ภาพ (1) ความสอดคล้องของเน้อื หาหลกั สตู รกบั ความต้องการ (2) เนื้อหาหลักสูตรเป็นปจั จบุ นั ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง (3) ความร้ทู ่ีไดร้ ับสามารถนาไปปรับใชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้ (4) ความคุ้มคา่ ของการฝึกอบรม

28 2.5 กรมการพัฒนาชุมชนควรเพิ่มเตมิ ความรู้เรือ่ งใด หรือฝึกทักษะด้านใดใหแ้ ก่ทา่ น เพื่อ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิงาน นอกเหนอื จากท่ีท่านไดร้ ับจากการฝึกอบรมหลักสูตรน้ี ตอนท่ี 3 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ การวเิ คราะหข์ ้อมูล 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทั่วไปของกลมุ่ เปา้ หมายใชค้ ่าร้อยละ 2. การวิเคราะหค์ วามคิดเหน็ ทไ่ี ด้จากแบบสอบถาม ใชค้ า่ เฉลย่ี x ซึ่งเปน็ คาถาม เชิงนิมาน (เชิงบวก) คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด โดยการกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดงั นี้ มากท่สี ดุ มคี า่ เท่ากับ 5 มาก มีคา่ เทา่ กบั 4 ปานกลาง มคี ่าเท่ากบั 3 น้อย มีค่าเท่ากบั 2 นอ้ ยทสี่ ดุ มคี ่าเท่ากับ 1 เกณฑ์การประเมนิ การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมโครงการสร้างและพัฒนา ผูน้ าสัมมาชีพชุมชน จานวน 2,187 คน โดยพิจารณาจากคะแนนทไี่ ด้จากแบบสอบถามนามาหาคา่ เฉลี่ย x แลว้ ใชแ้ ปลความหมายตามเกณฑก์ ารประเมนิ คา่ ความคดิ เห็น ดังน้ี - ค่าเฉลยี่ ทไี่ ดร้ บั จากการวเิ คราะห์ระหว่าง 4.50-5.00 มีคา่ เทา่ กบั มากท่ีสดุ - ค่าเฉล่ียท่ีไดร้ ับจากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 3.50-4.49 มคี า่ เทา่ กบั มาก - คา่ เฉลยี่ ทไ่ี ดร้ บั จากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 2.50-3.49 มคี ่าเทา่ กับ ปานกลาง - คา่ เฉล่ยี ทไ่ี ด้รบั จากการวิเคราะหร์ ะหวา่ ง 1.50-2.49 มีคา่ เทา่ กบั น้อย - ค่าเฉลย่ี ทไ่ี ดร้ บั จากการวิเคราะห์ระหว่าง 1.00-1.49 มีค่าเทา่ กับ น้อยทส่ี ดุ เกณฑก์ ารประเมินที่ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์จะต้องมีค่าเฉล่ียไมน่ อ้ ยกว่า 2.50

29 ส่วนท่ี 1 ผลการประเมินรายวิชา 1.1 การประเมนิ ผลวิชา พรบ. จดั ซ้ือจดั จ้าง ปี ๖๐/ TOR (ผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 64 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.75 ของกลุม่ เปา้ หมาย) ส่วนที่ 1.1.1 ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เนื้อหาวิชาการ ตารางที่ 1 แสดงระดบั ความคิดเห็นเกยี่ วกับเน้ือหาวชิ าการ ระดับคะแนน ค่า การ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลีย่ แปรผล ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ 1. การบรรลวุ ัตถุประสงค์ของวชิ า 34 21 9 0 0 ระดบั 2. ความชัดเจนของเน้ือหาวชิ า (53.13) (32.81) (14.06) (0.00) (0.00) 4.39 มาก 3. ความรู้ ทักษะ ที่ไดร้ บั เพิ่มเติม จากวิชานี้ 30 22 10 2 0 ระดับ 4. ความสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ (46.88) (34.38) (15.63) (3.13) (0.00) 4.25 มาก 29 34 1 0 0 ระดับ (45.31) (53.13) (1.56) (0.00) (0.00) 4.44 มาก 38 24 2 0 0 ระดับ (59.38) (37.50) (3.13) (0.00) (0.00) 4.56 มากที่สุด ภาพรวม 4.41 ระดับ มาก จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ อยู่ใน ระดับมาก 4.41 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อ ประเด็นต่าง ๆ ระดับมากที่สุด คือ มีความพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ มีค่าเฉลี่ย 4.56 รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจต่อความรู้ ทักษะ ที่ได้รับเพิ่มเติมจากวิชานี้ ได้ค่าเฉล่ีย 4.44 พึงพอใจต่อ การบรรลุวัตถุประสงค์ของวิชา ได้ค่าเฉล่ีย 4.39 และพึงพอใจต่อความชัดเจนของเน้ือหาวิชา ได้ค่าเฉล่ีย 4.25

30 สว่ นที่ 1.1.2 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร ตารางท่ี 2 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวิทยากร ระดบั คะแนน คา่ การ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉลี่ย แปรผล ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ุด 1. ความรู้ ความสามารถในการ 37 26 1 0 0 ระดบั ถา่ ยทอด/บรรยาย (57.81) (40.63) (1.56) (0.00) (0.00) 4.56 มากทีส่ ดุ 2. เทคนิคและวิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการ 28 26 8 2 0 ระดบั ถา่ ยทอดความรู้ (43.75) (40.63) (12.50) (3.13) (0.00) 4.25 มาก 3. การเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดง 45 19 0 0 0 ระดบั ความคดิ เห็น (70.31) (29.69) (0.00) (0.00) (0.00) 4.70 มากที่สดุ 4. การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 30 34 0 0 0 ระดับ (46.88) (53.13) (0.00) (0.00) (0.00) 4.47 มาก 5. บุคลิกภาพ (การแตง่ กาย ทา่ ทาง 35 29 0 0 0 ระดับ น้าเสยี ง ฯลฯ) (54.69) (45.31) (0.00) (0.00) (0.00) 4.55 มากทส่ี ดุ ภาพรวม 4.51 ระดบั มากท่ีสดุ จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยู่ใน ระดบั มากท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย 4.51 และเมอื่ พิจารณาเรยี งลาดับค่าเฉล่ียท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึง พอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากที่สุด คือ พึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น คา่ เฉลย่ี 4.70 รองลงมาตามลาดบั คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.56 พึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉล่ีย 4.55 พึงพอใจต่อการสร้าง บรรยากาศในการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.47 และพึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉลย่ี 4.25 ส่วนที่ 1.1.3 สิ่งทผ่ี ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมประทับใจในวิทยากร 1. วิทยากรเปน็ ผูม้ คี วามรู้ความสามารถตรงจดุ มีประสบการณ์ 2. มีเทคนคิ การถา่ ยทอดไดด้ ีมาก 3. ตอบคาถามไดช้ ดั เจน เขา้ ใจง่ายและตรงประเดน็ 4. น้าเสยี งไพเราะ สขุ มุ รอบคอบ 5. มีความเป็นมอื อาชีพ เปิดโอกาสให้ซกั ถามและเรียนรู้ร่วมกนั สว่ นท่ี 1.1.4 ส่งิ ที่วทิ ยากรควรปรับปรุง 1. ควรมวี ธิ ีการนาเสนอแนวใหม่ ปรับเทคนิคให้หลากหลายน่าสนใจ

31 2. อยากให้มมี ขุ ตลกบา้ ง เพราะวชิ าการมากงว่ ง แต่ภาพรวมดีมากในเนื้อหาความรู้ 3. ปรับปรงุ เทคนคิ เพ่ือมีความสนุกในการฟงั 4. การปรับระดบั น้าเสยี งให้นา่ สนใจ 5. การยกตัวอย่างเก่ียวกับงานพัฒนาชุมชนประกอบ ส่วนที่ 1.1.5 ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ อน่ื ๆ 1. ควรเพิ่มหลักสูตรอบรมเจ้าหน้าท่ีการเงนิ การคลงั ระดบั อาเภอด้วย 2. การสรา้ งบรรยากาศในการเรียนรใู้ ห้ผ่อนคลาย 3. อยากให้มาเตมิ เตม็ ความรู้ปลี ะครัง้ 4. อยากให้ยกตวั อยา่ งประกอบ 1.2 การประเมินผลวิชาระเบียบค่าใช้จา่ ยวา่ ด้วยการฝกึ อบรมและอื่น ๆ (ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 78 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 76.47 ของกลุ่มเป้าหมาย) สว่ นที่ 1.2.1 ความคิดเหน็ เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาการ ตารางที่ 3 แสดงระดับความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เน้ือหาวิชาการ ระดบั คะแนน คา่ การ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉล่ีย แปรผล ที่สุด กลาง ทีส่ ุด 1. การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของวิชา 33 41 4 0 0 ระดบั 2. ความชัดเจนของเน้ือหาวิชา (42.31) (52.56) (5.13) (0.00) (0.00) 4.37 มาก 3. ความรู้ ทกั ษะ ทไี่ ด้รบั เพ่ิมเตมิ จากวิชานี้ 44 31 3 0 0 ระดับ 4. ความสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ (56.41) (39.74) (3.85) (0.00) (0.00) 4.53 มากที่สุด 44 31 3 0 0 ระดบั (56.41) (39.74) (3.85) (0.00) (0.00) 4.53 มากที่สดุ 42 32 4 0 0 ระดับ (53.85) (41.03) (5.13) (0.00) (0.00) 4.49 มาก ภาพรวม 4.48 ระดับ มาก จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.48 และเมอื่ พิจารณาเรยี งลาดับค่าเฉลย่ี ท่ผี ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม มีระดับความพงึ พอใจ ต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.53 คือ ความพึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวิชาและ ความพึงพอใจตอ่ ความรู้ ทักษะ ทไ่ี ด้รับเพิ่มเตมิ จากวิชานี้ รองลงมาตามลาดบั คอื พึงพอใจต่อความสามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้ ค่าเฉลี่ย 4.49 และพงึ พอใจต่อการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของวชิ า คา่ เฉลี่ย 4.37

32 สว่ นที่ 1.2.2 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ตารางท่ี 4 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวิทยากร ระดับคะแนน ค่า การ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉล่ีย แปรผล ที่สดุ กลาง ทีส่ ดุ 1. ความรู้ ความสามารถในการ 49 27 2 0 0 ระดบั ถ่ายทอด/บรรยาย (62.82) (34.62) (2.56) (0.00) (0.00) 4.60 มากท่สี ดุ 2. เทคนคิ และวิธีการท่ใี ชใ้ นการ 38 35 5 0 0 ระดับ ถา่ ยทอดความรู้ (48.72) (44.87) (6.41) (0.00) (0.00) 4.42 มาก 3. การเปดิ โอกาสให้ซกั ถาม แสดง 55 20 3 0 0 ระดับ ความคิดเห็น (70.51) (25.64) (3.85) (0.00) (0.00) 4.67 มากทส่ี ดุ 4. การสร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ 38 33 7 0 0 ระดบั 5. บคุ ลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง (48.72) (42.31) (8.97) (0.00) (0.00) 4.40 มาก น้าเสยี ง ฯลฯ) 43 30 5 0 0 ระดบั มาก (55.13) (38.46) (6.41) (0.00) (0.00) 4.49 ภาพรวม 4.52 ระดับ มากที่สุด จากตารางท่ี 4 พบว่า ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.52 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความ พึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความ คิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.67 รองลงมาตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.60 พึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.49 พึงพอใจต่อ เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉล่ีย 4.42 และพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ เรยี นรู้ คา่ เฉลีย่ 4.40 สว่ นท่ี 1.2.3 สงิ่ ท่ผี ู้เข้ารบั การฝึกอบรมประทับใจในวิทยากร 1. วิทยากรมคี วามรู้ ความสามารถในการบรรยาย 2. ความชดั เจนในเนอื้ หาและแนวทางปฏิบตั ิ สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้ 3. วิทยากรเปน็ กันเอง น้าเสียงชัดเจน 4. ยกตวั อย่างไดด้ ีและเข้าใจงา่ ย

33 สว่ นที่ 1.2.4 สิง่ ทีว่ ทิ ยากรควรปรับปรุง 1. ปรบั เทคนิคการนาเสนอทน่ี ่าสนใจเพม่ิ ข้นึ 2. เพ่ิมตวั อย่างประกอบเป็นกรณีศกึ ษาเยอะๆ สว่ นท่ี 1.2.5 ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมอน่ื ๆ 1. ครั้งตอ่ ไปจดั หลกั สตู รให้พัฒนาการอาเภอและเจ้าหน้าท่ีพสั ดมุ ารว่ มอบรมด้วย 2. ควรนาขอ้ ค้นพบมาเป็นกรณศี ึกษา แลกเปล่ยี นเรียนรู้ 3. มีเอกสารตวั อย่างประกอบท้งั ซ้อื จ้าง TORฯ เปน็ ตน้ 1.3 การประเมินผลวิชาประเดน็ ปัญหาท่ี สตง.ตรวจพบบ่อย (ผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 75 คน คิดเปน็ ร้อยละ 73.53 ของกล่มุ เป้าหมาย) ส่วนที่ 1.3.1 ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั เนือ้ หาวิชาการ ตารางท่ี 5 แสดงระดบั ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เน้ือหาวิชาการ ระดับคะแนน คา่ การ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย เฉลี่ย แปรผล ทีส่ ดุ กลาง ทสี่ ุด 1. การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของวิชา 28 43 4 0 0 ระดบั (37.33) (57.33) (5.33) (0.00) (0.00) 4.32 มาก 2. ความชดั เจนของเนื้อหาวชิ า 36 34 5 0 0 ระดับ (48.00) (45.33) (6.67) (0.00) (0.00) 4.41 มาก 3. ความรู้ ทักษะ ทไ่ี ด้รับเพ่ิมเตมิ 37 32 6 0 0 ระดับ จากวิชานี้ (49.33) (42.67) (8.00) (0.00) (0.00) 4.41 มาก 4. ความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ 32 36 7 0 0 ระดบั (42.67) (48.00) (9.33) (0.00) (0.00) 4.33 มาก ภาพรวม 4.37 ระดับ มาก จากตารางที่ 5 พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเน้ือหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.37 และเม่ือพิจารณาเรยี งลาดับค่าเฉลี่ยทผี่ ู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจ ตอ่ ประเด็นตา่ ง ๆ ระดับมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวชิ าเท่ากับความรู้ ทักษะ ที่ ได้รับเพ่ิมเติมจากวิชานี้ มีค่าเฉลยี่ 4.41 รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉลยี่ 4.33 และพึงพอใจตอ่ การบรรลวุ ตั ถุประสงคร์ ายวิชา ค่าเฉล่ยี 4.32

34 สว่ นท่ี 1.3.2 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ตารางท่ี 6 แสดงระดับความพงึ พอใจต่อวิทยากร ระดับคะแนน คา่ การ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลี่ย แปรผล ท่สี ุด กลาง ท่สี ดุ 1. ความรู้ ความสามารถในการ 46 24 5 0 0 ระดบั ถา่ ยทอด/บรรยาย (61.33) (32.00) (6.67) (0.00) (0.00) 4.55 มากที่สุด 2. เทคนคิ และวธิ ีการทใี่ ช้ในการ ถ่ายทอดความรู้ 33 36 5 1 0 ระดบั (44.00) (48.00) (6.67) (1.33) (0.00) 4.35 มาก 3. การเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดง 54 17 4 0 0 ระดับ ความคิดเหน็ (72.00) (22.67) (5.33) (0.00) (0.00) 4.67 มากที่สดุ 4. การสร้างบรรยากาศในการ 33 34 7 1 0 ระดับ เรยี นรู้ (44.00) (45.33) (9.33) (1.33) (0.00) 4.32 มาก 5. บคุ ลกิ ภาพ (การแตง่ กาย ท่าทาง 48 23 4 0 0 ระดบั น้าเสียง ฯลฯ) (64.00) (30.67) (5.33) (0.00) (0.00) 4.59 มากทส่ี ุด ภาพรวม 4.49 ระดบั มาก จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจ ต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น ค่าเฉล่ีย 4.67 รองลงมาตามลาดับ คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.59 พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.55 พึงพอใจต่อ เทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉลี่ย 4.35 และพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ เรยี นรู้ ค่าเฉล่ีย 4.32 ส่วนท่ี 1.3.3 สิ่งทผ่ี ู้เข้ารบั การฝกึ อบรมประทับใจในวทิ ยากร 1. ความชัดเจนของเน้อื หาวชิ า 2. นา้ เสียงชวนฟัง 3. ความเป็นกนั เอง บุคลิกภาพน่ารัก 4. ใสใ่ จและให้ความสาคัญกับการถ่ายทอดองค์ความรเู้ ป็นอยา่ งดี สว่ นท่ี 1.3.4 ส่งิ ทว่ี ทิ ยากรควรปรบั ปรุง - ไม่มี

35 ส่วนท่ี 1.3.5 ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมอื่น ๆ 1. เพม่ิ เวลาในการบรรยาย 2. ควรเชญิ สตง.ตรวจสอบภายในมาบรรยายด้วย 3. ตอ้ งการประเด็นที่ สตง.ตรวจแต่ละจังหวดั การประเมนิ ผลภาพรวมของโครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพหัวหน้าเจา้ หนา้ ท่ีดา้ นการบรหิ ารการเงนิ การคลัง ระดบั อาเภอ (ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 76.47) ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางท่ี 7 แสดงข้อมลู ทัว่ ไป ประเดน็ จานวน รอ้ ยละ 1) เพศ - ชาย 38 48.72 - หญงิ 40 51.28 2) อายุ - 41–45 ปี 4 5.13 - 46–50 ปี 25 32.05 - 51–55 ปี 28 35.90 - 56–60 ปี 21 26.92 3) ตาแหน่งปัจจุบนั - พัฒนาการอาเภอ 70 89.74 - นกั วิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ 8 10.26 4) การศกึ ษา - ปริญญาตรี 33 42.31 - ปริญญาโท 45 57.69 จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 และเพศชาย จานวน 38 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.72 ส่วนใหญ่มอี ายุระหว่าง 51-55 ปี จานวน 28 คน คดิ เป็นร้อยละ 35.90 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 46–50 ปี จานวน 320 คน คิดเป็นร้อยละ 23.20 อายุระหว่าง 46-50 ปี จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 32.05 อายุระหว่าง 56–60 ปี จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.92 และอายุ ระหว่าง 41-45 ปี จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 กลุ่มเป้าหมายดารงตาแหน่งพัฒนาการอาเภอจานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 89.74 และตาแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ

36 10.26 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 57.69 และจบการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี จานวน 33 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.31 ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ ตอ่ โครงการ ตารางท่ี 8 แสดงระดบั การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ส่วนท่ี 2.1 การบรรลุวัตถุประสงค์ของ ก่อนเข้ารว่ มโครงการ โครงการ ระดบั คะแนน คา่ การ วัตถปุ ระสงค์ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลย่ี แปรผล ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ุด เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพหวั หน้าเจ้าหน้าที่ 35 40 3 0 0 4.41 ระดบั ดา้ นการบรหิ ารการเงินการคลงั ระดับ (44.87) (51.28) (3.85) (0.00) (0.00) มาก อาเภอ ภาพรวม 4.41 ระดบั มาก จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.41

2.2 ความรูค้ วามเขา้ ใจและทักษะก่อนและหลงั ฝึกอบรม ตารางที่ 9 แสดงระดับความรแู้ ละความเข้าใจด้านวิชาการ (ก่อนและหลังเขา้ รว่ ม ส่วนที่ 2.2 ความรู้ความเข้าใจ 2.2.1 ก่อนเขา้ ร่วมโครงกา และทักษะกอ่ นและหลงั ฝึกอบรม ระดบั คะแนน หวั ข้อวิชา มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ุด กลาง ที่สุด 1.พรบ.จัดซ้ือจัดจา้ ง ปี ๖๐/ TOR 4 25 41 7 1 (5.13) (32.05) (52.56) (8.97) (1.28) 2.ระเบียบค่าใช้จ่ายว่าด้วยการ 5 37 31 5 0 ฝกึ อบรมและอื่น ๆ (6.41) (47.44) (39.74) (6.41) (0.00) 3.ประเด็นปญั หาท่ี สตง. ตรวจ 3 30 35 7 3 พบบอ่ ย (3.85) (38.46) (44.87) (8.97) (3.85) ภาพรวม จากตารางที่ 9 พบว่า ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมส่วนใหญ่มีระดบั ความรู้ ความเข้าใจตอ่ เนื้อหาวิช หลงั การฝกึ อบรมมีระดบั ความรู้ความเขา้ ใจตอ่ เน้ือหาวิชา โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มา 1. วิชา พรบ.จดั ซอ้ื จัดจา้ ง ปี ๖๐/ TOR ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนให อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.31 และหลังการฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเข้าใจ 2. วชิ า ระเบียบคา่ ใช้จา่ ยวา่ ดว้ ยการฝึกอบรมและอื่น ๆ ผู้เข้ารบั การ ฝกึ อบรม อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 3.54 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดบั ความรู้ คว 3. วชิ า ประเดน็ ปญั หาท่ี สตง. ตรวจพบบ่อย ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมส่ว อยใู่ นระดับปานกลาง คา่ เฉล่ีย 3.29 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจ

36 มกิจกรรม) าร 2.2.2 หลังเขา้ ร่วมโครงการ ค่า การ ระดบั คะแนน คา่ การ เฉล่ยี แปรผล มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉล่ีย แปรผล ท่ีสดุ กลาง ท่ีสุด ระดบั ระดับ 31 45 2 0 0 มาก ระดับ 3.31 ปานกลาง (39.74) (57.69) (2.56) (0.00) (0.00) 4.37 มาก ระดบั ระดับ 40 36 2 0 0 มาก ระดบั 3.54 มาก (51.28) (46.15) (2.56) (0.00) (0.00) 4.49 มาก ระดับ 37 40 1 0 0 3.29 ปานกลาง (47.44) (51.28) (1.28) (0.00) (0.00) 4.46 3.38 ระดบั ปาน 4.44 กลาง ชาก่อนเขา้ รับการฝึกอบรม โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลยี่ 3.38 และ าก ค่าเฉลีย่ 4.44 และเม่ือพิจารณาเรยี งลาดับคา่ เฉลยี่ เปน็ รายวิชาได้ดงั น้ี หญม่ รี ะดบั ความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนอ้ื หาวิชากอ่ นเข้ารบั การฝกึ อบรม จต่อประเดน็ เนื้อวชิ า อยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลีย่ 4.37 รฝกึ อบรมสว่ นใหญ่มรี ะดับความร้คู วามเขา้ ใจต่อประเด็นเนื้อหาวชิ ากอ่ นเข้ารับการ วามเขา้ ใจต่อประเด็นเนือ้ วชิ า อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.49 วนใหญ่มีระดับความรู้ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เนื้อหาวชิ าก่อนเขา้ รบั การฝึกอบรม จต่อประเด็นเน้ือวิชา อย่ใู นระดับมาก คา่ เฉลีย่ 4.46

37 2.3 ประโยชน์ของหัวข้อวิชาตอ่ การนาความร้ไู ปปรับใช้ในการปฏบิ ัติงาน ตารางท่ี 10 แสดงระดับความคดิ เห็นเก่ียวกบั การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ระดบั คะแนน คา่ การ หวั ข้อวิชา มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉล่ีย แปรผล ทสี่ ุด กลาง ท่สี ดุ 1.พรบ.จดั ซื้อจัดจา้ ง ปี ๖๐/ TOR 44 32 2 0 0 ระดับ (56.41) (41.03) (2.56) (0.00) (0.00) 4.54 มากที่สดุ 2.ระเบียบคา่ ใชจ้ ่ายว่าด้วยการฝึกอบรมและ 49 28 1 0 0 ระดับ อืน่ ๆ (62.82) (35.90) (1.28) (0.00) (0.00) 4.62 มากท่ีสุด 3.ประเดน็ ปัญหาท่ี สตง. ตรวจพบบอ่ ย 41 36 1 0 0 ระดบั (52.56) (46.15) (1.28) (0.00) (0.00) 4.51 มากที่สุด ภาพรวม ระดบั 4.56 มากทีส่ ดุ จากตารางที่ 10 พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความม่ันใจต่อการนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ุด ค่าเฉลี่ย 4.56 และเม่ือพจิ ารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหา น้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความม่ันใจในการนาความรู้ ระเบียบค่าใช้จ่ายว่าด้วยการฝึกอบรมและอ่ืน ๆ ไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.62 รองลงมาตามลาดับคือ พรบ.จัดซ้ือจัดจ้าง ปี ๖๐/ TOR อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.54 และประเด็นปัญหาที่ สตง. ตรวจพบบ่อย อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.51

38 2.4 ความพึงพอใจเกยี่ วกับการใหบ้ รกิ าร ตารางที่ 11 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกี่ยวกบั การใหบ้ ริการดา้ นวทิ ยากร ระดบั คะแนน ค่า การ หวั ข้อ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลย่ี แปรผล ท่ีสดุ กลาง ท่สี ุด 1.ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/ 52 25 1 0 0 ระดับ บรรยาย (66.67) (32.05) (1.28) (0.00) (0.00) 4.65 มากท่สี ดุ 2.เทคนคิ และวิธีการท่ใี ช้ในการถา่ ยทอด 36 39 3 0 0 ระดับ ความรู้ (46.15) (50.00) (3.85) (0.00) (0.00) 4.42 มาก 3.การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความ 49 27 2 0 0 ระดบั คดิ เหน็ (62.82) (34.62) (2.56) (0.00) (0.00) 4.60 มากทสี่ ุด 4.การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ 36 38 4 0 0 ระดบั (46.15) (48.72) (5.13) (0.00) (0.00) 4.41 มาก ภาพรวม 4.52 ระดับ มากท่ีสุด จากตารางที่ 11 พบวา่ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสว่ นใหญ่มรี ะดบั ความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ รกิ ารด้านวิทยากร โดยภาพรวมอย่ใู น ระดับมากที่สดุ ค่าเฉลี่ย 4.52 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่มคี วาม พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 รองลงมา ตามลาดับคอื ความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยใู่ นระดับมากที่สุด คา่ เฉลยี่ 4.60 ความพึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.42 และความพึง พอใจต่อการสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.41

39 ตารางที่ 12 แสดงระดบั ความพงึ พอใจเกีย่ วกับการให้บริการของเจา้ หนา้ ที่ ระดบั คะแนน คา่ การ หวั ข้อ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย เฉล่ีย แปรผล ทีส่ ุด กลาง ท่สี ุด 1.เจา้ หนา้ ทม่ี ีกริ ิยา มารยาท และการแต่ง 45 30 2 1 0 ระดบั กายเหมาะสม (57.69) (38.46) (2.56) (1.28) (0.00) 4.53 มากท่สี ดุ 2.เจ้าหนา้ ทกี่ ระตอื รือร้นในการใหบ้ รกิ าร 41 34 3 0 0 ระดับ (52.56) (43.59) (3.85) (0.00) (0.00) 4.49 มาก 3.สัญญาณ wifi ในหอ้ งฝึกอบรม 24 32 20 1 1 ระดับ (30.77) (41.03) (25.64) (1.28) (1.28) 3.99 มาก 4.สัญญาณ wifi ในหอ้ งพัก 18 34 20 4 2 ระดบั (23.08) (43.59) (25.64) (5.13) (2.56) 3.79 มาก 5.โสตทัศนปู กรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ือง 28 46 4 0 0 ระดับ เสยี ง ฯลฯ) เหมาะสม มาก (35.90) (58.97) (5.13) (0.00) (0.00) 4.31 ระดับ มาก 6.หอ้ งฝึกอบรม หอ้ งพกั ห้องน้า โรงอาหาร 28 43 6 0 1 และบรเิ วณโดยรอบมีความสะอาด (35.90) (55.13) (7.69) (0.00) (1.28) 4.24 7.อาหาร/อาหารวา่ ง/เครือ่ งดื่ม มคี ณุ ภาพ 25 45 5 2 1 ระดับ เหมาะสม (32.05) (57.69) (6.41) (2.56) (1.28) 4.17 มาก ภาพรวม 4.22 ระดับ มาก จากตารางท่ี 12 พบวา่ ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านการให้บริการ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.22 และเม่ือพจิ ารณาเป็นรายประเด็นพบวา่ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความ พึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีมีกิริยา มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีกระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.49 ความพึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่อื งเสียง ฯลฯ) เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 ความพึงพอใจต่อห้องฝึกอบรม หอ้ งพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมคี วามสะอาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.24 ความพึงพอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เครื่องด่ืม มีคุณภาพเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.17 ความพึงพอใจต่อสัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 3.99 และท่ีมีความพึงพอใจ น้อยทีส่ ดุ คอื สัญญาณ wifi ในหอ้ งพัก อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 3.79


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook