Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุป (A) Rithemetics

รายงานสรุป (A) Rithemetics

Published by krusarapee2020, 2021-09-08 04:41:02

Description: รายงานสรุป (A) Rithemetics

Search

Read the Text Version

รายงานสรปุ กจิ กรรมสอนเสริมเพ่มิ ปญั ญา

รายงานผลการดาเนินกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มปัญญา ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนวดั หนงั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร *********************************************************************************************** ๑. หลกั การและเหตผุ ล ตามที่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร มีนโยบายให้สถานศึกษา ดาเนินการพัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเตรียม ความพร้อมผู้เรียนทุกระดับช้ันในการประเมินความสามารถการอ่าน (RT) การทดสอบความสามารถ พน้ื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) และการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ดังน้ัน โรงเรียนวัดหนัง จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมสอนเสริมเพ่ิมปัญญา เพื่อให้นักเรียนทุก ระดับชน้ั ได้พฒั นาตนเองเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและเตรียมพร้อมในการทดสอบระดบั ตา่ งๆ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทกุ รายวชิ าใหเ้ พม่ิ ขนึ้ ๒.๒ เพอื่ พัฒนาการเรยี นรขู้ องนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ๒.๓ เพื่อเตรยี มความพร้อมในการทดสอบต่างๆ ๓. วธิ ีการดาเนิน ๓.๑ จัดทาโครงการ/กจิ กรรมเสนอตอ่ ผู้บรหิ าร และประชมุ ช้ีแจงทาความเข้าใจกบั คณะครู ๓.๒ วางแผนการดาเนนิ การ ๓.๓ ปฏบิ ตั ิตามแผนการดาเนินการ ๓.๔ นเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงาน และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลการดาเนนิ งาน ๓.๕ รายงานผลการดาเนนิ งาน ๔. ผลการดาเนินงาน การดาเนินกิจกรรมสอนเสริมเพ่ิมปญั ญา ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นวดั หนงั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษากรุงเทพมหานคร สามารถรายงานผลการดาเนินกิจกรรม ไดด้ ังน้ี เกณฑก์ ารตัดสินระดับคุณภาพ ร้อยละ ๘๐.๐๐ - ๑๐๐.๐๐ หมายถึง ดมี าก ร้อยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ หมายถงึ ดี ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ หมายถงึ ปานกลาง รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙ หมายถึง พอใช้ ร้อยละ ๐๐.๐๐ - ๔๙.๙๙ หมายถึง ปรับปรงุ

จากแบบสรปุ ผลการประเมินกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มปัญญาช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๖ โรงเรยี น วดั หนัง ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ พบว่า มคี ่าเฉลีย่ ตามรายวชิ า ดงั นี้ วชิ าภาษาไทย ระดบั ดมี าก รอ้ ยละ ๓๗.๕๗ ระดบั ดี รอ้ ยละ ๒๖.๕๕ ระดับปานกลาง ๒๓.๗๓ และระดบั พอใช้ รอ้ ยละ ๑๒.๑๕ วิชาคณิตศาสตร์ ระดับดมี าก รอ้ ยละ ๓๘.๓๑ ระดบั ดี ร้อยละ ๓๐.๑๗ ระดบั ปานกลาง ๒๑.๖๙ และระดบั พอใช้ รอ้ ยละ ๙.๘๓ วชิ าวิทยาศาสตร์ ระดับดีมาก รอ้ ยละ ๓๘.๑๓ ระดับดี ร้อยละ ๓๔.๓๒ ระดบั ปานกลาง ๒๐.๗๖ และระดบั พอใช้ รอ้ ยละ ๖.๗๘ วิชาภาษาองั กฤษ ระดบั ดีมาก รอ้ ยละ ๒๗.๙๗ ระดบั ดี รอ้ ยละ ๒๘.๘๑ ระดับปานกลาง ๒๕.๐๐ และระดบั พอใช้ ร้อยละ ๑๘.๒๒ ๕. สรปุ ผลการดาเนินงาน จากผลการดาเนินงานกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มปัญญา ซ่ึงดาเนินกิจกรรมในช่วงเช้าต้ังแต่เวลา ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. พบว่า นักเรียนมีพัฒนาการเรียนรู้และมีผลสัมฤทธ์ิแต่ละรายวิชาดีข้ึน และเป็น ข้อมูลให้ครูผู้สอนทราบปัญหาการเรียนของนักเรียนแต่ละรายวิชาของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อหา แนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ครทู กุ คนมีการจดั การเรยี นรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ มีการใช้ และพัฒนาสื่อการเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นความสนใจและเสริมสร้างพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทาให้ผเู้ รยี นเกิดความสนุกสนานในการเรียน บรรยากาศในการเรียน การสอนเอือ้ ตอ่ การเรียนรขู้ องนกั เรียน และทาใหค้ รแู ละนกั เรยี นมีปฏสิ ัมพันธ์ท่ีดตี อ่ กัน ๖. ประโยชน์ที่ได้รบั จากการดาเนินกจิ กรรมสอนเสรมิ เพม่ิ ปัญญา สง่ ผลตอ่ พฒั นาการด้านการเรียนรขู้ องนกั เรยี นเป็น รายบุคคลและเป็นการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาต่างๆ ของผู้เรียนให้สูงข้ึน นักเรียน สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ครูมีความรู้ความเข้าใจ มีข้อมูลในการพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล และร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้ นกั เรยี นเกดิ การเรียนได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพ

แบบสรปุ ผลการประเมนิ กจิ กร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ โรงเรียนวัดหนงั ********************************** ชนั้ จานวนนกั เรยี น ภาษาไทย คณ ช้ัน ทัง้ หมด ปกติ พเิ ศษ ีด ีดมาก ีด ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง ีด ีดมาก ีด ป.๑/๑ ๒๙ ๒๙ - ๑๙ ๔ ๑ ๕ -- - - ป.๑/๒ ๓๐ ๓๐ - ๑๓ ๖ ๓ ๘ -- - - - ๓๒ ๑๐ ๔ ๑๓ -- - - รวม ๕๙ ๕๙ - ๑ ๕ ๑๓ ๗ - ๑๒ ๖ ๓ ป.๒/๑ ๒๖ ๒๖ -๖ ๗ ๗ ๔ - ๑๔ ๕ ๑ ป.๒/๒ ๒๔ ๒๔ - ๗ ๑๒ ๒๐ ๑๑ - ๒๖ ๑๑ ๔ - ๙ ๑๐ ๖ ๓ - ๑๑ ๘ ๗ รวม ๕๐ ๕๐ - ๑๔ ๕ ๑๐ ๒ - ๑๒ ๑๒ ๕ ป.๓/๑ ๒๘ ๒๘ - ๒๓ ๑๕ ๑๖ ๕ - ๒๓ ๒๐ ๑ ป.๓/๒ ๓๑ ๓๑ - ๑๙ ๑๑ ๑ - - ๑๐ ๔ ๑ ๒ ๑๐ ๖ ๘ ๗ -๙๗ ๓ รวม ๕๙ ๕๙ ๒ ๒๙ ๑๗ ๙ ๗ - ๑๙ ๑๑ ๑ ป.๔/๑ ๓๑ ๓๑ - ๑๘ ๑๑ ๔ - - ๒๔ ๙ - ป.๔/๒ ๓๓ ๓๑ ๓ ๒ ๑๐ ๑๑ ๔ - - ๒๒ ๕ ๓ ๒๐ ๒๑ ๑๕ ๔ - ๒๔ ๓๑ ๕ รวม ๖๔ ๖๒ - ๒๐ ๙ ๖ - - ๑๙ ๑๑ ๕ ป.๕/๑ ๓๓ ๓๓ ๔ ๒ ๑๐ ๑๔ ๓ -๒๕ ๒ ป.๕/๒ ๓๐ ๒๗ ๔ ๒๒ ๑๙ ๒๐ ๓ - ๒๑ ๑๖ ๒ ๙ ๑๓๓ ๙๔ ๘๔ ๔๓ - ๑๑๓ ๘๙ ๖ รวม ๖๓ ๖๐ ป.๖/๑ ๓๕ ๓๕ ๓๗.๕๗ ๒๖.๕๕ ๒๓.๗๓ ๑๒.๑๕ - ๓๘.๓๑ ๓๐.๑๗ ๒๑. ป.๖/๒ ๓๓ ๒๙ รวม ๖๘ ๖๔ รวมทัง้ หมด ๓๖๓ ๓๕๔ เฉล่ียรอ้ ยละ

รรมสอนเสรมิ เพ่มิ ปญั ญา ง ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ******************************* ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ฯ ภาษาองั กฤษ ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง ีด ีดมาก ีด ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง ีด ีดมาก ีด ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง -- -- - - - -- - - - - -- -- - - - -- - - - - -- -- - - - -- - - - - ๓๕ - ๕ ๑๐ ๘ ๓ -๙๖ ๘ ๓ - ๑๔ - ๙ ๑๔ ๑ - - ๑๐ ๕ ๓ ๖ - ๔๙ - ๑๔ ๒๔ ๙ ๓ - ๑๙ ๑๑ ๑๑ ๙ - ๗๒ -- - - - -- - - - - ๕๒ -- - - - -- - - - - ๑๒ ๔ -- - - - -- - - - - ๑๔ ๓ - ๑๒ ๑๑ ๕ ๓ - ๒๑ ๙ ๑ - - ๓ ๑๒ - ๖ ๖ ๙ ๑๐ - ๙ ๒๒ - - - ๑๗ ๑๕ - ๑๘ ๑๗ ๑๔ ๑๓ - ๓๐ ๓๑ ๑ - - -- - ๒๖ ๓ ๔ - - ๕ ๑๒ ๗ ๙ - ๕- - ๕ ๗ ๑๕ - - - ๑ ๑๗ ๙ - ๕- - ๓๑ ๑๐ ๑๙ - - ๕ ๑๓ ๒๔ ๑๘ - ๕- - ๑๙ ๑๕ ๑ - - ๑๑ ๗ ๑๒ ๕ - ๒๑ ๑ - ๘ ๑๕ ๖ - - ๑ ๖ ๑๑ ๑๑ - ๒๖ ๑ - ๒๗ ๓๐ ๗ - - ๑๒ ๑๓ ๒๓ ๑๖ - ๖๔ ๒๙ - ๙๐ ๘๑ ๔๙ ๑๖ - ๖๖ ๖๘ ๕๙ ๔๓ - .๖๙ ๙.๘๓ - ๓๘.๑๓ ๓๔.๓๒ ๒๐.๗๖ ๖.๗๘ - ๒๗.๙๗ ๒๘.๘๑ ๒๕.๐๐ ๑๘.๒๒ -

แบบสรปุ ผลการประเมินกจิ กรรมสอนเสริมเพิ่มปัญญาแยกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย **************************************************************** ชั้น จานวนนักเรียน ภาษาไทย ช้ัน ทัง้ หมด ปกติ พเิ ศษ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ป.๑/๑ ๒๙ ๒๙ - ๑๙ ๔ ๑ ๕ ป.๑/๑ ๓๐ ๓๐ - ๑๓ ๖ ๓ ๘ รวม ๕๙ ๕๙ - ๓๒ ๑๐ ๔ ๑๓ เฉลี่ยร้อยละ ๕๔.๒๔ ๑๖.๙๕ ๖.๗๘ ๒๒.๐๓ ป.๒/๑ ๒๖ ๒๖ - ๑ ๕ ๑๓ ๗ ป.๒/๒ ๒๔ ๒๔ - ๖ ๗ ๗ ๔ รวม ๕๐ ๕๐ - ๗ ๑๒ ๒๐ ๑๑ เฉลี่ยร้อยละ ๑๔.๐๐ ๒๔.๐๐ ๔๐.๐๐ ๒๒.๐๐ ป.๓/๑ ๒๘ ๒๘ - ๙ ๑๐ ๖ ๓ ป.๓/๒ ๓๑ ๓๑ - ๑๔ ๕ ๑๐ ๒ รวม ๕๙ ๕๙ - ๒๓ ๑๕ ๑๖ ๕ เฉล่ียร้อยละ ๓๘.๙๘ ๒๕.๔๒ ๒๗.๑๒ ๘.๔๗ ป.๔/๑ ๓๑ ๓๑ - ๑๙ ๑๑ ๑ - ป.๔/๒ ๓๓ ๓๑ ๒ ๑๐ ๖ ๘ ๗ รวม ๖๔ ๖๒ ๒ ๒๙ ๑๗ ๙ ๗ เฉลี่ยรอ้ ยละ ๔๖.๗๗ ๒๗.๔๒ ๑๔.๕๒ ๑๑.๒๙ ป.๕/๑ ๓๓ ๓๓ - ๑๘ ๑๑ ๔ - ป.๕/๒ ๓๐ ๒๗ ๓ ๒ ๑๐ ๑๑ ๔ รวม ๖๓ ๖๐ ๓ ๒๐ ๒๑ ๑๕ ๔ เฉลี่ยรอ้ ยละ ๓๓.๓๓ ๓๕.๐๐ ๒๕.๐๐ ๖.๖๗ ป.๖/๑ ๓๕ ๓๕ - ๒๐ ๙ ๖ - ป.๖/๒ ๓๓ ๒๙ ๔ ๒ ๑๐ ๑๔ ๓ รวม ๖๘ ๖๔ ๔ ๒๒ ๑๙ ๒๐ ๓ เฉลีย่ รอ้ ยละ ๓๔.๓๘ ๒๙.๖๗ ๓๑.๒๕ ๔.๖๙ รวมทง้ั หมด ๓๖๓ ๓๕๔ ๙ ๑๓๓ ๙๔ ๘๔ ๔๓ รวมเฉล่ียร้อยละ ๓๗.๕๗ ๒๖.๕๕ ๒๓.๗๓ ๑๒.๑๕

แบบสรุปผลการประเมนิ กจิ กรรมสอนเสริมเพ่มิ ปญั ญาแยกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ **************************************************************** ชัน้ จานวนนกั เรยี น คณิตศาสตร์ ชน้ั ท้งั หมด ปกติ พิเศษ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ป.๑/๑ ๒๙ ๒๙ - - - - - ป.๑/๒ ๓๐ ๓๐ - - - - - รวม ๕๙ ๕๙ - - - - - เฉลี่ยรอ้ ยละ -- - - ป.๒/๑ ๒๖ ๒๖ - ๑๒ ๖ ๓ ๕ ป.๒/๒ ๒๔ ๒๔ - ๑๔ ๕ ๑ ๔ รวม ๕๐ ๕๐ - ๒๖ ๑๑ ๔ ๙ เฉล่ียร้อยละ ๕๒.๐๐ ๒๒.๐๐ ๘.๐๐ ๑๘.๐๐ ป.๓/๑ ๒๘ ๒๘ - ๑๑ ๘ ๗ ๒ ป.๓/๒ ๓๑ ๓๑ - ๑๒ ๑๒ ๕ ๒ รวม ๕๙ ๕๙ - ๒๓ ๒๐ ๑๒ ๔ เฉลี่ยรอ้ ยละ ๓๘.๙๘ ๓๓.๙๐ ๒๐.๓๔ ๖.๗๘ ป.๔/๑ ๓๑ ๓๑ - ๑๐ ๔ ๑๔ ๓ ป.๔/๒ ๓๓ ๓๑ ๒ ๙ ๗ ๓ ๑๒ รวม ๖๔ ๖๒ ๒ ๑๙ ๑๑ ๑๗ ๑๕ เฉลี่ยรอ้ ยละ ๓๐.๖๕ ๑๗.๗๔ ๒๗.๔๒ ๒๔.๑๙ ป.๕/๑ ๓๓ ๓๓ - ๒๔ ๙ - - ป.๕/๒ ๓๐ ๒๗ ๓ - ๒๒ ๕ - รวม ๖๓ ๖๐ ๓ ๒๔ ๓๑ ๕ - เฉลย่ี รอ้ ยละ ๔๐.๐๐ ๕๑.๖๗ ๘.๓๓ - ป.๖/๑ ๓๕ ๓๕ - ๑๙ ๑๑ ๕ - ป.๖/๒ ๓๓ ๒๙ ๔ ๒ ๕ ๒๑ ๑ รวม ๖๘ ๖๔ ๔ ๒๑ ๑๖ ๒๖ ๑ เฉล่ียรอ้ ยละ ๓๒.๘๑ ๒๕.๐๐ ๔๐.๖๓ ๑.๕๖ รวมท้งั หมด ๓๐๔ ๒๙๕ ๙ ๑๑๓ ๘๙ ๖๔ ๒๙ รวมเฉลย่ี รอ้ ยละ ๓๘.๓๑ ๓๐.๑๗ ๒๑.๖๙ ๙.๘๓

แบบสรปุ ผลการประเมินกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิม่ ปัญญาแยกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี **************************************************************** ชน้ั จานวนนกั เรียน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ทัง้ หมด ปกติ พิเศษ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ป.๑/๑ ๒๙ ๒๙ - - - - - ป.๑/๑ ๓๐ ๓๐ - - - - - รวม ๕๙ ๕๙ - - - - - เฉล่ียรอ้ ยละ -- - - ป.๒/๑ ๒๖ ๒๖ - ๕ ๑๐ ๘ ๓ ป.๒/๒ ๒๔ ๒๔ - ๙ ๑๔ ๑ - รวม ๕๐ ๕๐ - ๑๔ ๒๔ ๙ ๓ เฉลี่ยรอ้ ยละ -- - - ป.๓/๑ ๒๘ ๒๘ - - - - - ป.๓/๒ ๓๑ ๓๑ - - - - - รวม ๕๙ ๕๙ - - - - - เฉลยี่ ร้อยละ ป.๔/๑ ๓๑ ๓๑ - ๑๒ ๑๑ ๕ ๓ ป.๔/๒ ๓๓ ๓๑ ๒ ๖ ๖ ๙ ๑๐ รวม ๖๔ ๖๒ ๒ ๑๘ ๑๗ ๑๔ ๑๓ เฉลย่ี ร้อยละ ๒๙.๐๓ ๒๗.๔๒ ๒๒.๕๘ ๒๐.๙๗ ป.๕/๑ ๓๓ ๓๓ - ๒๖ ๓ ๔ - ป.๕/๒ ๓๐ ๒๗ ๓ ๕ ๗ ๑๕ - รวม ๖๓ ๖๐ ๓ ๓๑ ๑๐ ๑๙ - เฉลีย่ ร้อยละ ๕๑.๖๗ ๑๖.๖๗ ๓๑.๖๖ - ป.๖/๑ ๓๕ ๓๕ - ๑๙ ๑๕ ๑ - ป.๖/๒ ๓๓ ๒๙ ๔ ๘ ๑๕ ๖ - รวม ๖๘ ๖๔ ๔ ๒๗ ๓๐ ๗ - เฉลย่ี ร้อยละ ๔๒.๑๙ ๔๖.๘๘ ๑๐.๙๔ - รวมท้ังหมด ๒๔๕ ๒๓๖ ๙ ๙๐ ๘๑ ๔๙ ๑๖ รวมเฉลี่ยรอ้ ยละ ๓๘.๑๓ ๓๔.๓๒ ๒๐.๗๖ ๖.๗๘

แบบสรปุ ผลการประเมินกจิ กรรมสอนเสรมิ เพ่ิมปญั ญาแยกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) **************************************************************** ชน้ั จานวนนักเรยี น ภาษาองั กฤษ ชั้น ทั้งหมด ปกติ พิเศษ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ป.๑/๑ ๒๙ ๒๙ - - - - - - ป.๑/๑ ๓๐ ๓๐ - - - - - - รวม ๕๙ ๕๙ - - - - ๓ ๖ เฉล่ยี รอ้ ยละ -- - ๙ ๑๘.๐๐ ป.๒/๑ ๒๖ ๒๖ - ๙ ๖ ๘ - - ป.๒/๒ ๒๔ ๒๔ - ๑๐ ๕ ๓ - - รวม ๕๐ ๕๐ - ๑๙ ๑๑ ๑๑ - - เฉลี่ยร้อยละ ๓๘.๐๐ ๒๒.๐๐ ๒๒.๐๐ - - ป.๓/๑ ๒๘ ๒๘ - - - - ๙ ๙ ป.๓/๒ ๓๑ ๓๑ - - - - ๑๘ ๓๐.๐๐ รวม ๕๙ ๕๙ - - - - ๕ ๑๑ เฉลย่ี รอ้ ยละ -- - ๑๖ ๒๕.๐๐ ป.๔/๑ ๓๑ ๓๑ - ๒๑ ๙ ๑ ๔๓ ๑๘.๒๒ ป.๔/๒ ๓๓ ๓๑ ๒ ๙ ๒๒ - รวม ๖๔ ๖๒ ๒ ๓๐ ๓๑ ๑ เฉลย่ี รอ้ ยละ ๔๘.๓๙ ๕๐.๐๐ ๑.๖๑ ป.๕/๑ ๓๓ ๓๓ - ๕ ๑๒ ๗ ป.๕/๒ ๓๐ ๒๗ ๓ - ๑ ๑๗ รวม ๖๓ ๖๐ ๓ ๕ ๑๓ ๒๔ เฉลี่ยร้อยละ ๘.๓๓ ๒๑.๖๗ ๔๐.๐๐ ป.๖/๑ ๓๕ ๓๕ - ๑๑ ๗ ๑๒ ป.๖/๒ ๓๓ ๒๙ ๔ ๑ ๖ ๑๑ รวม ๖๘ ๖๔ ๔ ๑๒ ๑๓ ๒๓ เฉลย่ี ร้อยละ ๑๘.๗๕ ๒๐.๓๑ ๓๕.๙๔ รวมทง้ั หมด ๒๔๕ ๒๓๖ ๙ ๖๖ ๖๘ ๕๙ รวมเฉลย่ี ร้อยละ ๒๗.๙๗ ๒๘.๘๑ ๒๕.๐๐

กจิ กรรมสอนเสริมเพิ่มปญั ญา กจิ กรรมสอนเสริเมเพม่ิ ปัญญา เปน็ กิจกรรมท่ีสอนเสรมิ เพมิ่ เตมิ ใหก้ ับนักเรยี นทกุ คน โดยการจัดการเรยี นการสอนเพิ่มเตมิ ๔ วชิ าหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษาองั กฤษ จดั การเรียนการสอนชว่ั โมงแรกตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ของทุกวันตัง้ แต่วนั จันทร์-วนั พฤหัสบดี การสอนจะเน้นการนาขอ้ สอบตา่ งๆ มาสอนเสรมิ ดังนี้ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เน้นขอ้ สอบ RT ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒,๔,๕ เนน้ ข้อสอบกลาง ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เนน้ ข้อสอบ NT ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เนน้ ข้อสอบ O-NET วธิ ีการสอน จะมวี ิธกี ารดาเนนิ การ ดังนี้ ๑. ครูนาขอ้ สอบมาวเิ คราะห์ แล้วให้นักเรยี นทาขอ้ สอบ ครอู ธิบายวิธีการคิด หลักการตา่ งๆ ให้นกั เรยี นเกิดความเข้าใจ ๒. ครูจัดทาขอ้ สอบคู่ขนาน เปลยี่ นโจทย์ เปลยี่ นคาถาม สลับคาตอบ แล้วนาไปให้ นักเรียนลองฝกึ ทาเพม่ิ เตมิ จนกวา่ นกั เรียนจะเกิดความเขา้ ใจ ๓. ประเมนิ ผลนกั เรยี น โดยใช้วธิ กี ารสอนไปประเมินผลควบคู่ไปเสมอ

ตารางการสอนเสริมเพ่มิ ปัญญา ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ **************************** เวลา ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ป.๑/๒ วนั ป.๑/๑ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จันทร์ อังคาร ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. เตมิ ปัญญา : ภาษาไทย พุธ ครูสวุ นันท์, ครวู ัลภา, ครขู วัญตา พฤหัสบดี เตมิ ปญั ญา : ภาษาไทย ครูนนั ทพร, ครอู นุชติ , ครูอรณิชา เตมิ ปัญญา : ภาษาไทย ครสู วุ นนั ท,์ ครวู ลั ภา, ครูขวญั ตา เตมิ ปัญญา : ภาษาไทย ครูนนั ทพร, ครอู นชุ ติ , ครูอรณชิ า เตมิ ปัญญา : ภาษาไทย ครูสวุ นนั ท์, ครวู ัลภา, ครูขวญั ตา เตมิ ปญั ญา : ภาษาไทย ครูนนั ทพร, ครอู นชุ ติ , ครอู รณชิ า เติมปญั ญา : ภาษาไทย ครูสวุ นันท,์ ครูวลั ภา, ครขู วญั ตา เติมปญั ญา : ภาษาไทย ครนู นั ทพร, ครูอนชุ ิต, ครอู รณิชา เวลา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ป.๒/๒ วนั ป.๒/๑ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จนั ทร์ อังคาร ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. เติมปัญญา : คณิตศาสตร์ พธุ ครูอรณิชา พฤหสั บดี เตมิ ปญั ญา : ภาษาไทย ครูขวัญตา เตมิ ปัญญา : ภาษาอังกฤษ ครูวลั ภา เตมิ ปญั ญา : วิทยาศาสตร์ ครูนนั ทพร, ครูณฐั ชนน เติมปัญญา : คณติ ศาสตร์ เติมปัญญา : ภาษาไทย ครอู รณชิ า ครูขวัญตา เติมปญั ญาวทิ ยาศาสตร์ เตมิ ปัญญา : ภาษาอังกฤษ ครขู วัญตา, ครณู ัฐชนนท์ ครูวัลภา

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ป.๓/๑ ป.๓/๒ วัน ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จันทร์ อังคาร สอนเสริม NT (ภาษาไทย) สอนเสรมิ NT(คณิตศาสตร์) พธุ ครอู ริยา, ครูมนพร ครกู มลดา, ครนู ิดารตั น์ พฤหสั บดี สอนเสรมิ NT(ภาษาไทย) สอนเสริม NT (คณิตศาสตร)์ ครอู รยิ า, ครูมนพร ครูกมลดา, ครูนิดารัตน์ สอนเสริม NT (ภาษาไทย) สอนเสรมิ NT(คณิตศาสตร)์ ครูอรยิ า, ครูมนพร ครกู มลดา, ครูนดิ ารัตน์ สอนเสริม NT(ภาษาไทย) สอนเสริม NT (คณติ ศาสตร)์ ครอู รยิ า, ครูมนพร ครกู มลดา, ครูนดิ ารตั น์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ป.๔/๑ ป.๔/๒ วนั ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จันทร์ องั คาร เติมปัญญา : คณิตศาสตร์ เตมิ ปัญญา : ภาษาองั กฤษ พุธ ครูมาลี ครวู สษิ ฐ์ พฤหัสบดี เตมิ ปัญญา : วิทยาศาสตร์ เตมิ ปัญญา : คณิตศาสตร์ ครูมาลี ครสู ารภี เติมปัญญา : ภาษาไทย เติมปัญญา : ภาษาไทย ครูรินทรน์ ภา ครูรนิ ทร์นภา เติมปัญญา : ภาษาอังกฤษ เติมปัญญา : ภาษาไทย ครวู สิษฐ์ ครูรินทรน์ ภา

ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ป.๕/๑ ป.๕/๒ วัน ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จนั ทร์ องั คาร เติมปัญญา : คณติ ศาสตร์ เติมปญั ญา : ภาษาไทย พุธ ครกู วคี ม, ครธู าดาทิพย์ ครกู าญจนา, ครูอธิธนทัศน์ พฤหสั บดี เติมปัญญา : วิทยาศาสตร์ เติมปญั ญา : คณติ ศาสตร์ ครูทพิ วรรณ, ครูบุญย่ิง, T.Robert ครูกวคี ม , ครธู าดาทิพย์ เตมิ ปญั ญา : ภาษาไทย สอนเสรมิ (ภาษาอังกฤษ) ครกู าญจนา, ครูอธิธนทัศน์ ครแู พรวนภา,ครบู ญุ ยิ่ง, T.Robert สอนเสรมิ (ภาษาอังกฤษ) เติมปัญญา : วทิ ยาศาสตร์ ครูแพรวนภา,ครบู ุญยงิ่ , T.Robert ครทู ิพวรรณ, ครูบญุ ย่งิ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ป.๖/๑ ป.๖/๒ วนั ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. จนั ทร์ สอนเสรมิ O-NET (วทิ ยาศาสตร)์ สอนเสรมิ O-NET (ภาษาอังกฤษ) อังคาร พุธ ครูทพิ วรรณ ครูแพรวนภา, T.Robert พฤหัสบดี สอนเสริม O-NET (ภาษาอังกฤษ) สอนเสรมิ O-NET (ภาษาไทย) ครแู พรวนภา, T.Robert ครูกาญจนา สอนเสรมิ O-NET (คณติ ศาสตร)์ สอนเสรมิ O-NET (วิทยาศาสตร)์ ครกู วีคม ครทู ิพวรรณ สอนเสริม O-NET (ภาษาไทย) สอนเสรมิ O-NET (คณิตศาสตร)์ ครกู าญจนา ครกู วีคม

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

ภาพกจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มปญั ญา

รายงานสรุปกิจกรรม สตู รคณู พาเพลนิ

แบบสรุปกจิ กรรมสูตรคูณพาเพลิน โครงการ ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนวดั หนัง สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ๑. ชอ่ื กิจกรรม --------------------------------------------- ชื่อโครงการ ชือ่ กลุ่มงาน : สตู รคูณพาเพลนิ : ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น : กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ๒. วัตถุประสงคข์ องกจิ กรรม ๒.๑ เพอ่ื พฒั นาทักษะการทอ่ งสูตรคูณของนักเรยี น โดยมีการใชส้ อ่ื เกม เพลง คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เนต็ สูตรคูณพาเพลิน ๒.๒ เพ่อื ให้นกั เรยี นมคี วามร้คู วามเข้าใจในเน้ือหาของวชิ าคณิตศาสตร์ และจดจาสูตรคูณได้ อย่างแมน่ ยา ๒.๓ เพอื่ ให้นักเรยี นได้รบั ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ ๒.๔ เพอ่ื ให้นักเรยี นมเี จตคติทดี่ ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ ๓. เปา้ หมายความสาเร็จ/ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ๓.๑ เชิงปรมิ าณ (ผลผลิต) ๑) นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ประถมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนวัด หนัง สามารถทอ่ งสูตรคูณไดถ้ งึ แม่ ๑๒ ร้อยละ ๘๐ ๓.๒ เชงิ คณุ ภาพ (ผลลพั ธ์) ๑) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของวิชาคณิตศาสตร์ และจดจาสูตรคูณได้ อย่างแม่นยา ๔. ขั้นตอนดาเนนิ งาน/กจิ กรรม/ระยะเวลา ๔.๑ ข้ันเตรยี มการ (P) ๔.๑.๑ เสนอโครงการเพอื่ ขออนุมัติ ๔.๑.๒. แตงตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งาน ๔.๑.๓. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน

๔.๒ ข้ันดาเนินการ (D) ๔.๒.๑ ทดสอบความรู้พนื้ ฐาน ๔.๒.๒ กอ่ นเรียน ๕ นาที ใหน้ กั เรียนทอ่ งสตู รคณู โดยมีการใช้สอื่ เกม เพลง คอมพวิ เตอร์ อินเทอร์เน็ต สูตรคณู พาเพลินนกั เรยี นออมเงินทกุ ๔.๒.๓ ทดสอบประเมินความก้าวหน้าเปน็ ระยะๆ ๔.๓ ข้ันตดิ ตามและประเมนิ ผล (C) นเิ ทศ กากับ ติดตามผลการดาเนนิ กจิ กรรม ๔.๔ ขัน้ นาผลไปพัฒนา (A) สรุปรายงานผลการดาเนินโครงการและนาผลการดาเนนิ การไปปรบั ใชใ้ นครงั้ ต่อไป ๕. ผลการดาเนินงาน นักเรียนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ของโรงเรยี นวดั หนงั ทอ่ งสูตรคูณ ก่อนเรียนวิชาคณิตศาสตร์ทุกคร้ังกอ่ นการเรียนการสอนเพอ่ื เป็นการกระตุ้นกระบวนการคิด และเพ่ือให้ นักเรียนได้ฝึกท่องสูตรคูณอย่างสม่าเสมอ ฝึกให้นักเรียนได้คุ้นชินกับสูตรคูณตั้งแต่แม่ ๒ – ๑๒ ใช้ รูปแบบในการท่องสูตรคูณของนักเรียนท่ีหลากหลาย เช่น ใช้เพลงสูตรคูณพาเพลิน ใช้ท่าทางประกอบ การท่องเด่ียวให้เพ่ือนฟงั และท่องให้ครูฟังเพ่ือทดสอบพัฒนาการของนักเรียนเป็นระยะๆ ผลปรากฏว่า เม่ือใช้วิธีการดังกล่าวข้างต้นแล้ว นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ของ โรงเรยี นวดั หนัง สามารถทอ่ งสตู รคูณได้ถงึ แม่ ๑๒ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไปและนักเรยี นมีความแม่นยา ในการนาสูตรคูณไปใช้ในชีวิตประจาวนั และแก้ไขปญั หาได้

๖. ผลการประเมนิ โครงการ (ประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ ความร้คู วามเข้าใจ และการนาไปใช้) ระดบั การประเมิน ๕ = มากท่สี ุด ๔ = มาก ๓ = ปานกลาง ๒ = น้อย ๑ = นอ้ ยทส่ี ดุ เกณฑก์ ารประเมิน รายการ ๕๔ ๓ ๒ ๑ น้อยท่สี ดุ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย การประเมินดา้ นบรบิ ทหรือสภาวะแวดลอ้ ม (Context Evaluation : C) ๑.หลักการ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน  ๒.การกาหนดเป้าหมาย วิธีการดาเนินการและระยะเวลาดาเนินการ  มีความเหมาะสมและปฏิบัติจริงได้ ๓.การจัดบรรยากาศในการดาเนินงานเหมาะสมและสอดคล้องกับ  การดาเนินโครงการ ๔.การประสานงานในด้านต่างๆทาให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินโครงการ  ๕.วิธีการดาเนินงานเหมาะสมและปฏิบัติได้  การประเมินปัจจยั เบอ้ื งต้นหรอื ปจั จัยปอ้ น (Input Evaluation : I)  ๖.จานวนบุคลากรที่ร่วมดาเนินโครงการ/กิจกรรม มีความเหมาะสมและเพียงพอ  ๗.วัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมมีความเหมาะสมและ  เพียงพอ ๘.งบประมาณเพียงพอและเหมาะสม  การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation : P)  ๙.การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ  ๑๐.การวางแผนดาเนินโครงการ/กิจกรรม  ๑๑.การปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในหน้าท่ีท่ีแต่ละคนรับผิดชอบ  ๑ ๒ . ก า ร ดา เ นิ น ง า น เ ป็ น ไ ป ตา ม ที่ กา ห น ด ไ ว้ ใ น โ ค ร ง ก า ร / กิ จ ก ร ร ม ๑๓.การนิเทศติดตามกากับการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเป็นไปตามข้ันตอนที่กาหนดทุก  ระยะ ๑๔.การวิเคราะห์ผลอย่างต่อเนื่อง  การประเมินผลผลติ (Product Evaluation : P) ๑๕.การจัดทาโครงการ/กิจกรรมตามข้ันตอนโดยละเอียด  ๙  ๔.๑๕ และผ่านการอนุมัติจากผู้บริหารและกรรมการสถานศึกษา  มาก ๑๖.ผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/ กิจกรรม  ๑๗.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกาหนดการ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ  ๑๘.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลายและมีการบูรณาการท่ีเป็นประโยชน์ ๓๐ ๔๔ ๑๙.การนาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๒๐.ผลการเรียนรู้ตามโครงการ/กิจกรรมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ รวม เฉลย่ี ( คะแนนรวมหารดว้ ย ๒๐ ) ระดับคณุ ภาพ

๗. คาชี้แจงงบประมาณ ไมม่ ี ๘. ปัญหาและอุปสรรค ปญั หาอปุ สรรค สาเหตขุ องปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ๑. ดา้ นงบประมาณ ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี ๒. ด้านบคุ ลากร ไม่มี ไม่มี ๓. ด้านวัสดุ/อปุ กรณ์ ไม่มี ไม่มี ไมม่ ี ๔. ด้านบริการและ ประสานงาน ๙. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ๙.๑ครูผู้รับผดิ ชอบในแต่ละระดับชั้นควรจะมกี ารประเมินพัฒนาการของนักเรยี นเป็นระยะอยา่ ง จรงิ จงั สมา่ เสมอ ๙.๒ ควรดาเนินกิจกรรมนตี้ ่อไป เพราะเป็นกจิ กรรมท่ีสนกุ และฝึกการท่องสตู รคูณใหน้ กั เรียนมี ความแม่นยาและสามารถนาสูตรคณู ไปใช้ในชวี ติ ประจาวันและแก้ไขปัญหาได้ ลงชื่อ ............................................................ (นางสาวกมลดา นอ้ ยพลี) ผปู้ ระเมนิ ผล วันที่ ๙ / เมษายน / ๒๕๖๔

นกั เรยี นท่องสตู รคณู โดยการใชเ้ พลงประกอบ

นักเรียนทอ่ งสตู รคูณโดยใช้ทา่ ทางประกอบเพลง เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดการเรยี นรู้และสนุกสนานเพลดิ เพลนิ

นกั เรยี นทอ่ งสูตรคูณเดย่ี วหนา้ ช้นั เรยี นให้เพอื่ นฟงั และเพ่อื เป็นการประเมนิ พฒั นาการของนกั เรียน

ผลการประเมนิ ความรูค้ วามเข้าใจของนักเรยี น แบบสรปุ การประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม สตู รคณู พาเพลนิ แบบประเมนิ นีจ้ ดั ทาขนึ้ เพ่อื ใหน้ กั เรียนประเมนิ ตนเองเรอ่ื งการปฏิบัติกจิ กรรม สูตรคณู พาเพลนิ จึงขอให้ นกั เรยี นทาแบบประเมิน ตามจริงและแสดงความคิดเห็นทเี่ ป็นประโยชน์ เพื่อนาไปพัฒนากิจกรรมใหด้ ีขึ้นตอ่ ไป ระดบั คณุ ภาพ ระดบั ที่ ๑ หมายถงึ ปฏิบัติตามคาสง่ั คาบอก และมีผูค้ วบคุมดูแลกากบั ใหป้ ฏิบัติ ระดับที่ ๒ หมายถงึ ปฏิบัตโิ ดยอาศยั ผอู้ ื่นคอยเตือนให้ปฏิบัติ ระดบั ที่ ๓ หมายถึง ปฏิบัตเิ องโดยไม่มีผ้สู ่ัง ผู้เตอื นใหป้ ฏบิ ัติ ระดับท่ี ๔ หมายถึง ปฏิบัตเิ องจนเป็นนิสัย เป็นแบบอย่างแกผ่ ู้อ่นื ได้ ระดบั ที่ ๕ หมายถงึ ปฏิบัติเองจนเป็นนิสยั เป็นแบบอยา่ งแกผ่ อู้ ื่นได้ และแนะนาชกั ชวนใหผ้ ้อู ื่นปฏบิ ัติ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ท่ี รายการประเมิน ที่สุด กลาง ท่ีสดุ ๕๔๓๒๑ ๑ การประชาสมั พันธ์ขอ้ มลู ข่าวสารเกี่ยวกับการเขา้ ร่วมโครงการ ๕๗.๓ ๒๘.๕ ๑๔.๒ - - มีความเหมาะสม - - ๒ นักเรยี นมคี วามสนใจและมสี ว่ นรว่ มในการเข้าร่วมกิจกรรม ๕๕.๕ ๒๗.๘ ๑๖.๗ - - ๓ พฒั นาทกั ษะการท่องสตู รคูณแม่ ๒-๑๒ โดยผ่าน ๗๑.๖ ๒๕.๓ ๓.๑ - กิจกรรม สตู รคณู พาเพลนิ - - - ๔ นาไปประยุกต์ใช้ในการคิดคานวณ ๕๓.๕ ๒๔.๗ ๒๑.๘ - - - ๕ นักเรียนสามารถนาความรตู้ า่ งๆ จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้ ๔๘.๓ ๓๑.๙ ๑๙.๔ - ในการแกไ้ ขปญั หาและนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้ ๖ นักเรียนคิดว่าควรจดั กิจกรรมนี้ในปกี ารศึกษาตอ่ ไป ๔๓.๔ ๔๓.๔ ๑๓.๒ รวม ๖๑.๑๑ ๒๖.๗๑ ๑๒.๑๙ รอ้ ยละ ๘๗.๘๒ ระดับคณุ ภาพ ดีมาก เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก เกณฑ์ของระดบั คะแนน ดี รอ้ ยละ ๘๐.๐๐ - ๑๐๐ ปานกลาง รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ ควรปรบั ปรงุ ร้อยละ ๒๐.๐๐ – ๔๙.๙๙ ไม่ปฏิบตั ิ ร้อยละ ๐ – ๑๙.๙๙

รายงานสรุปกิจกรรม คิดเลขเร็ว

แบบสรปุ กจิ กรรม คิดเลขเร็ว โครงการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนวัดหนัง สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ๑. ชือ่ กจิ กรรม --------------------------------------------- ชอื่ โครงการ ช่ือกลุ่มงาน : คดิ เลขเรว็ : ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น : กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ ๒. วตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม ๒.๑ เพ่ือให้นักเรียนทุกระดับชั้นได้รับการฝึกทักษะกระบวนการคิดและมีเทคนิคการคิดเลขได้ อยา่ งรวดเร็ว และคิดได้อยา่ งถกู ต้อง ๒.๒. เพือ่ ส่งเสรมิ กระตุ้นให้นกั เรียนมคี วามกระตือรือรน้ ใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี นในวิชาคณติ ศาสตร์ ๓. เป้าหมายความสาเรจ็ /ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ๓.๑ เชงิ ปรมิ าณ (ผลผลิต) นกั เรยี นในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ของโรงเรยี นวัดหนัง ร้อยละ ๘๐ มคี วามรู้และทักษะกระบวนการคิดในการคดิ เลขเรว็ ๓.๒ เชิงคณุ ภาพ (ผลลพั ธ์) นกั เรยี นมีทกั ษะในการคดิ คานวณพน้ื ฐานได้อยา่ งรวดเร็ว ถกู ตอ้ งและแม่นยา ๔. ข้นั ตอนดาเนินงาน/กิจกรรม/ระยะเวลา ๔.๑ ขนั้ เตรยี มการ (P) ๔.๑.๑ เสนอโครงการเพอ่ื ขออนมุ ัติ ๔.๑.๒. แตงตั้งคณะกรรมการดาเนนิ งาน ๔.๑.๓. ประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน ๔.๒ ขั้นดาเนินการ (D) ๔.๒.๑ ทดสอบความรูพนื้ ฐานของนักเรยี นในการคิดคานวณดา้ นทักษะ การบวก ลบ คูณ หาร ๔.๒.๒ ฝกการคิดเลขเร็วกอนการเรียนวิชาคณิตศาสตรทุกชัว่ โมง ๔.๒.๓ ทดสอบประเมินความกา้ วหน้าเป็นระยะๆ ในดา้ นการคานวณพ้นื ฐาน

๔.๓ ขัน้ ตดิ ตามและประเมินผล (C) นเิ ทศ กากับ ติดตามผลการดาเนนิ กจิ กรรม ๔.๔ ข้นั นาผลไปพฒั นา (A) สรุปรายงานผลการดาเนินโครงการและนาผลการดาเนินการไปปรับใชใ้ นคร้ังตอ่ ไป ๕. ผลการดาเนินงาน นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ประถมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนวัดหนัง คิดเลขเร็ว ก่อนเรียนวิชาคณิตศาสตร์ทกุ ครั้งในดา้ นทักษะการบวก ลบ คณู และหาร ระดบั ความยากง่ายจะเหมาะสม กับวยั และระดบั ช้นั ที่เรียนเรม่ิ จากงา่ ยไปยาก ครผู สู้ อนในแต่ละระดบั ช้ันจะทาการประเมนิ พัฒนาการดา้ น การคิดคานวณของนักเรียนเป็นระยะๆโดยการทดสอบ พบว่านักเรียนทุกระดับชั้นได้รับการฝึกทักษะ กระบวนการคดิ และมีเทคนคิ การคดิ เลขไดร้ วดเรว็ แมน่ ยาข้นึ นักเรียนมคี วามกระตอื รือรน้ ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี นใน วิชาคณิตศาสตร์มากขึ้น และสามารถนาทักษะกระบวนการคิดคานวณไปปรับประยุกต์ใช้ในรายวิชา คณติ ศาสตรใ์ นเรือ่ งตา่ งๆไดด้ ขี ึ้น ทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนกั เรียนดขี ้นึ

๖. ผลการประเมินโครงการ (ประเมินระดบั ความพงึ พอใจ ความรคู้ วามเขา้ ใจ และการนาไปใช้) ระดบั การประเมิน ๕ = มากที่สดุ ๔ = มาก ๓ = ปานกลาง ๒ = นอ้ ย ๑ = นอ้ ยท่สี ุด เกณฑก์ ารประเมนิ รายการ ๕๔ ๓ ๒ ๑ น้อยท่สี ดุ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย การประเมนิ ดา้ นบรบิ ทหรอื สภาวะแวดลอ้ ม (Context Evaluation : C) ๑.หลักการ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน  ๒.การกาหนดเป้าหมาย วิธีการดาเนินการและระยะเวลาดาเนินการ  มีความเหมาะสมและปฏิบัติจริงได้ ๓.การจัดบรรยากาศในการดาเนินงานเหมาะสมและสอดคล้องกับ  การดาเนินโครงการ ๔.การประสานงานในด้านต่างๆทาให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินโครงการ  ๕.วิธีการดาเนินงานเหมาะสมและปฏิบัติได้  การประเมินปจั จัยเบอ้ื งต้นหรือปจั จัยป้อน (Input Evaluation : I)  ๖.จานวนบุคลากรท่ีร่วมดาเนินโครงการ/กิจกรรม มีความเหมาะสมและเพียงพอ  ๗.วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือท่ีใช้ในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมมีความเหมาะสมและเพียงพอ  ๘.งบประมาณเพียงพอและเหมาะสม การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P)  ๙.การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ  ๑๐.การวางแผนดาเนินโครงการ/กิจกรรม  ๑๑.การปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในหน้าท่ีท่ีแต่ละคนรับผิดชอบ  ๑ ๒ . ก า ร ดา เ นิ น ง า น เ ป็ น ไ ป ตา ม ท่ี กา ห น ด ไ ว้ ใ น โ ค ร ง ก า ร / กิ จ ก ร ร ม ๑๓.การนิเทศติดตามกากับการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเป็นไปตามข้ันตอนท่ีกาหนดทุก  ระยะ ๑๔.การวิเคราะห์ผลอย่างต่อเนื่อง  การประเมินผลผลติ (Product Evaluation : P) ๑๕.การจัดทาโครงการ/กิจกรรมตามข้ันตอนโดยละเอียด  และผ่านการอนุมัติจากผู้บริหารและกรรมการสถานศึกษา   ๑๖.ผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ/ กิจกรรม  ๑๗.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกาหนดการ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑๕ ๑๘.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลายและมีการบูรณาการท่ีเป็นประโยชน์  ๔.๑ ๑๙.การนาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง  มาก ๒๐.ผลการเรียนรู้ตามโครงการ/กิจกรรมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๓๕ ๓๒ รวม เฉลีย่ ( คะแนนรวมหารดว้ ย ๒๐ ) ระดบั คณุ ภาพ

๗. คาชแี้ จงงบประมาณ ไมม่ ี ๘. ปญั หาและอุปสรรค ปัญหาอุปสรรค สาเหตขุ องปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ๑. ดา้ นงบประมาณ ไม่มี ไมม่ ี ๒. ด้านบคุ ลากร ไมม่ ี ไม่มี ๓. ด้านวัสดุ/อุปกรณ์ ไม่มี ไม่มี ๔. ด้านบริการและ ไม่มี ไมม่ ี ประสานงาน ๙. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ๙.๑ครผู ู้รับผิดชอบในแต่ละระดับช้นั ควรจะมีการประเมนิ พัฒนาการของนักเรียนเปน็ ระยะอย่าง จริงจังสม่าเสมอ ๙.๒ ควรดาเนินกิจกรรมนี้ต่อไป เพราะเป็นกิจกรรมท่ีฝึกให้นกั เรียนมีกระบวนการคิดคานวณที่ แมน่ ยาและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ในเรอ่ื งตา่ งๆได้เปน็ อยา่ งดี ลงช่อื ............................................................ (นางสาวกมลดา นอ้ ยพลี) ผปู้ ระเมนิ ผล วันท่ี ๙ / เมษายน / ๒๕๖๔

นักเรียนฝึกคดิ เลขเรว็ ในการคานวณด้านต่างๆ โดยการจับเวลาตามความเหมาะสม ลงเขยี นคาตอบลงในสมดุ





นกั เรยี นคิดเลขเรว็ ในชดุ แบบฝกึ คดิ เลขเรว็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook