Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ ม.2 ปี63

แผนการสอนวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ ม.2 ปี63

Published by น่านมงคล อินด้วง, 2021-03-15 01:22:45

Description: แผนการสอนวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ ม.2 ปี63

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 1 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี รายวชิ า หลกั การเลี้ยงสัตว์ (การเลี้ยงไกไ่ ข่) รหสั วชิ า ง๒๐๒๒๕ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ จัดทาโดย นายนา่ นมงคล อินดว้ ง ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเค่ิง อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเล้ยี งไก่ไข่ 2 คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า หลกั การเล้ยี งสัตว์ (การเลีย้ งไกไ่ ข่) รหสั วชิ า ง๒๐๒๒๕ ช้ัน. ม.๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖0 ชัว่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ สภาพความต้องการไข่ไก่ พันธุ์ไก่ไข่ที่นิยมเล้ียง โรงเรือน และอปุ กรณ์ อาหารและการใหอ้ าหาร ศึกษาวิธีการลดต้นทุนการผลิต การเลี้ยงดูไก่ไข่ การปูองกันโรคและศัตรู การเกบ็ และการคัดคุณภาพไข่ การเกบ็ รกั ษา การเพ่มิ มลู คา่ ผลผลิตไข่ การจัดจาหนา่ ย การใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเทคโนโลยใี นการเล้ยี งไกไ่ ข่ สารวจและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดในท้องถิ่น เลือกพันธ์ุและอายุของไก่ไข่ที่จะนามาเล้ียง เลี้ยงดตู ามอายุ เลือกวิธลี ดต้นทุนการผลติ และเพม่ิ มลู คา่ ผลผลิต เลือกภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีมาใช้ใน การเล้ียงไก่ไข่ จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย การปูองกันโรค การเก็บและจัดการผลผลิต คานวณคา่ ใชจ่ ่าย กาหนด ราคาขาย จดั จาหน่าย และประเมินผล โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอ่ื ใหม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีในการเลี้ยงไก่ไข่ มีความซ่ือสัตย์สุจริต รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง มุ่งม่นั ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การเลีย้ งไกไ่ ข่ 2. วเิ คราะห์ขน้ั ตอนการเลย้ี งไกไ่ ข่ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาขายและจาหนา่ ยได้ 3. ปฏิบัติการเล้ียงไกไ่ ข่ ได้ตามข้ันตอนโดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. ประเมนิ ผลงาน และพฒั นางานไดอ้ ย่างเหมาะสม 5. มีคุณธรรม จรยิ ธรรมในการปฏบิ ัติงานอาชพี สจุ รติ รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเล้ียงไก่ไข่ 3 ผังมโนทัศน์ รายวิชา หลักการเลย้ี งสัตว์ (การเลีย้ งไกไ่ ข่) รหสั วชิ า ง๒๐๒๒๕ ชั้น. ม.๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยที่ ๑ หนว่ ยท่ี ๒ หลกั เบื้องต้นเกีย่ วกับการเลี้ยงไกไ่ ข่ พันธุแ์ ละการคกั เลอื กพนั ธ์ุ จานวน ๕ ชวั่ โมง : ๑0 คะแนน จานวน ๕ ชั่วโมง : ๑0 คะแนน รายวชิ า การเลี้ยงไก่ไข่ ชั้น. ม.๒ จานวน ๖0 ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๔ หน่วยที่ ๓ การปฏิบัติ การตลาด และการทาบญั ชี โรงเรอื น วสั ดุ อุปกรณ์ และการสุขาภบิ าล จานวน ๓๕ ช่ัวโมง : ๔0 คะแนน จานวน ๑๕ ชวั่ โมง : ๒0 คะแนน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลยี้ งไก่ไข่ 4 ผังมโนทศั น์ รายวิชา หลักการเล้ยี งสัตว์ (การเลี้ยงไก่ไข่) รหัสวิชา ง๒๐๒๒๕ ชน้ั . ม.๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง หลักเบอ้ื งตน้ เกี่ยวกับการเลย้ี งไก่ไข่ จานวน ๕ ช่ัวโมง : ๑0 คะแนน ชอ่ื เรื่อง ประวัติและความเป็นมาของการเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศไทย จานวน ๒ ชวั่ โมง : 5 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง หลกั เบ้ืองต้นเก่ียวกับการเลีย้ งไก่ไข่ จานวน ๕ ชวั่ โมง ชื่อเรื่อง หลักการเลย้ี งไกไ่ ข่และกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จานวน ๓ ช่วั โมง : ๕ คะแนน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเล้ียงไก่ไข่ 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง หลกั เบอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั การเลย้ี งไกไ่ ข่ แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง หลักเบื้องต้นเก่ียวกับการเล้ียงไก่ไข่ รายวชิ า หลกั การเล้ยี งสัตว์ (การเล้ยี งไกไ่ ข)่ รหัสวชิ า ง๒๐๒๒๕ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนักเวลาเรียน ๑.๐ (นน./นก.) เวลาเรียน ๖0 ชัว่ โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๕ ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจที่คงทน) ในอดีตการเลี้ยงไก่ในประเทศไทย มีการเล้ียงตามบ้านเล็กๆ น้อยๆ เพื่อกินเนื้อกินไข่ คือ เล้ียงแบบ ปล่อยตามธรรมชาติให้ไก่อาศัยตามใต้ถุนบ้าน ชายคา โรงนา และต้นไม้ พันธุ์ไก่ท่ีเลี้ยงจะเป็นไก่พันธุ์เมือง เช่น ไก่แจ้ ไก่อู และไก่ตะเภา ในปี พ.ศ. 2467 หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤษดากร ได้นาไก่พันธ์ุเล็กฮอร์นมาเล้ียงแบบทันสมัย เพื่อการค้า เปน็ ครั้งแรก แตก่ ารเล้ยี งไก่ไม่พฒั นาเทา่ ทีค่ วร เนื่องจากในสมยั น้ไี ม่มวี คั ซนี และยาเพ่ือปูองกนั และรกั ษาโรคไก่ ในปี พ.ศ. 2484 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ กรม ปศุสัตว์ ได้ร่วมมือกันทดลองเลี้ยงไก่พันธ์ุต่างๆ ท่ีแผนกสัตว์เล็ก บางเขน แต่พอมีไก่เต็มโรงเรือนและมี การแข่งขันไก่ไข่ดกเป็นทางการขึ้นเป็นคร้ังแรก ก็เกิดสงครามหาเอเชียบูรพาข้ึน ทาให้การเล้ียงไก่ไข่ดกต้อง หยดุ ชะงกั ไประยะหนึง่ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2492 ได้สงั่ ไก่พันธโ์ุ รด็ ไอสแ์ ลนดแ์ ดง จากประเทศสหรฐั อเมริกาและพันธุ์ออสตราล็อป จากประเทศออสเตรเลีย เข้ามาทดลองเลี้ยงและส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงเป็นอาชีพ รวมทั้งได้ส่ังไก่พันธ์ุอ่ืนๆ เข้ามาเลี้ยงเช่น พันธ์ุไก่พันธุ์บาร์พลีมัทร็อค ไก่พันธ์ุนิวแฮมเชียร์ เป็นต้น และในปี พ.ศ. 2489 น้ีเองเป็นปีท่ีมี การตื่นตัวในการเลี้ยงไก่อย่างมาก เนื่องจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยน้ันและจอมพลผิน ชุณหวัณ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและประธานกรรมการการส่งเสริมปศุสัตว์แห่งชาติ ให้การสนับสนุนและ ส่งเสริมการเลย้ี งไกเ่ ปน็ อยา่ งมาก 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัดช้นั ปี/ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธกี ารทางานเพ่ือการดารงชวี ิต ๒. สรา้ งผลงานอย่างมีความคิด สรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานร่วมกัน ๓. มีทกั ษะการจดั การในการทางาน ๔. มที กั ษะ กระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน ๕ มที ักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชวี ิต ๖. มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทางาน ๗. ใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากร ในการทางานอย่างคมุ้ ค่าและยั่งยนื เพื่อการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge ๑. หลักการเบื้องต้นเก่ยี วกับการเลย้ี งไก่ไขแ่ ละกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ ๒. ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการเลี้ยงไก่ไข่

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 6 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ๑. เข้าใจหลักการเบ้ืองต้นเก่ียวกับการเล้ยี งไก่ไขแ่ ละกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการเลย้ี งไก่ไข่ 3.3 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude 1. มีวนิ ัย 2. มีความรบั ผดิ ชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. มุง่ ม่นั ในการเรียน 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 1 ความสามารถในการคิด 2 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1.ความรับผดิ ชอบ 2.ตรงตอ่ เวลา 6. คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ 1. ซื่อสตั ยส์ ุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเุ รยี นรู้ 4. มุง่ มนั่ ในการทางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบกิจกรรมที่ 1 เร่ือง หลักเบอ้ื งต้นเกยี่ วกบั การเล้ยี งไก่ไข่ - ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ประวตั ิและความเป็นมาของการเล้ียงไก่ไข่ในประเทศไทย 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวิเคราะห์/ใฝุเรยี นรู้/เทคนคิ การสืบค้น) - ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น/ขัน้ ต้ังคาถาม 1. ทักทายนกั เรยี นก่อนเรียน 2. เช็ดชอ่ื นกั เรียนกอ่ นเขา้ สู่บทเรยี น ขน้ั สอน ๑. ทาความเขา้ ใจและชแี้ จงสาระการเรยี นรใู้ หน้ ักเรยี นทราบในหนว่ ยการเรียนรู้เรือ่ งหลักเบ้อื งต้น เก่ียวกับการเลยี้ งไก่ไข่ ครอู ธิบายเก่ียวกับการประวัติและความเปน็ มาของการเลย้ี งไก่ไขใ่ นประเทศไทย ครูให้ นักเรียนจดบนั ทึกตามที่ครอู ธิบาย ๒. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงาน เร่ือง ครูมอบหมายงานใหน้ กั เรียนทารายงาน เรื่อง ประวัตแิ ละความเปน็ มา ของการเลีย้ งไก่ไขใ่ นประเทศไทย ๓. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นไปศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติมเกีย่ วกับความสาคัญ และประโยชน์ของการเลย้ี งไก่ ไข่

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลย้ี งไก่ไข่ 7 ขน้ั สรปุ ๑. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปเน้ือหาท่ีเรียนมา ๒. ครูนัดหมายการเรียนครง้ั ต่อไป ช่ัวโมงที่ 3 (ความสามารถในการวิเคราะห/์ ใฝเุ รยี นรู/้ ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน) - ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม 1. ทักทายนักเรียนก่อนเรียน 2. เชด็ ชอื่ นักเรียนกอ่ นเข้าสู่บทเรยี น ขน้ั สอน 1. ครูและนักเรียนทบทวนบทเรียนท่ผี า่ นมา 2. ครใู ห้นักเรยี นมาแลกเปลยี่ นเรยี นรูเ้ นอื้ หาท่คี รูมอบหมายในสปั ดาหท์ ่ผี า่ นมา 3. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับความสาคญั และประโยชน์ของการเลี้ยงไก่ไข่ 4. ครูใหน้ ักเรยี นจดบันทกึ ลงในสมดุ 5. ครใู หน้ ักเรียนทาใบงานเรือ่ งหลกั เบื้องต้นเกีย่ วกับการเล้ยี งไก่ไข่ ข้นั สรุป 6. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปเนอ้ื หาทีเ่ รยี นมา 7. ครูนดั หมายการเรยี นคร้งั ต่อไป 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สือ่ 1. ส่ือการเรยี น 1 ชุด ขัน้ ตรวจสอบความรู้เดิม 2. ใบงาน 1.1 เรื่อง หลกั เบื้องตน้ เกี่ยวกบั การเลี้ยงไก่ไข่ 30 ชุด ตรวจหาคาตอบ และรปู ภาพ 3. ห้องสมดุ สบื ค้นขอ้ มลู 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวัด เคร่ืองมอื วดั ฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน -ความถกู ต้อง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ความเขา้ ใจและ 1. มเี นอื้ หาสาระครบถ้วน ๑. เขา้ ใจหลักการ ใบความรู้ ความถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์ เบอื้ งตน้ เกีย่ วกับการ ใบงาน เลย้ี งไก่ไข่และ 9-10 คะแนน 2.มีเนอื้ หาสาระค่อนข้าง กระบวนการเลีย้ งไก่ ครบถว้ น ไข่ 7-8 คะแนน ๒. มคี วามรู้ ความ 3.มีเนื้อหาสาระไม่ครบถว้ น เขา้ ใจเก่ยี วกับการ แตภ่ าพรวมของสาระท้ังหมด เลี้ยงไก่ไข่

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลีย้ งไก่ไข่ 8 อย่ใู นเกณฑ์ปานกลาง 5-6 คะแนน 4. มเี นื้อหาสาระไมค่ รบถ้วน แต่ภาพรวมของสาระทง้ั หมด อยใู่ นเกณฑต์ ้องพอใช้ 4-3 คะแนน 5. มีเน้อื หาเพยี งเล็กน้อยแต่ภาพ รวมของสาระทั้งหมดอยูใ่ นเกณฑ์ ตอ้ งปรับปรุง 2-1 คะแนน 6. ไมม่ เี นอ้ื หาเลย 0 คะแนน ลงชอ่ื ..................................................ผู้สอน (นายนา่ นมงคล อินด้วง) ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 9 ใบความรู้ ประวตั แิ ละความเปน็ มาของการเล้ยี งไกไ่ ข่ในประเทศไทย ในอดตี การเลยี้ งไกใ่ นประเทศไทย มกี ารเลยี้ งตามบ้านเล็กๆ น้อยๆ เพ่ือกินเน้ือกินไข่ คือ เล้ียงแบบ ปล่อยตามธรรมชาติให้ไก่อาศัยตามใต้ถุนบ้าน ชายคา โรงนา และต้นไม้ พันธ์ุไก่ที่เล้ียงจะเป็นไก่พันธุ์เมือง เช่น ไกแ่ จ้ ไกอ่ ู และไกต่ ะเภา ในปี พ.ศ. 2467 หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤษดากร ได้นาไก่พันธ์ุเล็กฮอร์นมาเลี้ยงแบบทันสมัย เพ่ือ การคา้ เป็นครงั้ แรก แต่การเลี้ยงไก่ไมพ่ ัฒนาเท่าท่ีควร เนื่องจากในสมัยน้ีไม่มีวัคซีนและยาเพื่อปูองกัน และรักษา โรคไก่ ในปี พ.ศ. 2484 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเจ้าหน้าท่ีสัตวแพทย์ กรม ปศุสัตว์ ได้ร่วมมือกันทดลองเล้ียงไก่พันธ์ุต่างๆ ท่ีแผนกสัตว์เล็ก บางเขน แต่พอมีไก่เต็มโรงเรือนและมี การแข่งขันไก่ไข่ดกเป็นทางการขึ้นเป็นครั้งแรก ก็เกิดสงครามหาเอเชียบูรพาข้ึน ทาให้การเลี้ยงไก่ไข่ดกต้อง หยุดชะงักไประยะหนึ่ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2492 ได้ส่ังไก่พันธุ์โร็ดไอส์แลนด์แดง จากประเทศสหรัฐอเมริกาและพันธ์ุออสต ราล็อปจากประเทศออสเตรเลีย เข้ามาทดลองเล้ียงและส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงเป็นอาชีพ รวมทั้งได้ส่ังไก่พันธ์ุ อน่ื ๆ เขา้ มาเลยี้ งเชน่ พันธ์ุไก่พันธ์ุบารพ์ ลีมัทร็อค ไก่พันธ์ุนิวแฮมเชียร์ เป็นต้น และในปี พ.ศ. 2489 น้ีเองเป็นปี ท่ีมีการตื่นตัวในการเล้ียงไก่อย่างมาก เน่ืองจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นและจอมพล ผิน ชุณหวัณ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและประธานกรรมการการส่งเสริมปศุสัตว์แห่งชาติ ให้การสนับสนุนและ สง่ เสรมิ การเล้ยี งไก่เปน็ อยา่ งมาก ความสาคญั และประโยชนข์ องการเลีย้ งไก่ ๑. ทาให้ผู้เล้ียงมีอาหารท่ดี ีมีคณุ ภาพไว้บรโิ ภคในราคาถกู ๒. ชว่ ยให้ผู้เลย้ี งมีรายได้เพ่มิ พูนข้นึ จากการทารว่ มกับงานเกษตรกรรมชนิดอ่ืนๆ ๓. สามารถทาเป็นอาชีพหรือก่งึ อาชีพได้อยา่ งแน่นอนแขนงหน่ึง วธิ เี ริ่มเลย้ี งไก่ เลี้ยงที่ยังไม่มีความรู้ความชานาญงานประเภทนี้ ควรเร่ิมต้นหัดเลี้ยงด้วยไก่จานวนน้อย เพ่ือศึกษาหา ความรู้ความชานาญเสยี กอ่ น สาหรับผู้ท่ีมีความรูค้ วามชานาญแลว้ อาจเริม่ ตน้ เลย้ี งตามขนาดของทุนและสถานท่ี ถ้าเร่มิ ต้นดว้ ยไขฟ่ ัก หรอื ลูกไก่ ก็ยอ่ มลงทุนถกู หากเร่ิมต้นด้วยไก่ใหญ่ ก็อาจะต้องใช้ทุนมากข้ึน โดยท่ัวไปผู้เล้ียง อาจเรม่ิ จากระยะไหนก็ได้ อาทิเชน่ 1. เร่ิมต้นด้วยการเลี้ยงลูกไก่อายุ 1 วัน เป็นวิธีที่มีผู้เลี้ยงนิยมกันมากเนื่องจากทุนน้อย ผู้เลี้ยงสามารถ เลยี้ งไก่ไดต้ ลอดเวลาด้วยตวั เอง สามารถทจ่ี ะดแู ลเอาใจใส่ได้อยา่ งเต็มท่ี ไดร้ ้ปู ระวัตขิ องไก่ทั้งฝูงตลอดเวลา จึงทา ใหไ้ ดฝ้ กึ ฝนการเล้ียงไก่และมีความม่ันใจในการเลี้ยงไก่มากข้ึน แต่การเล้ียงแบบนี้ต้องใช้เวลานานกว่าไก่จะให้ไข่ เพราะต้องเลี้ยงต้ังแต่แรกเกิด ซ่ึงเป็นงานที่ยุ่งยากและใช้ความชานาญค่อนข้างสูง อีกท้ังยังต้องเสี่ยงต่อการตาย ของไกใ่ นระยะแรกๆ และจะต้องรอไปอีกเป็นเวลาอย่างน้อยถึง 22 สปั ดาห์ ไกจ่ งึ จะเรม่ิ ใหไ้ ข่

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 10 2. เริ่มต้นด้วยการเล้ียงไก่รุ่นอายุ 2 เดือน เป็นวิธีที่นิยมกันในปัจจุบัน โดยการที่ผู้เลี้ยงซ้ือไก่รุ่นอายุ 6 สปั ดาห์ – 2 เดือน มาจากฟาร์มหรือบริษัทที่รับเลี้ยงลูกไก่ เนื่องจากลูกไก่ในระยะน้ีราคายังไม่แพงมากนัก และ สามารถตัดปัญหาในเรื่องการเลี้ยงดูลูกไก่และการกกลูกไก่ การเลี้ยงไก่รุ่นอายุ 2 เดือนน้ี มักจะให้อาหารที่มี คุณภาพคอ่ นขา้ งต่า ราคาถกู การเลยี้ งดูก็ไมต่ อ้ งใชค้ วามชานาญมากนัก ผทู้ ีเ่ ร่ิมตน้ เลย้ี งไก่เป็นคร้ังแรก จึงสมควร เร่มิ เลี้ยงดว้ ยวิธนี ้ี 3. เริ่มตน้ ด้วยการเลี้ยงไก่สาว เป็นวิธีที่ผู้เลี้ยงไก่เป็นอาชีพหรือเพ่ือการค้านิยมกันมาก เนื่องจากไม่ต้อง เสียเวลาเล้ยี งดูไก่เลก็ หรอื ไกร่ นุ่ นอกจากนี้โรงเรือนก็สร้างไว้เฉพาะกับไก่ไข่เท่านั้น แต่การเล้ียงไก่วิธีน้ีต้องลงทุน สงู ผูเ้ ลี้ยงจะต้องรจู้ ักฟารม์ ท่ีผลติ ไก่สาวเปน็ อย่างดี ตอ้ งสอบถามถงึ ประวตั ขิ องฝงู ไก่สาวทีน่ ามาเลี้ยงเสมอ เพราะ ชว่ งทไี่ ก่ยังเปน็ ลูกไก่และไก่รนุ่ ผูเ้ ลี้ยงไม่สามารถรู้ประวตั ขิ องฝูงไก่สาวท่ีจะนามาเลย้ี งได้ การเลี้ยงดูไก่เล็ก การเลี้ยงดูไก่เล็ก (อายุ 1 วัน-16 สัปดาห์) การเล้ียงไก่ในระยะนี้เป็นระยะที่มี ความสาคัญมาก ต้องดูแลและเอาใจใส่อย่างมาก เพ่ือให้ลูกไก่มีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง และอัตราการเล้ียง รอดสงู ควรจัดการดังนี้ 1. เมื่อนาลูกไก่มาถึงฟาร์มต้องนาเข้าเคร่ืองกกโดยเร็วท่ีสุด และเตรียมน้าสะอาดพร้อมให้กินทันที ถ้า ลกู ไก่ยงั ไม่รจู้ กั ทีใ่ หน้ ้าตอ้ งสอนโดยการจบั ไก่เอาปากจุ่มน้า 2-3 ครงั้ ควรผสมยาปฏชิ ีวนะหรือวิตามินให้ลูกไก่กิน ติดต่อกัน 2-3 วันแรก แต่ถ้าลูกไก่มีลักษณะนอนฟุบ อ่อนเพลียมาก ควรผสมน้าตาลทรายลงในน้าผสมยา ปฏิชีวนะในอัตรา 5-10% ในระยะ 12 ช่วั โมงแรก 2. เมื่อลูกไก่เข้าเคร่ืองกกได้ 2-3 ชั่วโมง หรือลูกไก่เริ่มกินน้าได้แล้วจึงเริ่มให้อาหารไก่ไข่เล็ก โดยโปรย ลงบนถาดอาหาร พร้อมท้ังเคาะถาดเพื่อเป็นการเรียกลูกไก่ให้มากินอาหาร โดยให้กินแบบเต็มท่ี ให้น้อยๆ แต่ บ่อยคร้ังอยา่ งน้อยวนั ละ 3-4 ครัง้ 3. ให้แสงสว่างในโรงเรือนเพียง 1-3 วันแรกเท่าน้ัน เพ่ือให้ลูกไก่คุ้นเคยกับสถานท่ี แต่ไฟที่ให้ควรเปิด สลวั ๆ เพื่อปูองกันไมใ่ ห้ไกเ่ ดินเล่นห่างเครอื่ งกก ภายในเคร่ืองกกตอ้ งมีแสงไฟอยูต่ ลอดเวลาในระยะ 1-3 สปั ดาห์ 4. หม่นั ตรวจดูแลสุขภาพไก่โดยสมา่ เสมอ ตรวจอาหารและน้า ขวดน้าต้องล้างและเปลี่ยนน้าใหม่ทุกวัน เปลี่ยนวสั ดุรองพ้ืนทชี่ ้นื แฉะ และระวังอย่าให้ลมโกรก แตอ่ ากาศต้องถ่ายเทไดส้ ะดวก 5. ขยายวงล้อมกกให้กว้างออกไปตามความเหมาะสมทุกๆ 5-7 วัน พร้อมทั้งยกเคร่ืองกกให้สูงขึ้น เลก็ น้อย และปรบั อณุ หภูมิของเครื่องกกใหต้ า่ ลงสัปดาห์ละ 5 องศาฟาเรนไฮด์ 6. ทาวัคซีนตามกาหนด 7. ตัดปากลูกไก่เมื่ออายุ 6-9 วัน โดยตัดปากบนออกประมาณ 1 ใน 3 ของปาก และจี้ปากล่างด้วย ใบมดี รอ้ นๆ การตัดปาก มจี ดุ ประสงค์เพือ่ 1. เพ่อื ปอู งกนั การจกิ กัน 2. เพอ่ื ลดประมาณการสูญเสียอาหารหกหล่น การตัดปากทถ่ี กู วธิ ี 1. จับลูกไกไ่ วใ้ นอุ้งมือ ให้น้วิ หวั แม่มืออย่หู ลังหวั ลูกไก่ 2. ใชน้ ้วิ หัวแมม่ อื กดหัวลกู ไก่ให้อยนู่ ่งิ 3. เลือกขนาดรูตัดทีเ่ หมาะสมเพือ่ ตัดปากลกู ไกป่ ระมาณ 2 มม. จากปลายจมูก 4. ใบมีดตัดปากต้องร้อนจนแดง เมื่อกดใบมีดตัดปากไก่แล้วจะต้องคงค้างไว้ประมาณ 2-3 วินาที เพื่อช่วยห้ามเลือด การตัดปากไก่ไม่ดีนอกจากทาให้ไก่กินอาหารและน้าลาบากแล้ว ปริมาณไข่จากไก่ตัว น้นั ย่อมลดลง ดังน้ัน การตัดปากควรทาอย่างประณตี ระยะเวลาตัดปากที่ดีที่สุดประมาณ 7-10 วัน ควรตัดปาก ให้ระยะจากจมูกออกมาไม่ต่ากว่า 2 มม. ถ้าพบว่าการตัดปากไม่ดีควรทาการแต่งปากเมื่ออายุไม่เกิน 10 สัปดาห์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 11 8. เมื่อกกลูกไก่ครบ 21 วัน ให้นาวงล้อมและเคร่ืองกกออก แต่ต้องระวังอย่าให้ลูกไก่ต่ืน เพื่อปูองกัน การเครยี ดก่อนจะเปดิ วงลอ้ มออกต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้ – ท่ีให้อาหาร ใช้แบบถังแขวนในอัตรา 3-4 ใบต่อ ไก่ 100 ตัว – ที่ให้น้า ใช้แบบถังแขวน ในอัตราตามขอบราง 1 นิ้วต่อไก่ 1 ตัว แต่ทั้งที่ให้อาหารและท่ีให้น้า ตอ้ งคอยปรบั ใหอ้ ยใู่ นระดบั ความสงู เทา่ กับหลงั ไก่เสมอ 9. การให้กรวด กรวดมีความสาคัญต่อไก่ ในการช่วยบดอาหารที่มีขนาดโตให้ละเอียดขึ้น โดยเร่ิมให้ไก่ กินกรวดตงั้ แตอ่ ายุ 3 สัปดาห์ขนึ้ ไป โดยให้สปั ดาหล์ ะครงั้ ๆ ละ คร่ึงกิโลกรมั ตอ่ ไก่ 100 ตวั 10. ควบคุมและปอู งกันสัตว์อ่ืนๆ ไม่ให้มารบกวน 11. เริ่มช่ังน้าหนักไก่จานวน 5% ของฝูงเม่ืออายุ 6 สปั ดาห์ จดบันทึกปรมิ าณอาหาร จานวนไกต่ าย คัดทิ้ง สิ่งผดิ ปกติ การปฏิบัตงิ าน การใช้ยาและวัคซีนเป็นประจา เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการแกไ้ ขปญั หาและคานวณตน้ ทนุ การผลิต การเลย้ี งและการจดั การไก่ไข่บนกรง การเล้ยี งไกไ่ ขเ่ ปน็ อตุ สาหกรรมในปัจจบุ ันนยิ มเลยี้ งแบบขังกรง การเลี้ยงแบบน้ีมขี อ้ ดีและ ขอ้ เสียพอสรปุ ไดด้ ังนี้ ขอ้ ดี 1. สะดวกในการดูแลและการตรวจสอบสุขภาพไก่ 2. ไกไ่ มป่ นเป้อื นมูล เนอื่ งจากเม่ือไก่ขับถ่ายมูลออกไปแลว้ ก็จะตกลงสูด่ า้ นลา่ งของกรงทนั ที 3. ไข่สะอาดไมป่ นเปื้อนมูลและส่ิงสกปรกตา่ ง ๆ 4. การจับและการคัดไก่ออกสามารถกระทาได้สะดวก 5. การเลี้ยงไก่บนกรงจะทาให้ไก่กนิ อาหารนอ้ ยกวา่ การเลย้ี งแบบปล่อยพ้ืน 6. ไกไ่ มม่ นี สิ ยั ชอบฟักไข่ 7. สามารถเลย้ี งไก่ได้ปริมาณมากกว่าในโรงเรือนขนาดเท่ากัน 8. การปอู งกนั การเกิดพยาธิภายใน พยาธิภายนอก และโรคติดต่อทาไดง้ ่ายกว่า 9. ประหยัดแรงงานและการท างานสะดวกขึน้ เนื่องจากสามารถนาอปุ กรณ์อตั โนมัตเิ ขา้ มาชว่ ย ทางานได้เชน่ การให้น้า การให้อาหาร และการเกบ็ ไข่ ข้อเสีย 1. ต้นทุนการเลย้ี งตอ่ ตัวสูงขน้ึ 2. มีปญั หาการจดั การมลู ในระหว่างการเลีย้ ง 3. มักจะมีปัญหาเกย่ี วกบั แมลงวนั และแมลงปกี แขง็ มากกวา่ การเลยี้ งไกแ่ บบปล่อยพืน้ 4. ไข่ทไ่ี ด้จากการเลย้ี งแบบขงั กรงมักจะมีโอกาสเกิดจดุ เลือดและจดุ เน้ือในฟองไข่มากกวา่ 5. ไกท่ ่ีเล้ยี งแบบขงั กรงมกั จะมีกระดูกเปราะกว่าจึงมีโอกาสกระดกู หักได้ง่ายกวา่ ขนาดกรง ขนาดกรงสว่ นใหญ่จะขึ้นกบั บรษิ ัทผผู้ ลติ อย่างไรกต็ าม กรงเลีย้ งไกไ่ ข่จะต้องมีความสูงจากพ้นื ถงึ หลงั คากรงไมน่ ้อยกว่า 15-16 น้ิว หรือ 38-41 เซนตเิ มตร เพื่อใหไ้ กไ่ ด้ยนื อย่างสบาย รูปแบบของกรงไก่ไข่ (Type of laying cages) กรงสาหรับเล้ยี งไก่ไข่มอี ยูห่ ลายรูปแบบ แตล่ ะรูปแบบจะเหมาะสมกับสถานการณแ์ ตกตา่ งกนั เช่น สภาพอณุ หภมู ิ สายพนั ธ์ุไก่ วัสดทุ ใี่ ช้ทากรง รปู แบบของโรงเรอื น ฯลฯ รูปแบบกรงเลย้ี งไก่ไข่ทีม่ ใี ช้ กนั อย่ใู นปจั จุบันไดแ้ ก่

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลีย้ งไก่ไข่ 12 - กรงขังเดยี่ ว (Single-bird cage) - กรงขังรวมขนาดเลก็ (Small, multiple-bird cage) - กรงขงั รวมขนาดใหญ่ (Large, multiple-bird cage) พรอ้ มกัน ไกต่ ัวที่มนี ้าหนักถงึ น้าหนกั มาตรฐานหรือน้าหนักพิกัดก่อนจะวางไข่ออกมาก่อน ส่วนไก่ตัวท่ีมี น้าหนักตวั นอ้ ยจะวางไข่ช้ากวา่ ดงั นัน้ จงึ ควรทาการแยกไก่ตัวท่ีมีน้าหนักมากกว่าค่าเฉลี่ยไปขังไว้ในพื้นที่เดียวกัน ส่วนไก่ตัวท่ีมีน้าหนักน้อยกว่าค่าเฉลี่ยก็จะต้องนาไปขังไว้ในพื้นเดียวกันด้วย เพ่ือความสะดวกในการจัดการให้ อาหารเพ่ือควบคุมน้าหนักตัวโดยกลุ่มท่ีมีน้าหนักต่ากว่าน้าหนักเฉล่ียของฝูงหรือน้าหนักมาตรฐานจะมีการเพิ่ม ปริมาณอาหารที่ให้มากขึ้น มีการกระตุ้นให้ไก่กินอาหารมากข้ึน ส่วนกลุ่มท่ีมีน้าหนักมากกว่าน้าหนักเฉล่ียก็ จะต้องควบคุมปริมาณอาหารที่กินไม่ให้น้าหนักตัวเพิ่มมากเกินไปในขณะที่กลุ่มท่ีมีน้าหนักได้ตามมาตรฐานจะ เล้ียงดูตามปกติและให้อาหารตามโปรแกรมปกติ จากข้อมูลของมหาวิทยาลัย California ระบุว่า ไก่เล็กฮอร์น ขาวท่ีแบ่งน้าหนักตัวออกเป็น 5 ช่วงตามน้าหนักตัว ปรากฏว่าไก่กลุ่มท่ีมีน้าหนักน้อยและกลุ่มท่ีมีน้าหนัก มากกว่าน้าหนักเฉลี่ยของฝูงจะให้ผลผลิตไข่น้อยกว่า โดยไก่กลุ่มท่ีมีน้าหนักตัวน้อยกว่าค่าเฉล่ียจะเร่ิมให้ไข่ช้า กวา่ ไกก่ ลมุ่ ท่มี ีน้าหนกั ใกล้เคียงกบั นา้ หนกั เฉล่ยี ของฝงู จะใหผ้ ลผลิตไข่ดีท่ีสุด ส่วนกลุ่มที่มีน้าหนักตัวมากจะให้ไข่ น้อยกว่า แตก่ ินอาหารมากกวา่ และมีอัตราการตายมากกว่าด้วย อย่างไรกต็ าม ไก่ท่ีมีนา้ หนกั ตวั มากจะให้ไข่ฟอง ใหญก่ ว่า ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การให้ผลผลติ ไข่ อายุเม่ือเร่ิมไข่ฟองแรก น้าหนักไข่เฉลี่ยของฝูงจะสัมพันธ์กับน้าตัวและอายุเม่ือไก่เริ่มให้ไข่ฟองแรก เน่ืองจากอายุเม่ือไก่เริ่มให้ไข่ฟองแรกสามารถควบคุมได้โดยการใช้โปรแกรมการให้แสงสว่าง และการควบคุม อาหารหรือควบคุมน้าหนักตัว แต่ต้องจาไว้ว่าการควบคุมให้ไก่ออกไข่ฟองแรกช้าออกไปจะทาให้ต้นทุนการผลิต ไข่ต่อตัวเพม่ิ ขึน้ ดังน้ันผู้เล้ียงจะต้องพิจารณาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ราคาไข่และความต้องการของตลาดด้วย อยา่ งไรกต็ าม อายเุ มื่อให้ไขฟ่ องแรกควรจะอยู่ระหวา่ ง 19-20 สัปดาห์จะเป็นช่วงท่ีเหมาะสมท่ีสุด และหลังจาก ท่ีไก่เริ่มให้ไข่ฟองแรกไปแล้วประมาณ 5 สัปดาห์ไก่ฝูงนั้นก็ควรจะมีเปอร์เซ็นต์การไข่ต่อวันประมาณ 50%การ ตายระหว่างการเล้ียง การตายของไก่ระหว่างการเล้ียงและการให้ผลผลิตไข่จะเป็นตัวบ่งชีถึงประสิทธิภาพและ ข้อผดิ พลาดของการจัดการ การตายของไก่ไมเ่ พยี งแต่เปน็ การสญู เสียไกเ่ ท่านน้ั

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 13 คะแนน ใบงานที่ 1 หน่วยเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง หลกั เบ้ืองต้นเกย่ี วกับการเล้ยี งไกไ่ ข่ ชื่อ……………………………………………สกุล……………………………..…………..ระดบั ช้นั …..….….หอ้ ง…….…เลขท่ี……… คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑. ประวัตแิ ละความเป็นมาของการเลีย้ งไก่ไข่ในประเทศไทย ในอดตี การเลย้ี งไกใ่ นประเทศไทย คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ประวตั แิ ละความเปน็ มาของการเลย้ี งไก่ไข่ในประเทศไทย ในปี พ.ศ.2492 และในปี พ.ศ.24๘๙ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ความสาคญั และประโยชน์ของการเลย้ี งไก่ คอื ๓.๑..………………………………………………………………………………………………….………………………………………………… ๓.๒……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓.๓.…………………………………………………………………………………………………………………..………………………………… ๔. เร่มิ ต้นด้วยการเลยี้ งลกู ไก่อายุ 1 วัน เปน็ วธิ ที ่ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลยี้ งไก่ไข่ 14 ๕. เรม่ิ ต้นดว้ ยการเล้ียงไกร่ ุน่ อายุ 2 เดือน เป็นวิธีที่ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. เร่มิ ตน้ ดว้ ยการเล้ียงไก่สาว เป็นวธิ ที ี่ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. เม่อื ลูกไกเ่ ม่ืออายุ 6-9 วัน มกี ารตดั ปาก มจี ุดประสงค์ เพอ่ื ๗.๑……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๗.๒……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. การเลย้ี งไกไ่ ข่เปน็ อตุ สาหกรรมในปจั จบุ ันนิยมเลย้ี งแบบขงั กรง การเล้ียงแบบนม้ี ีข้อดี คือ ๘.๑……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๘.๒……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘.๓……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๘.๔……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘.๕……….……………………………………………….…………………………………………….………………………………………………. ๘.๖……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘.๗……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๘.๘……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘.๙……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๙. การเลี้ยงไกไ่ ขเ่ ป็นอตุ สาหกรรมในปัจจบุ ันนิยมเลี้ยงแบบขังกรง การเล้ยี งแบบนี้มขี ้อเสยี คอื ๙.๑……….……………………………………………….…………………………………………….………………………………………………. ๙.๒……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙.๓……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………… ๙.๔……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙.๕……….……………………………………………….…………………………………………….………………………………………………. ๑๐. ปจั จัยทผี่ ลต่อการใหผ้ ลผลิตไข่ คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลย้ี งไก่ไข่ 15 แบบบันทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรยี นร้ทู ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชนั้ …………………………. รหัสวชิ า……………………………………. ครูผสู้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขอ้ คน้ พบระหวา่ ง ปัญหาท่ีพบ แนวทางแกไ้ ข ท่ีมกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนอ้ื หา กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมสี ว่ นร่วมของ ผ้เู รียน ลงช่ือ..................................................ผู้สอน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 16 แบบบันทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เรอื่ ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชนั้ …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผู้สอน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เม่อื เสรจ็ สิน้ กิจกรรมประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดังน้ี (ให้ทาเคร่อื งหมาย ตามผลการประเมนิ ) ที่ ประเดน็ ทปี่ ระเมิน ผลการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรียนรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของนักเรียน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมิน การประเมนิ ผล ประเมนิ ผล โดยใช้ คะแนนเตม็ / คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ ด้านต่างๆ เกณฑ์การประเมนิ เฉลี่ย ด้านความรู้ : กอ่ นเรยี น Knowledge หลังเรียน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเตม็ คณุ ลกั ษณะ ประเมินผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดับดีขึน้ ไป อันพงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น จานวน (คน) คิดเป็นร้อยละ ดา้ นซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ดา้ นมีวนิ ยั ด้านใฝเ่ รยี นรู้ ดา้ นมุ่งมนั่ ในการทางาน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 17 การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ ผลการประเมนิ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ปรบั ปรุง สมรรถนะสาคัญ ประเมินผล ระดบั ดีขนึ้ ไป โดยใช้ จานวน คิดเปน็ ร้อยละ (คน) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ที่คน้ พบระหวา่ งท่มี ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี ด้านเนือ้ หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ด้านกจิ กรรมการเรียนรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ดา้ นพฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของนกั เรียน : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลยี้ งไก่ไข่ 18 แนวทางแก้ไข จัดกจิ กรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม รายการ วธิ ดี าเนนิ กิจกรรม ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นายน่านมงคล อนิ ดว้ ง) ตาแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 19 ผงั มโนทัศน์ รายวิชา หลกั การเล้ยี งสตั ว์ (การเล้ยี งไกไ่ ข่) รหัสวิชา ง๒๐๒๒๕ ชนั้ . ม.๒ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง พนั ธ์ุและการคัดเลือกพันธ์ุ จานวน ๕ ช่ัวโมง : ๑0 คะแนน ชือ่ เรื่อง พันธไุ์ ก่ไขท่ น่ี ิยมเล้ียง จานวน ๒ ชั่วโมง : ๕ คะแนน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่อื ง พันธแุ์ ละการคัดเลอื กพันธุ์ จานวน ๕ ชั่วโมง ชอ่ื เรื่อง การเลือกพันธุ์และอายขุ องไก่ไขท่ ีจ่ ะนามาเลยี้ ง ๓ ช่ัวโมง : ๕ คะแนน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 20 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรื่อง พันธแ์ุ ละการคดั เลอื กพนั ธุ์ แผนจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่อื ง พนั ธ์แุ ละการคัดเลอื กพันธุ์ รายวิชา หลกั การเล้ียงสัตว์ (การเลี้ยงไก่ไข)่ รหสั วชิ า ง๒๐๒๒๕ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรยี น ๑.๐ (นน./นก.) เวลาเรียน ๖0 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๕ ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจท่ีคงทน) พันธุไ์ กไ่ ข่ พันธ์ไก่ไข่ท่ีนิยมเลี้ยงในประเทศไทยในปัจจุบันส่วนมากแล้วเป็นพันธุ์ท่ีนามาจากต่างประเทศ ซึ่งเป็น พันธ์ุท่ีได้มีการคัดเลือกและปรับปรุงพันธ์ุมาเป็นอย่างดีแล้ว เช่น ไข่ฟองโต และให้ไข่ทน พันธ์ุไก่ไข่ที่มีการเลี้ยง กนั มากในขณะนีแ้ บง่ ออกได้ 3 ประเภทดว้ ยกนั คอื ไก่พันธุแท้ เป็นไก่ท่ีได้รับการคัดเลือกและผสมพันธ์ุเป็นอย่างดีของนักผสมพันธ์ุ จนลูกหลานในรุ่นต่อๆ มา มีลักษณะรูปร่าง ขนาด สี และอื่นๆ เหมือนบรรพบุรุษไก่พันธ์ุแท้เคยได้รับความนิยมมากในสมัยหน่ึงสาหรับ ไกไ่ ข่พันธุแ์ ท้ที่ยังเลยี้ งกนั อยใู่ นประเทศไทยมีดังน้ี โร๊ดไอส์แลนดแ์ ดง หรอื ที่เรียกสน้ั วา่ ไกโ่ ร๊ด เป็นไก่พนั ธุเ์ ก่าแก่พันธ์ุหน่ึง มีอายุกว่า 100 ปี โดยการผสม และคดั เลือกพันธ์ุมาจากพนั ธมุ์ าเลย์แดง ไก่เซียงไฮ้แดง ไก่เลก็ ฮอรน์ สีนา้ ตาล ไกไ่ วยันดอทท์ และไก่บราห์มาส์ ไก่ พันธ์ุโร๊ดไอส์แลนดืแดงมี 2 ชนิดคือ ชนิดหงอนกุหลาบและชนิดหงอนจักรแต่ท่ีนิยมเลี้ยงกันแพร่หลายเป็นชนิด หงอนจกั ร ไก่โร๊ดไอส์แลนด์แดงหงอนจักรมีรูปร่างค่อนข้างยางและลึก เหมือนส่ีเหล่ียมยาว ขนมีสีน้าตาลแกมแดง หงอนจักร ผิวหนังและแข้งสีเหลือง แผ่นหูมีสีแดง เปลือกไขมีสีน้าตาล ลักษณะนิสัยเช่ือง แข็งแรง สามารถ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี เริ่มให้ไข่เมื่ออายุระหว่าง 5 ½ -6 เดือน ให้ไข่ปีละประมาณ 280 – 300 ฟอง น้าหนักตัวเม่ือโตเต็มที่เพศผู้หนัก 3.1 – 4.0 กิโลกรัม เพศเมียหนัก 2.2 – 4.0 กิโลกรัม สมัยก่อนนิยม เล้ียงเป็นไก่ไข่เพราะให้ไข่ดก แต่ปัจจุบันนิยมเล้ียงเป็นไก่ต้นพันธุ์ ในการผลิตไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า เพื่อให้ได้ ลกู ผสมทสี่ ามารถคัดเพศได้เมือ่ อายุ 1 วัน โดยดูความแตกต่างของสีขน ไก่ไข่เพ่ือการค้าในปัจจุบันที่ให้ไข่เปลือก สนี ้าตาลน้นั มกั มาจากการผสมข้ามพันธ์ขุ องไกโ่ ร๊ดไอสแ์ ลนดแ์ ดงหงอนจักรกับไก่พนั ธบุ์ าร์พลีมัทร็อคลูกผสมที่จะ ไดใ้ หไ้ ข่ดกไข่เปลือก มสี ีน้าตาลและใหไ้ ข่ฟองโต 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัดช้ันป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธบิ ายวิธีการทางานเพ่ือการดารงชีวิต ๒. สร้างผลงานอยา่ งมีความคิด สร้างสรรค์ และมีทักษะการทางานร่วมกัน ๓. มีทักษะการจัดการในการทางาน ๔. มีทกั ษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน ๕ มีทักษะในการแสวงหาความรูเ้ พื่อการดารงชีวติ

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 21 ๖. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน ๗. ใช้พลงั งาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพอื่ การอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลัก : Knowledge ๑. พนั ธไ์ุ ก่ไข่ทีน่ ิยมเลย้ี ง ๒. เลือกพันธแ์ุ ละอายุของไก่ไขท่ ีจ่ ะนามาเลีย้ ง เล้ียงดตู ามอายุ เลอื กวิธีลดต้นทุนการผลติ และเพ่ิม มูลค่าผลผลิต 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ๑. อธบิ ายพนั ธ์ุไก่ไข่ท่ีนิยมเลี้ยงได้ ๒. สามรถเลอื กพนั ธุ์และอายุของไก่ไข่ทีจ่ ะนามาเล้ยี งได้ ๓. เล้ียงดูตามอายุ เลือกวธิ ีลดต้นทุนการผลติ และเพ่ิมมลู ค่าผลผลิต ๔. มที ักษะในการการจดั การและแก้ปญั หาได้ 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude 1. มวี ินัย 2. มีความรับผิดชอบ 3. ตรงต่อเวลา 4. ม่งุ ม่นั ในการเรียน 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 1 ความสามารถในการคิด 2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1.ความรับผดิ ชอบ 2.ตรงต่อเวลา 6. คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 1. ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 2. มีวินยั 3. ใฝุเรียนรู้ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง พนั ธแุ์ ละการคัดเลอื กพันธุ์ - ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง พนั ธแ์ุ ละการคัดเลือกพนั ธ์ุ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ 1-๒ (ความสามารถในการวเิ คราะห์/ใฝุเรียนร้/ู เทคนคิ การสบื ค้น) - ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น/ข้ันตั้งคาถาม 1. ทกั ทายนกั เรยี นก่อนเรยี น 2. เช็ดช่อื นกั เรยี นกอ่ นเขา้ สู่บทเรียน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 22 ข้ันสอน ๑. ทาความเข้าใจและช้ีแจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้เรื่องพันธ์ุและการ คดั เลอื กพนั ธุ์ ครอู ธิบายเกย่ี วกับพันธ์แุ ละการคดั เลอื กพันธุ์ ครูให้นักเรียนจดบันทึกตามท่ีครูอธิบายครูให้นักเรียน ทาใบงาน เร่อื งการพนั ธ์ไุ ก่ไข่ ครูมอบหมายงานให้นักเรยี นทารายงาน เรอ่ื งพนั ธุ์ไก่ไข่ที่นิยมเล้ียง ครูมอบหมายให้ นักเรยี นไปศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับวธิ กี ารเลือกวธิ ีลดตน้ ทนุ การผลิตและเพ่ิมมูลค่าผลผลิต ขน้ั สรุป ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปเนื้อหาทีเ่ รยี นมา ๒. ครูนัดหมายการเรียนครง้ั ต่อไป ชัว่ โมงท่ี 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์/ใฝเุ รียนรู้/ชว่ ยกนั คิดชว่ ยกนั เรียน) - ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน/ขัน้ ตั้งคาถาม 1. ทกั ทายนกั เรยี นก่อนเรยี น 2. เช็ดชือ่ นักเรยี นกอ่ นเขา้ สู่บทเรยี น ขนั้ สอน 1. ครแู ละนักเรยี นทบทวนบทเรยี นที่ผ่านมา 2. ครใู ห้นกั เรยี นมาแลกเปลยี่ นเรียนรูเ้ นอ้ื หาทค่ี รูมอบหมายในสัปดาหท์ ่ผี า่ นมา 3. ครูอธบิ ายเกี่ยวกบั พันธแ์ุ ละอายุของไก่ไข่ทจ่ี ะนามาเลี้ยง 4. ครูใหน้ กั เรียนจดบันทึกลงในสมดุ 5. ครใู ห้นักเรยี นทาใบงานเรอื่ งเล้ียงดูไก่ไขต่ ามอายุ ขนั้ สรุป 6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปเนือ้ หาทเ่ี รยี นมา 7. ครนู ดั หมายการเรียนคร้งั ต่อไป 9. สือ่ การเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. สอ่ื การเรยี น 1 ชดุ ขน้ั ตรวจสอบความรเู้ ดิม 2. ใบงาน 1.1 เรื่อง พันธุ์และการคดั เลือกพนั ธุ์ 30 ชดุ ตรวจหาคาตอบ และรูปภาพ 3. หอ้ งสมดุ สืบคน้ ข้อมลู 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธีวัด เครอื่ งมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน -ความถูกต้อง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑. พนั ธุ์ไกไ่ ข่ทนี่ ยิ ม ความเขา้ ใจและ 1. มเี น้อื หาสาระครบถ้วน ใบความรู้ ความถกู ตอ้ ง เล้ียง ใบงาน สมบรู ณ์

๒. เลอื กพันธ์แุ ละ เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลีย้ งไก่ไข่ 23 อายขุ องไกไ่ ขท่ ี่จะ นามาเล้ยี ง เล้ียงดู 9-10 คะแนน ตามอายุ เลือกวธิ ลี ด 2.มีเนอื้ หาสาระค่อนข้าง ตน้ ทนุ การผลิตและ ครบถ้วน เพ่มิ มูลคา่ ผลผลติ 7-8 คะแนน 3.มีเนอ้ื หาสาระไมค่ รบถ้วน แต่ภาพรวมของสาระทง้ั หมด อย่ใู นเกณฑ์ปานกลาง 5-6 คะแนน 4. มีเนื้อหาสาระไมค่ รบถ้วน แตภ่ าพรวมของสาระทั้งหมด อย่ใู นเกณฑต์ ้องพอใช้ 4-3 คะแนน 5. มเี น้อื หาเพยี งเล็กนอ้ ยแตภ่ าพ รวมของสาระทง้ั หมดอยูใ่ นเกณฑ์ ตอ้ งปรบั ปรงุ 2-1 คะแนน 6. ไม่มีเนอ้ื หาเลย 0 คะแนน ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 24 ใบความรู้ พันธ์ุไกใ่ ข่ โดยจะแยกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ ก็คือ ไก่พันธ์แุ ท้ เปน็ ไกท่ ี่ได้รบั การคดั เลือกและผสมพันธ์มุ าเปน็ อยา่ งดี จนลกู หลานในรุ่นต่อๆ มามีลักษณะรูปร่าง ขนาด สี และอ่ืนๆ เหมือนบรรพบุรุษไก่พันธ์ุแท้ ยกตัวอย่าง ไก่พันธุ์แท้ที่เป็นที่นิยม ได้แก่ โร๊ดไอส์แลนด์แดง บาร์ พลีมทั ร็อค เลก็ ฮอร์นขาวหงอนจักร โร๊ดไอสแ์ ลนด์แดง หรือท่ีเรยี กสัน้ ๆ วา่ ไก่โรด๊ เปน็ ไก่พันธเ์ุ ก่าแก่พันธห์ุ น่ึง มีอายุกว่า 100 ปี โดยการ ผสมและคดั เลือกพนั ธมุ์ าจากพนั ธุม์ าเลย์แดง ไก่เซี่ยงไฮ้แดง ไกเ่ ลก็ ฮอร์นสีน้าตาล ไก่ไวยันดอทท์ และไก่บราห์ มาส์ ไก่พนั ธุ์โร๊ดไอสแ์ ลนดแ์ ดง มี 2 ชนดิ คอื ชนดิ หงอนกหุ ลาบและหงอนจักร แตน่ ยิ มเล้ียงชนดิ หงอนจักร รปู รา่ งลกั ษณะ - มรี ปู ร่างคอ่ นขา้ งยาวและลึก เหมือนส่เี หล่ยี มยาว - ขนสีน้าตาลแกมแดง - ผวิ หนงั และแข้งสีเหลอื ง แผ่นหูมีสีแดง - เปลอื กไข่สีน้าตาล ลักษณะนิสยั - เชอื่ ง แขง็ แรง - สามารถปรับตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มได้ดี - เร่มิ ใหไ้ ข่เมื่ออายุ 5 เดอื นคร่ึง – 6 เดอื น ให้ไข่ปลี ะประมาณ 280-300 ฟอง - น้าหนักโตเตม็ ท่ี เพศผูห้ นกั 3.1-4.0 ก.ก. เพศเมียหนกั 2.2-4.0 ก.ก.

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 25 บารพ์ ลมี ัทร็อค หรอื ที่เรยี กกันว่า ไกบ่ าร์ เป็นไก่พันธุ์พลีมัทร็อค ผิวหนงั สีเหลือง รปู รา่ งลักษณะ - ขนสบี าร์ คอื มสี ีดาสลบั กับขาวตามขวางของขน - หงอนจักร - ให้ไข่เปลอื กสนี ้าตาล - เรมิ่ ให้ไข่เม่ืออายุประมาณ 5 เดอื นครึ่ง – 6 เดอื น

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 26 เล็กฮอร์นขาวหงอนจักร จดั เป็นไก่พนั ธ์ุทน่ี ยิ มเลี้ยงกนั แพรห่ ลายมากท่ีสดุ ในบรรดาไก่เล็กฮอร์นด้วยกนั ปจั จุบนั นยิ มผสมข้ามสายพันธ์ตุ ้งั แต่สองสายพนั ธ์ขุ นึ้ ไป เพ่ือผลติ เปน็ ไก่ไข่ลูกผสมเพ่ือการค้า รปู รา่ งลกั ษณะ - มีขนาดเล็ก - ขนสีขาว - ใหไ้ ขเ่ รว็ ใหไ้ ข่ดก ไขเ่ ปลอื กสขี าว - มปี ระสิทธภิ าพในการเปลี่ยนอาหารค่อนข้างสงู เพราะมีขนาดเล็ก ทนร้อนได้ดี - เรม่ิ ให้ไข่เม่ืออายุ 4 เดอื นครึง่ – 5 เดอื น ให้ไข่ปลี ะประมาณ 300 ฟอง - น้าหนักโตเตม็ ที่ เพศผู้ 2.2-2.9 ก.ก. เพศเมยี 1.8-2.2 ก.ก.

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 27 ไกพ่ นั ธ์ุผสม คอื ไกท่ เ่ี กิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างไก่พันธ์ุแท้ 2 สายพันธ์ุ ยกตัวอย่างไก่ผสมท่ีเป็นที่นิยมก็คือ ไก่ไฮบ รีดจุดประสงค์ของไก่พันธ์ุผสมก็เพ่ือ ให้ได้ไก่ที่ให้ไก่ดก ทนทานโรค โตเร็ว โดยเป็นไก่ที่เกิดจากการผสมพันธ์ุ ระหว่างไก่พันธุ์แท้ 2 พันธ์ุ ที่ให้การผลิตไข่ในจานวนมากและราคาท่ีถูกที่สุด ส่วนมากแล้วการผสมไก่ลักษณะนี้ ลูกผสมท่ีได้จะมีคุณสมบัติท่ีดีกว่าพ่อแม่พันธ์ุ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการทนทานต่อโรค ไก่ลูกผสมที่ยังมีผู้นิยมเล้ียง อยบู่ า้ ง ไดแ้ ก่ ไก่ลูกผสมระหว่างพ่อโร๊ด+แม่บาร์, พ่อบาร์+แม่โร๊ด, เล็กฮอร์น+โร๊ด, โร๊ด+ไฮบริด และลูกผสม 3 สายเลอื ด คอื ลูกตัวเมียทไ่ี ด้จากลูกผสมพ่อโร๊ด+แม่บาร์ นาไปผสมกับพ่อไก่อู ลูกผสมที่ได้จะมีเนื้อดี โตเร็ว และ ไขด่ ี ไกไฮบรดี เป็นไก่พันธุ์ไข่ท่ีมีผู้นิยมเล้ียงมากที่สุดในปัจจุบัน เป็นพันธุ์ไก่ท่ีผสมขึ้นเป็นพิเศษ ซ่ึงบริษัทผู้ผลิตลูกไก่ พันธ์ุจาหนา่ ยไดม้ กี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ พันธุใ์ หไ้ ด้ไก่พนั ธทู์ ใ่ี ห้ผลผลิตไขส่ ูง และมีคณุ ภาพตามความต้องการของ ตลาด คือ ให้ไข่ดก เปลือกไข่สีน้าตาล ไข่ฟองโตและไข่ทน ไก่ไฮบรีดจะมีลักษณธะเด่นประจาพันธุ์และมีข้อมูล ประจาพันธุ์อย่างละเอียด เช่น อัตราการเจริญเติบโต เปอร์เซนต์การไข่ ระยะเวลาในการให้ไข่ ขนาดของแม่ไก่ อตั ราการเลยี้ งรอด ขนาดของฟองไข่ สีของเปลือกไข่ ปริมาณอาหารท่ีกิน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ไก่ไฮบรีดน้ีต้อง เลี้ยงด้วยอาหารที่มีคุณภาพสูง มีการจัดการท่ีถูกต้อง เช่น การควบคุมน้าหนักตัว การควบคุมการกินอาหาร การควคุมแสงสวา่ ง ตลอดทัง้ การสขุ าภบิ าลและการปอู งกันโรคที่ดี ด้วยเหตุน้ีที่ไก่ไฮบรีดส่วนใหญ่มีการผสมพันธ์ุ ท่ีดาเนินการโดยบริษัทผลิตพันธุ์ไก่เป็นการค้า ซ่ึงจะรักษาไก่ต้นพันธ์ุและระบบการผสมพันธ์ุไว้เป็นความลับเพื่อ ผลประโยชน์ในทางการค้า ไก่ไข่ไฮบรีดจึงมีชื่อแตกต่างกันออกไปตามแต่บริษัทผู้ผลิตจะต้ังขึ้น ท่ีนิยมเลี้ยงกันใน ประเทศไทย ไดแ้ ก่ ดีคาร์บ, ซุปเปอร์ฮาร์โก,้ เอ-เอบราวน์, เซพเวอรส์ ตารค์ รอ็ ส, เมโทรบราวน์ เป็นตน้ วิธกี ารเลอื กพนั ธุไ์ ก่ไข่ สาหรบั มือใหม่อาจเร่ิมจากสอบถามผ้ทู ม่ี ีประสบการณ์เพื่อนามาเปรียบเทยี บในการเลือกสายพนั ธุ์ไก่ ต่อไป ซ่ึงข้อคดิ งา่ ย ๆในการเลอื กสายพันธุ์ไก่มีดงั น้ี 1. เลือกไกส่ ายเลือดดีผ่านการคดั เลือกสายพนั ธ์ุขึน้ มาเปน็ ไกไ่ ข่โดยเฉพาะ มีลักษณะตรงตามพนั ธ์ุ 2. ผลิตจากฟาร์มทมี่ ีมาตรฐานดี เช่อื ถือได้ 3. ให้ผลผลิตไข่สงู ยาวนาน ทน ไข่ฟองใหญ่ เปลอื กหนา 4. มอี ัตราการเลย้ี งรอดสงู แข็งแรง ทนต่อ สภาพแวดลอ้ มและภมู อิ ากาศของไทยได้ดี

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ียงไก่ไข่ 28 คะแนน ใบงานท่ี 1 หนว่ ยเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง พนั ธุ์และการคดั เลือกพันธ์ุ ช่ือ……………………………………………สกุล……………………………..…………..ระดบั ช้นั …..….….หอ้ ง…….…เลขท่ี……… คาช้แี จง ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. ไก่พนั ธุ์แท้ คอื ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. โรด๊ ไอส์แลนดแ์ ดง คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ๓. รูปรา่ งลกั ษณะของไกโ่ รด๊ ไอสแ์ ลนด์แดง คือ …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ลกั ษณะนิสัยของไกโ่ รด๊ ไอสแ์ ลนดแ์ ดง คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. รปู ร่างลกั ษณะของไก่บาร์พลีมทั ร็อค คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลยี้ งไก่ไข่ 29 ๖. เลก็ ฮอร์นขาวหงอนจกั ร คอื …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. รูปร่างลักษณะของไก่เล็กฮอรน์ ขาวหงอนจักร คือ ……….……………………………………………….…………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. ไกพ่ ันธุ์ผสม คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. ไกไฮบรีด คอื …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. วธิ ีการเลอื กพนั ธ์ุไก่ไข่ ดงั น้ี …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลย้ี งไก่ไข่ 30 แบบบันทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่……………… เรือ่ ง……………………………………………………………….. แผนการเรยี นร้ทู ี่……… เรอ่ื ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชนั้ …………………………. รหัสวชิ า……………………………………. ครูผสู้ อน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย เวลาท่ใี ช้………ช่ัวโมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขอ้ คน้ พบระหวา่ ง ปัญหาท่ีพบ แนวทางแกไ้ ข ท่ีมกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนอ้ื หา กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ พฤติกรรม/การมสี ว่ นร่วมของ ผ้เู รียน ลงช่ือ..................................................ผู้สอน (นายน่านมงคล อนิ ด้วง) ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 31 แบบบันทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ท…ี่ …………… เรอื่ ง……………………………………………………………….. รายวชิ า……………………………….. ชนั้ …………………………. รหสั วิชา……………………………………. ครูผู้สอน นายนา่ นมงคล อินด้วง ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย เวลาทใี่ ช้………ช่ัวโมง ***************************** เม่อื เสรจ็ สิน้ กิจกรรมประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดังน้ี (ให้ทาเคร่อื งหมาย ตามผลการประเมนิ ) ที่ ประเดน็ ทปี่ ระเมิน ผลการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง 1 ความเหมาะสมของระยะเวลา 2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา 3 ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรยี นรู้ 4 ความเหมาะสมของสือ่ ประกอบการเรียนรู้ท่ีใช้ 5 พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของนักเรียน การประเมินด้านความรู้ : Knowledge ผลการประเมนิ จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรยี น การประเมิน การประเมนิ ผล ประเมนิ ผล โดยใช้ คะแนนเตม็ / คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ ด้านต่างๆ เกณฑ์การประเมนิ เฉลี่ย ด้านความรู้ : กอ่ นเรยี น Knowledge หลังเรียน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ : Process การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude จานวน ……………… คะแนนเตม็ คณุ ลกั ษณะ ประเมินผล ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ระดับดีขึน้ ไป อันพงึ ประสงค์ โดยใช้ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น จานวน (คน) คิดเป็นร้อยละ ดา้ นซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ดา้ นมีวนิ ยั ด้านใฝเ่ รยี นรู้ ดา้ นมุ่งมนั่ ในการทางาน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลย้ี งไก่ไข่ 32 การประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน จานวน ……………… คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ ผลการประเมิน ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ปรบั ปรุง สมรรถนะสาคัญ ประเมินผล ระดบั ดีขนึ้ ไป โดยใช้ จานวน คิดเปน็ ร้อยละ (คน) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ที่คน้ พบระหวา่ งท่มี ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี ด้านเนือ้ หา : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………..………………….. ด้านกจิ กรรมการเรียนรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………….. ด้านสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..….. ดา้ นพฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของนกั เรียน : ...………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..…..

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลยี้ งไก่ไข่ 33 แนวทางแก้ไข จัดกจิ กรรมเสริมทกั ษะหรือซ่อมเสริม รายการ วธิ ดี าเนนิ กิจกรรม ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นายน่านมงคล อนิ ดว้ ง) ตาแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 34 ผงั มโนทัศน์ รายวิชา หลักการเลี้ยงสัตว์ (การเล้ยี งไกไ่ ข่) รหสั วิชา ง๒๐๒๒๕ ชน้ั . ม.๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่อื ง โรงเรือน วสั ดุ อุปกรณ์และการสุขาภบิ าล จานวน ๑๕ ชัว่ โมง : ๒0 คะแนน ชื่อเร่ือง โรงเรอื นไก่ไข่ จานวน ๔ ชั่วโมง : ๕ คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรื่อง โรงเรือน วสั ดุ อปุ กรณ์และการสุขาภิบาล จานวน ๑๕ ช่ัวโมง ช่ือเรื่อง ช่อื เร่ือง อุปกรณเ์ ลย้ี งไกไ่ ข่ การสขุ าภบิ าลไก่ไข่ จานวน ๕ ช่วั โมง : ๕ คะแนน จานวน ๖ ชว่ั โมง : ๑๐ คะแนน

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 35 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่ือง โรงเรอื น วัสดุ อปุ กรณ์และการสุขาภบิ าล แผนจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรื่อง โรงเรอื น วสั ดุ อุปกรณ์และการสขุ าภิบาล รายวชิ า หลักการเลย้ี งสัตว์ (การเล้ียงไกไ่ ข)่ รหัสวิชา ง๒๐๒๒๕ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา 2563 น้าหนกั เวลาเรยี น ๑.๐ (นน./นก.) เวลาเรียน ๖0 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๕ ชว่ั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจท่คี งทน) โรงเรือนในการเล้ียงไกไ่ ข่ การจัดสร้างโรงเรือนเล้ียงไก่เพ่ือการค้าน้ัน จาเป็นจะต้องจัดสร้างโรงเรือนให้ถูกแบบ มีความ แข็งแรง ทนทาน และสามารถใช้เล้ียงไก่ได้นานปี จาเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้เลี้ยงไก่ไข่จะต้องสร้างโรงเรือนให้ถูกแบบ มาตรฐาน ตามสภาพแวดล้อมของประเทศไทย โรงเรือนทีด่ คี วรมีลักษณะ ดงั นี้ 1. สามารถปอู งกันแดด ลม และฝน ไดด้ ี 2. ปอู งกนั ศัตรูตา่ งๆ เช่น นก หนู แมว ได้ 3. รกั ษาความสะอาดได้ง่าย ลักษณะทด่ี ีโรงเรอื นควรเป็นลวด ไมร่ กรุงรงั น้าไมข่ ัง 4. ควรหา่ งจากบา้ นคนพอสมควร ไมค่ วรอยทู่ างต้นลมของบ้าน เพราะกลิ่นขีไ้ กอ่ าจจะไปรบกวนได้ 5. ควรเปน็ แบบทส่ี ร้างได้งา่ ย ราคาถูก ใช้วัสดกุ อ่ สร้างที่หาไดใ้ นท้องถ่นิ 6. หากมีโรงเรือนไก่ไข่หลายๆ หลัง การจัดสร้างไม่ควรให้เป็นเรือนแฝด แต่ควรเว้นระยะห่างของแต่ละ โรงเรือนไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร ทง้ั น้ี เพือ่ ให้มีการระบายอากาศ และความชนื้ ดขี ึน้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั ชั้นปี/ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ ง1.1 ม4-6 ๑. อธิบายวิธีการทางานเพ่ือการดารงชวี ิต ๒. สรา้ งผลงานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกัน ๓. มีทกั ษะการจัดการในการทางาน ๔. มีทกั ษะ กระบวนการแกป้ ญั หาในการทางาน ๕ มที ักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชีวิต ๖. มคี ุณธรรมและลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน ๗. ใช้พลงั งาน ทรัพยากร ในการทางานอยา่ งคุม้ ค่าและย่ังยืนเพ่อื การอนุรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge ๑. โรงเรอื น และอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร ๒. การสขุ าภิบาล 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ๑. เขา้ ใจการสร้างโรงเรือน และอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหารได้ ๒. สามารถปฏบิ ตั ิการสุขาภิบาลไกไ่ ขไ่ ด้

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ียงไก่ไข่ 36 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude 1. มีวินยั 2. มีความรับผิดชอบ 3. ตรงตอ่ เวลา 4. มงุ่ ม่นั ในการเรียน 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 1 ความสามารถในการคดิ 2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะของวิชา 1.ความรบั ผดิ ชอบ 2.ตรงต่อเวลา 6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 1. ซือ่ สัตยส์ ุจรติ 2. มีวินยั 3. ใฝเุ รียนรู้ 4. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง โรงเรอื น วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละการสุขาภิบาลไก่ไข่ - ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง โรงเรอื น วัสดุ อปุ กรณเ์ ลย้ี งไก่ไข่ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงท่ี 1-๒ (ความสามารถในการวเิ คราะห์/ใฝเุ รยี นร้/ู เทคนคิ การสืบคน้ ) - ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียน/ขั้นต้ังคาถาม 1. ทกั ทายนักเรยี นก่อนเรยี น 2. เช็ดช่อื นกั เรียนกอ่ นเข้าสู่บทเรียน ข้ันสอน ๑. ทาความเขา้ ใจและชี้แจงสาระการเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบในหนว่ ยการเรียนรู้เรอื่ งการสร้างโรงเรือน วัสดุ อุปกรณไ์ กไ่ ข่ ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับการสร้างโรงเรือน วัสดุ อุปกรณ์การเล้ียงไก่ไข่ ครูให้นักเรียนจดบันทึก ตามท่คี รูอธิบาย ๒. ครใู ห้นักเรยี นทาใบงาน เรื่องการสรา้ งโรงเรือน วัสดุ อปุ กรณเ์ ลี้ยงไก่ไข่ ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทา รายงาน เร่อื งการสร้างโรงเรือน วัสดุ อปุ กรณเ์ ล้ยี งไก่ไข่ ๓. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติมเกย่ี วกบั การสุขาภบิ าลไก่ไข่ ข้ันสรปุ ๑. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เนื้อหาทเ่ี รียนมา ๒. ครูนัดหมายการเรยี นคร้ังต่อไป

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลีย้ งไก่ไข่ 37 ชวั่ โมงที่ 3 (ความสามารถในการวเิ คราะห/์ ใฝุเรยี นรู้/ชว่ ยกนั คดิ ช่วยกันเรยี น) - ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน/ขนั้ ต้ังคาถาม 1. ทกั ทายนักเรยี นก่อนเรยี น 2. เช็ดชอื่ นักเรียนกอ่ นเข้าสู่บทเรยี น ข้ันสอน 1. ครูและนักเรียนทบทวนบทเรียนทผี่ า่ นมา 2. ครูให้นกั เรียนมาแลกเปลีย่ นเรียนรู้เน้ือหาท่ีครูมอบหมายในสัปดาหท์ ี่ผ่านมา 3. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั การสุขาภบิ าลไกไ่ ข่ 4. ครูให้นกั เรยี นจดบนั ทึกลงในสมดุ 5. ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานเร่ืองการสุขาภบิ าลไก่ไข่ ขนั้ สรปุ 6. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปเนอื้ หาทีเ่ รียนมา 7. ครนู ัดหมายการเรียนครัง้ ต่อไป 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สอ่ื 1 ชุด ข้ันตรวจสอบความรเู้ ดิม 1. สอ่ื การเรยี น 30 ชุด ตรวจหาคาตอบ และรูปภาพ 2. ใบงาน 1.1 เร่อื ง โรงเรอื น วสั ดุ อปุ กรณ์และการสขุ าภิบาลไก่ไข่ สืบค้นขอ้ มลู 3. หอ้ งสมดุ 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ ีวดั เคร่ืองมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน -ความถกู ต้อง เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑. โรงเรือน และ ความเข้าใจและ 1. มีเนอื้ หาสาระครบถว้ น ใบความรู้ ความถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ อุปกรณ์ อาหารและ ใบงาน 9-10 คะแนน 2.มีเนอื้ หาสาระค่อนข้าง การใหอ้ าหาร ครบถ้วน 7-8 คะแนน ๒. การสุขาภิบาล 3.มเี นื้อหาสาระไมค่ รบถ้วน แตภ่ าพรวมของสาระทั้งหมด อยู่ในเกณฑป์ านกลาง 5-6 คะแนน 4. มีเนอ้ื หาสาระไมค่ รบถว้ น

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเล้ยี งไก่ไข่ 38 แต่ภาพรวมของสาระทง้ั หมด อยู่ในเกณฑ์ต้องพอใช้ 4-3 คะแนน 5. มีเนื้อหาเพยี งเล็กน้อยแตภ่ าพ รวมของสาระท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ ต้องปรับปรุง 2-1 คะแนน 6. ไม่มีเนือ้ หาเลย 0 คะแนน ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (นายน่านมงคล อินดว้ ง) ตาแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 39 ใบความรู้ โรงเรือนในการเล้ียงไก่ไข่ 1. ปอู งกนั แดด ลม และฝนได้ 2. แขง็ แรง ทนทาน ปอู งกนั นก หนู แมว หรอื สนุ ัขได้ 3. ทาความสะอาดไดง้ า่ ย 4. ห่างจากชุมชน และอยูใ่ ต้ลมของบา้ น เพราะจะได้ไม่มีกลิ่นรบกวน 5. ใชว้ ัสดุที่หางา่ ย ราคาถูก 6. ถ้าสรา้ งหลายหลังควรมีระยะห่างมากกว่า 10 เมตร เพอ่ื ใหร้ ะบายอากาศไดด้ ีและปูองกันการแพร่ ระบาดของโรค แบบโรงเรอื นในการเล้ยี งไก่ไข่ ลกั ษณะของโรงเรือนไก่ไข่จะมหี ลายแบบข้ึนอย่กู ับงบประมาณ วัสดุ ความยากง่ายในการสรา้ ง รูปแบบของ โรงเรอื นไก่ไข่มีดงั นี้ 1. แบบเพงิ หมาแหงน แบบนจี้ ะสรา้ งง่าย ลงทุนนอ้ ย แต่จะมีข้อเสียคือฝนอาจจะสาดเขา้ ทางด้านหน้าได้ง่าย และมคี วาม แขง็ แรงน้อย 2. แบบหน้าจั่วชั้นเดียว ขอ้ ดีคอื แข็งแรงกว่าแบบเพงิ หมาแหงน สามารถปอู งกนั แดด ลม ฝนไดด้ ีกวา่ แตจ่ ะมคี า่ วัสดุ อปุ กรณ์ และค่ากอ่ สร้างมากกว่าแบบเพงิ หมาแหงน เพราะรปู แบบมีความซบั ซ้อนมากกว่า 3. แบบหนา้ จัว่ สองช้นั แบบนจี้ ะคลา้ ย ๆ กับหนา้ จ่ัวชน้ั เดียว แตจ่ ะต่างกนั ตรงทม่ี ีหนา้ จ่ัวชนั้ ท่ี 2 เพ่งิ ข้ึนมาเพือ่ ชว่ ยระบาย อากาศ ทาใหแ้ บบนจี้ ะระบายความร้อนได้ดแี ละเย็นกว่าแบบหน้าจ่วั ชั้นเดียว แต่กจ็ ะมคี า่ ก่อสรา้ งแพง กว่าหนา้ จวั่ ช้ันเดียว 4. แบบหน้าจว่ั กลาย คลา้ ยเพิงหมาแหงน แต่สามารถกนั ฝนได้ดีกว่า และมีคา่ ใช้จ่ายในการก่อสร้างมากกว่าเพิงหมาแหงน 5. แบบเพงิ หมาแหงนกลาย แบบนจี้ ะมีกว่าเพงิ หมาแหงนและแบบหนา้ จัว่ เพราะมีการระบายอากาศ และกนั ฝน กันแดดได้ดีกว่า แตค่ ่าใช้จ่ายถูกกว่าแบบหน้าจ่วั หลาย

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลย้ี งไก่ไข่ 40 อุปกรณ์ในการเลย้ี งไก่ไข่ การเล้ยี งไกไ่ ข่เป็นอาชีพหรอื เพอ่ื การคา้ จาเป็นท่ีต้องมีอปุ กรณก์ ารเลย้ี งนบั ต้ังแตร่ ะยะลูกไกจ่ นถึงระยะใหไ้ ข่ ดังนี้ 1. อุปกรณ์การให้อาหาร มีหลายแบบ เชน่ ถาดอาหาร รางอาหาร ถังอาหาร เป็นต้น 2. อุปกรณ์ให้นา้ มีหลายแบบขึน้ อยูก่ บั อายไุ ก่ เชน่ แบบรางยาว แบบขวดมีฝาครอบ 3. เครอ่ื งกกลูกไก่ ทาหน้าทใ่ี ห้ความอบอ่นุ แทนแม่ไกใ่ นตอนท่ีลูกไกย่ งั เลก็ อยู่ 4. รังไข่ โดยปกติรงั ไข่จะควรมีความมดื พอสมควร และมีอุณหภมู ทิ เี่ ยน็ ซง่ึ ถา้ หากเลย้ี งแบบโรงเรือนก็จะ เป็นรางทค่ี วรทาความสะอาดง่าย หรอื ถา้ ใครเล้ียงแบบปล่อย กค็ วรมสี ภาพแวดล้อมที่เหมาะสาหรับการ ออกไข่ อยา่ งที่ได้กลา่ วมาขา้ งตน้ 5. วสั ดุรองพน้ื จาพวก ฟางข้าว ซังขา้ วโพด แกลบ เปน็ ต้น เพ่ือความสะอาดและความสบายของตัวไก่ 6. อุปกรณ์การใหแ้ สง ทัง้ แสงจากธรรมชาติ และแสงจากอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิคส์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลยี้ งไก่ไข่ 41 1. อปุ กรณ์การใหอ้ าหาร มอี ย่หู ลายแบบแตท่ ่ีนิยมใชก้ ันมากมี 4 ชนิด คอื 1.1 ถาดอาหาร ขนาด 48 x 72 x 6.5 เซนตเิ มตร (กว้างxยาวxสงู ) จานวน 1 ถาด ใชก้ ับลูกไกอ่ ายุ 1-7 วัน ไดจ้ านวน 100 ตัว วางไวใ้ ตเ้ คร่อื งกก เพอื่ หัดไก่กินอาหารเป็นเร็วขึ้น 1.2. รางอาหาร ทาด้วยไม้ สังกะสี เอสลอ่ นหรือพลาสติก ทาเป็นรางยาวใหไ้ กย่ ืนกินไดข้ ้างเดยี วหรือสองขาง ท่ี มีจาหน่ายโดยทว่ั ไปมี 2 ขนาดคือ ขนาดเล็กสาหรบลกู ไก่ และขนาดใหญใ่ ชก้ ับไก่อายปุ ระมาณ 2 สปั ดาห์ขึ้นไป นอกจากน้รี างอาหารอาจทาจากปล้องไม้ไผ่ที่มีขนาดใหญ่แทนกไ็ ด้

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 42 1.3. ถังอาหาร ทาดว้ ยเอสล่อนหรือพลาสตกิ เป็นแบบถังแขวนมีขนาดเดยี วเป็นมาตรฐาน มขี นาด เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 16 นว้ิ มเี ส้นรอบวงประมาณ 50 น้ิว หลงั จากลูกไก่อายไุ ด้ 15 วัน อาจใชถ้ งั อาหารแบบ แขวนได้ และให้อาหารด้วยถังตลอดไป การให้อาหารด้วยการใช้ถงั แขวนนตี้ อ้ งปรับใหอ้ ยใู่ นระดับเดียวกบั หลังไก่ หรือตา่ กว่าหลังไกเ่ ล็กน้อย อาหารจะไหลลงจานล่างไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ และควรเขย่าถังบอ่ ยๆ เพื่อไม่ให้อาหารติด คา้ งอยู่ภายในถงั สาหรับจานวนถังสาหรับถงั ทใ่ี ชจ้ ะแตกต่างไปตามอายุของไก่ 1.4.รางอาหารแบบอัตโนมตั ิ โรงเรอื นขนาดกว้างประมาณ 10-12 เมตร ใชร้ างอตั โนมัติ 2 แถว แล้วเพิง่ ถัง อาหารแบบแขวนจานวน 6-8 ถัง ตอ่ ไกจ่ านวน 1,000 ตวั แตถ่ ้าโรงเรอื นท่ีมีความกวา้ งเกิน 12 เมตร ควรตั้ง รางอาหารเกิน 4 แถว

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการเลีย้ งไก่ไข่ 43 2. อปุ กรณใ์ หน้ า้ แตกตา่ งกนั ไปตามชว่ งอายุของไก่ อุปกรณ์ให้นา้ ทีน่ ยิ ม มอี ยู่ 2 แบบ ดงั น้ี

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลี้ยงไก่ไข่ 44

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเลี้ยงไก่ไข่ 45 2.1 แบบรางยาว รางนา้ อาจทาดว้ ยสงั กะสี พลาสติกหรือเอสลอ่ น การเลย้ี งลูกไกอ่ ายุ 1-3 สปั ดาห์ ถา้ ใชร้ างน้าทเี่ ขา้ ไปกนิ ไดด้ า้ นเดียว ควรใชร้ างยาว 2-2.5 ฟตุ ต่อลูกไก่ 100 ตวั สาหรับไก่อายุ 3 สัปดาหข์ ึ้นไป ให้ เพมิ่ อีก 3 เทา่ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในฤดรู ้อนควรเพิ่มข้นึ อีก สาหรับไก่ในระยะไข่ ควรให้มีเนื้อท่ีรางประมาณ 1 นวิ้ ตอ่ ไก่ 1 ตวั 2.2 แบบขวดมีฝาครอบ เป็นภาชนะให้น้าที่นิยมใช้มากเพราะใช้สะดวกมีขายอยู่ทั่วไป มีหลายขนาด หรือเกษตรกรอาจดัดแปลงจากขอบประมาณ 1 เซนติเมตร จานวน 2 รู ใส่น้าสะอาดแล้วคว่าลงบนจานหรือ ถาดใช้เล้ยี งลกู ไก่ได้ลูกไกใ่ นระยะ 1-2 สปั ดาห์แรกควรใชข้ วดน้าขนาดบรรจุ 2 แกลลอน ในอัตราส่วน 2 ใบ ต่อ ลูกไก่ 100 ตวั เมอื่ ลกู ไก่อายุ 3-6 สปั ดาห์ ใชข้ วดน้าขนาดบรรจุ 2 แกลลอน ควรใช้ 2 ใบตอ่ ลกู ไก่ 100 ตวั

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเล้ียงไก่ไข่ 46 3. เครื่องกกลกู ไก่ เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากในการเล้ียงลูกไก่ ทาหน้าที่ให้ความอบอุ่นแทนแม่ไก่ในขณะท่ีลูกไก่ยัง เล็กอยู่ ซง่ึ มหี ลายแบบ ดังน้ี 3.1 เครื่องกกแบบฝาชี เป็นเครื่องกกท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายกว่าเครื่องกกแบบอื่น มีรูปร่างและ ขนาดแตกต่างกัน ส่วนมากมีรูปร่างกลมหรือเป็นเหลี่ยม ทาด้วยโลหะช่วยให้ความร้อนสะท้อนลงสู่พื้นกก ขนาด ของกกแบบฝาชีโดยท่ัวไปมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 เมตร สามารถกกลูกไก่ได้ประมาณ 500 ตัว เคร่ืองกกแบบฝาชีอาจจะเป็นห้วยแขวนกับเพดาน สามารถปรับให้สูงต่าได้ตามต้องการ เมื่อไม่ต้องการใช้ก็ สามารถดึงขึ้นเก็บไว้หรืออาจเป็นแบบมีขาวางกับพื้นคอกที่สามารถปรับให้สูงต่าได้ และยกออกจากบริเวณกก เม่อื ไม่ต้องการใช้ เครอื่ งกกแบบนีส้ ว่ นมากจะใช้ไฟฟาู น้ามันหรอื แกส๊ เป็นแหล่งใหค้ วามร้อน 3.2 เคร่อื งกกแบบหลอดอนิ ฟราเรด การกกด้วยเครื่องกกแบบน้ีโดยใช้หลอดไฟอินฟราเรด ซ่ึงหลอดไฟ อนิ ฟราเรดขนาด 250 วตั ต์ 1 หลอด แขวนไว้เหนือพื้นดินประมาณ 45-60 เซนติเมตร จะสามารถกกลูกไก่ได้ ประมาณ 60-100 ตัว แต่โดยท่ัวไปจะใช้หลอดอินฟราเรดจานวน 4 หลอดต่อกก ความร้อนท่ีได้จากหลอดไฟ จะไม่ชว่ ยใหอ้ ากาศรอบๆ อุน่ แต่จะให้ความอบอนุ่ โดยตรงแกล่ กู ไก่ 3.3 เคร่ืองกกแบบรวม เปน็ การกกลูกไก่จานวนมากๆ โดยให้ความร้อนจากแหล่งกลางแล้วปล่อยความ ร้อนไปตามท่อในรูปของน้าร้อนหรือไอน้า วางท่อไปตามความยาวของโรงเรือนตรงกลางใต้คอนกรีต อย่างไรก็ดี การกกลูกไก่ด้วยวธิ นี ี้การใหค้ วามรอ้ นจะไมท่ ว่ั พน้ื คอนกรตี ทั้งคอก แต่จะให้เฉพาะตรงส่วนกลางไปตามความยาว ของโรงเรอื น กว้างเพยี ง 2-2.5 เมตรเท่าน้ัน นอกจากนี้การกกแบบรวมอาจปล่อยความร้อนออกมาในรูปของลม ร้อนออกมาตามท่อกระจายไปทว่ั คอก ซ่ึงแหลง่ ให้ความร้อนอาจไดจ้ ากน้ามนั แก๊ส ถ่านหนิ หรือไม้ฟืน เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 47 4. รงั ไข่ รังไขท่ ี่ดตี ้องมขี นาดกวา้ งพอ สามารถเคล่ือนย้ายได้ ทาความสะอาดได้ง่าย มกี ารระบายอากาศได้ดี เยน็ ภายในมีความมดื พอ และวางอย่ใู นที่มคี วามเหมาะสมภายในโรงเรอื นไก่ไข่ รังไข่อาจะทาด้วยไมห้ รอื สังกะสี รังไข่ ทาดว้ ยไม้อาจจะมปี ญั หาเร่ืองการทาความสะอาด และจะเปน็ ทอ่ี าศยั ของไรแดง รังไขท่ ี่นยิ มใช้กันอยู่ท่วั ไปมดี ังน้ี

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าการเลยี้ งไก่ไข่ 48 5. วสั ดุรองพ้ืน หมายถึง วัสดุที่ใช้รองพ้ืนคอกเพื่อให้ไก่ในคอกสะอาดและอยู่ได้สบาย วัสดุที่ใช้รองพ้ืนคอกเล้ียงไก่ควร หาได้งา่ ยในท้องถ่นิ ราคาถกู และเมือ่ เลกิ ใช้แล้วสามารถนาไปใชเ้ ป็นปุ๋ยไดอ้ ยา่ งดี วัสดุรองพ้ืนท่ีเหมาะสาหรับใช้ ในประเทศไทยและนิยมใชก้ ันทวั่ ไป ได้แก่ แกลบ ข้กี บ ขเ้ี ลอ่ื ย ชานอ้อย ฟางขา้ ว ซังข้าวโพด ต้นข้าวโพด เปลือก ฝาู ย เปลอื กถ่วั ลิสง เปลือกไม้และทราย ถ้าใช้แกลบควรมีฟางข้าวโรยหน้าบางๆ เพื่อปูองกันไก่คุ้ยแกลบลงไปใน รางนา้ และรางอาหาร

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าการเล้ยี งไก่ไข่ 49 6. อปุ กรณ์การใหแ้ สง เนอ่ื งจากแสงสวา่ งมคี วามจาเป็นต่อการมองเห็นของไก่ ไม่วา่ เวลากนิ อาหาร กินน้า หรืออ่ืนๆ นอกจากนี้ แสงยังมีความสาคัญต่อการให้ไข่ของไก่ ดังน้ัน ภายในโรงเรือนจะต้องมีอุปกรณ์การให้แสงสว่างอย่างเพียงพอ โดยทั่วไปนิยมติดตั้งหลอดไฟ หลอดไฟที่นิยมใช้กันมาก คือ หลอดกลมธรรมดาและหลอดฟลูออกรสเซนต์หรือ หลอดนอี อน กฎของการให้แสงสว่างในการเลย้ี งไก่ไข่ คือ 1. ความยาวของแสงจะไม่เพ่ิมขึ้นในช่วง 8-16 สปั ดาห์ 2. ไม่ลดความยาวของแสงหลังจากไกเ่ ร่มิ ไข่ การให้แสงสาหรบั ไขใ่ นประเทศไทย ขอแนะนาดังน้ี อายุ ความยาวแสง 0-2 วนั 22 ชว่ั โมง 3-4 วนั 20 ชว่ั โมง 5-6 วนั 18 ชว่ั โมง 7-8 วัน 16 ชวั่ โมง 9-10 วนั 14 ชวั่ โมง 11 วัน – 16 สัปดาห์ 13 ชั่วโมง 17 สัปดาห์ 13.5 ชวั่ โมง 18 สปั ดาห์ 14 ช่วั โมง 19 สปั ดาห์ 14.5 ชั่วโมง 20 สปั ดาห์ 15 ชวั่ โมง 21 สัปดาห์ 15.5 ชวั่ โมง 22 สัปดาห์ 16 ชั่วโมง แสงสว่างทีเ่ พิม่ ขอแนะให้ใช้ความเขม้ ประมาณ 20-30 ลักซ์ หรือหลอดไฟ 4 วัตต์ ต่อตารางเมตร ข้อแนะนาสาหรับความเขม้ ของแสง อายุ ความเข้มของแสง ข้อแนะนาการใช้หลอดกลมมีไส้ ลกั ซ์ ฟตุ -แรงเทยี น (วัตต)์ 0-3 วัน 20 2.0 40 – 60 4 วนั – 126 วัน 5 0.5 15 127 วัน – ปลด 5 0.5 15

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาการเล้ียงไก่ไข่ 50 7. ผา้ ม่าน ในระยะกกลกู ไกร่ อบๆ คอกมผี ้าม่านไว้เพ่ือปอู งกนั ลมพดั แรงโดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว การ ปิดผ้าม่านจะทาให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนและอุณหภูมิใต้เครื่องกกอยู่ในสภาพท่ีค่อนข้างคงท่ี ไม่เปลี่ยนแปลง ข้ึนลงอย่างรวดเร็ว สาหรับการกกลูกไก่ในฤดูร้อน ควรเปิดม่านขึ้นเล็กน้อยในเวลากลางวัน เพื่อให้ลมพัดผ่าน ภายในโรงเรอื น และปดิ ม่านในตอนเย็น 8. คอนนอน การเล้ียงไก่ไข่แบบปล่อยพ้ืนโดยเฉพาะในระยะไก่สาว มีความจาเป็นจะต้องทาคอนนอน สาหรับให้ไก่ได้นอน และยังช่วยให้ไก่เย็นสบาย ไม่ร้อนอบอ้าวเหมือนอยู่ในคอกคอนนอนอาจะทาข้ึนเป็นคอน นอนโดยเฉพาะ โดยใช้ไม้ขนาด 1×4 นิ้ว หรือ 1×3 นิ้ว หรือ 2×3 นิ้ว หรือ 2×2น้ิว ก็ได้ ส่วนความยาวตาม ต้องการ ลบเหลี่ยมไม้ให้กลมเพ่ือให้ไก่เกาะได้สะดวกและไม่เป็นอันตรายต่อเท้าและอกไก่ โดยวางเอาด้านแคบ ข้ึน วางห่างกันประมาณ 33-41 เซนติเมตร ให้มีเนื้อที่คอนนอน 10-15 เซนติเมตรต่อตัวสาหรับไก่สาว และ 18-20 เซนติเมตร สาหรับไก่ไข่ ใต้คอนนอนและด้านข้างต้องบุด้วยลวดตาข่ายเพื่อปูองกันไม่ให้ไก่เข้าไปคุ้ยเขี่ย อุจจาระใตค้ อนนอน ควรอย่ตู ิดขา้ งฝาด้านใดดา้ นหนง่ึ ของโรงเรือน ในระยะไก่สาวควรลดระดับด้านหน้าของคอน นอนลงให้ต่าพอท่ีไก่จะขึ้นเกาะคอนได้สะดวก เมื่อไก่โตขึ้นค่อยยกระดับข้ึนให้สูงกว่าระดับปกติดประมาณ 75 เซนติเมตร อาหารของไก่ไข่ ชนดิ ของอาหารที่ใช้เลย้ี งไก่ไข่ 1. อาหารผสม เปน็ อาหารผสมจากวตั ถุดบิ ท่บี ดละเอยี ดแลว้ หลายๆ อย่างคลุกเคล้าให้เขา้ กัน สามารถ นาไปเล้ียงไก่ได้ทนั ที 2. หวั อาหาร เป็นอาหารเข้มขน้ ที่ผสมจากวัตถดุ ิบพวกโปรตีนจากพืช สตั ว์ ไวตามนิ แรธ่ าตุ และยาตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้เหมาะสมและลดตน้ ทุนค่าอาหาร 3. อาหารอดั เมด็ เป็นอาหารสาเร็จรูปมีให้เลอื กหลากหลาย ขึ้นอยู่กบั อายขุ องไก่ 4. อาหารเสริม เปน็ อาหารทนี่ าไปเสรมิ เพื่อเพ่ิมสารอาหารด้านตา่ ง ๆ ทยี่ งั ขาด เพื่อใหไ้ ก่ได้รบั สารอาหาร ครบถว้ น ส่วนประกอบของสารอาหารท่ีจาเป็นต่อไก่ไข่ ก็ไม่ได้ต่างจากมนุษย์มากเท่าไหร่ แต่สิ่งท่ีแตกต่างคือ วตั ถุดบิ ทน่ี ามาใชจ้ ะต้องเหมาะสมท้งั ในเรอื่ งของ ราคา ปรมิ าณ และคุณภาพของสารอาหารท่ีให้ โดยทางทีมงาน อีสานรอ้ ยแปด จะแบ่งใหท้ กุ คนดูง่ายๆ เป็น สารอาหาร 6 ประเภทใหญ่ๆ อาหารเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีสุดที่จะทาให้การเล้ียงไก่ไข่มีกาไรหรือขาดทุน เน่ืองจากต้นทุนการ ผลิตประมาณ 60-70 เปอร์เซนต์ของต้นทุนท้ังหมดเป็นค่าอาหาร ไก่ไข่นั้นนอกจากจะต้องการอาหารเพื่อการ ดารงชีพ การเจริญเตบิ โตแล้ว ยังต้องนาไปใช้ในการผลิตไข่อีกด้วย การท่ีผู้เลี้ยงจะลดต้นทุนการผลิตในส่วนของ คา่ อาหารลงน้นั สามารถทาไดโ้ ดยการประกอบสตู รอาหารท่มี รี าคาถกู แต่คุณภาพดี เลือกใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ี มีราคาถูกตามฤดกู าลและให้อาหารแกไ่ กก่ นิ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือใหไ้ ด้ไขท่ มี่ ีคณุ ภาพและต้นทนุ ต่า การที่ไก่จะเจริญเติบโตได้ดี มีความแข็งแรงและให้ไข่มาก จาเป็นจะต้องได้กินอาหารท่ีเพียงพอและกิน อาหารได้ดสี มา่ เสมอทุกวนั โดยท่วั ไปแล้วอาหารที่ใช้เลย้ี งไกไ่ ข่จะประกอบดว้ ยสารอาหาร 6 ประเภท ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. โปรตีน เป็นสารประกอบที่สาคัญต่อการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดต่างๆ เป็น สารอาหารท่ีช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย และช่วยในการสร้างและซ่อมแซม รักษาส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ขน เล็บ หนัง กระดูก อวัยวะภายในต่ างๆ เม็ดเลือดแดง และเป็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook