Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำงานเป็นทีม

การทำงานเป็นทีม

Published by xaykaichon, 2020-12-21 06:57:33

Description: การทำงานเป็นทีม

Keywords: การทำงานเป็นทีม

Search

Read the Text Version

32 จากผลการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความผกู พนั ต่อองคก์ าร การ ทาํ งานเป็นทีมและผลการปฏิบตั ิงาน ผวู้ จิ ยั จึงนาํ มาต้งั เป็นสมมติฐานการวิจยั ไดด้ งั น้ี สมมติฐานท่ี 7 ความพึงพอใจในงานและความผูกพนั ต่อองค์การเป็ นตัวแปรส่งผ่าน ระหวา่ งการทาํ งานเป็นทีมกบั ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั จากการทบทวนวรรณกรรมเพ่ือกําหนดสมมติฐานการวิจัยข้างต้นในการศึกษา ความสัมพนั ธ์ระหว่างการทาํ งานเป็ นทีม ความพึงพอใจในงาน และความผูกพนั ต่อองคก์ ารท่ีมีต่อ ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ มีตวั แปรอิสระ คือ การทาํ งานเป็ นทีม ตวั แปรตาม คือ ความพึงพอใจในงาน ความ ผกู พนั ต่อองคก์ ารและผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน โดยท่ีความพึงพอใจในงานและความผกู พนั ต่อองคก์ ารเป็นตวั แปรส่งผา่ นระหว่างการทาํ งานเป็นทีมกบั ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน จึงสรุป เป็นกรอบแนวคิดการวิจยั ไดด้ งั น้ี H2 ความพงึ พอใจในงาน H5 (Job Satisfaction: JS) การทาํ งานเป็ นทมี (Teamwork: TW) H3 ผลการปฏบิ ตั งิ านของพนักงาน H4 (Employee Performance: EP) H1 ความผูกพนั ต่อองค์การ H6 (Organizational Commitment: OC) H7: JS กบั OC เป็นตวั แปรส่งผา่ นระหวา่ ง TW กบั EP ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

บทท่ี 3 วธิ ีการวจิ ยั วธิ ีการเกบ็ ข้อมูล ในการศึกษาคร้ังน้ีเป็นการวิจยั เพ่ือศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างการทาํ งานเป็นทีม ความพึง พอใจในงาน และความผกู พนั ต่อองคก์ ารที่มีต่อผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของ อุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการโดยทาํ การสาํ รวจ (Survey Method) ดว้ ย การออกแบบแบบสอบถาม ทาํ การเก็บขอ้ มูลจากตวั อย่างเพ่ือสอบถามตวั อยา่ งตามวตั ถุประสงคท์ ี่ ไดก้ าํ หนดไว้ จากน้นั ทาํ การรวบรวมแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูล และนาํ ขอ้ มูล ไปวิเคราะห์ผลทางสถิติ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากรที่ศึกษา คือ พนักงานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ใน เขตพ้ืนท่ีจงั หวดั สมุทรปราการ มีบริษทั ที่ดาํ เนินกิจการเกี่ยวกบั การต่อเรือและซ่อมเรือ จาํ นวน 5 บริษทั ประกอบดว้ ย 1. บริษทั ซี เครสท์ มารีน จาํ กดั 2. บริษทั อิตลั ไทย มารีน จาํ กดั 3. บริษทั มาร์ ซนั จาํ กดั 4. บริษทั เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จาํ กดั (มหาชน) และ 5. บริษทั ไทยอินเตอร์เนชนั่ แนล ด๊อคยาร์ด จาํ กดั (สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, สถาบนั การขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , และสมาคมต่อเรือและซ่อมเรือไทย, 2555) มีจาํ นวนพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ รวม 810 คน ในการศึกษาคร้ังน้ีผวู้ ิจยั ไดเ้ ลือกศึกษากบั ประชากรท้งั หมดจาํ นวน 810 คน ซ่ึงเป็นจาํ นวน ท่ีไดม้ ีการสอบถามจากพนักงานฝ่ ายทรัพยากรมนุษยข์ องแต่ละบริษทั ในการเก็บแบบสอบถาม ผูว้ ิจยั ส่งแบบสอบถามไปทางไปรษณียใ์ ห้กบั พนักงานของบริษทั ที่ไดท้ าํ การติดต่อเพ่ือขอความ อนุเคราะห์ในการเก็บขอ้ มูลแบบสอบถาม โดยจาํ นวนแบบสอบถามที่ไดร้ ับการตอบกลบั มาและ เป็นแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์มีจาํ นวนท้งั หมด 659 ฉบบั คิดเป็นร้อยละ 81.36 ดงั ตารางที่ 1

34 ตารางที่ 2 แสดงจาํ นวนประชากรและตวั อยา่ ง จาํ แนกตามบริษทั ที่ทาํ กิจการต่อเรือและซ่อมเรือ จาํ นวน 5 บริษทั ในเขตพ้นื ที่จงั หวดั สมุทรปราการ บริษัท จํานวน จาํ นวนแบบสอบถาม ประชากร (คน) ทส่ี มบูรณ์ (ชุด) 1. บริษทั ซี เครสท์ มารีน จาํ กดั 135 2. บริษทั อิตลั ไทย มารีน จาํ กดั 150 162 3. บริษทั มาร์ซนั จาํ กดั 200 142 4. บริษทั เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จาํ กดั (มหาชน) 170 130 5. บริษทั ไทยอินเตอร์เนชน่ั แนล ด๊อคยาร์ด จาํ กดั 188 90 102 รวม 659 810 เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในการศึกษาคร้ังน้ี เป็ นแบบสอบถามที่ผูว้ ิจยั ได้ ปรับปรุงและพฒั นามาจากงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง เพ่ือกาํ หนดขอบเขตของการวิจยั และสร้างเครื่องมือ วิจยั ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา โดยแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามขอ้ มูลส่วนบุคคลท่ัวไปของประชากร เป็ นแบบตรวจรายการ (Check List) จาํ นวนขอ้ คาํ ถาม 6 ขอ้ ซ่ึงแบบสอบถามผวู้ ิจยั เป็ นผพู้ ฒั นาข้ึนมาเอง ประกอบดว้ ย คาํ ถามในระดบั นามบญั ญตั ิ (Nominal Scale) จาํ นวน 2 ขอ้ ไดแ้ ก่ เพศ สถานภาพ และคาํ ถามใน ระดบั เรียงลาํ ดบั (Ordinal Scale) จาํ นวน 4 ขอ้ ไดแ้ ก่ อายุ ระดบั การศึกษา ระยะเวลาในการทาํ งาน รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกบั การทาํ งานเป็ นทีม เลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของการวดั การ ทาํ งานเป็นทีมตามแนวคิดในงานวจิ ยั ของ Stock (2013) ซ่ึงแบ่งเป็น 4 ดา้ น จาํ นวนขอ้ คาํ ถาม 31 ขอ้ ดงั น้ี ดา้ นบทบาทและเป้าหมายท่ีมีความชดั เจน จาํ นวน 7 ขอ้ ดา้ นทีมเป็นอบั ดบั หน่ึง จาํ นวน 4 ขอ้

35 ดา้ นความร่วมมือกนั จาํ นวน 5 ขอ้ ดา้ นการส่ือสารซ่ึงกนั และกนั จาํ นวน 15 ขอ้ โดยกาํ หนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามมาตรวดั แบบ 4-point likert scale ซ่ึงแบ่งเป็น 4 ระดบั ที่แสดงถึงระดบั การทาํ งานเป็นทีมของผตู้ อบแบบสอบถามโดยเป็นคาํ ถามในลกั ษณะเชิงบวกท้งั หมด ตารางท่ี 3 รายละเอียดคะแนนตามมาตรวดั แบบ 4 ระดบั ระดับความคดิ เห็น เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั 4 เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ 3 เห็นดว้ ย 2 ไม่เห็นดว้ ย 1 ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ส่วนท่ี 3แบบสอบถามเก่ียวกบั ความพงึ พอใจในงาน เลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของการวดั ความ พงึ พอใจในงานตามแนวคิดในงานวิจยั ของ Spector (1985) ซ่ึงแบ่งเป็น 9 ดา้ น จาํ นวนขอ้ คาํ ถาม 36 ขอ้ ดงั น้ี ดา้ นคา่ ตอบแทน จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นสวสั ดิการ จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นผลประโยชน์ตอบแทน จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นเพอ่ื นร่วมงาน จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นลกั ษณะงาน จาํ นวน 4 ขอ้ ดา้ นการติดต่อสื่อสาร จาํ นวน 4 ขอ้ โดยกาํ หนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามมาตรวดั แบบ 6-point likert scale ซ่ึงแบ่งเป็น 6 ระดบั ท่ีแสดงถึงแสดงถึงระดบั ความพงึ พอใจในงานของผตู้ อบแบบสอบถาม ดงั น้ี

36 ตารางที่ 4 รายละเอียดคะแนนตามมาตรวดั แบบ 6 ระดบั ระดับความคดิ เห็น เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ ข้อคาํ ถามเชิงบวก ข้อคาํ ถามเชิงลบ เห็นดว้ ยปานกลาง 6 1 เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 5 2 ไม่เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 4 3 ไม่เห็นดว้ ยปานกลาง 3 4 ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ 2 5 1 6 ส่วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ความผูกพนั ต่อองคก์ าร เลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของการวดั ความผูกพนั ต่อองคก์ ารตามแนวคิดของ Meyer and Allen (1991) ซ่ึงแบ่งเป็ น 3 ดา้ น จาํ นวนขอ้ คาํ ถาม 24 ขอ้ ดงั น้ี ความผกู พนั ตอ่ องคก์ ารดา้ นความรู้สึก จาํ นวน 8 ขอ้ ความผกู พนั ตอ่ องคก์ ารดา้ นการคงอยู่ จาํ นวน 8 ขอ้ ความผกู พนั ตอ่ องคก์ ารท่ีเกิดจากมาตรฐานทางสงั คม จาํ นวน 8 ขอ้ โดยกาํ หนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามมาตรวดั แบบ 7-point likert scale ซ่ึงแบ่งเป็น 7 ระดบั ที่แสดงถึงระดบั ความผกู พนั ต่อองคก์ ารของผตู้ อบแบบสอบถาม ดงั น้ี

37 ตารางท่ี 5 รายละเอียดคะแนนตามมาตรวดั แบบ 7 ระดบั ระดับความคดิ เห็น เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ข้อคาํ ถามเชิงบวก ข้อคาํ ถามเชิงลบ เห็นดว้ ย เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 71 เห็นดว้ ยและไม่เห็นดว้ ยเท่า ๆ กนั ไม่เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 62 ไม่เห็นดว้ ย ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ 53 44 35 26 17 ส่วนท่ี 5แบบสอบถามเกี่ยวกบั ผลการปฏิบตั ิงาน เลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของการวดั ผลการ ปฏิบตั ิงานของพนกั งานตามแนวคิดของ Goodman and Svyantek (1999) ซ่ึงแบ่งออกเป็ น 2 ดา้ น จาํ นวนขอ้ คาํ ถาม 25 ขอ้ ดงั น้ี ดา้ นผลการดาํ เนินงานตามพฤติกรรม จาํ นวน 16 ขอ้ ดา้ นผลงานในการปฏิบตั ิงาน จาํ นวน 9 ขอ้ โดยกาํ หนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามมาตรวดั แบบ 7-point likert scale ซ่ึงแบ่งเป็น 7 ระดบั ท่ีแสดงถึงระดบั ช่วงคะแนนผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานโดยเป็นขอ้ คาํ ถามเชิงบวกท้งั หมด

38 ตารางที่ 6 รายละเอียดคะแนนตามมาตรวดั แบบ 7 ระดบั ระดับความคดิ เห็น เกณฑ์คะแนนตามมาตรวดั 7 เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ 6 เห็นดว้ ย 5 เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 4 เห็นดว้ ยและไม่เห็นดว้ ยเท่า ๆ กนั 3 ไม่เห็นดว้ ยเลก็ นอ้ ย 2 ไม่เห็นดว้ ย 1 ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ การสร้างและการทดสอบเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษา ผูว้ ิจยั ไดส้ ร้างแบบสอบถามตามกรอบการวิจยั และทดสอบความเท่ียงตรง ความเชื่อมนั่ ตามข้นั ตอน ดงั น้ี ผูว้ ิจยั ไดท้ าํ การศึกษา คน้ ควา้ และรวบรวมเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี วารสารทางวิชาการ และงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งเพอื่ นาํ มาเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามเกี่ยวกบั การทาํ งานเป็ นทีมได้พฒั นาจากแนวความคิดของ Stock (2013) ซ่ึงแบ่งเป็ น 4 ด้าน ส่วน แบบสอบถามเกี่ยวกบั ความพึงพอใจในงาน พฒั นาจากแนวความคิดของ Spector (1985) ซ่ึง แบ่งเป็ น 9 ดา้ น ในส่วนของแบบสอบถามเกี่ยวกบั ความผูกพนั ต่อองคก์ าร พฒั นาจากแนวคิดของ Meyer and Allen (1991) ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น และในส่วนสุดทา้ ยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกบั ผลการ ปฏิบตั ิงานของพนกั งาน พฒั นาจากแนวคิดของ Goodman and Svyantek (1999) ประกอบดว้ ย 2 ดา้ น ซ่ึงผวู้ ิจยั ไดแ้ ปลและปรับปรุงขอ้ คาํ ถามเพื่อความเหมาะสมกบั งานวิจยั ในคร้ังน้ี แลว้ นาํ เสนอ ต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ เพอื่ ตรวจสอบความครอบคลุมของเน้ือหาและลกั ษณะการใชภ้ าษา จากน้นั นาํ มาปรับปรุงตามการแนะนาํ ของอาจารยท์ ่ีปรึกษา นาํ แบบสอบถามที่ผ่านการปรับปรุงตามคาํ แนะนาํ ของอาจารยท์ ่ีปรึกษาแลว้ ไปทาํ การ ตรวจสอบความเท่ียงตรงดา้ นเน้ือหา (Content Validity) โดยใหผ้ ทู้ รงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และ ความเช่ียวชาญ จาํ นวน 3 ท่าน ซ่ึงเป็นอาจารยม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2 ท่าน

39 ไดแ้ ก่ 1. ผศ.ดร.จุฑามาศ ทวีไพบูลยว์ งษ์ และ 2. ดร.เจษฎา วงศแ์ สนสุขเจริญ และอาจารยม์ หาวิทยาลยั กรุงเทพสุวรรณภูมิ 1 ท่าน คือ ดร.ญฐั กาญจน์ สุวรรณธารา นาํ แบบสอบถามจากผทู้ รงคุณวฒุ ิท้งั 3 ท่าน มาคาํ นวณค่าดชั นีความสอดคลอ้ งของวตั ถุประสงค์ (Item Objective Congruence: IOC) โดยเกณฑใ์ น การยอมรับ คือ ค่า IOC > 0.5 (ธานินทร์ ศิลป์ จารุ, 2557: 95-96) ถา้ หากมีค่าต่าํ กวา่ เกณฑจ์ ะตอ้ งนาํ มา ปรับปรุงตามคาํ แนะนาํ ของผูท้ รงคุณวุฒิท่ีไดแ้ นะนาํ ให้แกไ้ ขปรับปรุง จากการคาํ นวณค่าดชั นีความ สอดคลอ้ งของวตั ถุประสงคพ์ บวา่ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานทุกขอ้ คาํ ถาม จึงนาํ มาเสนอต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษา อีกคร้ัง ก่อนที่จะนาํ ไปใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลกบั ประชากรท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ประชากรจริง โดยผลค่า ดชั นีความสอดคลอ้ งของวตั ถุประสงค์ (IOC) จะแสดงในตารางผนวกท่ี 1-4 (ภาคผนวก ข) นําแบบสอบถามไปทาํ การทดสอบหาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) โดยการนํา แบบสอบถามไปทดสอบกบั กลุ่มตวั อยา่ งท่ีมีลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั ประชากรท่ีศึกษาจาํ นวน 50 คน เพื่อทดสอบว่า คาํ ถามแต่ละขอ้ ในแบบสอบถามสามารถส่ือสารความหมายไดต้ รงกบั ส่ิงที่ผูว้ ิจยั ตอ้ งการที่จะวิจยั หรือไม่ จากผลวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่ าของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) พบว่า ค่าความเช่ือมน่ั ของแบบสอบถามแต่ละดา้ นมีค่า 0.807- 0.968 ซ่ึงอยใู่ นเกณฑก์ ารยอมรับท่ี 0.7 ข้ึนไป ดงั แสดงในตารางผนวกท่ี 5-23 (ภาคผนวก ข) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. ขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ผวู้ ิจยั ไดท้ าํ การเก็บรวบรวมแนวคิดและทฤษฏี จาก การศึกษา คน้ ควา้ และรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสาร ตาํ รา บทความ วิทยานิพนธ์ งานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง กบั การทาํ งานเป็ นทีม ความพึงพอใจในงาน ความผูกพนั ต่อองคก์ าร และผลการปฏิบตั ิงานของ พนกั งาน 2. ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) ผวู้ ิจยั ไดท้ าํ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยการส่งแบบสอบ ถามตรงกบั ประชากร คือ พนักงานระดับปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือท้งั 5 บริษทั ในจงั หวดั สมุทรปราการ มีจาํ นวนพนักงานท้งั หมด 810 คน โดยผูว้ ิจยั ไดท้ าํ การส่ง แบบสอบถามให้กบั พนักงานของทางบริษทั และไดจ้ าํ นวนแบบสอบถามที่สมบูรณ์จาํ นวน 659 ฉบบั

40 วธิ ีการวเิ คราะห์ข้อมูล ผวู้ ิจยั นาํ แบบสอบถามท่ีไดร้ ับคืนมาจากผตู้ อบแบบสอบถาม มาตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความครบถว้ นสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม และนาํ แบบสอบถามท่ีมีความสมบูรณ์มาลงรหสั ตามที่ผวู้ จิ ยั ไดก้ าํ หนดไวล้ ว่ งหนา้ โดยนาํ ขอ้ มูลไปวเิ คราะห์ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ เพ่อื คาํ นวณค่าสถิติท่ีใชใ้ นการพรรณนา และอภิปรายผลการวิจยั สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ สถิตเิ ชิงพรรณนา 1. วิเคราะห์ขอ้ มูลลกั ษณะส่วนบุคคล โดยใชส้ ถิติค่าร้อยละ 2. วเิ คราะห์ขอ้ มูลการทาํ งานเป็นทีม ความพึงพอใจในงาน ความผกู พนั ต่อองคก์ าร และผล การปฏิบตั ิงานของพนกั งานใชส้ ถิติประกอบดว้ ย คา่ เฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิตเิ ชิงอนุมาน 1. การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis: CFA) เพื่อตรวจสอบ ความตรงของโมเดลและตรวจสอบความสอดคลอ้ งกลมกลืนของโมเดลแต่ละองคป์ ระกอบในโมเดล สมการโครงสร้าง 2. การทดสอบสมมติฐานท้ัง 7 ข้อ ใช้สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) เพ่ือวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างการทาํ งานเป็นทีมความ พงึ พอใจในงาน และความผกู พนั ต่อองคก์ าร ที่มีต่อผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ ของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ

บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั และข้อวจิ ารณ์ การวิจยั เร่ืองความสัมพนั ธ์ระหว่างการทาํ งานเป็ นทีม ความพึงพอใจในงาน และความ ผกู พนั ต่อองคก์ าร ที่มีต่อผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือ และซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการผวู้ จิ ยั ไดน้ าํ เสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลออกเป็น 8 ส่วน ดงั น้ี ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบุคคลของกลุ่มตวั อยา่ ง ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลระดบั ความคิดเห็นเก่ียวกบั การทาํ งานเป็นทีม ส่วนที่ 3 ขอ้ มูลระดบั ความคิดเห็นเก่ียวกบั ความพงึ พอใจในงาน ส่วนท่ี 4 ขอ้ มูลระดบั ความคิดเห็นเกี่ยวกบั ความผกู พนั ต่อองคก์ าร ส่วนที่ 5 ขอ้ มูลระดบั ความคิดเห็นเก่ียวกบั ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน ส่วนท่ี 6 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของตวั แปร ส่วนท่ี 7 การวิเคราะห์เสน้ ทางความสมั พนั ธ์ ส่วนท่ี 8 ผลการทดสอบสมมติฐานและขอ้ วจิ ารณ์ สัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้แทนค่าสถิติ เพ่ือให้เขา้ ใจตรงกนั ในการนาํ เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล และการอภิปรายผล ผูว้ ิจยั ได้ กาํ หนดสญั ลกั ษณ์ และอกั ษรยอ่ ท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี

42 x = ค่าเฉลี่ยเลขคณิต S.D. = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) Loading = ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) = คา่ ไค-สแควร์ (Chi-Square) χ2 = ค่าน้าํ หนกั ของตวั แปรแฝงที่มีความสมั พนั ธเ์ ชิงสาเหตุจากตวั แปรแฝง ภายในไปตวั แปรแฝงภายใน (Beta) β คา่ น้าํ หนกั ของตวั แปรแฝงท่ีมีความสมั พนั ธ์เชิงสาเหตุจากตวั แปรแฝง ภายนอกไปตวั แปรแฝงภายใน (Gamma) γ= คา่ ความคลานเคล่ือนมาตรฐาน (Standard Error) สถิติคา่ ท่ี (t-test) S.E. = คา่ นยั สาํ คญั ทางสถิติ t-value = คา่ สมั ประสิทธ์ิการตดั สินใจ (Coefficient of Determination) p-value = องศาอิสระ R2 = ค่าดชั นีความสอดคลอ้ งความสมั พนั ธ์ (Normed Fit Index) df = ค่าดชั นีวดั ระดบั ความกลมกลืน (Goodness of Fit Index) NFI = คา่ ดชั นีวดั ความสอดคลอ้ งกลมกลืนเชิงสมั พทั ธ์ (Comparative Fit Index) GFI = คา่ รากท่ีสองของคา่ เฉล่ียของส่วนเหลือคลาดเคลื่อนกาํ ลงั สองของการ CFI = ประมาณคา่ (Root Mean Square Error of Approximation) RMSEA = ความสมั พนั ธท์ างตรง (Direct Effect) ความสมั พนั ธท์ างออ้ ม (Indirect Effect) DE = ความสมั พนั ธร์ วม (Total Effect) IE = TE = อกั ษรย่อทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล TW = การทาํ งานเป็นทีม (Teamwork) TW RG = การทาํ งานเป็นทีมดา้ นบทบาทและเป้าหมายท่ีมีความชดั เจน (Teamwork- Roles and Goals) TW TP = การทาํ งานเป็นทีมดา้ นทีมเป็นอนั ดบั หน่ึง (Teamwork-TeamPrimacy) TW CH = การทาํ งานเป็นทีมดา้ นความร่วมมือกนั (Teamwork-Cohesion)

43 TW CM = การทาํ งานเป็นทีมดา้ นการสื่อสารซ่ึงกนั และกนั (Teamwork- Communication) JS = ความพึงพอใจในงาน (Job satisfaction) JS PAY = ความพงึ พอใจในงานดา้ นค่าตอบแทน (Job satisfaction-Pay) JS PM = ความพึงพอใจในงานดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ (Job satisfaction- Promotion) JS SUP = ความพึงพอใจในงานดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา (Job satisfaction-Supervision) JS BE = ความพึงพอใจในงานดา้ นสวสั ดิการ (Job satisfaction-Benefits) JS RW = ความพงึ พอใจในงานดา้ นผลประโยชนต์ อบแทน (Job satisfaction- Rewards) JS OP = ความพงึ พอใจในงานดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน (Job satisfaction- Operating procedure) JS CW = ความพงึ พอใจในงานดา้ นเพอ่ื นร่วมงาน (Job satisfaction-Co-worker) JS WORK = ความพงึ พอใจในงานดา้ นลกั ษณะงาน (Job satisfaction-Work itself) JS CM = ความพึงพอใจในงานดา้ นการติดต่อส่ือสาร (Job satisfaction- Communication) OC = ความผกู พนั ตอ่ องคก์ าร (Organizational Commitment) OC AFF = ความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นความรู้สึก (Organizational Commitment- Affective Commitment) OC CN = ความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นการคงอยู่ (Organizational Commitment- Continuance Commitment) OC NT = ความผกู พนั ต่อองคก์ ารท่ีเกิดจากมาตรฐานทางสงั คม (Organizational Commitment-Normative Commitment) EP = ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน (Employee Performance) EP CT = ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานดา้ นผลการดาํ เนินงานตามพฤติกรรม (Employee Performance-Contextual) EP Task = ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานดา้ นผลงานในการปฏิบตั ิงาน (Employee Performance-Task)

44 ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตวั อย่าง จากผลการเก็บแบบสอบถามนาํ มาวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคลของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ ของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ นวน 659 คน ซ่ึงประกอบดว้ ย เพศ อายุ สถานภาพสมรส รายได้ ระดบั การศึกษา และระยะเวลาการทาํ งาน มีขอ้ มูลส่วนบุคคล ดงั น้ี เพศ จากผลการวิเคราะห์พบว่า เพศชาย มีจาํ นวน 572 คน คิดเป็ นร้อยละ 86.8 และเพศหญิง มีจาํ นวน 87 คน คิดเป็ นร้อยละ 13.2 จึงเห็นไดว้ ่า กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่เป็ นพนักงานเพศชาย มากกวา่ เพศหญิง ดงั ตารางที่ 7 ตารางที่ 7 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามเพศ (n = 659) เพศ จํานวน (คน) ร้อยละ ชาย 572 86.8 หญิง 87 13.2 รวม 659 100.0 อายุ ช่วงอายขุ องกลุ่มตวั อยา่ งมีสัดส่วนมากที่สุดในช่วงอายุ 26-35 ปี มีจาํ นวน 329 คน คิดเป็ น ร้อยละ 49.9 รองลงมา คือ อายุ 36-45 ปี จาํ นวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8, 46 ปี ข้ึนไป จาํ นวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 10.8 และอายตุ ่าํ กวา่ 26 ปี จาํ นวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 8.5 ตาม ลาํ ดบั ดงั ตารางที่ 8

45 ตารางที่ 8 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามอายุ (n = 659) อายุ จาํ นวน (คน) ร้อยละ ต่าํ กวา่ 26 ปี 56 8.5 26-35 ปี 329 49.9 36-45 ปี 203 30.8 46 ปี ข้ึนไป 71 10.8 รวม 659 100.0 สถานภาพสมรส พบกลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส จาํ นวน 383 คน คิดเป็ นร้อยละ 58.1 และ สถานภาพโสด จาํ นวน 276 คน คิดเป็นร้อยละ 41.9 ดงั ตารางที่ 9 ตารางที่ 9 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามสถานภาพสมรส (n = 659) สถานภาพสมรส จํานวน (คน) ร้อยละ โสด 276 41.9 สมรส 383 58.1 รวม 659 100.0 ระดับการศึกษา ในการวเิ คราะห์กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่จะมีระดบั การศึกษาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ /ตอน ปลายหรือเทียบเท่า จาํ นวน 444 คน คิดเป็นร้อยละ 67.4 รองลงมาคือ ระดบั อนุปริญญาหรือ ปวส. จาํ นวน 145 คน คิดเป็ นร้อยละ 22.0 และระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 70 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.6 ดงั ตารางที่ 10

46 ตารางที่ 10 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามระดบั การศึกษา (n = 659) ระดบั การศึกษา จํานวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 70 10.6 มธั ยมศึกษาตอนตน้ /ตอนปลาย/เทียบเท่า 444 67.4 อนุปริญญา/ปวส. 145 22.0 รวม 659 100.0 ระยะเวลาในการทาํ งานกบั บริษัท ระยะเวลาในการทาํ งานกบั บริษทั ท่ีทาํ งานอย่ใู นปัจจุบนั ของกลุ่มตวั อย่างมีสัดส่วนท่ีมาก ท่ีสุดคือ เวลา 6-10 ปี จาํ นวน 298 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 รองลงมาคือ นอ้ ยกว่า 6 ปี จาํ นวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 38.7 และ11-15 ปี จาํ นวน 106 คนคิดเป็นร้อยละ 16.1 ดงั ตารางท่ี 11 ตารางที่ 11 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามระยะเวลาในการทาํ งานกบั บริษทั (n = 659) ระยะเวลาในการทาํ งานกบั บริษัท จํานวน (คน) ร้อยละ นอ้ ยกวา่ 6 ปี 255 38.7 6-10 ปี 298 45.2 11-15 ปี 106 16.1 รวม 659 100.0 รายได้เฉลย่ี ต่อเดือน ผลการวิเคราะห์พบกลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่มีรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน 10,001-15,000 บาท คิด เป็นร้อยละ 65.7 รองลงมาคือ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ต่าํ กวา่ 10,001 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.1, รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.2 ตามลาํ ดบั ดงั ตารางที่ 12

47 ตารางท่ี 12 จาํ นวนและร้อยละของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการของอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ ในจงั หวดั สมุทรปราการ จาํ แนกตามรายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน (n = 659) รายได้เฉลย่ี ต่อเดือน จํานวน (คน) ร้อยละ ต่าํ กวา่ 10,001 บาท 126 19.1 10,001-15,000 บาท 433 65.7 15,001-20,000 บาท 100 15.2 รวม 659 100.0 ส่วนท่ี 2 ข้อมูลระดับความคดิ เห็นการทาํ งานเป็ นทมี ผลการเก็บแบบสอบถามนาํ มาวิเคราะห์เพ่ือแสดงระดบั ความคิดเห็นการทาํ งานเป็นทีมของ พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ พบวา่ พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการที่มีการทาํ งานเป็ นทีมโดยรวมมีค่าเฉลี่ย อยทู่ ่ี 3.20 เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ดา้ นบทบาทและเป้าหมายที่มีความชดั เจนมีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุด คือ 3.26 รองลงมา คือ ดา้ นการส่ือสารซ่ึงกนั และกนั ดา้ นทีมเป็ นอบั ดบั หน่ึง และดา้ นความ ร่วมมือกนั ซ่ึงมีคา่ เฉล่ียอยทู่ ี่ 3.23, 3.16 และ 3.13 ตามลาํ ดบั และเมื่อเปรียบเทียบท้งั 4 ดา้ น พบวา่ ดา้ น ความร่วมมือกนั มีค่าเฉลี่ยต่าํ ที่สุด ดงั ตารางที่ 13 ตารางที่ 13 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการท่ีเกี่ยวกบั การทาํ งาน เป็ นทีม การทาํ งานเป็ นทมี S.D. 1. ดา้ นบทบาทและเป้าหมายท่ีมีความชดั เจน 3.26 0.395 2. ดา้ นทีมเป็นอบั ดบั หน่ึง 3.16 0.584 3. ดา้ นความร่วมมือกนั 3.13 0.570 4. ดา้ นการส่ือสารซ่ึงกนั และกนั 3.23 0.454 รวม 3.20 0.450

48 ส่วนที่ 3 ข้อมูลระดบั ความคดิ เห็นความพงึ พอใจในงาน การวิเคราะห์ระดบั ความคิดเห็นความพึงพอใจในงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ พบว่า พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการที่มีความพึงพอใจในงานโดยรวมมีค่าเฉล่ียอยทู่ ี่ 4.74 เม่ือพิจารณาเป็นราย ดา้ น พบว่า ดา้ นการติดต่อส่ือสารมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ 4.97 รองลงมา คือ ดา้ นผลประโยชน์ตอบ แทน ดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา ดา้ นลกั ษณะงาน ดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน ดา้ นเพ่ือนร่วมงาน ดา้ น สวสั ดิการ ดา้ นค่าตอบแทน และดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยอยทู่ ี่ 4.96, 4.87, 4.84, 4.78, 4.77, 4.55, 4.49 และ 4.47 ตามลาํ ดบั และเมื่อเปรียบเทียบท้งั 9 ดา้ น พบวา่ ดา้ นท่ีมีความพึง พอใจในงานต่าํ ที่สุด คือ ดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ ดงั ตารางท่ี 14 ตารางท่ี 14 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการท่ีเก่ียวกบั ความพงึ พอใจ ในงาน ความพงึ พอใจในงาน S.D. ดา้ นค่าตอบแทน 4.49 0.779 ดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ 4.47 0.767 ดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา 4.87 0.606 ดา้ นสวสั ดิการ 4.55 0.758 ดา้ นผลประโยชน์ตอบแทน 4.96 0.610 ดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน 4.78 0.593 ดา้ นเพ่ือนร่วมงาน 4.77 0.631 ดา้ นลกั ษณะงาน 4.84 0.640 ดา้ นการติดต่อส่ือสาร 4.97 0.541 รวม 4.74 0.364

49 ส่วนท่ี 4 ข้อมูลระดับความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความผูกพนั ต่อองค์การ ในการวิเคราะห์นาํ ผลมาแสดงระดบั ความคิดเห็นความผูกพนั ต่อองค์การของพนักงาน ระดบั ปฏิบตั ิการ พบว่า พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการท่ีมีความผกู พนั ต่อองคก์ ารโดยรวมมีค่าเฉล่ียอยทู่ ี่ 4.55 เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นการคงอยมู่ ีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ 5.09 รองลงมา คือ ดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นความรู้สึก และดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารท่ีเกิด จากมาตรฐานทางสงั คมซ่ึงมีค่าเฉลี่ยอยทู่ ี่ 4.51 และ 4.03 ตามลาํ ดบั ซ่ึงดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารที่ เกิดจากมาตรฐานทางสงั คมมีคา่ เฉลี่ยต่าํ สุด ดงั ตารางท่ี 15 ตารางที่ 15 คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการท่ีเกี่ยวกบั ความผกู พนั ต่อองคก์ าร ความผูกพนั ต่อองค์การ S.D. ดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นความรู้สึก 4.51 0.818 ดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นการคงอยู่ 5.09 0.466 ดา้ นความผกู พนั ต่อองคก์ ารท่ีเกิดจากมาตรฐานทางสงั คม 4.03 0.721 4.55 0.265 รวม ส่วนท่ี 5 ข้อมูลระดบั ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ผลการปฏบิ ตั งิ านของพนักงาน การวิเคราะห์ผลระดบั ความคิดเห็นผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการ พบว่า พนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการที่มีผลการปฏิบตั ิงานโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยทู่ ่ี 5.26 เม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ดา้ นผลการดาํ เนินงานตามพฤติกรรมมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ 5.27 และด้านผลงานในการ ปฏิบตั ิงานมีค่าเฉล่ียนอ้ ยกวา่ อยทู่ ่ี 5.25 ดงั ตารางที่ 16

50 ตารางท่ี 16 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพนกั งานระดบั ปฏิบตั ิการเกี่ยวกบั ผล การปฏิบตั ิงานของพนกั งาน ผลการปฏบิ ัตงิ านของพนักงาน S.D. 1. ดา้ นผลการดาํ เนินงานตามพฤติกรรม 5.27 0.588 2. ดา้ นผลงานในการปฏิบตั ิงาน 5.25 0.941 5.26 0.677 รวม ส่วนที่ 6 การวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยนั ของตวั แปร ในการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยนั (CFA) จะตอ้ งมีการตรวจสอบความถูกตอ้ งของ ขอ้ มูลก่อนท่ีจะทาํ การวเิ คราะห์ โดยมีการตรวจสอบความถูกตอ้ ง ดงั น้ี 1. การตรวจสอบความครบถว้ นและความเท่ียงตรงของขอ้ มูล ดว้ ยการตรวจสอบวา่ มีการ บนั ทึกขอ้ มูลครบทุกขอ้ คาํ ถามหรือไม่ จากการตรวจสอบขอ้ มูลของงานวิจยั คร้ังน้ีพบว่า มีขอ้ มูล ครบถว้ นทุกขอ้ คาํ ถาม 2. การตรวจสอบการแจกแจงปกติของขอ้ มูล ตรวจสอบไดจ้ ากการวดั ค่าสถิติ คือ ค่าความเบ้ (Skewness) และค่าความโด่ง (Kurtosis) โดยช่วงค่าท่ีมีการกระจายของขอ้ มูลแบบปกติจะมีค่า อยใู่ นช่วง -3.00 ถึง +3.00 ซ่ึงค่าลบและค่าบวกจะแสดงถึงทิศทางของขอ้ มูล (Kline, 2005 อา้ งใน กริซ แรงสูงเนิน, 2554: 101) ในการตรวจสอบการแจกแจงปกติของขอ้ มูลในการวิจยั คร้ังน้ีพบว่า มีค่าสถิติผา่ นเกณฑท์ ี่กาํ หนดไวท้ ุกขอ้ คาํ ถาม โดยขอ้ มูลจะตอ้ งมีการแจกแจงแบบปกติจึงจะสามารถ นาํ ไปวิเคราะห์ได้ 3. การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปร เพื่อตรวจสอบว่าตวั แปรมี ความสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ โดยค่าตอ้ งไม่เกิน 0.80 แสดงว่าตวั แปรมีระดบั ความสัมพนั ธ์ท่ีไม่สูงมาก จากการวิเคราะห์แบบสอบถามในการวิจยั คร้ังน้ีพบว่า มีค่าสมั ประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปร ผา่ นเกณฑท์ ่ีกาํ หนดไวท้ ุกขอ้ คาํ ถาม

51 เมื่อตรวจสอบความถูกต้องของทุกข้อคาํ ถามแล้ว จึงสามารถนําข้อมูลไปวิเคราะห์ องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ในการวิเคราะห์จะมีผลการทดสอบความเหมาะสมของโมเดลที่จาํ เป็นตอ้ งมี ค่าดชั นีช้ีวดั ความเหมาะสมอยใู่ นเกณฑก์ ารพิจารณาความสอดคลอ้ งกลมกลืนของโมเดลจะทาํ ให้ โมเดลน้นั ถูกยอมรับ โดยมีเกณฑก์ ารพิจารณา ดงั ตารางท่ี 17 ตารางท่ี 17 เกณฑก์ ารพจิ ารณาความสอดคลอ้ งกลมกลืนของโมเดล ค่าดชั นี เกณฑ์ การพจิ ารณา ค่าสถิติไค-สแควร์ p ≥ 0.05 (Chi-Square: χ2) ค่า p-value มีค่ามากกวา่ .05 แสดงวา่ โมเดลมีความ ≤ 3.00 เหมาะสมและสอดคลอ้ งกลมกลืนกบั ขอ้ มลู เชิง คา่ ไค-สแควร์สมั พนั ธ์ ประจกั ษ์ (χ2/df) ≥ 0.90 คา่ CMIN/df ตอ้ งนอ้ ยกวา่ 3 ถา้ คา่ ยง่ิ มีคา่ ใกล้ 0 มากเท่าไร แสดงวา่ โมเดลน้นั ยงิ่ มีความกลมกลืน คา่ ดชั นีความสอดคลอ้ ง ≥ 0.90 สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้นั ความสมั พนั ธ์ มีคา่ NFI ยง่ิ ใกล้ 1 มากเท่าไร จะบอกถึงความ (NFI) ≥ 0.90 สอดคลอ้ งของโมเดลกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษว์ า่ มี ความสอดคลอ้ งมากข้ึน ค่าดชั นีวดั ระดบั ความ คา่ ดชั นี GFI ตอ้ งมากกวา่ 0.90 ถา้ คา่ ยง่ิ มีคา่ ใกล้ 1 กลมกลืน มากเท่าไร แสดงวา่ โมเดลน้นั ยง่ิ มีความกลมกลืน (GFI) สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้นั ค่า CFI อยรู่ ะหวา่ ง 0 กบั 1 และหากค่า ≥ 0.90 ค่าดชั นีวดั ความสอดคลอ้ ง เป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ กลมกลืนเชิงสมั พทั ธ์ (CFI) ≤ 0.08 คา่ ดชั นี RMR มีคา่ ใกล้ 0 แสดงวา่ โมเดลน้นั มี คา่ ดชั นีค่ารากท่ีสองของ ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ค่าเฉล่ียกาํ ลงั สอง (RMR) ≥ 0.90 ค่าดชั นี AGFI ตอ้ งมากกวา่ 0.90 และถา้ ค่าใกล้ 1 ค่าดชั นีวดั ระดบั ความ มากเท่าไร แสดงวา่ โมเดลน้นั มีความกลมกลืน กลมกลืนที่ปรับแกแ้ ลว้ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเทา่ น้นั (AGFI)

52 ตารางท่ี 17 (ต่อ) ค่าดชั นี เกณฑ์ การพจิ ารณา คา่ รากที่สองของค่าเฉล่ียของ ≤ 0.08 ส่วนเหลือคลาดเคล่ือนกาํ ลงั ค่าดชั นี RMSEA ตอ้ งนอ้ ยกวา่ 0.08 และถา้ คา่ ใกล้ 0 มากเท่าไร แสดงวา่ โมเดลน้นั มีค่าความคาด สองของการประมาณค่า เคล่ือนยง่ิ นอ้ ย โมเดลจึงมีความกลมกลืน (RMSEA) สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากยง่ิ ข้ึน ที่มา: ยทุ ธ ไกยวรรณ์ (2556: 161) ผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยนั ของตัวแปรการทาํ งานเป็ นทมี 1. ดา้ นบทบาทและเป้าหมายท่ีมีความชดั เจน การวเิ คราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นบทบาทและเป้าหมายท่ีมีความ ชดั เจน (TW RG) โดยใชว้ ธิ ีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทาง สถิติ ประกอบดว้ ยตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม TW RG12, TW RG13, TW RG15, TW RG16, TW RG17, TW RG19 และ TW RG31 จากผลการวเิ คราะห์จะพบวา่ โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษใ์ นการ วิเคราะห์ มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 5.866 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 9 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่า เท่ากบั 0.753 จะแสดงให้เห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่ามีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ และมีค่า GFI เท่ากบั 0.997 ซ่ึงมีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงวา่ โมเดลน้นั ยิง่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิง ประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้ัน ค่า AGFI เท่ากบั 0.992 โดยมีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงว่าโมเดลน้ันมีความ กลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้นั ค่า CFI เท่ากบั 1.000 มีค่าเท่ากบั 1 เป็ น ระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ คา่ RMR เท่ากบั 0.006 มีค่าเขา้ ใกล้ 0 แสดงวา่ โมเดลน้นั มีความสอดคลอ้ ง กบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ค่า NFI เท่ากบั 0.992 มีค่าเขา้ ใกล้ 1 จะบอกถึงความสอดคลอ้ งของโมเดลกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษว์ า่ มีความสอดคลอ้ งมากข้ึน และค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 มีค่าเท่ากบั 0 แสดง วา่ โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ าก แสดงในตารางที่ 18 ภาพที่ 2

53 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สังเกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสงั เกต TW RG 17 มีคา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.65 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสังเกต TW RG 31 มีค่าเท่ากบั 0.31 ซ่ึงแสดงว่า เมื่อพิจารณาค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทาง สถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต TW RG 17 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.41 และนอ้ ย ที่สุดคือ ตวั แปรสงั เกต TW RG 31 มีคา่ เท่ากบั 0.10 แสดงในตารางที่ 18 ตารางที่ 18 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นบทบาทและ เป้าหมายที่มีความชดั เจนดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 TW RG 12 0.37 0.075 6.829*** 0.14 TW RG 13 0.62 0.086 10.150*** 0.38 TW RG 15 0.40 0.097 7.531*** 0.16 TW RG 16 0.49 0.104 8.869*** 0.24 TW RG 17 0.65 − − 0.41 TW RG 19 0.57 0.092 9.871*** 0.33 TW RG 31 0.31 0.079 5.854*** 0.10 2 = 5.866, df = 9, 2/df = 0.652, p-value = 0.753, GFI = 0.997, AGFI = 0.992, NFI = 0.992, CFI = 1.000, RMSEA = 0.000, RMR = 0.006 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001

54 Chi-Square = 5.866, df = 9, p-value = 0.753, RMSEA = 0.000 ภาพท่ี 2 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ น บทบาทและเป้าหมายที่มีความชดั เจน 2. ดา้ นทีมเป็นอนั ดบั หน่ึง การวเิ คราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นทีมเป็นอนั ดบั หน่ึง (TW TP) โดย ใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม TW TP18, TW TP20, TW TP21 และ TW TP24 จากผลการวิเคราะห์จะพบไดว้ ่า โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษใ์ น การวิเคราะห์ โดยพบวา่ มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 1.193 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.275 จะแสดงใหเ้ ห็นวา่ ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่ามีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ และมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.991 และค่า NFI เท่ากบั 0.998 ซ่ึงมีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงว่าโมเดลน้ันย่ิงมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกับขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์มากข้ึนเท่าน้ัน ค่า CFI

55 เท่ากบั 1.000 มีค่าเท่ากบั 1 เป็ นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ ค่า RMR เท่ากบั 0.006 และค่า RMSEA เท่ากบั 0.017 มีค่าเขา้ ใกล้ 0 แสดงว่าโมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ าก แสดงในตารางท่ี 19 ภาพท่ี 3 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สังเกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดย ตวั แปรสังเกต TW TP20 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.77 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต TW TP18 มีค่าเท่ากบั 0.66 เมื่อพิจารณาค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และ ค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละคา่ แตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสังเกต TW TP20 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.59 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปรสงั เกต TW TP18 มีค่า R2 เท่ากบั 0.44 แสดงในตารางที่ 19 ตารางที่ 19 ผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของการทาํ งานเป็นทีมดา้ นทีมเป็นอนั ดบั หน่ึง ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 TW TP18 0.66 − − 0.44 TW TP20 0.77 0.076 13.833*** 0.59 TW TP21 0.74 0.066 15.265*** 0.55 TW TP24 0.67 0.085 15.389*** 0.44 2= 1.193, df= 1, 2/df= 1.193, p-value= 0.275, GFI=0.999, AGFI=0.991, NFI=0.998, CFI=1.000, RMSEA= 0.017, RMR=0.004 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001

56 Chi-Square = 1.193, df = 1, p-value = 0.275, RMSEA = 0.004 ภาพท่ี 3 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นทีม เป็นอนั ดบั หน่ึง 3. ดา้ นความร่วมมือกนั การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็ นทีมดา้ นความร่วมมือกนั (TW CH) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม TW CH11, TW CH22, TW CH23, TW CH25 และ TW CH26 พบว่า โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษใ์ นการวิเคราะห์ โดยพบว่า มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 0.591 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.442 จะแสดงใหเ้ ห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่ามีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ และมีค่า GFI เท่ากบั 1.000 ค่า AGFI เท่ากบั 0.995 และค่า NFI เท่ากบั 0.999 ซ่ึงมีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงว่าโมเดลน้นั ยง่ิ มี ความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้นั ค่า CFI เท่ากบั 1.000 มีค่าเท่ากบั 1 เป็นระดบั ที่โมเดลถูกยอมรับ ค่า RMR เท่ากบั 0.003 และค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 มีค่าเขา้ ใกล้ 0 แสดงวา่ โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ าก แสดงในตารางท่ี 20 ภาพที่ 4

57 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต TW CH23 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.75 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต TW CH22 มีค่าเท่ากบั 0.54 เมื่อพิจารณาค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และ ค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสังเกต TW CH23 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.57 และนอ้ ยท่ีสุดคือ TW CH22 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.30 แสดงในตารางท่ี 20 ตารางท่ี 20 ผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของการทาํ งานเป็นทีมดา้ นความร่วมมือกนั ดว้ ย โปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 TW CH11 0.74 − − 0.55 TW CH22 0.54 0.077 10.608*** 0.30 TW CH23 0.75 0.098 12.716*** 0.57 TW CH25 0.62 0.086 10.212*** 0.39 TW CH26 0.60 0.073 11.967*** 0.36 2= 0.591, df= 1, 2/df= 0.591, p-value= 0.442, GFI=1.000, AGFI=0.995, NFI=0.999, CFI=1.000, RMSEA= 0.000, RMR=0.003 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001

58 Chi-Square = 0.591, df = 1, p-value = 0.442, RMSEA = 0.000 ภาพท่ี 4 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นความ ร่วมมือกนั 4. ดา้ นการสื่อสารซ่ึงกนั และกนั การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ นการสื่อสารซ่ึงกนั และกนั (TW CM) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม TW CM1, TW CM2, TW CM3, TW CM4, TW CM5, TW CM6, TW CM7, TW CM8, TW CM9, TW CM10, TW CM14, TW CM27, TW CM28, TW CM29 และ TW CM30 การวิเคราะห์โมเดลพบไดว้ ่า โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดย พบวา่ มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 62.435 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 50 ส่งผลให้ค่า p-value มีค่า เท่ากบั 0.111 จะแสดงใหเ้ ห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่ามีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ และมีค่า GFI เท่ากบั 0.988 ค่า AGFI เท่ากบั 0.971 และค่า NFI เท่ากบั 0.987 ซ่ึงมีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงว่า โมเดลน้นั ยง่ิ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ ากข้ึนเท่าน้นั ค่า CFI เท่ากบั 0.997 มีค่าเท่ากบั 1 เป็นระดบั ที่โมเดลถูกยอมรับ ค่า RMR เท่ากบั 0.010 และค่า RMSEA เท่ากบั 0.019

59 มีคา่ เขา้ ใกล้ 0 แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ าก แสดงในตาราง ท่ี 21 ภาพท่ี 5 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต TW CM9 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.90 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสงั เกต TW CM30 มีค่าเท่ากบั 0.39 เมื่อพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และ คา่ สถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต TW CM9 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.80 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปร สงั เกต TW CM30 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.016 แสดงในตารางท่ี 21 ตารางที่ 21 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของการทาํ งานเป็นทีมดา้ นการส่ือสารซ่ึงกนั และกนั ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ TW CM1 Loading S.E. t-value R2 TW CM2 TW CM3 0.49 − − 0.24 TW CM4 0.75 0.112 13.494*** 0.56 TW CM5 0.62 0.112 10.733*** 0.38 TW CM6 0.51 0.091 10.011*** 0.27 TW CM7 0.62 0.112 11.071*** 0.38 TW CM8 0.52 0.109 10.460*** 0.27 TW CM9 0.60 0.123 10.897*** 0.36 TW CM10 0.77 0.127 12.767*** 0.58 TW CM14 0.90 0.168 12.670*** 0.80 TW CM27 0.76 0.149 12.235*** 0.58 TW CM28 0.65 0.115 10.850*** 0.42 0.50 0.140 9.781*** 0.25 0.42 0.094 9.286*** 0.18

60 ตารางที่ 21 (ต่อ) ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 TW CM29 0.41 0.091 9.224*** 0.17 TW CM30 0.39 0.087 8.897*** 0.16 2= 62.435, df= 50, 2/df= 1.2487, p-value= 0.111, GFI=0.988, AGFI=0.971, NFI=0.987, CFI=0.997, RMSEA= 0.019, RMR=0.010 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 Chi-Square = 62.435, df = 50, p-value = 0.111, RMSEA = 0.019 ภาพท่ี 5 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรการทาํ งานเป็นทีมดา้ น การส่ือสารซ่ึงกนั และกนั

61 ผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยนั ของตัวแปรความพงึ พอใจในงาน 1. ดา้ นค่าตอบแทน การวเิ คราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นค่าตอบแทน (JS PAY) โดย ใชว้ ิธีการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ยตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS PAY1, JS PAY2, JS PAY3 และ JS PAY4 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบว่า มีค่าไค- สแควร์ (χ2) เท่ากบั 0.930 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.335 จะ แสดงให้เห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.993 และค่า NFI เท่ากบั 1.000 ค่า CFI เท่ากบั 0.997 มีค่าเขา้ ใกลแ้ ละ เท่ากบั 1 และค่า RMR เท่ากบั 0.002 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 มีค่าเขา้ ใกล้ 0 แสดงวา่ โมเดลมี ความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางท่ี 22 ภาพที่ 6 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS PAY1 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.96 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต JS PAY3 มีค่าเท่ากบั 0.79 เม่ือพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และ ค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS PAY1 มีค่า R2 มากท่ีสุดเท่ากบั 0.92 และนอ้ ยท่ีสุดคือ ตวั แปร สงั เกต JS PAY3 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.62 แสดงในตารางท่ี 22

62 ตารางที่ 22 ผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นค่าตอบแทน ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS PAY1 0.96 − − 0.92 JS PAY2 0.80 0.027 29.049*** 0.63 JS PAY3 0.79 0.030 28.213*** 0.62 JS PAY4 0.90 0.025 39.174*** 0.81 2= 0.930, df= 1, 2/df= 0.930, p-value= 0.335, GFI=0.999, AGFI=0.993, NFI=1.000, CFI=1.000, RMSEA= 0.000, RMR=0.002 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 0.930, df = 1, p-value = 0.335, RMSEA = 0.000 ภาพที่ 6 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจในงาน ดา้ นคา่ ตอบแทน

63 2. ดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้ การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นโอกาสในความกา้ วหน้า (JS PM) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS PM5, JS PM6, JS PM7 และ JS PM8 การวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบวา่ มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 0.632 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.426 แสดงใหเ้ ห็น ว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการ วดั วา่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 1.000 คา่ AGFI เท่ากบั 0.995 และค่า NFI เท่ากบั 1.000 ค่า CFI เท่ากบั 1.000 มีค่าเขา้ ใกลแ้ ละเท่ากบั 1 และค่า RMR เท่ากบั 0.003 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 มีค่าเขา้ ใกล้ 0 แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ ง กบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางที่ 23 ภาพท่ี 7 เม่ือพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สังเกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS PM5 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.83 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสงั เกต JS PM7 มีคา่ เท่ากบั 0.79 เม่ือพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบว่า น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนคา่ R2 ของตวั แปรสงั เกต JS PM5 มีค่า R2 มากท่ีสุดเท่ากบั 0.69 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปรสังเกต JS PM7 มีคา่ R2เท่ากบั 0.62 แสดงในตารางที่ 23

64 ตารางที่ 23 ผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นโอกาสใน ความกา้ วหนา้ ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS PM5 0.83 − − 0.69 JS PM6 0.82 0.043 23.865*** 0.67 JS PM7 0.79 0.048 20.977*** 0.62 JS PM8 0.81 0.048 21.998*** 0.66 2= 0.632, df= 1, 2/df= 0.632, p-value= 0.426, GFI=1.000, AGFI=0.995, NFI=1.000, CFI=1.000, RMSEA= 0.000, RMR=0.003 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นค่าคงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 0.632, df = 1, p-value = 0.426, RMSEA = 0.000 ภาพที่ 7 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพึงพอใจในงาน ดา้ นโอกาสในความกา้ วหนา้

65 3. ดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา (JS SUP) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS SUP9, JS SUP10, JS SUP11 และ JS SUP12 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบมีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 0.690 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลให้ค่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.406 จะแสดงให้ เห็นวา่ ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดล การวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.995 และค่า NFI เท่ากบั 1.000 ค่า CFI เท่ากบั 1.000 (มีค่า ≥ 0.90)และค่า RMR เท่ากบั 0.001 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงใหเ้ ห็นวา่ โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษม์ าก แสดงในตารางท่ี 24 ภาพที่ 8 การพจิ ารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบในค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสังเกตแต่ละตวั ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยพบว่า ตวั แปรสังเกต JS SUP9 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมาก ที่สุดเท่ากบั 0.95 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต JS SUP10 และ JS SUP11 มีค่าเท่ากบั 0.66 เม่ือ พิจารณาค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบว่า น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสังเกต JS SUP9 มีค่า R2 มากท่ีสุดเท่ากบั 0.90 และนอ้ ยท่ีสุดคือ ตวั แปรสังเกต JS SUP10 มีค่า R2 เท่ากบั 0.43 แสดง ในตารางท่ี 24

66 ตารางที่ 24 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS SUP9 0.95 − − 0.90 JS SUP10 0.66 0.036 18.776*** 0.43 JS SUP11 0.66 0.037 18.939*** 0.44 JS SUP12 0.85 0.037 26.361*** 0.73 2= 0.690, df= 1, 2/df= 0.690, p-value= 0.406, GFI=0.999, AGFI=0.995, NFI=1.000, CFI=1.000, RMSEA= 0.000, RMR=0.001 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 Chi-Square = 0.690, df = 1, p-value = 0.406, RMSEA = 0.000 ภาพที่ 8 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจ ในงานดา้ นผบู้ งั คบั บญั ชา

67 4. ดา้ นสวสั ดิการ การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นสวสั ดิการ (JS BF) โดยใช้ วิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS BF13, JS BF14, JS BF15 และ JS BF16 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบมีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 1.429 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.232 จะแสดงให้ เห็นวา่ ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดล การวดั วา่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.989 และค่า NFI เท่ากบั 0.999 ค่า CFI เท่ากบั 1.000 (มีค่า ≥ 0.90)และค่า RMR เท่ากบั 0.003 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.026 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูล เชิงประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางที่ 25 ภาพที่ 9 การพิจารณาคา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบในค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตแต่ละตวั ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสังเกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดย พบว่า ตวั แปรสังเกตที่ JS BF13 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมาก ที่สุดเท่ากบั 0.97 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต JS BF14 มีค่าเท่ากบั 0.38 เมื่อพิจารณาค่าความ คลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS BF13 มีค่า R2 มากที่สุด เท่ากบั 0.95 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสงั เกต JS BF14 มีค่า R2 เท่ากบั 0.15 แสดงในตารางที่ 25

68 ตารางที่ 25 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นสวสั ดิการ ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS BF13 0.97 − − 0.95 JS BF14 0.38 0.043 10.373*** 0.15 JS BF15 0.62 0.032 19.301*** 0.39 JS BF16 0.96 0.023 44.174*** 0.93 2= 1.429, df= 1, 2/df= 1.429, p-value= 0.232, GFI=0.999, AGFI=0.989, NFI=0.999, CFI=1.000, RMSEA= 0.026, RMR=0.003 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 1.429, df = 1, p-value = 0.232, RMSEA = 0.026 ภาพที่ 9 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจ ในงานดา้ นสวสั ดิการ

69 5. ดา้ นผลประโยชนต์ อบแทน การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นผลประโยชน์ตอบแทน (JS RW) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS RW17, JS RW18, JS RW19 และ JS RW20 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบว่า มีค่าไค- สแควร์ (χ2) เท่ากบั 2.892 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.089 และ ค่า RMSEA เท่ากบั 0.054 จะแสดงใหเ้ ห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั วา่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ และมีค่า GFI เท่ากบั 0.998 ค่า AGFI เท่ากบั 0.978 และค่า NFI เท่ากบั 0.998 ค่า CFI เท่ากบั 0.999 (มีคา่ ≥ 0.90) และคา่ RMR เท่ากบั 0.003 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.054 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงว่า โมเดลมี ความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ ะแสดงในตารางที่ 26 ภาพท่ี 10 การพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบในค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสังเกตแต่ละตวั ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS RW18 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุด เท่ากบั 0.94 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต JS RW17 มีค่าเท่ากบั 0.69 เมื่อพิจารณาค่าความ คลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบว่า น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS RW18 มีค่า R2 มากท่ีสุด เท่ากบั 0.89 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปรสงั เกต JS RW17 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.48 แสดงในตารางที่ 26

70 ตารางที่ 26 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพงึ พอใจในงานดา้ นผลประโยชน์ ตอบแทน ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS RW17 0.69 − − 0.48 JS RW18 0.94 0.065 19.493*** 0.89 JS RW19 0.79 0.056 18.669*** 0.63 JS RW20 0.73 0.048 21.493*** 0.53 2= 2.892, df= 1, 2/df= 2.892, p-value= 0.089, GFI=0.998, AGFI=0.978, NFI=0.998, CFI=0.999, RMSEA= 0.054, RMR=0.003 หมายเหตุ: − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นค่าคงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 2.892, df = 1, p-value = 0.089, RMSEA = 0.054 ภาพที่ 10 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจ ในงานดา้ นผลประโยชน์ตอบแทน

71 6. ดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน (JS OP) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS OP21, JS OP22, JS OP23 และ JS OP24 การวิเคราะห์จะโมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 1.430 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลให้ค่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.489 แสดงว่า ค่า ไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.995 และค่า NFI เท่ากบั 0.997 ค่า CFI เท่ากบั 1.000 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.006 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.000 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิง ประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ที่โมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางที่ 27 ภาพที่ 11 เม่ือพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS OP21 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.77 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสังเกต JS OP23 มีค่าเท่ากบั 0.30 เมื่อพิจารณาค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และ ค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละคา่ แตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสังเกต JS OP21 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.59 และนอ้ ยท่ีสุดคือ ตวั แปร สงั เกต JS OP23 มีค่า R2เท่ากบั 0.09 แสดงในตารางที่ 27

72 ตารางท่ี 27 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นกฎระเบียบ ในการทาํ งาน ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS OP21 0.77 − − 0.59 JS OP22 0.72 0.080 12.208*** 0.53 JS OP23 0.30 0.050 6.481*** 0.09 JS OP24 0.56 0.059 11.309*** 0.31 2= 1.430, df= 2, 2/df= 0.715, p-value= 0.489, GFI=0.999, AGFI=0.995, NFI=0.997, CFI=1.000, RMSEA= 0.000, RMR=0.006 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 1.430, df = 2, p-value = 0.489, RMSEA = 0.000 ภาพท่ี 11 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจ ในงานดา้ นกฎระเบียบในการทาํ งาน

73 7. ดา้ นเพอื่ นร่วมงาน การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นเพ่ือนร่วมงาน (JS CW) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS CW25, JS CW26, JS CW27 และ JS CW28 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบมีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 3.893 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 2 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.143 แสดงวา่ ค่า ไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.997 ค่า AGFI เท่ากบั 0.987 และค่า NFI เท่ากบั 0.996 ค่า CFI เท่ากบั 0.998 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.007 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.038 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงวา่ โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิง ประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางที่ 28 ภาพที่ 12 การพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบในค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตแต่ละตวั ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS CW27 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุด เท่ากบั 0.83 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสังเกต JS CW28 มีค่าเท่ากบั 0.61 เมื่อพิจารณาค่าความ คลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS CW27 มีค่า R2 มากท่ีสุด เท่ากบั 0.69 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปรสงั เกต JS CW28 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.37 แสดงในตารางท่ี 28

74 ตารางที่ 28 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นเพื่อนร่วมงาน ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS CW25 0.79 − − 0.63 JS CW26 0.67 0.045 16.503*** 0.45 JS CW27 0.83 0.056 19.267*** 0.69 JS CW28 0.61 0.044 14.893*** 0.37 2= 3.893, df= 2, 2/df= 1.947, p-value= 0.143, GFI=0.997, AGFI=0.985, NFI=0.996, CFI=0.998, RMSEA= 0.038, RMR=0.007 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 3.893, df = 2, p-value = 0.143, RMSEA = 0.038 ภาพท่ี 12 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพงึ พอใจ ในงานดา้ นเพอื่ นร่วมงาน

75 8. ดา้ นลกั ษณะงาน การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นลกั ษณะงาน (JS WORK) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS WORK29, JS WORK30, JS WORK31 และ JS WORK32 การวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษพ์ บว่า มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 1.539 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.215 แสดงว่า ค่า ไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั วา่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.999 ค่า AGFI เท่ากบั 0.988 และค่า NFI เท่ากบั 0.998 ค่า CFI เท่ากบั 0.999 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.004 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.029 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิง ประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ที่โมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางท่ี 29 ภาพท่ี 13 เม่ือพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบวา่ ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS WORK31 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.85 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสังเกต JS WORK29 มีค่าเท่ากบั 0.57 เม่ือพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ี ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS WORK31 มีค่า R2 มากท่ีสุดเท่ากบั 0.73 และนอ้ ยที่สุด คือ ตวั แปรสงั เกต JS WORK29 มีค่า R2 เท่ากบั 0.33 แสดงในตารางท่ี 29

76 ตารางที่ 29 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพงึ พอใจในงานดา้ นลกั ษณะงาน ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS WORK29 0.57 − − 0.33 JS WORK30 0.76 0.093 14.794*** 0.58 JS WORK31 0.85 0.118 13.732*** 0.73 JS WORK32 0.76 0.110 13.454*** 0.57 2= 1.539, df= 1, 2/df= 1.539, p-value= 0.215, GFI=0.999, AGFI=0.988, NFI=0.998, CFI=0.999, RMSEA= 0.029, RMR=0.004 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นค่าคงที่ *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 Chi-Square = 1.539, df = 1, p-value = 0.215, RMSEA = 0.029 ภาพที่ 13 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพึงพอใจ ในงานดา้ นลกั ษณะงาน

77 9. ดา้ นการติดต่อสื่อสาร การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความพึงพอใจในงานดา้ นการติดต่อสื่อสาร (JS CM) โดยใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม JS CM33, JS CM34, JS CM35 และ JS CM36 การวเิ คราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบว่า มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 2.380 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 1 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.123 แสดงวา่ ค่า ไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ซ่ึงมีค่า GFI เท่ากบั 0.998 ค่า AGFI เท่ากบั 0.982 และค่า NFI เท่ากบั 0.997 ค่า CFI เท่ากบั 0.998 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.004 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.046 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงว่า โมเดลมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิง ประจกั ษแ์ ละเป็นระดบั ท่ีโมเดลถูกยอมรับ แสดงในตารางที่ 30 ภาพท่ี 14 เม่ือพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบ (Factor Loading) ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปร สังเกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต JS CM35 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุดเท่ากบั 0.79 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต JS CM33 มีค่าเท่ากบั 0.44 เม่ือพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (S.E.) และ คา่ สถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสงั เกต JS CM35 มีค่า R2 มากที่สุดเท่ากบั 0.62 และนอ้ ยท่ีสุดคือ ตวั แปร สงั เกต JS CM33 มีคา่ R2 เท่ากบั 0.44 แสดงในตารางที่ 30

78 ตารางท่ี 30 ผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความพึงพอใจในงานดา้ นการติดต่อส่ือสาร ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตวั แปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 JS CM33 0.66 − − 0.44 JS CM34 0.78 0.088 14.684*** 0.61 JS CM35 0.79 0.080 16.543*** 0.62 JS CM36 0.74 0.089 14.073*** 0.54 2= 2.380, df= 1, 2/df= 2.380, p-value= 0.123, GFI=0.998, AGFI=0.982, NFI=0.997, CFI=0.998, RMSEA= 0.046, RMR=0.004 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นค่าคงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .001 Chi-Square = 2.380, df = 1, p-value = 0.123, RMSEA = 0.046 ภาพท่ี 14 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความพึงพอใจ ในงานดา้ นการติดต่อส่ือสาร

79 ผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยนั ของตัวแปรความผูกพนั ต่อองค์การ 1. ดา้ นความรู้สึก การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นความรู้สึก (OC AFF) โดย ใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตที่ไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม OC AFF1, OC AFF2, OC AFF3, OC AFF4, OC AFF5, OC AFF6, OC AFF7 และ OC AFF8 การวเิ คราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบว่า มีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากบั 9.622 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 6 ส่งผลใหค้ ่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.141 แสดงวา่ ค่า ไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั วา่ มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.996 ค่า AGFI เท่ากบั 0.978 และค่า NFI เท่ากบั 0.990 ค่า CFI เท่ากบั 0.996 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.035 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.030 (มีค่า ≤ 0.08) แสดงในตารางท่ี 31 ภาพท่ี 15 เมื่อพิจารณาค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบในค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตแต่ละตวั ค่าคะแนนมาตรฐานของตวั แปรสงั เกตไดแ้ ต่ละตวั ตอ้ งมีค่ามากกวา่ หรือเท่ากบั 0.30 (Kim and Mueller, 1978: 68-70 อา้ งใน ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2556: 104) จากผลการวิเคราะห์พบว่า ค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบทุกค่าผา่ นเกณฑ์ โดยตวั แปรสังเกต OC AFF1 มีค่าน้าํ หนกั องคป์ ระกอบมากท่ีสุด เท่ากบั 0.73 และนอ้ ยท่ีสุด คือ ตวั แปรสังเกต OC AFF8 มีค่าเท่ากบั 0.32 เม่ือพิจารณาค่าความ คลาดเคล่ือนมาตรฐาน (S.E.) และค่าสถิติ t-value พบวา่ น้าํ หนกั องคป์ ระกอบแต่ละค่าแตกต่างจาก 0 อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001 ส่วนค่า R2 ของตวั แปรสังเกต OC AFF1 มีค่า R2 มากที่สุด เท่ากบั 0.54 และนอ้ ยที่สุดคือ ตวั แปรสงั เกต OC AFF8 มีค่า R2 เท่ากบั 0.10 แสดงในตารางที่ 31

80 ตารางท่ี 31 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นความรู้สึก ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ตัวแปรสังเกตได้ นํา้ หนักองค์ประกอบ ค่าสัมประสิทธ์ิ Loading S.E. t-value R2 OC AFF1 0.73 − − 0.54 OC AFF2 0.40 0.067 7.519*** 0.16 OC AFF3 0.34 0.072 6.140*** 0.11 OC AFF4 0.58 0.078 9.827*** 0.33 OC AFF5 0.62 0.075 10.387*** 0.38 OC AFF6 0.53 0.062 8.900*** 0.28 OC AFF7 0.55 0.102 8.762*** 0.31 OC AFF8 0.32 0.079 6.639*** 0.10 2= 9.622, df= 6, 2/df= 1.604, p-value= 0.141, GFI=0.996, AGFI=0.978, NFI=0.990, CFI=0.996, RMSEA= 0.030, RMR=0.035 หมายเหต:ุ − หมายถึง โปรแกรมไม่แสดงพารามิเตอร์บงั คบั บนเสน้ ซ่ึงเป็นคา่ คงท่ี *** หมายถึง นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .001

81 Chi-Square = 9.622, df = 6, p-value = 0.141, RMSEA = 0.030 ภาพท่ี 15 การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั ของโมเดลการวดั ตวั แปรตวั แปรความผกู พนั ต่อ องคก์ ารดา้ นความรู้สึก 2. ดา้ นการคงอยู่ การวิเคราะห์โมเดลการวดั ตวั แปรความผกู พนั ต่อองคก์ ารดา้ นการคงอยู่ (OC CN) โดย ใชว้ ิธีการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ดว้ ยโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ประกอบดว้ ย ตวั แปรสงั เกตท่ีไดจ้ ากขอ้ คาํ ถาม OC CN9, OC CN10, OC CN11, OC CN12, OC CN13, OC CN14, OC CN15 และ OC CN16 ผลการวิเคราะห์โมเดลการวดั ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ พบว่า มีค่าไค- สแควร์ (χ2) เท่ากบั 10.335 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากบั 6 ส่งผลให้ค่า p-value มีค่าเท่ากบั 0.111 แสดงให้เห็นว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2) แตกต่างจาก 0 อยา่ งไม่มีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คือ ยอมรับโมเดลการวดั ว่า มีความกลมกลืนสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ โดยมีค่า GFI เท่ากบั 0.996 ค่า AGFI เท่ากบั 0.976 และค่า NFI เท่ากบั 0.985 ค่า CFI เท่ากบั 0.993 (มีค่า ≥ 0.90) และค่า RMR เท่ากบั 0.015 ค่า RMSEA เท่ากบั 0.033 (มีคา่ ≤ 0.08) แสดงในตารางที่ 32 ภาพท่ี 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook