Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสื่อสารการค้าบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา

การสื่อสารการค้าบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา

Published by Esan NFE E-Book, 2021-10-28 08:28:39

Description: ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การสื่อสารการค้าบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา เป็นชุดเสริมการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การสื่อสารและการค้าชายแดน การตลาด ผลิตภัณฑ์สินค้าและช่องทางการจัดจำหน่าย ธุรกิจการค้าชายแดน การกำหนดราคาและอัตราแลกเปลี่ยน คำศัพท์และการสนทนาเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า สำหรับนักศึกษา กศน.และประชาชนทั่วไปได้ศึกษา

Keywords: ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง,การค้าบริเวณชายแดน,การสนทนาเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า,นักศึกษา กศน.และประชาชนทั่วไปได้ศึกษา

Search

Read the Text Version

ชดุ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง เรอ่ื ง การสือ่ สารการค้าบริเวณชายแดนไทย – กัมพชู า สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

(2)

(3) คำนำ ชุดการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง เรอื่ ง การส่อื สารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กมั พูชา เป็น ชุดเสรมิ การเรียนรู้ ทม่ี เี นื้อหาเก่ยี วกับ การสอ่ื สารและการคา้ ชายแดน การตลาด ผลติ ภณั ฑ์ สินค้าและช่องทางการจัดจาหน่าย ธุรกิจการค้าชายแดน การกาหนดราคาและอัตรา แลกเปลี่ยน คาศัพท์และการสนทนาเก่ียวกับการซอื้ ขายสนิ ค้า สาหรบั นักศึกษา กศน. และ ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา โดยครู กศน. จะให้คาแนะนาในการจัดการเรียนรู้แก่นักศึกษา กศน. ให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ทั้ง การทางาน การเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการเรียนรู้ด้านภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน ท่ีมีพื้นที่ชายแดนติดต่อกัน ท่ีสามารถนามาใช้ในการส่ือสาร และการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ท่ีม่ังคั่งและม่ันคง เพ่ือให้สามารถก้าวสู่ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอขอบคุณสานักงาน กศน. จังหวัด และ สถานศึกษาในพื้นที่บริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา ท่ีให้ความร่วมมือดาเนินการพัฒนา ชดุ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง จนสาเร็จลุลว่ งและสามารถนาสกู่ ารปฏิบตั ไิ ด้ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

(4) สารบญั (2) เรื่อง หน้า คำนำ (2) สำรบญั (3) รำยละเอียดชดุ กำรเรยี นรู้ (7) คำแนะนำกำรใช้ชดุ กำรเรยี นรู้ (10) แบบทดสอบก่อนเรยี นชุดกำรเรียนรู้ (13) เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนชดุ กำรเรียนรู้ (17) หนว่ ยที่ 1. การสือ่ สารและการคา้ ชายแดน 1 แนวคิด วตั ถปุ ระสงค์ ขอบข่ำยเนือ้ หำ 2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 1 4 เร่ืองที่ 1.1 กำรส่ือสำรและกำรคำ้ ชำยแดน 6 เรื่องที่ 1.2 รปู แบบกำรคำ้ ชำยแดน 10 เรอ่ื งที่ 1.3 คำศัพทท์ เี่ ก่ยี วข้องกับกำรค้ำชำยแดน 12 กจิ กรรมหนว่ ยที่ 1 15 แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 1 16 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลงั เรยี น และกจิ กรรมหน่วยท่ี 1 หน่วยที่ 2. การตลาด 18 แนวคิด วตั ถุประสงค์ ขอบข่ำยเน้ือหำ 19 แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 2 เรื่องที่ 2.1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรตลำด 20 22 เรื่องท่ี 2.2 กลยุทธก์ ำรตลำด 24 เรอ่ื งท่ี 2.3 สว่ นประสมทำงกำรตลำด 27 เร่อื งท่ี 2.4 คำศัพทท์ เ่ี ก่ียวข้องกับกำรตลำด 29 กจิ กรรมหนว่ ยท่ี 2 32 แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 2 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน และกจิ กรรมหนว่ ยที่ 2 35 36 38

(3) ( 5 ) หนว่ ยที่ 3. ผลิตภัณฑส์ ินคา้ และช่องทางการจดั จาหนา่ ย 39 แนวคดิ วตั ถุประสงค์ ขอบขำ่ ยเน้ือหำ 40 แบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 3 เร่ืองท่ี 3.1 ผลิตภณั ฑส์ นิ คำ้ 42 เรื่องที่ 3.2 กำรจัดจำหนำ่ ยและช่องทำงกำรจัดจำหน่ำยสินค้ำ 44 เรื่องที่ 3.3 คำศัพทท์ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั ผลิตภัณฑ์และช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย กจิ กรรมหน่วยที่ 3 48 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 3 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรยี น และกิจกรรมหน่วยที่ 3 50 54 หน่วยที่ 4. ธรุ กจิ การคา้ ชายแดน แนวคดิ วตั ถุประสงค์ ขอบขำ่ ยเนอื้ หำ 56 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยท่ี 4 เรื่องท่ี 4.1 ธุรกิจกำรคำ้ และประเภทของร้ำนค้ำปลีก 58 เร่อื งที่ 4.2 ควำมหมำยของกำรคำ้ ส่ง 60 61 เรื่องท่ี 4.3 กลยทุ ธ์ตลำดกำรคำ้ ส่ง 63 เรอื่ งที่ 4.4 คำศพั ทท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับธุรกจิ กำรค้ำ กจิ กรรมหน่วยที่ 4 65 แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 4 68 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรียน และกิจกรรมหน่วยที่ 4 หนว่ ยท่ี 5. การกาหนดราคาและอตั ราแลกเปลี่ยน 71 แนวคดิ วัตถปุ ระสงค์ ขอบข่ำยเนอื้ หำ แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยที่ 5 73 เรื่องท่ี 5.1 กำรกำหนดรำคำ 75 เรื่องที่ 5.2 รปู แบบกำรกำหนดรำคำ เร่อื งที่ 5.3 คำศัพท์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สกุลเงินและอัตรำแลกเปล่ียน 76 กิจกรรมหน่วยที่ 5 แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 5 78 80 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หลงั เรียน และกิจกรรมหน่วยท่ี 5 81 83 85 87 92 95 97 99

(6) (4) หน่วยที่ 6. คาศัพท์และการสนทนาเก่ียวกับการซอื้ ขายสนิ คา้ 101 แนวคิด วตั ถุประสงค์ ขอบขำ่ ยเนื้อหำ 102 แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยที่ 6 104 เร่ืองที่ 6.1 คำศัพท์ที่เกย่ี วขอ้ งกับเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ำและของที่ระลึก 106 เรื่องท่ี 6.2 คำศพั ทท์ ี่เกีย่ วข้องกบั อำหำร เครอ่ื งด่มื และผลไม้ 108 เรอื่ งที่ 6.3 ประโยคท่ีใช้ในกำรซอ้ื สนิ ค้ำ 111 เรือ่ งท่ี 6.4 ประโยคทเ่ี ก่ียวกบั กำรซ้ือขำยสนิ ค้ำเคร่ืองไฟฟ้ำ 114 เรอื่ งที่ 6.5 บทสนทนำเก่ียวกบั กำรซอ้ื ขำยสินคำ้ 115 กจิ กรรมหน่วยท่ี 6 117 แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 6 118 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรียน และกจิ กรรมหน่วยท่ี 6 120 แบบทดสอบหลงั เรยี นชดุ กำรเรียนรู้ 121 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนชดุ กำรเรียนรู้ 125 บรรณานุกรม 126 คณะผู้จดั ทา 129

(5) ( 7 ) รำยละเอยี ดชดุ กำรเรียนรูด้ ้วยตนเอง เรื่อง กำรสือ่ สำรกำรค้ำบริเวณชำยแดนไทย - กมั พูชำ ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย จำนวน 36 ชว่ั โมง คำอธบิ ำยชดุ กำรเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ชดุ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง เรื่อง การส่อื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กมั พชู า เป็นชุดเสริมการเรียนรู้ ท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับ การสื่อสารการค้าชายแดน การตลาด ผลิตภัณฑ์สินค้าและช่องทางการจัดจาหน่าย ธุรกิจการค้าชายแดน การกาหนดราคา และอัตราแลกเปลี่ยน คาศัพท์และการสนทนาเก่ียวกับการซื้อขายสินค้า เพื่อการ ประกอบอาชีพธุรกจิ การค้าบริเวณชายแดนไทย กมั พูชา ให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา เป็นการฝึกทักษะ การใช้ศัพท์ธุรกิจการค้าภาษาอังกฤษและภาษาเขมร เพื่อการ ประกอบอาชพี การค้าบริเวณชายแดนไทย กมั พชู า เพอ่ื รองรบั ประชาคมอาเซียน จุดประสงค์ คแส ส กแอล้าินลาาินขกชรกค2คาคเีพเ.้ยปา้าปา้1กแบแลขล.ใาลล12ร่ียาหี่ยรใ..ิเะะยนวนคใ้ผใหชบชณหหา้ ้เูผ้่อร่ร อบคผ้ผ้ช้เู-ยีิเงงราวรเูู้เ้าทนรรคทศยีณเิยวยีียาสน�ำัพแานณชงนศางมดทกามัพมสกชนคียา์แคีาทาาารวแไลรยมวรจ์แาดทถะแาจามัดลนมยใกดรัดรจะชไรถาน–ู้คจ�ำก้คคทรู้ใหไาวกาสชวายหทรานัมศาค้นมส–ยนม่าพัพำ�เทนยเขกศ่–าทูชข นยท้าัมพั ากา้์ ใ าไในพทัมจธสเธจดกาชู์ พุร ุาร้ถเ ่ียาสก กนกชูกกูกไวิจ�ำี่ยาาวาิจดตกนรกวรนไกถ้อ้ับสกสาวดากูงรับนอก่ื่ือป้รคตสาก สคร ้า้อรปาาาะ้ชาซงรรรรชโากซื้ะอกยยาาโข้ือาคแยรยรขาดงแคคคย่าานดา้ ง้าสยยช นช่าสิน ๆายากินยคกยๆแาคทแ้าาร ด ้าดรทีเ่กกน กนเี่ �ำเ่ยีกพ หา กวเย่ีหื่อพกนกาวปราน่ือบัดกรตรปดรบักตละารรากลากคระาดาาาอปกครดผแบอปราลลแะบอผรติะกละลาอภออชกะติาณััตบชีพออภรฑีพบัตกัณา ์รา ฑรา์ อาชพี การคา้ บรเิ วณชายแดนไทย – กัมพูชา ได้ ข ขออบบขข่ำา่ ยยชเเนุดนื้อก้ือหาหรำาเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ประกอบด้วยเน้อื หา 6 หนว่ ยการเรียนรู ้ ใชเ้ วลาเรยี น ทั้งหมดช ุด36ก า ชรั่วเรโียมนง รแู้ดบ้วง่ อยอตกนไเดอ ้ง ดงั ปนร้ี ะกอบด้วยเนื้อหา 6 หน่วยการเรียนรู้ ใช้ เวลาเรียนท้ังหมด 36 ช่ัวโมง แบง่ ออกได้ ดงั นี้

(8) (6) หนว่ ยที่ 1. กำรส่ือสำรและกำรคำ้ ชำยแดน 6 ชั่วโมง เรือ่ งท่ี 1.1 การส่ือสารและการคา้ ชายแดน 6 ช่ัวโมง 6 ช่วั โมง เรื่องท่ี 1.2 รปู แบบการคา้ ชายแดน 6 ช่วั โมง 6 ชั่วโมง เรือ่ งท่ี 1.3 คาศพั ท์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการคา้ ชายแดน หน่วยท่ี 2. กำรตลำด เรอื่ งท่ี 2.1 ความหมายและความสาคญั ของการตลาด เรือ่ งที่ 2.2 กลยุทธ์การตลาด เร่อื งท่ี 2.3 สว่ นประสมทางการตลาด เรอ่ื งท่ี 2.4 คาศพั ทท์ เ่ี กี่ยวข้องกบั การตลาด หน่วยท่ี 3. ผลิตภัณฑ์สนิ ค้ำและชอ่ งทำงกำรจดั จำหนำ่ ย เรอ่ื งท่ี 3.1 ผลติ ภัณฑ์สินค้า เรอื่ งที่ 3.2 การจดั จาหนา่ ยและชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย เร่ืองที่ 3.3 คาศัพทท์ เ่ี กี่ยวขอ้ งกับผลิตภัณฑ์สนิ คา้ และชอ่ งทางการจัดจาหน่าย หน่วยที่ 4. ธรุ กจิ กำรคำ้ ชำยแดน เร่ืองท่ี 4.1 ธุรกิจการค้าและประเภทของรา้ นคา้ ปลีก เรื่องท่ี 4.2 ความหมายของการคา้ ส่ง เร่ืองท่ี 4.3 กลยทุ ธต์ ลาดการคา้ ส่ง เร่ืองท่ี 4.4 คาศพั ทท์ เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ธุรกิจการคา้ หนว่ ยท่ี 5. กำรกำหนดรำคำและอัตรำแลกเปลี่ยน เร่อื งท่ี 5.1 การกาหนดราคา เร่อื งท่ี 5.2 รูปแบบการกาหนดราคา เร่อื งท่ี 5.3 คาศพั ท์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับสกลุ เงินและอตั ราแลกเปลี่ยน

(9) (7) หน่วยท่ี 6. คำศัพท์และกำรสนทนำเกยี่ วกับกำรซ้ือขำยสินคำ้ 6 ช่ัวโมง เรอ่ื งท่ี 6.1 คาศัพทเ์ กี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟา้ และของท่ีระลึก เรอื่ งที่ 6.2 คาศัพทเ์ กย่ี วกบั อาหาร เคร่ืองดมื่ และผลไม้ เร่อื งที่ 6.3 ประโยคทีใ่ ชใ้ นการซือ้ สนิ ค้า เร่อื งที่ 6.4 ประโยคทเ่ี ก่ียวกบั การซ้ือขายสนิ ค้าเคร่ืองไฟฟา้ เรอ่ื งที่ 6.5 บทสนทนาเก่ียวกับการซอ้ื ขายสินค้า กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ 1. ศึกษาเอกสารชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การสื่อสารการค้าบริเวณ ชายแดนไทย – กัมพูชา สาหรับนักศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย และประชาชนท่ัวไป หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการค้าชายแดน และให้ทาการศึกษาด้วยตนเอง จานวน 36 ชวั่ โมง 2. ฝึกการออกเสียงฝึกทักษะ คาศัพท์ สานวน และประโยคพื้นฐานท่ัวไปมี ศัพท์ภาษาอังกฤษและการออกเสียงภาษาเขมร จากแผ่นวีดิทัศน์ประกอบชุดการเรียน ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั อาชพี การคา้ ชายแดน 3. เพ่ือเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ให้มีการพบกลุ่ม โดยครู กศน. ให้ คาแนะนาในการเรยี นชุดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และใหค้ วามรู้เพ่ิมเติม กำรวัดและประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน ชดุ การเรียน 2. แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น ในแต่ละหนว่ ยการเรียน ท้ัง 6 หนว่ ย การเรียน 3. กิจกรรมท้ายหนว่ ย จานวน 6 หนว่ ยการเรียน

( 10 ) คำแนะนำกำรใชช้ ุดกำรเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เร่ือง กำรสือ่ สำรกำรคำ้ บริเวณชำยแดนไทย - กมั พูชำ ชดุ การเรยี นรดู้ ้วยตนเองเรอื่ ง การส่ือสารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กมั พชู า ประกอบด้วย 1. เนื้อหาในชุดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จานวน 6 หนว่ ยการเรียนรู้ 2. สือ่ วีดิทศั น์ การออกเสียงคาศพั ท์ภาษาเขมร 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น ของชุดการเรยี นรู้ 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น แต่ละหน่วยการเรียน 5. กิจกรรมท้ายหน่วยในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ 1. วิธีการศกึ ษาดว้ ยตนเอง การศึกษาด้วยตนเองมีความแตกต่างจากการศึกษาโดยชั้นเรียนเป็นอย่างมาก นักศึกษาจะต้องฝึกตนเองโดยการอ่านเนื้อหาในชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทุกหน่วย ตามลาดับในการศึกษาแต่ละหน่วย นักศึกษาควรใช้เวลาในการศึกษาหน่วยละ 6 ช่ัวโมง หรือ 1 หน่วยภายใน 1 สัปดาห์ และศึกษาคาศัพทจ์ ากวีดิทศั น์ประกอบชุดการเรียน การ ออกเสียงภาษาเขมรในแต่ละหน่วยให้ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในเนื้อหาได้ดีข้ึน และผู้เรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมการออกเสียงคาศัพท์ภาษาเขมร หน่วยที่ 1 – หน่วยที่ 6 จาก youtube.com/results?search query = ไพจติ ร ผดุ เพชรแกว้ 2. การประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน ก่อนท่ีนักศึกษาจะเริ่มศึกษาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง นักศึกษาจะต้องทา แบบทดสอบก่อนเรียนของชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ท้ังนี้เพื่อให้นักศึกษาประเมินความ เข้าใจในเรื่องน้ัน ๆ ก่อนศึกษาว่ามีความเข้าใจมากน้อยเพียงใด แล้วจึงศึกษาเนื้อหาใน หน่วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง เม่ือศึกษาจบแล้วนักศึกษาจะต้องทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อทดสอบตนเองว่ามีความเข้าใจเน้ือหามากขึ้นเพียงใด โดยมีแบบทดสอบของชุดการ เรียนด้วยตนเอง แบบปรนัย จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 1 ช่ัวโมง ตรวจคาตอบจากเฉลย ด้านล่างของแบบทดสอบ และแบบทดสอบของแต่ละหน่วยการเรียน จานวน 10 ข้อ

นักศึกษาควรใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที ตรวจเฉลยแบบทดสอบหลังหน่วยการเรียน เพ่ือ ประเมินผลเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเรียนว่ามีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ และ ( 11 ) นักศึกษาจะได้กลับไปทบทวนในเนื้อหาที่ยังไม่เข้าใจ หากผู้เรียนทาคะแนนได้ต่ากว่า รอ้ ยละ 80 ขอได้โปรดศกึ ษาในเรื่องน้นั ซา้ อกี จนกวา่ สามารถทาคะแนนเพมิ่ ข้นึ 3. การศึกษาเอกสารชดุ การเรียนรูด้ ้วยตนเองและการทากิจกรรม 3.1 ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่ือง การสื่อสารการค้าบริเวณชายแดนไทย กัมพูชา เป็นชุดการเรียนที่ประกอบด้วย เอกสารชุดการเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี นของชุดการเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นของแต่ละหน่วยการ เรยี น กจิ กรรมท้ายหนว่ ยของหน่วยการเรียน สือ่ วีดิทศั นก์ ารออกเสยี งคาศัพทภ์ าษาเขมร ซ่ึงสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง และศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน ในเล่ม ประกอบด้วยเน้ือหา 6 หน่วยการเรียน โดยใช้เวลาในการศึกษาตลอดชุดการเรียน 36 ชั่วโมง 3.2 ศึกษาคาแนะนาการใช้ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อทราบขอบข่ายเนื้อหา ของชดุ การเรยี น และวธิ ีการศึกษา จะได้วางแผนการเรยี นรู้ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 3.3 ในการศกึ ษาแตล่ ะหนว่ ยการให้ปฏิบัตดิ งั น้ี 3.3.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน ของชดุ การเรยี น จานวน 30 ข้อ แล้วตรวจ เฉลยทใี่ หไ้ วท้ า้ ยแบบทดสอบ 3.3.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ของหน่วยการเรยี น จานวน 10 ข้อ แล้ว ตรวจเฉลยท่ใี หไ้ ว้ท้ายหนว่ ยการเรียน 3.3.3 อา่ นและทาความเขา้ ใจเอกสารชุดการเรยี น กอ่ น 1 รอบ 3.3.4 อ่าน แนวคิด วัตถุประสงค์ ขอบข่ายเน้ือหา ในแต่ละหน่วยให้ เขา้ ใจเพือ่ ให้ทราบว่าในแต่ละหนว่ ยน้ันมีจุดเน้นอะไร 3.3.5 อา่ นเนอ้ื หาทุกหน่วยการเรียนให้เข้าใจ และศกึ ษาคาศพั ท์ จากสอื่ วีดิทัศน์ ในแต่ละหน่วยการเรียน การออกเสียงภาษาเขมรท่ีแนบมากับสื่อเอกสาร ประกอบชุดการเรยี น จนมคี วามเขา้ ใจ และพูดออกเสียงภาษาเขมรได้

( 12 ) 3.3.6 ทาแบบทดสอบหลังเรียน และกิจกรรมท้ายหน่วยทุกหน่วยการ เรียน โดยมแี นวตอบทา้ ยหนว่ ยการเรียน 3.3.7 ทาแบบทดสอบหลังเรียน ของชุดการเรียน จานวน 30 ข้อ แล้ว ตรวจเฉลยทใ่ี ห้ไว้ทา้ ยแบบทดสอบ 3.3.8 เมื่อศกึ ษาจบแล้วหากยังไม่เขา้ ใจในเน้ือหาให้นักศึกษาทบทวนความเข้าใจ ด้วยตนเองในเร่ืองน้ัน ๆ เพราะอาจมีรายละเอียดและแง่มุมต่าง ๆ ท่ีจะทาให้นักศึกษามี ความรคู้ วามเขา้ ใจกวา้ งขวางย่งิ ขน้ึ

( 13 ) แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ กำรเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ช้แี จง: จงอำ่ นคำถำมตอ่ ไปน้ี และเลอื กคำตอบที่ถกู ทส่ี ดุ เพียงคำตอบเดยี ว 1. ข้อใดไม่ใชล่ ักษณะของการค้าชายแดน 5. เปีย นจึ จกัม ตาม ปรม แดน คือขอ้ ใด ก. การซ้อื ขายสนิ ค้าครั้งละมาก ๆ ก. การค้าผ่านแดน ข. สินคา้ ทข่ี ายตามแนวชายแดน ข. การคา้ ชายแดน ค. การซื้อขายสนิ ค้าครัง้ ละไม่มาก ค. ลักษณะพิเศษ ง. สนิ คา้ ทใี่ ชใ้ นการอุปโภคบรโิ ภค ง. จดุ ผา่ นแดน 2. การคา้ ชายแดนไทย - กัมพชู า มลี กั ษณะ 6. ธุรกจิ ท่มี ใี หเ้ กิดการนาสินค้าหรอื บรกิ ารจาก อย่างไร ผู้ผลติ ไปสผู่ ู้บริโภค หมายถงึ ข้อใด ก. การซือ้ ขายสนิ คา้ ราคาถกู ก. พ่อค้าคนกลาง ข. การซ้ือขายระหวา่ งคนนอกพน้ื ที่ ข. การบริโภค ค. การซื้อขายระหว่างคนในพืน้ ทชี่ าย ค. การขนส่ง แดนด้วยกัน ง. การตลาด ง. การซ้ือขายสินคา้ ทมี่ ีย่ีห้อ 7. Marketing คอื ข้อใด 3. Sale on Consignment License หมายถงึ ก. การตลาด ก. การค้าแบบขายฝาก ข. การซือ้ ข. การค้าแบบเงินสด ค. การขาย ค. การคา้ แบบตา่ งตอบแทน ง. การจาหน่าย ง. การนาติดตวั ไปบรโิ ภค 8. ขอ้ ใดไม่เป็นการสง่ เสริมทางการตลาด 4. การค้าต่างตอบแทน หมายถงึ ก. ใบปลิว ก. Balance Trade ข. นิตยสาร ข. Sale on Consignment License ค. การจดั ประชุม ค. Consumer Trade ง. ผดิ ทกุ ขอ้ ง. Cash

( 14 ) 9. การ ซแวง ย็วล ปี ตี พซา คอื ข้อใด 14. จดุ เด่นของผลติ ภณั ฑ์ คอื ขอ้ ใด ก. การสง่ เสรมิ การขาย ก. Product Feature ข. การตลาด ค. การกาหนดเปา้ หมาย ข. Core Product ง. การจาหนา่ ย ค. Product Attribute 10. กา พซ็อบ พซายปว็ งรกี ตี พซา ก. การบรกิ ารกลยุทธ์ ง. Product Benefit ข. การขายผา่ นสอ่ื 15. ข้อใดคือ ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย ค. การส่งเสริมทางการตลาด ง. การตลาด ทางตรง 11. ข้อใดไม่ใชอ่ งคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ ก. ผ้ผู ลติ > ผ้คู ้าสง่ > ผูบ้ รโิ ภค ก. ผลติ ภณั ฑห์ ลกั ข. ผผู้ ลติ > ผู้คา้ ปลีก > ผบู้ ริโภค ข. ผลติ ภณั ฑร์ อง ค. ผผู้ ลิต > ผคู้ ้าปลกี > ผคู้ า้ สง่ ค. จุดเด่นของผลิตภณั ฑ์ ง. ผผู้ ลติ > ผู้บรโิ ภค ง. คุณสมบตั ิของผลิตภัณฑ์ 16. ข้อใดคือรูปแบบของการค้าปลกี 12. Core Product คอื ข้อใด ก. การคา้ ท่ัว ๆ ไป ก. คณุ สมบตั ขิ องผลิตภัณฑ์ ข. การค้าปลีกทีต่ ้องอาศัยหนา้ รา้ น ข. ผลิตภณั ฑ์รอง ค. การคา้ ปลกี ที่ไม่ตอ้ งอาศัยหนา้ ร้าน ค. จุดเดน่ ของผลิตภณั ฑ์ ง. การค้าปลกี ทีไ่ ม่ตอ้ งอาศยั และ ง. ผลิตภัณฑห์ ลกั อาศัยหน้ารา้ น 13. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ถี ูกต้อง 17. รา้ นคา้ สะดวกซื้อ คือขอ้ ใด ก. ผลติ ภณั ฑ์ มี 5 ประเภท ข. ผลติ ภณั ฑ์ มี 4 ประเภท ก. Specialty Store ค. ผลิตภณั ฑ์ มี 3 ประเภท ง. ผลิตภัณฑ์ มี 2 ประเภท ข. Small Retailer ค. Convenience Store ง. Supermarket

( 15 ) 18. ขอ้ ใดคือประเภทผู้ค้าส่ง 22. การตัง้ ราคาโดยบวกต้นทุนผันแปรเป็นวธิ ี ก. การขายฝาก ราคาจากขอ้ ใด ก. คิดจากตน้ ทุนของสินคา้ ข. การขายไมผ่ ่านคนกลาง ข. คดิ จากราคาขายสนิ ค้า ค. คิดจากกาไร ค. การขายสินคา้ โดยตรง ง. ถูกทกุ ข้อ ง. นายหนา้ และตวั แทน 23. 4,000 เรียลมคี ่าเท่ากับกี่ดอลลา่ ร์อเมริกา 19. Broker and Agents หมายถงึ ก. 4 ดอลล่าร์อเมริกา ก. ตัวแทนหรอื นายหนา้ ข. 3 ดอลลา่ ร์อเมรกิ า ข. ร้านคา้ สง่ ค. 2 ดอลล่ารอ์ เมรกิ า ค. ร้านค้าส่งเตม็ รปู แบบ ง. 1 ดอลล่ารอ์ เมรกิ า ง. ร้านค้าจากดั บริการ 24. เงนิ เรียลเปน็ สกุลเงนิ ของประเทศใด 20. เน๊ยี ะ ลว็ ก ดม คือข้อใด ก. เวียดนาม ก. ผู้ค้าปลีก ข. กัมพชู า ข. ผคู้ า้ สง่ ค. ลาว ค. ผูจ้ ดั จาหนา่ ย ง. อนิ โดนีเซยี ง. การขายตรง 25. สือ่ กลางในการแลกเปลี่ยน คือขอ้ ใด 21. รูปแบบการกาหนดราคาขอ้ ใดถกู ตอ้ ง ก. เงิน ข. สมุดบัญชีธนาคาร ก. การกาหนดราคาภายใต้ภาวการณ์ ค. รถยนต์ ง. ทองคา แขง่ ขนั สมบรู ณ์ 26. พดั ลมไฟฟ้า หมายถงึ ขอ้ ใด ข. การกาหนดราคาใหส้ ูงกวา่ ราคา ก. Electric Fan ตลาด ข. Electric Pan ค. การกาหนดราคาไมต่ ้องคานงึ ถึง ค. Electric Pot คุณภาพสินคา้ ง. Toaster ง. การกาหนดราคาไม่ตอ้ งคานึงถึง ผู้บรโิ ภค

( 16 ) 29. บายซาย คอื ข้อใด ก. ข้าวสาร 27. ตูระซับได คอื ขอ้ ใด ก. เครอ่ื งเลน่ ดีวีดี ข. ขา้ วสวย ข. ของท่รี ะลึก ค. หมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟา้ ค. ขา้ วผัด ง. โทรศัพท์มือถอื ง. ขา้ วผดั ไก่ 28. ของท่ีระลึกคอื ข้อใด ก. Ceramic Doll 30. กยุ เตียวตกึ คือข้อใด ข. Souvenir ก. กว๋ ยเตี๋ยวนา้ ค. Reed Mat ง. Basket ข. กว๋ ยเต๋ียวเนือ้ ค. กว๋ ยเตย๋ี ว ง. ถูกทุกข้อ

ขอ้ ท่ี 1 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ( 17 ) ข้อที่ 2 ขอ้ ท่ี 3 ก ข้อท่ี 16 ง ขอ้ ที่ 4 ค ข้อท่ี 17 ค ข้อท่ี 5 ก ข้อท่ี 18 ง ข้อที่ 6 ก ข้อที่ 19 ก ข้อท่ี 7 ข ขอ้ ที่ 20 ข ข้อที่ 8 ง ขอ้ ที่ 21 ก ขอ้ ที่ 9 ก ขอ้ ที่ 22 ก ข้อที่ 10 ง ขอ้ ท่ี 23 ง ขอ้ ที่ 11 ข ข้อท่ี 24 ข ข้อที่ 12 ค ขอ้ ท่ี 25 ก ข้อท่ี 13 ข ข้อที่ 26 ค ขอ้ ที่ 14 ง ขอ้ ที่ 27 ง ขอ้ ที่ 15 ง ข้อท่ี 28 ข ก ข้อที่ 29 ข ง ขอ้ ที่ 30 ก

หน่วยท่ี 1 กำรสอ่ื สำรและกำรคำ้ ชำยแดน

ชดุ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง เรอื่ ง การสือ่ สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา 2 1การสกื่อสาารรสแล่ือะสกาารรคา้แชลายะแกดานรค้าชายแดน หน่วยท่ี 1 หน่วยท่ี แนวคดิ การค้าชายแดนของไทยกับประเทศ เพื่อนบ้านมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหน่ึงเป็นผลจากการท่ีประเทศเพ่ือนบ้านเหล่านี้มีการปรับเปล่ียนนโยบาย เศรษฐกิจและการค้าเสรีมากขึ้น รวมถึงความร่วมมือ และการตกลงทางการค้าในรูปแบบ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มอนุภูมิภาค ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนมีส่วนช่วยส่งเสริมให้มูลค่า การค้าระหว่างกันเพิ่มสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง การสื่อสารจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องรู้คาศัพท์ที่ เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน ซ่ึงสามารถติดต่อค้าขายชายแดนได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้คนที่ อาศัยอยู่ในบริเวณชายแดนที่สามารถส่ือสาร และให้ความร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ มากขึ้นอีกด้วย วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้นกั ศึกษาสามารถอธบิ าย 1. อธบิ ายความหมายการส่ือสารการคา้ ชายแดน 2. ศึกษารปู แบบการค้าบรเิ วณชายแดนไทย – กมั พชู า ได้ 3. ศึกษาศัพทเ์ ก่ียวกับการค้าชายแดนเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเขมรได้ ขอบข่ายเนอื้ หา เร่ืองที่ 1.1 การส่ือสารและการคา้ ชายแดน เรื่องท่ี 1.2 รูปแบบการค้าชายแดน เรือ่ งท่ี 1.3 คาศพั ท์ท่ีเกีย่ วข้องกบั การค้าชายแดน รปู แบบการค้าชายแดน และชอ่ งทางการค้า กิจกรรมการเรียนรูป้ ระจาหน่วย 1. ศกึ ษาเอกสารเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1.1 – 1.3 ด้วยตนเอง 2. ศึกษาคาศพั ท์และการออกเสียงภาษาเขมร จากสื่อวีดิทศั น์ ในเรอ่ื งที่ 1.3 ประกอบ 3. ปฏบิ ัติกิจกรรมทไ่ี ด้รับมอบหมายตามเอกสารชดุ การเรยี นแตล่ ะหนว่ ยการเรียน สอื่ การเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียน

2. ศึกษาคาศพั ท์และการออกเสียงภาษาเขมร จากสื่อวีดทิ ศั น์ ในเรอ่ื งท่ี 1.3 3 ชุดการเรยี นรู้ด้วยปตนรเอะงกเรออ่ื บง การสอ่ื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ไี ดร้ ับมอบหมายตามเอกสารชุดการเรียนแต่ละหน่วยการเรียน สื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. สื่อวีดิทัศน์ประกอบชดุ การเรยี น 3. กจิ กรรมที่ 1 4. รูปภาพ การประเมินผล 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ทากจิ กรรมท้ายหน่วยที่ 1 3. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เมอ่ื อ่าน แนวคดิ วัตถปุ ระสงค์ ขอบข่ายเนือ้ หา หนว่ ยที่ 1 แลว้ ให้ทา แบบทดสอบก่อนเรียน ศึกษาเอกสารชุดการเรียน และส่ือวีดิทัศน์ คาศพั ท์ภาษาเขมรในเร่ืองท่ี 1.3 พร้อมปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างต่อเนื่อง และเม่ือศึกษาจบหน่วยการเรียนแล้วให้ทากิจกรรมในหน่วยท่ี 1 และ แบบทดสอบหลังเรยี น

ชดุ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง เร่ือง การสื่อสารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพชู า 4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 1. คาชีแ้ จง: จงอ่านคาถามตอ่ ไปนี้ และเลอื กคาตอบท่ีถกู ทีส่ ดุ เพียงคาตอบเดียว 1. การส่ือสารทางการตลาดข้อใดถกู ต้อง 5. รปู แบบการค้าชายแดนมกี ี่ประเภท ก. การโฆษณากับการขาย ก. 6 ประเภท ข. กระบวนการถา่ ยทอดกับการ ข. 7 ประเภท โฆษณา ค. 8 ประเภท ค. การขายกับประสบการณ์ ง. 9 ประเภท ง. กระบวนการสอ่ื สารกบั กระบวน 6. ช่องทางการคา้ ทม่ี กี ารนาสนิ คา้ เข้าเฉพาะอย่าง การตลาด คอื ชอ่ งทางใด 2. การค้าชายแดนมีลักษณะอย่างไร ก. จุดผา่ นแดนชว่ั คราว ก. การค้าทม่ี เี ขตพรมแดนตดิ ตอ่ กนั ข. จุดผอ่ นปรนทางการค้า ข. เปน็ สนิ คา้ จาเป็นทใ่ี ชใ้ น ค. จดุ ผา่ นแดนถาวร ชวี ติ ประจาวัน ง. ชอ่ งทางการคา้ แบบธรรมชาติ ค. การซ้อื ขายท่ีมมี ลู ค่าครั้งละไม่ 7. การคา้ แบบขายฝาก คอื ขอ้ ใด มากนัก ก. Cash ง. ถกู ทกุ ขอ้ ข. Balance Trade 3. ลักษณะการคา้ ชายแดนไทย-กัมพชู า มี ค. Sale on Consignment License การค้ากี่ลักษณะ ง. Consumer Trade ก. 2 ลักษณะ 8. Balance Trade หมายถงึ ข. 3 ลกั ษณะ ก. การค้าแบบเงนิ สด ค. 4 ลกั ษณะ ข. การคา้ แบบขายฝาก ง. 5 ลักษณะ ค. การคา้ แบบต่างตอบแทน 4. จุดผ่านแดนถาวรและจดุ ผอ่ นปรน ง. นาตดิ ตวั ไปบริโภค ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมกี ีจ่ งั หวัด 9. การค้าชายแดนภาษาเขมร คือขอ้ ใด ก. เปีย นึจ จกมั ตาม ปรม แดน ก. 3 จังหวัด ข. เปีย นึจ จกมั ชลอง แดน ข. 4 จังหวดั ค. จรอก อเจนิ ไต ค. 5 จงั หวัด ง. เล๊ยี ะ คนะ ปิ เซะ๊ ง. 6 จงั หวัด

5 ชดุ การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การสอ่ื สารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา 10. จุดผ่านแดนถาวรภาษาเขมร คือขอ้ ใด ก. การ ลว็ ก โด ข. เลยี๊ ะคนะปิเซะ๊ ค. จรอก อเจินไต ง. จรอก บ็อน เดาะ อาซอ็ น

ชุดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การสอื่ สารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กัมพูชา 6 เรอ่ื งท่ี 1.1 การสอ่ื สารและการคา้ ชายแดน ความหมายของการสอื่ สาร การสื่ อสาร (Communication) ห ม าย ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก าร ถ่ าย ท อ ด ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความตอ้ งการจากผู้ส่งสาร โดยผ่านสื่อต่างๆ ท่ีอาจเป็นการพูด การเขียน สัญลักษณ์อื่นใด การแสดงหรือ การจัดกิจกรรมต่าง ๆไปยังผู้รับสาร ซ่ึงอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่าง กันไป ตามความเหมาะสม หรือความจาเป็นของตนเองและคู่สื่อสาร โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ใหเ้ กิดการรับรรู้ ว่ มกันและมีปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อกนั การสอื่ สารการตลาด คอื อะไร การสื่อสารการตลาด คือ การนาการส่ือสาร และการตลาดมาร่วมกันทา ให้มีรูปแบบเป็นกระบวนการที่ผสมผสานกันระหว่างกระบวนการส่ือสาร และ กระบวนการทางการตลาดไว้ด้วยกันอย่างลงตัว โดยการส่ือสารการตลาดถูกทา ขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการทาการตลาด สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ให้กับผู้บริโภค โดยการส่ือสารทางการตลาดสามารถทาได้ด้วยการ ใช้คาพูด รูปภาพ หรือสร้าง การรบั ร้ทู างประสาทสัมผัสท้งั 5 เพอ่ื เพ่ิมความพึงพอใจของผู้บรโิ ภค กระตุ้นการ ขายให้เพ่ิมมากขึ้น และสร้างความจงรักภักดีให้กับตราสินค้า ซึ่งถือว่ามีบทบาท สาคญั มากสาหรับการทาการตลาด เครื่องมือการทาการตลาด ท่สี าคญั 1. การโฆษณา คือกจิ กรรมทางการตลาดที่จัดทาข้ึนมาเพ่ือ สนับสนุนการ ขาย เพิ่มกาไร แนะนาผลิตภณั ฑ์ให้เป็นท่ีรู้จกั มากขึน้ ในตลาด 2. การประชาสัมพันธ์ เป็นหนึ่งในกลยุทธ์การตลาดท่ีสาคัญอีกอย่างหนึ่ง อย่างที่นับวันจะยิ่งมีบทบาทมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างเสริมเพ่ิมความ แข็งแกร่งให้แกแ่ บรนด์ หรือสนิ คา้ ทั้งทางตรง และทางออ้ ม 3. การสื่อสารการตลาดทางตรง เป็นการทาการตลาดโดยการติดต่อกับ ลกู คา้ โดยตรง ระหวา่ งธรุ กิจกับผูบ้ รโิ ภค หรือกลมุ่ เป้าหมายโดยตรง

7 ชดุ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เร่ือง การสอ่ื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพูชา 4. การส่ือสารเพื่อส่งเสริมการตลาด เป็นการทาการตลาด เพ่ือจูงใจเพื่อ กระตนุ้ ให้เกิดการขายท่ีเร็วขนึ้ 5. สื่อสารแบบส่วนตัว หรือการส่ือสารโดยพนักงาน เป็นการส่ือสารทาง การตลาดแบบใช้พนักงานขาย มักจะถูกใช้กับสินค้าที่มีรายละเอียดการใช้งาน หรือวธิ กี ารใชง้ านทซี่ บั ซอ้ น 6. การสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด การสนับสนุนกิจกรรมทาง การตลาดสามารถเป็นตวั กระตุ้นความต้องการซอ้ื ของผู้บรโิ ภค หรือกลุ่มเป้าหมาย ได้ การสื่อสารทางการตลาดถูกทาขึ้นมาเพ่ือสนับสนุนการทาการตลาด ในเร่ือง ของการสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ให้กับผู้บริโภคนี้จึงเป็นส่ิงท่ีคุณไม่ควรพลาด หากต้องการทาใหธ้ ุรกจิ ของคณุ ดาเนนิ ตอ่ ไปไดอ้ ย่างยาวนาน การค้าชายแดน คอื อะไร การค้าชายแดน เป็นการค้าในรูปแบบต่าง ๆ ของประชาชน หรือ ผ้ปู ระกอบการคา้ ที่มีภมู ลิ าเนาหรือพรมแดนติดต่อกับประเทศเพ่ือนบ้าน ไดท้ าการ ซื้อขาย แลกเปล่ียนสินค้าระหว่างกันโดยมีมูลค่าครั้งละไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะ เป็นสินค้าจาเป็นท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เช่นสินค้าอุปโภค สินค้าเกษตร สินค้าท่ี หาได้จากธรรมชาติ เปน็ ตน้ โดยท่ัวไปการคา้ ชายแดนระหว่างไทยกบั กมั พชู ามอี ยู่ 2 ลักษณะ คอื 1. มีลักษณะทั้งในรูปแบบการค้าชายแดนท่ีแท้จริง คือ เป็นการซื้อขาย ระหวา่ งคนในพืน้ ทที่ ่อี าศยั อยู่บริเวณจงั หวัดชายแดน 2. มีรูปแบบคล้ายกับการค้าระหว่างประเทศ ซ่ึงไม่ได้มีการทาการค้าขาย เฉพาะกลุ่มผู้ค้าภายในพ้ืนท่ีบริเวณจังหวัดชายแดนเท่านั้น แต่ประกอบด้วยผู้ค้า จากสว่ นกลาง และท่ีอื่น ๆ เขา้ มาดาเนินการคา้ ขายผ่านชายแดน

ชุดการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง เรือ่ ง การส่ือสารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กมั พชู า 8 จดุ ผา่ นแดนถาวรบ้านคลองลกึ อ.อรญั ประเทศ จ.สระแก้ว กัมพูชาเป็นประเทศเพื่อนบ้านของไทยที่มีพรมแดนติดต่อกันหลายด้าน โดย ทิศเหนือติดกับไทย 4 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ และ บุรีรัมย์ ทิศตะวันตกติดกับไทย 3 จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว จันทบุรี และตราด ทศิ ใต้ติดกบั อ่าวไทย มีจุดการค้าชายแดนระหว่างไทยกบั กัมพูชา คือ จุดผ่านแดน ถาวร และจุดผ่อนปรนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ อบุ ลราชธานี ศรสี ะเกษ สรุ ินทร์ และบรุ ีรมั ย์ ในภาคตะวันออก 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ ตราด จันทบุรี และสระแก้ว โดยจุดการค้าผ่านแดนทั้งหมดนี้มีจุดการค้าที่สาคัญ คือ ตลาดโรงเกลือ ที่ตั้งอยู่ที่จุดผ่านแดนถาวร บ้านคลองลึก อาเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแก้ว ซง่ึ มมี ลู คา่ การค้าสูงทส่ี ดุ การคา้ ชายแดนได้ดาเนนิ มาโดยตลอดและอย่างต่อเน่ือง ผ่านเสน้ ทางที่เคย ใช้อยู่แต่เดิมเมื่อครั้งยังไม่ได้แบ่งเขตแดน หรืออาณาเขต ที่เรียกกันว่า “ช่องทาง การคา้ ตามธรรมชาติ” หรือ ทเ่ี รยี กกนั ว่า “จดุ ผ่อนปรนทางการคา้ ” จดุ การค้าชายแดน จดุ การค้าชายแดนไทย - กมั พชู า มจี ุดผ่านแดน/จดุ ผ่อน ปรน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี จงั หวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรนิ ทร์ และจงั หวัดบุรีรมั ย์

9 ชุดการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เร่อื ง การสอื่ สารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กัมพชู า จดุ ผา่ นแดนถาวรช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสรุ ินทร์ จุดผ่านแดนถาวร 1. ช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ - โอรเสม็ด อาเภอสาโรง จังหวดั อดุ รมชี ัย 2. ช่องสะงา อาเภอภูสงิ ห์ จังหวัดศรีสะเกษ - อัลลองเวง จังหวัดอดุ รมชี ัย จุดผ่อนปรน ช่องอานม้า อาเภอน้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี - บ้านสะเตียบกวาง อาเภอ จอมกระสาน จงั หวดั พระวหิ าร จดุ ผ่อนปรน อืน่ ๆ จดุ ผ่อนปรนตามแนวชายแดน ทีป่ ระชาชนมกี ารตดิ ต่อซ้ือขายระหว่างหมบู่ า้ น คือ 1. ช่องตาเฒา่ อาเภอกนั ทรลักษ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ - จังหวัดพระวหิ าร 2. ช่องสายตะกู อาเภอบา้ นกรวด จงั หวัดบุรรี มั ย์ - บ้านจบุ โกกอี าเภอสาโรง จงั หวดั อดุ รมชี ยั 3. ช่องกร่าง อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ - บานทะมอโดน อาเภอ บันเตยี กัมบึน จงั หวัดอดุ รมีชัย

ชุดการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การสื่อสารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กมั พูชา 10 เรื่องที่ 1.2 รปู แบบการค้าชายแดน รูปแบบการคา้ ชายแดน ได้แก่ 1. นาติดตัวไปบริโภค (Consumer Trade) เป็นการซื้อ - ขายกัน ระหว่าง ประชาชนในบริเวณแนวชายแดนของท้ังสองประเทศ ส่วนมากจะเป็นสินค้า ประเภทอุปโภคบรโิ ภค ซ่งึ จะดาเนินการซ้ือ - ขายกันทกุ วนั 2. การค้าแบบเงินสด (Cash) เป็นการซื้อ - ขายกันในบริเวณชายแดนที่ใช้ เงินสด และมีการสาแดง และเสียภาษี ณ ด่านศุลกากรที่ควบคุมพื้นท่ีนั้น ๆ ผู้ซื้อ จะเป็นผู้สาแดงตามระเบียบศลุ กากร และมีการเกบ็ สถติ ิขอ้ มลู ทางการคา้ 3. การค้าแบบขายฝาก (Sale on Consignment License) เป็นการค้าแบบ การให้สินเชื่อซ่ึงกันและกัน การค้ารูปแบบนี้ต้องอาศัยความเช่ือใจกัน ซ่ึงพ่อค้า ชายแดนมีความสามารถในการติดต่อกับพ่อค้าในประเทศเพ่ือนบ้าน ดังนั้น ผู้ท่ี ตอ้ งการจะไปลงทุนทาการค้ากับประเทศเพ่ือนบา้ นจะต้องติดต่อกับพ่อค้าชายแดน เพราะเขาจะรขู้ อ้ มลู ตา่ ง ๆ เป็นอยา่ งดใี นการค้า และสามารถใหส้ นิ เชื่อแก่กันได้ 4. การค้าแบบตา่ งตอบแทน (Balance Trade) 4.1 Import License คือ กรณีทพี่ ่อค้าในประเทศต้องการซือ้ สนิ ค้า และ นาสินค้าของประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาก็จะต้องส่งสินค้าของในประเทศออกไป ก่อน จากน้ันเม่ือมีการนาสินค้าเข้าและสินค้าออกในมูลค่าที่เท่ากัน แล้วก็จะได้ License เม่ือพ่อค้าที่ทาการค้าได้ License แล้ว ก็จะนา License ท่ีได้ไปส่ังสินค้า นาเข้าได้ ในมูลค่าที่เท่ากันกับท่ีส่งสินค้าออก ประเทศเพื่อนบ้านของไทยท่ีนิยม ใช้วิธีการค้ารูปแบบนี้ คือ สหภาพเมียนม่าร์ นิยมใช้มากกว่า สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และประเทศกมั พชู า 4.2 Border Trade Agreement เป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศเพ่ือนบ้าน เสนอ โดยกระทรวงพาณิชย์เข้าร่วมประชุม JTC (Joint Trade Committee) และ กระทรวงการต่างประเทศเข้าร่วมประชุม JCC ทั้งสองหน่วยงานของไทย จะประชุมร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านทุกปี เพื่อเจรจาเรื่องการค้าท่ีค้าขายผ่านบริเวณ

11 ชดุ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง เรอ่ื ง การส่ือสารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา ชายแดน ให้เป็นการค้าท่ีถูกต้องและมีรูปแบบท่ีตรงกัน แต่ยังไม่สามารถดาเนินการ ได้ เนอื่ งจาก สหภาพเมยี นมา่ ร์ ยังไม่ยอมแก้ไขกฎหมายเพ่ือรองรับการค้ารูปแบบน้ี 5. การค้าแบบหักบัญชี (Account Trade หรือ Counter Trade) เพ่ือให้การค้า ชายแดนเป็นการค้าท่ีถูกต้อง จึงคิดรูปแบบการค้าโดยการเปิดบัญชีขึ้นมาบัญชีหน่ึง โดยรัฐบาลของแต่ละประเทศ หากผู้ค้าคนใดจะทาการค้าต้องมาลงทะเบียนเป็นผู้ค้า และดาเนินการส่ังของเข้ามา แล้วไปตัดหรือหักบัญชีภายหลัง แต่ไม่ประสบ ความสาเร็จปัจจบุ ันไมไ่ ด้ใช้แล้ว 6. การค้าแบบสากล (Normal Trade) เป็นการค้าแบบมาตรฐานสากล โดยใชว้ ิธีการเปดิ L/C เปน็ รูปแบบการคา้ ท่นี ยิ มใชแ้ พรห่ ลาย ชอ่ งทางการคา้ ชายแดน 1. ช่องทางการค้าแบบธรรมชาติ (Natural Pass) เป็นช่องทางท่ีประชาชน ใช้เดินทางผ่านเข้า-ออก ไปมาค้าขายกัน บางด่านถือเอาช่องทางธรรมชาติมาเป็น จุดผ่อนปรน และจุดผ่านแดนถาวร 2. ช่องทางอนุมัติเฉพาะของศุลกากร (ตามมาตรา 5 ทวิ พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2480) ช่องทางนี้เป็นช่องท่ีอานวยความสะดวกทางการค้าชายแดน ทท่ี าใหป้ รมิ าณการค้า และมลู ค่าการคา้ ขายสูงขน้ึ 3. จุดผ่านแดนช่ัวคราว (Temporary Crossing Point) เป็นช่องทางท่ีขอ อนุมัติการนาเข้าสินคา้ เฉพาะอย่าง เมื่อเสรจ็ แลว้ ก็จะปิดชอ่ งทางการนาเข้า 4. จุดผ่อนปรนทางการค้า (Check Point Border Trade) เป็นจุดที่มีการ นัดหมายกันตามเวลาเพื่อทาการค้า เป็นอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัดที่จะอนุมัติ ให้เปดิ โดยคาเสนอของกรมศุลกากรร่วมกับตารวจตรวจคนเข้าเมือง จะมเี วลาใน การเปดิ – ปิดเป็นเวลา 5. จุดผ่านแดนถาวร (Permanent Crossing Point) เป็นจุดผ่านท่ีเป็น ทางการถูกตอ้ งตามหลักสากล โดยมดี ่านศุลกากรกากบั ดูแล เชน่ เดียวกับท่าเรอื

ชดุ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เรือ่ ง การสอื่ สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กมั พชู า 12 เรื่องท่ี 1.3 คาศัพท์ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการคา้ ชายแดน รปู แบบการคา้ ชายแดนและช่องทางการคา้ คาชแ้ี จง เมื่อผเู้ รยี นศกึ ษาคาศพั ทเ์ ร่ืองดงั กลา่ วแลว้ ใหก้ ารฝึกออกเสียงภาษาเขมร จากสอื่ วดี ิทัศนป์ ระกอบชุดการเรยี น ท่ีถูกตอ้ งประกอบไปดว้ ย การคา้ ชายแดน ពាណជិ ្កជ ម្តម ាម្ព្រំដែន (Border Trade) เปยี นจึ จกัม ตาม ปรม แดน การค้าผา่ นแดน ពាណិជ្កជ ម្មឆ្លងដែន (Border Through Trade) เปยี นจึ จกัม ชลอง แดน ลักษณะพิเศษ លកណខ ះរិសេេ (Special Characteristics) เล๊ยี ะ คนะ ปิ เซะ๊ จุดผ่านแดนถาวร ព្រកអរនិ្ត្នៃយ៍ (Permanent Crossing Point) จรอก อเจินไต จุดผอ่ นปรน ព្រកបស្ដ ះអាេនន (Check Point) จรอก บ็อนเดาะ อาซอ็ น การซ้อื ขาย ការលក់ែរូ (Trading) การ ล็วก โด การแลกเปลยี่ น ការបូរដ ( Exchange) การ ปโด

13 ชดุ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เรอื่ ง การสื่อสารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กมั พชู า เงินตราต่างประเทศ រូបិយប័ណណបរសេេ (Foreign Currency) รู ปยิ ะบนั บอระเตะ๊ สินค้า ផលតិ ផល (Goods) พเลติ ตะพอล รูปแบบการค้าชายแดน រូបភារន្តនពាណជិ ្ជកម្មព្រំ ដែន (Border Trade Model) รูปเพยี บ นึย เปีย นึจ จะ กัม ปรมแดน นาติดตัวไปบรโิ ภค ពាណជិ ្ជកម្មលក់រាយ (Consumer Trade) เปยี นจึ จะ กมั ล็วก เรยี ย การค้าแบบเงนิ สด ការលក់សោយរង់ព្ាក់េេធ (Cash) การลว็ กเรียย ดอย จ็อง ปร๊ะซ็อต การค้าแบบขายฝาก ការលកដ់ បបបញ្ំច (Sale on Consignment License) การล็วก แบบ บ็อญจา การค้าแบบต่างตอบแทน ការពាណជិ ្កជ ម្មសោយមានតលុ យភារ (Balance Trade) การ เปีย นึจจะกมั ดอย เมียนดล็ ยะเพยี บ การคา้ แบบหักบัญชี ការពាណិជ្កជ ម្សម ោយមានការេូទាត់ (Account Trade) การ เปยี นึจจะกมั ดอย เมียน การตูตว็ ต การค้าแบบสากล ពាណិជ្ជកម្សម ាកល (Normal Trade) การ เปีย นึจจะกัม ซากอ็ ล

ชุดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เรื่อง การส่อื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพูชา 14 ชอ่ งทางการค้าแบบธรรมชาติ រសបៀង (Natural Pass) ระ เบียง ชอ่ งทางอนุมตั ิเฉพาะของศลุ กากร ព្រកអនរៃ ជាតរិ សំ ពាះរ័នធគយ (Customs Pass) จรอก ออ็ น ตระเจียต จอ็ ม ป๊วั ปว็ นโกย จุดผา่ นแดนชว่ั คราว ព្រកបស្ដ ះអាេនន (Temporary Crossing Point) จรอก บ็อนเดาะ อาซอ็ น จดุ ผอ่ นปรนทางการคา้ ព្រកបស្ដ ះអាេនន (Check Point Border Trade) จรอก บอ็ นเดาะ อาซ็อน จดุ ผ่านแดนถาวร ព្រកអនៃរជាតិ (Permanent Crossing Point) จรอก ออ็ นตระเจียต กรมศลุ กากร នាយកោា នរ័នធគយ (Customs Department) เนยี ย๊ัว กดั ทาน ป็วนโกย ตารวจตรวจคนเข้าเมอื ง បូលិេអសនាៃ ព្បសេេន៍ (Immigration Police) โปลิ๊ ออ็ นโตปรอเว็ เวลาเปดิ -เวลาปดิ សមាងសបកើ បិេស្វើការ (Opening and Closing Time) โมง เบกิ เบติ ทเวอ กา ทา่ เรือ (Sea Port) ករំ ងដ់ ផ กอ็ ม ปว็ ง แพ

15 ชดุ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การสอื่ สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กมั พชู า กจิ กรกรจิ กมรหรมนห่วนย่วทยท่ี 1่ี 1. 1. แบ่งนักศึกษาออกเป็น 2 กลมุ่ ให้ศึกษาเนอื้ หาเรื่องท่ี 1.1 – 1.2 กล่มุ ละ 1 เรอื่ ง แล้วสง่ ตวั แทนออกมาสรุป 2. จงอธิบายความหมายต่อไปนี้ 2.1 การคา้ ชายแดน หมายถึง ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... 2.2 รูปแบบการคา้ ชายแดน มีก่แี บบ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... 2.3 ให้เขยี นศพั ท์การคา้ ชายแดนเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเขมร การค้าผ่านแดน ...................................................................................................................... จุดผ่อนปรน ………………………………………………………….............................. การซอ้ื ขาย ...................................................................................................................... การคา้ แบบเงนิ สด ...................................................................................................................... การค้าแบบขายฝาก ………………………………………………………………..…………… การคา้ แบบสากล ......................................................................................................................

ชดุ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เรอื่ ง การสอ่ื สารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา 16 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 1. คาช้ีแจง : จงอา่ นคาถามตอ่ ไปน้ี และเลอื กคาตอบที่ถกู ท่ีสุดเพยี งคาตอบเดยี ว 1. การสือ่ สารทางการตลาดจัดทาขึน้ เพื่ออะไร ค. การค้าแบบเงินสด ก. การแลกเปล่ยี นประสบการณ์ ง. การคา้ ขายตรง ข. การขายสนิ คา้ ทางตรง 6. สนิ คา้ ท่ีผา่ นจดุ ผา่ นแดนช่ัวคราวมากทีส่ ุด ค. สร้างความรบั รแู้ ละเขา้ ใจแกล่ กู คา้ ไดแ้ ก่ ง. เพ่ือลดต้นทุนทางตลาด ก. สนิ คา้ ราคาแพง 2. ขอ้ ใดไม่ใช่ลกั ษณะของการค้าชายแดน ข. สนิ คา้ ราคาถูก ค. สินคา้ ปลอดภาษี ก. การซือ้ ขายสินคา้ ครง้ั ละมาก ๆ ง. สินคา้ เฉพาะอย่าง ข. สินคา้ ที่ขายตามแนวชายแดน 7. Sale on Consignment License หมายถึง ค. การซอ้ื ขายสนิ คา้ ครง้ั ละไม่มาก ก. การค้าแบบขายฝาก ง. สนิ ค้าทีใ่ ชใ้ นการอปุ โภคบรโิ ภค ข. การคา้ แบบเงินสด 3. การคา้ ชายแดนไทย - กัมพูชา มลี ักษณะ ค. การคา้ แบบต่างตอบแทน อยา่ งไร ง. การนาตดิ ตวั ไปบรโิ ภค ก. การซื้อขายสนิ ค้าราคาถกู 8. การค้าตา่ งตอบแทน หมายถึง ข. การซือ้ ขายระหว่างคนนอกพ้ืนท่ี ก. Balance Trade ค. การซื้อขายระหวา่ งคนในพ้ืนท่ีชาย ข. Sale on Consignment License แดนด้วยกัน ค. Consumer Trade ง. การซื้อขายสินคา้ ท่ีมีย่หี อ้ ง. Cash 9. เปยี นึจ จกมั ตาม ปรม แดน คือขอ้ ใด 4. จงั หวดั ใดทีม่ จี ุดผา่ นแดนถาวร ก. การคา้ ผา่ นแดน ก. สรุ ินทร์ ข. การค้าชายแดน ข. ชยั ภมู ิ ค. ลักษณะพิเศษ ค. บุรีรมั ย์ ง. จดุ ผา่ นแดน ง. นครราชสมี า 5. ขอ้ ใดคือรปู แบบการคา้ ชายแดน ก. การค้าสง่ ข. การค้าปลีก

17 ชดุ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การสอื่ สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กมั พชู า 10. จรอก อเจนิ ไต คือขอ้ ใด ก. จุดผา่ นแดนถาวร ข. ลกั ษณะพเิ ศษ ค. การซ้อื ขาย ง. จุดผ่อนปรน

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่อื ง การสือ่ สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา 18 เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรยี น และกจิ กรรม หนว่ ยท่ี 1 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ง 2. ง 3. ก 4. ข 5. ก 6. ก 7. ค 8. ค 9. ก 10. ค 2. แบบทดสอบหลังเรียน 1. ค 2. ก 3. ค 4. ก 5. ค 6. ง 7. ง 8. ก 9. ข 10. ก 3. แนวตอบกจิ กรรม หนว่ ยที่ 1. 1. ไมม่ ีแนวเฉลยกิจกรรม 2. ตอบ 2.1 ตอบ การค้าในรปู แบบตา่ ง ๆ ของประชาชนหรือผู้ประกอบการค้าทม่ี ีภูมลิ าเนา หรอื พรมแดนติดต่อกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นได้ทาการซ้ือ ขาย แลกเปลี่ยนสินค้า ระหวา่ งกนั 2.2 ตอบ มี 6 แบบ 1) นาติดตัวไปบรโิ ภค 2) การค้าแบบเงินสด 3) การคา้ แบบขายฝาก 4) การคา้ แบบต่างตอบแทน 5) การค้าแบบหกั บัญชี 6) การคา้ แบบสากล 2.3 ตอบ 1) border Through Trade ภาษาเขมร เปยี นึจจกัม ชลอง แดน 2) Permanent Crossing Point ภาษาเขมร จรอก อเจนิ ไต 3) Check Point ภาษาเขมร จรอก บอ็ นเดาะอาซ็อน 4) Trading ภาษาเขมร การ ล็วก โด 5) Cash ภาษาเขมร การ ลว็ ก เรยี ย ดอย จ็อง ประ๊ ซอ็ ต 6) Sale on Consignment License ภาษาเขมร การ ล็วก แบบ บ็อญจา 7) Normal Trade ภาษาเขมร การ เปยี นจึ จะกมั ซาก็อล

หนว่ ยที่ 2 การตลาด

ชุดการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง เรอื่ ง การสื่อสารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กมั พชู า 20 หนว่ ยที่ 2 2หน่วยที่ การตลาด การตลาด แนวคดิ การตลาดเป็นส่วนหนึ่งท่ีมีบทบาทสาคัญของความสาเร็จ และความก้าวหน้าใน การดาเนินธุรกิจและจากสภาวการณ์ปัจจุบัน การค้าชายแดนของประเทศไทยเป็นธุรกิจมีการ แข่งขันกันสูง การตลาดยิ่งมีบทบาทมากข้ึน การค้าชายแดนจึงมีความจาเป็นที่จะต้องรู้ ความหมายของการตลาด โดยเฉพาะการคา้ ขายบรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา ซ่ึงจะสง่ ผลดี ต่อผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณชายแดน ท่ีสามารถส่ือสารและให้ความร่วมมือระหว่างกันใน ดา้ นต่าง ๆ มากขึ้นอกี ด้วย วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของการตลาดได้ 2. อธบิ ายกลยุทธ์การตลาดได้ 3. อธิบายส่วนประสมของการตลาดได้ 4. อธิบายแปลคาศัพทเ์ กยี่ วกบั การตลาดเปน็ ภาษาอังกฤษและภาษาเขมรได้ ขอบข่ายเนือ้ หา เรื่อง 2.1 ความหมายและความสาคญั ของการตลาด เรอื่ ง 2.2 ความหมายกลยุทธ์การตลาด เร่อื ง 2.3 ความหมายส่วนประสมของการตลาด เร่อื ง 2.4 คาศัพทเ์ ก่ียวกบั การตลาด กลยทุ ธ์การตลาด และสว่ นประสมของ การตลาด ภาษาอังกฤษและภาษาเขมร

21 ชุดการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เร่ือง การสื่อสารการคา้ บริเวณชายแดนไทย - กมั พชู า กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระจาหน่วย 1. ศกึ ษาเอกสารเน้ือหา เรอื่ งท่ี 2.1 – 2.4 ด้วยตนเอง 2. ศกึ ษาคาศพั ท์และการออกเสียงภาษาเขมร จากส่ือวีดิทัศน์ ในเรอ่ื งท่ี 2.4 ประกอบ 3. ปฏบิ ัติกิจกรรมที่ไดร้ บั มอบหมายตามเอกสารชดุ การเรียนแตล่ ะหน่วยการเรียน สอื่ การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. สื่อวีดทิ ศั น์ประกอบชุดการเรยี น 3. กิจกรรมที่ 2 4. รูปภาพ การประเมินผล 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ทากิจกรรมท้ายหน่วยที่ 2 3. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน เมอื่ อ่าน แนวคิด วัตถุประสงค์ ขอบข่ายเนือ้ หา หน่วยท่ี 2 แลว้ ใหท้ า แบบทดสอบกอ่ นเรียน ศึกษาเอกสารชุดการเรียน และส่ือวีดิทัศน์ คาศัพท์ ภาษาเขมรในเร่ืองท่ี 2.4 พร้อมปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างต่อเนื่องและเม่ือ ศึกษาจบหน่วยการเรียนแล้วให้ทากิจกรรมในหน่วยท่ี 2 และแบบทดสอบ หลงั เรียน

ชุดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การสื่อสารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กัมพูชา 22 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 2 คาชี้แจง : จงอา่ นคาถามตอ่ ไปนี้ และเลือกคาตอบท่ีถูกท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดียว 1. การตลาด หมายถึงอะไร 4. กาหนดตลาดเป้าหมายสามารถแบง่ เป็นก่ีกลุ่ม ก. การกระทากจิ กรรมตา่ ง ๆในธรุ กิจที่ 4 ทา ก. 4 กลุ่ม ใหเ้ กดิ การนาสนิ ค้าหรอื บรกิ ารจาก ข. 3 กลุ่ม ผ้ผู ลติ ไปสผู่ ้บู ริโภค ค. 2 กลุ่ม ข. ธรุ กิจที่ตอ้ งมกี ารซือ้ ขายสินค้าหรือ ง. 1 กลุ่ม บริการซ่งึ ไม่ใช่การให้กนั เปลา่ ๆ 5. สว่ นประสมทางการตลาดประกอบดว้ ยก่ี ค. การเคลอื่ นไหวของสินค้าหรอื องค์ประกอบ บรกิ ารมกี ารเปลี่ยนมือจากผูผ้ ลติ ก. 4 องค์ประกอบ โดยถอื วา่ เปน็ ผู้ขายใหก้ บั ผู้บรโิ ภค ข. 3 องคป์ ระกอบ ง. ถูกหมดทกุ ขอ้ ค. 2 องค์ประกอบ 2. การตลาดมคี วามสาคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกิจ ง. 1 องคป์ ระกอบ อย่างไร 6. ผลิตภัณฑ์ หมายถงึ ก. การตลาดช่วยใหป้ ระชากรมี ก. สินค้าทไ่ี ม่รวมเงื่อนไขตา่ ง ๆ รายไดส้ งู ขนึ้ ข. สนิ ค้าทีไ่ ม่สามารถจบั ต้องได้ ข. การตลาดไมท่ าให้เกิดการ ค. สนิ ค้าท่สี ามารถตอบสนอง หมนุ เวียน ของปจั จยั การผลิต ความต้องของตลาดได้ ค. การตลาดไม่ทาให้เกดิ การ ง. ผดิ ทุกข้อ เปล่ยี นแปลง ทางเศรษฐกจิ 7. ข้อใดเปน็ การสง่ เสรมิ ทางการตลาด ง. การตลาดไมท่ าใหเ้ กดิ การแข่งขัน ก. ใบปลิว 3. กลยุทธ์การตลาด หมายถึง ข. นติ ยสาร ก. กาหนดตลาดเปา้ หมายและการ กาหนด ค. การจดั ประชมุ ส่วนประสมการตลาด ง. ถูกทุกขอ้ ข. การกาหนดส่วนประสม การตลาด ค. การกาหนดตลาดเป้าหมาย ง. ผดิ ทกุ ข้อ

23 ชุดการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เรอ่ื ง การส่อื สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กมั พูชา 8. การตลาด คอื ขอ้ ใด 10. การส่งเสริมทางการตลาด ภาษาเขมรอา่ นว่า ก. Business ก. กา แจก จาย ข. Services ข. กา โค ซนา เปีย นจึ จะกมั ค. Company ค. การ ลว็ ก ดอย เพน๊ีย ะเงยี ล็วก ง. Marketing ง. กา พซอ็ บ พซายปว็ งรีก ตี พซา 9. การตลาด ภาษาเขมรอา่ นวา่ ก. ตุม นญิ ข. เซ วา กัม ค. เน๊ยี ะ บอรโิ พก ง. การ ซแวง ย็วล ปี ตี พซา

ชุดการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง เร่อื ง การสอ่ื สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กมั พูชา 24 เร่อื งท่ี 2.1 ความหมายและความสาคัญของการตลาด การตลาด การตลาด คือ การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ในธุรกิจที่มีให้เกิดการนาสินค้าหรือ บริการจากผู้ผลติ ไปสู่ผู้บริโภค หรือผู้ใช้บริการน้ัน ๆ โดยไดร้ ับความพอใจขณะเดียวกนั ก็ บรรลุวตั ถุประสงค์ของกจิ การ จากคาจากดั ความดังกล่าว จะเห็นได้ว่ากิจกรรมที่กระทานั้น เป็นเรื่องของธุรกิจท่ีต้องมีการซื้อขายสินค้า หรือบริการซ่ึงไม่ใช่การให้กันเปล่า ๆ โดยเฉพาะจะมีการเคล่ือนไหวของสินค้า หรือบริการ มีการเปลี่ยนมือจากผู้ผลิต โดยถือว่า เปน็ ผขู้ ายใหก้ บั ผบู้ รโิ ภค หรือผใู้ ช้สินคา้ หรือบรกิ ารในฐานะเปน็ ผ้ซู ้อื สินคา้ บทบาทและความสาคญั ของการตลาด การตลาดเป็นกระบวนการท่ีเก่ียวข้องกับกิจการ องค์การ ท้ังของภาครัฐและ ภาคเอกชนตลอดจนบุคคลต่าง ๆ อกี มากมาย การดาเนินการด้านการตลาดจะส่งผลกระทบ อย่างกว้างขวางทั้งในแง่ของผลดีหรือประโยชน์ที่ได้รับ และผลกระทบด้านผลเสียทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ ซ่ึงพอจาแนกความสาคัญของการตลาดได้ ดังตอ่ ไปน้ี 1. ความสาคญั ของการตลาดที่มีต่อสังคมและบคุ คล การดารงชีวิตประจาวันของผู้บริโภคทั้งหลาย ในปัจจุบันจะหลีกเลี่ยงการ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ทางการตลาดได้ยากมาก ผู้บริโภคต้องทากิจกรรมในการซื้อ สินค้าและบริการต่าง ๆอยู่ตลอดเวลา หากสินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิตขึ้นมาน้ันไม่มี ระบบตลาดเข้ามาจัดการสินค้าและบริการต่าง ๆ จะไม่ถึงมือผู้บริโภค ผลท่ีตามมาก็จะทา ให้ประชาชนและสังคมได้รับความเดือดร้อน สภาพเศรษฐกิจก็จะไม่เจริญเติบโต ความ สะดวกสบายในการดาเนินชีวิตและดาเนินธุรกิจก็จะไม่เกิดขึ้น จึงกล่าวได้ว่าการตลาดมี ความสาคัญทม่ี ตี ่อสังคมและบคุ คล ดงั นี้

25 ชุดการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เรอ่ื ง การสื่อสารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา 1.1 การตลาดเปล่ียนแปลงพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคล การที่นักธุรกิจ พยายามจัดหาสินค้าและบริการลักษณะต่าง ๆ ท่ีมีความแปลกใหม่ หรือเอ้ืออานวยความ สะดวกสบายให้กับผู้บริโภคมากขึ้น รวมท้ังความพยายามชักจูงให้ผู้บริโภคซื้อหาไป อุปโภคบรโิ ภคมากขึ้น ซ่ึงจะมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงอปุ นสิ ยั การดารงชีวิตของแตล่ ะบุคคล และเก่ยี วขอ้ งไปถึงสงั คม 1.2 การตลาดช่วยยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ของประชากรในสังคมให้ สูงข้ึน มาตรฐานการครองชีพของประชากรในชุมชนหน่ึง ๆ จะดีมากน้อยเพียงใดดูได้จาก รายได้เฉลี่ยต่อหัวกับดูจากสภาพความเป็นอยู่ทั่ว ๆ ไปของประชาชนในชุมชนน้ัน ๆ ว่า ดารงชีวิตประจาวันกันอย่างไร จากการที่ประชากรมีรายได้มากขึ้น มีอานาจซื้อสูงข้ึน จึง ทาให้ผู้ผลิตมีการพัฒนาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของคนเรามากขึ้น จึงเป็นสาเหตุทาให้ เกิดสินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องทุ่นแรง เคร่ืองจักรกลต่าง ๆ ที่ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ คนเราสะดวกสบายขึ้น ประชาชนมีเวลาวา่ งจากภารกิจประจาวนั มากข้ึน การติดต่อส่ือสาร และการคมนาคมกจ็ ะสะดวกรวดเร็วยิง่ ข้นึ 1.3 การตลาดทาให้เกิดลักษณะการครองชีพต่าง ๆ แก่บุคคลเพิ่มมากข้ึนการ ปฏิบัติงานทางการตลาดทุกวันนี้ มีกิจกรรมใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย เม่ือมีกิจกรรมใหม่ ๆ เกดิ ขน้ึ ก็ย่อมตอ้ งการแรงงานสาหรบั ปฏิบัตงิ านเหลา่ นน้ั ทาใหเ้ กดิ การสร้างงานอาชีพใหม่ ขน้ึ ในตลาดมากมาย เช่น ผคู้ ้าปลีก ผู้ค้าส่งสนิ คา้ งานวจิ ยั การโฆษณา การประกันภัย ฯลฯ 2. ความสาคัญของการตลาดทีม่ ีต่อระบบเศรษฐกจิ การตลาดทาให้เกิดระบบการซ้ือขายสะดวกรวดเร็ว ผู้ซื้อผู้ขายติดต่อสัมพันธ์กันได้ ตลอดเวลาการปฏิบตั ิการต่าง ๆ ทางการตลาดก็มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจอย่างมากมาย ดังน้ี 2.1 การตลาดช่วยให้ประชากรมีรายได้สูงขึ้น มีการผลิตสินค้า และบริการ มากขึ้นกล่าวคอื การที่ผผู้ ลิต ผลิตสินค้าต่าง ๆ ออกมาจาหน่ายแลว้ มียอดจาหน่ายสูงผูผ้ ลิตก็จะ เพ่ิมกาลังการผลิตมากข้ึน ทาให้มีการซื้อมากข้ึนจึงเกิดการทางานเพิ่มขึ้นด้วย ประชากรก็ จะมีรายได้สูงขึน้ มีผลให้อานาจซื้อของผู้บรโิ ภคเพิ่มข้ึนด้วย ถ้ามองในภาพรวมของระบบ เศรษฐกจิ จะเห็นได้ว่า การตลาดทาใหร้ ายได้ประชากรสงู ขนึ้

ชดุ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เรอ่ื ง การสือ่ สารการค้าบรเิ วณชายแดนไทย - กัมพชู า 26 2.2 การตลาดทาให้เกิดการหมุนเวียนของปัจจัยการผลิต การตลาดทาให้ สินค้าและบริการต่าง ๆ ท่ีผลิตออกจาหน่ายได้ปริมาณท่ีเพิ่มข้ึน การขยายตลาดในวงกว้างส่ง สินค้าไปขายในท้องถ่ินต่าง ๆ เพ่ิมมากข้ึน ทาให้มีความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ท่ีใช้ในการผลิต มากขึ้น ได้แก่ วัตถุดิบ เงินทุน แรงงาน พืชผลทางการเกษตร ที่ดิน การหมุนเวียนใช้ ปัจจัยตา่ ง ๆ เหล่าน้ี ช้ีใหเ้ หน็ วา่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศม่นั คงขึ้น 2.3 การตลาดช่วยสร้างความต้องการในการหมุนเวียน การขยายด้านการ ผลิตทาใหเ้ กิดการแข่งขันทางการตลาด เกิดการประดิษฐ์คิดค้นสินค้าและบรกิ ารใหม่ ๆ ท่ีมี คุณภาพสงู ขนึ้ ทาใหผ้ ู้บรโิ ภคมีสินคา้ หลากหลายชนดิ ใหเ้ ลอื กมากข้นึ 2.4 การตลาดทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศ เน่อื งจาก ธุรกิจต่าง ๆ แข่งขันกันมากข้ึน มีการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าใหม่อยู่ตลอดเวลา มีการ ส่งเสริมการตลาดมากขึ้น ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมาก หากสินค้ามีมากเกินความ ต้องการของผู้บริโภคทาให้ธุรกิจต้องมีต้นทุนของสินค้าสูงข้ึน จนผู้ผลิตบางรายต้องเลิก กิจการหากเลิกกิจการหลาย ๆ ราย การผลติ อาจจะลดลงจนไม่เพยี งพอกับความตอ้ งการของ ตลาด สนิ ค้าราคากจ็ ะสูงข้ึน ทาใหค้ ่าของเงินลดลงมผี ลกระทบตอ่ ภาวะเงินเฟอ้ ตลาดโรงเกลอื ดา่ นพรมแดนบ้านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว

27 ชดุ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เรอื่ ง การส่อื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพูชา เรอ่ื งที่ 2.2 กลยุทธก์ ารตลาด กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) ซ่ึงประกอบด้วย กาหนดตลาดเป้าหมาย และการกาหนดส่วนประสมการตลาดที่เหมาะสมกับตลาดเป้าหมาย เพ่ือตอบสนองความ ต้องการของตลาดเป้าหมายท่ีกาหนดให้ได้รับความพอใจสงู ทสี่ ดุ 1. กาหนดตลาดเป้าหมาย (Target Market) คือ การกาหนดกลุ่มลูกค้า (Customer Segment) หรือการกาหนดตลาด (Market) ที่ประกอบด้วยผู้มุ่งหวังท่ีธุรกิจต้องการนาสินค้า และบริการของตนไปตอบสนองกลุ่มลูกค้าหรือผู้มุ่งหวัง คือผู้มีความต้องการสินค้าผู้มี อานาจซ้ือ (Purchasing Power) ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจซื้อ (Authority to Buy) มีอิสระ ในการซอ้ื ตลอดจนมอี ายุ รายได้ รสนิยม และการศึกษาเหมาะสมกบั สนิ ค้าทขี่ าย เป็นต้น ซง่ึ ผมู้ ุง่ หวังดงั กล่าวสามารถแบ่งได้ 2 กล่มุ ใหญ่ ๆ คือ 1.1 บุคคลธรรมดาในตลาดผู้บริโภค (Consumer Market) หมายถึง บุคคลหรือ กลุ่มบุคคลที่ซื้อสินค้าไปเพ่ือการบริโภคเองภายในครัวเรือน (Household) หรือเพ่ือการ บริโภคส่วนตัว ไมไ่ ด้นาไปทาการซื้อขายอกี บุคคลเหล่าน้ีจะถูกเรียกวา่ ผบู้ รโิ ภคคนสดุ ทา้ ย (Final Consumer) กลุ่มน้ีจะซ้ือสินค้าท่ีเกิดจากความต้องการท่ีจาเป็น และตามความอยาก ได้ของตนเอง อาจซื้อสินค้าด้วยอารมณ์ และปริมาณซื้อคราวละไม่มากนัก จึงมักชอบซื้อ จากรา้ นคา้ ปลีกที่มีบรกิ ารอื่น ๆ ดว้ ย

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรอื่ ง การสอ่ื สารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา 28 1.2 ผู้ที่ซื้อเป็นสถาบันหรือองค์การในตลาดอุตสาหกรรม (Industrial Market) ผู้ซ้ือ ประเภทนี้ คือ หน่วยงานท้ังเอกชนและรัฐบาล ทั้งท่ีต้องการแสวงหากาไรและไม่ต้องการ แสวงหากาไรซง่ึ ต้องการซื้อสินค้าไป เพื่อใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิต เรียกว่า ผู้ผลิตใช้เพื่อ การขายต่อ (เรียกว่าคนกลางทางการตลาดได้แก่พ่อค้าส่งและพ่อค้าปลีก) ใช้เพ่ือการให้การ บริการ เรียกว่า ผใู้ ห้บริการ หรือใชเ้ พือ่ การดาเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ เรียกว่า ฝ่ายจัดซื้อ ซึ่งบุคคลทั้ง 4 กลุ่ม นี้จะถูกเรียกว่า ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial User) หรือผู้ใช้ที่เป็น สถาบัน (Institute User) ผู้ซ้ือในกลุ่มน้ีจะซ้ือสินค้าโดยคานึงถึงความต้องการของผู้อ่ืนอีก ต่อหนึง่ ซงึ่ เรียกอปุ สงค์ประเภทน้วี ่า อปุ สงคแ์ บบต่อเนือ่ ง (Derived Demand) 2. การกาหนดส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) เมื่อสามารถกาหนดตลาด เปา้ หมายที่จะขายสินคา้ ได้อยา่ งชัดเจนแลว้ ธุรกจิ จาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาพฤติกรรมในการซ้ือ สนิ ค้าของตลาดเป้าหมายแต่ละตลาดในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ สินค้าท่ีต้องการซื้อ (What) เวลา ท่ีต้องการซ้ือ (When) สถานที่ซ้ือ (Where) เหตุท่ีซ้ือ (Why) วิธีการซื้อ (How) จากนั้น ธุรกิจต้องทาการกาหนดส่วนประสมการตลาดออกมาในภาพรวมท่ีเรียกว่า โปรแกรม การตลาด (Marketing Program) ท่ีเป็นแบบสาเร็จรูป (Package) อย่างเหมาะสมเพื่อการ ตอบสนองความตอ้ งการของผซู้ อ้ื

29 ชดุ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง เร่ือง การส่อื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กมั พูชา เร่อื งท่ี 2.3 สว่ นประสมทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาด การกาหนดส่วนประสมการตลาด หมายถึง การกาหนดปัจจัยทางการตลาด (Marketing Factors) ซ่ึงประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ ราคาของผลิตภัณฑ์ ระบบการจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาดเพ่ือตอบสนอง กระตุ้นความต้องการของตลาดเป้าหมาย และใหส้ อดคล้องกับปจั จยั ภายนอกทมี่ ีการเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ ส่วนประสมทางการตลาดมี 4 องคป์ ระกอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึง ส่ิงท่ีเสนอขายโดยธุรกิจเพ่ือตอบสนองความ ต้องการของตลาดเป้าหมายให้เป็นที่พอใจ ซ่ึงรวมถึงส่ิงที่ลักษณะทางกายภาพ และสิ่งท่ีไม่ มีลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สนิ คา้ พร้อมเง่ือนไขต่าง ๆ บริการ ความคดิ สถานท่ี บุคคล กจิ กรรม และองค์การ เป็นต้น 2. ราคา (Price) หมายถึง มูลค่าสินค้าและบริการในรูปของตัวเงิน หรือเป็นสิ่งท่ีผู้ ซื้อต้องจ่ายสาหรับการได้มาซึ่งบางส่ิง ราคาสินค้าที่ธุรกิจกาหนดต้องมีความสอดคล้องกับ ส่วนประสมการตลาดอ่ืน ๆ และสอดคล้องกับต้นทุน ตลอดจนสอดคล้องกับคุณภาพของ

ชุดการเรียนร้ดู ้วยตนเอง เร่ือง การส่ือสารการค้าบริเวณชายแดนไทย - กัมพชู า 30 สินค้าท่ีเสนอขาย สอดคล้องกับรายได้และสถานภาพของผู้ซื้อ สภาวะเศรษฐกิจความ จาเปน็ ในการใชค้ วามสามารถในการใช้ทดแทนกันของสนิ ค้าชนิดอื่น 3. การจัดจาหน่าย (Place) หมายถึง การเคลื่อนย้ายสินค้าท่ีเป็นการเคลื่อนย้าย ทางกายภาพ และการเคลื่อนย้ายกรรมสิทธ์ิในสินค้าจากผู้ผลิต หรือผู้ขายไปยังตลาด เป้าหมายด้วยช่องทางสถาบันทางการตลาดที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพได้แก่ ร้านค้า ส่ง ร้านค้าปลีก ตัวแทนจาหน่าย ผู้ประกอบการคลังสินค้าและขนส่ง สถาบันการเงิน สถาบนั ประกันภยั และธุรกิจโฆษณา เปน็ ตน้ 4. การส่งเสริมทางการตลาด (Promotion) หมายถึง การติดต่อส่ือสารทาง การตลาด (Marketing Communication) ระหว่างผู้ที่ต้องการขายสินค้ากับตลาดเป้าหมาย เพื่อการแลกเปล่ียนข้อมูล แจ้งให้ทราบ กระตุ้นหรือเตือนความจา ตลอดจนสร้างเจตคติ และพฤติกรรมการซื้อ ให้เป็นไปตามท่ีธุรกิจต้องการ การส่งเสริมการตลาด (Promotional Mix) ซึ่งประกอบดว้ ย 4.1 การโฆษณา (Advertising) เป็นการสื่อสารการเสนอขายความคิด และธุรกิจ ที่เป็นเจ้าของสินค้าเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย การโฆษณาใช้สื่อ (Media) ที่สามารถเข้าถึงผู้รับ สารในคราวละมาก ๆ ไดแ้ ก่ โทรทศั น์ วิทยุ นติ ยสาร หนงั สอื พมิ พ์ เอกสารโฆษณา แผ่น ปิด ใบปลวิ เปน็ ต้น 4.2 การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) คือกิจกรรมท่ีกระตุ้นความสนใจให้ ผู้บริโภคคนสุดท้ายทดลองใช้สินค้า หรือซ้ือสินค้า ได้แก่ การลดราคา การแลก การแจก ตัวอย่าง การแถม การให้คูปอง การสาธิตสินค้า การแข่งขัน และการชิงโชค การจัด แสดงสินค้า การแข่งขันการขาย การจัดประชุม การให้ส่วนลดและส่วนยอมให้การ ฝกึ อบรม และการใชอ้ ุปกรณช์ ่วยขาย เปน็ ต้น 4.3 การให้ขา่ วและประชาสมั พันธ์ (Publicity and Public Relation) เป็นการเสนอ ความคิดและการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับสินค้าโดยไม่ใช้บุคคล เพ่ือส่งเสริมให้เกิด ความสัมพันธ์และเกิดเจตคติท่ีดีระหว่างธุรกิจกับชุมชน ได้แก่ การจัดทารายงานประจาปี เพื่อแจกกับประชาชนท่ัวไป การจัดประชุมสัมมนา การเป็นผู้รับสนับสนุนการประกวด ทางศิลปะวฒั นธรรม และการแข่งขนั กฬี า การช่วยเหลือชมุ ชนและสงั คม เปน็ ตน้

31 ชดุ การเรียนรูด้ ้วยตนเอง เรอ่ื ง การส่อื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพชู า 4.4 การขายโดยพนกั งานขาย (Personal Selling) เป็นการส่งเสริมการตลาดอีกวธิ ี หน่งึ ท่นี ิยมกันมาก โดยการเผชิญหน้าระหว่างพนกั งานขายกับตลาดเปา้ หมายเพอื่ การเสนอ ขายสินค้า 4.5 การตลาดทางตรงและการตลาดเช่ือมตรง (Direct Marketing and Online Marketing) การตลาดทางตรง เป็นการสื่อสารโดยตรงกับกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะรายท่ีเป็น เป้าหมาย เพื่อให้ได้รับการตอบสนองในทันทีทันใด ส่วนการตลาดเชื่อมตรงเป็นการ ส่ือสารทางการตลาดโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์เช่ือมตรงระหว่างผู้บริโภค และผู้ขายด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือตา่ ง ๆ

ชดุ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เรือ่ ง การสอ่ื สารการคา้ บรเิ วณชายแดนไทย - กัมพชู า 32 เรื่องท่ี 2.4 คาศพั ท์ท่เี กย่ี วข้องกับการตลาด คาชี้แจง เมอื่ ผเู้ รียนศึกษาคาศพั ท์เร่ืองดงั กลา่ วแล้ว ให้การฝกึ ออกเสียงภาษาเขมรจากสอ่ื วดี ทิ ัศน์ประกอบชุดการเรียน ท่ีถกู ตอ้ งประกอบไปดว้ ย การตลาด ការស្វែងយល់ពីទីផ្សារ (Marketing) การ ซแวง ยว็ ล ปตี ี พซา สนิ คา้ ទនំ ិញ (Product) ตมุ นิญ การบริการ សវវាកម្ម (Service) เซวากมั ผบู้ รโิ ภค អ្កន ប្រសោគ (Consumers) เนี๊ยะ บอริ โพก กลยุทธก์ ารตลาด យុទសធ ាស្តវរទីផ្សារ (Marketing Strategy) ยทุ ท ะซ๊ะ ตี พซา กาหนดตลาดเป้าหมาย កំណតទ់ ិវសៅ (Target Market) กอ็ ม นอ็ ต ตึ๊ เดา ผมู้ ีอานาจซอื้ អ្កន មានវម្តថោព (Purchasing Power) เนยี๊ ะเมียนสมตั ทะเพยี บ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook