Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัย 2564 การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพของการสอนออนไลน์

บทความวิจัย 2564 การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพของการสอนออนไลน์

Published by Esan NFE E-Book, 2021-11-01 06:56:42

Description: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพของการสอนออนไลน์สำหรับสถานศึกษา กศน. ดำเนินการโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาเอกสาร การสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญมีจำนวนทั้งสิ้น 71 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง และแบบสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้คือ ร้อยละ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ว่า องค์ประกอบและตัวชี้วัดคุณภาพของการสอนออนไลน์ สำหรับสถานศึกษา กศน. มีองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ คุณลักษณะ ความรู้และทักษะของผู้สอน การพัฒนาหลักสูตรและการออกแบบการสอน กระบวนการสอนและการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ และการส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัล มีตัวชี้วัดทั้งหมดรวม 25 ตัวชี้วัด ซึ่งตัวชี้วัดทุกตัวมีค่าร้อยละความเหมาะสมโดยรวมสูงกว่าร้อยละ 70 ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ระบุค่าการยอมรับคุณภาพของตัวชี้วัดที่ได้กำหนดไว้

Keywords: พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพม,การสอนออนไลน์ม,สถานศึกษา กศน. ม,วิธีวิจัยแบบผสมม,พลเมืองดิจิทัลม

Search

Read the Text Version

1 การพัฒนาตัวชว้ี ัดคณุ ภาพของการสอนออนไลน์ The Development of the Indicators of Quality Online Teaching สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื บทคัดยอ่ การวิจยั น้มี วี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพฒั นาตัวชี้วดั คณุ ภาพของการสอนออนไลนส์ ำหรบั สถานศกึ ษา กศน. ดำเนินการโดยใชร้ ะเบยี บวิธีวิจยั แบบผสม เก็บรวบรวมข้อมลู โดยการศกึ ษาเอกสาร การสอบถาม การสัมภาษณเ์ ชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมลู สำคัญมจี ำนวนท้ังสน้ิ 71 คน มาจากจังหวัดรอ้ ยเอด็ นครราชสีมา และอุบลราชธานี เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย แบบบนั ทกึ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณเ์ ชิงลกึ แบบกง่ึ โครงสร้าง และแบบสนทนากล่มุ การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณ สถิตทิ ใ่ี ช้คอื ร้อยละ ส่วนการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ คณุ ภาพใชว้ ิธกี าร วเิ คราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ว่า องคป์ ระกอบและตวั ชว้ี ัดคุณภาพของการสอนออนไลน์ สำหรบั สถานศึกษา กศน. มีองค์ประกอบ 5 ด้าน คอื คณุ ลักษณะ ความรู้และทกั ษะของผสู้ อน การพัฒนาหลักสูตรและการออกแบบการสอน กระบวนการสอนและการเรยี นรู้ การวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการสง่ เสริมความเปน� พลเมืองดจิ ิทัล มตี วั ชี้วัด ทงั้ หมดรวม 25 ตวั ชี้วัด ซึ่งตวั ช้ีวัดทุกตัวมีค่ารอ้ ยละความเหมาะสมโดยรวมสูงกว่าร้อยละ 70 ซึ่งเปน� เกณฑท์ ่ีระบคุ ่าการ ยอมรบั คุณภาพของตวั ช้ีวัดท่ีได้กำหนดไว้ คำสำคัญ: คุณภาพ, การสอนแบบออนไลน์, ตวั ชีว้ ัด ABSTRACT The overall objective of this research was to study and develop the indicators on quality online teaching for Non – Formal and Informal Education Centers. The used research methodology was Mix-method Research. The data was collected by documentary study, in-depth interview, and focus group discussion. Sources of data were 71 key informants from three provinces of Thailand: Roi -Et; Nakhon Ratchasima; Ubon Ratchathani. Used tools included field notes, questionnaire, semi – structured in-depth interview guide and focus group discussion guide. Percentage was employed to analyze quantitative data while content analysis method was used to analyze qualitative data. The study showed that there are five key components for assessing the quality online teaching: Traits and Competency of Online Teachers; Curriculum Development and Instructional Design; Teaching and Learning Process; Measurement and Evaluation; Digital Citizenship Promotion. These components cover 25 indicators. All of developed indicators were gained above the acceptance criteria, at 70 % of overall quality, that determine the suitability. Keywords: Quality, Online Teaching, Indicators

2 บทนำ ในระยะทผี่ า่ นมา มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมาใช้ในการจัดการศกึ ษาหลายรปู แบบ อาทิ การนำคอมพิวเตอร์มาใชเ้ ป�นอุปกรณช์ ่วยสอน การนำบรกิ ารตา่ งๆในระบบเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตมาพฒั นาเปน� ส่ือการ สอน และการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีอินเตอรเ์ น็ตเปน� สื่อกลางในการติดต่อ ส่ือสารระหว่างผูเ้ รียนและผสู้ อน โดยผเู้ รียนสามารถเรียนไดโ้ ดยไมม่ ขี ้อจำกัดในทุกท่ี ทุกเวลา เปน� การเสริมสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคในการเรยี นรู้ กอ่ ให้เกิดการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละชุมชนแหง่ การเรียนรอู้ อนไลน์ ขณะเดยี วกนั ได้มี การพฒั นาการจดั การศกึ ษาผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์อยา่ งตอ่ เนื่องจนมีรูปแบบวิธกี ารเรียนการสอนใหม่ ๆ เกดิ ขึน้ อย่าง มากมาย โดยคาดหวังใหผ้ เู้ รียนทุกคนสามารถเข้าถงึ การศึกษาท่ีมีคุณภาพ อย่างทั่วถึง ในป� พ.ศ. 2563 สำนักงาน กศน. ได้กำหนดพนั ธกิจประการหน่งึ ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานให้ หน่วยงาน สถานศึกษา ส่งเสรมิ และพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้พฒั นาประสทิ ธภิ าพใน การจัดและให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างทว่ั ถึง ขณะเดียวกันยังได้ กำหนดใหจ้ ำนวนหลักสตู รหรือสอ่ื ออนไลนท์ ี่ใหบ้ ริการกบั ประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบข้ันพ้นื ฐาน การศึกษา ตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั เปน� ตวั ช้ีวัดเชิงปรมิ าณเพ่อื ใชส้ ำหรบั การประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามนโยบายและ จุดเนน้ ดงั กล่าวดว้ ย จงึ ทำให้สถานศกึ ษา กศน. จำนวนหน่ึงจดั ใหม้ กี ารเรยี นแบบออนไลน์แก่ผู้เรยี นและผู้รบั บริการ ต่อมากระทรวงศึกษาธกิ ารได้มอบนโยบายใหส้ ำนักงาน กศน. ดำเนนิ การจดั การเรยี นกสอนแบบออนไลนแ์ ก่ กล่มุ เปา้ หมายให้กว้างขวางยิ่งขนึ้ สง่ ผลให้ครู กศน. ซึ่งเป�นผู้สอนไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพเพ่ิมข้นึ จนมีบางส่วนสามารถ เปด� หอ้ งเรียนออนไลน์ได้ และยงั มกี ารส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษา กศน. กำหนดหลักเกณฑ์ แนวปฏบิ ัติ และพฒั นา โครงสร้างพ้นื ฐานเพื่อรองรบั การเรยี นการสอนแบบออนไลนใ์ หม้ ีประสิทธิภาพด้วย อย่างไรกต็ าม การจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ของสถานศึกษา กศน. ในชว่ งที่ผ่านมาถือเป�นเพยี งชว่ ง เรมิ่ ต้น การดำเนินการยังมคี วามจำเป�นต้องได้รบั การพฒั นาทัง้ ในดา้ นประสทิ ธิผลและประสิทธภิ าพ และควรดำเนินการ วิจยั และพัฒนาควบคูก่ ันไปในขณะท่มี ีการจัดการเรียนการสอน ดังน้ัน สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จงึ ไดด้ ำเนินการศกึ ษาและพฒั นาตัวชี้วัดคุณภาพของการสอน ออนไลน์ เพ่ือเปน� ฐานเทยี บเคียง (Benchmarking) เพื่อการพัฒนาครแู ละบุคลากรผสู้ อนให้มีศักยภาพและความพร้อม สำหรับการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ตลอดจนเพอื่ นำไปประกอบการพจิ ารณาพฒั นาการจดั การเรียนการสอน แบบออนไลนใ์ ห้มปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหส้ ามารถส่งมอบบริการการศึกษาที่มีคุณภาพแก่ผเู้ รียนและผรู้ บั บรกิ าร รวมทง้ั นำไปใชส้ ำหรบั พัฒนาเกณฑแ์ ละเป�นแนวทางสำหรับการประเมิน การยกระดับมาตรฐาน และการพฒั นาหลกั เกณฑ์การ ดำเนินงาน ทงั้ น้ี เพ่ือให้การดำเนนิ งานจัดศึกษาออนไลน์ของสถานศกึ ษาสังกัดสำนกั งาน กศน. มปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน ต่อไป

3 วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาและพัฒนาตวั ชวี้ ัดคุณภาพของการสอนออนไลนส์ ำหรบั สถานศึกษา กศน. 2. เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพของตัวชวี้ ัดคุณภาพของการสอนออนไลน์สำหรบั สถานศึกษา กศน. ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1. ตวั ชว้ี ดั คุณภาพของการสอนออนไลนท์ ี่พฒั นาขนึ้ มีคุณภาพเหมาะสม สถานศกึ ษา กศน. ทีจ่ ัดให้มีการเรียน การสอนแบบออนไลน์สามารถใช้เทียบเคียง และใช้ประกอบการพิจารณายกระดับประสิทธิภาพการจัดการเรียนการ สอนเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถเขา้ ถงึ การศึกษานอกระบบขนั้ พืน้ ฐานและการศกึ ษาต่อเนื่องทีม่ ีคุณภาพ อยา่ งทั่วถึง 2. ครู กศน. ที่จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์นำตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นไปเป�นเครื่องมือประกอบการทบทวน เทียบเคยี ง และพฒั นาการเรยี นการสอนของตน ตลอดจนนำตวั ชี้วัดท่ีพัฒนาข้นึ ไปใช้ประเมินตนเอง เพ่ิมพูนและพัฒนา ตนเอง เพ่ือใหม้ ีสมรรถนะสอดคลอ้ ง หรอื เปน� ไปตามแนวทางท่ีตัวชีว้ ดั คุณภาพของการสอนออนไลน์ระบุไว้ การศกึ ษาแนวคดิ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 1. แนวคิดเกยี่ วกบั การเรียนการสอนออนไลน์ การเรยี นการสอนออนไลน์ (Online Learning) เปน� นวตั กรรมทางการศึกษารูปแบบหนงึ่ ซง่ึ นำเอาเทคโนโลยี และการส่ือสารมาใช้ประโยชนท์ างการศกึ ษา เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเขา้ ถึงการศึกษาได้อยา่ งทั่วถึงเพ่ิมมากข้ึน ท้งั น้ีอาจมี การนำการเรียนการสอนออนไลนม์ าใชแ้ ทนหรือใช้เสรมิ วิธเี รยี นรูปแบบเดมิ ทผี่ เู้ รียนและผูส้ อนจำเป�นตอ้ งอย่ใู นสถานที่ เดียวกัน ในเวลาเดยี วกนั ด้วยการนำเทคโนโลยีทางการศกึ ษาและเครือ่ งมือและอปุ กรณ์การสื่อสารสมยั ใหมม่ าช่วยให้ กจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอนสามารถกระทำได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา การเรยี นการสอนแบบออนไลนส์ ว่ นใหญเ่ ป�น เรียนทางผา่ นชอ่ งทางเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต โปรแกรมการเรียนการสอนออนไลนข์ องสถานศกึ ษาต่าง ๆ มีลกั ษณะและข้อกำหนดของกิจกรรมการเรยี นการ สอนทีแ่ ตกต่างกนั แตอ่ าจสามารถจำแนกออกเป�น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดงั นี้ Carleton University, 2021) (Fordham University, 2021) (Montana Technological University, 2021) (University of Auckland, 2021) 1) โปรแกรมแบบ Asynchronous Courses ซึ่งผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้เชอ่ื มต่อหรือออนไลนใ์ นเวลาเดยี วกนั ตั้งแต่เร่มิ ตน้ จนสน้ิ สดุ การศกึ ษา ผสู้ อนจะกำหนดกรอบเวลาและกิจกรรมทผี่ ู้เรยี นจะต้องปฏบิ ัติ ผู้เรยี นตอ้ งวางแผนเวลา เขา้ เช่อื มต่อออนไลน์ในลงิ ค์ที่ผ้สู อนกำหนดไวต้ ามที่ตนเองสะดวก และเรียนร้ดู ว้ ยตนเองเป�นหลัก 2) โปรแกรมแบบ Synchronous Courses โดยผู้เรยี นจะตอ้ งมปี ฏสิ มั พันธ์ รับฟง� การบรรยายหรอื ทำกจิ กรรม ในเวลาเดียวกบั ที่ผสู้ อนทำการสอนสด (Live) ผู้เรียนและผูส้ อนมกี ารพบหนา้ กัน (Face-to-Face) ในชน้ั เรยี นออนไลน์ ผา่ นช่องทางการสือ่ สารออนไลน์

4 3) โปรแกรมแบบ Blend Courses ผสู้ อนและผ้เู รียนจะมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนในลกั ษณะ ผสมผสานกันหลากหลายแบบ ท้งั การเขา้ เรยี นในชน้ั เรยี นออนไลนท์ ี่มีการสอนสด การมอบหมายงานให้ผูเ้ รยี นศึกษาด้วย ตนเองในเวลาทสี่ ะดวกในลิงค์ท่กี ำหนด และอ่ืน ๆ ในการดำเนินการเพ่ือจัดให้มีการเรยี นการสอนออนไลน์นัน้ ตามแนวคิด ADDIE Model ได้ระบุกรอบความคดิ ในการพัฒนาและดำเนินการเก่ยี วกบั การเรยี นการสอนออนไลน์ แบง่ ออกเปน� 5 ชว่ งเวลา/ลำดับขน้ั ดงั นี้ (United Nations, 2020) 1) ข้ันวเิ คราะห์ (Analysis) คอื การศกึ ษา พิจารณา และวิเคราะห์บริบททางสังคมและการศึกษา เพ่ือศึกษา แนวทางท่เี หมาะสม ความเป�นไปได้ และความสามารถในการรองรบั การเพม่ิ ขยายในอนาคต (Scalability) ของ โปรแกรมการเรยี นการสอนออนไลน์ 2) ขนั้ ออกแบบ (Design) คือ การกำหนดยทุ ธศาสตร์การสอน กระบวนการ กจิ กรรม และการประเมนิ ผลทจี่ ะ ทำให้บรรลจุ ุดประสงคข์ องการเรียนรู้ 3) ขนั้ พัฒนา (Development) คอื การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูท้ จ่ี ะช่วยใหผ้ ้เู รียนพัฒนาความสามารถของ ตนเองให้สงู ขนึ้ 4) ขั้นดำเนินการ (Implementation) คอื การสง่ มอบเนื้อหาสาระและกจิ กรรมการเรยี นรู้สู่ผ้เู รยี น 5) ข้นั ประเมนิ ผล (Evaluation) คอื การประเมินประสิทธผิ ลและประสิทธิภาพของโปรแกรมการสอนออนไลน์ 2. แนวคิดเกีย่ วกบั คณุ ภาพของการสอนออนไลน์ จากการศึกษางานวจิ ยั ท่เี กย่ี วกบั องค์ประกอบที่สง่ ผลต่อคุณภาพของการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ พบว่า องคป์ ระกอบสำคัญทีเ่ กยี่ วข้องกบั คุณภาพของการเรียนการสอนออนไลน์ สรปุ ได้ ดงั น้ี (Volery and Lord, 2000) (Cheawjindakarm, Suwannatthachote and Theeraroungchaisri, 2012) (Basak, Wotto and Belanger, 2016) 1) เทคโนโลยแี ละการสอื่ สาร (Technological Factors) ซึง่ หมายถงึ ความพรอ้ มของเครื่องมือ อุปกรณ์ ฮารด์ แวร์ ซอฟท์แวร์ คณุ ภาพของเทคโนโลยีการสอ่ื สาร ความสะดวกและความสามารถในการใช้งานและการเข้าถึง อินเทอรเ์ น็ตของผู้สอนและผู้เรยี น และสงิ่ ทใ่ี ช้เชอ่ื มตอ่ (Interface) ระหวา่ งผสู้ อนกับผ้เู รยี น 2) ศาสตร์และศิลปใ์ นการสอน (Ethical and Pedagogical Factors) ซ่งึ ครอบคลุมตงั้ แตจ่ รรยาบรรณของ ผูส้ อน ทัศนคติท่ีมีต่อวชิ าชีพและผู้เรียน ความสามารถทางวชิ าการ เทคนิคการสอน การพฒั นาตนเอง ความเท่าทันต่อ วิทยาการ ศกั ยภาพและความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สารเพ่อื การศึกษา 3) การออกแบบการสอน (Instructional Design) ทงั้ การออกแบบในระดบั หลักสูตร และระดับรายวชิ า ซ่ึงเริม่ ตั้งแต่การศึกษาและระบคุ วามตอ้ งการจำเป�นของผู้เรียน วัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการ

5 เรียนรู้ ท้ังนี้หลักสตู รและเน้ือหาสาระในการเรยี นร้ตู ้องตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน สอดคลอ้ งกับบริบท สภาพ และแนวโน้มการพฒั นาด้านเศรษฐกิจ สงั คม นวัตกรรมและเทคโนโลยี 4) การจดั กระบวนการเรยี นรู้ (Learning Process) ซึง่ หมายถึงปฏสิ มั พันธ์ (Interaction) กจิ กรรม และการ ส่ือสารเพ่ือสง่ ผา่ นความรู้ระหว่างผู้สอนกบั ผเู้ รยี นท่ีดำเนินการผา่ นเทคโนโลยีการสอื่ สารและช่องทางตา่ ง ๆ ทก่ี ระตุน้ ให้ ผ้เู รียนมสี ว่ นรว่ ม (Engagement) กบั ผู้สอน และการแลกเปลีย่ นเรยี นร้รู ะหว่างผูเ้ รียนด้วยกันเอง 5) การประเมินผล (Evaluation) ซ่งึ ครอบคลุมทง้ั การตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ (Learning Assessment) การให้ความช่วยเหลือ การส่องสะทอ้ นการเรยี นรู้ (Feedback) ของผเู้ รยี น การตดิ ตามประมนิ ผลเพื่อการ พัฒนาหลักสูตร (Course Evaluation) วิทยา วาโย และคณะ (2563) อธิบายไวว้ า่ การจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์เป�นการจัดการเรยี นรู้ท่ี ผสมผสานองค์ความร้รู ่วมกบั นวัตกรรมการเรียนร้แู ละเทคโนโลยีทที่ นั สมัย มีรปู แบบการสอนท่ีหลากหลาย โดยมี องค์ประกอบสำคัญ สรุปได้ดงั น้ี 1) ผ้สู อน (Instructor) ความเชยี่ วชาญของผ้สู อน มสี ่วนทำใหก้ ารสอนออนไลน์บรรลเุ ป้าหมาย ซ่งึ บทบาทของผู้สอนเป�นผู้ให้คำแนะนำ (Guide) พ่ีเลยี้ ง (Mentor) เปน� ผูฝ้ �ก (Coach) ผู้อำนวยความสะดวก (Facilitators) ผสู้ อนต้องพัฒนาสมรรถนะด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือส่งเสรมิ กระบวนการจัดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ มีความพร้อมในการแก้ไขป�ญหาเฉพาะหน้าขณะท่ีสอน และควรมีการตดิ ตามการเข้าเรยี นของผูเ้ รียนอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง 2) ผู้เรยี น (Student) ต้องมคี วามพร้อมในดา้ นการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ การรเู้ ทา่ ทันสื่อดิจิทัล (Digital Literacy) สามารถสืบค้น วิเคราะห์ข้อมลู ประเมนิ เน้อื หาอย่างเป�นระบบ โดยใชว้ ิจารณญาณในการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ข้อมูลไดอ้ ย่างเหมาะสม มีการเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นรู้ 3) เน้อื หา (Content) เนื้อหาควรมกี ารออกแบบโครงสรา้ งตามวัตถุประสงค์ของรายวชิ า มีการวางแผนผัง รายวิชาเพือ่ เป�นระบบนำทางเช่อื มโยงไปสู่เน้ือหาท้ังหมดในบทเรยี น สำหรบั ข้อความของเน้ือหาควรมีความชดั เจน กระชบั เข้าใจง่าย มกี ารปรับปรงุ ใหท้ นั สมัยอยตู่ ลอดเวลา เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาทำความเขา้ ใจได้ดว้ ยตนเองอย่าง เหมาะสม มีการจดั ลำดบั ข้อมลู และหัวข้อย่อยที่เชือ่ มโยงกนั เนื้อหาในบทเรยี นส่งเสริมหรอื จูงใจใหผ้ ู้เรยี นอยากศึกษา คน้ ควา้ เพิ่มเติมภายหลัง 4) สื่อการเรียนและแหล่งเรยี นรู้(Instructional Media & Resources) ส่ือท่ใี ช้ในการสอนควรมีความแปลก ใหม่ ดงึ ดดู ความสนใจของผเู้ รียนและกระตนุ้ การเรยี นรู้ ผู้สอนควรเลอื กใช้ส่ือเอย่างหมาะสม เช่น ขนาดตวั หนงั สือ สี ความคมชดั ของรูปภาพ ความถูกต้องของขอ้ มูล รวมท้ังส่อื ท่ีนำมาใช้ควรมีความสอดคล้องกบั เน้ือหาของรายวิชาเพ่ือให้ ผูเ้ รยี นเกิดความเขา้ ใจเพม่ิ มากขนึ้ นอกจากนี้แหลง่ เรียนรู้ (Resources) ทงั้ หนงั สอื ตำรา E-book E-Journal ห้องสมุด เป�นทางเลือกที่ทำใหผ้ ู้เรยี นสามารถเข้าถงึ ส่ือการเรียนรู้ ด้วยการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเตมิ เพ่อื นำมาประกอบการเรียน ซ่ึง

6 แหลง่ เรียนรู้ควรมคี วามหลากหลายให้ผู้เรียนสบื คน้ ไดอ้ ย่างเพยี งพอ ทำใหผ้ ้สู อนไม่จำเป�นต้องใส่เน้ือหาในบทเรยี น ทง้ั หมด 5) กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (Learning Process) กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ี่มปี ระสิทธภิ าพ ควรส่งเสริมให้ ผูเ้ รียนได้สามารถนำเนื้อหาไปประยุกตส์ กู่ ารเรียนร้ตู ามสภาพจรงิ (Authentic Learning) 6) ระบบการตดิ ตอ่ สื่อสาร (Communication Systems) ไดแ้ ก่ การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) เป�นการถ่ายทอดเน้ือหาผ่านส่อื การสอน โดยไม่มีปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผู้สอนกบั ผเู้ รยี น และการส่ือสาร สองทาง (Two-Way Communication) เปน� การถ่ายทอดเน้ือหาผา่ นส่อื การสอน เชน่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ระบบการจดั บทเรยี น (Learning Management System: LMS) หรือการ เรียนโดยผ่านแอปพลิเคช่นั การประชุมทางวิดีโอ เชน่ Google Hangout Meet, Zoom Meeting, Microsoft Teams เป�นตน้ ซึง่ ผสู้ อนและผเู้ รยี นสามารถพูดคยุ ซักถามร่วมกันได้ในขณะท่สี อนและตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียนได้ การ เลอื กระบบการติดตอ่ ส่ือสารชนิดสองทางผ่านโปรแกรมต่างๆ สามารถส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนและผ้เู รียนได้มปี ฏสิ มั พันธร์ ว่ มกัน เพ่มิ ขึ้น ทำใหผ้ ูเ้ รยี นกล้าท่ีจะพูดคุยหรือซักถามกับผู้สอนได้สะดวกมากข้ึน 7) ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Network Systems) เป�นช่องทางในการอำนวยความสะดวกให้การ เรียนการสอนมีความราบรนื่ ได้ ประกอบดว้ ย ระบบเครือข่ายภายในสถาบนั (Intranet) เปน� ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ภายในสถานศึกษา ซงึ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถเข้ามาใชเ้ ครือขา่ ยภายในสถานศกึ ษาสำหรับการเรยี นออนไลนไ์ ด้ และระบบ เครือข่ายภายนอกสถาบัน (Internet) ทเี่ ชอ่ื มต่อระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทัว่ โลกเพ่ือให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ รวดเรว็ ซง่ึ ผเู้ รยี นสามารถใชเ้ ครือข่ายอินเตอร์เน็ตสำหรบั การเขา้ เรียนออนไลนไ์ ด้ทกุ ท่ี ทุกเวลา รวมท้งั สบื ค้นข้อมูล ประกอบการเรียนรู้ได้ อย่างไรก็ตาม อาจมีขอ้ จำกดั เกย่ี วกับความพร้อมของนักศึกษาในเรือ่ งการเตรยี มอุปกรณ์เช่ือมต่อ กับระบบเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและพน้ื ทที่ ี่ไม่มสี ัญญาณเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ รวมถงึ ความเร็วของอินเตอรเ์ นต็ 8) การวัดและการประเมินผล (Measurement and Evaluation) ควรมีความหลากหลาย เพ่ือวัดประเมินผล ผูเ้ รยี นให้สอดคล้องตามสภาพจริง ออกแบบเคร่ืองมือวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลให้มีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งควรมีการ สง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมในการทดสอบออนไลน์ เพ่ือป้องกนั การทจุ รติ ในระหวา่ งการสอบ ผู้สอนมีการกำหนดวิธีการ สอบชดั เจน มีระบบการจดั เรียงขอ้ สอบแบบส่มุ ทำให้การเรยี งลำดับขอ้ สอบแต่ละชดุ ท่สี ่งใหผ้ ูเ้ รียนทำการสอบนัน้ จะไม่ เหมือนกนั พร้อมทั้งมเี วลาเปน� ตวั กำหนดการสนิ้ สดุ ใชง้ านในระบบ และผูเ้ รียนตอ้ งเปด� กลอ้ งตลอดเวลาขณะท่ีมีการ ทดสอบเพือ่ ให้ผูส้ อนไดส้ งั เกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี น แต่ละคนได้ ในสหรฐั อเมรกิ า กลุ่มพันธมติ รผูน้ ำดา้ นการเรยี นรู้เสมอื นจริง (Virtual Learning Leadership Alliance and Quality Matters, 2019) ได้นำเสนอมาตรฐานระดับชาติวา่ ด้วยคณุ ภาพของการสอนออนไลน์ (National Standards for Quality Online Teaching) โดยจำแนกมาตรฐานออกเปน� 8 ดา้ น และมีคำอธิบายมาตรฐานแตล่ ะดา้ น ไวด้ ังนี้ 1) มาตรฐานที่ 1 ความรบั ผิดชอบต่อวชิ าชีพครู (Professional Responsibilities)

7 ครอู อนไลน์แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความรบั ผิดชอบอย่างมืออาชีพในการปฏบิ ตั ิตามแนวทางปฏบิ ัติที่ดีทส่ี ุดของการ สอนออนไลน์ คำอธิบายมาตรฐาน ประกอบด้วย 1.1) ครูออนไลนม์ ีคณุ สมบตั ิตรงตามมาตรฐานวิชาชีพหรือมวี ทิ ยฐานะในสาขาวิขาทตี่ นรบั ผิดชอบการสอน 1.2) ครูออนไลน์แสดงออกถึงความเอาใจใส่ในงานทรี่ ับผดิ ชอบและความพยายามแสวงหาโอกาสเพือ่ พฒั นางานอยเู่ สมอ 1.3) ครอู อนไลน์แสวงหาความรู้และทักษะทเี่ กย่ี วข้องกับการเรยี นรอู้ อนไลนร์ วมทัง้ ศาสตรแ์ ละศิลปใ์ นการ จดั การเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนือ่ ง 1.4) ครูออนไลนป์ ฏบิ ตั ิตนเปน� แบบอยา่ งของการปฏบิ ตั ิท่ีเป�นเลิศ (Best practices) ในหอ้ งเรยี นออนไลน์ และสนับสนนุ ให้เพื่อนครสู ่องสะท้อนการปฏิบัตงิ านและเพิ่มพนู ความรเู้ กีย่ วกับการจัดการศกึ ษาออนไลน์อยา่ งต่อเนือ่ ง ตลอดชวี ิต 1.5) ครูออนไลน์แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การมีความรเู้ กี่ยวกับบทบาทของการเรยี นรอู้ อนไลน์ท่มี ตี ่อการเตรียม ความพร้อมผู้เรียนใหม้ สี ว่ นรว่ มในฐานะพลเมืองของโลก 1.6) ครอู อนไลน์แสดงให้เหน็ ถึงการมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกับกลยุทธ์การบริหารเวลาทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 1.7) ครูออนไลน์ปฏบิ ัติตนเปน� แบบอย่างพลเมืองดใี นสังคมดจิ ทิ ัล สนับสนุนและเสริมสรา้ งความตระหนกั ใหผ้ ู้เรยี นเห็นถงึ ประโยชน์ ความเสีย่ ง การปฏบิ ตั ติ นที่ถูกต้อง เหมาะสมในสังคมออนไลน์ และสังคมดจิ ิทลั 1.8) ครอู อนไลน์เก็บรักษาบันทกึ ข้อมูลและการตดิ ต่อสื่อสาร เอกสาร รปู ภาพ และตวั อย่างช้นิ งานท่ี เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนอยา่ งถูกต้อง ในรูปแบบท่ีเหมาะสม 1.9) ครูออนไลน์สามารถอธิบายการปฏบิ ัตแิ ละความรบั ผิดชอบตามกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกบั การใช้ อนิ เตอร์เน็ต 2) มาตรฐานท่ี 2 ศาสตรแ์ ละศลิ ป์การสอนด้วยดิจิทัล (Digital Pedagogy) ครอู อนไลน์สนบั สนนุ การเรยี นรู้ อำนวยความสะดวก และแสดงตนตอ่ ผู้เรียน เพื่อนครู และสงั คม ถึงความ มที กั ษะและความสามารถดา้ นการสอนดว้ ยดจิ ิทัล คำอธบิ ายมาตรฐาน ประกอบด้วย 2.1) ครูออนไลนใ์ ช้เคร่ืองมือการสอนแบบดิจทิ ลั ท่ีสนับสนุนการตดิ ต่อสือ่ สาร การประสานสัมพนั ธ์ การ วเิ คราะห์ การนำเสนอ การค้นควา้ การส่งมอบเนื้อหาการเรยี นรู้ และการโตต้ อบกับผู้เรียน 2.2) ครูออนไลนน์ ำเทคโนโลยี เครอื่ งมอื และแหล่งเรียนร้อู นื่ มาใช้รว่ มกับการสอนออนไลนเ์ พ่ือเพิม่ ความสามารถในการตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียนเป�นรายบคุ คล 2.3) ครอู อนไลนใ์ ชเ้ คร่ืองมือทีห่ ลากหลายเพื่อรกั ษาความสมั พนั ธ์กบั ผ้เู รียนและสรา้ งปฏิสัมพันธใ์ นหมู่ ผู้เรยี น ตลอดจนติดตามและสร้างแรงจงู ใจให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วม 2.4) ครูออนไลน์มีการสาธิตการแก้ไขปญ� หาพืน้ ฐานและการจดั การกบั ปญ� หาทางเทคนิคพ้ืนฐานท่ีมัก เกดิ ขึน้

8 2.5) ครูออนไลน์สนับสนนุ ให้เกดิ พ้ืนท่กี ารเรยี นรดู้ จิ ิทลั ท่ีปลอดภัยสำหรับผเู้ รียนทุกคน (เชน่ การรกั ษา ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ความคาดหวงั ในความเป�นสว่ นตัว ความถูกต้องของอัตลกั ษณ์ดจิ ิทัลของบคุ คล) 3) มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งชมุ ชนออนไลน์ (Online Community Building) ครอู อนไลนอ์ ำนวยความสะดวกในการโต้ตอบและการทำงานรว่ มกันเพ่ือสรา้ งชมุ ชนออนไลน์ท่สี นบั สนนุ ซง่ึ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้อยา่ งกระตือรือรน้ คำอธบิ ายมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 3.1) ครูออนไลน์ใช้เทคนิคการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน� ศนู ยก์ ลางและใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นเรียนรแู้ ละทำงานรว่ มกนั 3.2) ครอู อนไลนส์ รา้ งความคาดหวังแบบผ้เู รยี นมีสว่ นร่วมเกยี่ วกับปฏสิ มั พันธ์ท่เี หมาะสมระหว่างกันของ กลมุ่ ผ้เู รียน ซ่งึ ครอบคลุมถงึ การระบุขอ้ กำหนด แนวทางการปฏิบตั ิและแบบอย่างการปฏิบตั ติ ามขอ้ กำหนด 3.3) ครอู อนไลน์พัฒนาชมุ ชนออนไลน์ในหมผู่ ้เู รยี นที่มีความหลากหลายทางวฒั นธรรมโดยเป�ดโอกาสใหม้ ี การปฏสิ มั พันธท์ เ่ี อ้ือต่อการเรียนรูแ้ บบลงมอื ปฏบิ ตั ิเองและรว่ มมอื กนั (Active learning) 3.4) ครูออนไลน์ส่งเสริมให้มผี ู้เรยี นมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งกนั เพื่อส่งเสรมิ การทำงานรว่ มกันและเสรมิ สร้าง ทักษะการคดิ ขั้นสูง เชน่ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ และ/หรือการประเมนิ ผล 3.5) ครูออนไลนส์ ามารถตอบสนองความตอ้ งการการเรียนรู้ของผเู้ รยี นทกุ คนโดยไม่คำนึงถงึ ภูมิหลังและ มุมมองทางวฒั นธรรม 4) มาตรฐานที่ 4 การมสี ว่ นร่วมของผเู้ รียน (Learner Engagement) ครอู อนไลนส์ ่งเสริมความสำเร็จของผ้เู รยี นด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กบั ผเู้ รยี นและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี โดยการ อำนวยความสะดวกอยา่ งเตม็ ทเ่ี พ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ คำอธบิ ายมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 4.1) ครอู อนไลน์เลอื กใชส้ อื่ แอปพลเิ คชัน แพลตฟอร์ม ระบบการจัดการการเรียนรู้ ทเี่ ป�ดโอกาสผเู้ รียนมี สว่ นร่วมในการเรยี นรู้อยา่ งทวั่ ถึงและมปี ระสทิ ธิภาพ มชี ่องทางที่สะท้องกลับให้ทราบถึงแนวทางการปรบั ปรุง เพ่ือให้ ผเู้ รยี นแต่ละคนบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายการเรยี นรู้ 4.2) ครอู อนไลน์วางแผนรว่ มกับผเู้ รยี นเพ่ือกำหนดเป้าหมายหรอื ผลลัพธท์ คี่ าดหวงั จากการเรียนรู้ กระบวนการติดตามความกา้ วหน้าในการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ ที่อาจจำเป�น 4.3) ครอู อนไลนป์ รบั การสอนใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับเปา้ หมายการเรียนรู้ ศักยภาพ ความพร้อม ความสนใจ และวถิ ีการเรียนรู้ของผเู้ รยี น 4.4) ครูออนไลน์เสรมิ สรา้ งกำลังใจและสร้างสมั พันธภาพกับผู้เรียนด้วยช่องทางและวิธีการตดิ ตอ่ สือ่ สารที่ หลากหลายและทนั ท่วงที 4.5) ครอู อนไลนช์ ่วยให้ผู้เรยี นบรรลจุ ุดประสงค์การเรยี นรู้โดยใช้วธิ สี อนและการสะทอ้ นกลับ (Feedback) ที่มีคณุ ภาพ ดว้ ยรูปแบบและช่องทางทหี่ ลากหลาย

9 4.6) ครอู อนไลนจ์ ดั เตรียมส่ือ แหล่งความรู้ ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศทีจ่ ำเปน� ที่เอื้ออำนวยและนำพาให้ ผเู้ รียนบรรลจุ ดุ ประสงคใ์ นการเรยี นรู้ 4.7) ครูออนไลน์ตดิ ต่อส่ือสารกบั ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียอยเู่ สมอเกย่ี วกับความก้าวหน้าของผู้เรยี นและกลยุทธ์ ในการสนบั สนนุ การมสี ว่ นร่วมของผเู้ รียน 5) มาตรฐานที่ 5 ความเป�นพลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) ครูออนไลนเ์ ป�นแบบอยา่ ง แนะนำ ส่งเสริมพฤตกิ รรมทีส่ อดคลอ้ งกับกฎหมาย จริยธรรม และการ แสดงออกที่เหมาะสม ปลอดภัย ซงึ่ เกย่ี วกับการใช้เทคโนโลยี คำอธิบายมาตรฐาน ประกอบด้วย 5.1) ครูออนไลน์สรา้ งเสริมประสบการณก์ ารเรียนรแู้ กผ่ เู้ รยี นในการเป�นแบบอย่างและการส่งเสรมิ ความ เป�นพลเมืองดิจิทัล 5.2) ครอู อนไลนม์ ีการกำหนดมาตรฐานเชิงพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นทชี่ ัดเจนและเพียงพอเก่ียวกับการใช้ อินเทอร์เน็ตอย่างเหมาะสม สอดคล้องกบั ข้อตกลง ข้อกำหนดของระดบั รายวชิ า และระดบั สถานศกึ ษา 5.3) ครอู อนไลนเ์ ปน� แบบอยา่ งและปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บและนโยบายทรัพยส์ ินทางป�ญญา มาตรฐานการ ใช้งานที่เปน� ธรรม และส่งเสริมให้ผู้เรยี นถอื ปฏบิ ัติ 5.4) ครอู อนไลน์ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายและข้อกำหนดต่างๆ ของหนว่ ยงาน และสถานศึกษาต้นสังกดั 6) มาตรฐานท่ี 6 ความหลากหลายของเทคนคิ วธิ สี อน (Diverse Instruction) ครูออนไลน์ปรบั เปลยี่ นการสอนตามความต้องการทางวิชาการ สงั คม และอารมณ์ที่หลากหลายของผูเ้ รียน คำอธบิ ายมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 6.1) ครอู อนไลนแ์ ละเจา้ หน้าท่ซี ่ึงใหค้ วามชว่ ยเหลอื /สนบั สนุน มกี ารติดตาม ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ใน การเรยี นรู้ของผูเ้ รียนรายบุคคล และให้การสนับสนนุ เพม่ิ เติมตามสมควรต่อผู้เรยี นทกุ คน โดยให้ความสนใจเป�นพเิ ศษกับ ผเู้ รยี นท่ีเปน� กลุ่มด้อยโอกาส และกล่มุ พเิ ศษ 6.2) ครูออนไลน์มีการปรึกษาหารือกับเจ้าหน้าทีผ่ ู้รบั ผดิ ชอบของสถานศึกษาอยู่เสมอเกีย่ วกับการ ดำเนนิ งานสอนออนไลน์ การทบทวนหรอื ปรบั เปล่ียนกิจกรรมและสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีความจำเปน� อ่ืนใด เพอื่ ชว่ ย ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน 6.3) ครอู อนไลนใ์ ช้ข้อมูลท้ังข้อมูลเชงิ ปรมิ าณและข้อมูลเชงิ คณุ ภาพเพ่ือระบผุ เู้ รียนทต่ี ้องการบรกิ าร สนับสนุนเพม่ิ เตมิ 6.4) ครอู อนไลน์สรา้ งสอื่ การเรยี นการสอนทางเลอื กในรปู แบบอ่ืนหากจำเปน� เพื่อรองรบั วธิ ีการทางเลือก เพอื่ เขา้ ถึงและตอบสนองความต้องการของผเู้ รยี นที่หลากหลาย 6.5) ครอู อนไลน์สามารถแนะนำเทคโนโลยที ี่มีส่วนชว่ ยเอ้ืออำนวยการเรียนรูแ้ ละตอบสนองความตอ้ งการ เหมาะสมและเป�นทชี่ ืน่ ชอบของผเู้ รียน 6.6) ครูออนไลน์จดั กิจกรรมเสรมิ เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นให้เจรญิ ก้าวหนา้ หรอื เพื่อเพิ่มคณุ ค่าของผู้เรียน

10 6.7) ครอู อนไลนส์ นับสนนุ และจดั ให้มีเวทีวชิ าการเพื่อการแลกเปล่ียน แบ่งปน� ประสบการณ์ ความสามารถ และทกั ษะตา่ งๆ ทผี่ ้เู รยี นสามารถนำมาใช้กับสภาพแวดลอ้ มของการเรยี นออนไลน์ 7) มาตรฐานที่ 7 การวดั ผล ประเมินผล (Assessment and Measurement) ครูออนไลน์ดำเนินการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รียน ด้วยวธิ กี าร ขนั้ ตอน และเคร่ืองมือทีท่ ำให้ ไดผ้ ลการวดั และประเมนิ ผลท่ีมคี วามตรง (Validity) และความเชอื่ มัน่ (Reliability) ทงั้ ในระดับรายวชิ า และ/หรือใน ระดบั หลักสูตร คำอธิบายมาตรฐาน ประกอบด้วย 7.1) ครอู อนไลนเ์ ลอื กเคร่ืองมือการประเมินท่ีเหมาะสมซึ่งเป�ดโอกาสใหน้ ักเรยี นแสดงความรอบรูใ้ นเน้ือหา ทีไ่ ดเ้ รยี น 7.2) ครูออนไลน์ใชศ้ าสตร์ด้านการสอนและความรู้ด้านเน้ือหา เพ่ือออกแบบ พัฒนา และดำเนนิ การวดั ผล ประเมินผลใหม้ ปี ระสทิ ธิผล ดว้ ยวิธดี ำเนนิ การและเคร่ืองมือท่ีมีความตรง และความเชื่อม่ัน 7.3) ครอู อนไลนใ์ ช้วธิ กี ารประเมินทหี่ ลากหลายเพ่ือใหว้ ดั ความสามารถของผูเ้ รียนได้อย่างแม่นยำ 7.4) ครอู อนไลนป์ ระเมนิ ความพร้อม ประเมินความก้าวหน้าในการเรยี นรรู้ ะหวา่ งเรียน (Formative Evaluation) และประเมนิ เพื่อสรุปผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น (Summative Evaluation) และรวบรวมความคดิ เหน็ ของ ผ้เู รียนตลอดหลกั สูตร 7.5) ครอู อนไลนส์ ามารถรบั รองความสอดคล้องระหวา่ งงานท่ีมอบหมาย การประเมินผล และเป้าหมาย การเรียนรู้ตามมาตรฐาน 7.6) ครูออนไลนป์ รับเปล่ียน พฒั นาการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสม โดยใช้ผลการปฏิบัตแิ ละผลจากการ ประเมิน ตลอดจนความต้องการของผู้เรยี นเป�นฐาน 7.7) ครูออนไลน์สร้างโอกาสและวิธีการใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมประเมินตนเอง 8) มาตรฐานที่ 8 การออกแบบการสอน (Instructional Design) ครอู อนไลนจ์ ะดูแล และ/หรือสรา้ ง ส่อื เคร่ืองมือ ทรัพยากร และแหล่งเรียนรเู้ พ่ือการเรียนการสอน ออกแบบกระบวนการเรยี นการสอนเพื่อให้ดึงดูดผเู้ รียนทกุ คน และม่ันใจวา่ จะสามารถบรรลเุ ป้าหมายทางวชิ าการ คำอธิบายมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 8.1) ครูออนไลนอ์ อกแบบประสบการณก์ ารเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยเี พือ่ ดงึ ดดู และสรา้ งเสริมการมสี ว่ นรว่ ม ของผเู้ รยี นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 8.2) ครอู อนไลน์ออกแบบและจดั ลำดบั บทเรียนทีส่ ามารถส่องสะทอ้ นถึงพัฒนาการหรือความก้าวหน้าใน การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น 8.3) ครอู อนไลนใ์ ช้สือ่ มลั ติมเี ดียท่ีหลากหลายในบทเรยี นหรือโมดูลการเรยี นรู้ออนไลน์ 8.4) ครอู อนไลน์สามารถรวมแหลง่ เรยี นรดู้ ิจิทลั เพ่อื การเรยี นรู้เฉพาะเรื่องที่เหมาะสมและเกย่ี วขอ้ งกับ บทเรยี นหรือโมดูลการเรยี นรู้ออนไลน์

11 8.5) ครูออนไลนต์ รวจสอบและปรับปรุงเน้อื หาหลกั สตู รอย่างต่อเนอ่ื งเพ่ือใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงค์ และมาตรฐานของรายวชิ า หรือหลักสตู ร 8.6) ครอู อนไลนส์ ร้าง เลือก และจัดระบบงานทมี่ อบหมายแก่ผู้เรียน วัดผลและประเมนิ ผลโดยคำนงึ ถึง สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาและจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ตามมาตรฐานรายวชิ า หรอื หลักสตู ร จากทกี่ ลา่ วมาจะเห็นได้วา่ การศกึ ษาออนไลน์หรือการเรยี นการสอนออนไลน์ เปน� นวัตกรรม ความรเิ ร่ิม ความ พยายาม และความมุง่ มัน่ เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาและชอ่ งทางการเขา้ ถงึ การศึกษาใหแ้ ก่ผูเ้ รียน โดยใชเ้ ทคโนโลยี และการสื่อสารทางการศึกษาเปน� เครือ่ งมือสำคัญควบคู่กับการใช้ทรัพยากรบคุ คลท่เี ป�นผู้สอนและผ้เู กย่ี วข้อง ท้ังน้ีเพอ่ื สง่ มอบสาระการเรยี นร้ทู ่เี ป�นประโยชน์ใหถ้ งึ ผเู้ รียนอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใชเ้ พ่ือ การเรยี นการสอนออนไลนม์ ีรูปแบบ กระบนการ วิธีการ และแนวปฏบิ ัติที่มีความแตกต่างกนั ไปตามศักยภาพ ความ พรอ้ ม และข้อกำหนดของแต่ละสถาบนั การศกึ ษาหรือสถานศกึ ษา องคป์ ระกอบหรือป�จจัยหลกั ทีส่ ่งผลต่อความความสำเรจ็ ในการสอนออนไลนท์ ่ีหลายฝ่ายเหน็ พ้องกนั ประกอบด้วย ครหู รือผู้สอนซงึ่ หมายรวมถึงสมรรถนะดา้ นการสอน ทกั ษะและสามารถทต่ี ามทันเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลของ ผสู้ อนและผูเ้ รยี น ความพร้อมของเทคโนโลยีการสือ่ สาร ความสะดวกในการเช่อื มต่อและส่อื สารระหว่างผูส้ อนกับผู้เรียน คุณภาพของหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ คุณภาพของการจดั กระบวนการเรียนรู้ ระบบการช่วยเหลือ ตดิ ตาม และการ ประเมินผล และการส่งเสรมิ สนบั สนุนจากภาคเครือขา่ ยที่เกย่ี วข้อง ท้ังนี้ มาตรฐานการสอนแบบออนไลน์ของประเทศ สหรฐั อเมรกิ าไดใ้ ห้ความสำคัญยงิ่ กับคุณลักษณะและบทบาทของครผู ู้สอน และไดร้ ะบุขอ้ กำหนด แนวปฏบิ ัติ ตลอดจน ความรแู้ ละทักษะทจี่ ำเปน� สำหรบั ครูผู้สอนไว้ในมาตรฐานทั้ง 8 ดา้ น จนอาจกล่าวไดว้ า่ ครผู ู้สอนคือป�จจยั ความสำเรจ็ หลัก (Key Success Factor) ของการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ในสหรฐั อเมรกิ า 4. แนวคดิ เกีย่ วกับการประเมินผล โดยทั่วไป การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง กระบวนการในการตัดสินคุณค่า (Merit) และ คุณประโยชน์ (Worth) ของสิ่งที่ถูกประเมิน โดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการแสวงหาขอ้ มูลสารสนเทศ แล้วนำมาทำการ วิเคราะห์ พิจารณา และตัดสินคุณค่า ในระยะที่ผ่านมา มีนักวิชาการด้านการประเมินผลได้ให้ความหมายของการประเมินผลไว้อย่างหลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการประเมิน โดยนักวิชาการกลุ่มที่เห็นว่าการประเมินผลมีจุดมุ่งหมายเพื่อการตัดสินคุณค่า (Value Judgement) อาทิ Ralph Tyler, Edward Suchman, Blaine Worthen and James Sanders มองว่า การ ประเมินผลเป�นกระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ทำการประเมิน เป�นการตัดสินผลลัพธ์ อันเกิดจาก กิจกรรมบางอย่างที่มุ่งให้บรรลุเป้าหมายที่มีคุณค่าบางประการ และเป�นการกำหนดคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยการ แสวงหาสารสนเทศเพ่ือนำมาใช้ตัดสนิ คุณค่าของโครงการเกย่ี วกับผลผลิต กระบวนการ และการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของ โครงการ ส่วนนักวิชาการกลุ่มที่เห็นว่าการประเมินผลเป�นการแสวงหาสารสนเทศเพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจ ซ่ึง

12 ประกอบด้วย Robert Stake, Daniel Stufflebeam, Lee Cronbach, Marvin Alkin อธิบายว่า การประเมินผลเป�น กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลและแปลความหมาย (Interpret) ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการที่ทำการประเมิน เป�นกระบวนการในการกำหนด การจัดหา และการเสนอสารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจเลือกทางเลือก ดาํ เนินงานทเี่ หมาะสมเกยี่ วกับโครงการ ในการดำเนินการประเมินผล ผู้ประเมินมักกำหนดรูปแบบของการประเมินผล (Evaluation Model) ไว้เพ่ือ เป�นกรอบความคิด (Conceptual Framework) ที่สำคัญเกี่ยวกับรายการที่มุ่งประเมิน ตลอดจนกระบวนการ และวิธี วิทยาของการประเมิน ซึ่งจะทำให้การกำหนดขอบเขต วัตถุประสงค์ของการประเมินมีความชัดเจน มีความครอบคลุม ตรงประเด็น และเหมาะสมกบั ส่งิ ที่ม่งุ ประเมิน รปู แบบการประเมนิ แบง่ ออกเปน� 3 กลุ่มใหญ่ คือ 1) รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย (Objective-based Model) โดยมุ่งตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นจริง เป�นไปตามผลท่รี ะบไุ ว้ในจุดมุ่งหมายที่กำหนดไวห้ รอื ไม่ เพยี งใด 2) รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า (Judgmental Evaluation Model) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศสำหรับระบุวินิจฉัยวา่ ภายหลังจากการดำเนนิ โครงการ ผลที่เกิดขึ้นมีคุณค่าและคุณประโยชน์ เพยี งใด 3) รูปแบบการประเมนิ ทเ่ี นน้ การตดั สินใจ (Decision – oriented Evaluation Model) มจี ุดมงุ่ หมายเพื่อให้ ไดม้ าซึง่ ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือชว่ ยใหผ้ ูบ้ รหิ ารและผ้เู กีย่ วข้องนำไปใช้ในการตัดสนิ ใจอย่างไรเกย่ี วกบั การดำเนินโครงการ และสามารถเลอื กทางเลือกตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง เหมาะสม 5. แนวคิดเกีย่ วกับตัวช้วี ัดและเกณฑ์การประเมนิ ตัวชี้วัด (Indicator) และเกณฑ์ (Criteria) มีความสำคัญอย่างยิ่งในวงจรของการบริหารแผนงานโครงการ นับตั้งแต่ขั้นการจัดทำแผนงานโครงการ การนำแผนงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ การแปลความหมายของคำว่า Indicator เป�นภาษาไทย มีคำที่นิยมใช้หลายคำ อาทิ ตวั ชว้ี ัด ตัวบ่งช้ี ดชั นีช้ีวดั เป�นต้น ตัวชี้วัดเป�นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในทุกขั้นตอนของการบริหารแผนงานโครงการนำมาใช้เป�นฐานเทียบ (Benchmark) เพอื่ ตรวจสอบวา่ การดำเนนิ งานเปน� ไปในทิศทางท่ีพงึ ประสงคต์ ามทวี่ างแผนไว้หรือไม่ และเมอ่ื ส้ินสุดการ ดำเนินงานตามแผนงานโครงการแล้วเกิดผลตามท่ีคาดหวังหรือไม่ เพียงใด ขณะเดียวกันตวั ชี้วัดทีก่ ำหนดขึน้ ยังสามารถ นำไปใช้ประกอบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการเดียวกันที่ดำเนินการในช่วงเวลาท่ี ต่างกนั หรอื ดำเนนิ การในต่างพืน้ ทกี่ ัน ความหมายโดยทั่วไปของ ตัวชี้วัด หมายถึง ตัวแปร ตัวประกอบ หรือสิ่งที่สามารถบ่งบอกข้อมูลของสิ่งใด สิ่งหนึง่ ได้อย่างเจาะจง ชัดเจน สะท้อนผลของสิ่งที่เกิดขึน้ บ่งบอกลักษณะ ปริมาณ และคุณค่าของสิ่งที่มุ่งวัดในเวลาใด เวลาหนึ่ง และสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อบริบทของสิ่งที่ต้องการวัดเปลี่ยนแปลงไป Hales (2010) กล่าวว่า ในบริบท ของการติดตามและประเมินผล ตัวชี้วัดเป�นมาตรวัดเชิงปริมาณที่นำมาใช้เพือ่ การวัดประสิทธิผลหรือประสิทธิภาพของ

13 การดำเนินงาน (Performance) ความสำเรจ็ (Achievement) ของแผนงานโครงการ และใชเ้ ปน� เครอ่ื งมอื กำหนดความ รับผดิ ชอบ (Accountability) ของหนว่ ยงาน ผ้รู ับผิดชอบทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการ ตัวชี้วัด แบ่งออกเป�น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ซึ่งสามารถตีค่าเป�นตัวเลข เหมาะ สำหรับการวดั สงิ่ ท่ีจบั ต้องได้ เป�นรูปธรรม และมคี วามชัดเชน 2) ตวั ชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ ใชส้ ำหรับการวัดสิง่ ท่เี ป�นนามธรรม ที่ไม่มีลักษณะเชิงกายภาพที่มองเห็นได้ ในการวัด ต้องสร้างเครื่องมือเพื่อใช้แปลงค่าการวัดให้ออกมาเป�นเชิงปริมาณ หรืออาจกำหนดค่าเป้าหมายหรือค่าอ้างอิงที่มีลักษณะการพรรณนา แต่หากจำแนกประเภทตัวชี้วัดโดยใช้ทฤษฎีการ วเิ คราะห์เชิงระบบ (System Analysis Theory) อาจแบ่งตัวช้ีวดั ออกเป�น 3 กลมุ่ คอื ตัวชีว้ ัดด้านป�จจยั นำเข้า ตวั ช้วี ดั ด้านกระบวนการดำเนนิ งาน และตวั ช้ีวดั ด้านผลผลิตและผลลัพธ์ ในการพฒั นาตัวชี้วดั มีจดุ ม่งุ หมายเพื่อให้ไดต้ วั ชี้วัดท่ีดี ตวั ช้ีวดั ท่ีพฒั นาขึ้นควรสามารถแสดงค่าเชิงปริมาณ หรือบ่งบอกคุณลักษณะของสิ่งที่ทำการวัดได้ หลักการและแนวปฏบิ ัติทสี่ ำคญั ทคี่ วรยดึ ถอื และนำไปปฏิบัตใิ นการพัฒนา ตัวชี้วัด มดี ังนี้ 1) มกี ารศกึ ษา วิเคราะห์ ทำความเขา้ ใจ โครงการหรือสงิ่ ทจี่ ะประเมินโดยละเอียด เพอ่ื ให้สามารถกำหนด ตัวชี้วัดที่มีความตรง (Validity) ซึ่งหมายถึง มีความตรงประเด็น (Relevancy) และเป�นตัวแทน (Representative) มีความเที่ยง (Reliability) มีความเป�นกลาง (Neutrality) และสะดวกต่อการ นำไปใช้ (Practicality) 2) กระบวนการพัฒนาตัวชี้วัด มีความเป�นระบบ โปร่งใส และต้องปราศจากความลำเอียงหรืออคติ ท้ัง อคติในการเลือก (Selection Bias) และอคติในการวัด (Measurement Bias) ซึ่งอาจนำไปสู่การได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ผิดพลาดอย่างเป�นระบบ (Systematic Error) ทั้งระหว่างการรวบรวมข้อมูลหรือ การตีความข้อมลู 3) มีการศึกษาและนำแนวคิด ผลการศึกษาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง เพื่อนำมา ประกอบการพิจารณาและเปน� ฐานรองรับตัวชีว้ ัดทพ่ี ฒั นาขนึ้ 4) ผู้เชยี่ วชาญ ผปู้ ฏิบัตงิ าน และผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียหลกั มีสว่ นร่วมในทกุ กระบวนการพฒั นา 5) มีการทดสอบความเหมาะสมของรา่ งตัวชีว้ ัดก่อนนำไปใชใ้ นการประเมินผลจรงิ ในการประเมินผล เมื่อไดต้ วั ชวี้ ัดเพื่อการประเมนิ แล้ว ผปู้ ระเมนิ และผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ งจะจดั ทำเกณฑ์ (Criteria) หรอื คา่ เป้าหมายเพอื่ ใช้เปน� ตัวเทยี บเคยี งหรือช่วยในการตดั สนิ คุณค่าระดับความสำเร็จ เกณฑ์ท่ีกำหนดขึ้น อาจมีลกั ษณะเป�นคา่ ตัวเลขหรอื คุณลักษณะก็ได้ ทั้งนี้ หากเกณฑท์ ี่กำหนดมีการใชร้ ะดับการปฏิบัติทแ่ี สดงถึง ความสำเร็จอันเปน� ทย่ี อมรับกันโดยทวั่ ไป เกณฑน์ น้ั จะถกู เรียกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) สมหวงั พธิ ยิ านุวฒั น์ (2541) กล่าววา่ แบบหรอื โมเดลในการกำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ มี 3 แบบ คอื 1) โมเดลความงอกงาม (Growth Model) เปน� การพจิ ารณาในดา้ นความงอกงามหรือพัฒนาการท่เี พ่ิมขน้ึ เช่น การเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนและหลังเรยี น ในกรณขี องการตัดสนิ อาจทำได้ใน

14 2 ลักษณะ คือ กำหนดชว่ งคะแนนทเ่ี พ่ิมขึน้ หรือกำหนดเกณฑ์ในเชิงสถติ ิ แต่อาจไมแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจนในเชงิ พฤติกรรม 2) โมเดลสัมบรู ณ์ (Absolute Model) เป�นการกำหนดโดยหลักเหตผุ ลในกรณที ่ีมีหนว่ ยตามธรรมชาติ เกณฑ์กบั พฤติกรรมในการปฏบิ ัตมิ ีความสัมพนั ธ์กันสงู มากและในกรณีไม่มหี น่วยตามธรรมชาติจะใช้ค่าเฉลี่ยความ คดิ เห็นของผู้เชย่ี วชาญเป�นเกณฑก์ ารประเมนิ หรืออาศยั กฎเกณฑ์หรือคา่ นยิ มของสังคมเปน� หลัก 3) โมเดลสมั พนั ธ์ (Relative Model) เป�นการกำหนดเกณฑ์โดยเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของกลมุ่ แบ่ง ออกเปน� 3 กรณี คือ เปรียบเทียบกนั เองภายในกลุ่มหรือเปรยี บเทียบกับปกตวิ สิ ัย การเปรยี บเทยี บกับกลมุ่ อื่นท่ี คลา้ ยคลงึ กนั หรือเปรยี บเทียบกับกลุม่ ควบคุม และเปรียบเทียบกับคา่ ที่ทำนายไว้ จากที่กล่าวมา จึงสรุปว่า ในการประเมินผลต้องใช้กระบวนการ วิธีการที่เชื่อถือได้ในการแสวงหาข้อมูล สารสนเทศ เพื่อนำมาทำการวิเคราะห์ พิจารณา ตัดสินคุณค่า หรือตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่ถูกประเมิน โดยต้องกำหนด กรอบความคิด กระบวนการ และวิธีวิทยาที่ใช้ในการประเมิน เพื่อให้ขอบเขต วัตถุประสงค์ของการประเมินมีความ ชดั เจน ตรงประเดน็ และครอบคลมุ สิ่งที่มุ่งประเมิน ในขั้นตอนก่อนดำเนินการประเมินผลนั้น ผู้ประเมินและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องพัฒนาตัวชี้วัดที่มีคุณภาพและ จัดทำเกณฑ์ในการประเมินซึ่งเป�นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีความตรงหรือความถูกต้องของเนื้อหา (Validity) ตรงประเด็น (Relevancy) เป�นตัวแทน (Representative) เชื่อถือได้ (Reliability) และสะดวกในการ นำไปใช้ (Practicality) ทั้งนี้ กระบวนการพัฒนาตัวชี้วัด ต้องดำเนินการอย่างเป�นระบบ โปร่งใส และปราศจากความ ลำเอียงหรืออคติ ยึดหลักการมีส่วนร่วม ใช้แนวคิด หลักการ และข้อค้นพบทางวิชาการเป�นพื้นฐาน และมีการทดสอบ ความเหมาะสมกอ่ นนำไปใช้ในการประเมนิ ผล อย่างไรก็ตาม เนื่องจากในช่วงเวลาท่ีคณะทำงานของสถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทำการศึกษาและ พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพของการสอนออนไลน์สำหรับสถานศึกษา กศน. นั้น เป�นช่วงที่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ทั่วประเทศออกมาตรการต่าง ๆ เพื่อการควบคุมและการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว ทั้งที่เป�นข้อห้ามและข้อกำหนดให้ปฏิบัติอย่างเข้มงวด ส่งผลให้การดำเนินการ ศึกษาพัฒนาตัวชี้วดั ตัวช้ีวัดคุณภาพของการสอนออนไลน์สำหรับสถานศึกษา กศน. ไม่สามารถดำเนินการตามหลักการ แผนการ วิธีการ และวงจรการพัฒนาตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น คณะทำงานจึงได้เลือกใช้วิธีการพัฒนา ตัวช้วี ดั ในครั้งนี้ โดยไดน้ ำแนวคดิ หลกั การ และแนวการปฏิบัติทด่ี ีทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศมาใช้เป�นฐาน และสอบ ทานความเหมาะสมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติหลัก และมีการปรับประยุกต์วิธีวิทยา (Methodology) ตลอดจน กิจกรรมและวิธีดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาด มาตรการการ ควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในช่วงที่ดำเนินการพัฒนา ทั้งในระดับประเทศ และระดับพื้นที่ โดยคำนึงถึงข้อ ปฏบิ ตั ิของภาครัฐและความปลอดภัยของทุกฝา่ ยที่เกีย่ วข้องกับการพฒั นาตัวชีว้ ดั คุณภาพของการสอนออนไลน์ในคร้ังนี้ เป�นสำคญั

15 ระเบยี บวิธใี นการศึกษา การวิจัยในครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed-method Research) เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งข้อมูล เชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ โดยดำเนนิ การ ดังนี้ ขนั้ ตอนที่ 1 การศึกษาเอกสาร (Documentary Study) โดยศึกษามาตรฐาน องค์ประกอบ และตวั ชีว้ ัด คุณภาพของการจดั การศึกษาออนไลน์ของตา่ งประเทศ และในประเทศ จากเอกสาร คูม่ ือ และงานวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง ทั้งน้ี เพือ่ นำมาพจิ ารณากำหนดองค์ประกอบและตัวชว้ี ดั แลว้ ยกรา่ งองค์ประกอบและตวั ชี้วดั เบ้ืองต้น ในข้ันตอนนี้ ได้ ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน 2563 – มกราคม 2564 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คอื แบบบันทึก ขั้นตอนที่ 2 การเก็บรวบรวมความคิดเห็นของผู้มีประสบการณ์ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ออนไลน์ โดยการสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึกผ้ใู หข้ ้อมูลสำคัญ (Key Informants) การเกบ็ รวบรวมข้อมูลในขั้นตอนน้ี ดำเนนิ การระหว่างเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ – มถิ นุ ายน 2564 ในพนื้ ท่ีจงั หวดั รอ้ ยเอด็ นครราชสีมา และอบุ ลราชธานี เครอ่ื งมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi – structured In-depth Interview) แบบบนั ทกึ และแบบสอบถามแบบมาตรพหุมิติ ผใู้ หข้ อ้ มลู เปน� ผู้ท่มี ปี ระสบการณก์ ารสอนแบบออนไลน์หรือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 71 คน ประกอบด้วย คณาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษา จำนวน 4 คน ผู้บริหารสำนักงาน กศน.จังหวัด/ผู้บรหิ ารศูนย์ กศน.อำเภอ จำนวน 10 คน ข้าราชการครูจากสถาบัน กศน.ภาค จำนวน 10 คน ครู กศน. จำนวน 35 คน และบุคลากรจากภาคเอกชน จำนวน 2 คน ท้ังนี้ เพื่อรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของ องค์ประกอบและตัวชี้วดั คณุ ภาพของการสอนออนไลนท์ ีย่ กร่างขึน้ ในด้านความตรงหรือความถูกตอ้ งของเนื้อหา ความ เป�นตัวแทน และความสะดวกในการนำไปใช้ โดยได้นำข้อมูลที่รวบรวมได้มาทำการวิเคราะห์ ปรับปรุง แก้ไข และ เพิ่มเติมร่างองค์ประกอบและตัวชี้วัด ให้มีความเหมาะสม ชัดเจนยิ่งขึ้น แล้วส่งกลับให้ผู้ให้ข้อมูลสำคัญชุดเดิมเพื่อให้ ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับความเหมาะสมของร่างองคป์ ระกอบและตัวชี้วดั ทพ่ี ฒั นาข้นึ อีกครั้งหนงึ่ ข้นั ตอนท่ี 3 การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพอ่ื เก็บรวบรวมข้อมลู จากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประกอบด้วย คณาจารย์จากสถาบันอดุ มศกึ ษา จำนวน 4 คน ผู้บริหารสำนกั งาน กศน.จังหวดั จำนวน 2 คน ข้าราชการ ครจู ากสถาบนั กศน.ภาค จำนวน 6 คน รวมจำนวนท้งั สน้ิ 12 คน เพื่อพจิ ารณาความเหมาะสมขององคป์ ระกอบและ ตัวช้ีวดั ในข้ันสดุ ท้าย ให้ข้อคดิ เห็น ข้อเสนอแนะในการดำเนินการตอ่ เนื่องในอนาคต ผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญมาจากจังหวดั อบุ ลราชธานี และนครราชสมี า เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ประกอบดว้ ย แบบสนทนากล่มุ แบบบนั ทึก และ แบบสอบถาม

16 ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการ วิเคราะห์เนื้อหาตามแนวทางการวิเคราะห์แบบ Directed Content Analysis ทำการวิเคราะห์ข้อมูล 2 ระดับ คือ 1) การวิเคราะหข์ อ้ มูลเบื้องต้นในขณะท่ที ำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยคณะนกั วิจยั เพื่อสรุปขอ้ คน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการสัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มและป�ดประเด็นท่ียืนยนั ความเช่ือมั่น และสอดคล้องกันระหว่างหลายแหล่งข้อมลู แลว้ 2) การวิเคราะห์ ขอ้ มูลร่วมกันของคณะนกั วิจยั โดยการประชมุ ภายหลงั การเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม ผลการศึกษา 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดคณุ ภาพของการสอนออนไลน์ จากการศึกษา พฒั นา และตรวจสอบคุณภาพตัวชว้ี ัดคุณภาพของการสอนออนไลน์ในครง้ั น้ี พบวา่ มอี งค์ประกอบและตัวชีว้ ัดทีม่ ีความเหมาะสมโดยรวมในระดับที่กำหนดไว้ ประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบ 5 ดา้ น คอื 1) คุณลักษณะ ความรู้ และทักษะของผู้สอน 2) การพัฒนาหลักสตู รและการออกแบบการสอน 3) กระบวนการสอนและ การเรียนรู้ 4) การวัดผล ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5) การสง่ เสริมความเปน� พลเมอื งดิจทิ ลั และมตี วั ช้ีวัดรวมจำนวนทง้ั สนิ้ 25 ตวั ชีว้ ดั โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1) คุณลกั ษณะ ความรู้ และทักษะของผสู้ อน ประกอบดว้ ย 8 ตวั ชวี้ ดั ดังน้ี 1.1) ผู้สอนมีคุณสมบัติตรงตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด หรอื มปี ระสบการณ์ซง่ึ เป�นท่ียอมรบั จากวงวิชาชีพ หรือมวี ิทยฐานะในรายวชิ า หรือสาขาวิชาทต่ี นรับผิดชอบและทำการสอน 1.2) ผู้สอนแสดงออกถึงความเอาใจใส่ในการสอน และการสง่ เสริม พฒั นาผ้เู รียน มีจิตวิญญาณของความ เป�นครู ศรัทธาในวิชาชพี ครู และปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู 1.3) ผสู้ อนมกี ารแสวงหาความรู้ พัฒนาทกั ษะของตนเองเกี่ยวกับการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ รวมทั้งศาสตร์และศลิ ป์ในการจดั การเรียนการสอนสำหรบั ผูใ้ หญ่ (Andragogy) อยา่ งต่อเนื่อง 1.4) ผู้สอน ประพฤติ ปฏบิ ัติตนเปน� พลเมอื งดใี นสงั คมดจิ ทิ ลั เปน� แบบอยา่ งท่ีดแี กผ่ ู้เรียน และบคุ คล ทว่ั ไป รวมทั้งสนบั สนนุ เสริมสรา้ งความตระหนกั แก่ผเู้ รยี นในการปฏบิ ตั ิตนที่ถูกต้อง เหมาะสม ในการใช้อนิ เทอร์เน็ต และเครือข่ายสงั คมออนไลน์ 1.5) ผู้สอนมที กั ษะในการถ่ายทอดความรู้ การส่ือสาร การจดั การชนั้ เรียนออนไลน์ และการสร้าง ปฏิสมั พนั ธ์กับผเู้ รยี นรายบุคคลอย่างทวั่ ถึง โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 1.6) ผู้สอนมีทกั ษะ ความสามารถ ศลิ ปะด้านการสอนดว้ ยเครื่องมือ อปุ กรณก์ ารสอน และเทคโนโลยี ดิจิทัล สามารถแสวงหา คดั สรร และเลือกใชเ้ ทคโนโลยี เคร่อื งมือ และแหล่งเรียนรู้ออนไลนท์ ี่เหมาะสม สอดคล้องกับ ศกั ยภาพ ความพร้อม และความสนใจในการเรียนรู้ของผูเ้ รียนโดยรวม

17 1.7) ผสู้ อนสามารถแสวงหาช่องทางในการตอบสนองผเู้ รยี นท่ีมีความต้องการเฉพาะ และสามารถใช้ เคร่ืองมอื ช่องทางท่ีหลากหลาย สอื่ สาร เพ่ือการสอ่ื สารแบบสองทางกบั ผู้เรียน เพือ่ ติดตามและสรา้ งแรงจูงใจใหผ้ ู้เรียน และเพื่อกระตุ้นให้เกดิ ปฏิสมั พันธใ์ นหมู่ผู้เรยี น 1.8) ผสู้ อนสามารถสาธิต แนะนำ ช่วยเหลอื ผเู้ รียนให้สามารถใช้แอปพลิเคช่นั แพลตฟอร์ม และ ซอฟทแ์ วร์ท่ีนำมาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์ สามารถแกไ้ ขปญ� หาพ้นื ฐานและจดั การกบั ปญ� หาทางเทคนิคพน้ื ฐานที่ มกั เกดิ ขน้ึ กบั ผ้เู รยี นและชนั้ เรียนออนไลน์ 2) การพฒั นาหลักสูตรและการออกแบบการสอน ประกอบด้วย 6 ตัวชวี้ ัด ดงั น้ี 2.1) ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันวางแผนเพือ่ กำหนดเปา้ หมายหรอื ผลลพั ธท์ ่คี าดหวงั จากการเรียนรู้ และ ร่วมกนั ออกแบบกระบวนการติดตามความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรู้เพิ่มเติมทอี่ าจจำเป�น 2.2) หลักสูตรและสาระการเรียนรทู้ ่ีพัฒนาขน้ึ ใหมม่ ีความสอดคล้องกบั ความต้องการและความสนใจของ ผเู้ รยี น กรณีการใช้หลกั สูตรท่ีมอี ยูเ่ ดิม การออกแบบและการจดั ทำแผนการเรยี นร้คู วรมีความเช่อื มโยงกับมาตรฐาน ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรขู้ องรายวชิ า และมีการปรบั ปรุงสาระการเรยี นรู้ใหเ้ ป�นปจ� จุบัน สอดคลอ้ งกับบรบิ ท 2.3) ส่อื ประกอบการเรียนได้รบั การออกแบบใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู รและสาระการเรียนรู้ การจัดลำดับ บทเรยี นมคี วามเหมาะสม สามารถสง่ เสรมิ และสะท้อนใหเ้ ห็นพฒั นาการหรือความก้าวหน้าในการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น 2.4) แผนการจัดการเรยี นรู้ กระบวนการและกจิ กรรมการเรยี นรู้ ท้งั ในชั้นเรยี นและนอกชน้ั เรยี นออนไลน์ มคี วามนา่ สนใจ สามารถดึงดูดให้ผเู้ รยี นอยากมสี ว่ นร่วม และสามารถสรา้ งประสบการณ์การเรยี นรูท้ ีด่ แี กผ่ ู้เรยี น 2.5) ชอ่ งทางในการเขา้ ถึงการเรียนรู้ และการติดต่อสื่อสารระหว่างผูส้ อนกบั ผู้เรยี น ผ้เู รยี นกับผเู้ รียน ไดร้ บั การคัดสรร วางระบบท่เี ออ้ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถเข้าถงึ ชนั้ เรียนออนไลน์และแหลง่ เรียนรอู้ อนไลน์ได้อย่างสะดวก ทัว่ ถงึ และไมเ่ ป�นภาระในด้านค่าใช้จ่ายของผูเ้ รยี น 2.6) ผ้สู อนและผเู้ ก่ียวข้องกบั การพฒั นาหลักสตู ร ทำการปรับปรงุ เน้ือหาสาระตามหลักสูตรอย่างต่อเนอ่ื ง เพื่อใหม้ สี อดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์และมาตรฐานของรายวิชาหรือหลักสตู ร 3) กระบวนการสอนและการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 6 ตัวชวี้ ดั ดงั น้ี 3.1) ผสู้ อนจัดกระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรู ณาการ ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ เน้นผเู้ รยี นเป�นศนู ยก์ ลาง และคำนึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ของผใู้ หญ่ 3.2) ในชนั้ เรยี นออนไลนแ์ บบสอนสด (Live) ผู้สอนใชเ้ ทคนิคการสอนทห่ี ลากหลาย โดยผ้สู อนเลือกใชส้ ื่อ แอปพลเิ คชัน แพลตฟอร์ม ระบบการจัดการการเรียนรู้ ท่ีเป�ดโอกาสผ้เู รยี นมีสว่ นร่วมในการเรียนรอู้ ย่างท่ัวถึงและมี ประสทิ ธิภาพ และจัดเตรยี มสอื่ แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์ ท่ีจำเปน� ตอ่ การศึกษา คน้ ควา้ และเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ทผ่ี ู้เรียน สามารถเขา้ ใชไ้ ดโ้ ดยสะดวกและประหยัด 3.3) ผู้สอนสง่ เสริม แนะนำ และมอบหมายงานใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นด้วยการปฏบิ ตั ิและลงมือทำ (Active Learning) รว่ มกนั รวมทง้ั สนบั สนนุ และจดั ให้มเี วทีวิชาการเพ่อื การแลกเปล่ยี น แบง่ ป�น ประสบการณ์ ความสามารถ และทักษะตา่ งๆ ทผ่ี ูเ้ รยี นสามารถนำมาใชก้ ับการเรยี นออนไลน์

18 3.4) ผู้สอนและบุคลากรของสถานศึกษามีการตดิ ตาม ตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรยี นร้ขู องผู้เรียน รายบคุ คล และเสรมิ สร้างกำลังใจ ใหค้ วามชว่ ยเหลือแนะนำอยา่ งเปน� ระบบ โดยใชช้ ่องทางการตดิ ต่อสอ่ื สารที่ หลากหลายและทนั ท่วงที 3.5) ผ้สู อนมกี ารปรกึ ษาหารือกบั เจ้าหนา้ ที่ผู้รับผดิ ชอบของสถานศึกษาอย่เู สมอ มีการทบทวน หรอื ปรบั การสอน เปลีย่ นกิจกรรมและสิง่ อำนวยความสะดวก เพื่อชว่ ยใหส้ ามารถตอบสนองความต้องการของผ้เู รยี นตามความ จำเปน� 3.6) ผู้สอนมีระบบการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ความเปน� ส่วนตวั ความถูกตอ้ งของอตั ลักษณ์ดจิ ิทัลของ ผู้เรยี น และมรี ะบบการเกบ็ รักษาบันทึกข้อมลู และการติดต่อส่ือสารระหว่างผสู้ อนและผเู้ รียน เอกสาร รปู ภาพ และ ตัวอยา่ งชิ้นงานทเ่ี กี่ยวข้องกบั การเรียนการสอนทเี่ ปน� เหมาะสมและปลอดภัย 4) การวัดผล ประเมินผลการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 3 ตัวช้วี ดั ดงั น้ี 4.1) ผสู้ อนช้แี จงแนวทาง กระบวนการ วิธีการติดตาม การวดั ผล และการประเมินผลการเรยี นรู้ และเปด� โอกาสใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิดเห็น ใหข้ อ้ เสนอแนะ และนำมาปฏิบัติ โดยอาจใหผ้ ้เู รียนมสี ่วนร่วมในการประเมินตนเอง ตามความเหมาะสม 4.2) ผูส้ อนมกี ารติดตาม การวัดผลประเมินผล ทง้ั ระหว่างเรียนและหลังเรยี น โดยใช้วิธกี ารและเครื่องมือ การประเมนิ ทีห่ ลากหลาย เหมาะสม สามารถสะทอ้ นความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ ความสามารถ และผลการเรยี นร้ตู าม จุดประสงคข์ องหลักสูตรของผูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งเที่ยงตรง 4.3) ผู้สอนและผู้เกีย่ วข้องมีการนำผลการตดิ ตาม การวัดผล ประเมินผลการเรยี นรู้ของผ้เู รียนมา ประกอบการพิจารณา ปรับเปลย่ี น พัฒนาการเรียนการสอนออนไลน์ให้เหมาะสม โดยคำนึงถงึ ผลการเรยี นรู้ ความ ตอ้ งการ และความพงึ พอใจของของผ้เู รียนเปน� หลกั 5) การสง่ เสรมิ ความเปน� พลเมอื งดิจิทัล ประกอบดว้ ย 2 ตัวชว้ี ัด ดังนี้ 5.1) ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา คณะผู้สอน รว่ มกับหนว่ ยงาน องคก์ รภาคีเครือข่าย มีการจัดกิจกรรมเพ่ือสร้าง เสริมประสบการณ์การเรยี นรู้แกผ่ ู้เรยี นในการใช้อินเทอร์เน็ต และส่ือสงั คมออนไลน์อย่างเหมาะสม ปลอดภัย และ เปน� ไปตามข้อบัญญัติของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 5.2) สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และเครือข่ายมีการจดั กิจกรรมระดมทนุ เพอ่ื การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และการอำนวยความสะดวก เพ่ือให้ผูเ้ รียนและผู้สอนสามารถลด หรอื ไมเ่ สียค่าใช้จา่ ยส่วนตัวในการ เชอื่ มต่ออนิ เทอร์เน็ต และการเรยี นการสอนออนไลน์ ทัง้ ขณะท่ีอยู่ภายในและภายนอกสถานศึกษา 2. คณุ ภาพของตัวช้วี ดั จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพ พบว่า กลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มูลโดยการสมั ภาษณส์ ว่ นใหญ่เหน็ ด้วยกับการกำหนด องคป์ ระกอบในการพิจารณาคณุ ภาพของการสอนออนไลน์ สว่ นความคดิ เห็นเกยี่ วกับตวั ชว้ี ดั เกือบท้ังหมดเห็นว่า

19 ตัวชวี้ ดั ขององคป์ ระกอบแต่ละด้านมีความตรงประเดน็ ความเปน� ตวั แทน มีความสอดคล้องและเพียงพอสำหรบั อธบิ าย ลกั ษณะการปฏบิ ัติท่ีพึงประสงค์ของแตล่ ะองค์ประกอบได้ ส่วนผูใ้ หข้ อ้ มลู ท่ีเขา้ ร่วมสนทนากลุม่ สว่ นใหญ่มีความคิดเห็น ไปในทิศทางเดยี วกันกับกลุ่มผู้ให้ขอ้ มูลที่ให้สัมภาษณ์ โดยเหน็ ดว้ ยกับการกำหนดองคป์ ระกอบ และการกำหนดตวั ชีว้ ดั ของแต่ละองค์ประกอบ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณทรี่ วบรวมโดยใชแ้ บบสอบถาม พบวา่ ตวั ชี้วดั ทุกตัวมีคา่ ร้อยละความ เหมาะสม มากกว่าร้อยละ70 ซึ่งเป�นไปตามเกณฑส์ ัมบรู ณ์ (Absolute Criteria) ทีก่ ำหนดคา่ ความยอมรบั คณุ ภาพของ ตวั ชีว้ ดั ท่ีพฒั นาข้นึ ในคร้ังนี้ ตัวช้ีวดั ทีม่ คี ่าร้อยละความเหมาะสมสูงทส่ี ุด 5 ลำดับแรก มดี งั นี้ 1) ผสู้ อนมีทักษะ ความสามารถ ศลิ ปะด้านการสอนด้วยเคร่ืองมือ อปุ กรณ์การสอน และเทคโนโลยดี ิจิทลั สามารถแสวงหา คัดสรร และเลือกใชเ้ ทคโนโลยี เครื่องมือ และแหล่งเรยี นรอู้ อนไลนท์ ่เี หมาะสม สอดคลอ้ งกับศักยภาพ ความพร้อม และความสนใจในการเรียนร้ขู องผู้เรยี นโดยรวม 2) ในชนั้ เรียนออนไลนแ์ บบสอนสด (Live) ผสู้ อนใชเ้ ทคนิคการสอนที่หลากหลาย โดยผู้สอนเลอื กใชส้ ื่อ แอป พลเิ คชัน แพลตฟอร์ม ระบบการจดั การการเรียนรู้ ท่ีเป�ดโอกาสผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรอู้ ยา่ งท่วั ถึงและมี ประสทิ ธิภาพ และจัดเตรยี มสอื่ แหล่งเรยี นรูอ้ อนไลน์ ท่ีจำเปน� ตอ่ การศกึ ษา ค้นคว้า และเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองท่ีผ้เู รียน สามารถเข้าใชไ้ ด้โดยสะดวกและประหยดั 3) สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และเครอื ขา่ ยมีการจัดกจิ กรรมระดมทุนเพื่อการจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ และการอำนวยความสะดวก เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นและผู้สอนสามารถลด หรอื ไมเ่ สียค่าใช้จา่ ยส่วนตัวในการเชอื่ มต่อ อนิ เทอร์เนต็ และการเรยี นการสอนออนไลน์ ทั้งขณะท่ีอยภู่ ายในและภายนอกสถานศึกษา 4) ผ้สู อนส่งเสริม แนะนำ และมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยการปฏบิ ัตแิ ละลงมอื ทำ (Active Learning) ร่วมกนั รวมทัง้ สนับสนุนและจดั ให้มเี วทวี ชิ าการเพ่ือการแลกเปลย่ี น แบ่งป�น ประสบการณ์ ความสามารถ และทกั ษะตา่ งๆ ทีผ่ เู้ รียนสามารถนำมาใช้กับการเรยี นออนไลน์ 5) ผ้สู อนสามารถแสวงหาช่องทางในการตอบสนองผู้เรียนที่มคี วามต้องการเฉพาะ และสามารถใชเ้ ครอ่ื งมือ ชอ่ งทางท่หี ลากหลาย ส่ือสาร เพือ่ การสอ่ื สารแบบสองทางกบั ผู้เรียน เพ่ือตดิ ตามและสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรยี น และเพ่อื กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ปฏิสัมพันธใ์ นหมู่ผู้เรยี น วิเคราะหแ์ ละอภิปรายผล จากผลการศึกษาและตรวจสอบคุณภาพของตวั ชีว้ ดั ท่พี ัฒนาขึ้นท่พี บว่าตัวชว้ี ัดที่มคี ่ารอ้ ยละความเหมาะสมสงู ทส่ี ดุ 5 ลำดบั แรกมีความเก่ียวข้องกับผสู้ อนถึง 4 ตวั ชี้วัด โดยมาจาก องค์ประกอบท่ี 1 คณุ ลักษณะ ความร้แู ละทกั ษะ ของผ้สู อน จำนวน 2 ตวั ชวี้ ัด คอื 1) ผู้สอนมที ักษะ ความสามารถ ศิลปะดา้ นการสอนดว้ ยเครือ่ งมอื อุปกรณ์การสอน และ

20 เทคโนโลยีดิจิทัล สามารถแสวงหา คดั สรร และเลือกใช้เทคโนโลยี เครือ่ งมือ และแหลง่ เรยี นรูอ้ อนไลน์ทเ่ี หมาะสม สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพ ความพรอ้ ม และความสนใจในการเรียนรูข้ องผู้เรยี นโดยรวม (อนั ดับที่ 1) และ 2) ผู้สอนสามารถ แสวงหาช่องทางในการตอบสนองผูเ้ รียนทม่ี ีความต้องการเฉพาะ และสามารถใช้เคร่ืองมือ ชอ่ งทางทห่ี ลากหลาย สือ่ สาร เพ่อื การส่ือสารแบบสองทางกับผเู้ รยี น เพ่ือตดิ ตามและสรา้ งแรงจงู ใจให้ผเู้ รียน และเพื่อกระตนุ้ ให้เกิดปฏสิ มั พันธ์ในหมู่ ผเู้ รยี น (อันดบั ที่ 5) นัน้ แสดงให้เห็นว่า ผ้ใู ห้ขอ้ มลู สำคัญมองว่า คณุ ลกั ษณะ ความรู้และทักษะของผู้สอน และการปฏบิ ัติ หน้าท่สี อนตามบทบาทของครเู ป�นป�จจยั ท่ีจะนำส่คู วามสำเร็จ และส่งผลต่อคณุ ภาพของการจดั การเรยี นการสอนแบบ ออนไลน์ของสถานศกึ ษา กศน. ซงึ่ อาจวเิ คราะห์ไดว้ ่า หากผสู้ อนสามารถใช้ เลอื กใช้ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยกี าร สอ่ื สารทง้ั ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟท์แวร์ ตลอดจนแอปพลิเคชน่ั และแพลตฟอร์มต่าง ๆ ทนี่ ำมาใช้เพ่ือการเรยี นการสอน การสง่ มอบความรู้ การตดิ ต่อการส่อื สารกับผูเ้ รียนทง้ั รายกลุ่มและรายบคุ คลได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับศักยภาพและ ความพร้อมของผ้เู รียน และน่าจะสามารถสาธิต ช่วยเหลอื แนะนำผูเ้ รยี นจนสามารถใช้เทคโนโลยกี ารสอื่ สารเพ่ือการ เรยี นการสอนดงั กลา่ วได้ และเม่ือท้ังสองฝา่ ย คือ ฝ่ายผูส้ อน ซึ่งเปน� ผู้ส่งสาระความรู้ (Sender) เปน� ผอู้ ำนวยความสะดวก ในการเรยี นรู้ (Facilitator) และฝา่ ยผเู้ รียน ซึง่ เปน� ผูร้ ับสาระการเรียนรู้ (Receiver) ต่างมีความสามารถในเข้าถึงและ สามารถใชเ้ คร่ืองมือติดต่อสื่อสารไดด้ ีกน็ ่าจะเป�นพืน้ ฐานสำคญั ทีท่ ำใหก้ ารจัดกระบวนการเรยี นรู้ และการตดิ ต่อสอ่ื สาร ระหว่างกันและกนั ดำเนนิ ไปอย่างราบร่ืนจนส่งผลใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนมีคุณภาพ ขณะเดียวกนั มีตัวชี้วัดทีม่ คี ่าร้อยละความเหมาะสมสงู ท่สี ดุ 5 ลำดบั แรกมีความเก่ยี วข้องกับผู้สอนอีก 2 ตัวชี้วัด โดยมาจาก องค์ประกอบที่ 3 การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวน 2 ตวั ช้ีวัด คอื 1) ในช้นั เรยี นออนไลนแ์ บบสอนสด (Live) ผู้สอนใช้เทคนคิ การสอนทห่ี ลากหลาย โดยผูส้ อนเลือกใช้สื่อ แอปพลิเคชัน แพลตฟอร์ม ระบบการจัดการการเรยี นรู้ที่ เปด� โอกาสผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้อยา่ งทวั่ ถึงและมีประสิทธิภาพ และจดั เตรยี มสื่อ แหลง่ เรียนรู้ออนไลน์ ทจ่ี ำเปน� ต่อการศกึ ษา ค้นคว้า และเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ท่ีผเู้ รยี นสามารถเข้าใช้ได้โดยสะดวกและประหยดั (อันดบั ที่ 2) และ 2) ผู้สอนสง่ เสริม แนะนำ และมอบหมายงานใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนดว้ ยการปฏบิ ัติและลงมือทำ (Active Learning) ร่วมกัน รวมทัง้ สนบั สนนุ และจัดใหม้ ีเวทวี ิชาการเพือ่ การแลกเปลยี่ น แบง่ ปน� ประสบการณ์ ความสามารถ และทักษะตา่ งๆ ท่ี ผเู้ รียนสามารถนำมาใช้กับการเรียนออนไลน์ (อันดับท่ี 5) นนั้ อาจชใี้ ห้เหน็ ถึงการท่ผี ใู้ ห้ข้อมลู สำคัญยืนยนั ว่าบทบาทและ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิหน้าทีใ่ นการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้สอนมีความสำคญั ย่ิงต่อคุณภาพของการจัดการ เรยี นการสอนแบบออนไลน์ การทผี่ ูส้ อนสามารถใชเ้ ทคนิคการสอนท่หี ลากหลาย เลือกใชส้ อ่ื แอปพลิเคชัน แพลตฟอร์ม ระบบการจดั การการเรียนรู้ท่เี ป�ดโอกาสผู้เรียนมสี ่วนรว่ ม จัดเตรียมสื่อและแหลง่ เรยี นรู้ทผ่ี ้เู รยี นสามารถเข้าใช้ได้ โดยสะดวกและประหยดั ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนได้เรียนดว้ ยการปฏิบัตริ ่วมกัน น่าจะทำให้ผ้เู รยี นได้รบั ประสบการณ์ การเรียนรู้ที่น่าสนใจ ไมเ่ บื่อหนา่ ย และมีความสุขในการเรยี นรู้ ซ่งึ จะส่งผลดตี ่อระดบั การมีส่วนรว่ ม (Engagement) ความตอ่ เน่ืองในการเรยี นรู้ และสมั ฤทธผิ ลทางการเรียนของผู้เรียน จากทกี่ ล่าวมาจึงบง่ ชแ้ี ละสรปุ ได้วา่ ตวั ช้ีวดั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับความรแู้ ละทักษะของผ้สู อน ตลอดจนความสามารถใน การปฏบิ ตั ิงานสอนของผู้สอนมคี วามสำคัญยิ่ง ซงึ่ สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนามาตรฐานการศกึ ษาออนไลน์ของ

21 ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ดังนนั้ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องจึงควรจัดใหม้ ีการเสริมสรา้ งสมรรถนะแก่ครู กศน. ท่ีจดั การเรียนการ สอนแบบออนไลน์ ใหม้ คี วามร้แู ละทกั ษะเพยี งพอต่อการปฏบิ ัติหนา้ ทีข่ องตนให้มปี ระสิทธภิ าพ ข้อสงั เกตอีกประการหนึง่ คือ ตัวชว้ี ัดที่ 2 ของ องคป์ ระกอบที่ 5 การส่งเสริมความเป�นพลเมืองดิจทิ ัล ท่รี ะบวุ า่ “สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และเครอื ขา่ ยมีการจดั กิจกรรมระดมทนุ เพ่ือการจดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ และการ อำนวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรยี นและผู้สอนสามารถลด หรือไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยส่วนตวั ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และ การเรียนการสอนออนไลน์ ท้ังขณะท่ีอยู่ภายในและภายนอกสถานศึกษา” มคี ่ารอ้ ยละความเหมาะสมสูงเปน� ลำดับท่ี 3 นนั้ แสดงให้เหน็ วา่ ความพร้อมและความสามารถในการเขา้ ถงึ อนิ เทอร์เนต็ ของผ้สู อนและผ้เู รียน เป�นป�จจยั สำคญั ท่ีจะ สง่ ผลต่อคุณภาพของการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ และยงั เป�นประเด็นท่มี ีการกล่าวถึง วิพากษว์ จิ ารณ์ของผมู้ ีสว่ นได้ ส่วนเสยี กับการจดั การศึกษา และสาธารณชน ในช่วงที่ทำการศกึ ษาซึ่งมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างรนุ แรง จนสถาบันการศกึ ษาและสถานศึกษาทุกประเภทต้องจัดให้มกี ารเรยี นการสอนแบบออนไลน์แล้วพบ ประสบปญ� หาและความท้าทายหลายประการ เช่น ความไม่พรอ้ มของเคร่ืองมืออปุ กรณเ์ พื่อเชือ่ มต่ออนิ เทอร์เนต็ ของ ผูเ้ รียน ผู้เรยี นบางสว่ นไมส่ ามารถรับภาระการดา้ นคา่ ใชจ้ ่ายเพ่อื เช่ือมต่ออนิ เทอร์เน็ต เป�นตน้ ป�ญหาและความท้าทายท่ี กลา่ วมานนี้ ่าจะเป�นเหตผุ ลทีท่ ำใหผ้ ูใ้ หข้ ้อมูลสำคญั ใหค้ า่ คุณภาพของตวั ช้ีวัดนเ้ี ป�นลำดบั ที่ 3 ดงั นนั้ สถานศึกษาและ ผ้เู กยี่ วข้องพงึ จดั หา จดั เตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์ และอำนวยความสะดวกให้ผเู้ รยี นและผสู้ อนลดหรือไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ยสว่ นตวั ในการเชื่อมต่ออนิ เทอร์เน็ต และการเรยี นการสอนออนไลน์ ขอ้ เสนอแนะ 1. สถานศึกษา กศน. ควรจัดให้มกี ารอบรมหรือการพฒั นาศักยภาพของครู กศน. ท่ที ำหน้าทเี่ ป�นผูส้ อน และ ผ้เู กีย่ วข้องกบั จดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพ่อื ใหม้ ีคุณลักษณะ ความรู้และทกั ษะ ใหส้ ามารถปฏบิ ัตหิ น้าทจี่ ัดการ เรียนการสอนแบบออนไลนไ์ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยอาจนำตวั ชวี้ ัดคุณภาพของการสอนออนไลน์ท่ีพัฒนาขน้ึ ในครั้งนี้ ไปประกอบการพจิ ารณากำหนดหลักสูตรและเนื้อหาของหลกั สูตรการอบรมหรือการพัฒนาศักยภาพ 2. สำนักงาน กศน. จังหวัด ควรแนะนำหรอื มอบหมายใหส้ ถานศึกษาในสงั กัดท่จี ัดการเรียนการสอนแบบ ออนไลนน์ ำตวั ช้ีวดั ทพ่ี ฒั นาขึ้นในครั้งนีไ้ ปใชป้ ระกอบการพิจารณาทบทวน เทียบเคียง ประยุกต์ใช้ หรือประเมนิ การ ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา ในลักษณะของการประเมินตนเอง (Self - Assessment) 3. สำนักงาน กศน. ควรนำตวั ชว้ี ัดที่พัฒนาข้ึน ไปปรบั ปรุง พัฒนา และพจิ ารณาจัดทำเกณฑ์ (Criteria) การ ประเมิน ตลอดจนจัดทำคู่มอื หรอื แนวทางการประเมินคณุ ภาพของการสอนออนไลน์ของหน่วยจัดการเรียนรูใ้ นสงั กัด 4. ควรมีศึกษาและวจิ ัยเก่ียวกับแนวการปฏิบตั ิทีด่ ี (Good Practices) ของการจดั เรยี นการสอนแบบออนไลนท์ ี่ มีคุณภาพของสถานศึกษา กศน. ทไ่ี ด้ดำเนินการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลนจ์ นประสบผลสำเร็จ โดยอาจพจิ ารณา

22 นำตวั ช้ีวดั ที่พฒั นาขน้ึ ไปเปน� ฐานคดิ ประกอบเพื่อการถอดบทเรยี นและการศกึ ษากรณตี ัวอยา่ งเพือ่ เผยแพร่ประสบการณ์ และแบบอย่างความสำเร็จเผยแพร่แกส่ ถานศึกษาอน่ื ท่ีมกี ารจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์อน่ื ๆ ตอ่ ไป เอกสารอางอิง วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉตั รสดุ า กานกายันต์ และ จรรยา คนใหญ.่ (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ภายใตส้ ถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19: แนวคิดและการประยุกตใ์ ช้จดั การเรียนการสอน. สบื คน้ จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/view/242473/165778 สมหวงั พิธยิ านุวฒั น์ (2541). วธิ ีวทิ ยาการประเมินทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Basak, Sujit, Marguerite Wotto and Paul Belanger. (2016). A Framework on the Critical Success Factors of E-Learning Implementation in Higher Education: A Review of the Literature. Retrieved from: https://www.researchgate.net/publication/309418519_A_Framework_on_the_Critical_Success_ Factors_of_E-Learning_Implementation_in_Higher_Education_A_Review_of_the_Literature Carleton University. (2021). Course Delivery Types. Retrieved from: https://carleton.ca/registrar/registration/course-delivery-types/ Cheawjindakarm, Bussakorn, Praweenya Suwannatthachote and Anuchai Theeraroungchaisri. (2012). Critical Success Factors for Online Distance Learning in Higher Education: A Review of the Literature. Retrieved from: https://www.researchgate.net/publication/256186772_Critical_Success_Factors_for_Online_Dis tance_Learning_in_Higher_Education_A_Review_of_the_Literature Hales, David. (2010). An Introduction to Indicator. Geneva: The Joint United Nations Programme on HIV/AIDS (UNAIDS). Fordham University. (2021). Types of Online Learning. Retrieved from: https://www.fordham.edu/info/24884/online_learning/7897/types_of_online_learning Montana Technological University. (2021). Online Learning Technology at Tech. Retrieved from: https://www.mtech.edu/distance/deliveryMethods.html

23 United Nations. (2020). Online Learning Framework: Promoting Shared Standards and Providing Guidance for the Development of Online Learning Solutions at the United Nations. Retrieved from: https://hr.un.org/sites/hr.un.org/files/OLF_2020_v1.4_1.pdf University of Auckland. (2021). 3 Types of Online Learning. Retrieved from: https://www.online.auckland.ac.nz/2019/08/07/types-of-online-learning/ Virtual Learning Leadership Alliance and Quality Matters. (2019). National Standards for Online Teaching. 3rd edition. Retrieved from: https://www.nsqol.org/the-standards/quality- online-teaching/ Volery, Thierry and Deborah Lord. (2000). Critical Success Factors in Online Education. Retrieved from: https://www.researchgate.net/publication/225157840_Critical_success_factors_in_online_edu cation ..............................................................

24 คณะทำงาน ที่ปรกึ ษา โสอบุ ล ผอู้ ำนวยการชำนาญการพิเศษ สุพรรณ์ รองผอู้ ำนวยกหารชำนาญการ นายวิเชียรโชติ นางสาวประภาพร ครชู ำนาญการพเิ ศษ ครเู ชี่ยวชาญ คณะผ้วู จิ ัย คำผา ครชู ำนาญการพิเศษ ผดุ เพชรแกว้ ครชู ำนาญการพเิ ศษ นายร่วมมติ ร บุญประสงค์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ นายไพจติ ร คำเพราะ ครู นางสาวนาลีวรรณ สุวรรณประทปี ครู นายสมชาย ตุ๊กสนั เทยี ะ ครูผู้ชว่ ย นายสชุ าติ พลอาสา ครผู ูช้ ่วย นางสาวนิตยา อ่ำแพร ครูผชู้ ่วย นางสาวอภญิ ญา ปญ� ญาวงศ์ นายเดน่ ชยั พวงสุวรรณ นายกติ ติพนั ธ์ นางสาวสุกัญญา โครงการวิจัย ไดร้ บั งบประมาณจากสำนักงาน กศน. ป�งบประมาณ 2564