Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สะเต็ม เล่มที่ 4

สะเต็ม เล่มที่ 4

Published by dengwansri31, 2020-10-16 02:55:55

Description: สะเต็ม เล่มที่ 4

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นร้ตู ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เลี้ยง เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา หน้า ก

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เลย้ี ง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา คำนำ เอกสารประกอบการพัฒนาครูโดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เล้ียงเพ่ือส่งเสริม ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาหรับครูผู้สอนสะเต็มศึกษา ระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เลม่ นี้ จัดทาขน้ึ เพอ่ื ใช้ประกอบการประชุมปฏิบัตกิ าร และนเิ ทศเพ่ือสง่ เสริมความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้เอกสารประกอบการพฒั นาครูเป็นแนวทางในการประชุม ปฏิบัติการ ครูผู้เข้าร่วมประชุมหรือผู้รับการนิเทศได้ศึกษาเอกสารและทาความเข้าใจเนื้อหาในแต่ละเล่ม จานวน 4 เล่ม พร้อมกับมีการประเมินความรู้ความเขา้ ใจด้วยการตอบคาถาม ทดสอบ และตอบแบบทดสอบ ในการใช้เอกสารนี้ รวมถึงวิทยากรที่ต้องศึกษาวัตถุประสงค์และเนื้อหาของเอกสารประกอบการพัฒนาครู แตล่ ะเลม่ เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการประชุมหรือผูร้ บั การนเิ ทศเขา้ ใจเน้ือหาเพม่ิ ข้ึน เน้ือหาที่นาเสนอนั้น มีความจาเป็นต้องนาเสนอตามลาดับเอกสาร ต้ังแต่เล่มที่ 1 จนถึงเล่มท่ี 4 เพ่ือทาความเข้าใจได้อย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน โดยให้ผู้เข้ารับการประชุม หรือผู้รับการนิเทศได้ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมทก่ี าหนดไวใ้ นเอกสาร ผจู้ ัดทาเอกสารหวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ เอกสารฉบับนีจ้ ะเปน็ แนวทางในการดาเนนิ การประชมุ ปฏิบัติการ หรือนิเทศครูเพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้องไดเ้ ป็น อยา่ งดี ผจู้ ดั ทา ดร.สภุ าภรณ์ ใจสขุ หน้า ก

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลี้ยง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สารบัญ เรอ่ื ง หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข คำช้แี จง ค แผนภูมิขัน้ ตอนกำรศกึ ษำเอกสำร 1 วตั ถปุ ระสงค์ 2 ขอบขำ่ ยเนอ้ื หำ 2 แผนภำพกระบวนกำรจดั กำรเรยี นรตู้ ำมแนวทำงสะเต็มศึกษำ 3 เอกสำรเสริมควำมรู้ที่ 1 กำรจัดทำหน่วยกำรเรยี นรบู้ ูรณำกำรสะเต็มศึกษำ 4 กิจกรรมท่ี 1 กำรจัดทำหนว่ ยกำรเรียนรู้บรู ณำกำรสะเต็มศกึ ษำ 6 เอกสำรเสรมิ ควำมรู้ท่ี 2 ตัวอยำ่ งหนว่ ยกำรเรยี นรบู้ ูรณำกำรสะเต็มศึกษำ : โดยใช้ 7 กระบวนกำรสืบสอบ เอกสำรเสรมิ ควำมรูท้ ่ี 3 ตัวอย่ำงหน่วยกำรเรียนรบู้ ูรณำกำรสะเตม็ ศึกษำ : โดยใช้ 27 วงจรวิศวกรรม เอกสำรเสรมิ ควำมร้ทู ่ี 4 ตวั อยำ่ งหนว่ ยกำรเรยี นรบู้ รู ณำกำรสะเต็มศกึ ษำ : โดยใชโ้ ครงงำน 39 กิจกรรมที่ 2.1 กำรกำหนดเปำ้ หมำยกำรเรียนรู้ 65 กิจกรรมที่ 2.2 กำรกำหนดกำรวัดและประเมิน 68 กจิ กรรมที่ 2.3 กำรออกแบบกิจกรรมกำรเรยี นรู้ 70 แบบทดสอบกอ่ น – หลงั ประชมุ ปฏิบัติกำร 72 เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลงั ประชุมปฏบิ ัติกำร 73 บรรณำนกุ รม 74 คณะทำงำน 75 หน้า ข

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรูต้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเล้ียง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา คาชแ้ี จง 1. เอกสารประกอบการพัฒนาครูโดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เล้ียงเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาหรับครูผู้สอนสะเต็มศึกษา ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 มที ง้ั หมด 4 เลม่ ได้แก่ เล่มที่ 1 สะเต็มศึกษา เล่มท่ี 2 กระบวนการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เลม่ ที่ 3 การวดั และประเมินผลตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา เลม่ ที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา เอกสารทัง้ 4 เลม่ มเี นื้อหาท่ีเก่ียวข้องและต่อเนื่องกัน ครูผู้สอนควรทาความเข้าใจเกีย่ วกับ การจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษา ท่จี ะชว่ ยเสริมสรา้ งทกั ษะในการจดั การเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาทปี่ ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป 2. เอกสารเลม่ นีเ้ ป็นเอกสารเล่มที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเต็มศึกษา มีเน้อื หา เกย่ี วกับตัวอยา่ งหน่วยการเรยี นรบู้ รู ณาการสะเต็มศึกษา โดยใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรู้ 3 แบบ ได้แก่ กระบวนการสืบสอบ วงจรวิศวกรรม และโครงงาน มีการฝกึ ปฏิบัติการจัดทาหนว่ ยการ เรียนรบู้ รู ณาการสะเต็มศึกษาใน 3 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ การกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ การกาหนด ชนิ้ งาน/ภาระงาน/การวดั และประเมิน และการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ 3. ให้ผศู้ กึ ษาปฏิบัติกิจกรรมทก่ี าหนดให้ เพ่ือเชอ่ื มโยงความรเู้ ดิมทม่ี ีอยู่ ให้สัมพันธ์และศกึ ษาเอกสาร เสริมความรจู้ นเข้าใจ แลว้ สร้างความรู้ใหมน่ าใชไ้ ปปรับปรุงกจิ กรรมทป่ี ฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. การสร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการพัฒนาครูชุดน้ีมุ่งบูรณาการความรู้และหลักการของการ จัดการเรยี นการสอนตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา การวัดและประเมินผลตามแนวทางสะเต็มศึกษา รวมไปถึงการจัดทาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ สะเต็มศึกษา ท่ีเป็นจุดเน้นทางการศึกษาในครง้ั น้ี ขอให้ทุกท่านได้ศึกษาเอกสารประกอบการพฒั นา ครูอย่างรอบคอบและครบทุกเล่ม จึงจะเปน็ ประโยชน์สูงสดุ แก่ผ้เู รยี น หน้า ค

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเลีย้ ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา แผนภูมิข้ันตอนการศึกษาเอกสาร ศึกษาภาพรวมของเอกสารประกอบการพฒั นาครู ศึกษาคาแนะนาในเอกสารประกอบการพัฒนาครู ศึกษาวตั ถปุ ระสงค์ ขอบขา่ ยเนอื้ หา ประเมินตนเองดว้ ยแบบทดสอบกอ่ นศกึ ษาเอกสารประกอบการพฒั นาครู ศึกษาเอกสารเสรมิ ความรู้ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ปรับปรุง ตรวจสอบคาตอบและปรบั ปรงุ กจิ กรรม ประเมนิ ตนเองดว้ ยแบบทดสอบหลงั ศึกษาเอกสารประกอบการพัฒนาครู หน้า 1

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เล้ียง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา วัตถปุ ระสงค์ เมอ่ื ศึกษำเอกสำรชุดนี้แล้ว ผ้ศู ึกษำจะมีควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจและมคี วำมสำมำรถดังน้ี 1. บอกวธิ ีกำรจดั ทำหนว่ ยกำรเรยี นร้บู ูรณำกำรสะเต็มศกึ ษำแบบย้อนกลับ (Backword Design) ได้ 2. บอกวธิ ีกำรจดั ทำหน่วยกำรเรียนรูต้ ำมแนวทำงสะเตม็ ศึกษำโดยใช้กระบวนกำรสบื สอบ วงจร วศิ วกรรม และโครงงำนได้ 3. สำมำรถกำหนดเปำ้ หมำย (Objective) ของหนว่ ยกำรเรียนร้แู บบย้อนกลบั (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเต็มศึกษำได้ 4. สำมำรถกำหนดกำรวัดและประเมนิ และช้ินงำน/ภำรงำน/หลักฐำนกำรเรยี นรู้ (Evalution) ของ หนว่ ยกำรเรยี นรแู้ บบยอ้ นกลบั (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเตม็ ศึกษำได้ 5. สำมำรถกำหนดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ (Learning) ของหนว่ ยกำรเรยี นรูแ้ บบย้อนกลับ (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเต็มศกึ ษำได้ ขอบข่ำยเนอ้ื หำ 1. กำรจดั ทำหน่วยกำรเรยี นรู้บรู ณำกำรสะเต็มศึกษำแบบยอ้ นกลับ (Backword Design) 2. หน่วยกำรเรยี นรู้ตำมแนวทำงสะเตม็ ศกึ ษำโดยใช้กระบวนกำรสบื สอบ วงจรวิศวกรรม และ โครงงำน 3. กำรกำหนดเปำ้ หมำย (Objective) ของหน่วยกำรเรยี นรู้แบบยอ้ นกลับ (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเต็มศกึ ษำ 4. กำรกำหนดกำรวดั และประเมนิ และชิน้ งำน/ภำรงำน/หลกั ฐำนกำรเรียนรู้ (Evalution) ของหนว่ ย กำรเรยี นรแู้ บบย้อนกลับ (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเต็มศกึ ษำ 5. กำรกำหนดกิจกรรมกำรเรียนรู้ (Learning) ของหนว่ ยกำรเรยี นรูแ้ บบยอ้ นกลับ (Backword Design) ตำมแนวทำงสะเตม็ ศึกษำ หน้า 2

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลี้ยง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา แผนภำพ กำรนเิ ทศโดยใช้กระบวนกำร PDCA ร่วมดว้ ยพ่เี ลย้ี งเพ่ือส่งเสริมควำมสำมำรถ ในกำรจัดกำรเรียนรตู้ ำมแนวทำงสะเต็มศึกษำ กระบวนการนเิ ทศ กระบวนการ PDCA ส่งเสรมิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ขน้ั ท่ี 1 การวางแผน (P-Plan) 1. ความรู้ความเข้าใจการจัดการเรยี นรู้ ขั้นที่ 2 การปฏิบตั ิตามแผน (D-Do) สะเตม็ ศกึ ษา ขน้ั ที่ 3 การตรวจสอบและประเมินผล 2. ความสามารถในการจัดทา (C-Check) หน่วยการเรียนรบู้ ูรณาการสะเตม็ ศึกษา ขนั้ ที่ 4 การปรบั ปรงุ แก้ไข (A-Act) 3. ความสามารถในการจัดการเรยี นการสอน ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา ลกั ษณะสาคัญของพ่ีเล้ยี ง 1. สร้างความสมั พนั ธท์ ีด่ กี ับผู้รบั คาปรึกษาคาปรึกษา 2. ดูแล ช่วยเหลอื ให้คาปรึกษาด้วย ความเตม็ ใจ 3. มคี วามรูค้ วามสามารถดี 4. พัฒนาทักษะของตนเองและผรู้ บั คาปรกึ ษาอยา่ งไตรต่ รองและสะทอ้ น คดิ 5. มที กั ษะการฟงั และการส่ือสารทีด่ ี หน้า 3

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเลยี้ ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เอกสารเสริมความรทู้ ่ี 1 การจัดทาหน่วยการเรียนร้บู รู ณาการสะเต็มศกึ ษา การจดั ทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 ขั้น แรกต้องจัดทาโครงสรา้ งรายวชิ ากอ่ น เพ่ือใหม้ องเหน็ ภาพรวมของรายวชิ า ดังน้ี 1. ศกึ ษาตวั ชว้ี ดั ทงั้ หมดในคาอธิบายรายวิชา 2. จัดกล่มุ ตัวช้วี ัดทมี่ เี น้อื หาใกล้เคยี งกันแล้วต้งั ช่อื หน่วยการเรียนรู้ใหน้ า่ สนใจ 3. กาหนดสาระสาคญั ของแตล่ ะหน่วย 4. กาหนดจานวนชั่วโมง และคะแนนสาหรับแต่ละหน่วยใหเ้ หมาะสม (รวมตลอดปี/ภาค เรยี นเทา่ กับทก่ี าหนดในโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา) สาระสาคัญ คือองคค์ วามรู้สาคัญ เป็นความคิดรวบยอด (Concept) ทเ่ี ปน็ หลกั การทีต่ อ้ งการให้ฝัง ติดตัวผ้เู รียนไปเปน็ เวลานาน และสามารถนามาใช้ได้เมือ่ ถึงเวลาท่ีต้องการ ในสาระสาคญั น่าจะมี 3 ส่วน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคณุ ลกั ษณะของวิชา ท่ีต้องการใหเ้ ป็นองคค์ วามรู้ทต่ี ิดตัว ผู้เรยี นไปเปน็ เวลานาน เมื่อไดโ้ ครงสร้างรายวิชาในภาพรวมแลว้ จงึ นาแต่ละหน่วยมาออกแบบการเรยี นรโู้ ดยกรระบวนการ ออกแบบหลกั สูตร แบบยอ้ นกลับ (Backward Design) มอี งค์ประกอบสาคัญ 3 ส่วน ดงั น้ี 1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ (Objective) ของหน่วยการเรยี นรู้ทจี่ ะบูรณาการ มดี ังนี้ 1.1 กาหนดหัวข้อเรอื่ ง (Theme) และชิ้นงาน 1.2 กาหนดมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด ของวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี หรอื คอมพวิ เตอร์ ทีน่ ามาจัดกลุ่มทาเป็นหน่วยการเรียนรู้ 1.3 สาระสาคัญ (Concept) เป็นองค์ความรโู้ ดยรวมทต่ี ้องการใหฝ้ ังตดิ ตัวผู้เรยี นไป เปน็ เวลานาน หรือทเี่ รยี กวา่ “ความเข้าใจท่ีคงทน (Enduring Understanding) (เปน็ องค์ความรทู้ เี่ ปน็ หลกั การ หรือหลักวชิ าของแตล่ ะเรื่อง) เช่น \"เซลล์ของสง่ิ มชี ีวติ ประกอบด้วยนวิ เคลยี ส ไซโทพลาสซึม และเยื่อ หมุ้ เซลล์ ภายในเซลลม์ กี ารผา่ นของสารโดยการแพร่ หรอื ออสโมซิส เพ่ือดารงความสมดุลของเซลล์และเพ่ือ การเจริญเตบิ โตของเซลล์\" \"เลขยกกาลัง คือการคูณเลขนนั้ ๆ ตามจานวนของเลขชก้ี าลัง\" \"วัตถใุ ด ๆ เม่ือมีการ เคลอ่ื นท่ี จะมีทศิ ทาง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และอัตราเร่ง\" 1.4 กาหนดสาระการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะของ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี หรอื วศิ วกรรม) 1.4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น (จากหลักสูตรสถานศกึ ษา) 1.5 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค(์ จากหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 2. การวดั และประเมิน (Evaluation) ได้แก่ 2.1 หลกั ฐานท่ีเป็นผลการเรยี นรู้(ช้ินงาน/ภาระงาน) 2.1.1 ชน้ิ งาน/ภาระงานโดยรวมทเี่ ปน็ หลักฐานที่แสดงวา่ ผ้เู รียนมคี วาม เขา้ ใจตามเปา้ หมายของหน่วยการเรยี นรู้แลว้ สาหรบั เปา้ หมาย สาระสาคัญ หน้า 4

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เล้ยี ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2.2.2 ช้ินงาน/ภาระงาน/หลกั ฐานว่ามคี วามเข้าใจตามเป้าหมายท่เี ป็น ตวั ชว้ี ัด คุณลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2.2 การกาหนดการวดั และประเมินผล 2.1.1 กาหนดกจิ กรรมทตี่ อ้ งการวัดและประเมนิ ได้แก่ กิจกรรมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะ ทงั้ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาร์สตร์ เทคโนโลยี หรอื คอมพวิ เตอร์ รวมทั้ง สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และช้ินงานสะเต็ม 2.1.2 กาหนดเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูบ้ รู ณาการ สะเต็มศึกษา ตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั ของกจิ กรรมทีต่ ้องการวดั และประเมิน 2.1.3 สรา้ งเกณฑก์ ารประเมนิ 3. การจดั การเรยี นรู้ (Learning) เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมีหลักฐานท่เี ป็นผลการเรยี นรู้ตามเป้าหมาย ของหน่วยการเรยี นรู้ที่กาหนด โดยนาหลกั ฐานแต่ละหลักฐานมาเปน็ ตวั กาหนดกจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีหลักฐานการเรยี นรูต้ ามทก่ี าหนดไว้ แลว้ จงึ นาข้อมูลท้งั หมดมาเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ ซึ่ง มอี งคป์ ระกอบตา่ งๆ ไดแ้ ก่ 3.1 หวั แผนการจดั การเรยี นรู้ (หน่วยการเรียนรู้เรอื่ ง......รหัส และชอื่ รายวิชา........ กลุ่มสาระการเรียนร.ู้ ..........ชน้ั ...........ภาคเรยี นท่ี.........เวลา.......ชั่งโมง) มาตรฐานการเรียนร.ู้ ...ตวั ชี้วดั 3.2 มาตรฐานการเรยี นรู้ 3.3 ตัวช้วี ัด 3.4 สาระสาคัญ 3.5 สาระการเรยี นรู้ 3.5.1 ความรู้ 3.5.2 ทักษะกระบวนการ 3.5.3 คุณลักษณะ 3.6 สมรรถนะสาคัญ 3.7 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3.8 สือ่ อปุ กรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 3.9 การจัดการเรยี นรู้บรู ณาการสะเตม็ ศึกษา เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น/ข้นั เตรียมการสอน ขัน้ สอน และข้ันสรปุ และประเมนิ ผล) ตามกิจกรรมและเวลาท่ีกาหนดไว้ ในหน่วยการเรยี นรู้ นนั้ ๆ หรือปรบั ตารางสอนตามทโ่ี รงเรยี นจดั ให้) แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ควรใช้เวลา เรยี นโดยประมาณ 1-2 ช่วั โมง 3.10 การวดั และประเมนิ ผล (วธิ กี ารวดั เครือ่ งมอื วดั เกณฑ์การวัด) เม่อื จดั ทาโครงสร้างรายวิชา และจัดทาหนว่ ยการเรยี นรเู้ รียบรอ้ ยแลว้ ควรมีการประเมนิ ความถกู ต้อง และเหมาะสมของหน่วยการเรยี นรู้ กอ่ นทจ่ี ะนาไปจดั การเรยี นรู้ให้กบั ผู้เรียน หน้า 5

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เล้ยี ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา กจิ กรรมท่ี 1 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้บูรณาการสะเตม็ ศึกษา คาชแ้ี จง จงตอบคาถามต่อไปนี้ การจดั ทาโครงสร้างรายวิชาเปน็ อย่างไร .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... องค์ประกอบสาคัญของหนว่ ยการเรยี นรมู้ กี ีส่ ่วน ประกอบด้วยอะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... การกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Objective) ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง เก่ียวขอ้ งกบั การบรู ณาการสะเต็ม ศึกษาอย่างไร .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... การกาหนดการวดั และประเมนิ (Evaluation)) ประกอบด้วยอะไรบา้ ง เกยี่ วขอ้ งกับการบูรณาการ สะเตม็ ศึกษาอย่างไร .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ (Learning) ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง เกี่ยวขอ้ งกับการบูรณาการเตม็ ศึกษา อยา่ งไร .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ได้คาตอบแลว้ โปรดศกึ ษาเอกสารเสรมิ ความรู้อีกคร้งั เพื่อตรวจสอบคาตอบ หน้า 6

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพี่เลย้ี ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เอกสารเสรมิ ความรู้ที่ 2 ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรูบ้ รู ณาการสะเตม็ ศึกษา : โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบสบื สอบ หนว่ ยการเรยี นรบู้ ูรณาการสะเต็มศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 16101 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 หน่วยการเรยี นรู้ สารและการเปล่ียนแปลงของสาร เวลา 12 ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ กาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 3 สารและสมบตั ิของสาร มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลกั การและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏกิ ิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจติ วิทยาศาสตร์ สอื่ สารสิง่ ท่เี รยี นรู้ และนา ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ตวั ช้วี ัด ว 3.2ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ ว 3.2ป.6/2 วเิ คราะหแ์ ละอธิบายการเปลย่ี นแปลงท่ที าให้เกิดสารใหม่และมสี มบัติ เปล่ียนแปลงไป ว 3.2ป.6/3 อภปิ รายการเปลี่ยนแปลงของสารที่กอ่ ให้เกิดผลต่อสง่ิ มีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหา ความรกู้ ารแก้ปญั หา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่เี กิดขึ้นสว่ นใหญ่มรี ูปแบบที่แนน่ อน สามารถอธบิ ายและ ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและ สิ่งแวดล้อมมคี วามเก่ยี วข้องสัมพนั ธก์ ัน ตัวช้วี ัด ว 8.1 ป.6/1 ตง้ั คาถามเกีย่ วกับประเดน็ หรอื เร่ือง หรือสถานการณ์ท่ีจะศกึ ษาตามท่ี กาหนดใหแ้ ละตามความสนใจ ว 8.1 ป.6/2 วางแผนการสงั เกต เสนอการสารวจ ตรวจสอบหรอื ศึกษาค้นควา้ คาดการณ์ สิง่ ทจ่ี ะพบจากการสารวจ ตรวจสอบโดย ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอุปกรณ์ และวิธีการสารวจตรวจสอบท่ถี กู ต้องเหมาะสมให้ได้ผลท่ี ครอบคลุมและเชอ่ื ถอื ได้ ว 8.1 ป.6/4 บนั ทึกขอ้ มูลในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ วิเคราะห์ และตรวจสอบผลกบั สิ่งที่ คาดการณไ์ ว้ นาเสนอผลและข้อสรุป หน้า 7

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เลยี้ ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ว 8.1 ป.6/5 สร้างคาถามใหมเ่ พื่อการสารวจ ตรวจสอบต่อไป ว 8.1 ป.6/6 แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ อธิบาย ลงความเหน็ และสรปุ สิ่งทีไ่ ด้เรยี นรู้ ว 8.1 ป.6/7 บันทกึ และอธิบายผลการสารวจ ตรวจสอบตามความเปน็ จรงิ มเี หตุผล และ มีประจักษพ์ ยานอา้ งองิ ว 8.1 ป.6/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดว้ ยวาจา และเขียนรายงานแสดง กระบวนการและผลของงานใหผ้ ้อู ืน่ เข้าใจ คณิตศาสตร์ สาระท่ี 2 การวดั มาตรฐาน ค 2.2 แกป้ ญั หาเกยี่ วกับการวัด ตวั ช้วี ัด ค 2.2 ป.6/2 แกป้ ญั หาเกย่ี วกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธบิ ายและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณติ สองมติ แิ ละสามมติ ิ มาตรฐาน ค 3.2 ใชก้ ารนึกภาพ(Visualization) ใชเ้ หตุผลเก่ยี วกบั ปริภมู ิ (Spatial reasoningและใช้แบบจาลองทางเรขาคณติ (Geometric model) ในการแกป้ ัญหา ตัวชี้วัด ค 3.1 ป.6/1 บอกชนดิ ของรปู เรขาคณิตสองมิติทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบของรปู เรขาคณติ สามมิติ ค 3.2 ป.6/1 ประดิษฐ์ทรง สเ่ี หลี่ยมมมุ ฉากทรงกระบอก กรวย ปริซมึ และพีระมิดจาก รปู คลี่หรอื รปู เรขาคณติ สองมิติทีก่ าหนดให้ สาระที่ 6 ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ และมคี วามคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ตัวชีว้ ัด ค 6.1 ป.6/1 ใช้วธิ ีการที่หลากหลายแกป้ ัญหา ค 6.1 ป.6/2 ใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีใน การแกป้ ญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ค 6.1 ป.6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม ค 6.1 ป.6/4 ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการสื่อสาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ค 6.1 ป.6/5 เช่ือมโยงความรตู้ ่างๆในคณิตศาสตรแ์ ละเชื่อมโยงคณิตศาสตรก์ บั ศาสตร์อื่นๆ ค 6.1 ป.6/6 มคี วามคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ หน้า 8

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเลย้ี ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูล การเรียนรู้ การส่ือสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ มีคุณธรรม ตัวชว้ี ัด ง 3.1 ป.6/2 ใช้คอมพิวเตอร์ในการคน้ หาขอ้ มลู ง 3.1 ป.6/4 นาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซ้ อฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ 2. การบรู ณาการ STEM วิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยีสารสนเทศ (T) วิศวกรรม (E) คณิตศาสตร์ (M) - การเปลีย่ นแปลงของสาร - การใชเ้ ทคโนโลยใี น - การ - ชนดิ ของรูปทรงเรขาคณิต ออกแบบ - การเกดิ ปฎิกิริยาเคมขี อง การสืบคน้ ข้อมลู จาก - ประดิษฐก์ ล่องรูปเรขาคณติ สารท่ีทาให้เกิดสารใหม่ บรรจภุ ัณฑ์ รูปแบบตา่ งๆ อินเตอรเ์ น็ต - การเปล่ียนแปลงของสาร - ปริมาตรและความจุของทรง ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดผลตอ่ สงิ่ มีชวี ิต - การนาเสนอผลงานรปู แบบ สี่เหล่ียมมุมฉาก และส่ิงแวดลอ้ ม ตา่ ง ๆ 3. สาระสาคญั การเปล่ียนแปลงของสาร ได้แก่ การเปลี่ยนสถานะของสาร การละลาย และการเกิดสารใหม่ โดยการเปลย่ี นสถานะและการละลายเปน็ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ซ่งึ ไม่เกดิ สารใหม่ สารทเ่ี ปลี่ยนแปลง สามารถย้อนกลับไปมีสมบัติเหมือนเดิมได้อีก แต่การเกิดสารใหม่ เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทาให้สมบัติ เปล่ียนไปจากเดิมหรือเรียกว่าการเกิดปฎิกิริยาเคมี ซง่ึ การเปลย่ี นแปลงของสารอาจมีทัง้ ประโยชน์และโทษ ที่ ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ไข่เค็มไชยาจัดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงของสาร ซ่ึง นกั เรียนสามารถสบื ค้นขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เน็ตเกี่ยวกบั วัตถุดบิ ข้ันตอนการทา การลงมือทา แล้วนาเสนอข้อมูล ที่ไดใ้ นรปู แบบตา่ งๆ และนาความรู้เร่อื งรปู เรขาคณิตสามมิตมิ าออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ เพ่อื ประดิษฐ์เปน็ กล่องใส่ ไขเ่ ค็ม ใหด้ งึ ดูดความสนใจมากยิ่งขน้ึ 4. สาระการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ - การเปลยี่ นแปลงของสาร (การเปลี่ยนสถานะ การละลาย และการเกดิ สารใหม่) - การเกิดปฎกิ ิรยิ าเคมขี องสารที่ทาให้เกดิ สารใหม่ - รปู เรขาคณิตสามมติ ิ - การสบื ค้นขอ้ มลู และการนาเสนอขอ้ มลู หน้า 9

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพ่ีเลย้ี ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ด้านทกั ษะกระบวนการ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สร้างสรรค์ - ทกั ษะการแกป้ ญั หาอย่างเป็นข้ันตอน - ทักษะการสืบคน้ ข้อมูล - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - กระบวนการทางานกลมุ่ 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร - การอธบิ าย การเขียน การพดู หน้าชน้ั เรียน 2. ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสารวจ การจาแนกประเภท การคดิ วเิ คราะห์ การสร้างคาอธบิ าย การสอ่ื ความหมาย การจดั ระบบความคดิ เปน็ แผนภาพ การสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา - การแก้ปญั หาขณะปฏบิ ตั ิกิจกรรม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการกลมุ่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - การใช้อนิ เทอร์เน็ตในการสบื ค้นขอ้ มลู - การนาเสนอข้อมลู ในรปู แบบทเ่ี หมาะสม โดยเลือกใชซ้ อฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ - ตัง้ ใจพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ - แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการเลอื กใช้ส่อื อย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 2. อยู่อย่างพอเพียง - ดาเนนิ ชีวติ อย่างพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มคี ุณธรรม 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน - ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ีการงาน - ทางานด้วยความเพยี ร พยายาม และอดทนเพอื่ ใหง้ านสาเร็จ หนา้ 10

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพี่เลย้ี ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา กาหนดการวดั และประเมนิ 7. หลักฐานที่เปน็ ผลการเรยี นรู้ (ภาระงาน / ชนิ้ งาน) 1. ใบงานท่ี 1 รายงานการทดลอง เร่อื ง การเปล่ียนแปลงของสาร 2. ใบกจิ กรรม เร่อื ง การเปล่ยี นสถานะและการละลาย 3. ใบงานที่ 2 รายงานการทดลอง เรือ่ ง ปฏิกิรยิ าของสาร 4. ใบงานที่ 3 เร่ือง การสืบค้นขอ้ มูลทางอนิ เตอรเ์ นต็ 5. การนาเสนอการสบื คน้ ข้อมูลเกีย่ วกบั ไขเ่ ค็มไชยาสูตรดง้ั เดิม 6. ไขเ่ คม็ สมุนไพรไชยา จานวน 4 ฟอง 7. ประเมินตน้ ทนุ ทใ่ี ช้ในการผลิตไขเ่ คม็ ไชยา 8. ใบงานท่ี 4 เรื่อง ผลท่ีเกิดจากการเปลยี่ นแปลงของสาร 9. ใบงานที่ 5 เร่ือง รูปคลี่ของรปู เรขาคณิตสามมิติ 10. ใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง รูปเรขาคณิตสามมิติ 11. ใบงานท่ี 7 เรอ่ื ง ขนั้ ตอนการทากลอ่ งบรรจภุ ัณฑไ์ ขเ่ คม็ 12. ใบงานท่ี 8 เรือ่ ง การออกแบบชิน้ งาน 13. กล่องบรรจภุ ณั ฑ์ไขเ่ คม็ สมุนไพรไชยา 14. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 8. การวดั และประเมนิ ผล กจิ กรรมที่ประเมิน เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ - ทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบ ผ่านเกณฑร์ ะดับ ดี ขนึ้ ไป ใบกจิ กรรม แบบบนั ทกึ ใบกิจกรรม รายงานผลการทดลอง ใบงาน ผ่านเกณฑร์ ะดบั ดี ขน้ึ ไป การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม แบ แบบประเมนิ การร่วมกิจกรรม ผ่านเกณฑร์ ะดับ ดี ข้นึ ไป กลุ่ม/ การนาเสนอผลงาน/ แบ แบบการนาเสนอผลงาน/ ผ่านเกณฑร์ ะดับ ดี ขึ้นไป การสบื คน้ การสบื คน้ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ขนึ้ ไป การรว่ มกจิ กรรมรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น ช้นิ งานสะเตม็ (ไข่เคม็ ) รายบุคคล กลอ่ งบรรจภุ ณั ฑ์ไขเ่ ค็ม แบบประเมินชิ้นงาน แบบประเมนิ ชิ้นงาน หนา้ 11

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพ่ีเลยี้ ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 9. การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ (12 ช่ัวโมง) ชั่วโมงที่ 1-2 ผูส้ อน : นางสาวอรอมุ า ทองรกั ษ์ เรอื่ ง การเปล่ยี นสถานะและการละลาย 1. สาระสาคัญ เม่ือสารเกิดการละลายหรอื เปลี่ยนแปลงสถานะ สารจะยงั คงแสดงสมบตั ิเดิมของสารไว้ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ทดลองและอธิบายสมบัติของสารเมอ่ื สารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะได้ 3. สาระการเรียนรู้ เมื่อสารเกิดการเปลย่ี นแปลงเปน็ สารละลายหรือเปลยี่ นสถานะ สารแตล่ ะชนดิ ยงั คงแสดงสมบตั ขิ อง สารเดิม 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี น เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงของสาร ขนั้ ที่ 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ 1. ครใู ห้นกั เรยี นท่องคาขวญั ประจาจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี (แนวคาตอบ เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไขแ่ ดง แหลง่ ธรรมะ) 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ เกี่ยวกับของทมี่ าของคาขวัญ และของดีประจาอาเภอไชยา (แนวคาตอบ ไขเ่ ค็มไชยา) 3. ครเู ลา่ เก่ียวกบั ประวตั คิ วามเปน็ มาของการทาไข่เคม็ ไชยาโดยย่อให้นักเรียนฟังพอสงั เขป (แนวคาตอบ พืน้ ที่อาเภอไชยามกี ารทานามากทีส่ ดุ ในจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ส่วนใหญ่ชาวไชยาท่มี อี าชีพ ทานาจะเลี้ยงเป็ดทุกบ้าน การเลี้ยงเป็ดส่วนใหญ่จะเล้ียงแบบปล่อยทุ่ง เป็ดมักจะหาอาหารกินตาม ธรรมชาติในทุ่งนา เช่น ปู ปลา หอย และชาวบ้านจะเสริมอาหารเป็ดดว้ ยข้าวเปลือก ด้วยเหตุผลนี้จงึ ทาให้คุณภาพของไข่เป็ดมีขนาดใหญ่ ไข่แดงสดไม่มีกลิ่นคาว และวิธีการทาไข่เค็มไชยาค่อนข้างจะมี ลักษณะพิเศษกวา่ ที่อื่น เนอ่ื งจากไข่มกี ารห่อหุ้มดว้ ยดนิ และเคลือบดว้ ยขเ้ี ถ้าแกลบ ดังนนั้ ไขเ่ ค็มไชยาจึง ไดร้ บั ความนิยมและหาซื้อเปน็ ของฝาก) 4. ครนู าไข่เป็ด แลว้ ถามนักเรียนเพ่ือทบทวนความรเู้ ดิมเก่ยี วกบั สถานะของสาร 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกับการวิธีการทาไข่เค็ม (แนวคาตอบ วธิ ที ่ี 1 การดองไข่เคม็ วิธีท่ี 2 การพอกดนิ จอมปลวกและแกลบ) 6. ครรู ว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกบั วิธกี ารทาไข่เคม็ วิธีท่ี 1 การดองไขเ่ คม็ ว่าประกอบด้วย นา้ กบั เกลือ แลว้ ตัง้ คาถามนักเรียนดังนี้ - เมื่อเกลือผสมกับน้า จะทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างไร และเป็นการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพหรือการเปลยี่ นแปลงทางเคมี -การเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ สารชนิดใดเป็นตวั ทาละลาย สารชนิดใดเป็นตวั ละลาย หนา้ 12

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เล้ียง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ขั้นที่ 2 ข้นั สารวจค้นหา 7. ครูแบ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กล่มุ ละ 5 คน คละกันตามความสามารถ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงของสาร จากหนังสอื เรียน 8. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทาการทดลอง เรื่อง การเปลย่ี นแปลงของสาร ตามขนั้ ตอนที่กาหนด ลงในใบงานท่ี 1 9. ครใู ช้คาถามเพื่อกระตุ้นการคดิ ของนกั เรยี น เชน่ คาถามเพือ่ กระตุ้นการคดิ เมือ่ เรานานา้ ไปตม้ จนเดอื ด เปน็ การเปล่ียนแปลงลักษณะใด สังเกตจากสง่ิ ใด (เป็นการเปล่ยี นสถานะ เพราะมีอุณหภมู มิ าเกีย่ วข้อง สังเกตจากการเปลยี่ นกลับไปเปน็ ของเหลว ตามเดิมได้) ชั่วโมงที่ 2 ข้นั ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ 10. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภปิ รายผลการทดลองทไ่ี ดจ้ ากการทดลอง ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และผลดั กันซักถามข้อสงสยั เพื่อให้สมาชกิ ทุกคนมีความรู้ ความเขา้ ใจที่ตรงกัน 11. ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอผลสรุปการทดลองหนา้ ชนั้ เรยี นแลว้ ให้เพอ่ื นกล่มุ อน่ื ช่วย เสนอแนะเพมิ่ เติมในส่วนทแี่ ตกต่าง 12. ครูใช้คาถามเพอ่ื กระต้นุ การคิดของนักเรยี น เช่น คาถามเพ่อื กระตนุ้ การคดิ สารละลาย A ประกอบด้วยสาร B 30 ลบ.ซม.และสาร C 3 ลบ.ซม. สารใดเป็นตวั ทาละลาย และสารใดเปน็ ตัวละลาย (สาร B เปน็ ตวั ทาละลาย สาร C เป็นตัวละลายเพราะตัวทาละลายจะมีปริมาณมากกว่าตัวละลาย) ขน้ั ท่ี 4 ขัน้ ขยายความเข้าใจ 13. ครูต้ังประเด็นคาถามถามนักเรียน ดังนี้ - การเปลี่ยนสถานะของสารขึ้นอยู่กับปัจจยั ใด - การเปลยี่ นสถานะทาให้สมบัติของสารเกดิ การเปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร 14. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ทาใบกิจกรรม เร่อื ง การเปลยี่ นสถานะและการละลายของสาร ข้ันท่ี 5 ขั้นประเมนิ ผล 15. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ผลดั กันออกมานาเสนอผลการเปล่ยี นสถานะและการละลายของสาร หน้าช้นั เรียน แล้วใหเ้ พ่ือนกลมุ่ อื่นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และเสนอแนะเพิม่ เตมิ ในสว่ นที่ แตกตา่ ง หน้า 13

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเลยี้ ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 16. ครูใช้คาถามเพอื่ กระตุน้ การคดิ ของนักเรียน เช่น คาถามเพ่อื กระตนุ้ การคดิ เม่อื นักเรียนตากเส้ือผา้ จะมกี ารเปลี่ยนแปลงของสารอยา่ งไร (เกดิ การเปล่ียนสถานะ เพราะน้าระเหยเป็นไอ) 5. วัสดุอุปกรณ์สื่อและแหลง่ เรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ไข่เป็ด 3. เกลอื 4. น้า 5. อปุ กรณ์การทดลอง เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงของสาร 6. ใบงานที่ 1 7. ใบกิจกรรม เรอื่ ง การเปลีย่ นสถานะและการละลายของสาร 8. หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ชนั้ ป.6 6. หลักฐานท่ีเป็นผลการเรยี นรู้ ภาระงาน / ชนิ้ งาน - ใบกิจกรรม เร่ือง การเปลี่ยนสถานะและการละลาย - ใบงานที่ 1 รายงานการทดลอง เรื่อง การเปลย่ี นแปลงของสาร 7. การวัดและประเมนิ ผล กจิ กรรมทีป่ ระเมนิ เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ - ใบกิจกรรม แบบบันทึกใบกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี ข้นึ ไป รายงานผลการทดลอง ใบงานที่ 1 การมีสว่ นร่วมในกิจกรรม แบบประเมินการรว่ มกจิ กรรม ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี ข้ึนไป กล่มุ / การนาเสนอผลงาน/ กลุ่ม/การนาเสนอผลงาน/ การสบื คน้ การสืบคน้ ผ่านเกณฑร์ ะดับ ดี ขนึ้ ไป การร่วมกจิ กรรมรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น รายบคุ คล หนา้ 14

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เลีย้ ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ชัว่ โมงท่ี 3 - 4 ผสู้ อน : นางสาวอรอมุ า ทองรกั ษ์ เร่ือง การเกดิ ปฎิกิรยิ าเคมี 1. สาระสาคญั การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมขี องสารนนั้ ทาให้เกิดสารใหม่ขน้ึ มา โดยมสี มบตั ิแตกตา่ งไปจากเดิม 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ทดลองและอธิบายสมบัติการเกิดปฎิกริ ิยาเคมขี องสารที่ทาให้เกิดสารใหมไ่ ด้ 3. สาระการเรยี นรู้ อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารทีท่ าใหเ้ กิดสารใหมไ่ ด้ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงท่ี 3 ข้ันท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสารแล้วต้ังประเด็นคาถาม ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบ - การทาไข่เค็ม วิธีที่ 1 การดอง มีวัตถุดิบอะไรบ้าง และเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หรือทางเคมี - สารที่เกิดจากการเปล่ยี นสถานะและการละลาย มีสมบตั เิ ปน็ อย่างไร 2. ครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการทาไข่เค็มวิธีที่ 2 การพอกดินจอมปลวกและข้ีเถ้าแกลบ วา่ ประกอบดว้ ย นา้ เกลอื ดินจอมปลวก และขี้เถา้ แกลบ ต้งั คาถามนกั เรียนดังนี้ - พน้ื ทอ่ี าเภอไชยา มีทรพั ยากรธรรมชาติใดท่เี หมาะสมทส่ี ดุ ในการทาไขเ่ ค็ม (แนวคาตอบ ดนิ จอมปลวก) 3. ครูถามนักเรียนว่าเหตุผลใดท่ีเลือกใช้ดินจอมปลวกในการทาไข่เค็ม และร่วมอภิปรายถึง คณุ สมบตั ิของดินปลวก (แนวคาตอบ เปน็ ดนิ เหนยี วร่วนมีสีเหลอื ง เนอ้ื ละเอยี ด ยดึ เกาะได้ดี ไม่มหี ญ้าเจือปน มีความเป็นกรด ดนิ จอมปลวกจึงมแี รธ่ าตุมากกว่าดนิ ปกติ น่ันกค็ ือแรธ่ าตกุ ามะถนั ) 4. ครูถามนกั เรียนวา่ เหตผุ ลใดทีเ่ ลือกใช้ขเ้ี ถา้ แกลบในการทาไขเ่ ค็ม และรว่ มอภปิ รายถงึ คณุ สมบัติ ของข้เี ถ้าแกลบ (แนวคาตอบ มีคณุ สมบัติปอ้ งกนั ความชน้ื ไม่ใหไ้ ข่ติดกนั ปอ้ งกันการกระแทก มซี ลิ ิกาเป็นองคป์ ระกอบ) 5. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายว่า การทาไข่เคม็ วิธที ี่ 2 การพอกดินจอมปลวกและข้เี ถา้ แกลบ จะทาให้ไข่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และเป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพหรือการเปล่ียนแปลง ทางเคมี (แนวคาตอบ ทาใหไ้ ข่เปด็ เปล่ียนรสชาติ เปน็ การเปลยี่ นแปลงทางเคมี นั่นคือ การเกิดสารใหม่) 6. ครูใช้คาถามเพอ่ื กระตุ้นการคดิ ของนกั เรียน เช่น คาถามเพอ่ื กระตุ้นการคิด การทอดไขเ่ คม็ เปน็ การเกิดปฏิกิรยิ าเคมีอย่างไร (เปน็ การเปล่ียนไข่ดิบให้เกดิ สารใหมค่ ือ ไขส่ ุก) หนา้ 15

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพี่เลีย้ ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ข้นั ท่ี 2 ขัน้ สารวจค้นหา 7. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน คละกันตามความสามารถ ครูกาหนดปัญหาให้แต่ละ กลุ่มศึกษาค้นคว้าความรู้เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เพ่ือหาคาตอบว่า เม่ือสารเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิด การเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร 8. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันต้งั สมมตฐิ านหลายๆ ขอ้ แล้วเลือกสมมติฐานที่อาจเปน็ ไปได้มาดาเนนิ การศกึ ษา และให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ทาการทดลอง เร่ือง ปฏิกริ ิยาเคมีของสาร ตามขั้นตอนทกี่ าหนด ตวั อย่างสมมติฐาน : ถ้าสารเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี จะทาใหเ้ กิดสารใหมข่ ้นึ มา และสารนัน้ จะมสี มบตั แิ ตกตา่ งไปจากเดมิ 9. ครูใชค้ าถามเพอื่ กระตุ้นการคิดของนักเรยี น เชน่ คาถามเพอื่ กระตนุ้ การคิด การทีพ่ อกไขเ่ ป็ดกับดนิ จอมปลวกผสมกับน้าเกลอื เปน็ การเปลี่ยนแปลงลักษณะใด อย่างไร (เปน็ การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ทาให้เกิดรสชาติเค็มซงึ่ เป็นสารใหม่) ชว่ั โมงท่ี 4 ขนั้ ที่ 3 ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ 10. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั อภปิ รายผลการทดลองทีไ่ ด้จากการทดลอง ตรวจสอบความ ถกู ต้อง และผลัดกันซกั ถามขอ้ สงสัย เพอ่ื ใหส้ มาชิกทกุ คนมีความร้คู วามเข้าใจที่ตรงกนั 11. ตัวแทนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลสรุปการทดลองหนา้ ช้ันเรยี นแลว้ ใหเ้ พอื่ นกลุ่มอื่นชว่ ย เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในส่วนที่แตกตา่ ง 12. ครใู ช้คาถามเพือ่ กระตนุ้ การคดิ ของนักเรยี น เชน่ คาถามเพอื่ กระต้นุ การคดิ ถ้านกั เรยี นนาแกลบไปเผา สารใหม่ที่ได้คอื อะไร (ข้ีเถา้ แกลบ) ขนั้ ที่ 4 ข้นั ขยายความเขา้ ใจ 13. ครใู ช้คาถามเพือ่ กระต้นุ การคิดของนกั เรียน เชน่ คาถามเพ่ือกระตนุ้ การคิด การเปล่ยี นแปลงทางเคมีกับการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพแตกตา่ งกันอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจของครูผ้สอน) ขัน้ ที่ 5 ข้นั ประเมินผล 14. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ผลดั กนั ออกมานาเสนอผลการศกึ ษาเร่อื ง การเกดิ ปฏริ ิยาเคมี หน้าชั้น เรียน แล้วใหเ้ พือ่ นกล่มุ อนื่ ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอแนะเพ่ิมเติมในส่วนท่แี ตกต่าง หน้า 16

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เลีย้ ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 5. วัสดอุ ุปกรณส์ ่ือและแหลง่ เรียนรู้ 5.1 ไข่เค็มไชยา 5.2 ใบงานท่ี 2 5.3 หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ชั้น ป.6 6. หลกั ฐานท่ีเป็นผลการเรียนรู้ ภาระงาน / ช้นิ งาน -ใบงานที่ 2 รายงานการทดลอง เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ิยาเคมขี องสาร 7. การวัดและประเมนิ ผล กจิ กรรมที่ประเมิน เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ขึน้ ไป รายงานผลการทดลอง ใบงานท่ี 2 ผ่านเกณฑ์ระดบั ดี ข้ึนไป การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม แบบประเมนิ การร่วมกจิ กรรม กลุ่ม/ การนาเสนอผลงาน/ กลุ่ม/การนาเสนอผลงาน/ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ขึน้ ไป การสืบคน้ การสบื ค้น การรว่ มกจิ กรรมรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น รายบุคคล ชั่วโมงที่ 5-6 ผ้สู อน : นางพัทธนันท์ ทองหวาน เรอื่ งการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ น็ต 1. สาระสาคญั การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต นักเรียนจะได้ข้อมูลที่หลากหลายประเภท ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับชนิดและ ข้อมลู ทน่ี ักเรียนตอ้ งการสืบค้น 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถสบื คน้ ข้อมูลตามทตี่ ้องการจากเวบ็ ไซตไ์ ด้ 2. นกั เรยี นส่งงานครบและทนั ตามท่กี าหนด 3. สาระการเรยี นรู้ การค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ http://www.google.co.th/ เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีต้องการโดย การคน้ หาช่อื เวบ็ คน้ หาข้อมลู ค้นหารูปภาพ และอน่ื ๆ ที่เก่ียวข้องกับส่ิงแวดลอ้ ม 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ที่ 1 ข้ันนา 1. ครตู งั้ คาถาม ใหผ้ ู้เรยี นชว่ ยกันระดมความคดิ วา่ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ี่ใหญ่ท่สี ุดในโลก นา่ จะเปน็ เครอื ข่ายอะไร เพือ่ นาเขา้ สเู่ ครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต 2. ครูซักถามและให้ผู้เรยี นผลัดกันยกตัวอยา่ งการทางานบนอนิ เทอรเ์ นต็ วา่ มอี ะไรบา้ ง หน้า 17

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลี้ยง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 3. ครแู จ้งให้ผู้เรยี นทราบถึงจุดประสงค์และกิจกรรมการเรียนรู้ ซงึ่ ในวันนจ้ี ะให้ทากจิ กรรมเป็น กล่มุ เป็นการเรยี นรู้และฝกึ ทกั ษะปฏบิ ัติเรื่อง การสืบคน้ ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ 4. นาเขา้ สู่การใชอ้ ินเทอร์เนต็ ด้วยการถามประสบการณ์จากนักเรยี นโดยตง้ั คาถาม ใหผ้ ูเ้ รียน ทดลองคน้ หาคาตอบ เชน่ ให้ค้นหาวัดในจังหวัดอยุธยา แล้วใหผ้ ทู้ ่ีคน้ พบได้รวดเร็วทสี่ ดุ อธบิ ายวิธีการ คน้ หาให้เพ่อื นฟงั ขน้ั ที่ 2 ขัน้ สอน 5. ครเู ปดิ โปรแกรม Google Chrome ใหน้ ักเรียนดู ดงั ภาพ แลว้ จงึ อธิบายกบั นกั เรียนว่า จดุ ที่มีลูกศรช้ี นกั เรียนสามารถสืบคน้ ข้อมูลไดเ้ พยี งแคพ่ มิ พต์ ัวอักษรหรอื ข้อความ ตอ้ งการคน้ หาลงไป ซง่ึ ในวันนี้ ครจู ะใหน้ กั เรียนทดลองหา คาสาคญั คาว่า “วัดอยธุ ยา” เมือ่ พิมพค์ าวา่ วัดอยุธยา เสรจ็ แล้วใหก้ ด Enter 1 ครง้ั ซงึ่ จะได้ภาพปรากฏตามรปู ดังนี้ หนา้ 18

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพ่ีเลย้ี ง เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา จะมีขอ้ มลู ที่ นิยมใชบ้ อ่ ยปรากฏตามภาพ และนกั เรียนสามารถแยกประเภทของข้อมลู ได้ตาม ปุม่ ที่ลูกศรช้ี เช่น อยากไดข้ ้อมูลท่ีเปน็ เฉพาะรปู ภาพ ใหค้ ลิก 1 ครั้งท่ี คาว่าคน้ รูป ดังตัวอยา่ ง 6. ครูแจกใบงานที่ 3 เร่อื ง การสบื คน้ ข้อมลู ทางอินเทอร์เนต็ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ปฎิบตั ิตาม ขั้นตอนทค่ี รสู าธิต ขัน้ ท่ี 3 ขน้ั สรปุ 6. ครูใหน้ กั เรยี นนาผลการสบื ค้นข้อมลู เกี่ยวกบั ไข่เคม็ ไชยาสูตรดัง้ เดิม มาเขียนลงในกระดาษบรฟู๊ เพอื่ นาเสนอ 7. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลสืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับไขเ่ คม็ ไชยาสตู รดั้งเดิม 8. ครูสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นซักถามขอ้ สงสยั และให้ข้อเสนอแนะ เพิ่มเติม ขน้ั ท่ี 4 ขนั้ ประเมินผล 9. ครตู รวจใบงานที่ 3 และการนาเสนอผลสืบคน้ ข้อมูลเก่ยี วกับไข่เคม็ ไชยาสตู รด้งั เดิมของ นักเรียนแต่ละกลมุ่ 5. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 5.1 คอมพิวเตอร์/แท็บเล็ต 5.2 ใบงานท่ี 3 เร่อื ง การสบื คน้ ขอ้ มลู ทางอินเทอรเ์ น็ต หน้า 19

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลยี้ ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 5.3 กระดาษบรู๊ฟ 5.4 ปากกาเคมี/ สี 6. การวัดผลประเมนิ ผล 6.1 วธิ กี ารวดั - สงั เกตการฟงั และการตอบคาถาม - ตรวจงาน เรอื่ งการสบื ค้นขอ้ มลู ในลักษณะที่กาหนดให้ 6.2 เคร่อื งการวัดผลประเมนิ ผล - เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล 6.3 เกณฑก์ ารวดั ผลประเมินผล - นกั เรียนสามารถค้นหา วิธีทาไขเ่ ค็มไชยา ไดอ้ ย่างถกู ต้อง และมเี นอื้ หาไม่ตา่ กวา่ 5 บรรทัด จงึ จะผ่านเกณฑ์ - นกั เรียนนาเสนอวธิ ที าไขเ่ คม็ ไชยาได้ถูกต้อง ครบถว้ น จงึ จะผา่ นเกณฑ์ ชัว่ โมงที่ 7 ผูส้ อน : นางสาวอรอมุ า ทองรักษ์ เรอ่ื ง ผลทเ่ี กิดจากการเปล่ียนแปลงของสาร 1. สาระสาคญั สารเม่ือเกดิ การเปลย่ี นแปลง จะกอ่ ให้เกิดผลต่อสิ่งมชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงของสารทมี่ ผี ลต่อสิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดล้อมได้ 3. สาระการเรียนรู้ การเปล่ียนแปลงของสาร ทง้ั การละลาย การเปล่ียนสถานะและการเกดิ สารใหม่ต่างกม็ ผี ลตอ่ สิ่งมีชวี ิต และส่ิงแวดลอ้ ม 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ 1 . ค รู แ ล ะ นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ท บ ท ว น ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สื บ ค้ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ท า ไ ข่ เ ค็ ม ไ ช ย า ในหวั ข้อ วสั ดดุ ิบ ขน้ั ตอนการทาไขเ่ คม็ ไชยาสตู รด้ังเดมิ (แนวคาตอบ ไข่เป็ด น้า เกลือ ดินจอมปลวก และข้ีเถ้าแกลบ ข้ันตอนการทา ให้นาไข่เป็ดล้างน้าให้สะอาด จากน้ันเตรียมดินให้พร้อม โดยการนาดินจอมปลวกมาผสมคลุกเคล้ากับเกลือและน้าต้มสุกเล็กน้อยจนเขา้ กนั แล้วนาไข่เป็ดลงไปจุ่มในดินท่ีเตรียมไว้ โดยให้คลุกจนดินเคลือบทั่วฟองไข่และมคี วามหนามากพอ นาไปคลุก กับขเี้ ถ้าแกลบอีกครั้ง) 2. ครูกาหนดเง่ือนไข ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทาไข่เค็มสมุนไพรไชยา โดยใช้ข้ันตอน การทาแบบฉบับอาเภอไชยา ให้มีรสชาติอร่อย โดยจะต้องนาไข่เค็มไชยาจานวน 4 ฟอง มาส่งโดย ต้องใช้ต้นทุนในการผลติ 100 บาท หน้า 20

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเล้ยี ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา 3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน คละกันตามความสามารถ โดยแต่ละกลุ่ม วางแผนการทางานก่อนลงมือทา จากน้ันจึงทาตามข้ันตอนการทาไข่เค็มไชยา โดยใช้วัสดุ อุปกรณ์ตามที่ได้ ออกแบบภายในเวลาทีก่ าหนด ทง้ั นี้ นักเรียนทุกกลมุ่ ตอ้ งเก็บอุปกรณเ์ หลอื ใช้เพ่ือนาไปประเมินความค้มุ คา่ ของ วัสดทุ ่ใี ช้ไป 4. ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มประเมินต้นทุนที่ใช้ เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับใช้ประเมินผลงาน ตามเกณฑท์ กี่ าหนดไว้ ข้นั ท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป 5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกยี่ วกบั การนาไข่เคม็ ไชยามาทอดเปน็ ไข่ดาวเปน็ กระบวนการ เปล่ยี นแปลงทางเคมีอย่างไร (แนวคาตอบ เกดิ จากการนาไข่เคม็ ไชยากบั นา้ มันมาทาปฏิกิรยิ าเคมโี ดยอาศยั ความรอ้ นทาใหไ้ ขเ่ ค็มกลายเป็น ไขด่ าวสกุ และไม่สามารถกลับไปมีสมบัตเิ หมอื นเดมิ ไดอ้ กี ) ข้นั ท่ี 4 ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ 6. ครูตั้งคาถาม “นักเรียนคิดว่าการทาไข่เค็มไชยาเป็นการเปล่ียนแปลงของสารที่มีประโยชน์ และโทษที่ส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร” (แนวคาตอบ ประโยชน์ ทาได้ผลติ ภณั ฑท์ มี่ ีความแปลกใหม่ ดา้ นรสชาติ สสี นั สามารถนาทรพั ยากรธรรมชาติท่ี มอี ย่ใู นทอ้ งถ่ินไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ โทษ ถา้ หากรสชาตมิ คี วามเคม็ มากเกนิ ไปอาจทาใหร้ ่างกายได้รบั ปริมาณ โซเดียมสูง ส่งผลให้ไตทางานหนกั ได้) 7. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าความรู้เร่ือง ผลท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสาร จากหนังสือเรียน ในประเดน็ การเปลี่ยนแปลงของสารในแบบท่ีเปน็ ผลดีและผลเสีย แลว้ บนั ทกึ ความรู้ที่ได้ลง ในใบงานที่ 4 ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ ผล 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาเร่ือง ผลท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงของสาร เพือ่ ให้กลุ่มอ่นื ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ในสว่ นทแี่ ตกต่าง 5. วสั ดุอุปกรณส์ ่อื และแหลง่ เรยี นรู้ 5.1 ไข่เค็มไชยา 5.2 ใบงานท่ี 4 เรื่อง ผลทเ่ี กิดจากการเปลย่ี นแปลงของสาร 5.3 แบบประเมนิ ตน้ ทนุ ท่ีใช้ในการผลิตไข่เคม็ ไชยา 5.4 หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ชน้ั ป.6 6. ภาระงาน / ชิ้นงาน 6.1 ไขเ่ ค็มไชยา 4 ฟอง 6.2 ใบงานที่ 4 เร่อื ง ผลที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงของสาร 6.3 ประเมินต้นทนุ ทใี่ ช้ในการผลิตไข่เค็มไชยา หน้า 21

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เลย้ี ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 7. การวดั และประเมินผล กจิ กรรมทีป่ ระเมิน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ข้นึ ไป การบนั ทึกความรู้ ใบงานท่ี 4 ผา่ นเกณฑ์ระดับ ดี ข้ึนไป การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม แบบประเมนิ การรว่ มกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ระดบั ดี ขนึ้ ไป กลมุ่ /การนาเสนอผลงาน/ กลุ่ม/ การนาเสนอผลงาน/ การสืบค้น การสบื คน้ การร่วมกจิ กรรมรายบุคคล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน รายบุคคล ชัว่ โมงท่ี 8 - 9 ผสู้ อน : นางสาวสุธริ า ล่าสวย เรื่อง รูปคล่ขี องรูปเรขาคณิตสามมิติ 1. สาระสาคญั รปู เรขาคณิตสามมิติ เม่อื คลี่ออกจะไดร้ ปู ทป่ี ระกอบด้วยรปู เรขาคณติ สองมติ ิท่สี ามารถประกอบ เป็นรปู เรขาคณิตสามมติ ิได้ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายเกี่ยวกบั รปู คล่ีของรปู เรขาคณิตสามมติ ิ 2. ประดษิ ฐ์ทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซมึ และพีระมิด จากรปู คล่ีหรอื รูปเรขาคณิตสองมิตทิ ่กี าหนดให้ 3. เหน็ คุณค่าของการนาความรเู้ รอ่ื ง รูปคลข่ี องรปู เรขาคณิตสามมิตไิ ปใช้ 3. สาระการเรยี นรู้ - รปู คลี่ของรปู เรขาคณติ สามมิติ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงที่ 8 ขั้นท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. ครทู บทวนความร้เู กีย่ วกับชนิดของรูปเรขาคณิตสองมติ แิ ละชนดิ ของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี นกั เรียนเคยเรยี นผ่านมาแลว้ ว่า รูจ้ ักรูปเรขาคณิตชนิดใดบ้าง โดยให้นกั เรยี นบอกชนดิ ของรปู เรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมติ ิ (แนวคาตอบ รูปเรขาคณิตสองมิติ ได้แก่ รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลมวงกลม รูปเรขาคณิตสามมิติ ไดแ้ ก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม) 2. โดยครูตดิ รปู คลี่บนกระดานแลว้ ใหน้ ักเรียน ช่วยกันบอกวา่ เป็นรูปเรขาคณติ สามมิติชนิดใด เช่น ครถู ามคาถามกระตุน้ ความคิดของนกั เรยี น ดงั นี้ - มีรปู สเี่ หลี่ยมผืนผ้ากรี่ ูป (1 รูป) - มรี ปู วงกลมกี่รูป (2 รูป) หน้า 22

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเล้ียง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา - รปู คลน่ี ี้เปน็ รปู คลีข่ องรูปเรขาคณิตสามมิติใด (ทรงกระบอก) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องดาเนินกจิ กรรมนี้อกี 2-3 ครง้ั เพอื่ ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะ และความคิดรวบยอดเกย่ี วกบั รูปคลี่ ขน้ั ท่ี 2 สารวจคน้ หา 3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แจกใบงานที่ 5 เรื่อง รูปคล่ีของรูปเรขาคณิต ใหก้ ลุ่มละแผน่ จากน้นั ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 5 4. ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนกลุ่มอ่ืนๆ ร่วมกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ชว่ั โมงท่ี 9 ขนั้ ที่ 3 อธิบายและลงข้อสรปุ 5. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ดังน้ี รูปเรขาคณิตสามมิติ เม่ือคล่ีออกจะได้รูปท่ี ประกอบด้วยรูปเรขาคณติ สองมติ ิที่สามารถประกอบเป็นรปู เรขาคณติ สามมิตไิ ด้ ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ 6. ครตู ้ังคาถามวา่ “รปู คลขี่ องรปู เรขาคณิตสามมติ ิแต่ละชนิดมีลกั ษณะอยา่ งไร” (แนวคาตอบ ปริซึมสามเหล่ียม ประกอบด้วยรูปเรขาคณิต 2 มิติคือ รูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก 3 รูป และรูปสามเหล่ียม 2 รูป พีระมิดฐานห้าเหล่ียม ประกอบด้วยรูปเรขาคณิต 2 มิติคือ รูปสามเหล่ียม 5 รูป และรปู หา้ เหลย่ี ม 1 รปู ) 7. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าความรู้เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติ ในหนังสือเรียนแล้วบันทึก ความรูท้ ไ่ี ด้ลงในใบงานที่ 6 ขนั้ ที่ 5 ข้นั ประเมนิ ผล 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาเรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ เพ่ือให้กลุ่มอ่ืน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และเสนอแนะเพ่ิมเติมในสว่ นทแี่ ตกตา่ ง 5. วัสดอุ ปุ กรณส์ ือ่ และแหลง่ เรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 5 เรอื่ ง รูปคล่ขี องรปู เรขาคณติ สามมิติ 2. ใบงานที่ 6 เรอ่ื ง รปู เรขาคณติ สามมิติ 3. หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ชน้ั ป.6 6. หลกั ฐานทีเ่ ป็นผลการเรียนรู้ ภาระงาน / ชน้ิ งาน -ใบงานท่ี 5 เร่อื ง รูปคล่ีของรูปเรขาคณติ สามมติ ิ - ใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง รปู เรขาคณิตสามมิติ หน้า 23

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเลีย้ ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 7. การวดั และประเมนิ ผล กิจกรรมท่ปี ระเมนิ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ การบันทกึ ความรู้ ผ่านเกณฑร์ ะดับ ดี ขน้ึ ไป ใบงานที่ 5 ผา่ นเกณฑ์ระดับ ดี ขน้ึ ไป การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม ใบงานที่ 6 กลุ่ม/ การนาเสนอผลงาน/ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ขึ้นไป การสืบคน้ แบบประเมนิ การร่วมกจิ กรรม การร่วมกิจกรรมรายบุคคล กล่มุ / การนาเสนอผลงาน/ การสบื คน้ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น รายบคุ คล ชว่ั โมงที่ 10 - 12 ผ้สู อน : นางสาวสธุ ิรา ล่าสวย เรอ่ื ง การประดษิ ฐ์รปู เรขาคณิตสามมิติจากรูปคลี่ 1. สาระสาคัญ ส่วนประกอบของรปู เรขาคณติ สามมิติ ไดแ้ ก่ ทรงสเ่ี หล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พีระมิด 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธิบายเกี่ยวกบั รูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2.2 ประดิษฐ์ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซมึ และพีระมดิ จากรูปคล่ีหรอื รปู เรขาคณิตสองมิติท่ีกาหนดให้ 2.3 เห็นคณุ ค่าของการนาความรู้เร่อื ง รูปคลข่ี องรปู เรขาคณติ สามมิตไิ ปใช้ 3. สาระการเรียนรู้ รปู เรขาคณิตสามมิติ 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ช่ัวโมงที่ 10 - 11 ขน้ั ที่ 1 ขนั้ สร้างความสนใจ 1. สนทนากับนกั เรียนทบทวนความรูใ้ นเรอื่ งของรปู เรขาคณติ สามมิติ (แนวคาตอบ ทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปรซิ ึม พีระมิด) 2. ครูนารูปทรงเรขาคณิตสามมติ ิแต่ละชนิดมาใหน้ กั เรยี นดแู ล้วตั้งคาถามถามนักเรยี นวา่ แต่ละรปู เป็นรูปทรงเรขาคณิตสามมิติอะไรบา้ ง (แนวคาตอบ ทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พรี ะมิด) ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา 3. ครูกาหนดสถานการณ์ให้กับนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มคิดทากล่องบรรจุภัณฑ์ ไขเ่ คม็ ให้มีรูปแบบ สสี ันนา่ สนใจและดึงดูดความสนใจแกล่ ูกค้า โดยมีเงื่อนไขว่า นกั เรยี นจะต้องเลือกกระดาษ ท่จี ะนามาทาและวาดแบบรูปคล่ีเพียงช้นิ เดียวบนกระดาษกอ่ นตดั พับเปน็ กล่องบรรจุภณั ฑ์ ซึง่ รูปคล่ีที่วาดนั้น จะต้องประกอบไปด้วยรูปเรขาคณิตแบบต่างๆ ไม่จากัดจานวนรูปแต่ให้เชื่อมโยงเป็นรูปเดียวกัน และกล่อง บรรจุภัณฑ์สามารถบรรจุไข่เค็มได้จานวน 4 ฟอง โดยมีอุปกรณ์มาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคือ กระดาษ หนา้ 24

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเลีย้ ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โปสเตอร์สี ,กระดาษโปสเตอร์แข็ง, กระดาษหอ่ ปก , กระดาษหนงั สอื พมิ พ์, กระดาษนิตยสาร, เชือกหรือรบิ บ้ิน ทาโบว์, กรรไกร, แผ่นรองตดั , กาวลาเทก็ , มดี คดั เตอร,์ ดนิ สอ, ยางลบ, ไมบ้ รรทัด และ สีไม้ 4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้นักเรียนศึกษาค้นหาข้อมูลในการนาอุปกรณ์ ที่ให้มาประดิษฐ์เป็นกล่องบรรจุภัณฑ์ตามสถานการณ์ที่กาหนด นาข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นซึ่งมี หลากหลายแนวทางมาร่วมกันปรึกษาหารือกับสมาชิกในกลุ่ม เพ่ือเลือกวิธีที่เหมาะสมในการออกแบบ โดย รปู แบบทีเ่ ลือกนนั้ ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากสมาชิกทกุ คนในกล่มุ 5. ครูแจกใบงานที่ 7 ข้ันตอนการทากล่องบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มและใบงานท่ี 8 การออกแบบ ช้ินงาน ให้นกั เรยี นช่วยกันทาใบงาน ออกแบบกล่องบรรจุภัณฑไ์ ข่เค็ม โดยลงมือออกแบบชิน้ งานเป็นรูปคล่ี 2 มิติ ของ กล่องบรรจภุ ณั ฑไ์ ข่เคม็ ที่ประกอบมาจากรปู เรขาคณิต 2 มติ ิ และภาพรา่ ง 3 มิตขิ องกลอ่ งบรรจุภัณฑ์ ไข่เคม็ ทปี่ ระกอบสาเรจ็ แล้วด้วยรูปทบี่ อกขนาดชัดเจนลงในกระดาษ 6. จากนั้นจึงเร่ิมลงมือสร้างช้ินงานจากอุปกรณ์ท่ีมีภายในเวลาที่กาหนด นาช้ินงานท่ีสร้าง เสร็จไปทดลองใส่ไข่เค็ม เพ่ือทดสอบคุณภาพ ของช้ินงานว่าสามารถใช้การได้ดีหรือไม่ มีความสมดุลหรือไม่ และจดุ บกพร่องใดต้องแกไ้ ข 7. เมื่อพบข้อบกพร่องของช้ินงานแล้วให้นามาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาชิ้นงาน โดยอาจทา การปรับเปลยี่ นแบบ หรือปรบั เปล่ยี นวสั ดุ หรือปรบั สดั สว่ นต่างๆ ให้เหมาะสมย่งิ ขนึ้ จากนัน้ ใหท้ ดสอบอีกคร้ัง โดยในครั้งนี้แต่ละกลุ่มจะต้องเลือกกล่องบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มท่ีประดิษฐ์ข้ึนโดยที่สมาชิกในกลุ่มพอใจที่สุดเพียง ชนดิ เดียวเพือ่ นามาประเมินผลรว่ มกันกลมุ่ อ่ืนๆ ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ 8. ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ร่วมกัน ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง วา่ การจะสรา้ งกล่องบรรจภุ ัณฑไ์ ขเ่ คม็ จากกระดาษนั้นจะต้องมกี ารออกแบบให้เป็นไป ตามเงื่อนไขท่ีกาหนด มีการใช้รูปเรขาคณิตสองมิติมาประกอบกันเพื่อให้ได้รูปแบบที่แปลกใหม่ สวยงาม และ ใช้งานได้จรงิ ตอ้ งเลือกกระดาษทมี่ ีความหนาและแข็งแรงพอที่จะรับนา้ หนักของส่ิงของทบี่ รรจุลงไปในกลอ่ งได้ รวมถึงต้องเลือกสีสันของกระดาษให้สวยงาม อีกส่ิงท่ีสาคัญในการทากล่องของขวญั คือ นักเรียนจะต้องไมล่ ืม การเผอื่ พืน้ ทขี่ องกระดาษไว้สาหรบั ติดกาวหรือสาหรบั ผกู เชือกซึ่งนักเรยี นมกั จะมองข้าม ขนั้ ที่ 4 ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ 9. ครูตั้งคาถาม และนักเรียนช่วยกันสรุปว่าจากการทากล่องบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มนักเรียนได้ ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง (แนวการตอบ วิทยาศาสตร์คือการเลือก วัสดุตามสมบัติท่ีเหมาะสมกับการใช้งาน คณิตศาสตร์เก่ียวกับรูปเรขาคณิตแบบต่างๆ รวมถึงการวัดสัดส่วนต่างๆ อย่างเหมาะสม เทคโนโลยีเก่ียวกับ การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และการออกแบบทางวิศวกรรม ที่นักเรียนได้ออกแบบและดาเนินการตาม ขัน้ ตอน) หน้า 25

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นร้ตู ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพี่เลี้ยง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ชวั่ โมงที่ 12 ขน้ั ที่ 5 ขนั้ ประเมนิ ผล 10. แต่ละกลุ่มนาช้ินงานกล่องบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มจากกระดาษรูปเรขาคณิตท่ีประดิษฐ์ขึ้นมา ทดสอบคุณภาพทีละ กลุ่มโดยแต่ละกลมุ่ นากล่องบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มที่ผลิต มาใส่ไข่เค็มสมุนไพรจานวน 4 ฟอง ต า ม ท่ี ก า ห น ด ไ ว้ ว า ง บ น โ ต๊ ะ พ้ื น เ รี ย บ เ พ่ื อ ดู ค ว า ม ส ม ดุ ล ท ด ล อ ง ถื อ ห รื อ ห้ิ ว เ พื่ อ ท ด ส อ บ ความแข็งแรง นอกจากนั้นจะมกี ารประเมนิ ความสวยงามของกล่องของขวัญ รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ โดย จะมกี ารแตง่ ต้งั กรรมการกลางที่เป็นตวั แทนจากทุกกล่มุ ในการใหค้ ะแนน จากนนั้ สรปุ ผลการประเมนิ กลมุ่ ท่ีได้ คะแนนรวมสงู สุดจะเป็นผชู้ นะ 11. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการเปลยี่ นแปลงของสาร 5. วัสดุอปุ กรณส์ อ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 5.1 กระดาษโปสเตอรส์ ี ,กระดาษโปสเตอรแ์ ข็ง , กระดาษห่อปก , กระดาษหนังสอื พิมพ์ , กระดาษนติ ยสาร , เชือกหรือริบบน้ิ ทาโบว์, กรรไกร , แผ่นรองตัด , กาวลาเทก็ , มีดคัดเตอร์, ดนิ สอ , ยางลบ , ไมบ้ รรทัด และ สไี ม้ 5.2 ใบงานที่ 7 ข้นั ตอนการทากลอ่ งบรรจุภณั ฑไ์ ข่เคม็ 5.3 ใบงานท่ี 8 เรอื่ ง การออกแบบชน้ิ งาน 5.4 กลอ่ งไข่เค็มไชยาท่ขี ายตามทอ้ งตลาด 5.5 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 5.6 แบบทดสอบหลงั เรยี น 6. หลกั ฐานท่เี ป็นผลการเรยี นรู้ ภาระงาน / ช้ินงาน - ใบงานท่ี 7 ขน้ั ตอนการทากลอ่ งบรรจุภณั ฑ์ไขเ่ คม็ - ใบงานท่ี 8 เร่ือง การออกแบบชน้ิ งาน - แบบประเมินความพงึ พอใจ - กลอ่ งบรรจภุ ณั ฑ์ไขเ่ คม็ สมนุ ไพรไชยา - ทดสอบหลงั เรยี น 7. การวดั และประเมินผล กจิ กรรมทป่ี ระเมิน เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ดี ขนึ้ ไป การรายงานผลการทาใบงาน ใบงานที่ 7 ผ่านเกณฑร์ ะดบั ดี ขน้ึ ไป ใบงานท่ี 8 ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ระดบั ดี ขน้ึ ไป การมสี ่วนรว่ มในกิจกรรม แบบประเมินการรว่ มกิจกรรม กลุ่ม/ การนาเสนอผลงาน/ กลุม่ / การนาเสนอผลงาน/ การสบื คน้ การสืบคน้ การร่วมกจิ กรรมรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน รายบคุ คล แบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ หน้า 26

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลี้ยง เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เอกสารเสรมิ ความรูท้ ี่ 3 ตัวอยา่ ง หน่วยการเรียนรู้บูรณาการสะเต็มศึกษา : โดยใชก้ ระบวนการวงจรวศิ วกรรม หนว่ ยการเรียนรู้บูรณาการสะเตม็ ศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาท่ี 6 หนว่ ยการเรยี นรเู้ รือ่ ง ไฟฟ้าน่ารู้ ภาคเรียนท่ี 2 หนว่ ยย่อยที่ 1 เร่ือง วงจรไฟฟา้ เวลา 8 ช่วั โมง กาหนดเปา้ หมายการเรียนรู้ 1. สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างพลงั งานกบั การดารงชวี ติ การเปลย่ี นรปู พลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลังงานต่อชวี ิตและสิง่ แวดล้อม มกี ระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งที่เรยี นรู้ และนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ัด ว 5.1 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายการต่อวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ว 5.1 ป.6/3 ทดลองและอธบิ ายการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนนิ การ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลท่ีเกิดขนึ้ จากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ ระหว่างการดาเนนิ การตา่ งๆ และใชก้ ารดาเนนิ การในการแกป้ ัญหา ตัวชว้ี ัด ค 1.2 ป.6/1 บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว่ น จานวน คละและทศนิยมพรอ้ ม ท้ังตระหนกั ถงึ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ สาระท่ี 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทตี่ ้องการวดั ตัวช้ีวัด ค 2.1 ป.6/2 หาพืน้ ทขี่ องรูปสี่เหลยี่ ม ค 2.1 ป.6/3 หาความยาวรอบรูปและพ้นื ท่ีของรปู วงกลม หน้า 27

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพี่เลย้ี ง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา การงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่า และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ขอ้ มลู การเรียนรู้ การส่อื สาร การแกป้ ัญหา การทางาน และอาชีพ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ล มี คณุ ธรรม ตัวชวี้ ดั ป.6/2 ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการค้นหาขอ้ มูล สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ งสงิ่ ของ เครอ่ื งใช้ หรอื วิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีในทาง สรา้ งสรรคต์ อ่ ชวี ิต สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม และมีส่วนร่วม ในการจดั การเทคโนโลยีทยี่ ัง่ ยืน ตวั ชวี้ ัด ง 2.1 ป.6/2 สร้างสิง่ เคร่อื งใช้ตามความสนใจ อย่างปลอดภยั โดยกาหนดปญั หา ความต้องการรวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการออกแบบโดยถา่ ยทอดความคดิ เป็นภาพร่าง 3 มติ ิหรอื แผนท่ี ความคดิ ลงมอื สรา้ ง และประเมนิ ผล ง 2.1 ป.6/3 นาความรู้และทกั ษะการสรา้ งชนิ้ งานไปประยกุ ตใ์ ช้ในการ สรา้ ง ส่ิงของเครือ่ งใช้ 2. การบูรณาการสะเต็ม วิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) วิศวกรรม (T) คณิตศาสตร์ (M) -วงจรไฟฟ้า -การใช้คอมพิวเตอร์ใน -การออกแบบรถไฟฟา้ - การคานวณตน้ ทุน -การต่อเซลไฟฟ้า การสบื ค้นข้อมลู ของเลน่ การสร้างรถของเลน่ -การเลอื กใชว้ สั ดุในการ ไฟฟ้า สรา้ งรถไฟฟา้ -น้าหนกั รวมของ รถไฟฟา้ -ขนาดรปู ทรงของ รถไฟฟ้า 2. สาระสาคัญ แบตเตอรเ่ี ปน็ เซลล์ไฟฟา้ ทต่ี ่อกันเพ่ือเปน็ แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ ใหก้ ับอุปกรณ์ไฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้ การ ตอ่ เซลล์ ไฟฟ้ามากกว่า 1 เซลลแ์ บบอนกุ รมจะทาให้มีพลงั งานไฟฟา้ มากขึ้น การออกแบบรถของเลน่ ไฟฟา้ ให้ เคลื่อนที่ได้ ตอ้ งคานึงถึงปัจจัยตา่ งๆ เชน่ นา้ หนกั รวมของรถ ขนาดรปู ทรงของรถ รวมท้งั การหาต้นทนุ คา่ ใช้จา่ ยในการสร้าง และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสืบคน้ และนาเสนอขอ้ มูล หนา้ 28

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเลีย้ ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 3. สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ 1. วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยเปน็ เสน้ ทางที่กระแส ไฟฟา้ ผ่านได้ครบรอบ ประกอบดว้ ยแหล่ง กาเนิดไฟฟา้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าและสายไฟ 2. วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายมสี ายไฟเป็นเส้นทางให้ กระแสไฟฟ้าผ่านจากขัว้ บวกผ่านอปุ กรณ์ ไฟฟ้ากลับเขา้ สูข่ ้วั ลบของแหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า ได้เรียกว่าวงจรปิด (Close circuit) และ ทาให้หลอดไฟสว่าง หรืออุปกรณ์ไฟฟา้ อื่น ๆ ทางานไดแ้ ตห่ ากสว่ นใดส่วนหนึ่งของวงจร ไฟฟ้าขาดไปทาใหก้ ระแสไฟฟา้ ผ่านไม่ครบ วงจร เราเรียกว่าวงจรเปดิ (Open circuit) ซง่ึ หลอดไฟจะไม่สวา่ งหรอื อุปกรณ์ไฟฟ้า อืน่ ๆ ไม่ทางาน 3. การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ามากกวา่ 1 เซลลแ์ บบ อนกุ รม ซึ่งเป็นการตอ่ ใหข้ ้วั บวกของเซลล์ ไฟฟ้า อนั หน่งึ ต่อกับข้วั ลบของเซลลไ์ ฟฟา้ อีก อันหนง่ึ เรยี งกันไปเพ่อื ใหม้ ีพลงั งานไฟฟา้ มากข้ึน คณติ ศาสตร์ 1. การคานวณตน้ ทนุ การสรา้ งรถของเล่นไฟฟา้ เทคโนโลยี 1. การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการค้นหาข้อมูลทักษะการสร้างชนิ้ งาน เช่น ทักษะการ ตดั การประกอบ ชิ้นงานแต่ละสว่ นเขา้ ด้วยกัน การเจาะ 2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการคน้ หาข้อมูลการเลอื กใชว้ สั ดแุ ละส่งิ ของ ตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมกับการสร้าง ชน้ิ งาน ซง่ึ ต้องพจิ ารณาจากสมบตั ิของวสั ดนุ ั้น 3. การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการคน้ หาข้อมลู ในการสรา้ งชนิ้ งาน และทดสอบระบบ เชน่ กลไก และการ ควบคมุ ไฟฟา้ -อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิศวกรรม -การออกแบบรถไฟฟ้า 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ -นักเรียนมคี วามรแู้ ละสามารถอธิบายการตอ่ วงจรไฟฟา้ และการต่อเซลล์ไฟฟ้า -นกั เรยี นมคี วามรู้และสามารถอธบิ ายปัจจยั ทที่ าให้รถของเลน่ เคล่อื นที่ได้เรว็ ที่สุด -นักเรียนมคี วามรู้และสามารถคานวณต้นทนุ น้าหนักรวมของการสร้างรถของเล่นไฟฟา้ ด้านทักษะกระบวนการ -นกั เรยี นสามารถสบื ค้นขอ้ มูล ออกแบบ สร้าง ตรวจสอบ และทดลองรถของเล่นไฟฟา้ เคล่อื นทไ่ี ดเ้ ร็วที่สดุ โดยใชต้ น้ ทุนตา่ ด้านคณุ ลกั ษณะ - นกั เรยี นมคี วามมุ่งมน่ั มวี ินยั ใฝร่ ู้ และรับผดิ ชอบในการเรียนเรอ่ื ง วงจรไฟฟ้า หน้า 29

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเลย้ี ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มีวนิ ยั 3. มีความรบั ผิดชอบ 4. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. กาหนดการวัดและประเมิน 7.1 หลักฐานท่เี ปน็ ผลการเรยี นร(ู้ ชนิ้ งาน/ภารงาน) เปา้ หมายการเรียนรู้ หลกั ฐานท่เี ปน็ ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั ภารงาน/ช้ินงานรวบยอด แบตเตอร่เี ปน็ เซลล์ไฟฟ้าท่ีต่อกนั เพ่อื เปน็ 1. วงจรไฟฟ้า แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ 2. รถของเลน่ ไฟฟ้า การต่อเซลล์ ไฟฟ้ามากกวา่ 1 เซลลแ์ บบอนกุ รมจะ 3. แบบทดสอบเรอื่ ง วงจรไฟฟา้ ทาใหม้ ีพลังงานไฟฟา้ มากข้ึน การออกแบบรถของ เล่นไฟฟ้าใหเ้ คลอ่ื นทไี่ ด้ ต้องคานงึ ถงึ ปจั จยั ต่างๆ เชน่ นา้ หนกั รวมของรถ ขนาดรูปทรงของรถ รวมทั้ง การหาตน้ ทุนคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ ง และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้น และนาเสนอข้อมลู มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ภารงาน/ชิน้ งานระหว่างเรียน ว 5.1 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายการต่อวงจรไฟฟา้ 1.ใบงานเรือ่ งการตอ่ วงจรไฟฟ้า อยา่ งงา่ ย 2. ใบงานเรอ่ื งการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ ว 5.1 ป.6/3 ทดลองและอธบิ ายการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ 3. แบบบันทกึ การทดลองรถของเลน่ ไฟฟา้ แบบอนกุ รมและนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 4. แบบบนั ทกึ การตรวจสอบชน้ิ งาน ค 1.2 ป.6/1 บวก ลบ คณู หาร และบวก ลบ คูณ 5. ใบงานการหาตน้ ทนุ คา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งรถของ หารระคนของเศษสว่ น จานวนคละและทศนยิ ม เลน่ ไฟฟ้า พรอ้ ม ทั้งตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ 6. การนาเสนอขอ้ มูลการสรา้ งรถของเลน่ ไฟฟา้ ค 2.1 ป.6/2 หาพนื้ ทขี่ องรปู สี่เหลย่ี ม 7. แบบรายงานการสืบค้นขอ้ มูล ค 2.1 ป.6/3 หาความยาวรอบรปู และพื้นท่ขี องรูป 8. แบบบันทกึ การออกแบบรถของเลน่ ไฟฟา้ วงกลม 9. แบบวัดผลและประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี น หน้า 30

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มท่ี 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพี่เลีย้ ง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เปา้ หมายการเรยี นรู้ หลักฐานท่เี ปน็ ผลการเรียนรู้ ง 2.1 ป.6/2 สร้างสงิ่ เคร่อื งใชต้ ามความสนใจ อย่าง ปลอดภัย โดยกาหนดปัญหา ความตอ้ งการรวบรวม ขอ้ มลู เลอื กวิธกี ารออกแบบโดยถา่ ยทอดความคดิ เปน็ ภาพรา่ ง 3 มติ ิหรอื แผนท่ีความคิด ลงมือสร้าง และประเมนิ ผล ง 2.1 ป.6/3 นาความร้แู ละทกั ษะการสร้างชน้ิ งาน ไปประยกุ ต์ใช้ในการ สร้างส่ิงของเครอ่ื งใช้ ด้านคุณลกั ษณะ ภารงาน/ช้ินงานระหว่างเรยี น - นักเรยี นมีความมุ่งมน่ั มวี นิ ัย ใฝร่ ู้ และรับผดิ ชอบ -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น ในการเรียนเรื่อง วงจรไฟฟา้ -แบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านความมงุ่ ม่นั มีวนิ ัย ใฝ่ รู้ และรบั ผิดชอบ 7.2 การจดั ลาดับหลกั ฐานทเ่ี ปน็ ผลการเรยี นรู้ 7.2.1 ใบกิจกรรมเร่ือง การตอ่ วงจรไฟฟา้ 7.2.2 ใบกิจกรรมเร่ือง การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ 7.2.3 แบบรายงานการสืบค้นข้อมูล 7.2.4 แบบบนั ทกึ การออกแบบรถของเล่นไฟฟา้ 7.2.5 แบบบนั ทกึ การทดลองรถของเล่นไฟฟา้ 7.2.6 แบบบันทึกการตรวจสอบช้ินงาน 7.2.7 ใบกจิ กรรมการหาต้นทนุ ค่าใชจ้ ่ายในการสร้างรถของเลน่ ไฟฟา้ 7.2.8 การนาเสนอผลงานการสร้างรถของเลน่ ไฟฟ้า 7.2.9 แบบวัดผลและประเมนิ ผลระหว่างเรยี น 7.2.10 แบบทดสอบเรือ่ งวงจรไฟฟ้า 7.3 การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื / หลักฐานท่เี ปน็ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การวัดและประเมนิ - แบบประเมินชิ้นงาน ภารงาน/ชน้ิ งานรวบยอด - ประเมนิ ช้นิ งาน - แบบทดสอบ 1. วงจรไฟฟา้ - ทดสอบ - ใบกจิ กรรมเรอื่ งการตอ่ วงจรไฟฟ้า 2. รถของเล่นไฟฟา้ 3. แบบทดสอบเร่ือง วงจรไฟฟา้ ภารงาน/ชิน้ งานระหว่างเรียน 1. ใบกิจกรรมเรอ่ื งการต่อวงจรไฟฟ้า - ตรวจใบกิจกรรมเรอ่ื งการต่อ 2. ใบกิจกรรมเรือ่ งการต่อ วงจรไฟฟา้ เซลล์ ไฟฟ้า หนา้ 31

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพ่ีเลย้ี ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา หลักฐานทเี่ ปน็ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน เครอ่ื งมอื / เกณฑก์ ารวัดและประเมิน 3. แบบรายงานการสืบคน้ ข้อมูล 4. แบบบันทกึ การออกแบบรถ - ตรวจใบกิจกรรมเรือ่ งการต่อ - ใบกิจกรรมเรื่องการต่อ ของเล่นไฟฟ้า 5. แบบบันทึกการทดลองรถของ เซลลไ์ ฟฟา้ เซลลไ์ ฟฟ้า เล่นไฟฟา้ 6. แบบบนั ทกึ การตรวจสอบ - ตรวจรายงานการสืบค้นขอ้ มูล - แบบรายงานการสืบค้นข้อมูล ชิ้นงาน 7. ใบกจิ กรรมการหาต้นทุน - ตรวจบันทกึ การออกแบบรถของ - แบบตรวจบนั ทึกการออกแบบ คา่ ใช้จ่ายในการสร้างรถของเลน่ ไฟฟ้า เล่นไฟฟา้ รถของเล่นไฟฟา้ 8. การนาเสนอผลงานการสรา้ ง รถของเลน่ ไฟฟ้า - บนั ทึกการทดลองรถของเล่น - แบบบนั ทึกการทดลองรถของ 9. แบบวัดผลและประเมินผล ระหวา่ งเรยี น ไฟฟ้า เล่นไฟฟ้า ภารงาน/ชน้ิ งานระหว่างเรียน - บนั ทกึ การตรวจสอบชิ้นงาน - แบบบนั ทึกการตรวจสอบ -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น -แบบประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ น - ใบกจิ กรรมการหาต้นทุนค่า ชิน้ งาน ความมุง่ มน่ั มีวนิ ยั ใฝร่ ู้ และ รับผดิ ชอบ ใช้จา่ ยในการสร้างรถของเล่น - ใบกิจกรรมการหาต้นทุน ไฟฟ้า คา่ ใช้จา่ ยในการสร้างรถของเล่น - การนาเสนอผลงานการสรา้ งรถ ไฟฟ้า ของเล่นไฟฟ้า - แบบประเมินการนาเสนอ - วดั ผลและประเมินผลระหว่าง ผลงานการสรา้ งรถของเล่นไฟฟ้า เรียน - แบบวดั ผลและประเมนิ ผล ระหวา่ งเรียน -สังเกตพฤติกรรมการเรยี น - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน -ประเมินคุณลักษณะด้านความ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ มุ่งมั่น มวี ินัย ใฝร่ ู้ และรบั ผิดชอบ 9. การออกแบบการเรียนรู้ (จานวน 8 ช่วั โมง) แบบที่ 1 หลกั ฐานที่เปน็ ผลการ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื อปุ กรณ์ เวลา เรยี นรู้(ภารงาน/ชิน้ งาน) (ชว่ั โมง) 1.ขั้นระบปุ ญั หา 1. ใบกิจกรรมเรอ่ื งการต่อ ครยู กประเดน็ เกย่ี วกับรถยนต์ทีใ่ ช้ 1.รูปภาพกลไกการ 2 วงจรไฟฟา้ 2. ใบกจิ กรรมเรื่องการตอ่ ไฟฟา้ เป็นแหลง่ พลงั งาน มาอภิปราย ทางานรถยนตข์ องเล่น เซลล์ไฟฟ้า การทางานของรถไฟฟา้ พรอ้ มใชร้ ูป 2.รถของเลน่ หนา้ 32

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นร้ตู ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพี่เลี้ยง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา หลกั ฐานท่ีเปน็ ผลการ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ อปุ กรณ์ เวลา เรียนรู(้ ภารงาน/ชิน้ งาน) (ชวั่ โมง) 3.แบบรายงานการสืบค้น กลไกการทางานมาประกอบ ขอ้ มูล ทบทวนการตอ่ วงจรไฟฟา้ และการ ต่อเซลล์ ไฟฟ้า นาตัวอยา่ งรถยนต์ ของเลน่ ใหน้ ักเรยี นสงั เกตโครงสรา้ ง และส่วน ประกอบต่างๆ หลงั จาก น้นั กาหนดปัญหาเพอ่ื ให้นกั เรียน สบื ค้นข้อมูล 3.แบบรายงานการสืบค้น 2.ข้นั รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดท่ี ข้อมลู เกยี่ วข้องกบั ปญั หา 4.แบบวัดผลและประเมินผล ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สืบคน้ ขอ้ มลู 3.ใบความรู้เร่ืองปัจจยั ที่ 1 ระหวา่ งเรยี น เกย่ี วกับปจั จยั ท่ีทาให้รถเคลือ่ นทไ่ี ด้ ทาใหร้ ถเคลื่อนทไ่ี ด้เรว็ เรว็ และวัดผลและประเมินผล 4.คอมพวิ เตอร์/ ระหวา่ งเรียน โทรศพั ท์มอื ถอื /เว็ปไซด์ 5.แบบบนั ทึกการออกแบบ 3.ข้ันออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา 1 รถของเลน่ ไฟฟา้ อธบิ ายการตอ่ วงจรไฟฟ้า พร้อมท้ัง 5.รูปภาพการตอ่ วงจร ระบรุ ายการวสั ดแุ ละจานวนท่ใี ช้ ไฟฟ้า เพ่อื คานวณต้นทนุ กลมุ่ นาเสนอ ปญั หาหรือความต้องการ 6.แบบบนั ทึกการทดลองรถ 4.ขั้นวางแผนและดาเนนิ การ 6.กระดาษแขง็ 2 ของเล่นไฟฟา้ แกป้ ญั หา 7.พลาสติกลูกฟกู ครูให้แต่ละกลมุ่ วางแผนการทางาน 8.กระดาษสตี า่ งๆ และสรา้ งรถของเล่นโดยใชว้ ัสดุ 9.กระดาษลกู ฟกู ลอน ตามทีไ่ ด้ออกแบบภายในเวลา 2 10.มอเตอรไ์ ฟฟ้า ช่ัวโมง ทง้ั น้ีต้องเก็บเศษวัสดุเหลอื ใช้ 11.ยางรดั ของ เพอ่ื นา ไปประเมนิ ความคุม้ คา่ ของ 12.เชือกฟาง วสั ดุที่ใชไ้ ป 13.ลวดเสน้ เลก็ 14.ถา่ ยไฟฉาย 15.หลอดไฟ 16.ชดุ ล้อและเพลา 17.ตลับเมตรหรอื สายวัด หน้า 33

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรียนร้ตู ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เล้ียง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ผลการ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื อุปกรณ์ เวลา เรยี นร(ู้ ภารงาน/ชน้ิ งาน) 18.เทปกาวหรือเทปใส (ชัว่ โมง) 5.ขน้ั ทดสอบ ประเมนิ ผล และ 19.นาฬิกาจับเวลา 7.แบบบนั ทกึ การทดลองรถ ปรับปรงุ แกไ้ ขวิธีการแกป้ ัญหาหรือ 1 ของเล่นไฟฟา้ ชน้ิ งาน 20.ผลงานนกั เรียนรถ 8.แบบบนั ทกึ การตรวจสอบ แตล่ ะกลุม่ นารถของเลน่ ไฟฟา้ มา ของเล่นไฟฟา้ 1 ชิ้นงาน ทดสอบการทางาน ปรบั ปรงุ แก้ไข 9.ใบกจิ กรรมการหาตน้ ทนุ และนามาทดสอบอกี คร้งั และวัดผล 21.ผลงานนักเรียนรถ คา่ ใช้จ่ายในการสร้างรถของ และประเมินผลระหวา่ งเรียน ของเลน่ ไฟฟา้ เล่นไฟฟ้า 22.แผนภาพสรุปเรื่อง 10.แบบวัดผลและ 6.ขั้นนาเสนอวิธกี ารแกป้ ัญหา ผล วงจรไฟฟา้ ประเมนิ ผลระหว่างเรียน การแกป้ ัญหา หรือชน้ิ งาน 11.การนาเสนอผลงานการ ครใู หแ้ ต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน และ สรา้ งรถของเล่นไฟฟ้า อธบิ ายในประเดน็ การเคลื่อนทขี่ อง 12.แบบทดสอบเรื่อง รถ หลักการหรอื ปัจจยั ที่ทาให้รถว่ิง วงจรไฟฟ้า ไดเ้ รว็ ทีส่ ุด การปรบั ปรงุ และสรปุ ประเด็นความรู้ทไ่ี ดร้ ับ และทดสอบ แบบท่ี 2 ชว่ั โมงที่ 1 ข้นั ท่ี 1 ข้ันระบปุ ัญหา 1. ครอู ภิปรายสถานการณพ์ ลงั งานของประเทศไทยโดยเฉพาะการขาดแคลนน้ามันเชื้อเพลิงซง่ึ มี ความ พยายามหาแหลง่ พลงั งานอื่นมาทดแทนเพื่อใช้ในชวี ติ ประจาวนั ดังนน้ั การหาพลงั งานทดแทนมา พลงั งานจากนา้ มันเชื้อเพลงิ กาลังได้รับความนยิ มในปัจจบุ ัน ครูอาจใช้คาถามในการอภปิ รายดงั น้ี 1.1 ยกตวั อย่างสงิ่ ของทตี่ ้องอาศัยนา้ มันเช้อื เพลิงในการทางาน (แนวคาตอบ รถยนต์รถจักรยานยนตเ์ ครื่องป๊ัมนา้ ) 1.2 พลงั งานท่ีจะสามารถนามาทดแทนพลังงานจากนา้ มนั เช้อื เพลิงมอี ะไรบา้ ง (แนวคาตอบ นักเรียนอาจตอบได้หลากหลาย เช่น ไบโอดีเซล ไฟฟา้ พลังงานชวี มวล) 2. ครูยกประเด็นเกยี่ วกบั รถยนตท์ ใี่ ชไ้ ฟฟ้าเป็นแหล่งพลงั งาน ครนู าอภปิ รายการทางานของรถไฟฟา้ พรอ้ มใชร้ ูปกลไกการทางานของรถไฟฟา้ มาประกอบการอภปิ ราย โดยอาจใช้คาถามดงั นี้ 2.1 รถไฟฟ้ามีกลไกการทางานแตกต่างจากรถที่ใช้นา้ มนั เช้ือเพลงิ อย่างไร (แนวคาตอบ รถไฟฟ้าใช้ไฟฟา้ เปน็ แหล่งพลงั งานใหม้ อเตอร์ไฟฟา้ หมนุ เพื่อทาให้ล้อรถ หน้า 34

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลีย้ ง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา เคลอื่ นทไ่ี ด้สว่ นรถที่ใช้นา้ มนั เช้ือเพลิงใชก้ ารเผาไหม้ของน้ามนั เชอ้ื เพลงิ ทาให้เพลาและลอ้ รถ เคล่อื นทไ่ี ด้) 2.2 องค์ประกอบสาคญั ของรถไฟฟ้าคอื อะไร (แนวคาตอบ แหลง่ เก็บพลังงานไฟฟ้า หรือแบตเตอรี่เพือ่ เก็บพลังงานไฟฟ้าจากการชาร์จ กับ ไฟฟา้ ที่ใช้ในบา้ น และมอเตอรไ์ ฟฟ้า) 2.3 ข้อดีของรถไฟฟ้าเม่ือเทยี บกับรถที่ใชน้ ม้ นั เชื้อเพลงิ เป็นอย่างไร (แนวคาตอบ รถไฟฟา้ ไมป่ ลอ่ ยมลพิษ) 3. ครชู แ้ี จงประเด็นเก่ียวกบั การใช้แบตเตอรเ่ี พ่ือเก็บพลังงานไฟฟ้าในรถยนตย์ ังมีข้อจากดั ในเรื่อง ของ ระยะการใช้งานที่จากัดต่อการชารจ์ ไฟฟ้าแต่ละครง้ั ดังนนั้ จงึ ตอ้ งออกแบบรถยนต์ใหใ้ ช้พลังงานท่ีมี อยู่ใน แบตเตอรี่อยา่ งจากัดในคมุ้ ค่าทส่ี ุด 4. ครูชี้แจงจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมวา่ นักเรยี นจะได้สร้างรถของเล่นไฟฟ้าเพอื่ ให้ว่งิ ได้เร็วทสี่ ุดโดยใช้ พลงั งานไฟฟ้าจากถา่ นไฟฉายทอี่ ยูอ่ ยา่ งจากดั ครูทบทวนความรทู้ ่เี รียนมาแลว้ เกยี่ วกับการตอ่ วงจร ไฟฟ้าอย่าง งา่ ยโดยให้นกั เรียนบอกวธิ ีการต่อวงจรไฟฟา้ ให้หลอดไฟสวา่ งโดยใช้ถา่ นไฟฉาย1ก้อน และ หลอดไฟขนาด 2.5 V และครอู าจใช้คาถามดงั น้ี 4.1 สว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ มีอะไรบา้ ง (แนวคาตอบ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ สายไฟ และหลอดไฟ) 4.2 การต่อวงจรไฟฟา้ แบบใดทีท่ าให้หลอดไฟสวา่ ง เพราะเหตุใด (แนวคาตอบ การต่อวงจรแบบปิดโดยตอ่ สายไฟกบั ขัว้ บวกของแหลง่ กาเนิดไฟฟา้ ปลายอกี ด้านหนงึ่ ของสายไฟต่อเขา้ กบั หลอดไฟ ในขณะท่ีสายไฟอกี เสน้ หน่ึงตอ่ กับข้ัว ลบของแหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ ปลายอีกด้านหนงึ่ ตอ่ เข้ากับหลอดไฟ ทาใหม้ ีเส้นทางครบ วงจรกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ครบรอบ) 4.3 วงจรปดิ และวงจรเปดิ ตา่ งกนั อยา่ งไร (แนวคาตอบ วงจรปิดเปน็ วงจรท่กี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ครบเสน้ ทางอุปกรณไ์ ฟฟา้ จะ ทางาน ได้แตว่ งจรเปิดน้ัน กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไม่ครบเส้นทาง ทาใหอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ สามารถทางาน ได)้ 5. ครนู าเข้าสู่กิจกรรมว่านอกจากอปุ กรณ์ไฟฟ้าที่เราคุ้นเคยเช่น หลอดไฟท่ใี ช้ถ่านไฟฉายเพียงก้อน เดยี ว เปน็ แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้าแลว้ ยังมอี ปุ กรณ์ไฟฟ้าอน่ื ๆ ที่ต้องอาศัยเซลล์ไฟฟา้ หรอื ถา่ นไฟฉายหลายกอ้ น ต่อ กันเพ่ือเป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้า เช่น รถของเลน่ ครูนาตวั อย่างรถของเลน่ ใหน้ ักเรียนสังเกต โครงสรา้ ง สว่ นประกอบของรถของเลน่ ว่ามอี ะไรบา้ ง ช่ัวโมงท่ี 2 6. ครูถามความรเู้ ดิมของนกั เรียนเกีย่ วกบั ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ การเคล่อื นทีข่ องรถของเล่นไฟฟ้า โดยอาจ ใช้ คาถามดงั น้ี 6.1 การใชถ้ ่านไฟฉายหลายก้อนต่อกนั กบั การใชถ้ ่านไฟฉายกอ้ นเดียวจะทาให้เกดิ ผลต่อการ ทางาน ของรถของเล่นแตกต่างกันหรือไมอ่ ยา่ งไร (แนวคาตอบ ขึ้นอยู่กับความคิดของนักเรยี น) 6.2 การต่อถ่านไฟฉายมากกว่า 1 กอ้ น แบบใดท่ีทาให้ได้พลงั งานไฟฟา้ มากข้นึ (แนวคาตอบ ขึน้ อยกู่ บั ความคดิ ของนกั เรยี น) หน้า 35

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพี่เลย้ี ง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 6.3 ปัจจัยใดบา้ งในการสรา้ งรถของเล่นที่มีผลทาใหข้ องรถของเลน่ เคลือ่ นที่ไดเ้ รว็ ที่สดุ (แนวคาตอบ คาตอบมไี ดห้ ลากหลายเชน่ น้าหนกั และรูปทรงรถของเล่น จานวน ถา่ นไฟฉาย และวิธีการตอ่ ถ่านไฟฉาย 6.4 หากจะออกแบบรถของเลน่ ไฟฟา้ เพ่ือแขง่ ขันวา่ รถคนั ใดเคล่ือนทไ่ี ดเ้ รว็ ท่ีสดุ จะตอ้ ง ออกแบบ รถของนักเรียนอยา่ งไร (แนวคาตอบ ขึ้นอย่กู บั ความคดิ ของนักเรยี น) 6.5 นักเรยี นจะทราบไดอ้ ย่างไรวา่ รถคนั ใดเคลอ่ื นท่ีได้เร็วทสี่ ุด (แนวคาตอบ สามารถทดสอบไดห้ ลายวธิ เี ชน่ ปล่อยรถพร้อมกนั แล้วดวู ่ารถคันใดเข้า เส้นชัย กอ่ น หรอื ปล่อยรถและจบั เวลาทีละคันวา่ จากจดุ เร่มิ ต้นจนถงึ เสน้ ชยั ใช้เวลา เทา่ ไหร่ รถคัน ไหนใชเ้ วลานอ้ ยท่สี ุดแสดงวา่ เรว็ ท่สี ดุ ) 7. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน คละความสามารถและเพศ จากนนั้ ครูแจกรถของเล่น ใหน้ กั เรยี นกลุ่มละ1ชดุ เพ่ือประกอบโครงช่วงล่างของรถซ่งึ ประกอบดว้ ยมอเตอร์ไฟฟ้าลอ้ เพลา และเฟอื ง โดย ในข้นั นคี้ รอู าจตอ้ งอธบิ ายการทางานของชิ้นสว่ นต่าง ๆ กจิ กรรมระบปุ ัญหา 8. ครกู าหนดปัญหาใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ ดังน้ี “ใหน้ ักเรียนสร้างรถของเล่น ใหว้ ิง่ ไดเ้ รว็ ทสี่ ดุ โดยใช้ ถา่ นไฟฉาย 2 ก้อน และรถจะตอ้ งรบั นา้ หนัก บรรทุกดินนา้ มนั 3 กอ้ น โดยมงี บประมาณไมเ่ กิน 200 บาท” (ครูพิจารณาระหวา่ งจานวนดินน้ามันกบั รถของเลน่ ทีใ่ ช้ในกิจกรรมตามความเหมาะสม) 9. ครชู ้แี จงเกณฑก์ ารให้คะแนนการออกแบบและสรา้ งรถของเล่น โดยมหี วั ขอ้ ในการพิจารณา 4 หวั ข้อ คือ ความเรว็ ของรถ ตน้ ทุนวสั ดทุ ี่ใชข้ น้ั ตอนการทางานและการนาเสนอข้อมลู ชัว่ โมงท่ี 3 ข้นั ท่ี 2 ขั้นรวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปัญหา 10.ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สบื คน้ ข้อมลู เก่ียวกบั ปัจจัยท่ีทาใหร้ ถเคล่อื นทไ่ี ดเ้ ร็ว เชน่ เรือ่ งพลงั งาน ไฟฟา้ รูปทรงและความสมดุลของตวั รถ แล้วนามาอภิปรายกันในกล่มุ เพอื่ นาไปออกแบบรถ ช่วั โมงที่ 4 ข้นั ท่ี 3 ข้ันออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา 11. ครูใหแ้ ต่ละกลุม่ วาดแบบรถและอธบิ ายการต่อวงจรไฟฟ้า พรอ้ มท้ังระบรุ ายการวสั ดุและจานวน ทีใ่ ช้ เพื่อคานวณต้นทุน 12. ครูให้แต่ละกลุ่มนาเสนอโดยเร่ิมจากนาเสนอว่ามปี ัญหาหรอื ความต้องการอะไร แลว้ มีแนวทาง ใน การแกป้ ัญหาอยา่ งไรซึ่งประกอบดว้ ยรปู แบบของรถของเลน่ พร้อมทงั้ รายละเอียดวสั ดุและต้นทนุ ชั่วโมงที่ 5 - 6 ขั้นท่ี 4 ขั้นวางแผนและดาเนนิ การแก้ปญั หา 13. ครูให้แต่ละกลมุ่ วางแผนการทางานกอ่ นลงมือสร้าง จากนัน้ จงึ สร้างรถของเล่นโดยใช้วัสดุตามทไ่ี ด้ ออกแบบภายในเวลา 2 ชวั่ โมง ท้ังน้นี กั เรยี นทุกกลุม่ ตอ้ งเกบ็ เศษวัสดเุ หลอื ใช้เพ่อื นาไปประเมนิ ความคมุ้ คา่ ของวสั ดทุ ใ่ี ชไ้ ป หน้า 36

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เลี้ยง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ชั่วโมงท่ี 7 ขั้นที่ 5 ขน้ั ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธีการแก้ปญั หาหรือช้นิ งาน 14. เมอื่ สรา้ งเสร็จแล้ว แต่ละกลุ่มนารถของเล่นไฟฟา้ มาทดสอบการทางาน หากรถไม่เคลอื่ นท่ี หรอื เคลือ่ นที่ชา้ ให้ปรบั ปรงุ แกไ้ ขโดยมีเวลาปรบั ปรงุ แกไ้ ข 30 นาทนี ักเรยี นบันทกึ วิธีการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ในใบ กจิ กรรม แล้วนามาทดสอบอกี ครัง้ 15. ครใู หน้ กั เรยี นทุกกลมุ่ ประเมินตน้ ทนุ ท่ีใชเ้ พอื่ เป็นข้อมลู สาหรบั ใช้ประเมินชน้ิ งานตามเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้ 16. ครูจัดแข่งขันโดยรถของเลน่ ไฟฟา้ ของกลุม่ ไหนเข้าเส้นชยั กอ่ นเป็นผชู้ นะ ชั่วโมงท่ี 8 ขั้นท่ี 6 ข้ันนาเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หา หรอื ช้ินงาน 17. ครใู ห้แต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงาน และอธบิ ายในประเดน็ ต่อไปน้ี 17.1 รถของเล่นของกลุม่ เคล่ือนท่ไี ด้เร็วตามทต่ี ้องการหรือไม่อยา่ งไร 17.2 หลักการหรือปัจจยั ใดทีก่ ลมุ่ นามาพจิ ารณาในการสร้างรถให้วงิ่ ได้เรว็ ท่ีสดุ และปัจจยั นน้ั ทาให้ รถว่ิงไดเ้ รว็ ตามท่ีต้องการหรอื ไม่ อยา่ งไร 17.3 ถ้าจะปรับปรงุ ใหร้ ถของเล่นว่ิงไดเ้ ร็วข้ึนอีก จะทาอย่างไร 18) ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปประเดน็ และความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการสร้างรถของเล่นไฟฟา้ โดยครใู ช้ คาถาม ดังนี้ 18.1 การตอ่ วงจรไฟฟา้ ในรถของเลน่ ไฟฟา้ เปน็ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอ่ ถ่านไฟฉายเขา้ กบั แผ่นโลหะท่ตี ิดอยกู่ ับมอเตอร์ไฟฟา้ ทาให้ครบวงจร มอเตอรไ์ ฟฟ้าทางานได้) 18.2 การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ ให้มีพลังงานมากขึ้นทาได้อย่างไร และเรยี กการตอ่ แบบนว้ี า่ อย่างไร (แนวคาตอบ ต่อเซลลไ์ ฟฟ้าโดยให้ขั้วลบของเซลลไ์ ฟฟา้ ต่อกับขว้ั บวกของเซลลไ์ ฟฟ้าอกี อนั หนง่ึ เรยี งกันไป เรียกวา่ การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม) 18.3 การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รมทาให้เกดิ ผลอยา่ งไรต่อการเคล่ือนท่ีของรถของเล่น (แนวคาตอบ มพี ลังงานไฟฟ้าเพ่มิ ขนึ้ ทาให้รถเคลื่อนทไี่ ด้เรว็ ขน้ึ ) 18.4 ปัจจัยใดบ้างที่มีทาใหร้ ถของเล่นไฟฟา้ วง่ิ ได้เรว็ และมีผลอย่างไร (แนวคาตอบ น้าหนักของแบตเตอร่ี พลงั งานไฟฟา้ จากแบตเตอร่ี รปู รา่ งของรถของเล่น ความสมดลุ ของตวั รถ) 8. สอ่ื /วัสดอุ ุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้ 1. รูปภาพกลไกการทางานรถยนตข์ องเลน่ 2. รถของเล่น 3. ใบความร้เู รอ่ื งปัจจยั ทท่ี าใหร้ ถเคลอ่ื นที่ไดเ้ ร็ว 4. คอมพวิ เตอร/์ โทรศพั ท์มอื ถอื /เว็ปไซด์ 5. รูปภาพการตอ่ วงจร ไฟฟ้า หนา้ 37

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพี่เล้ยี ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 6. ผลงานนกั เรยี นรถของเลน่ ไฟฟา้ 7. แผนภาพสรปุ เร่ืองวงจรไฟฟ้า 8. กระดาษแข็ง ขนาด A4 9. พลาสติกลูกฟกู ขนาด A4 10. กระดาษสีต่างๆ ขนาด A4 11. กระดาษลูกฟกู ลอน ขนาด A4 12. มอเตอร์ไฟฟ้า 13. ยางรัดของ 14. เชือกฟาง 15. ลวดเส้นเลก็ 16. ถ่ายไฟฉาย 17. หลอดไฟ ขนาด 2.5 V 18. ชุดลอ้ และเพลา 19. ตลับเมตรหรือสายวดั 20. เทปกาวหรอื เทปใส 21. นาฬกิ าจับเวลา หน้า 38

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจดั ทาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเล้ียง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เอกสารเสรมิ ความรูท้ ี่ 4 ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้บรู ณาการสะเตม็ ศึกษา : โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบโครงงาน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ สง่ิ แวดล้อมเพ่อื ชวี ติ เวลา 20 ช่วั โมง ครผู ูส้ อน นางสาวดวงกมล สิบมดุ นายสุทธิแดน พลวตั ิจรสั วฒั น์ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ กาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ 1. สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด วิทยาศาสตร์ สาระที่ 2 ธรรมชาติกบั ส่ิงแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจความสาคัญของทรพั ยากรธรรมชาติ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความร้ไู ปใช้ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในท้องถิ่นอยา่ งยั่งยนื ตัวชี้วัด ว 2.2 ป.6/5 มสี ่วนรว่ มในการดูแลรกั ษาส่งิ แวดล้อมในทอ้ งถ่ิน สาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ ส่งิ แวดลอ้ ม มีความเกี่ยวขอ้ งสัมพันธก์ ัน ตัวช้วี ัด ว 8.1 ป.6/1 ตั้งคาถามเกี่ยวกบั ประเด็น หรอื เรื่อง หรอื สถานการณ์ ท่จี ะศกึ ษา ตามทก่ี าหนดใหแ้ ละตามความสนใจ ว 8.1 ป.6/2 วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า และ คาดการณ์สงิ่ ทีจ่ ะพบจากการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอุปกรณ์ และวธิ กี ารสารวจตรวจสอบทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมใหไ้ ด้ผลที่ ครอบคลมุ และเชอ่ื ถือได้ ว 8.1 ป.6/4 บันทกึ ข้อมูลในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ วเิ คราะห์ และตรวจสอบผลกบั ส่ิงที่ คาดการณไ์ ว้ นาเสนอผลและขอ้ สรปุ ว 8.1 ป.6/5 สรา้ งคาถามใหม่เพ่ือการสารวจตรวจสอบตอ่ ไป ว 8.1 ป.6/6 แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งอสิ ระ อธิบาย ลงความเหน็ และสรุปสิ่งทไ่ี ดเ้ รียนรู้ หนา้ 39

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพี่เล้ยี ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ว 8.1 ป.6/7 บนั ทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเปน็ จริง มเี หตุผล และมี ประจกั ษพ์ ยานอา้ งอิง ว 8.1 ป.6/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธบิ ายดว้ ยวาจา และเขยี นรายงานแสดง กระบวนการและผลของงานใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจ การงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เขา้ ใจ เหน็ คุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมลู การเรียนรู้ การส่ือสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล มคี ณุ ธรรม ตวั ช้ีวัด ง 3.1 ป.6/2 ใช้คอมพิวเตอร์ในการคน้ หาข้อมูล ง 3.1 ป.6/4 นาเสนอข้อมูลในรปู แบบที่เหมาะสม โดยเลือกใชซ้ อฟต์แวร์ประยุกต์ คณติ ศาสตร์ สาระที่ 5 การวิเคราะหข์ ้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธิ ีการทางสถติ ใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ตวั ชี้วัด ค 5.1 ป.6/2 เขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบและกราฟเสน้ สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเช่ือมโยง คณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ น่ื ๆ และมคี วามคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ตัวชวี้ ัด ค 6.1 ป.6/1 ใชว้ ิธีการทห่ี ลากหลายแก้ปญั หา ค 6.1 ป.6/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ในการ แกป้ ญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ค 6.1 ป.6/3 ให้เหตุผลประกอบการตดั สินใจและสรปุ ผลได้อยา่ งเหมาะสม ค 6.1 ป.6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การส่ือความหมาย และการนาเสนอได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม ค 6.1 ป.6/5 เชือ่ มโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตร์ อื่น ๆ ค 6.1 ป.6/6 มีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ หนา้ 40

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มด้วยพ่ีเลี้ยง เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2. การบรูณาการ STEM คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม วทิ ยาศาสตร์ สารสนเทศและ -วงจรการออกแบบทาง -การมีส่วนรว่ มใน -เขยี นแผนภูมแิ ทง่ การส่ือสาร วิศวกรรม (ในขั้นตอนการ (คอมพิวเตอร์) ดาเนนิ งานโครงงาน) การดแู ลรักษา เปรียบเทียบและกราฟเสน้ ทรพั ยากรธรรมชาติ -ใช้ความรู้ ทกั ษะและ -การใช้เทคโนโลยี ในการสืบคน้ ขอ้ มลู กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ จากอนิ เทอร์เน็ต และเทคโนโลยีในการ -การสร้างแผนภมู ิ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ แท่งเปรยี บเทียบ -การสรา้ งชิน้ งาน ได้อยา่ งเหมาะสม นาเสนอ -เช่ือมโยงความรตู้ า่ ง ๆ ใน คณติ ศาสตรแ์ ละเชื่อมโยง คณติ ศาสตร์กับศาสตรอ์ ่นื ๆ 3. สาระสาคัญ การมสี ่วนรว่ มในการดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มภายในโรงเรียนและชมุ ชน การทา โครงงานตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชนของนักเรยี น โดยสบื คน้ ขอ้ มูลจากอินเทอรเ์ น็ต ใช้วงจรวิศวกรรมในการดาเนินการโครงงาน นาเสนอข้อมลู ทไี่ ด้ในรปู แบบแผนภมู ิแทง่ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการ นาเสนอผลการดาเนนิ โครงงานสะเต็มศกึ ษาได้ 4. สาระการเรยี นรู้ การมสี ว่ นร่วมในการดแู ลรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ การมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน การทาโครงงานตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อแก้ไข ปัญหาส่ิงแวดล้อมในชุมชนของนักเรียน โดยสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการ นาเสนอข้อมูลท่ีได้ในรูปแบบ แผนภูมิแทง่ การนาเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร - การอธิบาย การเขยี น การพูดหน้าชัน้ เรียน 2. ความสามารถในการคดิ - การสังเกต การสารวจ การจาแนกประเภท การคดิ วเิ คราะห์ การสรา้ งคาอธิบาย การสอ่ื ความหมาย การจัดระบบความคิดเปน็ แผนภาพ การสบื คน้ โดยใชก้ ระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา - การแก้ปญั หาขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม หนา้ 41

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มที่ 4 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพ่ีเล้ียง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต - กระบวนการกลมุ่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ในการสืบค้นขอ้ มลู - การนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบทเี่ หมาะสม โดยเลือกใชซ้ อฟต์แวร์ประยกุ ต์ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการ เลือกใช้สอื่ อย่างเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ สามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 2. มจี ิตสาธารณะ เข้ารว่ มกิจกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชน และสังคม 7. หลกั ฐานท่ีเปน็ ผลการเรยี รู้ ภาระงาน 1. โครงงานสะเต็มศึกษา กลุม่ ละ 1 โครงงาน 2. ใบงาน เรอ่ื งการดูแลทรพั ยากรในทอ้ งถิ่นของนกั เรียน 3. ใบงาน เรอื่ งการสบื ค้นขอ้ มลู ในลักษณะที่กาหนดให้ 4. ใบกิจกรรม เร่ืองการเขียนแผนภูมิแทง่ เปรยี บเทยี บ 5. แบบบนั ทกึ ผลการดาเนนิ งานโครงงานสะเตม็ 6. ใบงาน เรื่อง การสะท้อนคิด 5 ประการ (ในทุกขัน้ ตอนของการดาเนนิ การโครงงาน) ชน้ิ งาน 7. โครงงานสะเตม็ ศึกษา 8. ผลการบนั ทกึ การทาโครงงานสะเต็มศกึ ษา 9. ผลการสะทอ้ นคิด 5 ประการในแต่ละข้นั ตอนของการดาเนินงานโครงงาน 8. การวดั และประเมนิ ดา้ นความรู้ 1. ประเมนิ ผลการดาเนินการโครงงานสะเต็ม ดา้ นทกั ษะการเรียนรู้ 1.ประเมินดว้ ยการสงั เกต การปฏบิ ัติ การทางานเปน็ กลมุ่ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.ประเมินด้วยการสงั เกต การแสดงความคิดเห็น การตอบคาถาม 2.การทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื มคี วามกระตอื รือรน้ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ (จานวน 20 ชั่วโมง) นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการดูแลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มภายในโรงเรียนและชุมชน มีโครงงาน ตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพอื่ แก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชนของนักเรียน โดยสืบคน้ ข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็ ใช้วงจร วศิ วกรรมในการดาเนินการโครงงาน นาเสนอขอ้ มลู ทไ่ี ดใ้ นรูปแบบแผนภมู ิแทง่ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการ นาเสนอผลการดาเนินโครงงานสะเต็มศึกษาได้ หนา้ 42

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ที่ 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนิเทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพ่ีเลีย้ ง เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ชั่วโมง เรอ่ื ง ครูผสู้ ่วน/ ชิ้นงานทคี่ าดหวัง ท่ี การมสี ่วนร่วม ครดู วงกมล โปสเตอร์ 1-4 สิ่งแวดลอ้ มของเรา ครสู ุทธแิ ดน การสืบคน้ ขอ้ มลู ในลักษณะที่ กาหนดให้ 5 การสบื ค้นขอ้ มูลทางอนิ เทอร์เน็ต ครูดวงกมล ใบงานการอ่านแผนภมู แิ ทง่ ท่ี เก่ยี วข้องกบั ส่ิงแวดล้อม 6 ทบทวนการอา่ นแผนภมู แิ ท่ง ครดู วงกมล การสร้างแผนภมู แิ ทง่ ในหัวข้อที่ ทาการสารวจปัญหาส่งิ แวดล้อม 7-9 การเขยี นแผนภมู ิแท่ง ในโรงเรียนและชุมชน ชิน้ งานแผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทยี บ 10-11 การสรา้ งแผนภูมิแทง่ ในโปรแกรม ครสู ทุ ธแิ ดน โดยนาข้อมูลจากวิชา ประยกุ ต์ คณิตศาสตรม์ าสร้าง ช้ินงานการนาเสนอจากข้อมูลที่ 12-13 การนาเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรม ครสู ทุ ธิแดน สบื คน้ เก่ยี วกับประเดน็ ปัญหา ประยกุ ต์ ทางสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียนและ 14-15 การดาเนินโครงการสะเต็มศึกษา ครดู วงกมลและครู ชุมชน สุทธิแดน ใบงานสะท้อนความคิด 16-20 การดาเนนิ โครงการสะเตม็ ศกึ ษา (ตอ่ ) ครูดวงกมลและครู แบบบันทกึ การทาโครงงาน สุทธิแดน สะเตม็ และโครงงานสะเต็ม ศกึ ษาทน่ี ักเรียนทาขนึ้ ใบงานสะทอ้ นความคิด หนา้ 43

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เลม่ ท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมด้วยพี่เลี้ยง เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา การกาหนดคาบและชวั่ โมงการสอนบูรณาการตามแนวคดิ สะเต็มศกึ ษา วัน / เดือน / ปี คาบในตารางเรียน ชัว่ โมงในแผนการจดั การเรียนรู้ 15 พฤษภาคม 2560 4 1 15 พฤษภาคม 2560 5 2 15 พฤษภาคม 2560 6 3 16 พฤษภาคม 2560 5 4 17 พฤษภาคม 2560 5 5 18 พฤษภาคม 2560 1 7 18 พฤษภาคม 2560 2 8 19 พฤษภาคม 2560 1 9 22 พฤษภาคม 2560 4 10 24 พฤษภาคม 2560 5 11 26 พฤษภาคม 2560 6 12 26 พฤษภาคม 2560 7 13 29 พฤษภาคม 2560 4 14 29 พฤษภาคม 2560 6 15 31 พฤษภาคม 2560 4 16 1 มิถนุ ายน 2560 6 17 2 มิถุนายน 2560 6 18 5 มถิ นุ ายน 2560 6 19 22 มถิ นุ ายน 2560 2 20 หมายเหตุ เน่ืองจากการสอนเป็นลักษณะบูรณาการท่ีตอ้ งการใหน้ ักเรยี นเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ครูผสู้ อน จงึ ทาการเปลยี่ นคาบสอนและชว่ั โมงสอนกบั ครทู ่านอ่ืนโดยขออนญุ าตผ่านผอู้ านวยการ โรงเรยี น ส่ือการเรียนรู้ 1. ใบความร้เู รอ่ื ง สะเตม็ ศกึ ษา 2. วีดที ัศน์ เรอื่ งสะเตม็ ศกึ ษา 3. สไลด์การสอน เร่ืองสะเตม็ ศึกษา หน้า 44

เอกสารประกอบการพัฒนาครู เล่มท่ี 4 การจัดทาหน่วยการเรียนรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA รว่ มดว้ ยพ่ีเล้ยี ง เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา ตัวอย่าง การจัดการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 14-20 ช่วั โมงที่ 14 ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. บริหารสมอง ครนู านักเรียนทากจิ กรรม Brain Gym :16 จงั หวะ 2. ครตู ง้ั คาถามนา นกั เรยี นรู้จกั สะเตม็ ศึกษาหรือไม่อยา่ งไร แล้วทไี่ ดเ้ รยี นไป จานวน 13 คาบท่ีผ่านมา นกั เรียนได้ความรู้อะไรบา้ ง นักเรยี นรู้หรือไม่วา่ การเรียนทผ่ี ่านมามีส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกบั สะ เต็มศึกษา 3. นกั เรยี นดูวดี ีทัศน์ การแนะนา สะเต็มศึกษา จาก https://www.youtube.com/watch?v=OBmDFImo8ZY ข้ันสอน 4. ครูแจกใบความรู้ เกย่ี วกบั สะเต็มศึกษาให้นักเรยี นและใหน้ ักเรียนศกึ ษาเกยี่ วกับการ สะท้อนคดิ 5 ประการ โดยครอู ธบิ ายเพ่มิ เติมว่า เราจะใชว้ งจรวศิ วกรรมในการดาเนนิ งานโครงงานสะ เตม็ ศึกษาโดยครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ วา่ ในแต่ละข้นั ตอนมอี ะไรบา้ ง ทีม่ า: http://www.stemedthailand.org/wp-content/uploads/2014/06/NEW- EProcess.jpg 5. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 3-5 คน ครนู าเสนอสถานการณ์หลักที่เปน็ หวั ข้อ เก่ยี วกบั สิง่ แวดล้อม ใหน้ กั เรียนรับใบงานสะท้อนคิด (1) หวั ข้อการตัง้ ประเดน็ ปญั หาในการทาโครงงาน โดย ใชน้ กั เรยี นระดมสมอง สบื ค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ น็ต และอภิปรายกนั ในกล่มุ จากนน้ั บันทึกลงในใบงาน นาเสนอตอ่ ช้นั เรยี นและครูให้ความเห็นนักเรียนเป็นรายกลมุ่ อย่างใกล้ชดิ 6. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกันสรุปประเด็นปญั หาสง่ิ แวดล้อมท่ีเลอื ก หนา้ 45

เอกสารประกอบการพฒั นาครู เลม่ ท่ี 4 การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา โดยใช้การนเิ ทศตามกระบวนการ PDCA ร่วมดว้ ยพี่เลยี้ ง เพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา 7. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอปัญหาสิ่งแวดลอ้ มท่ีเลือกต่อช้ันเรียน ครตู งั้ คาถามวา่ ทาไมจึง เลอื กเร่ืองน้ี และมีสว่ นท่ีเกย่ี วข้องกับชีวติ ประจาวันของนกั เรียนหรือไมอ่ ยา่ งไร ครพู ิจารณาประเด็นที่นกั เรยี น นาเสนอมาว่าสามารถทาไดห้ รอื ไม่ และให้ข้อมูลย้อนกลับต่อนักเรยี น ชว่ั โมงท่ี 15 8. ครแู จกใบงานการสะทอ้ นคิด 5 ประการ (2) หัวขอ้ เรอ่ื ง การรวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ี เกย่ี วข้องกบั ปญั หา 9. นกั เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานการสะท้อนคิด 5 ประการ หัวข้อเรอ่ื ง การรวบรวมข้อมลู และ แนวคิดท่เี ก่ยี วข้องกับปัญหา นาเสนอตอ่ ช้ันเรยี นและ ครใู ห้ความเหน็ นักเรียนเป็นรายกลมุ่ อย่างใกลช้ ดิ 10 .นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รบั แบบบันทึกการดาเนนิ งานโครงงานตามกระบวนการสะเต็มศึกษา โดยให้บนั ทึกมาส่งครใู นชัว่ โมงถัดไป (ตามหวั ขอ้ ท่ีไดเ้ รียนไปแล้ว) ขัน้ สรุป 11. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายถงึ ประเด็นปัญหาทแี่ ต่ละกล่มุ สนใจทั้งนอ้ี าจให้คาแนะนา เป็นรายกล่มุ หากปัญหาทน่ี กั เรียนแตล่ ะกลุม่ สนใจแตกต่างกนั หน้า 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook