Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่นชุมชนบ้านท่าเยี่ยม

คู่มืออบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่นชุมชนบ้านท่าเยี่ยม

Published by narudome, 2021-12-27 06:02:58

Description: คู่มืออบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่นชุมชนบ้านท่าเยี่ยม

Search

Read the Text Version

คูม่ ือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรอื่ งท้องถน่ิ ชุมชนบา้ นท่าเย่ียม ตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตําบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ตําบลสร้างรากแก้วให้ประเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ภายใต้การดูแลของ ผศ.ดร.วรรษิดา บุญญาณเมธาพร คณะการจัดการการท่องเทย่ี ว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

ข คํานํา การท่องเท่ียวโดยชุมชน (Community Based Tourism-CBT) เป็นส่วนหน่ึงของการขับเคลื่อน เศรษฐกิจในชุมชนโดยใช้การท่องเที่ยวเป็นส่วนเสริมจากการดํารงวิถีชีวิตเดิมท่ีทําอยู่ปกติ อีกทั้งยังได้รับการ ส่งเสริมพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการท่องเท่ียวโดยชุมชนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซ่ึงแต่ละชุมชน มีฐานทรัพยากรทางการท่องเที่ยวท่ีมีอัตลักษณ์ ในแต่ละพื้นท่ีแตกต่างกันออกไป เนื่องมาจากความแตกต่าง ทางด้านที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ วฒั นธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถ่ิน การท่ีมีนักท่องเท่ียวเข้ามาเย่ียมเยือน ในชุมชน จําเป็นต้องมีนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ทําหน้าที่ในการนําเสนอ ถ่ายทอดเรื่องราวของท้องถ่ิน ที่เป็น เอกลกั ษณ์และมคี ุณค่าในพื้นท่ีให้นกั ท่องเท่ียว ก่อให้เกดิ ความประทับใจในการเดินทางมาท่องเที่ยว และจดจํา ความมีอัตลักษณ์เฉพาะตัวในประสบการณ์การท่องเท่ียว ที่แตกต่างจากจุดหมายปลายทางท่ีอื่น ๆ ดังน้ันนักเล่าเรื่องท้องถิ่นจําเป็นต้องมีการฝึกอบรม ผ่านกระบวนการพัฒนาเสริมสร้างการเรียนรู้ท่ี เป็นระบบประกอบด้วย ความรู้ (knowledge) ทักษะ (skill) ความสามารถ (ability) และเจตคติ (attitude) ซึ่งความสําเร็จของการฝึกอบรมนักเล่าเรื่องท้องถิ่น อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้เข้ารับฝึกอบรมนักเล่าเรื่อง ท้องถ่ินที่เห็นความสําคัญ และเช่ือว่าการฝึกอบรมเป็นเครื่องมือสําคัญที่ช่วยพัฒนาและยกระดับศักยภาพให้มี ความพร้อมในการทําหน้าท่ีเป็นนักเล่าเรื่องถ่ินของชุมชน ในการต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเย่ียมเยือน ร่วมกับ การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น ที่มีส่วนสําคัญในการ ขับเคลื่อนการท่องเท่ียวโดยชุมชนและการท่องเท่ียวโดยภาพรวมของประเทศไทย เพราะการท่องเท่ียวโดย ชุมชนเป็นพ้ืนฐานหลักของการท่องเที่ยวของประเทศและเป็นฐานทรัพยากรทางการท่องเท่ียวท่ีมีความสําคัญ เป็นอยา่ งย่ิง “คู่มือการฝึกอบรมนักเล่าเรื่องท้องถิ่น” ฉบับนี้จัดทําข้ึนโดยรวบรวมองค์ความรู้และคําแนะนําจาก คณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการท่องเท่ียว เรื่องเล่าท้องถิ่นท่ีทรงภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน เทคนิค ต่าง ๆ ในการเล่าเร่ืองจากเอกสารการอบรมมัคคุเทศก์ เพื่อนํามาเป็นเนื้อหาประกอบการฝึกอบรม ทางคณะ ผ้จู ดั ทาํ ขอน้อมรับคําติชมคําแนะนําแก้ไขเพอื่ ปรับปรุงให้หลกั สูตรการอบรมนักเล่าเรื่องไดพ้ ัฒนาและยกระดับ มาตรฐานนักเล่าเรื่องท้องถ่ินใหด้ ีย่งิ ขึ้นในโอกาสต่อไป คณะผู้จดั ทํา โครงการยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสตู่ ําบลสรา้ งรากแก้วให้ประเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

ค บทสรุปผู้บริหาร การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพื่อพัฒนานกั เล่าเร่อื งท้องถิ่น ชมุ ชนบ้านท่าเยีย่ ม ตาํ บลเข่ืองคาํ อําเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร 1.หลักการและเหตุผล การท่องเที่ยวโดยชุมชนนับว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น การนําเสนอ เร่ืองราวและประวัติความเป็นมาของชุมชนโดยผ่านการถ่ายทอดผ่านการเล่าเรื่องสู่นักท่องเที่ยว ท่ีเข้ามาเยี่ยม เยือนในชุมชน กระบวนการสื่อสารโดยผ่านการเล่าเรื่องน้ีจึงเป็นส่วนเติมเต็มในความสมบูรณ์ของการสื่อสาร โดยมีนักท่องเท่ียวเป็นผู้รับสาร เร่ืองเล่าท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่าน้ีถือได้ว่าเป็น ส่ือที่จะต้องเผยแพร่ออกไป ส่ิงสําคัญท่ีสุดของกระบวนการส่ือสารคือนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ในฐานะผู้ส่งสาร สําหรับนําส่ือต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่นนําส่งสารไปยังผู้รับสารคือนักท่องเที่ยว เพ่ือสร้างการรับรู้และมีส่วนร่วมใน ประสบการณ์ที่ได้มาเยี่ยมเยื่อนขุมขนในฐานะนักท่องเที่ยว ดังน้ันนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ถือได้ว่าเป็นตัวแทนของ ชุมชน ทําหน้าท่ีในการบอกเล่าเรื่องราวสื่อความหมายในส่ิงท่ีเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน เพ่ือป้องกันการส่ือสาร และการตีความท่ีคลาดเคล่ือนจากมุมมองของนักท่องเท่ียว ที่มีบริบทพื้นฐานทางวัฒนธรรมท่ีต่างกันอาจจะ ก่อให้เกิดความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นจึงจําเป็นท่ีจะต้องมีการฝึกอบรมนักเล่าเรื่อง และมีการประเมิน เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเล่าเรื่องท้องถ่ินของชุมชนบ้านท่าเยี่ยม เพ่ือให้เกิดการยกระดับการพัฒนาศักยภาพ ทกั ษะของนกั เลา่ เรือ่ งท่ีมีอยูเ่ ดิม ให้มคี วามชํานาญและมีศกั ยภาพในทักษะท่ีสงู ข้ึน 2.วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มโครงการได้พัฒนาทกั ษะ การเป็นนักเล่าเร่ืองให้มีความเช่ียวชาญ และเชื่อมโยงขอ้ มูล ภายในชุมชนไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแม่นยํา อย่างมีประสทิ ธิภาพ 3.ขอบเขตการดําเนินงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนานักเล่าเรื่องท้องถิ่น โดยทางวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าเย่ียม ได้คัดเลือกตัวแทนจากชุมชนเพื่อเข้าร่วมการอบรม จํานวน 20 คน ซ่ึงมีภูมิลําเนาในชุมชนอยู่แล้วแต่เดิม เพ่ือ มาเข้าร่วมการอบรมฯ และเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมและผ่านการประเมินแล้ว สามารถที่จะปฏิบัติหน้าท่ีสําหรับ การเป็นนักเล่าเร่ืองท้องถ่ินได้ ดังนั้นในการอบรมเชิงปฏิบัติการนี้จึงได้เล็งเห็นถึงองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการ รวบรวมเรอื่ งเลา่ ทอ้ งถ่ินที่มาจากหลากหลายแหลง่ ขอ้ มลู คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

ง 1.ผ่านกระบวนการบอกเล่าจากภูมิปัญญาชาวบ้านท่ีมีการสืบทอดส่งต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ตกทอดมา ส่คู นในรุ่นปัจจุบันมิไดร้ วบรวมเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร 2.การสบื คน้ จากเอกสารและรวบรวมจากแหล่งขอ้ มูลออนไลน์และจัดเป็นหมวดหมู่ 3.การประยุกต์เนื้อหาสําหรับการเสริมสรา้ งทกั ษะในการปฏิบัตงิ านในฐานะนกั เล่าเร่ืองทอ้ งถ่ิน โดยใชอ้ งค์ความรู้จากหลกั วิชาในอุตสากรรมการท่องเที่ยวและบริการมาเป็นสว่ นสําคญั อกี ด้วย 4. การประเมินผลโครงการฝกึ อบรม ประเมินหลงั การอบรม : หลังเสรจ็ ส้ินการอบรม 5.วธิ ีการประเมนิ -การทดสอบผู้เข้ารว่ มอบรมดว้ ยการเล่าเร่ือง -แบบสอบถาม (ประเมินวิทยากร/ ประเมินความพึงพอใจของผ้อู บรม) 6.ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ สามารถเพ่มิ ทักษะของผู้เข้ารว่ มอบรมในการเป็นนกั เล่าเร่อื งท้องถิ่นบ้านท่าเย่ียม ต.เขอ่ื งคํา อ.เมือง ยโสธร จ.ยโสธร คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

จ สารบัญ หน้า บทสรปุ ผู้บริหาร..............................................................................................................................................ค สารบญั ........................................................................................................................................................... จ สารบญั ตาราง ................................................................................................................................................ ฌ สารบัญภาพ ................................................................................................................................................... ญ บทท่ี 1 มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาการจัดการการท่องเที่ยวในท้องถ่ินอาชีพ นักเล่าเร่ือง ท้องถน่ิ ........................................................................................................................................................... 1 1.1 ตารางแผนผงั แสดงหน้าที่............................................................................................................... 1 1.2 คณุ วฒุ วิ ิชาชีพ อาชีพนกั เล่าเรือ่ งท้องถิ่น ชั้น 2............................................................................... 4 1.3 คุณลักษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) .................................................. 5 1.4 คณุ วฒุ ิวิชาชีพ อาชีพนกั เลา่ เรอ่ื งทอ้ งถ่ิน ชั้น 4............................................................................... 6 บทที่ 2 นักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน............................................................................................................................ 7 2.1 ความหมายของนักเล่าเรอ่ื งท้องถิ่น................................................................................................. 7 คาํ นิยามศัพท์นักเล่าเรอื่ งทอ้ งถิ่น ........................................................................................... 7 นิยามศัพท์ นักเล่าเรอื่ งทอ้ งถ่ินของบ้านท่าเย่ียม.................................................................... 7 2.2 บทบาทของนักเลา่ เรอ่ื งท้องถิ่นของบ้านท่าเย่ียม ............................................................................ 7 2.3 หน้าที่ของนักเล่าเรอ่ื งทอ้ งถิ่นของบ้านท่าเย่ียม............................................................................... 7 2.4 องค์ประกอบสมรรถนะ KSA (ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะ) ............................................ 8 บทท่ี 3 การส่ือสารและการต้อนรับของนักเล่าเร่อื งท้องถิ่น.......................................................................... 9 3.1 คณุ สมบตั ิในการเป็นนักเล่าเรอ่ื งทอ้ งถ่ิน .......................................................................................11 3.2 นกั เล่าเรื่องทอ้ งถิ่นกับการบริการ .................................................................................................11 3.3 เปรียบเทียบลักษณะงานบริการของนักเล่าเรื่องท้องถิ่น................................................................12 หลกั 2 ประการสําหรับนักเล่าเรอ่ื งทอ้ งถิ่นท่คี วรปฏิบตั ิต่อนักท่องเที่ยว .............................12 คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

ฉ ลักษณะของการต้อนรบั นกั ท่องเทย่ี ว...................................................................................12 ความสําคัญของการตอ้ นรับ.................................................................................................13 3.4 แนวทางปฏิบัติสาํ หรับนกั เล่าเร่ืองท้องถ่ินในการรับมือกับพฤตกิ รรมของนกั ท่องเที่ยว..................13 บทท่ี 4 เทคนิคการพูดสําหรบั นักเล่าเรื่องท้องถ่นิ .......................................................................................16 4.1 เทคนิคการพูดสําหรับนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ................................................................................18 พ้ืนฐานเก่ียวกับการพูด ..................................................................................................... 18 รูปแบบต่าง ๆ ของการพูด (Types of Speech)..........................................................18 วิธีการพูด (Method of Speaking) ...............................................................................18 บทที่ 5 รจู้ กั นักทอ่ งเที่ยวที่มาเยือนทอ้ งถิ่น .................................................................................................20 5.1 ทัศนคตขิ องนักเลา่ เรื่องทอ้ งถ่ินที่มีต่อนกั ท่องเที่ยว .......................................................................22 5.2 รูปแบบของทัศนคติของนักเล่าเรื่องท้องถิ่นท่ีมีต่อนักท่องเที่ยว.............................................22 บทที่ 6 เรือ่ งเล่าในฐานกิจกรรม ตามเส้นทางท่องเที่ยวในชุมชนบา้ นทา่ เย่ียม ..........................................24 6.1 หมวดอาหารท้องถิ่น.....................................................................................................................24 ปลาส้ม ................................................................................................................................24 ข้าวหมาก ............................................................................................................................25 ลาบยโส ............................................................................................................................... 25 ขนมครกโบราณบา้ นท่าเย่ียม...............................................................................................26 6.2 หมวดดนตรพี ื้นบ้าน......................................................................................................................26 โหวด ...................................................................................................................................26 โปงลาง ................................................................................................................................ 27 พณิ ......................................................................................................................................27 แคน ....................................................................................................................................28 กลอง ................................................................................................................................... 29 บกั ก๊ับแก๊บ...........................................................................................................................29 6.3 หมวดสมุนไพรพืน้ บ้าน .................................................................................................................30 การอบสมุนไพร ................................................................................................................... 30 คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

ช ประโยชน์การอบสมนุ ไพร....................................................................................................30 สมนุ ไพรที่ใชใ้ นการอบสมุนไพร ...........................................................................................30 กจิ กรรมฮมยาสมนุ ไพร ........................................................................................................31 กิจกรรมแชเ่ ท้าน้ําสมุนไพร ..................................................................................................31 6.4 หมวดทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถิ่น.............................................................................................32 นกประจําถิ่น ....................................................................................................................... 32 ผกั กระเฉด...........................................................................................................................33 เห็ดตับเต่า ........................................................................................................................... 34 ลาํ นํ้ากว้าง...........................................................................................................................35 6.5 หมวดวิถีชีวติ และความเชอื่ ...........................................................................................................36 การทําประมง ...................................................................................................................... 36 วิธีการใช้แห......................................................................................................................... 37 การทํานา ............................................................................................................................38 การบูชาพระแม่โพสพ .......................................................................................................... 38 การทําขันหมากเบ็ง .............................................................................................................39 6.6 การละเล่น....................................................................................................................................40 การทําว่าว ........................................................................................................................... 40 แลน่ บาว..............................................................................................................................41 แว่วเสียงสะนู....................................................................................................................... 41 การเล่นบ้าสะลอย ...............................................................................................................41 บทท่ี 7 ประวัติ ความเป็นมา และเร่ืองเล่าท่นี า่ สนใจในชมุ ชนบา้ นท่าเยี่ยม..............................................42 7.1 ประวตั ิบ้านท่าเยี่ยม......................................................................................................................42 7.2 การพฒั นาการท่องเท่ียวบ้านทา่ เย่ียม ...........................................................................................43 7.3 เร่อื งเล่าท่ีน่าสนใจในชุมชนบ้านท่าเย่ียม.......................................................................................43 ฐานทอผา้ คุณแมส่ ุบนั .........................................................................................................43 ฐานไก่ชน คณุ ตอ๋ มแต๋ม .......................................................................................................46 คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

ซ ฐานกระบวย (พอ่ คาํ ปุน)......................................................................................................49 ฐานตระกร้าสานสวย (คุณนํ้าฝน มีศิริ) ................................................................................50 ฐานกิจกรรมบ้ังไฟ ...............................................................................................................51 ฐานแพะ .............................................................................................................................. 55 ฐานสวนสมุนไพร ................................................................................................................. 55 ฐานไร่นาสวนผสม (พ่อยา) ..................................................................................................55 ฐานนาทาม (พอ่ สมบูรณ์) ....................................................................................................56 7.4 สว่ นสรุป.......................................................................................................................................57 คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

ฌ สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1 ตารางแสดงหน้าท่ี.......................................................................................................................... 1 ตารางที่ 2 ตารางแผนผังแสดงหน้าท่ีงาน........................................................................................................ 2 ตารางที่ 3 แสดงสมรรถนะของนกั เล่าเร่ืองทอ้ งถิ่น.......................................................................................... 8 ตารางท่ี 4 เปรียบเทียบลักษณะการกระทําทดี่ แี ละการกระทําทีไ่ ม่ดตี ่อนักทอ่ งเที่ยว ....................................12 ตารางที่ 5 แนวทางปฏิบตั ิในการรับมือตอ่ พฤตกิ รรมนักทอ่ งเท่ียว.................................................................14 คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

ญ สารบญั ภาพ หน้า รปู ที่ 1 เครอื่ งดนตรี “โหวด”.......................................................................................................................26 รูปที่ 2 เครื่องดนตรี “โปงลาง” ...................................................................................................................27 รูปท่ี 3 เครอ่ื งดนตรี “พิณ” .........................................................................................................................27 รูปที่ 4 เครอ่ื งดนตรี “แคน”........................................................................................................................28 รปู ที่ 5 เครอ่ื งดนตรี “กลองยาว” ................................................................................................................29 รปู ท่ี 6 เครอ่ื งดนตรี “บักก๊ับแก๊บ” ..............................................................................................................29 รูปท่ี 7 ฮมยาสมนุ ไพร..................................................................................................................................31 รูปท่ี 8 แช่เท้าน้ําสมุนไพร............................................................................................................................32 รปู ที่ 9 ลํานํ้ากว้าง .......................................................................................................................................35 รปู ท่ี 10 นาข้าว...........................................................................................................................................38 รปู ท่ี 11 การทําขันหมากเบ็ง .......................................................................................................................39 รปู ท่ี 12 การทําว่าว.....................................................................................................................................40 รูปที่ 13 อุปกรณ์การทอผ้า..........................................................................................................................44 รปู ที่ 14 ขั้นตอนการทอผ้า ..........................................................................................................................45 รปู ท่ี 15 ไก่ชนพม่า......................................................................................................................................46 รปู ท่ี 16 ไก่ชนพันธ์ุประดู่หางดํา ..................................................................................................................47 รูปที่ 17 สาธิตการอาบน้ําไกช่ น...................................................................................................................48 รูปที่ 18 นําไก่ชนผ่งึ แดดรับวติ ามินดี ...........................................................................................................48 รปู ท่ี 19 อุปกรณใ์ นการทํากระบวย: มะพร้าวที่ถูกผ่าเอาเน้อื ออก ลูกหมู สว่าน กาว ขีเ้ ลือ่ ย.....................49 รปู ท่ี 20 กระบวยทป่ี ระกอบด้ามสําเร็จรูป...................................................................................................49 รูปที่ 21 กิจกรรมฐานตระกรา้ สานสวย........................................................................................................50 รปู ท่ี 22 การฟ้อนบั้งไฟ ...............................................................................................................................51 รปู ท่ี 23 การตกี ลองประกอบจงั หวะฟ้อนรํา ................................................................................................52 รูปที่ 24 วตั ถุดิบที่ใชใ้ นการประกอบบั้งไฟ...................................................................................................53 รปู ที่ 25 การแห่บั้งไฟ ..................................................................................................................................53 รูปที่ 26 บ้ังไฟเลก็ สําหรับนักท่องเท่ียว ........................................................................................................54 รูปท่ี 27 การจดุ บ้ังไฟเล็กจากฐานยิงบ้ังไฟ...................................................................................................54 รูปที่ 28 ป่าบุ่งป่าทาม .................................................................................................................................56 คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคาํ อําเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

บทท่ี 1 มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาการจัดการการท่องเที่ยวในท้องถ่ินอาชพี นักเล่าเรื่องท้องถ่ิน 1.1 ตารางแผนผังแสดงหน้าท่ี ตารางท่ี 1 ตารางแสดงหนา้ ท่ี ความม่งุ หมายหลัก บทบาทหลกั หน้าทห่ี ลกั Key Purpose Key Roles Key Functions คําอธิบาย รหัส คําอธิบาย รหสั คาํ อธบิ าย 0801 เล่าเรอื่ ง ย ก ร ะ ดั บ ก า ร จั ด ก า ร 08 เล่าเร่ืองที่ชํานาญอย่างรู้ ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น ใ ห้ มี ถูก รู้ลึก รู้จริง และรู้ 0802 สอื่ สาร คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ย่ั ง ยื น บ น กว้าง พ้ืนฐานอัตลักษณ์ และวิถี 0803 ส่ง เ ส ริมก าร จัด กิ จกรรม เรียนรู้รว่ มกนั ไทยโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชน คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

2 ตารางที่ 2 ตารางแผนผังแสดงหน้าทีง่ าน หน้าทหี่ ลัก หน่วยสมรรถนะ หน่วยสมรรถนะย่อย Key Function Unit of Competence Element of Competence รหัส คําอธิบาย รหัส คําอธิบาย รหสั คําอธิบาย 0801 เล่าเรือ่ ง 080101 ออกแบบเทคนิคการเล่า 080101.1 เตรยี มขอ้ มูลของทอ้ งถ่ิน 0802 สอ่ื สาร เร่ืองท้องถ่ินอย่างมีสาระ 080101.2 จัดเตรยี มเน้ือหาเกี่ยวกับ และอรรถรส เรอ่ื งทเ่ี ล่า 080101.3 เล่าเร่ืองท้องถิ่นได้อย่างมีสาระ และอรรถรส 080102 พัฒนาบุคลิกภาพนักเล่า 080102.1 ใช้ภาษาในการเล่าเร่ืองอย่าง เรื่องท้องถ่ิน ถกู ต้องชัดเจน 080102.2 แสดงออกถึงความเป็นท้องถ่ิน ด้วยการแต่งกายและการใช้ภาษา ถน่ิ 080102.3 แสดงท่าทางประกอบการเล่า เรื่องอย่างเหมาะสมและถูกกาละ เทศ 080103 พัฒนาคุณสมบัตินักเล่า 080103.1 ฝกึ ทกั ษะการเลา่ เร่ือง เรอ่ื งท้องถ่ิน 080103.2 ฝกึ การใช้เทคนคิ การเล่าเรอ่ื ง 080103.3 รวบรวมความรเู้ รอ่ื งท้องถ่ิน 080201 เลา่ เรื่องเพอ่ื การจดจํา 080201.1 เลา่ เร่อื งเชิงเปรียบเทยี บ 080201.2 ส่ือความหมายเร่ืองราวของ ทอ้ งถิน่ 080201.3 ใช้ภาษาในการเล่าเรื่องเชิง เปรียบเที ยบถูก ต้อ ง ต ร ง กั บ ข้อเท็จจรงิ 080202 สื่อสารเพื่อสร้างความ 080202.1 เชื่อมและสร้างความเข้าใจวิถีชีวิต ต ร ะ ห นั ก รู้ แ ก่ อัต ลัก ษ ณ์ ศิ ลปะ ปร ะเ พณี นกั ท่องเทยี่ ว วฒั นธรรมท้องถ่นิ แกน่ กั ทอ่ งเท่ียว 080202.2 บอกกล่าวแก่นักท่องเท่ียวถึงข้อ ควรปฏิบัติและพึงระวังเกี่ยวกับ คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

3 หน้าท่หี ลกั หน่วยสมรรถนะ หน่วยสมรรถนะย่อย Key Function Unit of Competence Element of Competence รหัส คําอธิบาย รหสั คาํ อธบิ าย รหสั คาํ อธบิ าย วั ฒ น ธ ร ร ม ค ว า ม เ ช่ื อ ข นบ ธ ร ร ม เ นี ย ม แ ล ะ จา รี ต ประเพณขี องท้องถ่ิน 080202.3 ส่ือสารข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติ ของนักท่องเท่ียวให้แก่ผู้มีส่วน เกยี่ วข้องและฝ่ายจดั การทราบ 0803 ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด 080301 ส นั บ ส นุ น ก า ร จั ด 080301.1 รู้ถึงความสนใจของนักท่องเที่ยว กิ จ ก ร ร ม เ รี ย น รู้ กิ จ ก ร ร ม เ รี ย น รู้ ใ ห้ กลมุ่ เป้าหมาย ร่วมกนั นักทอ่ งเท่ียวมสี ว่ นร่วม 080301.2 ก ร ะ ตุ้ น ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง นักท่องเที่ยวให้กระตือรือร้นที่จะ ทาํ ความรจู้ กั ชุมชนและสัมผสั วิถชี วี ิตผา่ นการเล่าเรอ่ื ง 080301.3 ส นั บ ส นุ น กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ ใ ห้ กั บ นกั ทอ่ งเทย่ี ว 080302 จั ด ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น 080302.1 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนด้าน วัฒนธรรมระหว่างชุมชน วัฒนธรรมท้องถิ่น และนักทอ่ งเท่ียว 080302.2 จัดกิจกรรมเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิต พิธีกรรม ความเชื่อ ประเพณีของ ทอ้ งถิน่ 080302.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้ น ฟู ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ท้องถิ่น คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

4 1.2 คณุ วุฒิวิชาชพี อาชีพนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ช้ัน 2 คณุ ลักษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) ผู้มสี มรรถนะทางเทคนคิ ในการประยกุ ต์หลักการ ในสาขาวิชาชีพการท่องเท่ียว การโรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจัดการการท่องเท่ียวในท้องถิ่น โดยปฏิบัติหน้าท่ีครอบคลุมสมรรถนะ ชั้น 2 น้ันคือ สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้ภาษาในการเล่าเร่ืองท่ีถูกต้องชัดเจน พร้อมท้ังแสดงท่าทางประกอบการเล่า เร่อื งอยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะและสะท้อนความเปน็ ท้องถิ่น รวมถึงสามารถส่อื สารเพอ่ื สร้างความตระหนักรู้ แก่นักท่องเที่ยว โดยการเชื่อมโยงและสร้างความเข้าใจวิถีชีวิต อัตลักษณ์ ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมแก่ นักท่องเที่ยว ตลอดจนสามารถสื่อสารให้นักท่องเที่ยวทราบถึงข้อควรปฏิบัติและพึงระวังเก่ียวกับวัฒนธรรม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีของท้องถิ่น และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้มีส่วน เกย่ี วข้องกับนกั ท่องเที่ยว การเล่ือนระดับคุณวุฒิวิชาชพี (Qualification Pathways) ผทู้ จ่ี ะผ่านการประเมินและไดร้ บั การรับรองคุณวุฒวิ ิชาชีพ อาชีพนักเลา่ เรอ่ื งท้องถ่ิน ช้ัน 2 ได้ต้อง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ที่ครอบคลมุ หน่วยสมรรถนะ ดังนี้ ชั้น 2 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ รวม จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ กลมุ่ บุคคลในอาชีพ (Target Groups) อาชีพนักเลา่ เรื่องท้องถิ่น บุคคลในอาชีพนักเล่าเร่ือง ซ่ึงมีหน้าที่ปฏิบตั ิงานในการเล่าเร่อื งของทอ้ งถิ่น ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเรื่องชุมชน นักสื่อความหมายท้องถิ่น นักเล่านิทานท้องถ่ิน ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชมุ ชน คนนาํ เท่ยี วในชุมชน เปน็ ต้น หมายเหตุ : ผู้ที่จะเข้ารับการประเมินในอาชีพนกั เลา่ เรื่องตอ้ งเป็นบคุ คลที่มีความรูค้ วามสามารถในการเล่า เร่ืองของทอ้ งถ่ินนั้นๆ ได้เปน็ อย่างดี หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะท้งั หมดของคุณวุฒิวชิ าชีพนี้) 080102 พฒั นาบคุ ลิกภาพนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น 080202 สือ่ สารเพอ่ื สรา้ งความตระหนักรูแ้ ก่นักทอ่ งเท่ียว คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

5 คุณวฒุ วิ ิชาชีพ อาชีพนกั เล่าเรื่องทอ้ งถ่ิน ช้ัน 3 1.3 คณุ ลักษณะของผลการเรยี นรู้ (Characteristics of Outcomes) ผมู้ ีสมรรถนะทางเทคนิคในการประยกุ ต์หลกั การ ในสาขาวิชาชีพการทอ่ งเที่ยว การโรงแรม ภตั ตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจดั การการทอ่ งเที่ยวในทอ้ งถิ่น โดยปฏบิ ัติงานทค่ี รอบคลุมสมรรถนะ ชนั้ 2 ตลอดจน สามารถพัฒนาคุณสมบัตินักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ฝึกเล่าเร่ือง ฝึกการใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง และรวบรวมความรู้ เรื่องเล่าของท้องถิ่น พร้อมทั้งทราบถึงความสนใจของนักท่องเท่ียวเป้าหมาย และสนับสนุนจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีสร้างประสบการณ์ให้นักท่องเท่ียวได้มีส่วนร่วม เพ่ือกระตุ้นความสนใจของนักท่องเท่ียวให้ กระตือรือร้นที่จะทําความรู้จักชุมชนที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต พิธีกรรม ความเชื่อ ประเพณีของท้องถิ่นและสัมผัสวิถี ชีวิตผ่านการเล่าเรื่อง รวมท้ังจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจน สง่ เสริมกิจกรรมแลกเปลยี่ นวัฒนธรรมระหว่างชุมชนกับนกั ทอ่ งเทยี่ ว การเลื่อนระดับคุณวุฒิวิชาชพี (Qualification Pathways) ผูท้ ่ีจะผ่านการประเมินและได้รบั การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพนกั เล่าเรอื่ งท้องถ่ิน ชั้น 3 ได้ตอ้ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทค่ี รอบคลมุ หน่วยสมรรถนะ ดังนี้ ช้ัน 2 จํานวน 2 หนว่ ยสมรรถนะ ช้ัน 3 จํานวน 3 หน่วยสมรรถนะ รวม จํานวน 5 หน่วยสมรรถนะ กล่มุ บคุ คลในอาชีพ (Target Groups) อาชพี นักเล่าเรอ่ื งท้องถิ่น บุคคลในอาชีพนกั เล่าเรอ่ื ง ซ่ึงมหี นา้ ที่ปฏิบตั ิงานในการเล่าเรือ่ งของท้องถิ่น ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเร่ืองชุมชน นักส่ือความหมายท้องถ่ิน นักเล่านิทานท้องถ่ิน ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชมุ ชน คนนําเทย่ี วในชุมชน เป็นตน้ หมายเหตุ : ผ้ทู ี่จะเข้ารับการประเมินในอาชพี นักเล่าเร่ืองต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการเล่า เร่ืองของท้องถ่นิ น้ันๆ ได้เปน็ อย่างดี หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะท้ังหมดของคุณวุฒิวิชาชีพนี้) 080102 พฒั นาบคุ ลิกภาพนักเลา่ เร่ืองท้องถิ่น 080103 พัฒนาคุณสมบัตินกั เล่าเรอื่ งทอ้ งถิ่น 080202 สอื่ สารเพอ่ื สร้างความตระหนักรู้แก่นกั ท่องเท่ียว 080301 สนับสนุนการจดั กิจกรรมเรียนรู้ให้นกั ท่องเท่ียวมีส่วนร่วม 080302 จัดการแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมระหว่างชุมชนและนักท่องเท่ียว คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

6 1.4 คณุ วุฒิวิชาชีพ อาชีพนักเลา่ เร่ืองท้องถิ่น ชั้น 4 คุณลกั ษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) ผู้มีสมรรถนะทางเทคนิคในการประยกุ ต์หลกั การ ในสาขาวิชาชีพการท่องเท่ียว การโรงแรม ภตั ตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจัดการการท่องเท่ยี วในท้องถ่ิน โดยปฏิบัติงานท่ีครอบคลุมสมรรถนะ ช้ัน 2 และ ช้ัน 3 ตลอดจนสามารถกําหนดเทคนิคการเล่าเร่ืองท้องถ่ินอย่างมีสาระและอรรถรส โดยการจัดเตรียมเน้ือหาและ ข้อมูลของท้องถ่ิน รวมทั้ง สามารถเล่าเร่ืองเพื่อการจดจําและเล่าเรื่องเชิงเปรียบเทียบ ตลอดจนส่ือความหมาย เร่ืองราวของท้องถ่ินดว้ ยภาษาทถี่ ูกต้องและตรงกับขอ้ เท็จจริง การเล่ือนระดับคณุ วุฒิวิชาชีพ (Qualification Pathways) ผู้ทจี่ ะผ่านการประเมินและไดร้ บั การรับรองคณุ วฒุ ิวิชาชีพ อาชีพนกั เล่าเร่อื งท้องถิ่น ช้ัน 4 ได้ตอ้ ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทีค่ รอบคลมุ หน่วยสมรรถนะ ดังน้ี ชั้น 2 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ ช้ัน 3 จํานวน 3 หน่วยสมรรถนะ ชั้น 4 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ รวม จาํ นวน 7 หน่วยสมรรถนะ กลุม่ บุคคลในอาชีพ (Target Groups) อาชีพนักเล่าเรื่องทอ้ งถิ่น บคุ คลในอาชีพนักเล่าเรอื่ ง ซึง่ มีหน้าที่ปฏิบัติงานในการเลา่ เรอ่ื งของท้องถ่ิน ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเร่ืองชุมชน นักสื่อความหมายท้องถ่ิน นักเลา่ นิทานท้องถ่ิน ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชมุ ชน คนนําเทีย่ วในชุมชน เปน็ ตน้ หมายเหตุ : ผทู้ จี่ ะเขา้ รบั การประเมินในอาชพี นักเล่าเรอ่ื งต้องเป็นบคุ คลที่มคี วามรู้ความสามารถในการเล่า เรอ่ื งของท้องถนิ่ น้ันๆ ได้เปน็ อย่างดี หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะท้ังหมดของคุณวุฒิวชิ าชีพนี้) 080101 ออกแบบเทคนิคการเล่าเรื่องทอ้ งถิ่นอย่างมสี าระและอรรถรส 080102 พัฒนาบคุ ลกิ ภาพนักเลา่ เรื่องทอ้ งถ่ิน 080103 พัฒนาคุณสมบัตินักเล่าเรอ่ื งท้องถ่ิน 080201 เล่าเรือ่ งเพอื่ การจดจํา 080202 สือ่ สารเพือ่ สร้างความตระหนกั รู้แก่นักท่องเท่ียว 080301 สนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรใู้ ห้นักทอ่ งเที่ยวมีส่วนรว่ ม 080302 จัดการแลกเปลี่ยนวฒั นธรรมระหว่างชุมชนและนกั ท่องเที่ยว คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

บทท่ี 2 นักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน นักเล่าเรื่องท้องถิ่นป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวมากท่ีสุด เป็นด่านแรกท่ีพบปะนักท่องเท่ียว ก่อนคนอื่น ๆ ในชุมชน การเป็นตัวแทนชุมชนถือได้ว่ามีความสําคัญและเป็นภาพลักษณ์ท่ีสร้างความทรงจํา และความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวท่ีได้พบเจอ ดังนั้นบทบาท หน้าที่และความสําคัญของนักเล่าเรื่อง ทอ้ งถนิ่ มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ความหมายของนักเล่าเรื่องท้องถ่นิ คาํ นยิ ามศัพท์นกั เล่าเร่ืองทอ้ งถ่ิน ผู้นําเสนอเร่ืองราวเกี่ยวกับข้อมูลสําคัญที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของพื้นที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวตั คิ วามเป็นมาของท้องถิ่น วิถชี ีวติ ประเพณแี ละวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น และกจิ กรรมทางการทอ่ งเท่ียวของ ทอ้ งถิ่นให้กับนักท่องเท่ียวที่มาเยี่ยมเยือนในชุมชน นยิ ามศพั ท์ นกั เล่าเรอื่ งท้องถนิ่ ของบ้านท่าเยยี่ ม ผู้นําเสนอเร่ืองราวเกี่ยวกับข้อมูลสําคัญที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของพ้ืนท่ีเก่ียวกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน ประวัติความเป็นมาของท้องถ่ิน วิถีชวี ติ ประเพณีและวัฒนธรรมของทอ้ งถิน่ และกจิ กรรมทางการทอ่ งเที่ยวของ ท้องถ่ินใหก้ บั นกั ทอ่ งเที่ยวที่มาเยี่ยมเยือนในชุมชนบ้านท่าเย่ียม ต.เขอื่ งคาํ อ.เมืองยโสธร จ.ยโสธร 2.2 บทบาทของนักเลา่ เร่ืองท้องถ่ินของบ้านท่าเยี่ยม นักเล่าเรื่องท้องถ่ินมีบทบาทในการต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยอัธยาศัยที่ดี ในฐานะตัวแทนของคนใน ชุมชนเป็นผู้ที่ทราบในรายะเอียดเกี่ยวกับข้อมูลกิจกรรมท่องเที่ยวของชุมชน สามารถบอกเล่าที่มาของ ผลิตภัณฑ์ในชุมชนได้ นําเสนอเรื่องราวผ่านการเล่าเร่ืองของชุมชนให้นักท่องเท่ียวฟัง และส่ือสารวัฒนธรรม ประเพณีในทอ้ งถ่ิน วถิ ชี ีวิต ดว้ ยความเข้าใจอย่างถูกตอ้ ง 2.3 หน้าที่ของนักเลา่ เร่ืองท้องถ่ินของบ้านท่าเย่ียม นักเล่าเรื่องท้องถ่ินทําหน้าที่เป็นเจ้าบ้านที่ดี สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว อํานวยความ สะดวกให้กับนักท่องเท่ียว โดยให้ข้อมูลและความรู้กับนักท่องเที่ยว ดูแลความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวและ สามารถสือ่ สารการปฏิบตั กิ ิจกรรมทางการทอ่ งเที่ยวในแต่ละกิจกรรมเพอื่ ให้นกั ทอ่ งเที่ยวสามารถปฏิบัติตามได้ คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

8 2.4 องค์ประกอบสมรรถนะ KSA (ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะ) ความรู้ K (Knowledge) สําหรับนักเล่าเรื่องท้องถิ่นหมายถึง ความรู้ในเร่ืองราวที่เก่ียวกับประวัติ ความเปน็ มาท้องถิ่น วิถชี ีวิต ขนบธรรมเนมี ประเพณตี ่าง ๆ ในชมุ ชนบ้านท่าเย่ียม ทักษะ S (Skills) สําหรับนักเล่าเร่ืองท้องถ่ินหมายถึง ความสามารถในการให้บริการนําเท่ียวกับ นักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมเยือนในชุมชนบ้านท่าเย่ียม โดยการนําเสนอเร่ืองราวในท้องถ่ินผ่านการเล่าเรื่องด้วย เทคนิคการพูดและการนําเสนอเร่อื งเล่าได้อย่างน่าสนใจ คุณสมบัติสําคัญ A (Attributes) สําหรับนักเล่าเรื่องท้องถ่ินหมายถึง การรู้จักการวางตัวและการมี ทศั นคติที่ดีต่อนกั ทอ่ งเที่ยวผูม้ าท่องเท่ียวเย่ียมเยือนในชุมชนบ้านท่าเยี่ยม ดังนนั้ รายละเอียดของสมรรถนะนักเล่าเรอ่ื งทอ้ งถิ่นได้แสดงรายละเอียดในตารางที่ 1 ดงั นี้ ตารางท่ี 3 แสดงสมรรถนะของนักเล่าเรอ่ื งท้องถ่ิน สมรรถนะสาํ หรบั นกั เล่าเร่ืองท้องถน่ิ ความรู้ K (Knowledge) ทกั ษะ S (Skills) คุณสมบตั ิสําคญั A (Attributes) -ประวัติท้องถิน่ -การเลา่ เรอ่ื ง - มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ จ ต ค ติ ใ น ง า น -เร่ืองเลา่ ท้องถิน่ -การส่ือสารในงานบริการ บริการ -อัตลกั ษณท์ อ้ งถ่ิน -การเชอ่ื มโยงเรือ่ งราว -มารยาทและการวางตัว -ศลิ ปะทอ้ งถน่ิ -การแก้ไขปัญหาเฉพาะ -วฒั นธรรมท้องถ่นิ หน้า -ความเชอ่ื ทอ้ งถน่ิ -ขนบธรรมเนยี มท้องถน่ิ -จารตี ประเพณีของท้องถิ่น คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

บทท่ี 3 การสื่อสารและการตอ้ นรับของนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เก่ียวกับมารยาท และศิลปะในการต้อนรับนักท่องเท่ียวได้ 2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีปฏิภาณไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง คณุ วฒุ วิ ชิ าชีพ อาชีพนกั เลา่ เร่ืองท้องถิ่น ชน้ั 2 คุณลักษณะของผลการเรยี นรู้ (Characteristics of Outcomes) ผูม้ สี มรรถนะทางเทคนิคในการประยุกต์หลักการ ในสาขาวิชาชีพการทอ่ งเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจัดการการท่องเที่ยวในท้องถ่ิน โดยปฏิบัติหน้าที่ครอบคลุมสมรรถนะ ช้ัน 2 น้ันคือ สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้ภาษาในการเล่าเร่ืองท่ีถูกต้องชัดเจน พร้อมทั้งแสดงท่าทางประกอบการเล่า เรอื่ งอยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะและสะท้อนความเปน็ ทอ้ งถ่ิน รวมถงึ สามารถสอ่ื สารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ แก่นักท่องเที่ยว โดยการเช่ือมโยงและสร้างความเข้าใจวิถีชีวิต อัตลักษณ์ ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมแก่ นักท่องเที่ยว ตลอดจนสามารถสื่อสารให้นักท่องเที่ยวทราบถึงข้อควรปฏิบัติและพึงระวังเก่ียวกับวัฒนธรรม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีของท้องถ่ิน และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้มีส่วน เกยี่ วข้องกับนกั ท่องเที่ยว การเลื่อนระดับคุณวุฒิวชิ าชพี (Qualification Pathways) ผ้ทู จี่ ะผ่านการประเมินและไดร้ ับการรับรองคณุ วุฒวิ ิชาชีพ อาชีพนกั เล่าเรอ่ื งท้องถิ่น ชั้น 2 ได้ตอ้ ง ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ที่ครอบคลมุ หน่วยสมรรถนะ ดงั น้ี ชั้น 2 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ รวม จาํ นวน 2 หน่วยสมรรถนะ กลุ่มบคุ คลในอาชีพ (Target Groups) อาชพี นกั เล่าเรื่องทอ้ งถ่ิน บคุ คลในอาชพี นักเล่าเรื่อง ซงึ่ มีหนา้ ที่ปฏิบตั ิงานในการเล่าเรือ่ งของทอ้ งถิ่น ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเรื่องชุมชน นักส่ือความหมายท้องถิ่น นักเล่านิทานท้องถ่ิน ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชมุ ชน คนนําเท่ยี วในชุมชน เป็นต้น หมายเหตุ : ผู้ท่ีจะเข้ารับการประเมินในอาชีพนักเลา่ เรื่องตอ้ งเป็นบคุ คลทมี่ ีความรคู้ วามสามารถในการเล่า เร่ืองของทอ้ งถิ่นนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะท้งั หมดของคุณวุฒิวชิ าชีพนี้) 080102 พฒั นาบุคลิกภาพนักเลา่ เรื่องทอ้ งถิ่น 080202 สอื่ สารเพอ่ื สรา้ งความตระหนักรูแ้ ก่นักท่องเที่ยว คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

10 ชือ่ หนว่ ยสมรรถนะ: พัฒนาบคุ ลกิ ภาพนกั เล่าเรือ่ งทอ้ งถ่ิน ช้นั 2 หน่วยสมรรถนะ หน่วยสมรรถนะย่อย เกณฑก์ ารปฏิบัตงิ าน หวั ข้อในการอบรม Unit of Competence Element of Competence Performance Criteria Training topics 080102.1 ใช้ภาษาใน การเล่า 1.1 ใชภ้ าษาอย่างถกู ต้อง 1.ภาษาถ่ินและท่าทางการ 080102 เรอ่ื งอย่างถูกต้องชัดเจน 1.2 ใช้ภาษาที่สามารถสื่อสาร สอื่ สาร พฒั นาบุคลิกภาพ ถึงเรอ่ื งท่ีเลา่ ได้อย่างชดั เจน นกั เลา่ เรอ่ื งท้องถน่ิ 080102.2 แสดงออกถึงความ 2.1 แต่งกายชุดท้องถ่ิน 1.การแตง่ กายท้องถ่ิน เป็นทอ้ งถิ่นดว้ ยการแตง่ กาย 2.2 ใช้ภาษาถ่นิ การเสริมสร้างสมรรถนะ และการใช้ภาษาถนิ่ 1.เทคนิคการนําเสนอเร่ือง 080102.3 แสดงท่าทาง 3.1 แสดงท่าทางประกอบตรง เล่า (Enhancing performance) ประกอบการเล่าเรื่องอย่าง กบั เรือ่ งเล่า เหมาะสมและถูกกาลเทศะ 3.2 แสดงอารมณ์ความรู้สึก ทักษะ-S (Skills) เพ่ือกระตุ้นความสนใจอย่างได้ S1-การเล่าเรื่องท้องถิ่น จังหวะสอดคลอ้ งกับเนือ้ หา S2-การส่ือสารภาษาถ่ิน คุณสมบตั ิสําคัญ-A (Attribute) A1-มีความเข้าใจทศั นคติในงาน บริการ A2-มารยาทและการวางตัว ความรู้-K (Knowledge) ระยะเวลาอบรม: 3 ชั่วโมง คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

11 3.1 คณุ สมบตั ิในการเป็นนักเลา่ เรื่องท้องถิ่น นักเล่าเรือ่ งท้องถ่ินควรมีคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 1. มีความรับผิดชอบรักในงานบริการ นักเล่าเรื่องท้องถิ่นควรมีความรับผิดชอบชื่อสัตย์ทั้งต่อตัวเอง และผู้อื่น มคี วามมุ่งมนั่ ท่มุ เท ทํางานบรกิ ารด้วยความตงั้ ใจใหด้ ที ่ีสุด 2. มีความเช่ือมั่นในการทํางานรู้จักการควบคุมตนเอง นักเล่าเรื่องท้องถ่ินจะต้องมีความเชื่อม่ันใน ร้จู ักควบคุมอารมณ์และความรู้สึกมกี ารวางตัวอย่างสุภาพเหมาะสมกับกาละเทศะ 3. มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ นักเล่าเรื่องท้องถิ่นต้องรู้จักคิดต่อเติม ดัดแปลง หรือพัฒนารูปแบบ บรกิ ารทีด่ ีขึ้น เพือ่ เพม่ิ ความพอใจให้นกั ทอ่ งเที่ยวอยูเ่ สมอ 4. สามารถวิเคราะห์และหาทางแก้ไขปัญหา นักเล่าเรื่องท้องถ่ินต้องรู้จักใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติ ตามท่ีนักท่องเท่ียวต้องการ โดยคํานึงถึงผลได้ผลเสียที่จะเกิดข้ึน ยอมรับความผิดพลาดและพร้อมปรับปรุง แกไ้ ขใหด้ ขี ึ้น 3.2 นักเลา่ เร่ืองท้องถิ่นกับการบริการ การบริการ (SERVICE) เป็นส่ิงสําคัญท่ีจะทําให้นักท่องเท่ียวพึงพอใจและกลับมาท่องเที่ยวซ้ํา ท้ังน้ี ต้องได้รับการบริการที่ดีจากนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน และตรงตามความต้องการของนักท่องเท่ียวด้วย ส่ิงที่ นักท่องเที่ยวเปรียบเทียบนอกเหนือจากคุณภาพของการบริการ และราคาที่สมเหตุสมผลก็คือ การบริการที่น่า ประทบั ใจทง้ั ก่อน และหลงั จากการท่องเท่ียวในชุมชนสิ้นสดุ ลง การบรกิ ารจึงเป็นเร่ืองของการเพิ่มคุณค่าให้กับ ท้องถ่ินน้ัน ๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจสิ่งที่นักเล่าเรื่องท้องถิ่นจะสามารถตอบสนองความคาดหวังของ นักทอ่ งเทีย่ วคือ ความสะดวก ความรวดเร็ว ความถูกตอ้ ง ความสมบูรณ์ ความคาดหวังของนักท่องเท่ียวแบง่ ออกไดด้ ังน้ี 1. สิ่งท่ีเห็นได้ นักท่องเที่ยวมีคาดหวังที่จะได้เห็นอุปกรณ์และสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจัดเตรียมไว้มี ความเพยี งพอตอ่ การใช้บริการ 2. ความรู้สึกร่วม นักท่องเที่ยวมีคาดหวังที่จะไดร้ ับการต้อนรับดูแลอย่างอบอุ่น ให้ความสนใจ รู้สึกมี ความสําคัญและให้เกียรติจากนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน นักเล่าเร่ืองท้องถิ่นควรให้บริการด้วยความเต็มใจ จริงใจ และทนั ทว่ งที 3. ความเช่ือถือได้ นักท่องเที่ยวคาดหวังว่า นักเล่าเรื่องท้องถ่ินสามารถนําเท่ียวภายในท้องถิ่น ด้วย การนําเสนอข้อมูลท่ีถูกต้องเหมาะสม ถามตอบในรายละเอียดบางประการที่ต้องการทราบเพ่ิมเติมได้ นักทอ่ งเทย่ี วสามารถไว้ใจได้ ดงั นนั้ นกั ท่องเที่ยวจึงมีความคาดหวังในการบริการทรี่ วดเรว็ และถกู ตอ้ ง ดว้ ยอธั ยาศัยไมตรีจากนักเล่า เร่ืองท้องถิ่น ซึ่งแสดงออกทางใบหน้าท่ีย้ิมแย้มแจ่มใส พูดจาไพเราะ สุภาพ มีความเป็นกันเอง ให้คําแนะนํา และใหข้ อ้ มูลทีเ่ ข้าใจง่าย มีเหตุมีผล เพ่ือใหน้ กั ท่องเท่ียวเกิดความประทับใจ คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

12 3.3 เปรยี บเทยี บลักษณะงานบริการของนักเลา่ เรื่องท้องถิ่น หลกั 2 ประการสาํ หรับนักเล่าเรอ่ื งท้องถ่ินที่ควรปฏบิ ัติต่อนกั ท่องเทีย่ ว 1. สร้างความเป็นมิตรอบอุ่นใจ ทักทายด้วยรอยย้ิมบนใบหน้า เพราะย้ิม ย่อมแสดงความเป็นมิตร ตรงข้ามกบั หน้างอแสดงความไม่ยนิ ดีตอ้ นรับ 2. ตอบข้อสงสัยของนักท่องเที่ยวอย่างถูกต้องเหมาะสม นักเล่าเร่ือง ท้องถ่ินให้ความรู้ในเร่ืองท่ัวไปเก่ียวกับข้อมูลท่องเท่ียวในท้องถ่ิน ผลิตภัณฑ์ บริการและข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน รวมถึงการแก้ปัญหาและ ให้การ ชว่ ยเหลอื นักท่องเที่ยว ตารางที่ 4 เปรียบเทียบลักษณะการกระทาํ ทีด่ แี ละการกระทําที่ไม่ดตี ่อนักท่องเทีย่ ว ลกั ษณะการกระทําท่ดี ี ลกั ษณะการกระทําท่ีไมด่ ี 1. ตรงตอ่ เวลา มาตามเวลาที่นัดหมายกับ 1. ไม่ตรงต่อเวลา มาสาย ผิดเวลาท่ีนัดหมายกับ นกั ท่องเที่ยว นกั ท่องเทีย่ ว 2. สนใจสอบถามความตอ้ งการของนักทอ่ งเท่ยี ว 2. ละเลยความต้องการของนักท่องเที่ยว ยึดถอื ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเที่ยวเป็นสําคัญ เพกิ เฉย ไม่สนใจนกั ท่องเที่ยว 3. พูดจาสุภาพ 3. พูดจาหยาบคาย 4. กลา่ วชนื่ ชมนักทอ่ งเทย่ี ว 4. ตาํ หนนิ ักท่องเท่ียว 5. แสดงกริยาเหมาะกับสมกาลเทศะ 5. แสดงกริยาไม่เหมาะสมกบั สมกาลเทศะ ลกั ษณะของการตอ้ นรับนักท่องเที่ยว การต้อนรับทางตรง เป็นการพบเจอนักท่องเที่ยวซ่ึงหน้า (Face-to-Face Communication) เช่น เริ่มตั้งแต่นักเล่าเร่ืองท้องถ่ินให้การต้อนรับ นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชน นํานักนักท่องเที่ยวชมกิจกรรม ทางการท่องเท่ียวตามโปรแกรมนําเท่ียว และส่งนักท่องเท่ียวเดินทางกลับเมื่อ สิน้ สดุ กิจกรรมทางการท่องเที่ยวในชุมชน การต้อนรับทางอ้อม เป็นการไม่พบเจอนักท่องเที่ยวซ่ึงหน้า นักเล่าเร่ือง ท้องถิ่นให้ข้อมูลนักท่องเที่ยวทางโทรศัพท์ (Interposed Communication) เช่น การตอบคําถามทางโทรศพั ท์ การให้บริการทางไปรษณีย์ ทางโทรสาร e- mail ซ่ึงข้อมูลท่ีส่ือสารนําส่งออกไปต้องมีรายละเอียดที่ความถูกต้อง เช่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวที่สามารถทํากิจกรรมทางการ ทอ่ งเทยี่ วได้ คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

13 ความสาํ คัญของการต้อนรับ การต้อนรับเป็นจุดเร่ิมต้นของความสัมพันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวและชุมชน นอกจากจะทําให้เกิด ความรู้สึกที่ดีต่อนักท่องเท่ียวแล้ว ยังเช่ือมโยงไปถึงความรู้สึกที่ดีต่อนักเล่าเร่ืองท้องถิ่นและชุมชน เป็นการ ประชาสมั พันธ์ให้แก่แหลง่ ท่องเที่ยวโดยตรง แนวทางปฏิบัติในการต้อนรับนักท่องเที่ยวของนักเล่าเร่ืองท้องถิ่นที่จะสร้าง ความพึงพอใจมดี ังนี้ 1. แตง่ กายสุภาพ สะอาดเรียบร้อย ถกู กาลเทศะ และประเพณนี ิยม 2. ยม้ิ แย้มแจ่มใสทั้งใบหน้าและกลา่ วทักทายให้รู้สกึ เป็นกันเอง 3. กระตอื รือรน้ ในการรบั ฟังและตอบข้อซกั ถามหลีกเลย่ี งการปฏเิ สธ 4. พูดจาสุภาพ อ่อนน้อม นา่ เชอ่ื ถือ มีความอดกล้ัน 5. ปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมและให้เกียรติกับนักทอ่ งเที่ยว 6. ทักทายถกู ต้องเหมาะสม ควรจะใชค้ ําทักทายกลางๆ ว่า “คุณ” 7. ใชค้ าํ พูดน่าฟัง เชน่ “ขอบคณุ ครับ” “ขอโทษครบั ” ขอ้ ควรระวงั ในการแสดงออกของนกั เล่าเรือ่ งท้องถ่ิน 1. สีหน้าแสดงความหงุดหงิดรําคาญใจ นักเล่าเร่ืองท้องถ่ินต้องระมัดระวังควบคุมสี หนา้ และการแสดงออกในทกุ ๆ ทาง เพอ่ื จะไมท่ ําให้นกั ทอ่ งเที่ยวเกิดความไมส่ บายใจ 2. การทําเสียงไม่พอใจ นักเล่าเร่ืองท้องถิ่นหากเกิดอารมณ์ขุ่นมัวและไม่ควบคุม ตนเอง ก็อาจจะมีเสยี งแสดงอารมณ์ความหงุดหงดิ ออกมาใหไ้ ด้ยิน 3. ชวนนักท่องเท่ียวพูดคุยมากจนเกินไป นักเล่าเรื่องท้องถิ่นแม้จะพูดถูกคอกับ นักท่องเทยี่ ว และมีอธั ยาศัยตอ้ งกัน กไ็ ม่ควรจะพดู คุยกับนกั ท่องเที่ยวนานเกินไป 4. หน้าตาเคร่งเครียดเย็นชา นักเล่าเรื่องท้องถ่ินแสดงสีหน้าท่าทางในทางลบจะทํา ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วรู้สึกว่านักเล่าเร่ืองท้องถิ่นไม่ใส่ใจ 5. ทํางานอ่ืนท่ีไม่จําเป็นต่อหน้านักท่องเที่ยว การท่ีนักเล่าเรื่องท้องถ่ินห่วงงานค้าง และยังทําต่อในขณะท่ีมีนักท่องเท่ียวอยู่ด้วยเป็นการผิดมารยาทอย่างยิ่ง เพราะเป็นการแสดงกริยาสื่อ ความหมายในทํานองไม่สนใจ และไมใ่ หค้ วามเอาใจใสต่ อ่ นกั ทอ่ งเที่ยว 3.4 แนวทางปฏิบัตสิ ําหรับนักเลา่ เรื่องท้องถ่ินในการรับมือกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว การแสดงออกทางพฤตกิ รรมของนักท่องเท่ียวจะมีหลากหลายตามอุปนิสยั และอารมณ์ ไมม่ ีขอ้ กําหนด ใด ๆ ท่ีจะปฏิบัติต่อผู้ให้บริการอย่างถูกต้องเหมาะสมในทุกกรณี จากประสบการณ์ของแต่ละคนก็จะพบความ คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

14 จริงด้วยตนเองว่า นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่เป็นคนดีน่าติดต่อต้อนรับและให้บริการ คงมีนักท่องเที่ยวบางส่วนที่มี พฤติกรรมน่ารังเกียจ แต่ต้องไม่ลืมคําท่ีว่า “มีนักท่องเท่ียวจึงมีเรา” “หมดนักท่องเท่ียวเราก็หมดส้ิน” “นักท่องเท่ียวมีสิทธิเลือกเรา แต่เราไม่มีสิทธิเลือกนักท่องเท่ียว” ดังน้ันวิธีการรับมือและแนวทางแก้ไขต่อ พฤติกรรมของนกั ท่องเท่ียวทเี่ ป็นปัญหา สามารถปฏิบตั ิไดด้ ังตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 5 แนวทางปฏบิ ัตใิ นการรบั มือต่อพฤตกิ รรมนกั ท่องเทีย่ ว พฤตกิ รรมของนักท่องเที่ยว แนวทางปฏบิ ัติตอ่ นกั ทอ่ งเที่ยว 1. ไม่ฟังใคร ได้ข้อมูลมาผิดๆ ก็ยืนกระต่ายขา -ฟงั เขาพดู เดยี ว ไมร่ บั ฟงั เหตุผล -ถามเขาบ้างแตอ่ ย่าซักเขาว่าได้ขอ้ มลู มาจากใคร -ใหเ้ ขาแสดงออกอย่างเต็มท่ี -ชแ้ี จงแกเ่ ขาเพียงสั้นๆ 2. ติทุกสิ่งทุกอย่างท่ีจะสรรหามาติ ติสารพดั ท้ัง -ปลอ่ ยเขาพดู อยา่ ขัด สนิ คา้ ราคา บรกิ าร -แย้งเขาบ้าง แตไ่ มพ่ ูดขดั คอ -บอกจดุ เดน่ ของสนิ ค้าและบรกิ ารให้เห็นชัด 3. จูจ้ ้ีขบ้ี น่ พดู เสียงดัง วางท่า ใชก้ ิรยิ าไม่ -พยายามชวนเขาไปพูดในทีท่ ่ีไม่มคี น สภุ าพ เหน็ ผใู้ หบ้ ริการตํ่าต้อยกว่าตน -ปล่อยให้เขาบ่นตามสบาย -อย่าสนใจกริยาท่าทางของเขา -จับความให้ได้ว่าเขาต้องการอะไร -สนองตอบตามควร 4. ชอบคุยเร่ืองความร่ํารวยและการกล้าใช้จา่ ย -ฟังอย่างเงียบๆ อย่างไร ไม่กลัวส้นิ เปลอื ง -ปล่อยใหค้ ยุ ใหพ้ อ -ใหค้ วามเห็นท่ัวๆไป -อย่าผสมโรง หรือซักถามใดๆ -ชแี้ จงเร่อื งเท่าท่ีจาํ เป็น 5. มอี าการรบี ร้อน ต้องการใหบ้ ริการอยา่ งทนั -ปรับตัวปรับใจให้วอ่ งไวกับเขา อกทันใจ รออะไรไมเ่ ป็น ขีร้ ําคาญ -บอกวา่ จะต้องทําอะไรบ้าง ใชเ้ วลาเท่าไหร่ -ไม่ควรซกั ถามอะไรเขามาก -ดาํ เนินการอย่างรวดเร็ว 6. สุภาพ พูดชา้ ๆ ท่าทีสขุ มุ ซกั ถามเปน็ ระยะ -ใหร้ ายละเอยี ดตามที่เขาต้องการ พดู ไมร่ ู้จบ -ใจเยน็ ๆ อย่าเรง่ รัดเขานกั -ระวงั การแสดงสหี น้าเบื่อหน่ายความเชอ่ื งช้า ของเขา คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

พฤตกิ รรมของนักท่องเทีย่ ว 15 7. ชอบตสิ นิ ค้า แนวทางปฏบิ ัติตอ่ นกั ท่องเท่ียว 8. ชาวต่างชาตพิ ูดไทยไม่ได้หรือพดู ไมช่ ดั -รบั ฟงั เพราะเป็นธรรมชาติของการต่อรอง -อธบิ ายคุณสมบัติของสินค้าให้นักทอ่ งเท่ียวเข้าใจ -เสนอจดุ ขายท่ีสินค้าเรามี -ขอให้เขารอสักครู่ -นําคนที่พูดภาษาเดียวกับเขามาพบ -ฝกึ ฝนตนเองใหใ้ ชภ้ าษาองั กฤษซึ่งเป็นภาษา สากลใหไ้ ด้ คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

บทท่ี 4 เทคนิคการพูดสําหรับนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เก่ียวรูปแบบต่าง ๆ ของการพูดเพ่ือนําเสนอการเล่าเร่ือง คุณวฒุ วิ ชิ าชีพ อาชีพนักเล่าเร่อื งทอ้ งถ่ิน ชัน้ 2 คุณลักษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) ผมู้ ีสมรรถนะทางเทคนิคในการประยุกต์หลักการ ในสาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจัดการการท่องเที่ยวในท้องถิ่น โดยปฏิบัติหน้าที่ครอบคลุมสมรรถนะ ชั้น 2 นั้นคือ สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้ภาษาในการเล่าเร่ืองที่ถูกต้องชัดเจน พร้อมทั้งแสดงท่าทางประกอบการเล่า เรอื่ งอย่างเหมาะสมกับกาลเทศะและสะท้อนความเป็นท้องถ่ิน รวมถงึ สามารถส่อื สารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ แก่นักท่องเท่ียว โดยการเชื่อมโยงและสร้างความเข้าใจวิถีชีวิต อัตลักษณ์ ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมแก่ นักท่องเที่ยว ตลอดจนสามารถสื่อสารให้นักท่องเท่ียวทราบถึงข้อควรปฏิบัติและพึงระวังเกี่ยวกับวัฒนธรรม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีของท้องถิ่น และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้มีส่วน เกีย่ วขอ้ งกับนักท่องเที่ยว การเลื่อนระดับคุณวุฒิวิชาชพี (Qualification Pathways) ผทู้ จ่ี ะผ่านการประเมินและไดร้ ับการรับรองคุณวุฒวิ ิชาชีพ อาชีพนักเล่าเร่อื งท้องถ่ิน ช้ัน 2 ได้ต้อง ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ที่ครอบคลุมหน่วยสมรรถนะ ดงั น้ี ช้ัน 2 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ รวม จาํ นวน 2 หน่วยสมรรถนะ กลมุ่ บคุ คลในอาชีพ (Target Groups) อาชพี นกั เล่าเร่ืองทอ้ งถิ่น บคุ คลในอาชพี นกั เล่าเรอ่ื ง ซ่ึงมีหนา้ ที่ปฏิบัติงานในการเล่าเรอื่ งของท้องถิ่น ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเร่ืองชุมชน นักสื่อความหมายท้องถิ่น นักเล่านิทานท้องถ่ิน ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชมุ ชน คนนาํ เท่ยี วในชุมชน เป็นต้น หมายเหตุ : ผู้ที่จะเข้ารับการประเมินในอาชีพนกั เล่าเรือ่ งตอ้ งเป็นบคุ คลที่มีความรูค้ วามสามารถในการเล่า เรอ่ื งของท้องถิ่นนั้นๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

17 หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะทงั้ หมดของคณุ วุฒิวิชาชีพนี้) 080102 พัฒนาบคุ ลิกภาพนักเลา่ เรื่องทอ้ งถิ่น 080202 สื่อสารเพ่ือสรา้ งความตระหนักร้แู ก่นักท่องเที่ยว ชื่อหน่วยสมรรถนะ: พฒั นาบคุ ลิกภาพนักเล่าเรอ่ื งทอ้ งถนิ่ ชนั้ 2 หน่วยสมรรถนะ หน่วยสมรรถนะย่อย เกณฑก์ ารปฏิบัติงาน หวั ข้อในการอบรม Unit of Competence Element of Competence Performance Criteria Training topics 080102 พฒั นาบุคลิกภาพ 080102.1 ใช้ภาษาใน การเล่า 1.1 ใชภ้ าษาอยา่ งถกู ตอ้ ง 1.ภาษาถ่ินและท่าทางการ นักเลา่ เรอ่ื งท้องถน่ิ เรอ่ื งอยา่ งถกู ต้องชัดเจน 1.2 ใช้ภาษาท่ีสามารถส่ือสาร ส่ือสาร การเสริมสรา้ มรรถนะ ถงึ เรอ่ื งทเี่ ล่าไดอ้ ย่างชัดเจน (Enhancing performance) 080102.2 แสดงออกถึงความ 2.1 แต่งกายชุดทอ้ งถิ่น 1.การแต่งกายท้องถ่ิน ทักษะ-S (Skills) S2-การส่ือสารภาษาถ่ิน เป็นท้องถิ่นด้วยการแต่งกาย 2.2 ใชภ้ าษาถิ่น S3-การเช่ือมโยงเร่ืองเล่า และการใชภ้ าษาถ่ิน ท้องถ่ิน 0 8 0 1 0 2 . 3 แ ส ด ง ท่ า ท า ง 3.1 แสดงท่าทางประกอบตรง 1.เทคนิคการนําเสนอเร่ือง คุณสมบัติสําคญั -A (Attribute) ประกอบการเล่าเรื่องอย่าง กบั เร่อื งเล่า เล่า A1-มคี วามเข้าใจทัศนคติใน งานบรกิ าร เหมาะสมและถกู กาลเทศะ 3.2 แสดงอารมณ์ความรู้สึก A2-มารยาทและการวางตัว เพื่อกระตุ้นความสนใจอย่างได้ จังหวะสอดคลอ้ งกับเนือ้ หา ความรู้-K (Knowledge) - ระยะเวลาอบรม: 3 ช่ัวโมง คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

18 4.1 เทคนิคการพูดสําหรับนักเล่าเรื่องท้องถิ่น การพูด คือการสื่อสารความคิดจากผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง โดยอาศัยนํ้าเสียง ภาษา และกิริยาท่าทาง เป็นสื่อ การพูดเป็นทั้งศาสตร์ และศิลป์ นักเล่าเรื่องท้องถิ่นจะต้องฝึกฝนเทคนิคการพูด เพื่อทําหน้าที่ ในการนําเสนอเรื่องราวท้องถ่ินให้กับนักท่องเที่ยวในระหว่างทํากิจกรรมทางการท่องเท่ียว พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด 1. คนทุกคน (ที่ไม่เป็นใบ้) ย่อมพูดได้ แต่บางคนเท่าน้ันที่พูดเป็น 2. การพูดเป็นทั้งศาสตร์ และศิลป์ 3. นักพูดที่ดีไม่จําเป็นต้องอาศัยพรสวรรค์เสมอไป หากจะสามารถทําให้เกิดขึ้นได้ ด้วยการศึกษา และการฝึกฝน 4. ในโลกนี้ไม่มีใครพูดเก่งเสียจนไม่มีทางที่จะปรับปรุงให้ดีกว่าเดิมได้อีก 5. การฝึกพูดต่อที่ชุมชนเป็นวิธีท่ีให้ผลดีมากที่สุดต่อการปรับปรุงบุคลิกภาพ ทั้ง บุคลิกภาพภายนอกและบุคลิกภาพภายใน รูปแบบต่าง ๆ ของการพูด (TYPES OF SPEECH) 1. แบบจูงใจ (PERSUASIVE SPEECH) หรือชักชวน เรียกร้อง เกลี้ยกล่อม โน้มน้าว 2. แบบบอกเล่า (INSTRUCTIVE SPEECH) หรือบรรยาย สอน อบรม ชี้แจง 3. แบบบันเทิง (RECREATIVE SPEECH) หรือแบบสังสรรค์ วิธีการพูด (METHOD OF SPEAKING) 1. ท่องจํามาพูด (MEMORIZED SPEECH) ทําให้การพูดไม่เป็นธรรมชาติ ผู้พูดเสียบุคลิก อาจมีการหลงลืมในเน้ือหาท่ีพูดบางตอน ทาํ ให้เสียเวลานึก และบางครั้งก็นึกไม่ออก 2. อ่านจากต้นฉบับ (READING THE SPEECH) ควรใช้เฉพาะในบางกรณี เช่น งานพิธีการ กล่าวรายงาน กล่าวเปิดงาน หรือต่อพระพักตร์ 3. พูดจากความเข้าใจ (EXTEMPORE-SPEECH) อาจจดมาเฉพาะหัวข้อที่จะพูด เป็น วิธีการที่ดีที่สุดเพราะผู้พูดจะเป็นตัวของตัวเอง การพูดเป็นธรรมชาติเนื่องจากผู้พูด สามารถยืดหยุ่นเน้ือหาสาระที่พูดได้ 4. พูดแบบกระทันหัน (IMPROMPTU SPEECH) ไม่มีการเตรีมตัวล่วงหน้า ผู้พูดต้องมี ความรู้และความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาที่พูด ตลอดจนมีทักษะในการพูด จึงจะทําให้ การพูดน่าสนไจ แต่ถ้าผู้พูดมีคุณสมบัติตรงข้ามที่กล่าวมาแล้ว ย่อมจะเกิดความล้ม เหลวในการพูดได้อย่างแน่นอน การเตรียมการพดู ของนกั เล่าเรอื่ งทอ้ งถิน่ มี 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ขั้นสํารวจ 2. ข้ันกําหนดโครงเรื่อง 3. ขั้นฝึกหัด คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

19 1.ขั้นสํารวจ - หาจุดมุ่งหมายของการพูดว่าพูดกับใคร โอกาสอะไร - วิเคราะห์ผู้ฟังเกี่ยวกับ วัย การศึกษา จาํ นวน ศาสนา อาชีพ กลุ่มสนใจ อะไร - ศึกษาเก่ียวกับการพูดของผู้พูดคนอ่ืน ๆ ด้วย (ถ้าพูดหลายคน) ว่าผู้ที่พูดก่อนพูด อะไร ผู้ฟังพร้อมจะฟังไหม ให้พูดในเรื่องที่ผู้ฟังจะสนใจ 2.ขั้นกาํ หนดโครงเร่ือง - รวบรวมวัตถุดิบท่ีจะนํามาพูดให้ได้มาก ต้องเป็นนักอ่าน นักฟัง และนักจดจํา - จํากัดขอบเขตของเรื่องที่จะพูด พูดให้ตรงประเด็น ไม่พูดโจมตีผู้อื่นถ้าไม่เกี่ยวข้อง 3.ข้ันฝึกหัด แบ่งออกเป็น 3 ขั้นคือ ขั้นขึ้นต้น ขั้นดําเนินเรื่อง ขั้นจบ ทุกขั้นผู้พูดต้องหลีกเลี่ยง เร่ืองต่อไปนี้ - การพูดออกตัว - การพูดถ่อมตัว - การดูถูกเหยียดหยามคนฟัง 3.1 ข้ันขึ้นต้น กระทาํ ได้หลายวิธีการ เลือกใช้ให้เหมาะสม ดังนี้ - แบบพาดหัวข่าว หนังสือพิมพ์ หรือบอกผลก่อนแล้วอธิบายเหตุการณ์ - แบบตั้งคําถาม (ใช้เสียงดัง) - เล่าสถานการณ์หรือเหตุการณ์เพื่อให้ผู้ฟังสงสัย - อ้างวาทะหรือบทกวีของผู้มีชื่อเสียง 3.2 ขั้นดําเนินเรื่อง - ตรงเวลา ตามลําดับ - ตรงเรื่อง พูดให้เร้าอารมณ์ เน้นให้ติดตามโดยใช้นํ้าเสียงและท่าทาง - พร้อมท่ีจะทบทวนและเพิ่มเติมได้ 3.3 ขั้นจบ กระทําได้หลายวิธี เลือกใช้ให้เหมาะสม ดังน้ี - สรุปความ บอกข้อดี - ข้อเสีย - ให้ข้อคิด (ถ้ายังหาข้อสรุปไม่ได้) - เรียกร้องชักชวน (ต้องพูดให้ผู้ฟังเช่ือถือและทําในส่ิงน้ัน) - ใช้วาทะหรือบทกวีของผู้มีช่ือเสี่ยง - เปิดเผยความสัมพันธ์ สรุป นักเล่าเรื่องท้องถิ่นต้องฝึกพูดให้มีศิลปะจะต้องระลึกเสมอว่าในขั้นฝึกหัดนั้นจะต้อง \"ขึ้นต้นให้ตื่นเต้น ดาํ เนินเรื่องให้กลมกลืน และจบให้จับใจ\" คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

บทท่ี 5 รู้จักนักท่องเท่ียวที่มาเยือนท้องถิ่น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในมุมมองของนักท่องเท่ียวท่ีมาท่องเท่ียวในท้องถ่ิน คณุ วฒุ วิ ิชาชีพ อาชพี นกั เลา่ เรอ่ื งทอ้ งถ่ิน ชน้ั 2 คณุ ลักษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes) ผ้มู ีสมรรถนะทางเทคนิคในการประยุกตห์ ลกั การ ในสาขาวิชาชีพการทอ่ งเท่ียว การโรงแรม ภตั ตาคาร และร้านอาหาร สาขาการจัดการการท่องเท่ียวในท้องถิ่น โดยปฏิบัติหน้าท่ีครอบคลุมสมรรถนะ ชั้น 2 น้ันคือ สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้ภาษาในการเล่าเร่ืองท่ีถูกต้องชัดเจน พร้อมท้ังแสดงท่าทางประกอบการเล่า เรื่องอย่างเหมาะสมกับกาลเทศะและสะท้อนความเป็นท้องถ่ิน รวมถงึ สามารถสือ่ สารเพือ่ สร้างความตระหนักรู้ แก่นักท่องเท่ียว โดยการเชื่อมโยงและสร้างความเข้าใจวิถีชีวิต อัตลักษณ์ ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมแก่ นักท่องเท่ียว ตลอดจนสามารถสื่อสารให้นักท่องเที่ยวทราบถึงข้อควรปฏิบัติและพึงระวังเก่ียวกับวัฒนธรรม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีของท้องถิ่น และสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้มีส่วน เก่ียวขอ้ งกับนักทอ่ งเท่ียว การเลื่อนระดับคณุ วุฒิวชิ าชพี (Qualification Pathways) ผู้ท่ีจะผ่านการประเมนิ และไดร้ ับการรับรองคุณวฒุ วิ ิชาชีพ อาชีพนกั เลา่ เร่อื งท้องถ่ิน ชั้น 2 ไดต้ อ้ ง ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ที่ครอบคลมุ หนว่ ยสมรรถนะ ดังน้ี ชั้น 2 จํานวน 2 หน่วยสมรรถนะ รวม จาํ นวน 2 หน่วยสมรรถนะ กลมุ่ บคุ คลในอาชีพ (Target Groups) อาชีพนักเลา่ เรอื่ งทอ้ งถิ่น บคุ คลในอาชีพนกั เล่าเร่ือง ซ่งึ มหี นา้ ที่ปฏิบัติงานในการเล่าเร่อื งของทอ้ งถ่ิน ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน นักเล่าเร่ืองชุมชน นักสื่อความหมายท้องถ่ิน นักเล่านิทานท้องถิ่น ไกด์ชุมชน ผู้นํา ชุมชน คนนําเทีย่ วในชุมชน เป็นต้น หมายเหตุ : ผู้ทีจ่ ะเข้ารบั การประเมนิ ในอาชีพนกั เล่าเร่อื งตอ้ งเปน็ บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการเล่า เรื่องของท้องถิ่นนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

21 หน่วยสมรรถนะ (หน่วยสมรรถนะทง้ั หมดของคณุ วุฒิวิชาชีพน้ี) 080102 พัฒนาบุคลิกภาพนกั เล่าเรอ่ื งทอ้ งถ่ิน 080202 ส่อื สารเพือ่ สร้างความตระหนกั รู้แกน่ กั ทอ่ งเท่ียว ชือ่ หน่วยสมรรถนะ: พฒั นาบุคลิกภาพนักเล่าเรื่องท้องถ่นิ ชั้น 2 หน่วยสมรรถนะ หน่วยสมรรถนะย่อย เกณฑก์ ารปฏิบัตงิ าน หัวข้อในการอบรม Unit of Competence Element of Competence Performance Criteria Training topics 080102.1 ใช้ภาษาใน การเล่า 1.1 ใชภ้ าษาอยา่ งถูกต้อง 1.ภาษาถิ่นและท่าทางการ 080102 เรอ่ื งอย่างถกู ตอ้ งชัดเจน 1.2 ใช้ภาษาท่ีสามารถส่ือสาร สื่อสาร พฒั นาบุคลิกภาพ ถึงเรื่องท่ีเล่าไดอ้ ยา่ งชดั เจน นักเล่าเรือ่ งท้องถิ่น 080102.2 แสดงออกถึงความ 2.1 แตง่ กายชดุ ท้องถ่นิ 1.การแต่งกายท้องถิ่น เป็นท้องถิ่นด้วยการแต่งกาย 2.2 ใชภ้ าษาถนิ่ การเสริมสรา้ งมรรถนะ และการใช้ภาษาถ่ิน 1.เทคนิคการนําเสนอเรื่อง 0 8 0 1 0 2 . 3 แ ส ด ง ท่ า ท า ง 3.1 แสดงท่าทางประกอบตรง เลา่ (Enhancing performance) ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ล่ า เ ร่ื อ ง อ ย่ า ง กับเรื่องเล่า เหมาะสมและถูกกาลเทศะ 3.2 แสดงอารมณ์ความรู้สึก ทกั ษะ-S (Skills) เพ่ือกระตุ้นความสนใจอย่างได้ S2-การส่ือสารภาษาถ่ิน จังหวะสอดคลอ้ งกับเนื้อหา คุณสมบัติสําคญั -A (Attribute) A1-มคี วามเข้าใจทศั นคติใน งานบริการ ความรู้-K (Knowledge) - ระยะเวลาอบรม: 3 ช่ัวโมง คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

22 5.1 ทศั นคติของนักเล่าเร่ืองท้องถ่ินทีม่ ีต่อนักท่องเท่ียว นักเล่าเร่ืองถิ่นเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่ จึงมีความ จําเปน็ ตอ้ งมีทัศนคติทด่ี ีตอ่ นักท่องเที่ยว เข้าใจในพฤตกิ รรมและการบริการนําเที่ยวในพื้นที่ชุมชนด้วยความเต็ม ใจโดยความสําคัญ ดังน้ี 1. ทัศนคติช่วยให้นักเล่าเร่ืองท้องถ่ินวางกรอบแนวทางในการให้บริการได้ตรงตามความ ต้องการของนักท่องเที่ยว เน่ืองจากทัศนคติของนักท่องเท่ียวจะเป็นส่ิงท่ีบ่งบอกถึงความคิด ความต้องการ ความคาดหวังในการเข้ารับบริการ นักเล่าเรื่องท้องถ่ินสามารถสํารวจทัศนคติของนักท่องเท่ียวเพื่อจัดหาแนว ทางการบรกิ ารท่ีตรงกับความคิด ความต้องการ หรือความคาดหวังของนกั ท่องเที่ยวได้ 2. ทัศนคติช่วยให้นักเล่าเร่ืองท้องถ่ินทราบว่านักท่องเท่ียวมีความพึงพอใจหรือไม่ โดยสํารวจ จากแบบสอบถาม คําแนะนํา ข้อตําหนิ และข้อร้องเรียนจากนักท่องเท่ียวนํามาพิจารณาซึ่งจะเป็นประโยชน์ สาํ หรบั ใช้ในการนําไปปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป ดังนั้นทัศนคติของนักเล่าเรื่องท้องถ่ินที่มีนักท่องเที่ยวมีความสําคัญต่อมุมมองในการ ให้บริการ ท่ีมีความเหมือนหรือแตกต่างกันข้ึนอยู่กับข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ที่ได้รับจึงกลายมาเป็น ความคิด ความรู้ และความรู้สึกท่ีมีต่อส่ิงต่าง ๆ การที่นักเล่าเรื่องท้องถิ่น ศึกษาทําความเข้าใจทัศนคติของ นักทอ่ งเที่ยวทําให้รู้ถึงพฤตกิ รรมการแสดงออก สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียวได้ ก่อให้เกิด ความประทับใจที่ได้รับจากบริการที่ตรงตามความต้องการและตรงตามที่คาดหวัง คุ้มค่ากับเงิน เวลา แรงงาน และทรพั ยากรทีส่ ญู เสยี ไป 5.2 รูปแบบของทัศนคติของนักเล่าเรื่องท้องถ่ินท่ีมีต่อนักท่องเท่ียว ทัศนคติ คือ วิธีการคิด มุมมองของบุคคล ซ่ึงจะกาํ หนดการกระทําต่อการดําเนินชีวิตประจําวัน เป็น ที่แสดงออกของลักษณะนิสัยบุคคล นักเล่าเรื่องท้องถ่ินจําเป็นต้องรู้จักทัศนคติทั้ง 4 รูปแบบ ของ โทมัส เอ แฮรีส (THOMAS A. HARRIS, 1969) ซ่ึงแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบดังน้ี 1. ทัศนคติแบบตัวเราดี คนอ่ืนไม่ดี (I am OK. You are not OK) คือ บุคคลท่ีมีทัศนคติในการ มองผู้อ่ืนว่าตํ่าต้อยกว่าตนเอง ไม่เห็นคุณค่าผู้อื่น บุคคลท่ีมีทัศนคติแบบนี้มักแสดงออกด้วยการดูถูกไม่ยอมรับ ความสามารถของบุคคลอื่น เชื่อม่ันในตนเองมากเกินไป ไม่ไว้วางใจบุคคลอื่น อาจมีปัญหาในการทํางานและ การดําเนินชวี ิตประจําวัน 2. ทัศนคติแบบตัวเราไม่ดี คนอื่นดี (I am not OK. You are OK) บุคคลท่ีมีทัศนคติแบบนี้ มัก มองตนเองต่ําต้อย ไม่เห็นคุณค่าในตนเอง คิดว่าตนไม่ดี ไม่มีความสามารถ มีความเชื่อมั่นในตนเองตํ่า อาจทํา ให้เกดิ ความเครยี ด ความทอ้ แทใ้ จและไม่มีความสขุ ได้ 3. ทัศนคติแบบตัวเราไม่ดี คนอื่นก็ไม่ดี (I am not OK. You are not OK.) บุคคลที่มีทัศนคติ น้ี มักไม่ยอมรับตนเองและผอู้ ื่น ไมส่ ามารถอยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนได้ มักหมดอาลัยตายอยากในชีวิต ไม่เห็นคุณค่าของสิ่ง ใด ไมม่ ีความหวงั เปน็ ภาวะจิตที่บกพร่องหากรุนแรงมากอาจทําร้ายตนเองและผ้อู ่ืนได้โดยไมร่ ้สู ึกผดิ คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

23 4. ทัศนคติแบบตัวเราดี คนอ่ืนก็ดี (I am OK. You are OK) เป็นทัศนคติของบุคคลท่ีมองตนเอง และผู้อืน่ ในด้านดี เห็นศกั ยภาพท้ังของตนเองและบุคคลอื่น บคุ คลทม่ี ที ัศนคติแบบนี้จะทําให้การทํางานและใช้ ชีวิตประจําวันราบรื่น มักมีสุขภาพจิตดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีความเช่ือม่ันในตนเองแต่ให้เกียรติผู้อ่ืนด้วย กล้า เผชิญปญั หา และคดิ แกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ เห็นได้ว่าทัศนคติของนักเล่าเร่ืองท้องถ่ินท่ีมีต่อนักท่องเท่ียวนั้น ส่งผลต่อการแสดงออกทาง พฤติกรรมและอาจกลายเป็นลักษณะนิสัยที่แสดงออกถึงบุคลิกภาพ ซึ่งส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล อืน่ ท้งั ในชวี ิตประจาํ วันและการทํางาน ของนักเลา่ เร่อื งทอ้ งถน่ิ คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

บทท่ี 6 เร่ืองเล่าในฐานกิจกรรม ตามเสน้ ทางทอ่ งเที่ยวในชมุ ชนบ้านท่าเยยี่ ม นักเล่าเร่ืองท้องถิ่นสามารถนําเสนอเรื่องเล่าท้องถิ่นในชุมชน ให้กับนักท่องเท่ียวที่มาท่องเท่ียวใน ชุมชนได้รับทราบเรื่องราว ในบทนี้ได้รวบรวมเรื่องเล่าในท้องถิ่นของบ้านท่าเยี่ยมโดยแบ่งเป็นหมวดต่าง ๆ ดังน้ี 6.1 หมวดอาหารท้องถ่ิน ปลาสม้ ปลาส้ม ถือได้ว่าเป็นการถนอมอาหารจากภูมิปัญญาของชาวอีสานท่ีสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ซึ่ง ส่วนใหญ่จะมีในชุมชนอยู่ติดริมแม่นํ้า เนื่องจากปลาส้มเป็นผลิตภัณฑ์จากปลานํ้าจืดท่ีนํามาหมักท้ังตัวหรือเอา เฉพาะเนื้อร่วมกับข้าวน่ึงสุก และเกลือ จนได้ผลิตภัณฑ์ปลาส้มท่ีมีรสเปรี้ยว เน้ือปลานุ่ม และมีกล่ินหอม โดย แต่ละพื้นถิ่นมีสูตรการทําท่ีเป็นเอกลักษณ์ ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมซ่ึงอยู่ติดกับแม่นํ้ากว้างที่เปรียบเสมือนเส้นเลือด ใหญ่หลอ่ เล้ยี งคนในชุมชนมาอย่างยาวนาน ดว้ ยความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ํากว้าง คนในชุมชนได้ทําประมงนํ้า จืดจนกลายเป็นอาชีพในปัจจุบัน แต่ด้วยความอุดมสมบูรณ์น้ีเองทําให้ในแต่ละครั้งชาวบ้านสามารถจับปลาได้ เป็นจํานวนมาก เม่ือเหลือจากการบริโภคก็เกิดแนวคิดที่จะแปรรูปปลาเหล่าน้ันให้สามารถรับประทานได้นาน จึงก่อเกิดเป็นปลาส้มสูตรอัตลักษณ์ของท้องถ่ินขึ้นมา ซ่ึงส่วนใหญ่จะใช้ปลาตะเพียนเน่ืองจากมีก้างค่อนข้าง เยอะและเน้ือละเอียด มาทําเป็นปลาส้มสับหรือท่ีชาวบ้านเรียกว่าปลาส้มขูดนั่นเอง นอกจากนี้ยังมีการนําปลา สวายมาทําเป็นปลาส้มช้ิน เนอื่ งจากมีเนอ้ื เยอะและจํานวนก้างนอ้ ย เหมาะแก่การนํามานําเป็นปลาส้มชิ้นใหญ่ จุดเด่นของปลาส้มบ้านท่าเยี่ยมคือปลาได้มาจากแม่นํ้าธรรมชาติ มีตลอดทั้งปี เนื้อปลาอร่อย แน่นไม่ ยุ่ย จึงม่ันใจได้ว่ามีความสะอาดและปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สามารถเก็บรักษาได้นานประมาณ 1 เดอื น เหมาะสาํ หรับการซื้อเป็นของฝากให้กับนกั ท่องเท่ียว วธิ ีเตรยี มเน้ือปลา 1. นําปลาตะเพียนมาขอดเกลด็ 2. แล่ปลา เอาไส้ออก (ไสป้ ลาเอาไปทําส้มไข่ปลาได)้ 3. เอาชอ้ นขดู เฉพาะเนอ้ื ไม่ให้ติดหนัง 4. เอาเนือ้ ที่ขดู มาสับ (หากปน่ั เน้อื ปลาจะละเอียดไม่อร่อย) คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

25 ส่วนประกอบ ได้แก่ เน้ือปลา1 กิโลกรัม ข้าวสวยหุง 250 กรัม ข้าวเหนียวนึ่ง กระเทียม ปอกเปลือกสับ 200 กรัม เกลือ 500 กรัม วิธที ํา 1. ใส่เกลอื กระเทียมปลอกเปลอื กสบั และข้าวสวยคลกุ เคลา้ ใหเ้ ข้ากัน 2. นาํ เขา้ เหนียวน่ึงและใสเ่ นอ้ื ปลาที่เตรียมไว้นํามานวดต่อ 10 นาที 3. เสร็จเรียบร้อย เอาใส่กล่องเก็บไว้ 2 คืน ท่ีอุณหภูมิปกติ ไม่แช่เย็น ปิดผนึกให้สนิทไม่ให้ ออกซิเจนเข้าไปได้ 4. หลังจาก 2 คนื สามารถเอาออกมาทอดพรอ้ มทาน ขา้ วหมาก ข้าวหมากนิยมกินในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ช่วงลงแขกเกี่ยวข้าว งานบุญบ้ังไฟ งานบุญผะเหวด ซ่ึง ข้าวหมาก หรือ ข้าวละหมาก มีส่วนผสมคือ ข้าวเหนียวนึ่ง (เป็นข้าวเหนียวเก่า คือ ข้าวเหนียวท่ีเก็บเกี่ยว ฤดูกาลที่แล้ว เพราะหากทําข้าวเหนียวใหม่จะทําให้น่ิมไม่อร่อย) ใช้ข้าวเหนียวน่ึง 1 กิโลกรัม แป้งข้าวหมาก 1 ก้อนนาํ มาบดให้ละเอียด วิธีทาํ 1. นาํ ขา้ วเหนียวเกา่ มาล้างให้สะอาดจํานวน 10 คร้ัง 2. นําข้าวเหนียวที่ล้างแล้วมาผึ่ง สะเดด็ นาํ้ 3. นาํ ข้าวเหนียวที่สะเด็ดน้ําแลว้ กับแป้งข้าวหมากท่ีบดแล้วมาคลกุ เคล้าให้เข้ากัน 4. คลุกเคลา้ เสรจ็ เรยี บร้อยนาํ มาห่อใบตองหรือใสก่ ล่องท้งิ ไว้ 3 คืน (ถ้าทําเป็นสาโทใส่ไหจะต้องทงิ้ ไว้ 3 อาทติ ย)์ เป็นอันเสรจ็ เรียบร้อย ลาบยโส ร้านอาหารในชุมชนซึ่งเป็นสมาชิกวิสาหกิจฯ มีการออกแบบชุดอาหารสําหรับต้อนรับนักท่องเท่ียว และได้คิดการทําชุดอาหารลาบ เรียกว่า “มหาลาภ” ซึ่งประกอบด้วยลาบ 5 ชนิด และชุดลาบ 3 เกลอ ประกอบด้วยลาบ 3 ชนิด โดยมีลาบให้เลือกได้ 5 อย่างคือ ลาบเป็ด ลาบปลา ลาบหมู ลาบไข่ และลาบเห็ด เพ่อื ตอบโจทย์นักท่องเที่ยวทตี่ ้องการลม้ิ ลองนานาลาบยโส คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

26 ขนมครกโบราณบ้านท่าเยี่ยม วัตถุดิบแปง้ ขนมครก 1. แปง้ ข้าวเจ้า 2. แป้งข้าวเหนียว 3. แป้งสาลี 4. มะพร้าว 5. น้ํากะทิ 6. ผกั แปง 7. เผือก 8. น้ําตาล 9. น้ํารอ้ น 10. เกลือ 6.2 หมวดดนตรีพื้นบ้าน โหวด โหวด หรือ \"โบด\" เป็นเคร่ืองดนตรีไทยภาคอีสานประเภทเคร่ืองเป่าหรือแกว่ง มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกคล้าย กบั บงั้ ไฟ ทาํ จากไม้กู่แคนซึ่งเป็นไม้ซางชนดิ เดียวกับที่ใช้ทําแคนด้านบนมีชันโรง (ข้สี ูด) รปู ท่ี 1 เครือ่ งดนตรี “โหวด” คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

27 โปงลาง “โปงลาง” ดนตรีพ้ืนเมืองอีสานถือว่าจังหวะสําคัญมาก เคร่ืองดนตรีประเภทตีใช้ดําเนินทํานอง ประกอบดว้ ย กลอง ฉ่ิง ฉาบ บักกอลอ โปงลางมีวิวัฒนาการมาจากระฆังแขวนคอสัตว์เพ่ือให้เกิดเสียงโปงลาง ท่ีใช้บรรเลงอยู่ในภาคอีสานมี 2 ชนิด คือ โปงลางไม้ และโปงลางเหล็ก ภาพท่ีแสดงคือ โปงลางไม้ซ่ึง ประกอบด้วยลูกโปงลางประมาณสองลูกเรียงตามลําดับเสียงสูง ตํ่า ใช้เชือกร้อยเป็นแผงระนาด แต่โปงลางไม่ ใช้รางเพราะเห็นว่าเสียงดังอยู่แล้ว แต่นํามาแขวนกับท่ีแขวน ซึ่งยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้แผงโปงลางทํามุม กับพืน้ 45 องศา ไม้ตโี ปงลางทําด้วยแก่นไม้มีหวั งอนคล้ายค้อนสําหรับผู้บรรเลงใชต้ ดี ําเนินทํานอง 1 คู่ และอีก 1 คู่สําหรับผู้ช่วยใช้เคาะทําให้เกิดเสียงประสานและจังหวะตามลักษณะของดนตรีพ้ืนเมืองอีสานที่มีเสียง ประสานราํ รปู ที่ 2 เคร่อื งดนตรี “โปงลาง” พิณ “พิณ” มีลักษณะคล้าย \"ซงึ \" ของภาคเหนือ หรือมรี ูปร่างคล้ายกีตาร์แต่มีขนาดเล็กกว่า จัดเป็นเครื่อง ดนตรีประเภทเครื่องสาย โดยท่ัวไปมี 3 สาย ในบางท้องถิ่นอาจมี 2 หรือ 4 สาย บรรเลงโดยการดีดด้วยวัสดุท่ี เป็นแผน่ บาง เชน่ ไมไ้ ผเ่ หลา รูปที่ 3 เครอื่ งดนตรี “พณิ ” คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

28 แคน “แคน” เปน็ เคร่ืองดนตรีพ้ืนเมืองชนิดหน่ึงของประเทศลาวและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ใน ประเทศไทย และถอื เปน็ สัญลักษณ์ประจํากล่มุ ชาติพันธุล์ าวอีกด้วย เคร่ืองดนตรีชนิดน้ีจะใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลําไม้ท่ีเป็นลูก แคน การเปา่ แคนตอ้ งใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดดู ลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควรและแคนมีหลายขนาด ประเภทตามจํานวนลูกแคน คือ 1. แคนหก มลี ูกแคน 3 คู่ (6 ลูก) เป็นแคนขนาดเล็กท่ีสดุ สาํ หรับเด็กหรือผู้เร่มิ ฝกึ หัดใชเ้ ป่าเพลงง่าย ๆ เพราะเสยี งไม่ครบ บางทีก็จะทําเป็นของที่ระลึกสําหรับนักท่องเท่ียว 2. แคนเจด็ มีลกู แคน 7 คู่ (14 ลูก) เป็นแคนขนาดกลาง มเี สียงครบ 7 เสยี ง ตามระบบสากล และมี ระดับเสยี งสูง ตํ่า ท้งั 7 เสียง หรือทเ่ี รียกว่า คู่แปด คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที (คแู่ ปด คือทกุ เสียง เช่น เสียงโด ก็จะมีท้ังเสยี งโดสูง และโดต่ํา ทุกเสยี งมคี ูเ่ สียงท้งั หมด) แคน 7 ไม่มีเสียงเสพทีเ่ ป็นเสียง ซอลสูง ด้านแพซ้าย และไม่มีเสียงเสพที่เป็นเสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา 3. แคนแปด ใหญ่กว่าแคนเจ็ด มลี กู แคน 8 คู่ (16 ลกู ) คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด เพ่มิ คู่เสียง ระดับสูงขน้ึ ไปให้เป็นเสียงประสานในการเล่นเพลงพ้ืนเมือง ได้แก่ เสียง ซอลสูง ด้านแพซ้าย และ เสียงเสพท่ีเป็นเสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา 4. แคนเก้า มีลูกแคน 9 คู่ (18 ลกู ) ใหญ่ท่สี ุด มเี สยี งต่ําท่สี ดุ เวลาเป่าตอ้ งใชล้ มมาก มจี ํานวนคเู่ สยี ง ครบเช่นเดียวกับแคนแปด แต่ทเ่ี พิ่มข้ึนมาอีกก็คอื เพมิ่ เสียงเสพประสานด้านแพซ้ายทเ่ี ป็นเสียงซอลสูง อกี หนง่ึ เสียง และเพ่มิ เสียงเสพประสานท่แี พขวาซ่ึงเป็นเสยี งลาสงู อกี หน่งึ เสียง สรุปแล้วจึงมีลกู แคน ทั้งหมด 9 คู่ และท่สี าํ คัญคือเป็นแคนเสียงตํ่าทใ่ี ช้เป่าใหเ้ ป็นเสียงเบสในการเป่าแบบแคนวง แต่ใน ปัจจุบันวงดนตรพี ื้นเมืองนิยมใช้พิณเบสหรือเบสของดนตรีสากล แคน 9 จึงไม่เป็นนิยมอีก จึงทําให้ เยาวชนรุ่นหลงั ไม่มีโอกาสได้เห็นได้ยินการบรรเลงของแคน 9 อีกเลย 5. แคนสบิ เป็นแคนท่ีปรับปรุงมาจากแคนแปด โดยผู้ประดิษฐ์และออกแบบ ชื่อ สําเร็จ คําโมง แต่ใน ระยะหลงั ไม่เป็นท่ีนิยมมากนักจงึ ไม่มผี สู้ ืบทอดผลงานน้ีไว้ รูปท่ี 4 เครื่องดนตรี “แคน” คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

29 กลอง “กลอง” เป็นกลองสองหน้า มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30 ซม. ยาว 40 ซม.ขึงด้วยหนังท้ัง สองหน้า ตัวกลองทําด้วยไม้เนื้อแข็ง ใช้ขึ้นหน้าด้วยเชือกหนัง ใช้ประสมในวงดนตรี ประกอบหมอลํา ร่วมกับ แคน พิณ ปี่ลูกแคน ในกระบวนแห่ร่วมกับกลองเส็ง ผางฮาด กลองหาง ฉ่งิ แสง่ “กลองยาว” เปน็ เครือ่ งดนตรี สาํ หรับตีด้วยมือ ตวั กลองทําด้วยไม้ มลี กั ษณะกลมกลวง ขึงด้วยหนังมี หลายชนิด ถา้ ทําด้วยหนังหน้าเดียว มีรปู ยาวมากใชส้ ะพายในเวลาตี เรยี กวา่ กลองยาวหรอื เถดิ เทิง รูปท่ี 5 เครือ่ งดนตรี “กลองยาว” บกั กบั๊ แกบ๊ “บักก๊ับแก๊บ” เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะทําจากไม้เน้ือแข็ง 2 ช้ิน คือ คือ 1. บักกั๊บแก๊บไม้สั้น เป็นไม้ผิวเรียบยาวประมาณ 4-6 นิ้ว 2. บักก๊ับแก๊บไม้ยาว เป็นไม้ผิวเรียบมีการหยักร่องฟันปลาเพื่อขูดกันให้ เกิดเสียง ท่ีบ้านท่าเยี่ยมจะนิยมบักกั๊บแก๊บแบบไม้ยาว บักกั๊บแก๊บใช้บรรเลงประกอบในวงโปงลาง โดยคนท่ีตี บักกั๊บแก๊บน้ันจะใช้ลีลากวน ยวน ในการแสดงเพื่อสร้างสีสรรให้แก่วง ลีลาบักก๊ับแก๊บไม่ตายตัวแล้วแต่ผู้ตีจะ วาดลวดลายใหเ้ กิดสนุกสนานสร้างความประทับใจให้ผู้ชม รูปที่ 6 เครอ่ื งดนตรี “บกั กบ๊ั แกบ๊ ” คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

30 6.3 หมวดสมนุ ไพรพ้ืนบ้าน การอบสมุนไพร การอบสมุนไพร เป็นวิธีการบําบัดรักษาและส่งเสริมสุขภาพตามหลักของการแพทย์แผนไทย โดยใช้ หลักการอบสมุนไพร คือ ต้มสมุนไพรหลาย ๆ ชนิดรวมกัน ซึ่งประกอบด้วยสมุนไพรท่ีมีนํ้ามันหอมระเหยและ สมุนไพรรักษาตามอาการ สมุนไพรที่มีรสเปร้ียวนํามาต้มจนเดือด ไอนํ้ามันหอมระเหย และสารระเหยต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ในสมุนไพรจะออกสัมผัสถูกผิวหนังทําให้มีผลเฉพาะที่ และสูดดมเข้าไปกับลมหายใจ มีผลต่อระบบ ทางเดินหายใจและผลทั่วร่างกาย ดังน้ันผลการรักษาด้วยการอบสมุนไพรที่ซึมผ่านผิวหนัง และเข้าไปกับลม หายใจซงึ่ มีประโยชน์ตอ่ สุขภาพดงั นี้ ประโยชน์การอบสมนุ ไพร 1. ชว่ ยเพมิ่ การไหลเวียนของโลหติ ในร่างกายดีขึ้น คลายความตงึ เครียด 2. ชว่ ยชําระล้างและขับของเสยี ออกจากร่างกาย 3. ชว่ ยผอ่ นคลายกล้ามเน้ือและเส้นเอ็นบรรเทาอาการปวดเมอื่ ย 4. ชว่ ยทาํ ให้ระบบการหายใจดีขึ้น 5. ช่วยบํารุงผวิ พรรณ บรรเทาอาการผดผื่นคัน 6. ช่วยให้นํ้าหนักร่างกายลดลงได้ชั่วคราว 7. ชว่ ยใหม้ ดลูกเข้าอเู่ ร็วในหญิงหลงั คลอด 8. ช่วยใหส้ บายตัว ลดอาการปวดศรี ษะ สมนุ ไพรทใี่ ชใ้ นการอบสมุนไพร การใช้สมุนไพร อาจใช้สมุนไพรสดหรือสมุนไพรแห้ง ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการหาได้ในแต่ละ ท้องถิ่น แต่สมุนไพรสดจะมีคุณภาพดีกว่าสมุนไพรแห้ง เพราะคุณภาพสมุนไพรสดจะลดน้อยลงขณะทําให้แห้ง การซ้ือสมุนไพรแห้งอาจเก่าและเสื่อมคุณภาพได้ การใช้สมุนไพรสดมักไม่จํากัดชนิด อาจเพ่ิมหรือลดชนิดตาม ความต้องการในการใช้ประโยชน์ และยากง่ายในการจัดหา แต่ถอื หลกั วา่ ควรมีสมุนไพรครบทงั้ 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุม่ ที่ 1 สมุนไพรท่มี ีกลน่ิ หอม กลุ่มนม้ี ีสาระสําคัญท่อี อกฤทธ์เิ ป็นนา้ํ มันหอมระเหย ซ่งึ ชว่ ยรกั ษาโรค ต่าง ๆ เช่น โรคผิวหนัง ปวดเม่ือย หวัด คัดจมูก ตัวอย่างเช่น ไพล ขม้ินชัน ตะไคร้ มะกรูด การใช้สมุนไพรสด ควรเปลี่ยนถา่ ยทุกวัน มิฉะนัน้ อาจเน่าเกิดกลน่ิ เหม็น แตส่ มุนไพรแหง้ อาจใช้ต่อเนื่องได้ 3-5 วัน กลุ่มท่ี 2 สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว กลุ่มน้ีมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ ซ่ึงช่วยชะล้างส่ิงสกปรก และเพ่ิมความ ต้านทานโรคใหก้ ับผวิ หนัง ตัวอย่างเชน่ ใบมะขาม และฝกั สม้ ปอ่ ย กลุม่ ท่ี 3 เปน็ สารประกอบทีร่ ะเหดิ ได้เมื่อถูกความรอ้ นและมีกลิ่นหอม เชน่ การบูร พมิ เสน กลมุ่ ท่ี 4 สมุนไพรท่ใี ช้รักษาเฉพาะโรค เช่น ตอ้ งการรักษาโรคผวิ หนงั ผน่ื คัน ใชเ้ หงือกปลาหมอ เป็น ตน้ คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

31 กิจกรรมฮมยาสมนุ ไพร สูตรลับสมุนไพรบ้านท่าเยี่ยมท่ีชุมชนใช้อาบและฮมยากันมาช้านาน กิจกรรมใหม่ท่ีชุมชนนําเสนอเพื่อ ตอบโจทย์คนที่รักสุขภาพ กับกิจกรรมฮมยาสมุนไพร หรือท่ีภาษากลางเรียกว่าการรมยา ซึ่งก็คืออบด้วยนํ้าต้ม สมุนไพรใส่ในหม้อและให้กลิ่นหรือควันของสมุนไพรลอยข้ึนมา ด้วยสมุนไพรท่ีสามารถแก้อาการต่างๆได้ เช่น การช่วยให้ระบบทางเดินหายใจดีข้ึน นอกจากน้ียังมีส่วนให้ขยายรูขุมขนให้สมุนไพรแทรกซึมเข้าไป ทําให้ ผิวพรรณเปล่งปล่ังสดใส สมุนไพรประกอบด้วย ไพล (ช่วยทําให้ผิวหนังชุ่มชื่น ด้วยการใชเ้ หง้าสด 1 แง่ง นํามา ฝานเป็นชิ้นบาง ๆ แล้วต้มรวมกับสมุนไพรชนิดอ่ืน ๆ เนื่องจากไพลจะมีนํ้ามันหอมระเหย) ขม้ินชัน (มีสาร ตอ่ ตา้ นอนุมลู อสิ ระซ่ึงช่วยในการชะลอวัยและชะลอการเกดิ ร้ิวรอย) ผวิ มะกรดู (นํ้ามันหอมระเหยจากมะกรูดมี สรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ทําให้จิตใจสงบนิ่ง) พลับพลึง (ใบพลับพลึงสามารถ นํามาใช้รักษาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย กล้ามเนื้ออักเสบ) และจุดเด่นอยู่ที่ใบหนาด (แก้วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย) ทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์สูตรของชุมชนบ้านท่าเยี่ยม รปู ท่ี 7 ฮมยาสมนุ ไพร กจิ กรรมแชเ่ ทา้ นา้ํ สมนุ ไพร มีสรรพคณุ ชว่ ยคลายความเมือ่ ยล้า ผ่านคลายกล้ามเนือ้ เลือดไหลเวียนดี แก้วงิ เวยี น สว่ นประกอบของสมุนไพรท่ีใช้ในการแช่เท้า ไดแ้ ก่ -พลับพลงึ -ไพลต้นนา -ขมิ้นชนั -วา่ นเปล้า คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

32 -ใบหนาด -ผิวมะกรดู รปู ที่ 8 แช่เท้าน้ําสมุนไพร 6.4 หมวดทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถ่ิน นกประจําถน่ิ แหล่งน้ําที่อุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งหาอาหารของนกหลายชนิด ในช่วงเช้าและเย็นที่ชาวบ้านออกหา ปลาในลําน้ํา จะมีนกและเหยี่ยวบินอยู่บนท้องฟ้า รอจังหวะที่ปลาขึ้นหายใจบนผิวน้ําโฉบลงมาจับ บางวันพบ เหย่ียวกว่า 50 ตัว (แต่ยังไม่สามารถจําแนกประเภทของเหย่ียวได้ เน่ืองจากช่วงที่ลงพื้นท่ีได้และพบเหย่ียวนั้น ไม่ได้นํากล้องส่องนกไปด้วย จึงไม่สามารถเห็นรายละเอียดของเหยี่ยวแต่ละตัวได้เพราะบินอยู่เกินระยะตา เปลา่ เห็นรายละเอียด) ส่วนนกท่พี บเป็นประจําได้แก่ นกยาง และ นกกวัก อย่างไรกต็ ามเนื่องจากนกเหล่าน้ีอยู่ กันตามธรรมชาติและสามารถบินไปมาตลอดเวลา เมื่อบรรยายจะไม่เน้นว่าจะเจอนกอะไรบ้าง แต่อธิบายและ เลา่ ถึงนกท่มี ีโอกาสได้เจอ นกยาง เป็นนกนํ้าท่ีมีท้ังขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มีคอและขายาว มักพบเดินท่องนํ้าหา กินหรือยืนนิ่งบนกอหญ้าหรือพืชน้ํา คอยใช้ปากแหลมยาวจับสัตว์นํ้าเล็ก ๆ หรือแมลงบนพ้ืนเป็นอาหาร ขณะ บินจะพับหัวและคอแนบลําตัว เหยียดขาไปข้างหลัง ทํารังรวมกันอยู่เป็นกลุ่มใหญ่บนต้นไม้ ใช้ก่ิงไม้สานกัน คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

33 อย่างหยาบๆ พบท้ังหมด 61 ชนิดท่ัวโลก พบในประเทศไทย 20 ชนิด หากินในเวลากลางวัน นกยางที่พบ บรเิ วณลาํ น้าํ กว้าง ไดแ้ ก่ นกยางโทนใหญ่ นกยางโทนน้อย และนกยางกรอก นกกวัก เป็นนกน้ําในวงศ์นกอัญชัน (Rallidae) ท่ีอยกู่ ระจายไปทั่วเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีสีเทา เข้มเหมือนกระดานชนวน ลําตัวสั้น มีใบหน้า อก และท้องขาว ขาและนิ้วยาว อาศัยอยู่ตามหนองน้ํา นกกวัก จะใจกลา้ กว่านกอญั ชันชนดิ อ่ืนๆ จงึ มักเห็นกา้ วเท้าอย่างช้าๆ ยกหางตรง ไปในหนองน้ําโลง่ หรือแมแ้ ต่ท่ีระบาย นํ้าใกล้ๆ ถนนที่มีรถว่ิง มักออกหากินในช่วงฟ้าสางหรือพลบค่ํา เดินหากินบนใบพืชนํ้า เช่น บัว จอก แหน ใน ฤดูผสมพันธ์คือฤดูฝนหลังเริ่มฝนตก ก็จะร้องเสียงดัง \"กวัก ๆ\" เป็นเสียงต่ําซ้ําๆ ในประเทศไทย นกกวักเป็น สัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้าม ค้า ห้ามนาํ เข้าหรอื ส่งออก ห้ามครอบครอง หา้ มเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรอื ทําอันตรายรัง การห้ามการครอบครอง และการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก ผกั กระเฉด กระเฉด เป็นพืชล้มลุก ลําต้นลอยนํ้าหรือเลื้อยแผ่ใกล้ฝั่ง ในลําน้ํากว้างมีผักกระเฉดเกิดเองตาม ธรรมชาติตามริมฝ่ัง แผ่ขยายเป็นวงกว้าง ชาวบ้านสามารถเก็บไปประกอบอาหารได้ ที่ยโสธรจะเรียกช่ือผัก กระเฉดเป็นภาษาถ่ิน ว่า ผักกระเสดน้ํา กระเฉดมีลําต้นเป็นเถากลม เนื้อนิ่ม ลักษณะของใบจะคล้ายกับใบกระถิน โดยใบจะหุบในยาม กลางคนื จงึ เปน็ ทมี่ าของชื่อ \"ผกั รูน้ อน\" ระหว่างข้อจะมปี อดเป็นฟองสีขาวหุ้มลําต้นท่เี รียกว่า \"นมผกั กระเฉด\" ซึ่งทําหน้าที่ช่วยพยุงให้ผักกระเฉดลอยน้ําได้น่ันเอง และยังมีรากงอกออกมาตามข้อซึ่งจะเรียกว่า \"หนวด\" ลักษณะของดอกจะเป็นช่อเล็ก ๆ สีเหลือง และผลจะมีลักษณะเป็นฝักโค้งงอเล็กน้อย แบน มีเมล็ดประมาณ 4-10 เมล็ด คุณค่าทางโภชนาการของผักกระเฉด 100 กรัมจะมี ธาตุแคลเซยี ม 123 มิลลิกรัม ซึ่งถือว่าสูงมาก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย เส้นใย ธาตุเหล็ก ธาตุฟอสฟอรัส วิตามินเอ เบตาแคโรทีน วิตามินบี 3 วิตามินซี อกี ด้วย ประโยชนข์ องผกั กระเฉด • ช่วยบํารุงร่างกายและดับพิษ • ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ • กระเฉดมีฤทธ์เิ ป็นยาเย็น จึงช่วยดับพิษรอ้ นได้เป็นอย่างดี • ผกั กระเฉดมีสรรพคณุ ช่วยแก้พิษไข้ • ช่วยบรรเทาอาการปวดฟัน ด้วยการนําผักกระเฉดมาตําผสมกบั เหล้า แลว้ หยอดในบริเวณฟัน ทีม่ ีอาการปวด • ช่วยขับเสมหะ • ช่วยขับลมในกระเพาะ คู่มือการอบรมหลักสูตรนักเล่าเร่ืองท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเย่ียมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

34 • ช่วยรกั ษาโรคกามโรค • ช่วยแกอ้ าการปวดแสบปวดร้อน • ช่วยถอนพิษยาเบ่ือยาเมา • ผกั กระเฉดมีวิตามินเอซ่งึ เป็นตัวช่วยบํารุงและรักษาสายตาไดเ้ ป็นอย่างดี • ช่วยเสรมิ สร้างกระดูกและฟันให้แขง็ แรง ชว่ ยปอ้ งกันโรคกระดูกพรุน ช่วยทําให้กล้ามเนอ้ื ทํางานได้อย่างเป็นปกติ • ผกั กระเฉดมีธาตุเหลก็ ซงึ่ มีความจําเป็นต่อการสร้างเมด็ เลือดแดงและช่วยป้องกันโรคโลหิต จางไดอ้ ีกด้วย • ช่วยเสริมสร้างกระบวนการเผาผลาญสารอาหารให้สรา้ งเป็นพลงั งานให้กบั รา่ งกายไดเ้ ป็น อย่างดี • ช่วยในการขับถ่าย ป้องกันโรคท้องผกู • มีส่วนช่วยปอ้ งกันการเกดิ โรคตบั อกั เสบ • ผกั กระเฉดเป็นผักทเ่ี หมาะอย่างมากสําหรับคนธาตุไฟและธาตุดิน ซึ่งจะช่วยทําใหร้ ่างกายเกิด ความสมดลุ และไมเ่ จ็บป่วยได้ง่ายเมนูผกั กระเฉด • เมนูผักกระเฉด เช่น ยําวุ้นเส้นผักกระเฉด ผัดหมี่กระเฉด เสน้ หมีผ่ ดั กระเฉดก้งุ ผัดผกั กระเฉด ไฟแดง ผกั กระเฉดผดั นา้ํ มันหอย ผกั กระเฉดทอดไขส่ ามรส แกงส้มผักกระเฉดปลาช่อนทอด ฯลฯ หรือจะใชร้ ับประทานสดรว่ มกับน้ําพรกิ กไ็ ด้ เห็ดตบั เต่า เห็ดดอกใหญ่ๆ โผล่พ้นผืนดินมาให้คนท่ีช่ืนชอบนํามาประกอบอาหารปีละครั้ง ในช่วงฤดูฝนเท่านั้น เหด็ ตบั เต่า (Bolete) หรอื บางพื้นทเี่ รียกว่า เห็ดหา้ เหด็ นาํ้ ผ้งึ จะพบในช่วงต้นฤดฝู นและปลายฤดูฝน มี 2 ชนิด คือเห็ดตับเต่าดํา และเห็ดตับเต่าขาว เกิดจากเช้ือราเอ็คโตไมคอร์ไรซา (ectomycorrhiza) เจริญอยู่ร่วมกับ รากต้นไม้ยืนต้นแบบพึ่งพาอาศัยกัน มีลักษณะดอกอ่อนมีขนละเอียดสีน้ําตาลเหมือนผ้ากํามะหย่ี กระทั่งดอก บานเต็มท่ี จะมีสอี อกน้ําตาล นํา้ ตาลเข้ม ไปจนถึงสีดํา ดอกหมวกรูปเหมือนกระทะผัดผกั บุ้งทรงควาํ่ ตรงกลาง หมวกเห็ดมีสีนํ้าตาลแกมเหลือง จะเริ่มปริแตก มีขนาดต้งั แต่ 12-30 ซม. ก้านดอกเห็ดค่อนข้างใหญ่ เน้ือเห็ดสี น้าํ เงนิ แกมเขียว สรรพคณุ ของเหด็ ตบั เต่า เป็นยาบํารุงหัวใจ บํารุงกําลัง บํารุงตับ บํารุงปอด กระจายโลหิต และดับพิษร้อนภายในร่างกาย ยัง ช่วยบําบัดอาการปวดหลัง ปวดข้อ ปวดเส้นเอ็นและกระดูก ป้องกันการชักกระตุก แก้เคล็ดขัดยอก และปวด กระดกู คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

35 ลาํ นาํ้ กวา้ ง ลํานา้ํ กว้าง หรอื ลําทวน มตี ้นกําเนิดในเขตอําเภอทรายมลู ไหลผ่านอําเภอเมืองและไปบรรจบแม่น้ําชี ในเขตอําเภอเมืองบริเวณสวนสารธารณะพญาแถน เมื่อลําทวนไหลผ่านสวนสาธารณะพญาแถนไปแล้ว ชาวบ้านจะเรียกลํานํ้าน้ีว่า ลํานํ้ากว้าง เป็นแหล่งนํ้าที่มีนํ้าตลอดท้ังปี ซ่ึงชาวบ้านริมน้ําส่วนใหญ่ ประกอบ อาชพี เกษตรกรรมและประมง โดยอาศัยลําน้ํากว้างหล่อเลีย้ งชีวิตของชุมชนมาช้านาน จังหวัดยโสธรและชุมชน ในบ้านท่าเย่ียมกําลังมีพัฒนาต่อยอดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ เพ่ือให้นักท่องเท่ียวล่องแพ ชมความงาม ของธรรมชาติริมสองฝั่งแม่น้ํา ควบคู่ไปกับการเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านของชาวยโสธร พร้อมฟ้ืนฟูระบบนิเวศริมสองฝั่งลํานํ้ากว้างด้วยการปลูกต้นไม้ อาทิ ต้นมะกอกน้ํา มะดัน ไผ่ซางนวล ตาม บริเวณริมฝั่งลําน้ํากว้าง เป็นความยาวรวม 4 กิโลเมตร ซ่ึงจะเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่า เสริมความสมบูรณ์ของ ธรรมชาติ ช่วยลดการเกิดปัญหาจากภัยธรรมชาติ และสามารถเพิ่มแหล่งอาหารตามธรรมชาติให้ประชาชนใน พืน้ ที่ รปู ที่ 9 ลํานาํ้ กว้าง คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถ่ิน ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเข่ืองคํา อาํ เภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

36 6.5 หมวดวิถีชีวิตและความเชื่อ การทาํ ประมง ชาวบ้านท่าเยี่ยมมีภูมิปัญญาท้องถ่ินในการจับปลา และมีการคิดค้นอุปกรณ์และวิธีการจับปลาหลาย ชนดิ เช่น 1. จ่ัน เป็นเครื่องดักปลาขนาดใหญ่คร้ังละตัว นิยมใช้บริเวณริมฝ่ัง ลักษณะจั่นจะมีรูปทรงส่ีเหล่ียม ทรงสูงตดิ กรอบไม้พร้อมฝาปดิ ท่ชี ักขึ้นลงได้ ตดิ สลักเปดิ และปิดเมื่อปลาเข้าไปชน 2. กอง เป็นเคร่ืองมือประมงท่ีใช้ก่ิงไม้ไปวางสุมไว้ในลําน้ํา เวลาในการวางกองไม่แน่นอนแต่นานพอท่ี ปลาจะเข้าใจว่าเป็นที่หลบภัยถาวรได้ เมื่อตอ้ งการกู้กอง จะนําตาข่ายไปล้อมไวก้ ันปลาออก แล้วคอ่ ยๆ ย้ายก่ิง ไมอ้ อก และใชส้ วงิ จบั ปลาออกมา 3. โค่น เป็นเครื่องมือประมงท่ีใช้ก่ิงไม้ที่มีความยาวประมาณ 80 ซม. มัดรวมกันเป็นมัด มีเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 30 ซม. วิธีการใช้งานคือ นําโค่นไปวางท่ีพื้นท้องน้ําพร้อมทั้งผูกทุ่นเพ่ือบอกตาํ แหน่ง ใช้ดึง ข้ึนและเมื่อต้องการกู้ การกู้โค่น จะทําทุกวัน หรือทุก 2-3 วัน โดยการดึงโค่นข้ึนมาบนเรือและต้องทําในเวลา คา่ํ มิฉะน้ันปลาจะออกไปหาอาหาร 4. แห เคร่ืองมือจับปลาพบเห็นได้ทุกครัวเรือน ชายหนุ่มลูกอีสานจะได้รับการฝึกสอนให้ถักแหและใช้ หว่านหาปลาเป็นต้ังแต่เยาว์วัย กอ่ นท่ีจะแต่งงานออกครองเรือนหาเลี้ยงครอบครัวได้ แหเป็นผืนตาข่ายกลมใช้ หว่านคลุมสัตว์ท่ีอาศัยในแหล่งน้ําทั่วไปได้ตลอดปี แหทําจากเส้นเชือกถักด้วยชุน ซึ่งเป็นไม้ไผ่เหลาแบนปลาย แหลมมเี ดือยอยตู่ รงกลางใช้สําหรับพันเชือกแหมีส่วนประกอบได้แก่ จอมแห คอื สว่ นทอี่ ยู่ปลายบนสุด อยู่ก่งึ กลางปากแห ถักเป็นห่วงใช้ดงึ ลากให้แหหุบเข้ารวมกัน ตาข่าย คือตัวแหท่ีถักเป็นรัศมีให้กว้างกลมออกไปเร่ือย ๆ ช่องตาข่ายมีความกว้างตั้งแต่คร่ึงน้ิวถึง 2 นิว้ มีความยาว 6 ถงึ 12 ศอก ใช้เลือกจบั ปลาตามแหลง่ นํ้าที่มีขนาดต่างกัน ลูกแหทําจากเหล็กเส้นเล็ก ๆ ตัดเป็นเส้นส้ัน ๆ ตัดเป็นวงแหวน คล้องต่อกันเป็นเส้นยาวคล้ายโซ่ ผูกมัดติดริมรอบปากแห วัดลูกแหประมาณ 1 คืบ ผูกเชือกที่ลูกแหแล้วใช้เชือกผูกต่อข้ึนบนตาข่าย คล้ายเป็น ถุงกรอง รอบปากแห ลูกแหมีหน้าท่ีถ่วงดึงให้ตาข่ายจมน้ํา แหมีความยาว 11-12 ศอกมีช่องตาห่าง มุ่งจับปลา ตวั ใหญจ่ ะหว่านลงในน้ําลกึ หรือ หว่านบนเรือ ผ้ใู ช้ต้องแข็งแรง เชีย่ วชาญ มเี ชือกผูกท่ีจอมแห เมอ่ื หว่านลงนํ้า แล้วปล่อยไว้สักครู่ จึงค่อย ๆ ดึงเชอื กขึ้น ปากแหที่วางครอบปลาท่ีพื้นจะค่อย ๆ หุบตัวรวมกันครอบรวบปลา ให้อยู่ภายในตัวแห แหขนาด 9-10 ศอก ใช้หว่านลงในนํ้าทั่วไป ขนาด 6-8 ศอก ช่องตาแหกว้าง 1 น้ิว หว่าน จับปลาได้ทุกขนาดในแหล่งนํ้าท่ีน้ําไม่ลึกมาก ชาวบ้านเรียก “แหขยัน” หมายถึงผู้หว่านต้องหว่านบ่อย ๆ ไม่ เลือกปลาถือคติว่า “ไมไ่ ด้ต้มก็ได้ป่น” หากไดป้ ลาขนาดพอต้มกต็ ้มแต่ถ้าได้ปลาขนาดเล็กก็ต้มกับน้ําปลาร้า ขูด เนอ้ื ปลาตําพริก (ตําป่น) ถ้าแหห่างประมาณครึ่งนิ้ว ใช้หว่านปลาซิว ตัวใหญ่ในช่วงต้นฤดูฝน หรือใช้หว่านปลา หลดตามลําธาร คลองนํา้ ทีน่ าํ้ เรมิ่ ไหลเชยี่ วในช่วงเดือนสงิ หาคมถึงตุลาคม คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จงั หวดั ยโสธร

37 วิธีการใชแ้ ห ใช้ได้ตลอดเวลาที่ต้องการตามแหล่งนํ้าท่ัวไป ใช้มือแรกดึงจอมแหข้ึนแล้วพับแหยาวประมาณ 1 ศอก 3 ถึง 4 พับ (ความยาวและจํานวนพับข้ึนอยู่กับความยาวแห) แยกรมิ ตาข่ายแหพาดคลมุ ที่ขอ้ ศอก ใช้มอื อีกข้าง หน่ึงแบ่งจับลูกแหและแบ่งชายตาข่ายถือกําไว้ข้างละครึ่ง มือแรกกําส่วนแหท่ีได้ไว้ข้างเอว จะเป็นแรงส่ง เมื่อ ใช้จะเอี้ยวตัวเพื่อเพิ่มแรงเหว่ียวและแรงส่ง เวลาเห็นปลาบ้วนข้ึนหายใจจะเอ้ียวตัวหว่านแหไปที่เป้าหมาย ลูก แหจะกระจายออกไปทําให้ส่วนอื่น ๆ กระจายเป็นวงกว้าง คลุมหน้าน้ํา ลูกแหจะถ่วงให้ตาข่ายตามลงไปถึงผิว ดินใตน้ าํ้ แหสามารถใช้ออกหว่านเพียงคนเดียว หรืออาจมีการนัดหมายไปเป็นกลุ่มหลายคน เลือกแหล่งน้ํา ขนาดใหญ่ เฝ้ารอดูปลาบ้วน (ปลาขึ้นหายใจ) ต่างคนต่างหว่านหรือมีการวางแผนกระจายตัวกันเป็นวงกลม แล้วหว่านเข้าวงกลมทีละคนเป็นการป้องกันสกัดกั้นไม่ให้ปลาเล็ดลอดหนี บางครั้งสถานที่ ๆ มีกอไม้น้ํา ก่ิงสุม กองอยู่ในนํ้า ใช้อวน ซึ่งเป็นตาข่ายผืนยาวมีลูกแหถ่วงอยู่ด้านล่าง ลากลงนํ้าข้างหนึ่งช้า ๆ อ้อมพงไม้ ก่ิงไม้ แล้วกลับมาที่ฝ่ัง จากน้ันจึงช่วยกันลากดึงไม้นํ้า กิ่งกอไม้ออกเป็นการใช้อวนล้อมปลาให้อยู่ในเขตจํากัด แล้ว ต่างคนต่างหว่านแหลงในวงล้อม การกระทําลักษณะน้ี อาจเรียกว่า หว่านล้อม คําว่า “หว่านล้อม” มี ความหมาย ค่อย ๆ หาเหตุผลมาประกอบการพูด เพ่ือต้องการให้บุคคลเช่ือและยอมรับ แต่การหว่านแหมี ลกั ษณะคอ่ ย ๆ จาํ กดั ขอบเขต แลว้ ชว่ ยกันหว่านแหจับปลาให้ได้ ดงั นนั้ คําว่า “หวา่ นล้อม” จึงมีความสัมพันธ์ ด้วยการใช้แห “หว่าน” โดยผหู้ ว่านท่ีมลี ักษณะคนจะ “ล้อม” รอบเป็นวง 5. สะดุ้ง เป็นยอหาปลาขนาดใหญ่ สะดุ้งของบ้านท่าเยี่ยมนั้นจะเป็นลักษณะคล้ายเรือนแพ คือมีท้ัง ส่วนที่ยอจับปลา และส่วนท่ีพักของชาวประมง ปัจจุบันสะดุ้งไม่ได้รับอนุญาตให้สร้างในลําน้ํากว้างเน่ืองจาก เปน็ เขตอนรุ กั ษ์สตั ว์นํ้า คู่มือการอบรมหลกั สูตรนักเล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

38 การทํานา การทํานา จะทํานาปี 1 คร้ัง และนาปรัง 1 ครั้ง ช่วงเดือนพฤศจิกายนจะเป็นช่วงเก็บเก่ียว เคียวเกี่ยว ข้าวมี 2 แบบ คอื แบบโบราณและแบบสมัยใหม่ ซ่ึงแบบโบราณจะมีความโค้งมากกว่าแบบสมัยใหม่ การเก่ียว จะต้องเก่ียวจากคอรวงข้าวหา่ งจากประมาณ 40-50 เซนติเมตรหรอื ประมาณ 1 ศอกพอดี เกยี่ วคร้ังละ 4 ถึง 5 กรมั วางเรยี งกนั และตากแดดไว้ 4 ถึง 5 วนั เพ่อื ไล่ความช้นื ในอดตี จะหาบข้าวมากองไว้ และฟาดข้าว รปู ท่ี 10 นาข้าว การบชู าพระแม่โพสพ ในแถบภาคอสี านซ่ึงเป็นภาคที่มีพ้ืนที่ปลกู ข้าวมากที่สุดในประเทศไทยนั้น นยิ มเรียกพิธีทําขวัญข้าวว่า ขวัญเข่า ซึ่งจะเรียกในวันเพ็ญเดือน 11 ระยะที่ข้าวกําลังตั้งท้อง โดยจะถือเคล็ดให้ผู้เรียกขวัญจะเป็นผู้หญิงที่ แต่งงานแล้ว สําหรับอุปกรณ์ในการเรียกขวัญข้าวหลักๆ ก็จะมี กรวย ดอกไม้ ข้าวต้มมัด กล้วย แป้งผัดหน้า น้าํ มนั แต่งผม ขผี้ ึ้งสปี าก หมาก พลู บหุ ร่ี ตน้ ออ้ ย รวงขา้ ว ต้นขา้ ว ผู้เรียกขวญั จะปักต้นอ้อย ไม้ไผท่ ่ีมุมคันนาท่ี หัวนาทิศเหนือ แล้ววางอุปกรณ์ต่างๆ บนตะแกรงไม้ไผ่ แล้วจึงกล่าวคําเรียกขวัญแม่โพสพ ต่อมาเมื่อข้าวแก่ก็ จะเร่ิมทําพิธีเด็ดรวงเข่า (ข้าว) เอาวัน (เอาฤกษ์) เพ่ือเอาฤกษ์เอาชัย ผู้ทําพิธีจะน่ังบนคันนาหันหน้าไปทิศ ตะวันออก กราบ 3 คร้ัง แล้วกล่าวคําทําพิธีเด็ดรวงข้าวเอาวันอันเชิญแม่โพสพเป็นม่ิงขวัญ โดยเด็ดรวงข้าวท่ี งามและรวงข้างท่ีใหญ่ 7 รวง ใส่ผา้ พาดบ่ากลับมาบ้านนัยวา่ เพื่อเป็นสิรมิ งคล คู่มือการอบรมหลกั สูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบ้านท่าเย่ียมตําบลเขื่องคาํ อําเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร

39 การทําขนั หมากเบ็ง ขันหมากเบ็งเป็นเคร่ืองสักการะในพิธีกรรมเพ่ือเป็นพุทธบูชา ตามความเช่ือของชาวอีสานในพุทธ ศาสนาการบูชาด้วยดอกไม้ เคร่ืองหอมต่างๆ เคร่ืองสักการะสัมมานะทั้งปวง จากความเช่ือ ซึ่งนํามาสู่การเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ทําให้เกิดเป็นความศรัทธาของชาวอีสานได้ทําให้เกิดการประดิษฐ์เครื่องสักการะที่ทํา จากใบตอง เรียกว่า“หมากเบ็ง” หรือ “ขันหมากเบ็ง” มีคติความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาและแฝง นัยสาํ คัญของหลกั ธรรมคําสอนในทางพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงมกี ารถ่ายทอดมาแต่โบราณสลู่ กู หลานชาวอสี าน วิธีการทาํ ขนั หมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองใหส้ ะอาดและฉกี ใบตองดงั ตอ่ ไปนี้ ส่วนท่ี 1 การทํากรวย 2. การประดิษฐ์กรวย คือ ฉีกใบตองให้ได้ขนาดกว้าง 7 น้ิว ยาว 9-10 นี้ว จํานวน 4 ช้ิน นาํ มาซ้อนกัน ม้วนใหเ้ ป็นกรวยยอดแหลม ฐานกรวยกว้างประมาณ 3 นิ้ว 3. ม้วนรมิ เขา้ มาจนสุดรมิ ใบตอง โดยเอาน้ิวกดท่ีใบตองเพื่อจะให้กรวยยอดแหลม 4. มว้ นจนได้รูปกรวย ฐานกว้างประมาณ 3 นว้ิ แลว้ เย็บด้วยลวดเย็บกระดาษ ส่วนที่ 2 การทาํ กลบี ประกอบกรวย 5. การประดิษฐ์กลีบประกอบกรวย คือ ฉีกใบตองให้ได้ขนาดกว้าง 2-3 นิ้ว ยาว 8-9 น้ิว จํานวน 64 ชิ้น 6. เร่ิมจากแบ่งใบตองท่ีฉีกไว้ ออกเป็น 3 ส่วน พับด้านซ้ายเข้ามา 1 ส่วน และพับด้านขวา ของใบตองเข้ามาชดิ กัน หลังจากน้นั ใหพ้ ับทบเข้ากันแล้วใช้ลวดเย็บกระดาษเยบ็ ให้ ติดกัน 7. นําใบตองท่ีพับแลว้ มาติดกับยอดกรวยโดยติดห่างจากยอด ประมาณ 3 นิว้ สว่ นที่ 3 ประดับตกแต่งดว้ ย ดอกไม้ เช่น ดอกดาวเรือง (จะทําให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง) ดอกสามปีบ่อเหนี่ยว (ดอกบานไมร่ ู้โรย) เชื่อวา่ จะทําใหอ้ ายุมั่น ขวัญยืน รปู ที่ 11 การทําขันหมากเบง็ คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเร่ืองท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จงั หวัดยโสธร

40 6.6 การละเลน่ การทําวา่ ว 1.ตัดไม้ไผ่ ผ่าเป็นซี่เล็กๆ เลือกมา 2 อัน นํามาเหลาให้กลมกลึงให้ติดผิวไผ่ เพราะทําให้มีสปริง อันหนง่ึ เรยี กไม้ปีก อีกอันหน่งึ เรยี กไมอ้ ก ไม้ปกี ตอ้ งเหล่าปลายท้ัง 2 ขา้ งใหเ้ รยี วทานํ้ามันแลว้ ลนไฟ 2. นําไม้อกและไม้ปีก มาผูกมัดเข้าด้วยกันด้วยเชือกด้าย มัดต้ังฉากกันให้จุดที่ผูกอยู่ประมาณ 1/5 ของไมอ้ ก และ 1/2 ของ ไม้ปกี 3. ผกู ดา้ ยทปี่ ลายทั้งสองข้างไม้อก แลว้ โยงเชอื กไปยงั ไม้ปกี ผูกเชือกกับปลายไม้ปีกท้ัง 2 ข้าง พยายาม ดงึ ใหโ้ กง่ โคง้ งอลงมา พอสวยงาม ขงึ เชือกให้ตงึ เรียกวา่ โครงว่าว 4. ตัดกระดาษแก้วสี ตามแบบท่ีข้ึนโครงว่าว เผ่ือริมไว้ประมาณ 1 เซนติเมตร จากน้ัน ทากาว หรือ แปง้ เปยี กบนของกระดาษให้ท่ัวทุกดา้ น แล้วคอ่ ยๆ พับทบปดิ ลงบนเชือกขึงกระดาษใหต้ ึงทุกด้าน 5. ตัดกระดาษสมุด หรือกระดาษหนังสือพิมพ์ เป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 - 5 เซนติเมตร 2 ชนิ้ ปดิ ลงบนไม้แกน บรเิ วณกลางตวั ว่าว 2 จุด รูปที่ 12 การทําว่าว การผูกเชือก นําเชอื กป่าน (หรือเชือกวา่ ว) ผูกตรงจุด 2 จดุ ท่ีติดกระดาษวงกลมไว้ ดว้ ยเงอ่ื นผกู ซงุ นําไปทดลอง ถ้า ว่าวไมข่ ึน้ ตอ้ งถ่วงดว้ ย พูป่ ีก และพู่หาง คู่มือการอบรมหลักสูตรนกั เล่าเรื่องท้องถิ่น ชุมชนบา้ นท่าเยี่ยมตําบลเขื่องคํา อําเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร