Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by ทวีศักดิ์ ใครบุตร, 2021-07-14 08:54:07

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

๙๑ มน (ใจ) อ การันต์ในนปุงสกลงิ ค์ แจกผสมวภิ ัตตไิ ดร้ ูปดงั นี้ วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. มนํ ท.ุ มนํ มนานิ อา. มน มนานิ ฯลฯ ฯลฯ มนานิ ตง้ั แต่ ต.- ส. แจกเหมือนในปุงลิงค์ ศัพท์เหล่านี้แจกผสมวิภัตตเิ หมือน มน อย เหลก็ เตช เดช อรุ อก ปย น้ำนม เจต ใจ ยส ยศ ตป ความรัอน วจ วาจา ตม มืด วย วัย สิร หวั ๑๑. กมมฺ (กรรม, การงาน) อ การันตใ์ นนปุงสกลงิ ค์ แจกผสมวิภตั ติเหมือน กุล แปลกอยู่ ๕ วิภัตตคิ ือ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. กมฺมํ กมฺมานิ ทุ. กมมฺ ํ กมมฺ านิ ต. กมฺเมน กมฺมุนา กมฺเมหิ มเนภิ จตุ. กมมฺ สสฺ กมฺมาย กมฺมตฺถํ กมฺมุโน กมมฺ านํ ปญฺ. กมฺมสมฺ า กมมฺ มหฺ า กมฺมา กมฺมุนา กมฺเมหิ มเนภิ ฉ. กมฺมสฺส กมมฺ ุโน กมมฺ านํ ส. กมฺมสมฺ ึ กมฺมมหฺ ิ กมฺเม กมฺมนิ กมฺเมสุ อา. กมฺม กมฺมานิ

๙๒ ๑๒. โค (โค) โอ การนั ต์ในสองลงค์คือ ปงุ สกลิงคแ์ ละอติ ถีลิงค์ แจกผสมวภิ ตั ติได้รปู ดังน้ี วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. โค คาโว ท.ุ คาวํ คาวุ ํ คาโว ต. คาเวน โคหิ โคภิ คาเวหิ คาเวภิ จต.ุ คาวสฺส คุนฺนํ คาวานํ ปญ.ฺ คาวสฺมา คาวมฺหา คาวา โคหิ โคภิ คาเวหิ คาเวภิ ฉ. คาวสสฺ คนุ ฺนํ คาวานํ ส. คาวสฺมึ คาวมหฺ ิ คาเว โคสุ คาเวสุ อา. คาว คาโว นอกจากกติปยศัพท์ทกี่ ล่าวแสดงมาทั้ง ๑๒ ศพั ท์น้ีแล้ว ยงั มอี ีกหลายศพั ท์ทม่ี ีการแจกผสมวภิ ัตติ เป็นเฉพาะ ของตนเองแตจ่ ะไมก่ ลา่ วแสดงไว้ในท่นี ี้ ผตู้ ้องการศึกษาความพิสดารพึงคน้ คว้าจากตำราสทั ทาวิเสส ที่ไดเ้ รียบเรยี ง ไว้ในชั้นสงู ๆ ข้นึ ไปเถดิ สรุปท้ายบท คำคุณนามเป็นคำแสดงลักษณะของนามนาม เปล่ียนไปตามลิงค์ วจนะ วิภัตติของนานาม ส่วนคำนามมี วิธีแจกวิภัตติตามการันต์ ในบทนี้ได้แสดงตัวอย่างการันต์ท้ังห้าในปุงลิงค์คือ อ การันต์ อิ การันต์ อี การันต์ อุ การันต์ และ อู การันต์ พร้อมทั้งวิธีเปล่ียนวิภัตติ นอกจากนั้นยังได้ยกตัวอย่างศัพท์ท่ีแจกตามการันต์ต่างๆ บาง การันต์ก็มีตัวอย่างมาก เพราะมีใช้มาก บางการันต์มีใชน้ ้อย ผู้เร่ิมศึกษาภาษาบาลี เม่อื รู้จักคำคุณนามและนานาม แล้ว จะได้รู้วธิ ีแจก วธิ เี ปลี่ยน พร้อมทง้ั ไดร้ จู้ ักคำศพั ท์ใหมๆ่

๙๓ คำถามทบทวนประจำบทท่ี ๔ ---------------------------------- ๑. จงแจก อ การนั ต์ ในปงุ ลงิ ค์ กมล ดอกบัว,พก นกยาง,สหาย เพอ่ื น,ชน ชน ๒. จงแจก อิ การนั ต์ ในปงุ ลิงค์ อทุ ธิ ทะเล,อหิ งู,นธิ ิ ขุมทรัพย์,มณิ แก้วมณี,สสี พระจันทร์ ๓. จงแจก อี การันต์ ในปุงลิงค์ สขิ ี นกยงู ,โภคี โภคะ,อกขฺ เทวี นกั เลง ๔. จงแจก อุ การันต์ ในปงุ ลิงค์ ครุ ครู,ภกิ ฺขุ ภิกษุ,สตฺตุ ศัตรู ๕.จงแจก อู การันต์ ในปุงลงิ ค์ กตญฺญู ผ้รู ้อู ปุ การะทีผ่ อู้ ื่นกระทำแลว้ ,ปารคู ผ้ถู ึงฝ่ัง, เวทคู ผ้ถู ึงเวท ๖.จงแจกศพั ทเ์ หลา่ นด้ี ว้ ยอกั ษรโรมัน โลหิต สีแดง, อสิ ิ ฤษี กรี ช้าง,ทารุ ไม,้ เวทคู ผถู้ งึ เวท ๗. จงเขียนคำนามนามต่อไปนีเ้ ป็นภาษาบาลี เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม วัด สวน จมูก แขน หน้าผาก ปอด หู ท้อง ฟัน หัวใจ กระดูก คาง มือ แตงโม กลว้ ย น้ำเต้า มะพรา้ ว มะละกอ ลงิ วัว ควาย แมงเม่า มดแดง แมลงวนั ปู่ ย่า ตายาย ลูกเขย พีส่ ะใภ้ หลาน เหลน ดวงอาทิตย์ ๘. จงแปลเป็นไทย ๑. พทุ ธฺ านํ สาวกสงฺโฆ ๑๖. ราชาธวิ าเส วิเภตโก ๒. อสสฺ ยุชฺเช สสี ๑๗.กกุโฏ จ กรุ งโฺ ค จ กสฺสโป จ กุกฺกโุ ฏ จ โหนฺติ ๓. มนสุ สฺ านํ หตถฺ า ๑๘. อมฺหากํ ธมฺมสสฺ ามี ๔. คาเมสุ ทารกา ๑๙. สวนมาเส อนิ ฺทโคปโก ๕. รุกฺเข กปลิ ฺลกิ า ๒๐. โจรานํ หตเฺ ถ ทณโฺ ฑ ๖. ชนานํ ตรคุ า ๒๑. อุปาสิกานํ เคเห สปโฺ ป ๗. รกุ เข วานรา ๒๒. อุปาสกานํ ถวเิ ก อาลมโก ๘. ปเทยฺเย เถนา ๒๓. กสกิ านํ เขตเฺ ต มหิโส ๙. กสิกานํ ตณฑฺ โุ ล ๒๔. อุตฺตเร ชนานํ อคาโร ๑๐. ปุรตถฺ เิ ม อํสมุ าลี ๒๕. อาราเม อปุ าสกานํ ทารุ ๑๑.สงสฺ ารานํ เวทคู ๒๖. นรสสฺ กจฉฺ า ๑๒. วเน เอกภิกขฺ ุสฺส ปตฺโต ๒๗.สกเฏ ตรุคสฺส หนกุ า ๑๓. โจรสฺส พาหา ๒๘. ภกิ ฺขูนํ ปตฺเตสุ มกฺขกิ า ๑๔. ทารสฺส หตฺเถ มณิ ๒๙. ปณฺณสมฺ า มาลา ๑๕.วิหาเรสุ สาลาย กามี ๓๐. สิลาย ชลสมฺ า วาชี ๙. จงแปลเปน็ บาลี ๑. แมลงวัน ลงิ และสุนัข ๒.วันอาทิตย์ เดอื นธนั วาคม ๓. อาศรมอยทู่ างทศิ ใต้ ๔. แมวและหนอู ยใู่ นวิหาร ๕. เกวยี นของพ่อค้าในปา่ ๖. หนังสือของอาจารย์ ๗. ดอกบัวในมือของขโมย ๘. น้ำเมาในปากของโจร

๙๔ ๙. ริมฝีปากของหญงิ แม่มดบนศาลา ๑๐.หมแู่ หง่ มนุษยท์ ้ังหลายในโลก ๑๑. อ.สะพาน ย่อมอยู่ บนแมน่ ้ำ ๑๒. อ.ภกิ ษุ ท. ยอ่ มไปเพื่อบิณฑบาต ในเวลาเชา้ ๑๓. อ.ผ้วู ิเศษ ย่อมนอนในถำ้ บน ภูเขา ๑๔. อ.หญงิ สาว ยอ่ มกลวั ซง่ึ ตุก๊ แกและแมว ๑๕. อ.นำ้ ผึง้ ย่อมอยู่ บนต้นไม้ ในป่า ท. ๑๖. อ. ท่าน จงกระทำ ซง่ึ บญุ ด้วยปญั ญา ของตน ๑๗. แมวสวย ๑๘. วัดใหญ่ ๑๙.วังสูง ๒๐. ปแู ละปลาอ้วน ๒๑.พอ่ ตาขยัน แมย่ ายขยนั กว่า ๒๓. ลิงฉลาด ไก่ฉลาดกว่า นกพริ าบฉลาดที่สดุ ๒๔. ผ้าแดง ฟันขาว เมฆขาวกวา่ ๒๕. อ.กาย ของมนุษย์ ท. ย่อมแตก ไป ตามธรรมดา ๑๐. จงเขียนคำคณุ นามตอ่ ไปนเี้ ปน็ ภาษาบาลี สูง ต่ำ ดำ ขาว ละเอียด ประณีต เหลือง โง่ เก่า ใหม่ บดู เนา่ สนั้ ยาว ฉลาด ช่วั โง่

๙๕ เอกสารอ้างองิ ประจำบทที่ ๔ ------------------------------- พระอดุ รคณาธกิ าร (ชวินทร์ สระคำ),จำลอง สารพดั นกึ รศ.ดร.พจนานุกรมบาลี-ไทย.พิมพ์คร้ังที่ ๔, กรงุ เทพฯ: ธรรมสาร,๒๕๔๖. สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.บาลีไวยากรณ(์ นาม-อพั ยยศพั ท)์ . พิมพค์ รั้งท่ี ๔๘, กรงุ เทพฯ: มหา มกุฏราชวิทยาลยั ,๒๕๔๗.

แผนการสอนประจำบทเรียนที่ ๕ หัวข้อเนอ้ื หาประจำบท บทท่ี ๕ สัพพนามหรอื สรรพนาม ๓ ชัว่ โมง ๕.๑ วธิ แี จกปุริสสัพพนาม ๕.๒ วธิ แี จกวิเสสนสัพพนาม ๕.๓ วธิ แี จก กึ ศพั ท์ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม ๑.นักศกึ ษาเข้าใจวิธแี จกปุรสิ สัพพนาม ต (เขา), ตุมหฺ (ทา่ น), อมหฺ (ขา้ พเจา้ ) และวธิ ีการแจกดว้ ย วิภัตตทิ งั้ ๗ ๒.นกั ศกึ ษาเขา้ ใจและสามารถแจกคำศัพท์ภาษาบาลีในหมวดนิยมสพั พนาม และอนิยมสัพพนาม นิยม ได้แก่ ต,เอต,อิม,อมุ และอนิยม ได้แก่ ย (ใด), อญฺญ (อ่ืน),อญฺญตร (อย่างใดอย่างหนงึ่ ) ,อญญฺ ตม (อย่างใด อย่างหนึง่ ), ปร (อ่ืน), อปร (อ่ืนอีก), กตม (ไหน), เอก (หนึ่ง), เอกจจฺ (บางอยา่ ง) ,สพฺพ (ท้ังปวง) กึ (อะไร) ได้ ถกู ต้อง ๓.นกั ศึกษาเข้าใจวธิ ีแจกวธิ ีแจก กึ ศัพท์ และการแปล กึ ศพั ท์ ท่มี ี จิ ต่อท้าย ๔.นกั ศกึ ษาสามารถแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาบาลไี ด้ วิธกี ารสอนและกิจกรรม ๑.ศกึ ษาเอกสารคำสอนและบรรยายนำเปน็ เบอ้ื งตน้ ๒.ให้นกั ศกึ ษาวา่ ตามผบู้ รรยายเป็นคำศัพท์บาลี ๓.อภิปราย ๔.แบง่ กลุ่มอภิปราย ๕.คำถามทบทวนประจำบทที่ ๕ ส่อื การเรยี นการสอน ๑.เอกสารประกอบการเรียนการสอนและเอกสารอืน่ ๒.PowerPoint สรปุ บทเรยี น ๓.รปู ภาพ คลปิ วดี โิ อ สไลด์ การวัดและประเมินผล ๑.สงั เกตพฤติกรรมในระหว่างเรยี น ๒.การคน้ คว้า มอบหมายงานเดย่ี ว งานกลุ่ม ๓.ความสนใจในบทเรียน การซกั ถาม ๔.การเขยี นรายงาน การรายงานผลการค้นคว้าหนา้ ชน้ั เรยี น ๕.การสอบวัดผลความรู้แตล่ ะบทเรยี น ๖.การสอบวัดผลกลางภาคเรียน ๗.การสอบวดั ผลปลายภาคเรยี น

๙๗ บทท่ี ๕ สพั พนามหรือสรรพนาม สัพพนามหรือสรรพนาม คอื นามที่ใช้แทนสิง่ ทั้งปวงได้แก่ คน สตั วแ์ ละสง่ิ ของ แบง่ เป็น ๒ ประเภทคือ ๑.ปุรสิ สัพพนาม ต (เขา), ตมุ ฺห (ท่าน), อมหฺ (ขา้ พเจา้ ) ๒.วิเสสนสัพพนาม แบ่งเป็น ๒ คือนิยม ได้แก่ ต,เอต,อิม,อมุ และอนิยมได้แก่ ย (ใด),อญฺญ (อื่น), อญฺญตร (อย่างใดอย่างหน่ึง) ,อญฺญตม (อย่างใดอย่างหนึ่ง), ปร (อ่ืน), อปร (อ่ืนอีก), กตม (ไหน), เอก (หนึ่ง), เอกจฺจ (บางอยา่ ง), สพฺพ (ทัง้ ปวง), กึ (อะไร) ปรุ สิ พั พนาม เป็นศัพทส์ ำหรบั ใช้แทนชื่อคนและสง่ิ ของที่ออกชื่อมาแล้ว เพือ่ จะไมใ่ หเ้ ปน็ การซ้ำซาก นับตามบรุ ษุ ท่ีทา่ นจัดไว้ใน อาขยาต เป็น ๓ คือ ต ศัพท,์ ตุมหฺ ศัพท,์ และอมหฺ ศพั ท์ ต ศัพท์เป็น ปฐมปุริส หรือ ประถมบุรุษ ชายที่ ๑ สำหรับออกชื่อคนและส่ิงของ ท่ีผู้พูดออกช่ือถึง เชน่ คำในภาษาของเราวา่ \"เขา\" ภาษาองั กฤษคือ he she it ตุมหฺ ศัพท์ เป็น มชฺฌมิ ปุรสิ หรอื มธั ยมบรุ ุษ ชายมีในทา่ มกลาง สำหรับออกช่ือคนท่ีผพู้ ูด ๆ กับคน ใด สำหรับออกชื่อคนนั้น เช่นคำในภาษาของเราว่า \"เจ้า, เธอ,ท่าน, สู, เอง, มึง\" ตามคำสูงและต่ำ ภาษาอังกฤษ คอื You อมฺห ศัพท์ เป็นอุตฺตมปุริส หรือ อุตตมบุรุษ ชายสูงสุด สำหรับใช้ออกช่ือผู้พูดเช่นคำในภาษาของ เราวา่ \"ผม,ดิฉัน, ขา้ พเจ้า, อาตมา, กู\" ภาษาอังกฤษคือ I คำสรรพนานทั้งสามคำนน้ั เปน็ ไตรลิงคค์ อื แจกได้ท้งั ๓ ลงิ ค์ ในสัพพนามไมม่ อี าลปนะ๑ วธิ แี จกปุริสสัพพนาม ต ศพั ท์ ใน ปลุ งิ ค์ แจกอย่างนี้ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. โส เต ทุ. ต น เต เน ต. เตน เตหิ จตุ. ตสฺส อสสฺ เตส เตสาน เนส เนสาน ปญ.ฺ ตสฺมา อสมฺ า ตมหฺ า เตหิ ฉ. ตสสฺ อสฺส เตส เตสาน เนส เนสาน ๑สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส,บาลไี วยากรณ์ (สัพพนาม), พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๔๘, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลยั ,๒๕๔๗),หนา้ ๗๗.

๙๘ ส. ตสมฺ ึ อสมฺ ึ ตมฺหิ เตสุ วธิ ีเปล่ียน วภิ ัตติ และการันต์ ๑. สิ อยหู่ ลัง เอา ต ท่มี ิใช่ นปุ. เปน็ ส. อ อยู่หน้า เอา โยทั้งสอง เปน็ เอ, เอา ต เปน็ น ไดบ้ ้าง ๒. ส สฺมา สฺมึ อยู่หลัง เอา ต เป็น อ ได้บ้าง ในลิงค์ท้ังปวง. เอา น เป็น ส เป็น สาน แล้ว เอา อ ขา้ งหนา้ เปน็ เอ ๓. เอา ต เป็น อ แลว้ หา้ มมิใหแ้ ปลง สฺมา เปน็ มหฺ า แปลง สมฺ ึ เป็น มฺหิ ต ศพั ท์ ใน อิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. สา ตา ทุ. ต น ตา ต. ตาย ตาหิ จต.ุ ตสสฺ า อสฺสา ติสฺสา ตสิ สฺ าย ตาส ตาสาน ปญ.ฺ ตาย ตาหิ ฉ. ตสฺสา อสสฺ า ตสิ สฺ า ตสิ ฺสาย ตาส ตาสานํ ส. ตาย ตสฺส อสสฺ ตสิ สฺ ตาสุ วธิ ีเปล่ียน วภิ ตั ติ และ การันต์ ๑. ใน อติ ถีลิงค์ เอา อ การันต์ เปน็ อา และ ลบ โย ท้ังสองเสีย ๒. เอา ส เปน็ สฺสา เปน็ สสาย แลว้ รัสสะ การันต์ ใหเ้ ป็น อ บา้ ง แปลงเป็น อิ บา้ ง ๓. เอา สฺมึ เป็น สฺส แล้ว รัสสะ การันต์ ให้เปน็ อ บา้ ง แปลงเป็น อิ บา้ ง ต ศพั ท์ใน นปุสกลิงค์ แจกเหมือน ใน ปุลิงค์ แปลกแต่ ป. เอก. ต, พหุ. ตานิ, ทุ, พหุ. ตานิ เท่าน้ัน ต ศัพท์ ที่เป็นประถมบุรุษ มิใช่วิเสสนสัพพนามนี้ เห็นว่าตรงกับคำท่ีเราใช้ในภาษาของเราว่า \"ท่าน, เธอ, เขา, มนั \" ตามคำสงู และตำ่ จะไม่ต้องแปลวา่ \"นน้ั \" เหมอื นวิเสสนสัพพนาม กไ็ ด้ เช่น ๑. อาจริโย ม นิจฺจเมว โอวทติ อนุสาสติ โส หิ มยฺห วุฑฺฒึ อาสึสติ คำแปล อาจารย์ ว่ากล่าวอยู่ ตามสง่ั สอนอยู่ ซึ่งข้าพเจ้าเป็นนิตยท์ ีเดยี ว เพราะวา่ ทา่ น หวงั อยู่ ซ่ึงความเจริญ แกข่ า้ พเจา้ ๒.รญฺโ ปเสนทิโกสลสฺส มลฺลิกา นาม เทวี พหุนน ปิยา อโหสิ,สา หิ เตส อุปการมหาสิ คำแปล นางเทวี ของพระราชา ปเสนทิโกศลนามว่า มัลลิกา ไดเ้ ป็นที่รัก ของชนทงั้ หลายเป็นอนั มาก มแี ลว้ เพราะว่า เธอ ได้ทำแล้ว ซึง่ อปุ การะ แกเ่ ขาท้ังหลาย ๓. นามรูป อนิจฺจ ตญฺหิ อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌติ คำแปล นามรูป ไม่เที่ยง เพราะว่า มัน เกิดข้ึนแล้ว ยอ่ มดับไป

๙๙ คำที่ใชใ้ นประถมบุรุษ ในภาษาของเรามาก จะใช้ยืนเป็นแบบเดียวไม่ได้ ครั้นจะใชย้ ักเยื้องไปต่าง ๆ ก็จะพาให้ผู้เริ่มศึกษา สังเกตยากหรืออย่างไรแล ท่านจึงสอนให้ยกเอานามศัพท์ท่ีสัพพนามเล็งเอาขึ้นแปลด้วย เหมือนอุทาหรณ์ท่ีต้น ต้องแปลว่า \"โส อาจริโย อาจารย์น้ัน,\" ในอุทาหรณ์ท่ีสอง ต้องแปลว่า \"สา มลฺลิกา นาง มัลลิกานั้น,\" ในอุทาหรณ์ท่ีสาม ต้องแปลว่า \"ต นามรูป นามรูปนั้น\" ดังนี้ แต่ที่ยกเอานามศัพท์ข้ึนแปลด้วยน้ี ก็ เป็นอุบายท่ีจะให้ผู้แรกศึกษาเข้าใจความได้ชัด และฉลาดในการท่ีจะแจกวิภัตติและผูกประโยค เพราะฉะนั้น แปลต่อไปขา้ งหน้า จะต้องใช้ตามแบบท่ีเคยใชม้ าแตก่ ่อน ไม่เปล่ียนแปลง ต ศัพท์ ทท่ี ่านเขยี นไว้กับนามศพั ท์ หรอื ตุมหฺ อมหฺ ศัพท์ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลวา่ \"น้ัน\" เช่น ๑.อภิญฺ าย โข โส ภควา ธมมฺ เทเสติ โน (เทเสติ) อนภิญฺ าย พระผูม้ ีพระภาคเจ้า น้ัน ย่อมแสดง ซ่ึงธรรมเพือ่ ความรูย้ ่ิง แล ไม่ (แสดง) เพอื่ ความไม่รู้ยิ่ง ๒. เอกมนฺต ิตา โข สา เทวตา. เทวดา นน้ั ยนื แลว้ ส่วนขา้ งหนง่ึ แล ๓. น ต กมฺม กต สาธุ, ย (กมฺม) กตฺวา อนตุ ปปฺ ติ. กรรมน้ัน อันบุคคลทำแล้ว ให้ประโยชน์สำเร็จได้ หามิได้ (บคุ คล) ทำแล้ว ซ่ึงกรรมไรเลา่ ยอ่ มเดือดร้อนในภายหลงั ๔. ตสฺส เต อลาภา. มิใชล่ าภท้ังหลาย ของทา่ น นั้น ๕.โส โข อห ภนเฺ ต ปติ ุ วจน สกฺกโรนโฺ ต ฯลฯ ทิสา นมสสฺ าม.ิ ข้าแต่พระองคผ์ เู้ จริญขา้ พระพุทธเจ้า นนั้ แล เมอื่ สักการะ ซึ่งคำ ของบดิ า ฯลฯ นอบน้อมอยู่ ซง่ึ ทศิ ท้ังหลาย\" ดงั น้ี ตุมหฺ ทา่ น ทง้ั สองลิงค์ แจกอยา่ งเดียวกัน อยา่ งนี้ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ตวฺ ตวุ ตมุ เฺ ห โว ท.ุ ต ตวฺ ตวุ ตมุ ฺเห โว ต. ตยา ตฺวยา เต ตุมเฺ หหิ โว จต.ุ ตยุ ฺห ตมุ ฺห ตว เต ตมุ ฺหาก โว ปญ.ฺ ตยา ตมุ เฺ หหิ ฉ. ตยุ หฺ ตุมหฺ ตว เต ตมุ ฺหาก โว ส. ตยิ ตฺวยิ ตมุ เฺ หสุ วธิ ีเปลีย่ น วภิ ัตติ และ การนั ต์ ๑. ศพั ท์ท่ีอาเทศผดิ จากรูป ตุมหฺ ทีเดียว พงึ ร้วู า่ เอาวิภัตตินัน้ ๆ กับ ตุมฺห เปน็ อย่างนี้ ๒. ตมุ ฺห อมฺห อยู่หน้า เอา น เปน็ อาก ๓. เต โว มีบทอ่นื นำหนา้ จงึ มไี ด้

๑๐๐ อมฺห ศัพทแ์ ปลว่า ขา้ ท้ังสองลงิ ค์ แจกเป็นแบบเดยี วกนั อย่างน้ี วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อห มย โน ทุ. ม มม อมฺเห โน ต. มยา เม อมฺเหหิ โน จตุ. มยฺห อมหฺ มม มม เม อมหฺ าก อสฺมาก โน ปญ.ฺ มยา อมเฺ หหิ ฉ. มยหฺ อมหฺ มม มม เม อมหฺ าก อสมฺ าก โน ส. มยิ อมเฺ หสุ อมหฺ ทเี่ ป็น จตุ. ฉ. เอก. โดยสูตรมลู กจั จายนะวา่ สสสฺ . และสูตรสทั ทนตี ิ วา่ มตนฺตเร สสฺส ว่า อ. วธิ ีเปลย่ี น วิภัตติ และ การันต์ ๑. เอา อมฺห กับ วิภัตติ นั้น ๆ เปน็ รูปนน้ั ๆ ๒. เม โน มีบทอืน่ นำหนา้ จึงมีได้ วธิ แี จก วิเสสนสพั พนาม นยิ มานิยม ย ศพั ท์ ใด ในปุลิงค์ แจกอย่างนี้ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. โย เย ทุ. ย เย ต. เยน เยหิ จตุ. ยสสฺ เยส เยสาน ปญ.ฺ ยสมฺ า ยมฺหา เยหิ ฉ. ยสฺส เยส เยสาน ส. ยสฺมึ ยมหฺ ิ เยสุ ศัพทเ์ หลา่ นี้ แจกเหมือน ย ศัพท์ อญฺ อน่ื กตม, กตร คนไหน อญฺ ตร คนใดคนหน่ึง เอก คนหนึ่ง, พวกหนึ่ง อญฺ ตม คนใดคนหนง่ึ เอกจจฺ บางคน, บางพวก ปร อน่ื อภุ ย ท้งั สอง อปร อ่ืนอกี สพพฺ ท้งั ปวง

๑๐๑ ย ศัพท์ ในอติ ถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. ยา ทุ. ย ยา ต. ยาย จต.ุ ยสฺสา ยา ปญ.ฺ ยาย ฉ. ยสฺสา ยาหิ ส. ยสสฺ ยาส ยาสาน ยาหิ ยาส ยาสาน ยาสุ “ย ศพั ท์” ในนปุสกลงิ ค์ แจกเหมอื น ปุลงิ ค์ แปลกแต่ ป. เอก. ย, พห.ุ ยานิ, ท.ุ พหุ. ยานิ เท่านั้น กึ ศพั ท์ ใคร , อะไร คงเป็นรูป กึ อยู่แตใ่ นนปุ. ป. ทุ. เอก. เท่าน้ัน นอกน้ัน แปลงเป็น ก แล้วแจก ในไตรลงิ ค์ เหมือน ย ศพั ท์ กึ ศัพท์ ท่แี จกดว้ ยวิภตั ตใิ นไตรลงิ คน์ ้ี มี จิ อยทู่ ้ายศัพท์ แปลว่า \"น้อย\" บ้าง \"บางคน หรอื บางสิ่ง\" บ้าง เป็นคำให้ว่าซ้ำสองหน เหมอื นในภาษาของเราเขียนรปู \"ๆ\" ดงั น้ีบ้าง เช่น วา่ โกจิ ชาย บางคน หรือ ใคร ๆ \" \"กาจิ อิตฺถี หญิงบางคน หรอื หญงิ ไร ๆ\" \"กญิ จฺ ิ วตถฺ ุ ของน้อยหนึง่ หรือของบางสง่ิ \" ถา้ เป็นพหวุ จนะ แปลวา่ \"บางพวก หรอื บางเหลา่ \" เช่น \"เกจิ ชนา ชน ทั้งหลายบางพวก กาจิ อิตถฺ ี หญิงท้ังหลายบางพวก กานิจิ กุลานิ ตระกูลทั้งหลายบางเหล่า\" ถ้ามี ย นำหน้า มี จิ อยู่หลัง แปลว่า\"คนใดคนหน่ึง หรือ ส่ิงใดสิ่งหน่ึง\" เช่น \"โย โกจิ เทโว วา มนุสฺโส วา เทวดาหรือ หรอื มนษุ ย์ คนใดคนหน่งึ ยา กาจิ เวทนาอตีตานาคตปจฺจุปฺปนนฺ า เวทนา อยา่ งใดอย่างหน่ึง ล่วงแลว้ หรือยงั ไม่มาหรือเกิดข้ึน เฉพาะแลว้ ยงกฺ ิญจฺ ิ วิตตฺ อธิ วา หรุ วา ทรัพย์เครือ่ งปล้ืมใจ อันใดอนั หนึง่ ในโลกนห้ี รอื หรอื ในโลกอ่นื ทงั้ ย ท้ัง ก น้ี แจกด้วยวภิ ัตติใด ๆ ก็ตอ้ งเปลย่ี นเป็นรูปวภิ ัตติน้นั ๆ แลว้ เอา จิ ไวท้ ้ายศัพท์ เหมอื นดังน้ี เอก. ทุ. ยงกฺ ญิ จฺ ิ, ต. เยน เกนจิ, จ. ยสสฺ กสฺสจิ, พหุ. ป. ทุ. เย เกจิ, ต. เยหิ เกหจิ ิ, จ. เยส เกสญจฺ ิ เปน็ ต้น กึ ศัพท์ ที่เป็นคำถามแปลว่า \"หรือ\" เหมือนคำว่า \"กึ ปเนต อาวุโส ปฏิรูป ดูก่อนอาวุโส ก็ อันนั้น สมควร หรือ.\" บางทีในคำถามไม่มี กึ ก็มี ใช้แต่หางเสียงท่ีกิริยา เหมือนในภาษาอังกฤษ อุ.ว่า \"อุตฺถิ ปนายสฺมโต โกจิ เวยฺยาวจจฺ กโร ก็ ใคร ๆ ผเู้ ปน็ ไวยาวัจกร (ทำซ่ึงกรรมของผู้ขวานขวาย) ของท่านผมู้ ีอายมุ หี รือ \" กึ ศัพท์ ที่เป็นคำถามถึงเหตุที่เป็น แปลว่า \"ทำไม\" ตัวอย่างเช่น \"กึ ปาลิต ปมชฺชสิ ดูก่อนปาลิต ทำไม (ทา่ น) ประมาทอยู่

๑๐๒ เอต ศัพท์ (นั่น) ในปุลงิ ค์ แจกอย่างนี้ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. เอโส เอเต ทุ. เอต เอน เอเต ต. เอเตน เอเตหิ จต.ุ เอตสสฺ เอเตส เอเตสาน ปญ.ฺ เอตสฺมา เอตมฺหา เอเตหิ ฉ. เอตสฺส เอเตส เอเตสาน ส. เอตฺสมฺ ึ เอตมหฺ ิ เอเตสุ เอต ศพั ท์ ในอติ ถีลิงค์ แจกอยา่ งน้ี วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. เอสา เอตา ท.ุ เอต เอน เอตา ต. เอตาย เอตาหิ จตุ. เอตสสฺ า เอตสิ ฺสา เอตสิ ฺสาย เอตาส เอตาสาน ปญฺ. เอตาย เอตาหิ ฉ. เอตสฺสา เอตสิ สฺ า เอตสิ สฺ าย เอตาส เอตาสาน ส. เอตสสฺ เอตสิ ฺส เอตาสุ “เอต ศพั ท”์ ในนปุสกลงิ ค์ แจกเหมือนในปุลงิ ค์ แปลกแตเ่ อก. ป. เอต, พหุ. ป. ท.ุ เอตานิ เทา่ นั้น อมิ ศัพท์ (น้ี) ในปุลิงค์ แจกอยา่ งนี้ วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อย อเิ ม ทุ. อิม อเิ ม ต. อิมินา อเนน อเิ มหิ จต.ุ อิมสฺส อสฺส อเิ มสํ อเิ มสานํ ปญ.ฺ อมิ สมฺ า อิมมฺหา อสฺมา อเิ มหิ ฉ. อมิ สฺส อสฺส อเิ มส อิเมสานํ ส. อิมสฺมึ อิมมฺหิ อสฺมึ อิเมสุ

๑๐๓ วิธเี ปลย่ี น วภิ ตั ติ และ การันต์ ๑.เอา อมิ ใน ปุ. อิต.ฺ กบั สิ เปน็ อย ๒.นา อยู่หลงั เอาสระ อ ท่ีสุดแห่ง อมิ เปน็ อิ, อกี อยา่ งหนึง่ เอา อมิ เปน็ อน แลว้ เอา นา เป็น เอน ๓.ส สมฺ า สมฺ ึ อย่หู ลัง เอา อิม เปน็ อ ไดบ้ า้ ง อิม ศัพท์ ในอิตถลี ิงค์ แจกอย่างนี้ วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อย อิมา ท.ุ อมิ อมิ า ต. อิมาย อมิ าหิ จตุ. อมิ สิ ฺสา อิมสิ สฺ าย อสฺสา อิมาส อมิ าสาน ปญ.ฺ อิมาย อิมาหิ ฉ. อิมิสฺสา อมิ ิสฺสาย อสสฺ า อมิ าส อมิ าสาน ส. อมิ สิ สฺ อสฺสํ อิมาสุ “อิม ศัพท์” ใน นปุ. แจกเหมือนใน ปุ. แปลกแต่ เอก. ป. อิท, ทุ. อิท อิม, พหุ. ป. ทุ. อิมานิ เทา่ นนั้ . ท่ีเปน็ อิท นนั้ ใน นปุ. เอา อิม กบั สิ หรอื อ เปน็ อิท อมุ ศพั ท์ (โน้น) ใน ปุลิงค์ แจกอยา่ งน้ี วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อมุ อมู ทุ. อมุ อมู ต. อมุนา อมหู ิ จตุ. อมุสสฺ อมุโน อมูส อมูสาน ปญฺ. อมุสฺมา อมมุ หฺ า อมหู ิ ฉ. อมสุ สฺ อมุโน อมสู อมสู าน ส. อมสุ มฺ ึ อมุมหฺ ิ อมูสุ “อมุ ศัพท์” นี้อาเทศเป็น อสุ บ้างก็ได้ อมุ และ อสุ ท้ัง ๒ นี้ ถ้ามี ก เป็นท่ีสุด เปน็ อมุก อสุก ดังน้ี แจกตามแบบ ย ศพั ท์ ท้งั ๓ ลงิ ค์ อมุ และ อสุ ท่มี ี ก เป็นท่สี ดุ ท่านใช้มากกวา่ ท่ไี ม่มี ก

๑๐๔ อมุ ศพั ท์ ในอติ ถีลิงค์ แจกอย่างน้ี วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อมุ ทุ. อมุ อมู ต. อมุยา จตุ. อมุสฺสา อมู ปญ.ฺ อมุยา ฉ. อมสุ สฺ า อมหู ิ ส. อมสุ ฺส อมูส อมสู าน อมูหิ อมูส อมูสาน อมสู ุ “อมุ ศัพท์” ใน นปุสกลิงค์ แจกเหมือนใน ปุลิงค์ แปลกแต่ ป. ทุ. เอก. อทุ, พหุ. อมูนิ เท่าน้ัน ท่ี เป็น อทุ นั้น ใน นปุ. เอา อมุ กบั สิ หรอื อ เปน็ อทุ วิธแี จก กึ ศพั ท์ กึ ศพั ท์ (ใคร, อะไร) เป็นได้ ๓ ลิงค์ แจกดงั น้ี ปุงลิงค์ แปลง กึ เป็น ก แจกอยา่ ง ย ศพั ท์ ดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. โก เก ทุ. กํ เก ต. เกน เกหิ จต.ุ กสสฺ เกส,ํ เกสานํ ปญ.ฺ กสมฺ า กมฺหา เกหิ ฉ. กสสฺ เกสํ, เกสานํ ส. กสมฺ ึ กมหฺ ิ เกสุ อิตถลี ิงค์ แปลง กึ เป็น กา แจกอยา่ ง ยา ศพั ท์ ดังน้ี วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. กา กา ทุ. กํ กา ต. กาย กาหิ จต.ุ กสสฺ า กาสํ, กาสานํ ปญ.ฺ กาย กาหิ

๑๐๕ ฉ. กสฺสา กาส,ํ กาสานํ ส. กสสฺ ํ กาสุ นปุงสกลิงค์ คงรปู กึ ไวเ้ ฉพาะ ปฐมาวภิ ตั ิ เอกวจนะ และทุตยิ าวิภัตติ เอกวจนะเท่านนั้ นอกจากนั้นแปลงเป็น ก และแจกอยา่ ง ย ศัพท์ ในนปุงสกลงิ ค์ ดงั น้ี วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. กึ กานิ ท.ุ กึ กานิ ต. เกน เกหิ จตุ. กสสฺ , กิสสฺ * เกส,ํ เกสานํ ปญ.ฺ กสฺมา กมฺหา เกหิ ฉ. กสสฺ , กสิ สฺ * เกส,ํ เกสานํ ส. กสฺมึ, กมฺห,ิ กิสฺมึ* เกสุ * แปลง ก เป็น กิ การใช้ กึ ศพั ท์ ๑.ใช้อย่างปรุ สิ สัพพนาม คือ ใช้ลำพังตวั เอง ไม่ต้องประกอบกับนามนาม แปลวา่ ใคร,อะไร เชน่ โก คามํ อาคจฺฉติ ? อ. ใคร ย่อมมา สู่บ้านฯ กึ เต หตฺเถ โหติ ? อ.อะไร ย่อมมี ในมือ ของท่าน ฯ กสฺส สุนโข อาวา เส รวติ ? อ. สนุ ขั ของใคร ยอ่ มร้อง ในวดั ฯ เปน็ ต้น ๒.ใช้เป็นวิเสสนสัพพนามแท้ คอื ใช้ประกอบกับนามนาม แปลว่า อะไร, ไร, ไหน เชน่ โก สามเณโร ปตฺเต โธวต.ิ อ. สามเณร รปู ไหน ย่อมลา้ ง ซง่ึ บาตรฯ กึ ผล ปิฏเก โหติ ? อ. ผลไม้ อะไร ย่อมมี ในกระจาด ฯ กา ทารกิ า อยุ ฺยานิ คจฉฺ ติ ? อ.เดก็ หญงิ ไร ย่อมไป สู่สวน ฯ กึ ศัพท์ ที่มี จิ ต่อท้าย กึ ศพั ท์ ตามปกตแิ ปลวา่ “ ใคร” หรือ “ อะไร” แต่ถา้ มี จิ ตอ่ ท้าย แปลซ้ำสองหนว่า ใคร ๆ, อะไร ๆ เช่น โกจิ ใคร ๆ, โกจิ ชโน ชนไร ๆ เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งแปลว่า “น้อย” “บาง” เช่น กิญฺจิ ธนํ ทรัพย์น้อย หน่ึง, โกจิ ปุริโส บรุ ุษบางคน เป็นตน้ เมื่อเป็นพหุวจนะ แปลวา่ บางพวก, บางเหลา่ , เชน่ เกจิ ชนา ชนบางพวก, กาจิ อิตถฺ โิ ย หญิงบางพวก, กานิจิ ภาชนานิ ภาชนะบางอย่าง เปน็ ตน้ วธิ ีแจก กึ ศัพท์ที่มี จิ ต่อท้าย ให้นำ จิ ไปต่อทา้ ยศพั ท์ท่ีแจกแลว้ ตามวภิ ัตตนิ ้ัน ๆ เช่น โกจิ เกจิ กา จิ เปน็ ต้น ถ้าวิภัตติใดลงท้ายด้วยนิคคหิต ให้แปลงนิคคหิตเป็น ญ เช่น กํ เป็น กญฺจิ กึ เป็น กิญฺจิ กสฺมึ เป็น กสฺมิญจฺ ิ เป็นต้น

๑๐๖ กึ ศพั ท์ ท่ีมี ย นำหนา้ และมี จิ ต่อทา้ ย เม่ือมี ย นำหน้า และ จิ ต่อท้าย กึ ศัพท์ แปลว่า คนใดคนหน่ึง, สิ่งใดสิ่งหน่ึง,อย่างใดอย่างหนึ่ง เปน็ ต้น ตามสมควร วธิ แี จกวิภัตตใิ นลิงค์ทง้ั สาม มีรูปตามลำดับ ดงั นี้ ปุงลงิ ค์ วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. โย โกจิ เย เกจิ ท.ุ ยงกฺ ญิ ฺจิ เย เกจิ ต. เยน เกนจิ เยหิ เกหจิ ิ จต.ุ ยสฺส กสฺสจิ เยสํ เกสญจฺ ิ, เยสานํ เกสานญฺจิ ปญฺ. ยสมฺ า กสฺมาจิ เยหิ เกหจิ ิ ฉ. ยสสฺ กสฺสจิ เยสํ เกสญจฺ ,ิ เยสานํ เกสานญจฺ ิ ส. ยสมฺ ึ กสฺมญิ จฺ ิ เยสุ เกสจุ ิ วภิ ัตติ เอกวจนะ อติ ถลี งิ ค์ ป. ยา กาจิ พหวุ จนะ ทุ. ยงกฺ ิญจฺ ิ ต. ยาย กายจิ ยา กาจิ จต.ุ ยสฺสา กสฺสาจิ ยา กาจิ ปญ.ฺ ยาย กายจิ ยาหิ กาหจิ ิ ฉ. ยสฺสา กสฺสาจิ ยาสํ กาสญจฺ ,ิ ยาสานํ กาสานญจฺ ิ ส. ยสฺสํ กสฺสญจฺ ิ ยาหิ กาหิจิ ยาสํ กาสญฺจิ, ยาสานํ กาสานญจฺ ิ วิภัตติ เอกวจนะ ยาสุ กาสจุ ิ ป. ยงกฺ ญิ ฺจิ นปุงสกลงิ ค์ ท.ุ ยงกฺ ิญจฺ ิ ต. เยน เกนจิ พหุวจนะ จต.ุ ยสฺส กสสฺ จิ ยานิ กานิจิ ปญฺ. ยสฺมา กสมฺ าจิ ยานิ กานจิ ิ ฉ. ยสสฺ กสสฺ จิ เยหิ เกหิจิ ส. ยสมฺ ึ กสฺมิญฺจิ เยสํ เกสญจฺ ิ, เยสานํ เกสานญจฺ ิ เยหิ เกหิจิ เยสํ เกสญจฺ ,ิ เยสานํ เกสานญฺจิ เยสุ เกสจุ ิ

๑๐๗ กึ ศัพท์ ที่มี ย นำหน้า มี จิ ตามหลงั เม่ือใช้ประกอบกับนามนาม ให้เรียงไว้หน้านามนามน้ัน โดยมี ลิงค์ วจนะ วิภัตติ ตรงตาม ลิงค์ วจนะ วิภัตติ ของนามนามนั้น เช่น โย โกจิ สามเณโร ยงฺกิญฺจิ ภิกฺขํ วนฺทติ. อ. สามเณร รปู ใดรูปหน่ึง ย่อมไหว้ ซ่ึงภิกษุรปู ใดรูปหนึง่ ฯ ยา กาจิ อุปาสิกา ยงกฺ ิญฺจิ ปญุ ฺญํ กโรติ. อ.อบุ าสิกาคนใด คนหนึ่ง ย่อมกระทำซ่ึงบุญ อย่างใดอย่างหน่ึงฯ ยงฺกิญฺจิ วตฺถุ ยสฺส กสฺสจิ ทารกสฺส หตฺเถ โหติ. อ.วัตถุ อย่างใด อยา่ งหนึ่ง ยอ่ มมี ในมอื ของเดก็ ชาย คนใด คนหน่งึ ฯ เปน็ ตน้ สรปุ ทา้ ยบท สัพพนามหรือสรรพนามนั้นใช้แทนคำนามเพื่อให้เกิดความสลวยในการอ่าน เขียนพูด ในหนังสือ บาลีไวยากรณ์ส่วนมากจะแบ่งออกเป็นปุริสสัพพนามและวิเสสนสัพพนาม บางท่านอาจคุ้นเคยกับคำว่า “บุรษุ ” ในภาษาอังกฤษคือ บุรุษท่ี ๑ ใช้แทนผพู้ ูดใช้คำว่าฉันหรือ( I) ในภาษาอังกฤษ บุรุษท่ี ๒ (You) ใช้แทนผู้ท่ีเราพูด ดว้ ย ส่วนบุรุษที่ ๓ หมายถึงคนทีเ่ รากล่าวถึง (He She It) แต่ในภาษาบาลีจะกลับกันคือบรุ ษท่ี ๑ หรือปฐมบุรุษ ใช้เรียกคนทีเ่ รากล่าวถึง บุรุษท่ี ๒ มัธยมบุรุษ ใช้ตรงกันกับภาษาอังกฤษ และบุรษุ ที่ ๓ อตุ ตมบุรุษ ภาษาบาลใี ช้ แทนตัวผู้พูด ผู้ท่ีกำลังศึกษาทั้งภาษาอังกฤษและภาษาบาลีจึงต้องแยกแยะให้ชัดเจนสัพพนามแบ่งเป็น ๒ อย่าง คอื ๑. ปุรสิ สัพพนาม คือ คำท่ีใช้แทนนามนาม ท่ีกล่าวถึงมาแลว้ คำที่ใช้แทนตวั ผ้พู ดู และคำที่ใชแ้ ทน ตวั ผฟู้ ัง เชน่ เขา, ทา่ น, ฉนั เปน็ ต้น ปรุ สิ สัพพนามแบง่ เป็น ๓ บุรุษ คือ ๑.ประถมบรุ ุษ คอื คำที่ใช้แทนนามนามท่กี ลา่ วถึงมาแล้วหรือแทนบุคคล หรอื ส่งิ ท่ถี ูกพดู ถงึ ไดแ้ ก่ ต ศัพท์ แปลว่า เขา, มัน, อัน เปน็ ตน้ เปน็ ไดท้ ง้ั ๓ ลิงค์ ๒.มัธยมบรุ ุษ คือ คำที่ใช้แทนผูฟ้ ัง หรือผพู้ ูดด้วย ได้แก่ ตุมฺห ศพั ท์ แปลวา่ ท่าน, คณุ เธอ, สู, เอง, มึง เป็นต้น เป็นได้ ๒ ลงิ ค์ คือ ปงุ ลงิ ค์ และอิตถลี ิงค์ ๓.อตุ ตมบรุ ษุ คือ คำท่ีใชแ้ ทนตัวผพู้ ดู ได้แก่ อมฺห ศัพท์ แปลวา่ ฉัน, กระผม, ขา้ , เรา, กู เป็นต้น เป็นได้ ๒ ลงิ ค์ คือ ปงุ ลงิ ค์ และอิตถีลิงค์ ๒.วิเสสนสัพพนาม คือ สัพพนามท่ีใช้ประกอบกับนามนาม เพื่อให้มีความหมายพิเศษแตกต่างกัน ออกไป มลี กั ษณะและวธิ ใี ช้เหมือนคุณนาม วเิ สสนสพั พนาม แบ่งเปน็ ๒ อยา่ ง คือ ๑. อนยิ มวิเสนนสัพพนาม คือ สพั พนามท่ใี ชป้ ระกอบกับนามนาม ไมร่ ะบแุ น่ชดั ว่าเปน็ ใคร หรือสิ่ง ใด มีท้งั หมด ๑๒ ศัพท์ คือ ย ใด อญฺ อ่นื กตม, กตร คนไหน อญฺ ตร คนใดคนหน่งึ เอก คนหนึ่ง, พวกหนึง่ อญฺ ตม คนใดคนหนงึ่

๑๐๘ เอกจจฺ บางคน, บางพวก ปร อ่ืน อุภย ทั้งสอง อปร อื่นอีก สพฺพ ท้ังปวง กึ อะไร ๒.นยิ มวเิ สสนสพั พนาม คอื สพั พนามท่ใี ชป้ ระกอบกบั นามนาม ระบแุ นช่ ดั ว่าเปน็ คนน้ันคนน้ี หรอื สง่ิ นั้นส่งิ นี้ มี ๔ ศพั ท์ คือ ต นัน้ เอต น่นั อิม นี้ อมุ โน้น

๑๐๙ คำถามทบทวนประจำบทที่ ๕ ------------------------------------- ๑. จงประกอบประโยคตอ่ ไปนีใ้ ห้ถูกตอ้ ง ๑. ภิกขุ คามก อาหาร ภกิ ฺข อ. ภกิ ษุ ท. ย่อมขอ ซงึ่ อาหาร จากชาวบา้ นทัง้ หลาย ๒. เกตุ สขิ ร วส อ. ธง ย่อมอยู่ บนภเู ขา ๓. พพฺพุ มจฉฺ ขาท อ.แมว ท. ย่อมกนิ ซ่ึงปลา ท. ๔. กตญญฺ ู สาธุ นิมิตฺต หุ อ. ผู้รอู้ ปุ การะที่คนอนื่ ทำแลว้ เปน็ เคร่ืองหมายของคนดี ๕. อรุ ุ นที ปาร วส อ. ทราย ท. ย่อมอย่บู นฝงั่ แหง่ แม่นำ้ ท. ๖. อกุ ขฺ ลิ ยาคุ ปูร อ. หมอ้ ข้าว ท. ย่อมเตม็ ดว้ ยข้าวตม้ ท. ๗. สรพู ชมฺพทู ีป วน ชมพฺ ู วส อ. ตุ๊กแก ยอ่ มอยูบ่ นต้นหวา้ ในป่าแห่งชมพทู วีป ๘. อสสฺ ุ กญญา อกฺขิ นกิ ขฺ อ.น้ำตา ท. ย่อมไหลออกจากนยั น์ตาของนางสาวน้อย ๙. ชน อายุ มรณ ขี อ. อายุ ของชน ท. ยอ่ มสน้ิ ไป ดว้ ยความตาย ๑๐. ภู โลก ชนตฺ ุ หุ อ. แผน่ ดิน ย่อมเปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศัยของสัตวเ์ กดิ ทัง้ หลาย ๑๑.ตมุ หฺ อมุ คาม คมฺ อ. ท่าน ท. จงไปสู่บ้านชื่อโน้น ๑๒. อมฺห ปญฺ ปญฺห จินตฺ อ.เรา ท. ย่อมคิด ซึง่ ปญั หา ท. ดว้ ยปญั ญา ๑๓. วิญญฺ ู มาร ชิ ผรู้ ู้ ท. ยอ่ มชนะซึ่งมาร ๑๔.อสํ มุ าลี ปรุ ตถฺ มิ คมฺ พระอาทิตยข์ ้ึนทางทศิ ตะวนั ออก ๑๕.พทุ ธฺ วสิ าขมาส พุธฺ พระพทุ ธเจ้าตรัสรใู้ นเดือนวสิ าขะ ๑๖.รววิ าร สุข อาราม สี วนั อาทิตยเ์ รานอนท่ีวัดด้วยความสขุ ๑๗.อมฺห เชฏฺ ภาตุ โปราณ ปณณฺ ํ หุ หนังสอื เกา่ เป็นของพชี่ าย ๑๘.ตมุ หฺ อาทจิ ฺจ จ กามี จ อิกฺข พวกท่านจงดพู ระอาทติ ย์และพระจนั ทร์ ๑๙.โจลกี วน อส ดอกไมม้ อี ยู่ในป่า ๒๐.มนุสสฺ กาย อนฺต ปพุ ฺพ เขฬ ยกน ภู ลำไส้ หนอง นำ้ ลาย ตบั มอี ยู่ในกายของมนษุ ย์ ๒.จงทำเครอื่ งหมาย / หน้าข้อถกู และเครื่องหมาย x หนา้ ขอ้ ผิด ..........๑) คำที่ใชแ้ ทนตัวผู้พูดจัดเป็นปรุ ิสสัพพนาม .........๒) คำที่ใช้แทนตวั ผ้ฟู ังจัดเปน็ วิเสสนสพั พนาม .........๓) ท่าน, ฉัน เปน็ ปุรสิ สพั พนาม .........๔) ปรุ สิ สัพพนาม แบง่ เปน็ ๒ บรุ ษุ .........๕) ต ศพั ทท์ ่แี ปลวา่ เขา เปน็ วิเสสนสัพพนาม .........๖) “ มนั ” เปน็ คำแปลของ ตุมฺห ศัพท์ .........๗) ตมุ ฺห, อมหฺ ศพั ท์ เป็นไดท้ ง้ั ๓ ลงิ ค์

๑๑๐ ........๘) อมหฺ ใชแ้ ทนตวั ผู้พูด ........๙) เมื่อสตรจี ะใช้คำพูดแทนตัว ในภาษาบาลีใช้ ตุมฺห ศพั ท์ ......๑๐) ต ศัพท์ปุริสสัพพนาม แปลวา่ เขา, มัน ......๑๑) ปรุ ิสสัพพนามมีลักษณะและวิธีใชเ้ หมือนคุณนาม ......๑๒) คำท่ีใช้แทนนามนามที่กลา่ วถงึ มาแลว้ เรียกว่าวเิ สสนสัพพนาม ......๑๓) คณุ นามและวิเสสนสัพพนาม มีวธิ ใี ชเ้ หมือนกัน ......๑๔) ต (นั้น) เป็นนยิ มวเิ สสนสัพพนาม ......๑๕) ถา้ จะใช้สัพพนามที่ระบุแนนอน ต้องใช้อนยิ มวเิ สสนสพั พนาม ......๑๖) วเิ สสนสัพพนาม แบง่ เป็น ๒ อย่าง ......๑๗) ถ้าจะกลา่ วถึงนามนามที่กล่าวถึงมาแลว้ นยิ มใช้วิเสสนสัพพนามแทน ......๑๘) ต ศัพท์ ซึง่ แปลว่า เขา เป็นอนิยมวิเสสนสพั พนาม ......๑๙) “ ขา้ พเจา้ ” ตรงกับภาษาบาลีวา่ อมฺห ......๒๐) อญฺญ (อืน่ ) เป็นปรุ สิ สัพพนาม ๓. บรุ ษุ ในปรุ ิสสัพพนามมกี ่ีอยา่ ง จงอธิบายมาพอเขา้ ใจ ? ๔. ปรุ สิ สัพพนามและวิเสสนสัพพนามต่างกันอย่างไร คำไทยต่อไปนี้ คำไหนเป็นปุริสสัพพนาม คำไหนเปน็ วิเสสนสัพพนาม เขา, คณุ , เจ้า, น้นั , ใด, มนั , อนื่ , โน้น, ใคร, เรา ? ๕. วิเสสนสพั พนามแบ่งเปน็ ก่ีอยา่ ง จงอธิบายมาพอเข้าใจ ? ๖. จงแปลเป็นภาษาบาลี ๑. อ. นางทาสี กระทำแล้ว ซง่ึ ภัต, อ. หลอ่ น ให้แล้ว ซง่ึ มนั แก่เศรษฐ.ี ๒. อ. ชาวนา ยอ่ มไป สนู่ า, อ.เขา ย่อมไถ ซง่ึ มนั . ๓. อ. ตน้ ไม้ ท. ย่อมมี ในนา, อ. กง่ิ ท. ของมนั ท. ย่อมตกไป. ๔. อ. ภิกษุ ท. ยอ่ มอยู่ ในวัด, อ. อุบาสก ย่อมนิมนต์ ซง่ึ ทา่ น ท. ๕. อ. เด็กชาย ท. ยอ่ มเค้ียวกนิ ซึง่ ผลไม้ ท., อ. เขา ท. ยอ่ มนอน. ๖. อ. สวน ของอุบาสิกา ยอ่ มมี อ.บตุ ร ของนาง ย่อมไป สู่สวนน้ัน. ๗. อ. เดก็ หญงิ ท. ยอ่ มวงิ่ , อ. หลอ่ น ท. ย่อมล้มลง บนพื้นดิน. ๘. อ. เสือโคร่ง ยอ่ มมองดู ซ่ึงเด็กชาย ท., อ. ความกลัว แตม่ ัน ย่อมมี แกเ่ ขา ท. ๙. อ. ผลมะมว่ ง ย่อมมี ในมือ ของเด็กหญงิ , อ. หลอ่ น ย่อมเคี้ยวกิน ซงึ่ มัน. ๑๐. อ. ปลา ยอ่ มมี ในแมน่ ้ำ, อ. มัน ย่อมไป ในน้ำ. ๗. จงแปลเป็นภาษาไทย ๑. กสกสฺส โคณา โหนตฺ ,ิ โส เตหิ เขตตฺ ํ กสติ. ๒. สโู ท โอทนํ ปจติ, โส หตฺเถหิ ตํ คณฺหาติ. ๓. อปุ าสกิ า ทาริกานํ ปวู ํ กโรต,ิ สา สาสํ ตํ เทต.ิ

๑๑๑ ๔. สิสฺสานํ ปณณฺ านิ โหนตฺ ิ, เต คพฺเภ ตานิ ฐเปนตฺ .ิ ๕. อาจริโย สสิ เฺ ส โอวทิ, เต ตํ สททฺ หึส.ุ ๖. กุมารกิ าโย เถรํ วนทฺ นฺติ, โส ตา ปสํสต.ิ ๗. ทปี ินี มิคีนํ สมีเป ตฏิ ฺฐติ, ตสฺสา ภยํ ตาสํ โหต.ิ ๘. มกกฺ ฏี สกณุ ี โอโลเกติ, สา หตฺเถหิ ตํ คณหฺ าติ. ๙. ทารกา รุกฺขํ อภริ ุหนตฺ ิ, เต ตมฺหา ปตนฺต.ิ ๑๐. อสสฺ า รถํ วหนฺติ, สารถิ ทสาย เต ปหรติ. ๘. จงแก้คำผิดในประโยคตอ่ ไปนีใ้ หถ้ ูกตอ้ ง ๑. อปุ าสกิ า สามเณรสสฺ จวี รํ สพิ พฺ นตฺ ิ, สา เตสํ ตํ เทนฺต.ิ ๒. มาตา ปุตฺตานิ ภตฺตํ กโรม,ิ สา ตสสฺ ตํ เทม.ิ ๓. อุปชฺฌาโย สทฺธิวหิ าริกสฺส ปตฺตํ เทนฺต,ิ โส ตสสฺ า หตฺถมฺหา ตํ ปฏิคคฺ ณหฺ นตฺ ิ. ๔. ทายโก ผลานิ วหิ ารํ อาหรึสุ, โส ตสฺมึ สงฆฺ สสฺ ตา อทาสึ. ๕. ทารโก สามเณรํ มาเนนฺต,ิ โส สามเณโร เตสํ ทารกสฺส ธมฺมํ เทเสนตฺ ิ. ๖. กุมารโิ ย มาลา กโรนฺติ, เต ตา วกิ กฺ ีณาติ. ๗. วาณิโช วิเทสํ คจฉฺ นตฺ ,ิ โส ตสมฺ ึ ภณฺฑานิ กณี นฺติ. ๘. กสโก เขตฺเต สสสฺ ํ วปนตฺ ,ิ โส กสโก ตํ สสสฺ ํ รกฺขนฺติ. ๙. ปติ า ปตุ เฺ ต ปกโฺ กเสต,ิ โส ปิตา ตาสํ ปตุ ฺตานํ ภตตฺ ํ เทนตฺ .ิ ๑๐. ลุททฺ โก เต ปสฺสนตฺ ,ิ โส รชชฺ ูหิ เต พนธฺ นตฺ ิ. ๙. จงเตมิ คำในชอ่ งว่างตอ่ ไปนใ้ี ห้ถูกตอ้ ง ๑. ตุมหฺ + นํ = ..................................................................................................................... ๒. ตมุ เฺ หหิ แปลวา่ ................................................................................................................... ๓. ตยา สำเรจ็ รปู มาจาก....................................................................................................... ๔. มยฺหํ แปลว่า................................................................................................................... ๕. โน มีในวภิ ัตติ................................ .................................................................................... ๖. อมฺหํ สำเรจ็ รูปมาจาก............................... ............................................................................. ๗. ปตุ โฺ ต โน แปลวา่ ................................................................................................................ ๘. อสมฺ ากํ มีในวภิ ตั ติ.................................................................................................................. ๙. ตยิ สำเรจ็ รปู มาจาก............................................................................................................ ๑๐. อมหฺ + นา =........................................................................................................................... ๑๑. อมหฺ ากํ พุทโฺ ธ แปลวา่ ..................................................................................................... ๑๒.อมฺห + สฺมา = ................................................................................................................ ๑๓.ตมุ หฺ + สฺมึ = .........................................................................................................................

๑๑๒ ๑๔.ภริยาโย โว แปลวา่ ......................................... ....................................................................... ๑๕.มยิ แปลวา่ ...................................................................................................................... ๑๐.จงแปลเป็นภาษาบาลี ๑. อ. อาจารย์ ยอ่ มให้ ซ่งึ โอวาท แก่เรา ท. ๒. อ. เรา ท. ยอ่ มตงั้ อยู่ โนโอวาท ของทา่ น. ๓. อ. เรา ท. ย่อมเรียน ซงึ่ ศิลปะ ในสำนกั ของทา่ น. ๔. อ. ความรัก ในเรา ท. ย่อมมี แก่อุปัชฌาย์. ๕. อ. ท่าน ย่อมนำ ซึ่งเรา ท. ส่เู มอื ง. ๖. อ. ทา่ น ท. ยอ่ มได้ ซึ่งความเล่ือมใส ในธรรม. ๗. อ. ศรทั ธา ในทา่ น ท. ยอ่ มมี แกเ่ รา ท. ๘. อ. สุนขั ของเรา ท. ย่อมอยู่ ในบ้าน ของเรา ท. ๙. อ. หญงิ สาว ท. ยอ่ มเลือ่ มใส ในเรา ท. ๑๐. อ. หล่อน ท. ย่อมให้ ซึ่งผลไม้ ท. แกเ่ รา ท. ๑๑. จงแปลเปน็ ภาษาไทย ๑. ปิตา อมหฺ ากํ ภตฺตํ อทาส.ิ ๒. อยหฺ ํ มาตา อมหฺ ากํ วชี นโิ ย อกาส.ิ ๓. สา มาตา ตมุ หฺ ากํ ตา น อทาส.ิ ๔. กมุ ารี ตยุ หฺ ํ ภาชเน อมฺพํ ฐเปติ. ๕. ตวฺ ํ ตสสฺ า ตํ น เทส.ิ ๖. ภิกฺขุ ปาเปหิ อมฺเห นิวาเรต.ิ ๗. มยํ ตสฺส วจนํ กโรม. ๘. ครุ สสิ สฺ านิ ปณฺณานิ เทติ. ๙. เต ตสฺส หตฺถา ตานิ ปฏิคคฺ ณฺหนฺต.ิ ๑๐. กสโก อมหฺ ากํ ขีรํ เทติ. ๑๒. จงแก้คำผดิ ในประโยคตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกตอ้ ง ๑. มยํ นเภ จนทฺ ํ ปสสฺ ามิ. ๒. ตมุ ฺเห ยาเนน อากาเส คจฉฺ สิ. ๓. โส อติทเู ร มยหฺ ํ ปญฺญายนฺต.ิ ๔. อมหฺ ากํ พุทฺโธ สตฺตานํ อตถฺ าย โลเก อปุ ปฺ ชชฺ นฺติ. ๕. อหํ มม รเถน นครํ คจฉฺ ส.ิ ๖. มยูโร ตมุ หฺ ํ อุยยฺ าเน วสนฺติ. ๗. อหํ รกุ เฺ ข ตํ ปสฺสาม.

๑๑๓ ๘. พยคโฺ ฆ สยฺหํ เขตตฺ สสฺ สมีเป วสนตฺ .ิ ๙. ตมหฺ า ภยํ เม โหม.ิ ๑๐. มยฺหํ ฆเร กกุ ฺกโุ ฏ สทฺทํ อกาสึ. ๑๑. อหํ ตสสฺ สทเฺ ท ปพชุ ฌฺ มิ หฺ า. ๑๒. อมฺหากํ ปุตฺเตสุ เปมํ โหนฺติ. ๑๓. ยาจโก มม หตถฺ า ธนํ คณหฺ นฺต.ิ ๑๔. โส กมมฺ ํ น กโรนตฺ .ิ ๑๕. นารี ตมุ เฺ ห โอโลเกสึ. ๑๓.จงแปลเป็นภาษาไทย ๑. โย ปุคฺคโล ปาปํ กโรต,ิ ตสสฺ ปคุ ฺคลสฺส ทกุ ฺขํ อุปปฺ ชชฺ ติ. ๒. ยา อิตถฺ ี ปญุ ฺญํ กโรติ, สา อิตถฺ ี สขุ ํ ปสวต.ิ ๓. ยสฺส นรสสฺ ธนํ อตฺถ,ิ โส นโร สุเขน ชีวติ. ๔. โย เถโร อรญเฺ ญ อาวาเส วสติ, ตสสฺ เถรสสฺ วเิ วโก โหต.ิ ๕. อปุ าสิกา ยํ ภตฺตํ กโรต,ิ สา สามเณรสฺส ตํ ภตตฺ ํ เทต.ิ ๖. โย อาวาโส ธานิยํ ตฏิ ฐฺ ต,ิ อหํ ตสมฺ ึ อาวาเส วสาม.ิ ๗. ยาจกสฺส หตเฺ ถ ธนํ โหต,ิ โส คหปติมหฺ า ตํ ธนํ ลภ.ิ ๘. สพฺเพ ชนา สขุ ํ อจฉฺ นตฺ ิ, สพฺเพ เต กุสลํ กโรนตฺ .ิ ๙. อญฺญตรา อิตถฺ ี วหิ าเร ธมฺมํ สุณาต.ิ ๑๐. อหํ เสฏฺฐโิ น ฆเร อญฺญตรํ ทาสึ ปสสฺ ามิ. ๑๔.จงแก้คำผดิ ในประโยคตอ่ ไปนใ้ี ห้ถูกต้อง ๑. อญญฺ ตโร สุนโข เคเห นปิ ชฺชสึ ุ. ๒. เอกจฺโจ ทารโก ตํ ปสสฺ สึ ุ. ๓. ตสมฺ ึ กเุ ล ชนา โหต.ิ ๔. อมฺพานิ อุยฺยาเน อมเฺ พ โหติ. ๕. มยํ ภูมิยํ เอกจเฺ จ สกเุ ณ ปสสฺ าม.ิ ๖. เต สกุณา อากาเส ภกิ ฺขู น โหติ. ๗. เอกจจฺ สมฺ ึ อาวาเส ภิกฺขู น โหติ. ๘. อุปาสกา อญฺญสฺมา อาวาสา ภิกขฺ ู อาเนต.ิ ๙. เอกจฺเจ อุปาสิกา เตสํ ภกิ ขฺ ูนํ ภตตฺ ํ เทต.ิ ๑๐. เอกจจฺ สสฺ ปนสสสฺ ผลานิ น โหติ. ๑๑. ปณฺฑติ า ยสมฺ ึ เทเส วสต,ิ ตสฺมึ เทเส ชนา สุเขน ชวี นฺต.ิ ๑๒. ลทุ ทฺ โก รกุ เฺ ข ยํ ลุลาวกํ ปสฺสติ, โส ตํ คณฺหนฺต.ิ

๑๑๔ ๑๓. เอกจโฺ จ พยฺ คโฺ ฆ เอกจฺจํ มคิ ึ ขาทนฺติ. ๑๔. เอกจจฺ า สกณุ ึ ตํ ปสสฺ .ึ ๑๕. สพเฺ พ มจฉฺ า นทยิ ํ วสนตฺ ,ิ เต ถเล น ชวี ต.ิ ๑๕. จงเตมิ กึ ศพั ท์ ท่ีมี ย นำหนา้ มี จิ ตามหลัง ลงในช่องวา่ งตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง ๑. อหํ มคฺเค.........................................รถํ ปสสฺ .ึ ๒. ทายโก มยฺห.ํ .............................ผลานิ อทาสิ. ๓. .....................ทารโก....................กิจจฺ ํ อกาส.ิ ๔. .....................ตรณุ ี.....................เคเห วส.ิ ๕. กสโก.........................ผรสุนา รกุ ขฺ ํ ฉนิ ฺทิ. ๖. ลทุ ทฺ โก........................อรญฺญํ อคมาส.ิ ๗. ..................................หตถฺ ี.........................วถี ิยํ คจฺฉติ. ๘. ........................................อิตถฺ ี มาลํ วิกกฺ ณี าติ. ๙. ................................เสฏฐฺ ี ยาจกสฺส ธนํ เทติ. ๑๐. .............................สกณุ านํ คโณ อากาเส คจฺฉต.ิ ๑๖.จงแปลเปน็ ภาษาบาลี ๑. อ. ท่าน ย่อมไป สเู่ รือน ของใคร ? ๒. อ. อะไร ยอ่ มอยู่ ในมือ ของท่าน ? ๓. อ. ทา่ น ย่อมเห็น ซ่งึ ใคร บนเรือน ? ๔. อ. ยาจก รับแลว้ ซง่ึ ทรัพย์ จากมอื ของใคร ? ๕. อ. ชาวนา ยอ่ มไถ ซ่ึงนา ด้วยอะไร ? ๖. อ. เศรษฐี ยอ่ มให้ ซึ่งอะไร แกน่ างทาสี ? ๗. อ. เด็กชาย ท. ย่อมเค้ยี วกิน ซึ่งอะไร ? ๘. อ. เขา ท. ยอ่ มเคี้ยวกนิ ซ่งึ ผลไม้ ท. ? ๙. อ. ใคร ย่อมให้ ซงึ่ ผลไม้ ท. เหลา่ นน้ั แกเ่ ขา ท. ? ๑๐. อ. หญงิ ไร ๆ ยอ่ มกระทำ ซ่งึ การงาน. ๑๗. จงแปลเปน็ ภาษาไทย ๑. กาจิ นารี ภกิ ฺขูนํ ภตฺตํ อทาส.ิ ๒. โกจิ เถโร ชนานํ ธมฺมํ เทเสต.ิ ๓. โกจิ อปุ าสโก สายณเฺ ห วหิ ารํ คจฉฺ ติ. ๔. กสสฺ จิ สามเณรสฺส ปตโฺ ต กฏุ ยิ ํ ติฏฺฐต.ิ ๕. กายจิ กมุ ารยิ า ปติ า รตนตฺตเย ปสีทต.ิ ๖. โกจิ โจโร ภกิ ฺขสุ ฺส ผลานิ อทาสิ.

๑๑๕ ๗. เกจิ ชนา ธมฺมํ น สณุ นฺต.ิ ๘. กาสญฺจิ อิตฺถนี ํ คโณ สททฺ ํ กโรต.ิ ๙. กสโก เกหิ โคเณหิ เขตตฺ ํ กสติ. ๑๐. กิสฺมญิ ฺจิ นคเร รถา โหนตฺ .ิ ๑๑. เกจิ หตฺถโิ น ชเน วหนฺต.ิ ๑๒. ผลํ กสมฺ ญิ ฺจิ อมเฺ พ น โหต.ิ ๑๓. กสฺสจิ สามเณรสสฺ ปณณฺ ํ นตฺถิ. ๑๔. กาจิ มาตา กสาย ปตุ ตฺ ํ ปหรติ. ๑๕. อญญฺ ตโร ภิกขฺ ุ อาวาสํ อาคจฉฺ ต.ิ ๑๘.จงแปลเปน็ ภาษาบาลี ๑. อ. นางลงิ ใด ยอ่ มอยู่ บนต้นไม้, อ. ลูก ของนางลิงนั่น ยอ่ มยนื บนพ้นื ดนิ . ๒. อ. บรุ ุษคนใดคนหนึ่ง ยอ่ มร้อง, อ. ชน ท. ย่อมแลดู ซ่ึงบุรุษนนั่ . ๓. อ. หญงิ คนใดคนหน่งึ ยอ่ มวงิ่ , อ. หญิงคนนนั่ ยอ่ มล้มลง บนพ้ืนดนิ . ๔. อ. งู ยอ่ มอยู่ ในป่านัน่ , อ. เรา ท. ยอ่ มเห็น ซง่ึ งูนน่ั . ๕. อ. ม้า ท. เหล่าน่ัน ย่อมวิง่ , อ. เดก็ ท. ยอ่ มนงั่ บนหลัง ของมนั ท. ๖. อ. เนยใส ย่อมมี ในภาชนะน่,ี อ. หญงิ ย่อมถือเอา ซงึ่ เนยใสนนั่ . ๗. อ. แม่โคนัน่ ย่อมให้ ซง่ึ น้ำนม, อ. เดก็ ชาย ท. ย่อมดื่ม ซ่งึ น้ำนมนั่น. ๘. อ. สนุ ัข ตัวใดตัวหน่ึง ยอ่ มรอ้ ง ในราตรี, อ. สามเณร ยอ่ มเห็น ซ่งึ มนั . ๙. อ. หญา้ ท. ย่อมมี ในนาน่,ี อ. ชาวนา ย่อมตัด ซงึ่ หญา้ ท. เหล่านัน่ . ๑๐. อ. เรอื นน่ั ย่อมไป ในแมน่ ้ำ, อ. มัน อมหยุด. ๑๙.จงแปลเป็นภาษาไทย ๑. เอเต สสิ ฺสา อาจริยํ นมนตฺ ิ, เต สิสสฺ า ตสสฺ โอวาเท ตฏิ ฐฺ นฺติ. ๒. เอตา ทารกิ าโย มคฺเค กีฬนฺต,ิ ตา ทาริกาโย ทารเกหิ น กีฬนตฺ ิ. ๓. มยํ เอตาย นาวาย นทยิ ํ คจฺฉิมหฺ า, สา อมเฺ ห อาเนส.ิ ๔. ชนา เอตาย นาวาย นทิยํ คจฉฺ ึส,ุ เต ชนา ตีรํ ปาปุณสึ ุ. ๕. เอเต ภิกฺขู คามํ ปิณฑฺ าย ปวสิ สึ ุ, ทายกา เตสํ ภตฺตํ อทสํ .ุ ๖. เอตสสฺ คหปตโิ น เคเห ธนานิ อเหสุ, โส ตานิ รกขฺ .ิ ๗. เอโส เสฏฐฺ ี นคเร วสติ, ดส ทิวเส ทิวเส ธมฺมํ สณุ าต.ิ ๘. มาตา เอตํ ปุตฺตํ รกฺขต,ิ สา ตสสฺ ภตฺตํ เทต.ิ ๙. ปติ า เอตสฺมึ เขตเฺ ต กมมฺ นฺตํ กโรติ, โส สายํ คามํ ปจจฺ าคจฉฺ ติ. ๑๐. เอโส ลทุ ฺทโก วนํ คจฺฉติ, โส ลุททฺ โก มิคํ คณหฺ าต.ิ

๑๑๖ เอกสารอ้างอิงประจำบทท่ี ๕ ----------------------------------- กรมการศาสนา.พระไตรปฏิ กภาษาบาลี ฉบับสยามรัฐ,เล่มที่๔ .กรงุ เทพ ฯ: กรมการศาสนา,๒๕๒๕. กรมการศาสนา.พระไตรปฏิ กภาษาไทย ฉบบั หลวง,เล่มท่ี ๔.กรงุ เทพ ฯ:กรมการศาสนา,๒๕๑๔. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.บาลไี วยากรณ(์ สัพพนาม).พิมพ์ครั้งท่ี ๔๘. กรงุ เทพฯ: มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ,๒๕๔๗ ๗๗. เสฐียรพงษ์ วรรณปก ศ.พเิ ศษ.บาลีเรียนงา่ ย.พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒,กรงุ เทพฯ: หอรัตนชัยการพมิ พ์,๒๕๔๓.

แผนการสอนประจำบทเรียนท่ี ๖ หวั ข้อเน้อื หาประจำบท บทท่ี ๖ สังขยา การนับจำนวนในภาษาบาลี ๖ ชัว่ โมง ๖.๑ การแจกสังขยาด้วยวิภัตติทง้ั ๗ ๖.๒ การนับสงั ขยานามนาม ๖.๓ การแจก เอก ศัพท์ ๖.๔ ปูรณสังขยา วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ๑.นกั ศึกษาเข้าใจความหมายของสงั ขยาและวิธีการการนบั จำนวนในภาษาบาลี ๒.นกั ศึกษาสามารถแจกคำศัพทส์ งั ขยาด้วยวิภตั ตทิ ง้ั ๗ ได้ถกู ต้อง ๓.นกั ศึกษามคี วามเข้าใจหลกั ปรู ณสังขยาและวธิ กี ารแจกได้ถูกต้อง ๔.นกั ศกึ ษาสามารถแปลภาษาบาลเี ปน็ ภาษาไทย และแปลภาษาไทยเป็นภาษาบาลไี ด้ วิธีการสอนและกจิ กรรม ๑.ศึกษาเอกสารคำสอนและบรรยายนำเป็นเบ้อื งต้น ๒.ให้นกั ศึกษาวา่ ตามผ้บู รรยายเปน็ คำศัพทบ์ าลี ๓.อภิปราย ๔.แบ่งกลุ่มอภปิ ราย ๕.คำถามทบทวนประจำบทที่ ๖ สือ่ การเรยี นการสอน ๑.เอกสารประกอบการเรยี นการสอนและเอกสารอื่น ๒.PowerPoint สรุปบทเรยี น ๓.รปู ภาพ คลิปวีดโิ อ สไลด์ การวดั และประเมนิ ผล ๑.สงั เกตพฤติกรรมในระหว่างเรยี น ๒.การค้นควา้ มอบหมายงานเดีย่ ว งานกลุ่ม ๓.ความสนใจในบทเรยี น การซักถาม ๔.การเขียนรายงาน การรายงานผลการคน้ คว้าหนา้ ชน้ั เรยี น ๕.การสอบวดั ผลความรู้แตล่ ะบทเรียน ๖.การสอบวัดผลกลางภาคเรียน ๗.การสอบวดั ผลปลายภาคเรยี น

๑๑๘ บทที่ ๖ สงั ขยา การนับจำนวนในภาษาบาลี การนับจำนวนตัวเลขในแต่ละภาษาไม่เหมือนกัน แม้แต่การเขียนก็แตกต่างกัน ในภาษาบาลีมีวิธีการ พิเศษ มีศัพท์เฉพาะเรียกตัวเลขว่า “สังขยา” คือตัวเลขหรือการนับ เมื่อมีจำนวนมากขึ้นก็นำจำนวนตัวเลขมา ตอ่ กัน โดยใช้ศัพท์คือ “อุตตร”และ “อธิก” เป็นตัวเช่ือม ท่ีสำคัญการนับหรือท่ีภาษาบาลีเรียกว่าสังขยาน้ันใช้ ตวั อักษรแทนตัวเลขเช่นเลข ๑ ภาษาบาลีใช้คำวา่ \"เอก\" มีหลายคนท่ีชอ่ื เอก หากจะแปลตามความหมายกต็ ้อง บอกว่าหมายถึงลูกชายคนแรกนั่นเอง ในช้ันนี้หากผู้เริ่มศึกษาสนใจจำคำศัพท์ท่ีใช้แทนตัวเลขได้ก็จะสะดวกใน การนบั จำนวนทีม่ ากขึ้นไปด้วย สังขยา หมายถงึ ศพั ทท์ ่เี ป็นเครอ่ื งกำหนดนบั นามนามแบง่ ออกเปน็ ๒ อยา่ งคือ ๑.ปกติสังขยา (Cardinals) คือการนับโดยปกติ เป็นต้นว่า หน่ึง สอง สาม ส่ี ห้า, สำหรับนับนามนาม ให้รูว้ ่ามีประมาณเทา่ ใด ปกตสิ ังขยานี้ ในคัมภรี ์ศพั ทศาสตร์ทา่ นแบ่งเป็น ๒ พวก ตงั้ แต่ เอก ถึง จตุ จัดเป็น สัพ พนาม ตง้ั แต่ ปญจฺ ไป เป็น คณุ นาม ๒.ปูรณสังขยา (Ordinals) คือการนับนามนาม ที่เต็มในท่ีน้ัน ๆ คือ นับเป็นชน้ั ๆ เป็นต้นว่า ท่ีหน่ึง ท่ี สอง ท่ีสาม ทีส่ ่ี ท่ีหา้ ปรู ณสงั ขยาเป็น คณุ นามแท้ เอก ๑ วิธนี ับปกตสิ งั ขยา ๓๑ ทวฺ ิ ๒ เอกตตฺ สึ ๓๒ ติ ๓ ทวฺ ตฺตึส, พตฺตสึ ๓๓ จตุ ๔ เตตฺตึส ๓๔ ปญฺจ ๕ จตุตฺตสึ ๓๕ ฉ ๖ ปญฺจตตฺ ึส ๓๖ สตฺต ๗ ฉตตฺ สึ ๓๗ อฏฺ ๘ สตตฺ ตตฺ ึส ๓๘ นว ๙ อฏฺ ตตฺ สึ ๓๙ ทส ๑๐ เอกูนจตฺตาฬีส, อนู จตตฺ าฬสี ๔๐ เอกาทส ๑๑ จตตฺ าฬีส, ตาฬีส ๔๑ ทวฺ าทส, พารส ๑๒ เอกจตตฺ าฬีส ๔๒ เตรส ๑๓ เทวฺจตฺตาฬีส ๔๓ จตุทฺทส, จทุ ทฺ ส ๑๔ เตจตฺตาฬสี ๔๔ ปญฺจทส, ปณณฺ รส ๑๕ จตุจตฺตาฬีส ๔๕ โสฬส ๑๖ ปญฺจจตฺตาฬสี ๔๖ ฉจตฺตาฬีส

๑๑๙ สตตฺ รส ๑๗ สตตฺ จตฺตาฬสี ๔๗ อฏฺ ารส ๑๘ อฏฺ จตฺตาฬีส ๔๘ เอกนู วีสติ, อูนวีส ๑๙ เอกนู ปญฺ าส, อูนปญฺ าส ๔๙ วสี , วีสติ ๒๐ ปญฺ าส, ปณฺณาส ๕๐ เอกวสี ติ ๒๑ สฏฺฐี ๖๐ ทฺวาวสี ติ, พาวิสติ ๒๒ สตตฺ ติ ๗๐ เตวีสติ ๒๓ อสีติ ๘๐ จตวุ ีสติ ๒๔ นวตุ ิ ๙๐ ปญจฺ วสี ติ ๒๕ สตํ ๑๐๐ ฉพพฺ ีสติ ๒๖ สหสสฺ ํ ๑๐๐๐ สตตฺ วสี ติ ๒๗ ทสสหสสฺ ํ ๑๐๐๐๐ อฏฺ วีสติ ๒๘ สตสหสสฺ ํ, ลกขฺ ํ ๑๐๐๐๐๐ เอกูนตฺตสึ , อูนตตฺ ึส ๒๙ ทสสตสหสฺสํ ล้าน ตสึ , ตึสติ ๓๐ โกฏิ โกฏิ เอกสังขยาเป็นเอกวจนะ อย่างเดียว เอกสัพพนาม เป็นทฺวิวจนะ ตั้งแต่ ทฺวิ จนถึง อฏฺ ารส เป็นพหุ วจนะอยา่ งเดยี ว เป็น ๓ ลงิ ค์ ตงั้ แต่ เอกนู วสี ติ จนถงึ อฏฺ นวตุ ิ เป็นเอกวจนะอติ ถลี งิ คอ์ ยา่ งเดียวแม้เข้ากบั ศพั ท์ ท่ีเป็นพหวุ จนะลงิ ค์อืน่ ก็คงอยู่อยา่ งนัน้ ไม่เปล่ยี นไปตาม ถ้าสงั ขยาจำนวนตง้ั แต่ ๑๐๐ ข้ึนไปมวี ิธนี ับดงั น้ี ๑.ถ้าสังขยาต้ังแต่ ๑ ถึง ๙๙ (หรือหลักหน่วยหรือหลักสิบ)จะไปต่อกับรอ้ ย-พัน-หม่ืน-แสน-ล้าน ให้ใช้ “อุตฺตร แปลว่ากว่า หรือ เกนิ ” ต่อในระหวา่ ง ขอ้ ควรจำ เมอื่ อ,อา การนั ต์อย่หู นา้ อุตตฺ ร ให้ลบ อ, อา เสีย เชน่ เอก+ อตุ ตฺ ร เปน็ เอกตุ ฺตร เม่ือ อิ,อี การันตอ์ ยหู่ น้า อุตตฺ ร ใหแ้ ปลง อิ, อี เปน็ ย เชน่ รตฺติ+ อตุ ฺตร เปน็ รตฺตยุตตฺ ร เม่ือ อุ,อู การนั ตอ์ ยู่หน้า อุตตฺ ร ใหล้ บ อุ, อู ท่อี ย่หู น้านนั้ ท้งิ เช่น จตุ+ อตุ ฺตร เปน็ จตตุ ฺตร ๒.ถา้ สังขยาจำนวนรอ้ ย-พนั -หม่นื -แสน-ลา้ น จะตอ่ กนั เองให้ใช้ “อธิก แปลวา่ ยงิ่ ด้วย” ต่อในระหว่าง๑ ตวั อย่าง ๑๒๐ แยกออกเปน็ สองส่วนคือ ๑๐๐ + ๒๐ กลับเลขเป็น ๒๐+๑๐๐ จากนัน้ แทนคา่ เป็น วีส +อุตฺตร+ สตํ = วีสุตตฺ รสตํ แปลว่า อ. ร้อย กว่า ๒๐ ๒๐๓๕ แยกเป็น ๒๐๐๐ + ๓๕ กลับเลขเป็น ๓๕+ ๒๐๐๐ จากน้ันแทนค่าเป็น ปญฺจตึส +อุตฺตร+ ทวิสหสฺสานิ = ปญจฺ ตสึ ุตตฺ รเทฺวสหสฺสานิ แปลว่า อ. พนั สอง กว่า ๓๕ ๑พระมหานยิ ม อตุ ฺตโม, หลักสูตรย่อบาลไี วยากรณ์,พิมพ์ครั้งท่ี ๔, (กรุงเทพฯ:โรงพิมพเ์ ล่ียงเชียง, ๒๕๒๓), หน้า ๖๔.

๑๒๐ ๗๖๕๔๘๓ แยกเป็น ๗๐๐๐๐๐ + ๖๐๐๐๐+ ๕๐๐๐ + ๔๐๐ + ๘๓ จากน้ันกลับเลขเป็น ๘๓+ ๔๐๐+ ๕๐๐๐+ ๖๐๐๐๐+๗๐๐๐๐๐ แทนคา่ เตอสีติ + อุตตฺ ร+ จตสุ ตาธิกานิ + ปญฺจสหสสฺ าธิกานิ+ฉทสสหสสฺ าธกานิ + สตฺตสตสหสสฺ านิ สำเร็จรูปเป็น เตอสีตยุตฺตรจตุสตาธิกานิ ปญฺจสหสฺสาธิกานิ ฉทสสหสฺสาธกานิ สตฺตสตสหสฺสานิ แปลวา่ อ.แสนเจด็ ท.ยิ่งดว้ ยหม่นื หก ท. ย่งิ ด้วย พันหา้ ท. ยง่ิ ดว้ ยรอ้ ยส่ีกว่าแปดสิบสาม การนบั สงั ขยากบั นาม ถ้ามีนามแทรกเข้ามามีวิธที ำดังน้ี ตัวอย่างเช่น บุรุษ ๘๗๖,๓๗๒ คน แยกจำนวนออกจากกันพร้อมกับ กลบั ว่า ๗๒+๓๐๐+๖,๐๐๐+๗๐,๐๐๐+๘๐๐,๐๐๐ ทวิสตตฺ ติ+ปรุ ิส+อุตตฺ ร+ตสิ ตาธิกานิ+ฉสหสสฺ าธกิ าน+ิ สตตฺ ทสสหสสฺ าธิกานิ+อฏฺ +ปรุ สิ +สตสหสฺสานิ สำเร็จรปู เป็น: ทวสิ ตฺตติปรุ ิสตุ ฺตรติสตาธกิ านิ ฉสหสฺสาธิกานิ สตตฺ ทสสหสสฺ าธกิ านิ อฏฐฺ ปรุ ิสสตสหสสฺ านิ การแจกสงั ขยา: สงั ขยาน้ันกอ่ นจะนำไปใชม้ ีวิธแี จกดงั น้ี เอก ศพั ท์ (หนึ่ง) เป็นเอกวจนะอยา่ งเดยี ว มวี ธิ ีแจกดังต่อไปน้ี ปงุ ลงิ ค์ อติ ถีลิงค์ วภิ ตั ติ เอกวจนะ วภิ ัตติ เอกวจนะ ป. เอโก ป. เอกา ท.ุ เอกํ ทุ. เอกํ ต. เอเกน ต. เอกาย จตุ. เอกสฺส จต.ุ เอกาย ปญฺ. เอกสมฺ า เอกมฺหา ปญฺ. เอกาย ฉ. เอกสสฺ ฉ. เอกาย ส. เอกสฺมึ เอกมหฺ ิ ส. เอกาย เอก ศัพท์ ใน นปุสกลิงค์ แจกเหมือนใน ปุลิงค์ แปลกแต่ ป. เอกํ เท่าน้ัน. เอก ศัพท์นี้ ถ้าเป็น สังขยา แจกอยา่ งนี้, ถ้าเปน็ สัพพนาม แจกไดท้ ัง้ ๒ วจนะ ทวฺ ิ ศัพท์ ใน ๓ ลิงค์ อุภ ศพั ท์ (สอง) ใน ๓ ลงิ ค์ มวี ธิ แี จกดงั ตอ่ ไปนี้ วิภัตติ พหวุ จนะ วิภัตติ พหุวจนะ ป. เทวฺ ป. อโุ ภ ทุ. เทฺว ทุ. อโุ ภ ต. ทฺวีหิ ต. อุโภหิ จตุ. ทวฺ ินฺนํ จตุ. อภุ นิ ฺนํ ปญ.ฺ ทวฺ หี ิ ปญฺ. อโุ ภหิ

๑๒๑ ฉ. ทิวนิ ฺนํ ฉ. อุภินฺนํ ส. ทฺวสี ุ ส. อุโภสุ ติ ศัพท์ มีวธิ แี จกดงั ตอ่ ไปนี้ ปงุ ลงิ ค์ อิตถลี งิ ค์ วิภตั ติ พหุวจนะ วิภัตติ พหวุ จนะ ป. ตโย ป. ตสิ โฺ ส ทุ. ตโย ทุ. ติสโฺ ส ต. ตหี ิ ต. ตีหิ จตุ. ติณณฺ ํ ติณณฺ นนฺ ํ จต.ุ ติสสฺ นฺนํ ปญ.ฺ ตีหิ ปญ.ฺ ตหี ิ ฉ. ตณิ ณฺ ํ ตณิ ฺณนนฺ ํ ฉ. ติสฺสนนฺ ํ ส. ตสี ุ ส. ตีสุ ติ ศพั ท์ ใน นุปงุ สกลิงค์ แจกเหมอื นในปุงลิงค์ แปลกแต่ ป. ทุ. ตณี ิ เทา่ น้ัน จตุ ศัพท์ มีวิธแี จกดังต่อไปน้ี ปุงลงิ ค์ อิตถลี งิ ค์ วิภัตติ พหุวจนะ วภิ ตั ติ พหุวจนะ ป. จตตฺ าโร จตุโร ป. จตสโฺ ส ท.ุ จตตฺ าโร จตุโร ทุ. จตสโฺ ส ต. จตูหิ ต. จตูหิ จตุ. จตนุ ฺนํ จต.ุ จตสฺสนฺนํ ปญ.ฺ จตหู ิ ปญฺ. จตหู ิ ฉ. จตนุ ฺนํ ฉ. จตสสฺ นนฺ ํ ส. จตสู ุ ส. จตูสุ จตุ ศัพท์ ใน นปงุ สกลงิ ค์ แจกเหมอื นใน ปุงลิงค์ แปลกแต่ ป. ท.ุ จตตฺ าริ เทา่ นนั้ . ปญฺจ ใน ๓ ลิงค์ มีวธิ ีแจกดงั ตอ่ ไปน้ี วภิ ัตติ พหุวจนะ ป. ปญจฺ ทุ. ปญจฺ ต. ปญจฺ หิ

๑๒๒ จต.ุ ปญฺจนฺนํ ปญ.ฺ ปญจฺ หิ ฉ. ปญจฺ นฺนํ ส. ปญจฺ สุ ตงั้ แต่ ฉ ถงึ อฏฺ ารส มวี ิธแี จกเหมือน ปญฺจ เอกนู วสี ใน อติ ถลี ิงค์ มีวิธีแจกดงั ตอ่ ไปนี้ วภิ ัตติ พหุวจนะ ป. เอกูนวีสํ (ลงนคิ หติ ) ท.ุ เอกูนวีสํ ต. เอกูนวีสาย จตุ. เอกนู วสี าย ปญฺ. เอกูนวสี าย ฉ. เอกูนวีสาย ส. เอกูนวสี าย ตง้ั แต่ วีส ถึง ปญญฺ าส มวี ธิ แี จกอย่างนี้ ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถงึ อฏฺ ตฺตสึ ติ และต้ังแต่ เอกนู สตตฺ ติ ถงึ อฏฺ นวุติ แจกตามแบบ อิ การนั ต์ ใน อติ ถลี ิงค์ (รตฺติ) ตงั้ แต่ เอกูนสฏฐฺ ี ถงึ อฏฐฺ สฏฐฺ ี แจกตามแบบ อี การันต์ ในอิตถลี งิ ค์ (นาร)ี ปูรณสงั ขยา ปรู ณสงั ขยา นบั ในลงิ คท์ ัง้ ๓ ดงั ต่อไปนี้ ปุงลิงค์ อติ ถลี งิ ค์ นปุงสกลงิ ค์ คำแปล ป โม ป มา ป มํ ท่ี ๑ ทตุ โิ ย ทุตยิ า ทตุ ิยํ ท่ี ๒ ตตโิ ย ตตยิ า ตตยิ ํ ท่ี ๓ จตตุ ฺโถ จตตุ ถฺ -ี ถา จตตุ ถฺ ํ ท่ี ๔ ปญจฺ โม ปญฺจม-ี มา ปญจฺ มํ ท่ี ๕ ฉฏโฺ ฉฏฐฺ ี- า ฉฏฺฐํ ที่ ๖ สตฺตโม สตฺตมี-มา สตตฺ มํ ที่ ๗ อฏฺ โม อฏฺ มี-มา อฏฺ มํ ที่ ๘ นวโม นวม-ี มา นวมํ ที่ ๙ ทสโม ทสม-ี มา ทสมํ ท่ี ๑๐ เอกาทสโม เอกาทสี-สึ เอกาทสมํ ที่ ๑๑ ทวฺ าทสโม,พารสโม ทฺวาทสี,พารสี ทวฺ าทสมํ,พารสมํ ท่ี ๑๒

๑๒๓ เตรสโม เตรสี เตรสมํ ท่ี ๑๓ จตทุ ฺทสโม จตฺทฺทสี-สึ จตทุ ฺทสมํ ที่ ๑๔ ปณณฺ รสโม ปณฺณรสี-สึ ปณฺณรสมํ ท่ี ๑๕ โสฬสโม โสฬสี โสฬสมํ ท่ี ๑๖ สตตฺ รสโม สตตฺ รสี สตฺตรสมํ ท่ี ๑๗ อฏฺ ารสโม อฏฺ ารสี อฏฺ ารสมํ ที่ ๑๘ เอกนู วสี ตโิ ม เอกูนวสี ตมิ า เอกูนวสี ติมํ ท่ี ๑๙ วสี ตโิ ม วีสติมา วสี ติมํ ที่ ๒๐ ปรู ณสังขยา ท่ีแสดงมาพอเป็นตวั อยา่ งน้ี แจกตามแบบการนั ตใ์ น ๓ ลงิ ค์ ศัพท์ใด เปน็ ลิงค์ใด มีการันต์ อย่างใด จงแจกตามลงิ คน์ นั้ ตามการนั ตน์ นั้ สังขยาตัทธิต สังขยาตัทธิต คือ ตัทธิตที่เกี่ยวข้องกับจำนวน ปัจจัยในสังขยาตัทธิตมี ๖ ตัว โดยเป็นปูรณสังขยา มี ปัจจัย ๕ ตัว คือ ติย, ถ, , ม และ อี ปัจจัย แปลว่า “ท่ี...” และ ที่เป็นอเนกัตถะสังขยามีปัจจัย ๑ ตัว คือ ก ปัจจัย คำวา่ “ปูรณสังขยา” หมายถึง สงั ขยาเป็นเหตุเต็ม ดังมีรปู วิเคราะห์ว่า “ปูรยติ สงขฺ ยฺ า อเนนาติ ปูรโณ (ปูร + ยุ) อ.สังขยา ย่อมเต็ม ด้วยอรรถน้ี เพราะเหตุน้ัน ชื่อว่า ปูรณ (เป็นเคร่ืองเต็ม, เป็นเหตุเต็ม), สงฺขฺยาย ปูรโณ สงฺขยฺ าปูรโณ (สงขฺ ฺยา + ปรู ณ) อ.เหตุอนั เต็มแหง่ สงั ขยา ชอ่ื ว่า สงฺขยฺ าปรู ณ (สงั ขยาเป็นเหตเุ ต็ม)” ว.ิ ทฺวินนฺ ํ ปรู โณ ทตุ ิโย, ปรุ ิโส (ทฺวิ + ติย) (แปลง ทฺวิ เป็น ท)ุ อ.บุรษุ อันเป็นเหตุเตม็ แห่งสอง ท. ช่อื วา่ ทตุ ิย, ไดแ้ กบ่ ุรุษ (ท่ีสอง) ว.ิ ทฺวินฺนํ ปูรณี ทตุ ยิ า, อติ ฺถี (ทวฺ ิ + ตยิ + อา) อ.หญิง อันเปน็ เหตุเต็ม แห่งสอง ท. ช่ือว่า ทตุ ิยา, ได้แก่หญิง (ท่สี อง) ว.ิ ทฺวนิ นฺ ํ ปูรณ ทตุ ยิ ,ํ กลุ (ทฺวิ + ติย) อ.ตระกลู อันเป็นเหตุเต็ม แห่งสอง ท. ช่อื ว่า ทตุ ยิ , ไดแ้ ก่ตระกลู (ทสี่ อง) ว.ิ ติณณฺ ํ ปรู โณ ตตโิ ย, ปุรโิ ส (ติ + ติย) (แปลง ติ เป็น ต) อ.บรุ ุษ อนั เป็นเหตุเตม็ แห่งสาม ท. ชื่อว่า ตติย, ไดแ้ ก่บรุ ษุ (ท่ีสาม) ว.ิ ตณิ ณฺ ํ ปรู ณี ตตยิ า, อิตถฺ ี (ติ + ติย + อา) อ.หญงิ อนั เปน็ เหตุเต็ม แหง่ สาม ท. ช่อื วา่ ตติยา, ได้แกห่ ญิง (ทส่ี าม) วิ. ตณิ ณฺ ํ ปรู ณํ ตติยํ, กลุ (ติ + ติย) อ.ตระกลู อนั เปน็ เหตุเต็ม แห่งสาม ท. ช่ือว่า ตตยิ , ไดแ้ กต่ ระกูล (ทส่ี าม) วิ. จตนุ นฺ ํ ปูรโณ จตุตโฺ ถ (จตุ + ถ) (ตฺ อสทิสเทวภาวะ) อ.อรรถอนั เปน็ เหตุเต็ม แหง่ ส่ี ท. ช่อื วา่ จตตุ ฺถ (ที่ส่)ี วิ. จตนุ นฺ ํ ปูรณี จตตุ ฺถี, จตุตถฺ า (จตุ + ถ + อี, อา) อ.ดิถอี นั เปน็ เหตเุ ตม็ แห่งสี่ ท. ชอ่ื วา่ จตตุ ฺถี, จตตุ ถฺ า (ท่ีสี่)

๑๒๔ ว.ิ จตุนนฺ ํ ปรู ณํ จตุตถฺ ํ (จตุ + ถ) อ.ตระกูลอนั เป็นเหตุเต็ม แห่งส่ี ท. ช่ือว่า จตตุ ถฺ (ทสี่ ี่) ว.ิ ปญจฺ นฺนํ ปรู โณ ปญจฺ โม (ปญฺจ + ม) อ.อรรถอนั เป็นเหตุเต็ม แหง่ ห้า ท. ชอ่ื ว่า ปญจฺ ม (ท่ีหา้ ) ว.ิ ปญฺจนฺนํ ปรู ณี ปญจฺ ม,ี ปญจฺ มา, วรี ยิ ปารมี (ปญจฺ + ม + อ,ี อา) อ.วริ ยิ บารมี อนั เป็นเหตุเต็ม แห่งหา้ ท. ชอื่ ว่า ปญจฺ มี, ปญฺจมา, ได้แกว่ ิริยบารมี (ที่ห้า) ว.ิ ปญจฺ นฺนํ ปรู ณํ ปญจฺ ม,ํ ฌานํ (ปญฺจ + ม) อ.ฌาน อนั เป็นเหตเุ ต็ม แหง่ ห้า ท. ชอ่ื ว่า ปญจฺ ม, ได้แก่ฌาน (ทีห่ ้า) ตวั อยา่ งท่ีลง ม ปัจจยั และวเิ คราะหเ์ หมือน ปญฺจสังขยา มดี ังนี้ สตฺตโม, สตตฺ มี สตฺตมา, สตฺตมํ (ที่ ๗), อฏฺ โม, อฏฺ มี อฏฺ มา, อฏฺ มํ (ท่ี ๘), นวโม, นวมี นวมา, นวมํ (ที่ ๙), ทสโม, ทสมี ทสมา, ทสมํ (ท่ี ๑๐) วิ. ฉนนฺ ํ ปูรโณ ฉฏฺโ (ฉ + ) (ฏฺ อสทสิ เทวภาวะ) อ.อรรถอนั เป็นเหตเุ ต็ม แห่งหก ท. ชือ่ ว่า ฉฏฺ (ทหี่ ก) วิ. ฉนฺนํ ปรู ณี ฉฏฺ ี, ฉฏฺ า (ฉ + + อ,ี อา) อ.ดถิ อี นั เปน็ เหตุเตม็ แหง่ หก ท. ช่อื วา่ ฉฏฺ ี, ฉฏฺ า (ทีห่ ก) วิ. ฉนนฺ ํ ปูรณํ ฉฏฺ ํ. (ฉ + ) อ.ตระกูลอันเป็นเหตเุ ต็ม แห่งหก ท. ชือ่ วา่ ฉฏฺ (ที่หก) วิ. ฉฏฺโ เอว ฉฏฺ โม (ฉฏฺ + ม) (ลง มปัจจัย) อ.ท่หี กนน่ั เทียว ช่อื ว่า ฉฏฺ มํ (ทห่ี ก) วิ. เอกาทสนนฺ ํ ปรู ณี เอกาทสี, อิตถฺ ี (เอกาทส + อี) อ.หญิงผูเ้ ปน็ เหตุเต็ม แห่งหญิง ท. สบิ เอ็ด ชอ่ื ว่า เอกาทสี, ไดแ้ กห่ ญิง (ท่ีสิบเอ็ด) วิ. เอกาทสนฺนํ ปูรโณ เอกาทสโม, ปรุ ิโส (เอกาทส + ม) อ.บรุ ุษผู้เปน็ เหตเุ ตม็ แห่งบุรษุ ท. สิบเอ็ด ช่ือวา่ เอกาทสม (ทสี่ บิ เอด็ ) ตทั ธิต วา่ ด้วยการยอ่ บทกับปัจจยั เข้าด้วยกัน 283 ว.ิ เอกาทสนนฺ ํ ปรู ณ เอกาทสมํ, กลุ (เอกาทส + ม) อ.ตระกลู ผู้เปน็ เหตุเต็ม แห่งตระกูล ท. สิบเอด็ ชอื่ วา่ เอกาทสม (ท่ีสบิ เอ็ด) วิ. ทฺวาทสนนฺ ํ ปูรโณ พารสโม, ทวฺ าทสโม, ปรุ โิ ส (ทฺวาทส + ม) อ.บุรุษผ้เู ป็นเหตุเตม็ แหง่ บรุ ษุ ท. สิบสอง ช่อื วา่ พารสม, ทฺวาทสม (ทสี่ ิบสอง) ว.ิ ทฺวาทสนฺนํ ปูรณี ทฺวาทสี, อิตฺถี (ทฺวาทส + อี) อ.หญงิ ผู้เป็นเหตเุ ต็ม แหง่ หญิง ท. สบิ สอง ช่ือว่า ทฺวาทสี (ท่ีสิบสอง) วิ. เตรสนฺนํ ปูรโณ เตรสโม, ปรุ โิ ส (เตรส + ม) อ.บรุ ษุ ผเู้ ป็นเหตเุ ต็ม แห่งบรุ ุษ ท. สบิ สามคน ช่อื ว่า เตรสม (ทส่ี ิบสาม) ว.ิ เตรสนนฺ ํ ปูรณี เตรส,ี อติ ฺถี (เตรส + อ)ี อ.หญิงผเู้ ป็นเหตเุ ตม็ แห่งหญิง ท. สบิ สามคน ชือ่ ว่า เตรสี, ได้แกห่ ญงิ (ท่สี บิ สาม)

๑๒๕ ว.ิ จตุทฺทสนนฺ ํ ปรู โณ จุททฺ สโม, จตุททฺ สโม, ปรุ ิโส (จทุ ทฺ ส + ม, จตุทฺทส + ม) อ.บรุ ษุ ผ้เู ป็นเหตเุ ตม็ แหง่ บรุ ษุ ท. สบิ สค่ี น ช่ือวา่ จทุ ทฺ สม, จตทุ ฺทสม, ไดแ้ ก่บุรษุ (ทีส่ ิบส่ี) วิ. จตุทฺทสนฺนํ ปรู ณี จตทุ ทฺ สี, จาตทุ ทฺ สี วา, อติ ถฺ ี (จตุทฺทส + อ)ี อ.หญงิ ผู้เปน็ เหตุเต็ม แหง่ หญิง ท. สิบสี่คน ชอ่ื ว่า จตุททฺ สี, จาตทุ ทฺ สี, ไดแ้ กห่ ญิง (ทสี่ ิบส่ี) วิ. ปญฺจทสนฺนํ ปรู โณ ปนฺนรสโม, ปญฺจทสโม, ปุรโิ ส (ปญจฺ ทส + ม) อ.บุรุษผู้เปน็ เหตุเต็ม แหง่ บุรษุ ท. สิบหา้ คน ชื่อวา่ ปนนฺ รสม, ปญฺจทสม, ได้แกบ่ ุรุษ (ท่สี ิบหา้ ) ว.ิ ปญจฺ ทสนฺนํ ปูรณี ปนฺนรสี, ปญฺจทสี, อิตถฺ ี (ปญจฺ ทส + อี) อ.หญงิ ผู้เปน็ เหตุเตม็ แหง่ หญิง ท. สบิ ห้าคน ชือ่ ว่า ปนฺนรสี, ปญฺจทสี, ไดแ้ กห่ ญงิ (ท่ีสบิ ห้า) ว.ิ โสฬสนฺนํ ปูรโณ โสฬสโม, ปุรโิ ส (โสฬส + ม) อ.บุรุษผเู้ ป็นเหตุเตม็ แหง่ บุรุษ ท. สิบหก ชอ่ื วา่ โสฬสม, ไดแ้ ก่บุรุษ (ทสี่ ิบหก) ว.ิ โสฬสนฺนํ ปูรณี โสฬสี, อิตถฺ ี (โสฬส + อ)ี อ.หญิงผ้เู ปน็ เหตเุ ตม็ แห่งหญิง ท. สบิ หก ชื่อว่า โสฬสี, ได้แก่หญงิ (ทสี่ บิ หก) วิ. สตตฺ รสนฺนํ ปูรโณ สตตฺ รสโม, สตตฺ ทสโม, ปรุ โิ ส (สตตฺ ทส + ม) อ.บรุ ุษผู้เปน็ เหตเุ ตม็ แหง่ บรุ ษุ ท. สิบเจด็ คน ชอ่ื ว่า สตตฺ รสม, สตฺตทสม, ไดแ้ กบ่ ุรุษ (ที่สิบเจ็ด) ว.ิ อฏฺ ารสนฺนํ ปูรโณ อฏฺ ารสโม, อฏฺ าทสโม, ปุรโิ ส (อฏฺ าทส + ม) อ.บุรษุ ผูเ้ ปน็ เหตเุ ต็ม แห่งบุรุษ ท. สิบแปดคน ชือ่ วา่ อฏฺ ารสม, อฏฺ าทสม, ไดแ้ ก่บุรุษ (ที่สบิ แปด) ว.ิ เอกนู วีสติยา ปูรโณ เอกูนวสี ตโิ ม, ปุรโิ ส (เอกนู วีสติ + ม) อ.บุรุษผเู้ ปน็ เหตเุ ต็ม แห่งบรุ ุษ ท. สบิ เก้าคน ชอื่ วา่ เอกูนวีสติม, ได้แก่บุรษุ (ที่สบิ เก้า) ว.ิ วีสตยิ า ปรู โณ วีสตโิ ม, ปุรโิ ส (วสี ติ + ม) อ.บุรุษผเู้ ป็นเหตเุ ตม็ แห่งบรุ ุษ ท. ยี่สบิ ช่อื วา่ วีสติม, ไดแ้ กบ่ ุรษุ (ทีย่ ่ีสบิ ) สังขยา มี ๕ ประการ คอื (๑) มสิ สฺ สงขฺ ฺยา = สังขยาผสมกัน หรอื สังขยาบวก เช่น เอกาทส = เอก + ทส (สังขยา ตั้งแต่ ๑๑ ถงึ ๙๙ เปน็ สงั ขยาบวก) (เอกาทส ถงึ เอกนู สต) (๒) คุณิตสงฺขฺยา = สังขยาคูณ เช่น ติสต แปลว่า สามร้อย มาจากรูปวิเคราะห์ว่า “ตีหิ คุณิตํ สต ติสตํ” อ.ร้อย อันคูณ ด้วยสาม ท. ชื่อว่า ติสตํ (สตxติ) สามร้อย (๑๐๐x ๓=๓๐๐), จตฺตาริ สตสหสฺสานิ ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา อ.ภิกษุ ท. ผู้มีอภิญญา ๖ มีฤทธ์ิมากมีสแ่ี สนรูป (๔๐๐,๐๐๐) ในตัวอย่างน้ี บทว่า จตฺตาริ แปลว่า สี่, บทวา่ สตสหสสฺ านิ แปลว่า หนึ่งแสนนำไปคณู กัน คอื ๑๐๐,๐๐๐x๔ = ๔๐๐,๐๐๐ (๓) สมฺพนธฺ สงฺขยฺ า = สังขยาสัมพนั ธ์กัน หมายความว่าศพั ท์ท่ีเป็นสังขยาศพั ทส์ ุดทา้ ย ต้องนำไปคณู กบั สังขยาศัพท์ข้างหน้าทลี ะศัพท์ โดยสังขยาศัพท์สดุ ท้ายเป็นสงั ขยาหลกั แลว้ นาไปคูณ กับสงั ขยาตัวท่ีอยู่ ขา้ งหน้าของสงั ขยาหลักทีละตวั เชน่ “จตุราสีตสิ หสฺสานิ”แปดหมื่นส่พี นั (๘๔,๐๐๐) มาจาก “จตุ แปลวา่ ส่ี, อสตี ิ แปลว่า แปดสิบ, สหสสฺ แปลว่า หนงึ่ พัน”ในตัวอยา่ งนี้ บทวา่ “สหสฺส” ซงึ่ แปลวา่ หนึ่งพนั ”น้ี จะตอ้ งไป

๑๒๖ สมั พนั ธก์ บั ศัพท์ขา้ งหน้า คือ สหสสฺ x อสตี ิ = แปดหมน่ื (๑,๐๐๐ x ๘๐ = ๘๐,๐๐๐), สหสฺส x จตุ = ส่ีพนั (๑,๐๐๐ x ๔ = ๔,๐๐๐) เมอ่ื รวมกันแล้ว จงึ แปลว่า แปดหมน่ื สีพ่ ัน (๘๔,๐๐๐) เป็นตน้ (๔) สงฺเกตสงฺขยฺ า = สงั ขยาที่ใชส้ ง่ิ ทม่ี ีปรากฏอยูใ่ นโลกเป็นเครอื่ งสงั เกต ๔.๑ ใชอ้ กั ษรในภาษาบาลีและสนั สกฤตเป็นเคร่ืองสงั เกต ดังน้ี กาที ฏาที ยการาที นวสงขฺ ยฺ า ปกาสติ า ปญจฺ สงฺขยฺ า ปการาที สญุ ญฺ า นาม สรญญฺ นา อักษรมี ก เป็นต้น อักษรมี ฏ เป็นต้น และอักษรมี ย เป็นต้น ถูกแสดงแล้วว่า เป็นสังขยา ตง้ั แต่ ๑ - ๙, อักษรมี ป เป็นต้น ถกู แสดงแล้วว่าเป็นสงั ขยาตง้ั แต่ ๑ - ๕ และสระแปดตวั , ญ และ น อักษร ถูก แสดงแลว้ ว่าชื่อวา่ ศนู ย์ ตารางแสดงอกั ษรท่ใี ช้เปน็ ท่ีสงั เกตสังขยา ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ชฌญ ฏ ฐ ฑฒณต ถ ท ธ น ปผพภม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ-โอ ใชส้ ่งิ ทม่ี ีปรากฏอยู่โลก ต้งั แต่ในอดตี จนถึงปัจจุบนั เปน็ เครื่องสังเกต ดังน้ี สังเกตสังขยาแทนเลข ๑ เช่น จนทฺ พระจันทร์, สรู ิย พระอาทติ ย์ เปน็ ต้น สังเกตสังขยาแทนเลข ๒ เชน่ เนตตฺ นยั นต์ า, หตถฺ มอื , ปกฺข ปกั ษ์ เป็นต้น สังเกตสังขยาแทนเลข ๓ เชน่ อคคฺ ิ ไฟ, กาล กาลเวลา เป็นต้น สังเกตสงั ขยาแทนเลข ๔ เช่น อณณฺ ว, สินฺธุ มหาสมทุ ร เปน็ ต้น สังเกตสงั ขยาแทนเลข ๕ เชน่ อสุ ุ ลกู ศร เปน็ ตน้ สงั เกตสงั ขยาแทนเลข ๖ เชน่ รส รสอาหาร, อุตุ ฤดู เปน็ ตน้ สังเกตสงั ขยาแทนเลข ๗ เช่น สร สระนา้ , เสียงดนตรี เปน็ ต้น สงั เกตสังขยาแทนเลข ๘ เชน่ วสุ วสุเทพ เปน็ ต้น สงั เกตสงั ขยาแทนเลข ๙ เช่น คห ดาวนพเคราะห์ เปน็ ต้น สังเกตสังขยาแทนเลข ๑๐ เชน่ ทสิ า ทิศ เปน็ ต้น สงั เกตสงั ขยาแทนเลข ๑๑ เช่น รทุ ทฺ , สวิ พระศิวะ เปน็ ตน้ สังเกตสังขยาแทนเลข ๑๒ เช่น ราสิ ราศี, มาส เดอื น เปน็ ต้น สงั เกตสงั ขยาแทนเลข ๑๓ เชน่ วสิ ฺส วสิ สเทพ เปน็ ตน้ สังเกตสงั ขยาแทนเลข ๑๔ เช่น ภวุ น ภวุ นเทพ เปน็ ต้น สังเกตสังขยาแทนเลข ๑๕ เชน่ ติถิ ดิถี เปน็ ต้น สังเกตสงั ขยาแทนเลข ๑๖ เชน่ กลา เสยี้ วของพระจันทร์ เป็นตน้

๑๒๗ (๕) อเนกสงฺขฺยา = สังขยาทมี่ ีจานวนมาก เช่น สหสฺสรสิ รัศมหี ลายพนั , สตเตโช มีเดชหลายร้อย เป็น ตน้ สงั ขยาจาํ นวนโกฏิข้ึนไป แสนของจาํ นวนน้นั ๆ คูณดว้ ยรอ้ ยเสมอ ดังนี้ สตสหสสฺ านสตํ โกฏิ อ.ร้อย แหง่ แสน ท. ช่อื วา่ โกฏิ โกฏสิ ตสหสสฺ านํ สตํ ปโกฏิ อ.ร้อย แห่งแสนโกฏิ ท. ชือ่ วา่ ปโกฏิ ปโกฏสิ ตสหสฺสานํ สตํ โกฏปิ ปฺ โกฏิ อ.รอ้ ย แหง่ แสนปโกฏิ ท. ช่ือว่า โกฏิปปฺ โกฏิ โกฏิปฺปโกฏิสตสหสสฺ านํ สตํ นหุตํ อ.รอ้ ย แหง่ แสนโกฏิปโกฏิ ท. ช่อื ว่า นหตุ นหตุ สตสหสฺสานํ สตํ นนิ นฺ หุตํ อ.รอ้ ย แหง่ แสนนหตุ ท. ช่อื วา่ นินฺนหตุ นินนฺ หุตสตสหสสฺ านํ สตํ อกโฺ ขภนิ ี อ.รอ้ ย แห่งแสนนินนหตุ ท. ชอื่ ว่า อกโฺ ขภินี อกฺโขภินีสตสหสฺสานํ สตํ พนิ ฺทุ อ.รอ้ ย แหง่ แสนอกั โขภินี ท. ชอ่ื ว่า พินฺทุ พนิ ทฺ ุสตสหสฺสานํ สตํ อพฺพุทํ อ.ร้อย แห่งแสนพินทุ ท. ชอื่ วา่ อพฺพุท อพฺพทุ สตสหสสฺ านํ สตํ นริ พฺพุทํ อ.ร้อย แห่งแสนอัพพทุ ะ ท. ชื่อว่า นริ พพฺ ุท นิรพฺพทุ สตสหสสฺ านํ สตํ อหหํ อ.รอ้ ย แห่งแสนนริ ัพพทุ ะ ท. ชื่อวา่ อหห อหหสตสหสฺสานํ สตํ อพพํ อ.ร้อย แห่งแสนอหหะ ท. ช่ือว่า อพพ อพพสตสหสสฺ านํ สตํ อฏฏํ อ.ร้อย แห่งแสนอพพะ ท. ชือ่ วา่ อฏฏ อฏฏสตสหสสฺ านํ สตํ โสคนธฺ กิ ํ อ.ร้อย แห่งแสนอฏฏะ ท. ช่ือวา่ โสคนธฺ ิก โสคนธฺ กิ สตสหสสฺ านํ สตํ อุปฺปลํ อ.รอ้ ย แห่งแสนโสคันธิกะ ท. ชอื่ ว่า อปุ ปฺ ล อุปฺปลสตสหสฺสานํ สตํ กุมุทํ อ.ร้อย แห่งแสนอุปปละ ท. ชื่อวา่ กมุ ทุ กุมุทสตสหสสฺ านํ สต ปุณฑฺ รีกํ อ.ร้อย แห่งแสนกุมทุ ท. ช่อื ว่า ปุณฑฺ รีก ปุณฺฑรกี สตสหสสฺ านํ สตํ ปทุมํ อ.รอ้ ย แห่งแสนปุณฑรีกะ ท. ชอ่ื วา่ ปทมุ ปทุมสตสหสฺสานํ สตํ กถานํ อ.รอ้ ย แห่งแสนปทุม ท. ช่อื วา่ กถาน กถานสตสหสฺสานํ สต มหากถานํ อ.รอ้ ย แหง่ แสนกถานะ ท. ช่อื ว่า มหากถาน มหากถานสตสหสฺสานํ สตํ อสงฺเขฺยยยฺ ํ อ.ร้อย แหง่ แสนมหากถานะ ท. ชือ่ ว่า อสงฺเขฺยยฺย ว.ิ เทวฺ ปรมิ าณานิ เอตสสฺ าติ ทวฺ ิโก, ราสิ (ทวฺ ิ + ก) อ.ปรมิ าณ ท. สอง แหง่ กองน่ัน มีอยู่ เพราะเหตนุ ั้น ช่ือวา่ ทฺวกิ , ไดแ้ ก่ กอง (มปี รมิ าณ ๒) ว.ิ เทฺวเยว ทวฺ กิ ํ, ทกุ ํ (ทฺวิ + ก) อ.สอง ท. น่ันเทียว ช่ือว่า ทวฺ ิก, ทกุ (หมวดสอง) วิ. ตีณิ ปรมิ าณานิ เอตสฺสาติ ติโก, ราสิ (ติ + ก) อ.ปริมาณ ท. สาม แหง่ กองนั่น มอี ยู่ เพราะเหตุน้ัน ช่ือวา่ ติก, ได้แก่ กอง (มปี ริมาณ ๓) ว.ิ ตณี ิเยว ตกิ ํ (ติ + ก) อ.สาม ท. น่ันเทยี ว ชอื่ วา่ ตกิ (หมวดสาม) ว.ิ จตตฺ าริ ปริมาณานิ เอตสฺสาติ จตกุ ฺโก, ราสิ (จตุ + ก) อ.ปริมาณ ท. สี่ แหง่ กองนนั่ มีอยู่ เพราะเหตุนน้ั ชอ่ื วา่ จตุกกฺ , ไดแ้ ก่ กอง (มปี ริมาณ ๔) ว.ิ จตตฺ ารเิ ยว จตกุ ฺกํ (จตุ + ก) (ซ้อน กฺ)

๑๒๘ อ.สี่ ท. น่ันเทียว ชือ่ วา่ จตกุ ฺก (หมวดสี)่ วิ. ปญจฺ ปริมาณานิ เอตสสฺ าติ ปญฺจโก, ราสิ (ปญฺจ + ก) อ.ปรมิ าณ ท. หา้ แห่งกองนนั่ มีอยู่ เพราะเหตุน้ัน ชือ่ ว่า ปญจฺ ก, ไดแ้ ก่ กอง (มปี ริมาณ ๕) ว.ิ ปญจฺ เยว ปญจฺ กํ (ปญฺจ + ก) อ.หา้ ท. นน่ั เทียว ชื่อว่า ปญฺจก. (หมวดหา้ ) ว.ิ ฉ ปริมาณานิ เอตสฺสาติ ฉกโฺ ก, ราส.ิ (ฉ + ก) อ.ปรมิ าณ ท. หก แห่งกองน่ัน มีอยู่ เพราะเหตุนัน้ ช่ือวา่ ฉกกฺ , ไดแ้ ก่ กอง (มปี ริมาณ ๖) ว.ิ ฉเยว ฉกฺกํ (ฉ + ก) (ซอ้ น ก)ฺ อ.หก ท. นนั่ เทยี ว ชื่อวา่ ฉกฺก (หมวดหก) ตทั ธติ ว่าดว้ ยการยอ่ บทกับปัจจยั เขา้ ดว้ ยกนั 287 ว.ิ สตตฺ ปรมิ าณานิ เอตสฺสาติ สตตฺ โก, ราสิ (สตฺต + ก) อ.ปริมาณ ท. เจด็ แห่งกองน่ัน มีอยู่ เพราะเหตุนัน้ ช่ือว่า สตฺตก, ได้แก่ กอง (มปี ริมาณ ๗) ว.ิ สตตฺ เยว สตฺตกํ (สตฺต + ก) อ.เจ็ด ท. นั่นเทียว ชอ่ื วา่ สตฺตก (หมวดเจด็ ) ว.ิ อฏฺ ปรมิ าณานิ เอตสฺสาติ อฏฺ โก, ราสิ (อฏฺ + ก) อ.ปรมิ าณ ท. แปด แห่งกองนั่น มีอยู่ เพราะเหตนุ น้ั ชอื่ ว่า อฏฺ ก, ไดแ้ ก่ กอง (มีปรมิ าณ ๘) วิ. อฏฺ เยว อฏฺ กํ (อฏฺ + ก) อ.แปด ท. น่นั เทยี ว ชอ่ื วา่ อฏฺ ก (หมวดแปด) ว.ิ นว ปริมาณานิ เอตสฺสาติ นวโก, ราสิ (นว + ก) อ.ปริมาณ ท. เก้า แห่งกองน่ัน มอี ยู่ เพราะเหตนุ ัน้ ชอื่ ว่า นวก, ไดแ้ กก่ อง (มปี ริมาณ ๙) ว.ิ นวเยว นวกํ (นว + ก) อ.เก้า ท. นนั่ เทยี ว ชอ่ื ว่า นวก (หมวดเกา้ ) ว.ิ ทส ปรมิ าณานิ เอตสฺสาติ ทสโก, ราสิ (ทส + ก) อ.ปริมาณ ท. สบิ แห่งกองน่นั มอี ยู่ เพราะเหตนุ ั้น ชอ่ื วา่ ทสก, ไดแ้ ก่ กอง (มีปริมาณ ๑๐) ว.ิ ทสเยว ทสกํ (ทส + ก) อ.สิบ ท. น่นั เทียว ชอ่ื วา่ ทสก (หมวดสิบ) ว.ิ ปณฺณาส ปริมาณานิ เอตสฺสาติ ปณณฺ าสโก, ราสิ (ปณณฺ าส + ก) อ.ปริมาณ ท. หา้ สิบ แหง่ กองนัน่ มอี ยู่ เพราะเหตุนน้ั ช่อื วา่ ปณฺณาสก, ได้แก่ กอง (มีปริมาณ ๕๐) วิ. ปณณฺ าสเยว ปณฺณาสกํ (ปณณฺ าส + ก) อ.หา้ สบิ ท. นั่นเทียว ชอื่ ว่า ปณฺณาสก (หมวดห้าสิบ)

๑๒๙ สรปุ ทา้ ยบท สังขยาคือการนับในแต่ละภาษามีลักษณะไม่เหมือนกัน ภาษาไทยเขียนเป็นตัวเลข แต่ในภาษาบาลี เขียนเป็นตัวอักษร เมื่อต้องการนับจำนวนมากๆ จึงต้องอาศัยคำว่า “อุตฺตร แปลว่า เกิน” และคำว่า “อธิก แปลว่า ย่ิง” มาเป็นคำเช่ือมต่อ บางครั้งถ้าตัวเลขจำนวนมากต้องเขียนหลายบรรทัด แต่วิธีการในการนับนั้น อาจมีหลายวิธี โดยเฉพาะสังขยาท่มี ีคำนานแทรก แต่ที่นำเสนอในบทน้ีเป็นเพยี งสว่ นหน่ึงเท่านั้น เหมาะสำหรับ ผูเ้ ริม่ ต้นศึกษา ยังมีวธิ กี ารอ่นื ๆ อกี ผศู้ กึ ษาในชัน้ สูงๆขึ้นไปจึงคอ่ ยหาตำรามาศกึ ษาเถิด คำถามทบทวนประจำบทท่ี ๖ ------------------------------- ๑.จงแปลเป็นไทย ๑.ทายกา จตปุ ญญฺ าสาย ภิกขฺ นู ํ จีวรานิ ททึสุ ๒.จตตฺ าโร ปรุ ิสา จตหู ิ ผรสูหิ จตตฺ าโร รุกเฺ ข ฉินฺทนตฺ ิ ๓.เทฺว วาณิชฺชา กหาปณานํ ตีหิ สเตหิ เทฺว อสเฺ ส กนี สึ ุ ๔.เทวฺ ภกิ ฺขู จตูหิ สสิ ฺเสหิ สทฺธึ อารามํ คจฺฉนฺติ ๕. ปฐโม รุกฺโข ตตเิ ย มคเฺ ค ติฎฐฺ ติ ๖.จตสโฺ ส กุมารี ตหี ิ ปุริเสหิ วตถฺ านิ คณฺหนฺติ ๗. ปญฺจนฺนํ นทีนํ โสตา นนิ นฺ ํ ปวตตฺ สึ ุ ๘.รตฺตยิ ํ นเภ ตารานํ สหสฺสํ ปญญฺ ายิ ๙. กสฺมา ปเนส ทีฆนิกาโยติ วุจฺจติ ฯ ทีฆปฺปมาณานํ สุตฺตานํ สมูหโต นิวาสโต จ ฯ สมูหนิวาสา หิ นิกาโยติ วุจฺจนฺติ ฯ นาหํ ภิกฺขเว อญฺ ํ เอกนิกายมฺปิ สมนุปสฺสามิ เอวญฺจิตฺตํ ยถยิทํ ภิกฺขเว ตริ จฺฉานคตา ปาณา โปณิกนิกาโย จิกฺขลฺลกิ นิกาโยติ เอวมาทีนิ เจตถฺ สาธกานิ สาสนโต จ โลกโต จ ฯ เอวํ เสสานมฺปิ นิกายภาเว วจนตฺโถ กตโม องฺคุตฺตรนิกาโย ฯ เอเกกองฺคาติเรกวเสน ติ าจิตฺตปริ ยาทานาทีนิ นว สุตฺตสหสฺสานิ ปญฺจ สุตฺตสตานิ สตฺตปณฺณาส จ สุตฺตานิ ฯ กตโม ขุทฺทกนิกาโย ฯ สกลํ วินยปิฏกํ อภิธมฺมปิฏกํ ขุทฺทกปา าทโย จ ปุพฺเพ นิทสฺสิตา ปญฺจทสเภทา เปตฺวา จตฺตาโร นิกาเย อวเสสํ พทุ ธฺ วจนนฺติ ฯ๒ ๑๐. ปุน จปรํ ภิกฺขเว มหาสมุทฺโท มหตํ ภูตานํ อาวาโส ตตฺรีเม ภูตา ติมิ ติมิงฺคโล ติมิติมิงฺโล มหาติมิงฺคโล อสุรา นาคา คนฺธพฺพา สนฺติ มหาสมุทฺเท โยชนสติกาปิ อตฺตภาวา ทฺวิโยชนสติกาปิ อตตฺ ภาวา ตโิ ยชนสติกาปิ อตตฺ ภาวา จตุโยชนสตกิ าปิ อตตฺ ภาวา ปญฺจโยชนสติกาปิ อตฺตภาวา ยมฺปิ ภิกฺขเว มหาสมุทฺโท มหตํ ภูตานํ อาวาโส ตตฺรีเม ภูตา ติมิงฺคโล ติมิติมิงฺคโล มหาติมิงฺคโล อสุรา นาคา คนฺธพฺพา สนฺติ มหาสมุทฺเท โยชนสติกาปิ อตฺตภาวา ฯเปฯ ปญฺจโยชนสติกาปิ อตฺตภาวา ๒พระพทุ ธโฆสาจารย์,สมนตฺ ปาสาทิกา,พิมพ์ครัง้ ที่ ๘, (กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย) ๒๕๔๘, หน้า ๒๖.

๑๓๐ อยมฺปิ ภิกฺขเว มหาสมุทฺเท อฏฺ โม อจฺฉริโย อพฺภุโต ธมฺโม ยํ ทิสฺวา ทิสฺวา อสุรา มหาสมุทฺเท อภิ รมนฺติ อเิ ม โข ภิกฺขเว มหาสมุทฺเท อฏฺ อจฺฉรยิ า อพฺภุตา ธมฺมา เย ทิสฺวา ทิสวฺ า อสรุ า มหาสมุทเฺ ท อภริ มนฺติ ฯ (ว.ิ จลุ .๗/๔๕๖/๒๒๘.) ๒. จงแปลจำนวนสังขยาตอ่ ไปนี้เป็นภาษาบาลี ๑. ๕๕ ๒๑. ภกิ ษุ ๕๕๒,๔๐๐ รปู ๒. ๖๒ ๒๒. หญงิ สาว ๒๒๔,๕๗๘ คน ๓. ๖๙ ๒๓. นกยูง ๒๔,๔๗๕ ตวั ๔. ๗๖ ๒๔. อุบาสกิ า ๒๖,๘๔๙ คน ๕. ๗๙ ๒๕. โจร ๕,๘๕๒,๒๕๙ คน ๖. ๘๔ ๒๖. ครู ๕๖,๖๒๖,๘๔๒ คน ๗. ๘๘ ๒๗. ดาว ๕๔๗,๘๙๓ ดวง ๘. ๙๔ ๒๘. ศาลา ๔,๕๗๘,๓๐๐ หลัง ๙. ๙๗ ๒๙. หมอ้ ข้าว ๔,๔๔๔,๔๔๔ หม้อ ๑๐. ๙๙ ๓๐. นำ้ เต้า ๕๖๔,๓๒๐ ลกู ๑๑. ๑๒๙ ๓๑. ดอกบวั ๒,๕๕๒ ดอก ๑๒. ๑๒๕ ๓๒. เกวยี น ๔๕,๗๙๐ คนั ๑๒. ๕๒๘ ๓๓. ผ้า ๔๗,๘๒๕ ผืน ๑๓. ๒,๔๔๕ ๓๔. ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ ๑๔. ๓๒,๖๔๐ ๓๕. นำ้ ตา ๙,๙๙๙,๙๙๙ หยด ๑๕. ๔๘๕,๒๔๕ ๓๖. กระดกู ๓๐๐ ทอ่ น ๑๗. ๒,๖๔๗,๘๘๙ ๓๗. ใบไม้ ๕๒,๕๔๓,๘๖๕ ใบ ๑๘. ๕๔,๔๗๘,๙๓๐ ๓๘. เสนา ๖๒,๔๕๒ คน ๑๙. ๓๐ โกฏิ ๓๙. หนี้ ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒๐. ๕๕๕ โกฏิ ๔๐ . ทรพั ย์ ๗๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๑๓๑ เอกสารอา้ งอิงประจำบทที่ ๖ ------------------------------- กรมการศาสนา.พระไตรปิฏกภาษาบาลี ฉบับสยามรัฐ,เลม่ ที่ ๗. กรงุ เทพ ฯ: กรมการศาสนา,๒๕๒๕. พระพทุ ธโฆสาจารย์.สมนตฺ ปาสาทิกา.พิมพค์ รง้ั ท่ี ๘.กรงุ เทพฯ: มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ,๒๕๔๘. พระมหานยิ ม อุตฺตโม. หลกั สูตรยอ่ บาลีไวยากรณ์.พิมพค์ รั้งท่ี ๔. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์เล่ยี งเชยี ง,๒๕๒๓. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส.บาลไี วยากรณ์ (สังขยา).พิมพ์ครง้ั ท่ี ๔๘. กรงุ เทพฯ: มหามกฏุ ราชวิทยาลัย,๒๕๔๗.

แผนการสอนประจำบทเรียนที่ ๗ หวั ข้อเนือ้ หาประจำบท บทที่ ๗ กริ ิยาในภาษาบาลี (Verb) ๖ ช่วั โมง ๗.๑ กิริยาอาขยาต ๗.๒ นามกติ ก์ ๗.๓ กิริยากติ ก์ วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม ๑.นกั ศกึ ษาเขา้ ใจความหมายและการใช้กิริยาในภาษาบาลี (Verb) ได้ถกู ต้อง ๒.นักศกึ ษาเขา้ ใจวิภัตติอาขยาตและการผสมกับธาตใุ นภาษาบาลีได้ถูกต้อง ๓.นกั ศกึ ษามีความเข้าใจหลกั การใช้นามกิตก์และวธิ ีการแจกดว้ ยวภิ ตั ติไดถ้ ูกตอ้ ง ๔.นักศกึ ษามคี วามเข้าใจหลักการใช้กริ ิยากิตก์และวธิ ีการแจกดว้ ยวภิ ัตติได้ถูกตอ้ ง ๕.นกั ศกึ ษาสามารถแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาบาลไี ด้ วธิ กี ารสอนและกิจกรรม ๑.ศกึ ษาเอกสารคำสอนและบรรยายนำเป็นเบือ้ งตน้ ๒.ใหน้ กั ศึกษาว่าตามผ้บู รรยายเปน็ คำศัพท์บาลี ๓.อภปิ ราย ๔.แบ่งกลุ่มอภปิ ราย ๕.คำถามทบทวนประจำบทที่ ๗ สื่อการเรียนการสอน ๑.เอกสารประกอบการเรียนการสอนและเอกสารอ่นื ๒.PowerPoint สรุปบทเรยี น ๓.รูปภาพ คลิปวีดโิ อ สไลด์ การวดั และประเมินผล ๑.สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรยี น ๒.การคน้ ควา้ มอบหมายงานเดีย่ ว งานกลุ่ม ๓.ความสนใจในบทเรยี น การซกั ถาม ๔.การเขยี นรายงาน การรายงานผลการคน้ ควา้ หน้าชน้ั เรยี น ๕.การสอบวดั ผลความรแู้ ต่ละบทเรียน ๖.การสอบวดั ผลกลางภาคเรียน ๗.การสอบวัดผลปลายภาคเรยี น

๑๓๓ บทท่ี ๗ กริ ยิ าในภาษาบาลี (VERB) สว่ นทีส่ ำคัญในภาษาบาลที ีจ่ ะทำใหส้ ามารถแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทยได้นอกจากคำนามแล้วกค็ ือ คำกิริยาภาษาบาลีเรียกว่า “อาขยาต” เป็นคำท่ีบ่งบอกว่าคำนามนั้นแสดงอาการอย่างไร คำนามเป็นส่วน ประธาน ส่วนคำกิริยาเป็นส่วนที่แสดงอาการกระทำของประธาน ในบทนี้จึงควรรู้จักคำกิริยาหรืออาขยาตใน ภาษาบาลีกอ่ น เพราะจะเปน็ การง่ายตอ่ การกำหนดในการแปลภาษาบาลี ๑.กริ ยิ าอาขยาต อาขยาตหมายถึงศัพท์ที่กล่าวกิริยาคือความทำ, เช่นยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด คิด ใน อาขยาตนั้นท่านประกอบ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก ปัจจัย เพ่ือเป็นเคร่ืองหมายเนื้อความให้ ชดั เจน ในอาขยาตมีเครื่องปรงุ ท่ีสำคัญมี ๓ ประการคือ ๑.ธาตุ คอื รากของศัพท์ ประกอบเป็นกริ ิยาต่างๆ มี ๘ หมวด ๒.ปัจจัย คือศัพท์ทปี่ ระกอบท้ายธาตุ ในธาตแุ ตล่ ะหมวดมปี ัจจยั ประจำหมวด ๓.วภิ ตั ติ คือแจกหรือจำแนกธาตตุ ่างๆประกอบทที่ ้ายปัจจยั เม่อื ลงแล้วจะบง่ ถงึ กาล,บท,วจนะ บุรุษ จดั เปน็ ๘ หมวด ในหมวดหนง่ึ ๆ มี ๑๒ วภิ ัตติ กาล (Tenses) หมายถึง ระยะเวลาท่ีกิริยาแสดงออกในขณะนั้น มีเคร่ืองหมายบอกเวลาที่เกิดข้ึนว่า เปน็ ปัจจบุ นั ,อดีตและอนาคต ในภาษาบาลีมี ๓ กาลคือ ๑. ปัจจบุ ันกาล (Present Tense) แปลว่า อยู่,ย่อม,จะ ๒. อดตี กาล (Past Tense) แปลว่า แล้ว ถา้ มี อ อาคมอยูห่ น้าแปลวา่ ไดแ้ ล้ว ๓.อนาคตกาล (Future Tense) แปลวา่ จัก ถา้ มี อ อาคมอยหู่ น้าแปลวา่ จกั ไดแ้ ลว้ บท เปน็ เหตใุ หร้ ู้บทท่ีเป็นเจา้ ของกริยาแบ่งเปน็ ปรัสสบท บทเพอ่ื ผูอ้ ่ืนและอัตตโนบท บทเพอ่ื ตน วจนะ หมายถงึ คำพดู มี ๒ อยา่ งคอื เอกวจนะ สิ่งเดยี ว ,พหุวจนะ ต้งั แต่ ๒ ส่ิงขนึ้ ไป บุรุษ หมายถึงบุคคล สัตว์ สง่ิ ของ แบ่งเป็น ๓ คอื ๑. ประถมบุรุษหรือป มบุรุษ ได้แก่กิริยาอาการท่ีเราพูดถึง ใช้แทนคนและส่ิงของที่พูดถงึ ไดแ้ กศ่ ัพท์ ทัง้ หลายยกเว้น ตมุ ฺห และ อมหฺ ศพั ท์ ๒. มธั ยมบรุ ุษ ได้แก่กิรยิ าอาการของคนทเ่ี ราพูดดว้ ย ใชแ้ ทนคนทีเ่ ราพูดดว้ ย ไดแ้ ก่ ตุมหฺ ทา่ น ๓. ใช้แทนตัวผูพ้ ูดเอง ได้แกก่ ิริยาอาการของผูพ้ ดู เองไดแ้ ก่ อมหฺ ขา้ พเจา้ ๑ ๑สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,บาลีไวยากรณ์ (อาขยาต), พิมพ์ครั้งท่ี ๓๙, (กรงุ เทพฯ: มหามกุฏราชวทิ ยาลัย,๒๕๕๐), หน้า ๒.

๑๓๔ หมวดวิภัตติของอาขยาต วภิ ัตติ ๘ หมวด คือ วัตตมานา, ปัญจมี, สัตตมี, ปโรกขา, หิยัตตนี, อัชชัตตนี, ภวิสสันติ และกาลาติ ปัตติ ๑.ปัจจุบันกาล ใช้หมวด วตั ตมานา เปน็ ปัจจุบนั กาล แปลวา่ “อยู่ ย่อม จะ” ปจั จุบนั แท้ แปลวา่ อยู่, ปัจจบุ ัน ใกล้อดีต แปลว่า ย่อม, ปัจจุบันใกลอ้ นาคต แปลวา่ จะ ปรสฺสปทํ อตตฺ โนปทํ ปรุ ิส. เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ติ อนฺติ เต อนเฺ ต ม สิ ถ เส วเห อุ. มิ ม เอ มเห ตวั อยา่ ง ลภ ธาตุ (ได)้ เมื่อลงในหมวดวัตตมานา ปรสสฺ ปทํ อตฺตโนปทํ ปุรสิ . เอกวจนะ พหวุ จนะ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. (ชโน) ลภติ (ชนา) ลภนตฺ .ิ ลภเต ลภนฺเต ม (ตวฺ ํ) ลภสิ. (ตมุ เฺ ห) ลภถ ลภเส ลภวเฺ ห อุ. (อห)ํ ลภามิ (มย)ํ ลภาม ลเภ ลภมฺเห ๒.หมวดปัญจมี แปลวา่ “จง, จงเถดิ , ขอจง” ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปรุ สิ . เอกวจนะ พหวุ จนะ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ตุ อนฺตุ ตํ อนตฺ ํ ม หิ ถ สฺส วโห อุ. มิ ม เอ อามหฺ เส ๓.หมวดสัตตมี ไมแ่ น่ว่าเป็นกาลไหน เรยี กวา่ อนุตตกาล แปลวา่ “ควร,พึง”อยู่ระหวา่ งปจั จุบนั และอดีต ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปุริส. เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. เอยฺย เอยฺยุ เอถ เอรํ. ม เอยฺยาสิ เอยยฺ าถ เอโถ เอยฺยวฺโห. อ.ุ เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยฺยํ เอยฺยามฺเห.

๑๓๕ ตัวอยา่ ง ลภ ธาตุ (ได้) เม่ือลงในหมวดสัตตมี ปรสฺสปทํ อตตฺ โนปทํ ปุริส. เอกวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ พหุวจนะ ป. (ชโน) ลเภยยฺ (ชโน) ลเภยยฺ ลเภถ ลเภรํ ม (ตวฺ ํ) ลเภยฺยาสิ (ตวฺ ํ) ลเภยยฺ าสิ ลเภโถ ลเภยยฺ วโฺ ห อุ. (อห)ํ ลเภยยฺ ามิ (อหํ) ลเภยฺยามิ ลเภยยฺ ํ ลเภยยฺ ามเห ๔.กิรยิ าอดตี กาล (Past) ประกอบด้วยกริ ยิ าสามหมวดคือ . หมวดปโรกขฺ า (Perfect) สำหรับบอกอดีตกาลลว่ งแล้ว หากำหนดมิได้ มักใชเ้ ลา่ เรื่องอดตี แปลว่า แล้ว ปรสฺสปทํ อตตฺ โนปทํ ปรุ ิส. เอกวจนะ พหวุ จนะ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อ อุ ตถฺ เร ม เอ ตถฺ ตฺโถ วฺโห อุ. อํ มฺห อึ มเฺ ห วิภัตติหมวดปโรกขานี้ มีที่ใช้น้อยมาก มีใช้อยู่บ้างเพียงปรัสบท ปฐม เอก และพหุ เท่าน้ันคือ พฺรู ธาตุในความกล่าว เช่น พฺรู+ อ+อ = อาห, พฺรู+ อ+อุ = อาหุ,อาหํสุ ( แปลง อุ เป็น อํสุ (แปลง พฺรู ธาตุ เป็น อาห) เชน่ เตน อาห ภควา. ดว้ ยเหตุนัน้ พระผู้มพี ระภาค ตรสั แล้ว เตน อาหุ โปราณา. ดว้ ยเหตนุ นั้ อาจารย์มใี นปางก่อน ท. กลา่ วแล้ว ๕.หมวดหยิ ตั ตนี (Imperfect) บอกอดตี กาลลว่ งแล้ววานน้ี แปลว่า แลว้ เม่อื ลง อ อาคมหน้าธาตุ แปลว่า ไดแ้ ล้ว ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ ปรุ สิ . เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อา อู ตถฺ ตถฺ ุ ม โอ ตถ เส วหฺ ํ อ.ุ อํ มหฺ อึ มฺหเส ตวั อย่างการแจก ปฺจ ธาตุ (หงุ , ตม้ ) ปรสสฺ ปทํ ปุรสิ . เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อปจา, อปจ อปจู ม อปโจ อปจตถฺ อ.ุ อปจํ อปจมฺห

๑๓๖ มยํ ชนานํ สทู ํ อปจมฺห เรา ท. หงุ ข้าวเพอื่ คน ท. ขโณ โว มา อุปจฺจคา. ขณะอย่าได้เข้าไปล่วง แล้ว ซ่ึงทา่ นท. อปุ จจฺ คา (อปุ +อต+ิ อ+คมฺ+อ+อา.) เอวํ อวจํ (ขา้ ) ไดก้ ลา่ วแล้ว อยา่ งนี้ ๖.หมวดอัชชัตฺตนี (perfect) สำหรับบอกอดีตกาลล่วงแล้วต้ังแต่วันน้ี แปลว่า แล้ว ถ้าลง อ อาคมหน้าธาตุ แปลว่า “ได้.....แล้ว” ปรสสฺ ปทํ อตฺตโนปทํ ปรุ สิ . เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อี อุ อา อู ม โอ ตถฺ เส วฺหํ อ.ุ อึ มฺหา อํ มฺเห ตวั อยา่ งการแจก คมฺ ธาตุ (ไป) (ไม่ลง อ อาคมต้นธาตุ และไมแ่ ปลง คมฺ ธาตุเป็น คจฉฺ ปรสสฺ ปทํ ปุริส. เอกวจนะ พหุวจนะ ป. คมฺ +อ + อี = คมิ คมฺ +อ + อุ = คมุ ม คมฺ +อ + โอ = คโม คมฺ +อ + อ+ิ ตถฺ = คมติ ฺถ อ.ุ คมฺ +อ + อึ = คมึ คมฺ +อ + อิ+ มฺหา = คมิมหฺ า เช่น เถโร คามํ ปิณฺฑาย คมิ. พระเถระ ไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑะ. เอวรูปํ กมฺมํ อกาสึ. (ข้า) ได้ทำ แลว้ ซง่ึ กรรม มีอยา่ งน้ีเป็นรูป. ๗. กิริยาอนาคตกาล (Future) มีสองหมวดคือ ๑.หมวดภวิสฺสนฺติ (Future) สำหรบั บอกอนาคตของปจั จุบัน แปลวา่ “จกั ” ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปุริส. เอกวจนะ พหุวจนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. สสฺ ติ สสฺ นตฺ ิ สสฺ เต สสฺ นเฺ ต ม สสฺ สิ สสฺ ถ สฺสเส สสฺ วเฺ ห อ.ุ สสฺ ามิ สสฺ าม สฺสํ สฺสามเฺ ห ตวั อย่างการแจก ปจฺ ธาตุ ในความหงุ ในความต้ม ปรสสฺ ปทํ ปุริส. เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ปจิสฺสติ ปจิสฺสนตฺ ิ ม ปจสิ สฺ สิ ปจสิ สฺ ถ อ.ุ ปจิสสฺ ามิ, ปจิสฺสํ ปจิสฺสาม เช่น ปูวํ ปจิสสฺ ามิ. ขา้ จกั ตม้ ซง่ึ ขนม

๑๓๗ ๘.หมวดกาลาติปตฺติ สำหรับบอกอนาคตของอดีต แปลว่า “จัก.....แล้ว” ถ้าลง อ อาคม หน้าธาตุ แปลว่า “จกั ได้..... แล้ว” ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ ปุรสิ . เอกวจนะ พหวุ จนะ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. สฺสา สฺสํสุ สฺสถ สฺสสึ ุ ม สเฺ ส สฺสถ สฺสเส สสฺ ฺเห อุ. สฺสํ สสฺ ามฺหา สสํ สสฺ ามฺหเส ตัวอยา่ งการแจก คมฺ ธาตุ (ไป) แปลงคมฺ ธาตเุ ปน็ คจฉฺ ปรสฺสปทํ ปุรสิ . เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. คมฺ +อ + อิ+สฺสา= คจฺฉสิ สฺ า, คจฉฺ ิสสฺ คมฺ +อ + อ+ุ สฺสํสุ= คจฉฺ สิ ฺสสํ ุ ม คมฺ +อ + อ+ิ สฺเส = คจฺฉิสเฺ ส คมฺ +อ + อ+ิ สฺสถ = คจฺฉสิ สฺ ถ อุ. คมฺ +อ + อิ + สฺส=ํ คจฺฉิสฺสํ คมฺ +อ + อิ+ สสฺ ามฺหา = คจฺฉิสฺสามฺหา เชน่ โส เจ ยานํ ลภิสสฺ า อคจฺฉสิ สฺ า ถ้าวา่ เขา จกั ได้แล้ว ซง่ึ ยานไซร้ (เขา) จักไดไ้ ปแล้ว ธาตุ ธาตุคือรากของศัพท์ ประกอบเป็นกิริยาต่างๆ มี ๘ หมวด ตามพวกที่ประกอบด้วยปัจจัยเป็นอัน เดียวกนั แสดงแตพ่ อเป็นตัวอยา่ ง ดังนี้ ๑.หมวด ภู ธาตุ ภู เป็นไปในความ ม,ี ในความ เป็น (ภู + อ = ภว + ต)ิ สำเรจ็ รปู เป็น ภวติ ยอ่ มมี, ย่อมเปน็ . หุ เปน็ ไปในความ ม,ี ในความ เป็น (หุ + อ = โห + ติ) สำเรจ็ รูปเป็น โหติ ยอ่ มมี, ยอ่ มเปน็ . สี เป็นไปในความ นอน (สี + อ = สย + ต)ิ สำเรจ็ รูปเป็นเสติ, สยติ ย่อมนอน. มรฺ เปน็ ไปในความ ตาย, (มรฺ + อ + ติ) สำเร็จรปู เป็น มรติย่อมตาย. ปจฺ เป็นไปในความ หุง, ในความ ตม้ (ปจฺ + อ + ติ) สำเร็จรปู เป็น ปจติ ยอ่ มหุง, ย่อมตม้ . อิกฺขฺ เป็นไปในความ เห็น, (อกิ ขฺ ฺ + อ + ต)ิ สำเร็จรปู เป็น อิกขฺ ติยอ่ มเหน็ . ลภฺ เปน็ ไปในความ ได้ (ลภฺ + อ + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ ลภตยิ อ่ มได้. คมฺ เป็นไปในความ ไป (คมฺ + อ = คจฉฺ + ต)ิ สำเรจ็ รปู เป็นคจฉฺ ติ ยอ่ มไป. ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ รุธฺ เป็นไปในความ ก้ัน, ในความ ปิด (รุธฺ + อ - เอ + ติ) สำเร็จรูปเป็น รุนฺธติ, รุนฺเธติ ย่อมปิด. มุจฺ เปน็ ไปในความ ปลอ่ ย (มุจฺ + อ + ต)ิ สำเรจ็ รูปเป็นมญุ จฺ ติ ย่อมปลอ่ ย. ภชุ ฺ เปน็ ไปในความ กนิ (ภชุ ฺ + อ + ติ) สำเรจ็ รปู เป็น ภุญชฺ ติ ย่อมกิน. ภิทฺ เปน็ ไปในความ ต่อย (ภึทฺ + อ + ติ) สำเรจ็ รูปเป็น ภินทฺ ติ ย่อมตอ่ ย. ลปิ ฺ เปน็ ไปในความ ฉาบ (ลึปฺ + อ + ต)ิ สำเร็จรูปเปน็ ลมิ ฺปติ ยอ่ มฉาบ.

๑๓๘ ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ *ทิวฺ เป็นไปในความ เลน่ (ทวิ ฺ + ย = พพฺ + ติ) สำเรจ็ รูปเปน็ ทิพพฺ ติ ยอ่ มเลน่ . สวิ ฺ เป็นไปในความ เย็บ (สวิ ฺ + ย = พฺพ + ต)ิ สำเรจ็ รูปเป็นสิพพฺ ติ ยอ่ มเยบ็ . พธุ ฺ เปน็ ไปในความ ตรสั รู้ (พุธฺ + ย = ชฌฺ + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ พุชฺฌติ ย่อมตรัสร้.ู *ขี เปน็ ไปในความ สน้ิ (ขี + ย + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ ขียติ ย่อมสน้ิ . *มุหฺ เปน็ ไปในความ หลง (มุหฺ + ย = ยฺห + ติ) สำเร็จรูปเป็น มุยฺหติ ยอ่ มหลง. มุสฺ เป็นไปในความ ลมื (มสุ ฺ + ย = สสฺ + ติ) สำเร็จรูปเปน็ มสุ สฺ ติ ยอ่ มลมื . รชฺ เปน็ ไปในความ ย้อม (รชฺ + ย = ชฺช + ติ) สำเรจ็ รูปเปน็ รชชฺ ติ ย่อมยอ้ ม. หมายเหต:ุ เครื่องหมาย (*) เป็นอกัมมธาตุ เพราะไม่ตอ้ งเรียกหากรรม ๑.ถ้าลง ย ปัจจัยในหมวด ทิวฺ ธาติ เป็นอกัมมธาตุ เป็นไปในความ หลุด, พ้นสำเรจ็ รปู เป็น มุจจฺ ติ ย่อม หลดุ . ๒.ถ้าลง ย ปจั จัยในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ เป็นอกัมมธาตุ เป็นไปในความ แตก, สำเรจ็ รูปเป็น ภิชฺชติ ยอ่ มแตก ๓.สสํ กฤต เปน็ ไปในความ สว่าง. ๔.หมวด สุ ธาตุ สุ เปน็ ไปในความ ฟงั (สุ + ณา + ติ) สำเรจ็ รูปเปน็ สุณาติ ย่อมฟัง. วุ เปน็ ไปในความ รอ้ ย (วุ + ณา + ต)ิ สำเร็จรปู เปน็ วุณาติ ย่อมรอ้ ย. สิ เป็นไปในความ ผกู (สิ + ณุ = โณ + ต)ิ สำเร็จรูปเป็น สิโณติ ยอ่ มถกู . ๕.หมวด กี ธาตุ กี เปน็ ไปในความ ซอ้ื (กี + นา + ต)ิ สำเร็จรปู เปน็ กนี าติ ย่อมซอ้ื . ชิ เปน็ ไปในความ ชำนะ (ชิ + นา + ต)ิ สำเร็จรปู เปน็ ชินาติ ยอ่ มชำนะ. ธุ เป็นไปในความ กำจดั (ธุ + นา + ต)ิ สำเรจ็ รูปเป็น ธุนาติ ยอ่ มกำจัด. จิ เป็นไปในความ ก่อ,ในความส่งั สม (จิ + นา + ต)ิ สำเรจ็ รปู เปน็ จินาติ ย่อมกอ่ ,ยอ่ มส่ังสม. ลุ เปน็ ไปในความ เกี่ยว,ในความ ตดั (ลุ + นา + ต)ิ สำเร็จรูปเปน็ ลุนาติ ย่อมเก่ียว, ยอ่ มตัด. ญา เป็นไปในความ รู้ (ญา = ชา + นา + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ ชานาติ ย่อมร.ู้ ผุ เปน็ ไปในความ ฝดั ,ในความ โปรย (ผุ + นา + ติ) สำเรจ็ รูปเป็น ผุนาติ ยอ่ มผดั , ยอ่ มโปรย. ๖.หมวด คหฺ ธาตุ คหฺ เปน็ ไปในความ ถอื เอา (คหฺ + ณฺหา + ต)ิ สำเร็จรูปเปน็ คณฺหาติ ย่อมถอื เอา. ๗.หมวด ตนฺ ธาตุ ตนฺ เปน็ ไปในความ แผ่ไป (ตนฺ + โอ + ต)ิ สำเร็จรปู เปน็ ตโนติ ย่อมแผ่ไป. กรฺ เป็นไปในความ ทำ (กรฺ + โอ + ต)ิ สำเร็จรปู เปน็ กโรติ ย่อมทำ. *สกกฺ ฺ เปน็ ไปในความ อาจ (สกกฺ ฺ + โอ + ต)ิ สำเร็จรูปเปน็ สกฺโกติ ยอ่ มอาจ. *ชาครฺ เป็นไปในความ ตน่ื (ชาครฺ + โอ + ติ) สำเรจ็ รูปเป็น ชาคโรหิ ย่อมตน่ื .

๑๓๙ ๘. หมวด จุรฺ ธาตุ จุรฺ เป็นไปในความ ลกั (จุรฺ + เณ - ณย + ต)ิ สำเรจ็ รปู เปน็ โจเรติ, โจรยติ ยอ่ มลัก. ตกฺกฺ เป็นไปในความ ตรกึ (ตกฺกฺ + เณ - ณย + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ ตกเฺ กต,ิ ตกกฺ ยติ ย่อมตรกึ . ลกฺขฺ เป็นไปในความ กำหนด (ลกขฺ ฺ + เณ - ณย + ติ) สำเร็จรูปเปน็ ลกเฺ ขต,ิ ลกฺขยติ ย่อมกำหนด. *มนฺตฺ เป็นไปในความปรึกษา (มนฺตฺ + เณ - ณย + ติ)สำเรจ็ รูปเปน็ มนเฺ ตติ, มนฺตยติ ย่อมปรกึ ษา. จินตฺ ฺ เป็นไปในความ คิด (จนิ ฺตฺ + เณ - ณย + ติ) สำเรจ็ รปู เปน็ จนิ เฺ ตติ, จนิ ตฺ ยติ ย่อมคิด. หมายเหตุ: เครือ่ งหมาย (*) เปน็ อกมั มธาตุ เพราะไม่ตอ้ งเรียกหากรรม อสฺ ธาตุ อสฺ ธาตุ ซง่ึ เป็นไปในความ มี, ความ เป็น, อย่หู น้าแปลงวิภตั ติท้ังหลายแล้ว ลบพยัญชนะต้นธาตุบา้ ง ท่ีสดุ ธาตบุ ้างดงั ตอ่ ไปน้ี ติ เป็น ตถฺ .ิ ลบท่สี ดุ ธาตุ สำเร็จรูปเปน็ อตฺถ.ิ อนฺติ คงรปู ลบต้นธาตุ สำเรจ็ รปู เป็น สนตฺ .ิ สิ คงรูป ลบท่สี ดุ ธาตุ สำเรจ็ รูปเปน็ อสิ. ถ เป็น ตฺถ ลบทีส่ ดุ ธาตุ สำเร็จรปู เปน็ อตฺถ. มิ เปน็ มฺหิ ลบทีส่ ดุ ธาตุ สำเร็จรปู เปน็ อมหฺ .ิ ม เปน็ มฺห ลบท่สี ุดธาตุ สำเร็จรปู เป็น อมหฺ . ตุ เปน็ ตฺถุ ลบท่สี ดุ ธาตุ สำเร็จรูปเปน็ อตถฺ ุ. เอยฺย เปน็ อยิ า ลบตน้ ธาตุ สำเรจ็ รูปเปน็ สิยา. เอยยฺ กบั ทั้งธาตุ สำเรจ็ รปู เป็น อสสฺ . เอยฺยุ กับทัง้ ธาตุ สำเร็จรูปเปน็ อสสฺ ุ. เอยฺยุ เปน็ อิยุ ลบต้นธาตุ สำเร็จรูปเปน็ สิยุ. เอยฺยาสิ กับทั้งธาตุ สำเร็จรูปเป็น อสฺส. เอยฺยาถ กับท้ังธาตุ สำเรจ็ รูปเป็น อสฺสถ. เอยยฺ ามิ กบั ทั้งธาตุ สำเรจ็ รปู เป็น อสฺส. เอยฺยาม กบั ทั้งธาตุ สำเร็จรูปเป็น อสสฺ าม. อิ คงรูป ทฆี ะตน้ ธาตุ สำเรจ็ รปู เปน็ อาส.ิ อุ คงรูป ทีฆะต้นธาตุ สำเร็จรปู เป็น อาสุ. ตถฺ คงรูป ทีฆะตน้ ธาตุ สำเร็จรูปเปน็ อาสติ ถฺ . อึ คงรูป ทฆี ะต้นธาตุ สำเรจ็ รูปเป็น อาสึ. มฺหา คงรูป ทฆี ะตน้ ธาตุ สำเร็จรปู เปน็ อาสมิ ฺหา.

๑๔๐ ๒.นามกิตก์ กิตก์ คือชื่อของศัพท์ท่ีประกอบดว้ ยธาตแุ ละปจั จยั วิเคราะห์ว่า \"สิสสฺ านํ กงฺขํ กริ ติ อปเนตีติ กิตํ, กิตํ เยว กิตโก บทท่ีนำเอาความสงสัยของศิษย์ออกไป ชื่อว่ากิตะ, กิตะนน่ั แหละ ชื่อว่ากิตกะ\" มี ๒ อยา่ ง คือ นาม กติ ก์ และกิริยากติ นามกิตก์ คือ ธาตุ ปัจจัย และวิภัตติ ประกอบกันเข้าแล้วสำเร็จรูปเป็นสุทธนามก็มี เป็นคุณนามก็มี นามกิตก์น้ีท่านทำให้สำเร็จด้วยสาธณะ ๗ อย่าง คือ กัตตุสาธนะ กัมมสาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ สมั ปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ และอธิกรณสาธนะ ๒.๑ สาธนะ ๗ ๑.กตั ตุสาธนะ รูปสำเร็จโดยเป็นผู้กระทำกิริยา แปลว่า \"ผู้, อัน, ที่\" เช่น พุชฺฌตีติ พุทฺโธ ผู้ตรัสรู้ ช่ือ วา่ พุทฺธ (ผู้ตรสั ร)ู้ ททตีติ ทายโก ผูใ้ ห้ ชอื่ ว่า ทายก (ผูใ้ ห้) ๒.กัมมสาธนะ รูปสำเร็จโดยเป็นผู้ถูกกริ ิยากระทำ แปลว่า \"ผู้ถูก, ผู้เป็นท่ี, ผู้อันเขา, ผู้ที่เขา, อันเขา\" เชน่ มาตาปติ หู ิ ธรียตีติ ธีตา ธิดาที่มารดาบิดาคุ้มครอง ชอ่ื ว่า ธีตุ (ผูถ้ ูกคุม้ ครอง) ปยิ ายติ ตนตฺ ิ ปโิ ยผู้เป็นทรี่ ัก ชอื่ วา่ ปยิ (ผู้เปน็ ที่รัก) ๓.ภาวสาธนะ รูปสำเร็จโดยเป็นภาวะ แปลว่า \"การ, ความ\" เช่น กรณํ กรณํ การกระทำ ช่ือว่า กรณะ คมนํ คมนํ การไป ชื่อวา่ คมนะ จนิ ตฺ นํ จนิ ฺตนํ ความคิด ชอ่ื ว่า จินตฺ นะ ๔. กรณสาธนะ รปู สำเรจ็ โดยเป็นเครื่องชว่ ยในการทำกิรยิ า แปลว่า \"เป็นเครือ่ ง, เป็นเหต\"ุ เช่น วเิ นติ เอเตนาติ วินโย ธรรมเป็นเคร่ืองแนะนำ ช่อื ว่า วินยะ ปชฺชเต อเนนาติ ปาโท เท้าเป็นเครื่องช่วยไป ชื่อว่า ปา ทะ ๕.สัมปทานสาธนะ รูปสำเร็จโดยเป็นผู้รับ แปลว่า \"ผู้ท่ีเขามอบให้, ผู้รับ\" เช่น สมฺปเทติ อสฺสาติ สมฺปทานํ ผู้รับสิ่งที่เขามอบให้ ชื่อว่า สมฺปทาน (ผู้รับ) ทาตพฺโพ อสฺสาติ ทานีโย ผู้รับของท่ีเขาถวาย ชื่อว่า ทานีย (ผ้คู วรรบั ) ๖. อปาทานสาธนะ รูปสำเร็จโดยเป็นเขตแดนท่ีออกไป แปลว่า \"เป็นที่, เป็นเขต\" เช่น ปภวติ เอตสฺ มาติ ปภโว สถานทเี่ ร่มิ ต้น ชื่อวา่ ปภว (เป็นท่ีเรมิ่ ต้น) ๗.อธกิ รณสาธนะ รปู สำเรจ็ โดยเป็นสถานที่หรือเวลากระทำกริ ิยา แปลว่า \"เปน็ ท่ี, เป็นที่อันเขา, เป็น เวลาที่เขา\" เช่น สยติ เอตฺถาติ สยนํ นอนบนท่ีน้ัน ฉะนั้น ท่ีนั้นช่ือวา่ สยน (เป็นที่นอน) สงฺคมฺม ภาสนฺติ เอตฺ ถาติ สภา บัณฑติ ไปพร้อมกันแลว้ ประชุมในทนี่ ั้น ฉะน้นั ที่น้ันชือ่ ว่า สภา (เป็นทอ่ี นั เขาพร้อมกันประชุม) ๒.๒ ธาตุ ธาตุในนามกิตก์นี้ คือธาตุท้ัง ๘ หมวด เหมือนธาตุในอาขยาต (กลับไปดูเรื่องธาตุในหมวด อาขยาต) ๒.๓ ปจั จยั นามกิตก์ มี ๑๔ คือ แบ่งออกเปน็ ๓ หมวด คอื ๑.กิตปจั จยั เป็นเครือ่ งหมาย กตั ตสุ าธนะ อยา่ งเดียว มี ๕ ตวั คอื กฺวิ-ณี-ณวฺ ุ-ต-ุ รู ๒.กจิ จปจั จัย เปน็ เครอื่ งหมาย กมั มสาธนะ และภาวสาธนะมี ๒ ตวั คือ ข-ณฺย ๓.กิตกิจจปัจจัย เป็นเครอื่ งหมายสาธนะท้งั ๗ มี ๗ ตวั คอื อ-อ-ิ ณ-เตฺว-ต-ิ ตุ-ยุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook