Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 2564

รายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 2564

Published by กศน.จังหวัดขอนแก่น, 2021-11-22 11:06:30

Description: รายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 2564

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนและจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ิการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซึ่งมีสถานศึกษาในสังกัดทั้งหมด 26 แห่ง โดยมีผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหาร การศึกษา ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น 834 คน มีหน้าที่รับผิดชอบงานการจัด การศึกษากระจายอยู่ครอบคลุมในทุกพื้นที่ชุมชน/หมู่บ้าน/ตำบล ซึ่งทำหน้าที่แตกต่างกันไปตามบทบาท ภารกจิ และงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายอน่ื ๆ สำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น ไดก้ ำหนดแนวทางขบั เคล่อื นและการ พัฒนาการศึกษา ตามวิสัยทัศน์สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น “ประชาชนจังหวัดขอนแก่น ได้รับโอกาส การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21” และขับเคลื่อนการยกระดับ คุณภาพการศึกษา ภายใต้ยุทธศาสตร์ร่วมกัน คือ “ ปี 2564 เป็นปีแห่งการยกระดับคุณภาพการศึกษา ” ประกอบด้วย (1) กรอบแนวทางการปลูกจิตสำนึกอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์และ ขยายผลโครงการจิตอาสา (2) กรอบแนวทางการนอ้ มนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัตเิ พื่อพฒั นาคุณภาพชีวิต อย่างยั่งยืน (3) กรอบแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (4) กรอบ แนวทางการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำและสร้างความสามารถในการแข่งขัน (oocc) (5) กรอบแนวทางการยกระดับการเพิ่มอัตราอ่านและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัย (6) กรอบ แนวทางยกระดบั ส่งเสริมภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร (7) กรอบแนวทางการส่งเสริมรกั ษาสิ่งแวดล้อมอย่างมี ส่วนร่วม (8) กรอบแนวทางการพัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภท เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน (9) กรอบแนวทางการส่งเสริมการบริหารหน่วยงานสถานศึกษาโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล (10) กรอบแนวทาง การส่งเสรมิ การนำเทคโนโลยมี าใช้ในการบริหารและจัดการศกึ ษา สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ขอขอบคุณหน่วยงานและสถานศึกษาทุกแห่ง รวมทั้งภาคี เครือข่าย และประชาชนกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการเรียนรู้ที่ได้มีส่วนร่วมให้การดำเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประสบความสำเร็จดังปรากฏรายละเอียดในรายงานฉบับนี้ ซึ่งจะเป็น แหล่งข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญในการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลยิง่ ข้นึ ไป สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่

สารบัญ เรือ่ ง หนา้ ส่วนท่ี 1 บทนำ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน สำนักงาน กศน. จังหวดั ขอนแกน่ 1 9 ส่วนท่ี 2 ทิศทางการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. จงั หวดั ขอนแก่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 12 14 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ กับ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. การจดั การศกึ ษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาด 15 ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสำนกั งาน กศน. แนวทางการจัดการศึกษาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด 16 ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 แนวทางการจัดการศึกษาการศกึ ษาต่อเนอ่ื งในสถานการณ์การแพร่ระบาด 16 ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แนวทางการจดั การศึกษาการศกึ ษาตามอัธยาศัยในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด 17 ของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 20 ส่วนท่ี 3 งบประมาณรายรบั รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่วนที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 20 การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 21 รายงานผลการดำเนินงานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 23 รายงานผลการทดสอบระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 25 รายงานผจู้ บหลกั สูตร GPA/PR 26 รายงานผู้จบหลักสูตร กิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ รายงานนักศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี 27 การศึกษาอย่างต่อเน่ือง 29 การจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต 31 การจัดการศึกษาเพือ่ สงั คมและชมุ ชน การจัดการศกึ ษาเพ่อื เรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 34 การศึกษาตามอธั ยาศัย 36 โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตำบล (จัดซื้อหนังสือพิมพ์/สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล) กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน

สารบัญ เรื่อง หนา้ โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำป)ี 38 39 ⬧แผนงานพ้นื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 40 ⬧แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต 42 ⬧แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนนุ ด้านการพัฒนา และเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 50 ⬧แผนงานยุทธศาสตร์พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ทิ ัล 52 ⬧แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรกั ษาผู้ตดิ ยาเสพตดิ 54 ส่วนท่ี 5 ผลงานทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 54 กจิ กรรมปลูกจิตสำนึกอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ 56 และขยายพลโครงการจติ อาสา 59 โครงการพฒั นายกระดับแหล่งเรยี นรรู้ ะดบั ตำบล เป็น กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม 61 และ กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรีเมีย่ ม พลัส ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 63 โครงการการตดิ ตามการดำเนนิ งานโครงการ “หน้าบา้ นสวย หลังบา้ นสวน” งบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนทชี่ าวตลาด “ส่งเสรมิ ชุมชนรกั การอา่ น” สำนักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 การส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการผ่านกจิ กรรมโครงงาน วทิ ยาศาสตร์

ส่วนท่ี 1 บทนำ ๑.1 ข้อมูลพื้นฐาน สำนกั งาน กศน. จงั หวดั ขอนแก่น ข้อมูลทวั่ ไป ที่ตั้ง: ๑๗๔ หมู่ ๑๗ ถนนดรุณสำราญ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๒๒๔-๙๗๓ โทรสาร ๐๔๓-๒๒๕-๒๔๒ email : [email protected] ประวตั ิความเปน็ มา เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ กองสง่ เสริมอาชีพไดจ้ ัดตงั้ โรงเรยี นฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ ๒๖ จงั หวดั ขอนแก่น สังกัดกองส่งเสริมอาชีพ กรมอาชีวศึกษา ได้ดำเนินการสอนตามอำเภอต่าง ๆ เช่น อำเภอพล อำเภอชนบท อำเภอบา้ นไผ่ จงั หวดั ขอนแก่น จนกระท่งั ยา้ ยมาอีกคร้งั ท่ีอำเภอเมืองขอนแก่น โดยใช้อาคาร คุรุสัมมนาคารเป็นที่เปิดสอนวิชา ที่เปิดสอนมีช่างอุตสาหกรรม คหกรรม และพาณิชยกรรม เปิดสอน ๓ รอบ โดยใช้หลักสูตร ๓๐๐ ชั่วโมง เปิดสอน ๙ แผนกวิชา คือ ช่างตัดเสื้อสตรี ช่างตัดเสื้อชาย ช่างตดั ผม-เสรมิ สวย ชา่ งอาหาร-ขนม ชา่ งไฟฟา้ ช่างเครอื่ งยนตใ์ หญ่ ช่างเคร่ืองยนต์เลก็ ช่างวทิ ยุ และบญั ชี พิมพ์ดีด จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๕ โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ทั่วประเทศ ได้โอนไปขึ้นกับกองการศึกษา ผูใ้ หญ่ เมื่อวนั ที่ ๒๔ มนี าคม ๒๕๒๒ ไดป้ ระกาศต้ัง “กรมการศึกษานอกโรงเรียน” จึงได้โอนโรงเรียนฝึกฝน อาชีพเคลื่อนที่ ๒๖ กองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญศึกษา ไปขึ้นกับกองปฏิบัติการ กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๒๓ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนจังหวัดขอนแก่นขึ้น โดยให้ยุบโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ ๒๖ จังหวัดขอนแก่น และงาน การศึกษาผู้ใหญ่ที่อยู่ในความรบั ผิดชอบของจงั หวัดขอนแก่น ไปขึ้นกับศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรียน จังหวัด ขอนแก่น และมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบ ประสานงานการศกึ ษานอกโรงเรยี นทกุ รูปแบบ ในจงั หวัดขอนแกน่ หนา้ ๑

ต่อมาศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น ได้ย้ายมาจากอาคารของคุรุสัมมนา คารมาที่ทำการใหม่ ปัจจุบันสถานที่ตั้งอยู่ที่เลขที่ ๑๗๔ หมู่ ๑๗ ถนนรถไฟ (ปัจจุบันถนนดรุณสำราญ) ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ (ตดิ กบั โรงเรยี นแกน่ นครวทิ ยาลัย) มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ ๗ ไรเ่ ศษ วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๖ กรมการศึกษานอกโรงเรียนเปลี่ยนแปลงสถานะ เป็นสำนัก บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และยังได้เรียกชื่อว่า “ศูนย์ การศกึ ษานอกโรงเรียนจังหวดั ขอนแกน่ ” วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ ประกาศราชกิจจานุเบกษา ให้ใช้พระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรยี นจังหวัดขอนแก่น จึงได้เปลี่ยนช่ือเป็น “สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดขอนแกน่ ” โดยเรียกชื่อย่อว่า สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จนถึง ปจั จุบนั น้ี เอกลักษณ์ “สำนกั งาน กศน. จังหวัดขอนแก่น เสยี งแคนดอกคูน เพิ่มพนู การเรียนรู้ สยู่ ุคดจิ ทิ ัล” อตั ลกั ษณ์ “ยึดมน่ั คุณธรรม นำวิชาการ ประสานเครือขา่ ย ม่งุ ในผลสมั ฤทธิ์ ดว้ ยจติ บรกิ าร ทำงานเปน็ ทมี ” คำขวญั “กศน.จังหวดั ขอนแก่น ดนิ แดนแหง่ การศึกษา สร้างคุณค่าให้ชุมชน พฒั นาคนสูย่ ุคดจิ ิทัล” บทบาทหนา้ ที่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น 1. เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จังหวดั ขอนแก่น 2. จัดทำยุทธศาสตร์แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในจงั หวดั ขอนแกน่ ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ และชมุ ชน 3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั 4. วิเคราะห์ จัดตั้ง จัดสรร เงินงบประมาณ ให้แก่สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายที่จัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 5. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและภาคี เครือข่าย 6. จัดระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบตามท่ีกฎหมายกำหนด 7. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การเทียบโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ และเทียบ ระดับการศึกษา 8. พัฒนาหลักสตู ร สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษาและภาคเี ครอื ขา่ ย หนา้ ๒

9. ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุน การจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 10. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และภาคี เครือข่าย 11. ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ 12. ส่งเสรมิ สนบั สนุนงานนโยบายพิเศษ และงานเสรมิ สร้างความมัน่ คงของชาติ 13. กำกับ ดูแล นิเทศ ติดตามผลและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ของสถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขา่ ย 14. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย ภายใต้อำนาจหน้าที่ดังกล่าว สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด หรือชื่อย่อว่า “สำนักงาน กศน.จังหวัด” มีโครงสร้างรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ชัดเจน โดยเป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้กำหนดโครงสร้างของสำนักงาน กศน.จั งหวัด เป็น 7 กลุ่ม ดงั น้ี คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ขอนแก่น 1. ผู้ว่าราชการจงั หวดั ขอนแกน่ 2. ปลัดจังหวัดขอนแกน่ 3. เกษตรจงั หวดั ขอนแก่น 4. สาธารณสขุ จงั หวดั ขอนแก่น 5. แรงงานจงั หวัดขอนแก่น หนา้ ๓

6. พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวดั ขอนแกน่ 7. นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ขอนแก่น 8. นางสาวอัจฉรา สากระจาย 9. นางรัตนาภรณ์ สมบูรณ์ 10. ร้อยโท ทวีศักด์ิ ผุยพัฒน์ 11. นายเขม็ ชาติ สมใจวงษ์ 12. นายพสิ ทุ ธ์ิ อนตุ รองั กูร 13. นายสภุ ีร์ ดาหาร 14. พระสบุ ิน แกว้ ดวงศรี 15. นายกฤตภาส ปรุงศรีปัญญา 16. ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ หนา้ ๔

ทำเนยี บผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอ ทำเนยี บบคุ ลากรสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ขอนแก่น หนา้ ๕

ขอ้ มลู จำนวนบคุ ลากร สังกดั สำนกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ ท่ี ตำแหน่ง จำนวน 1 ผ้บู รหิ ารการศึกษา 2 2 ผู้บริหารสถานศึกษา 26 3 ศกึ ษานิเทศก์ 1 4 ขา้ ราชการครู 43 5 ขา้ ราชการ 38 (ค) 2 10 6 ลกู จา้ งประจำ 6 7 ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 56 8 ครู กศน.ตำบล 312 9 พนกั งานราชการอื่น ๆ 29 10 ครู ศรช. 245 11 ครู ปวช. 32 12 ครูผูส้ อนเดก็ ด้อยโอกาส (เดก็ เรร่ ่อน) 6 13 ครสู อนคนพกิ าร 9 14 บรรณารกั ษจ์ า้ งเหมา 20 15 พนักงานจ้างเหมา 49 846 รวม (ทมี่ า : งานบรหิ ารบุคลากร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564) หน้า ๖

ขอ้ มลู สถานศึกษาในสงั กัด และแหล่งเรยี นรู้ จำนวนสถานศึกษา (กศน.อำเภอ/กศน.ตำบล/ศูนย์การเรียนชมุ ชน) สงั กัดสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ขอนแก่น ที่ กศน.อำเภอ กศน.ตำบล (แห่ง) ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน หอ้ งสมุดประชาชน (แห่ง) (ศรช.) (แห่ง) 1 กระนวน 9 12 1 2 เขาสวนกวาง 5 12 1 3 โคกโพธไ์ิ ชย 4 13 1 4 ชนบท 8 15 1 5 ชุมแพ 12 14 1 6 ซำสงู 5 3 1 7 น้ำพอง 12 8 หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอน้ำพอง 8 โนนศิลา 5 5 1 9 บ้านไผ่ 10 21 1 10 บา้ นฝาง 7 11 1 11 บา้ นแฮด 4 10 1 12 เปือยน้อย 4 2 1 13 พระยืน 5 21 1 14 พล 12 25 1 15 ภูผามา่ น 5 5 1 16 ภูเวยี ง 11 23 1 17 มัญจาคีรี 8 17 1 หอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพ 18 เมืองขอนแกน่ 18 20 รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี จังหวดั ขอนแกน่ 19 เวียงเก่า 3 - 1 20 แวงนอ้ ย 6 15 1 21 แวงใหญ่ 5 17 1 22 สีชมพู 10 12 1 23 หนองนาคำ 3 3 1 24 หนองเรือ 10 19 1 25 หนองสองห้อง 12 40 1 26 อบุ ลรัตน์ 6 9 1 199 352 26 รวมท้ังส้ิน (ท่ีมา : รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งาน กศน. จงั หวดั ขอนแก่น) หน้า ๗

ขอ้ มลู นักศึกษา ตารางท่ี 5 ข้อมลู นักศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 สถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ จำนวนนักศกึ ษาท่ีลงทะเบียน ท่ี กศน.อำเภอ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม ชาย หญิง พระ ชาย หญิง พระ ชาย หญิง พระ 5,307 8 1,004 1 เมอื งขอนแก่น 266 233 0 1,349 635 3 1,749 1,064 1 2,016 6 2,191 2 บ้านฝาง 20 45 0 221 185 1 282 249 6 1,750 1 1,202 3 พระยืน 154 221 2 314 270 0 505 544 0 1,087 0 829 4 หนองเรอื 66 120 1 406 393 0 622 577 1 1,010 0 1,275 5 ชุมแพ 54 80 0 375 302 3 485 450 1 387 0 2,278 6 สชี มพู 28 52 0 256 229 3 298 336 1 995 0 1,556 7 น้ำพอง 14 30 0 291 135 0 361 256 2 3,324 1 2,260 8 อบุ ลรตั น์ 30 20 1 199 112 1 256 209 4 1,211 0 1,719 9 กระนวน 48 64 0 222 143 0 276 257 0 648 0 556 10 บ้านไผ่ 13 29 0 297 212 0 415 308 5 303 1 965 11 เปือยนอ้ ย 15 19 0 99 56 0 112 86 0 474 2 1,318 12 พล 77 128 0 415 347 0 728 582 0 742 1 713 13 แวงใหญ่ 41 75 5 202 152 0 291 229 1 14 แวงน้อย 97 126 1 282 206 0 493 349 15 หนองสองห้อง 249 385 1 560 561 1 847 719 16 ภูเวียง 171 351 0 437 295 0 528 474 17 มัญจาครี ี 31 47 0 222 183 0 406 322 18 ชนบท 58 106 1 332 287 1 483 451 19 เขาสวนกวาง 7 15 0 168 97 0 186 175 20 ภผู ามา่ น 10 21 0 131 91 3 152 143 21 ซำสูง 7 17 0 68 47 0 79 84 22 โคกโพธ์ชิ ยั 54 128 0 148 91 0 286 258 23 หนองนาคำ 9 17 0 107 72 0 137 130 24 บ้านแฮด 13 20 0 280 233 0 407 365 25 โนนศิลา 22 42 0 163 87 1 237 189 26 เวยี งเก่า 51 66 2 121 106 1 179 186 (ที่มา : สรุปจากข้อมลู นกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบยี นในโปรแกรม ITW51) หนา้ ๘

สว่ นที่ 2 ทิศทางการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. จังหวดั ขอนแกน่ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่นได้จัดทำกรอบทิศทางในการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 6 ข้อ จุดเน้นและ การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จุดเน้นและการดำเนินงาน ของ สำนักงาน กศน. ตลอดจนบรรลุวิสยั ทศั นข์ องจังหวดั ขอนแก่น ท่ีวา่ “ ขอนแก่นเมอื งนา่ อยู่ ศูนย์กลาง เชื่อมโยงการค้า การลงทุน และการบริการของกลุ่มประเทศ อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง มหานครอัจฉริยะ เพื่อคนขอนแก่นทั้งมวล Khon Kaen SMART & MICE CITY ” เพื่อนำไปสู่ทิศทางการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ เอกลักษณ์ “สำนกั งาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ เสยี งแคนดอกคนู เพ่ิมพนู การเรยี นรู้ สูย่ คุ ดิจิทัล” อตั ลกั ษณ์ “ยดึ มัน่ คุณธรรม นำวชิ าการ ประสานเครือขา่ ย มุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ ดว้ ยจิตบรกิ าร ทำงานเป็นทมี ” คำขวญั “กศน.จงั หวดั ขอนแก่น ดินแดนแห่งการศึกษา สร้างคุณค่าใหช้ มุ ชน พัฒนาคนสยู่ คุ ดจิ ิทัล” ปรชั ญา “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และปรชั ญาคดิ เปน็ ” วิสยั ทศั น์ ประชาชนจังหวดั ขอนแกน่ ไดรบั โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวติ อยางมีคณุ ภาพ มที ักษะ ที่จำเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตไดอย่างเหมาะสมบน รากฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หน้า 9

พันธกิจ ๑. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคลอง กับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุมเปาหมายใหเหมาะสมในแตละชวงวัย ใหพรอมรับ การ เปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตไดอยางเหมาะสม กาวสูการเปนสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต อยางยั่งยืน ๒. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู และ บรบิ ท ในปจจุบนั ๓. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช องทางและ โอกาส การเรียนรู รวมถึงการเพม่ิ ประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ใหกับประชาชนกลุมเปาหมายอยางท่ัวถงึ 4. สงเสรมิ สนบั สนนุ แสวงหา และประสานความรวมมือเชงิ รุกกบั ภาคเี ครือขาย ใหเขามามีสวนรวม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบ ต่าง ๆ ใหกบั ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดีบนหลัก ของธรรมาภบิ าล มีประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และคลองตวั มากยิง่ ขึ้น 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจรยิ ธรรมท่ีดี เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพของการใหบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรียนรูที่มคี ุณภาพมากยง่ิ ขึ้น 7. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนคนขอนแก่นเพื่อ เตรียมความพรอ้ มเข้าสู่มหานครอัจฉริยะ เพือ่ คนขอนแกน่ ท้ังมวล “Khonkaen Smart & Mice City” เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปไดรับโอกาส ทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษา ตาม อธั ยาศัยท่ีมีคุณภาพอยางเทาเทียมและทั่วถึง เปนไปตามบริบท สภาพปญหาและความตองการของแตละกลุ่ม เปาหมาย ๒. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม หนาที่ความ เป็นพลเมืองที่ดีภายใตการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ที่สอดคลองกับ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสูการยกระดบั คุณภาพชวี ิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพอื่ พัฒนา ไปสูความม่ันคงและยั่งยืนทางดานเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และสิง่ แวดลอม ๓. ประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผานแหลงเรียนรู ชอง ทางการเรียนรู และกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะหแยกแยะอยางมีเหตุผล และนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวัน รวมถงึ การแกปญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอยางสรางสรรค ๔. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลกั สูตร ส่ือ นวัตกรรม ชองทางการเรียนรู และกระบวนการ เรียนรูในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ เพื่อแกปญหา หนา้ 10

และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลง บริบท ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตรและส่งิ แวดลอม ๕. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มา พัฒนาเพื่อเพิ่มชองทางการเรียนรู และนำมาใชในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรูและโอกาสการ เรียนรู ใหกบั ประชาชน ๖. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน มสี วนรวมในการจัด สงเสริม และสนับสนนุ การศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทงั้ การขบั เคลอื่ นกิจกรรมการเรยี นรูของชุมชน ๗. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองคกรทที่ ันสมัย มปี ระสิทธภิ าพ และเปนไป ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๘. บุคลากรกศน. ทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน และการใหบริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตาม สายงานอยางมี ประสทิ ธภิ าพ ตัวช้วี ดั ตัวชวี้ ดั เชงิ ปรมิ าณ ๑. จำนวนผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานที่ไดร้ ับการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยตามสิทธิท่ี กำหนดไว้ ๒. จำนวนประชาชนในจังหวัดขอนแก่นกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความ ตอ้ งการ ๓. ร้อยละของกำลงั แรงงานท่สี ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขน้ึ ไป ๔. จำนวนภาคีเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย : สถาน ประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานท่ีมารว่ มจัด/พัฒนา/ส่งเสรมิ การศึกษา) ๕. จำนวนประชาชนในจงั หวดั ขอนแก่น เด็กดอ้ ยโอกาส เด็กเรร่ อ่ น ได้รับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจาก ศนู ยก์ ารเรียนชุมชน สังกดั สำนักงาน กศน. ๖. จำนวนผ้รู ับบริการในพนื้ ทเ่ี ป้าหมายไดร้ ับการสง่ เสรมิ ดา้ นการร้หู นังสอื และการพฒั นาทกั ษะชวี ติ ๗. จำนวนนักเรียน/นกั ศึกษาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้ด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย และสอดคล้องกบั ความต้องการ ๘. จำนวนประชากรทไ่ี ดร้ บั การฝึกอาชีพระยะสนั้ สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชีพเพอ่ื สรา้ งรายได้ ๙. จำนวนประชากรทีไ่ ดร้ ับการฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชีพ ๑๐.จำนวนกลุม่ เป้าหมายทผ่ี ่านการอบรมหลกั สตู รการดูแลผู้สูงอายุ ๑๑.จำนวนประชาชนในจังหวดั ขอนแก่นทผ่ี า่ นการอบรมจากศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน ๑๒.จำนวนหลักสตู รหรือส่ือออนไลน์ที่ให้บริการกับประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั หนา้ 11

ตัวชว้ี ัดเชงิ คณุ ภาพ ๑. รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวชิ า ทกุ ระดับผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ ๒. ร้อยละของนักศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ต่ำกว่าร้อยร้อยละ 70 โดยคิดกับการสั่งข้อสอบต้องมี ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี การสอบปลายภาคเพิ่มขึน้ แต่ละวชิ า รอ้ ยละ 3 ๓. รอ้ ยละของผูเ้ รียนทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ การจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐานเทียบกบั คา่ เป้าหมาย ๔. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เทียบกับเปา้ หมาย ๕. ร้อยละของผู้ผา่ นการอบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะส้นั สามารถนำความรไู้ ปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนางานได้ ๖. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ หลกั สูตร/กจิ กรรม การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ๗. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาตามอธั ยาศยั ๘. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความรู้ความเข้าใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรมทีก่ ำหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๙. ร้อยละของผสู้ งู อายุทเ่ี ปน็ กลมุ่ เป้าหมาย มโี อกาสมาเขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาตลอดชวี ติ ๑๐. ร้อยละของสถานศึกษาบริการจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ๑๑. ร้อยละของบุคลากรทุกประเภทได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงาน ความเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตรช์ าติ กับ นโยบายและจดุ เนน้ สำนักงาน กศน. สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (สำนกั งาน กศน.) เป็นหน่วยงานที่ ก่อตั้งเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ให้บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และพระราชบัญญัติการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยให้บคุ คลซง่ึ ได้รบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานไปแล้วหรือไม่ก็ ตามมสี ทิ ธิได้รบั การศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอธั ยาศัยได้ การพฒั นาประเทศในชว่ งระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสรา้ งสมดุลระหว่างการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสร้าง การเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม และยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรับสมดุลและ พฒั นาระบบ การบรหิ ารจัดการภาครฐั หน้า 12

ความเช่ือมโยงยทุ ธศาสตร์ชาติ กบั นโยบายและจดุ เน้นสำนกั งาน กศน. ดา้ นความม่ันคง ด้านการสร้างความสามารถใน ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้าง การแขง่ ขนั ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ุยทธศาสต ์รชาติ • การรกั ษาความสงบภายใน • การเกษตรสรา้ งมูลคา่ • การปรับเปลี่ยนค่านิยมและ ประเทศ • สร้างความหลากหลายด้านการ วฒั นธรรม • การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ี ท่องเทย่ี ว • การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง มผี ลกระทบตอ่ ความมนั่ คง • โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมไทย ชวี ติ เชื่อมโลก • ปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ • พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐาน ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ผ้ปู ระกอบการยคุ ใหม่ ศตวรรษท่ี ๒๑ • การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุข ภาวะท่ีดี • การรกั ษาความสงบภายใน • ให้ความรู้ด้านการเกษตรเพื่อ • จัดการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม ประเทศ พัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart จริยธรรม ความซอื่ สตั ย์ จิตอาสา • การป้องกันและแก้ไข ปัญหา Farmer • ใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจจดั การศึกษา นโยบาย กศน. ทม่ี ีผลกระทบตอ่ ความม่นั คง • พัฒนาทักษะการสื่อสารด้าน ตอ่ เนอื่ งท่ีเหมาะกบั ชว่ งวยั ภาษาองั กฤษสำหรบั ประชาชน • ปฏิรูปหลักสูตรให้สอดคล้องทิศ • พัฒนาอาชพี รองรบั การขบั เคลื่อน ทางการพัฒนาประเทศ เศรษฐกิจ • พัฒนาครูสู่ครูยุคใหม่ Good • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อ Teacher สร้าง มลู คา่ ผลติ ผล ผลิตภณั ฑ์ • ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ • สร้างศักยภาพด้านดิจิทัลให้กับ • ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของ ประชาชน ประชาชนทุกวยั หนา้ 13

ความเชื่อมโยงยทุ ธศาสตรช์ าติ กบั นโยบายและจดุ เนน้ สำนกั งาน กศน. ดา้ นการสร้างโอกาสและความ ดา้ นการสรา้ งการเจรญิ เตบิ โตฯ ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนา เสมอภาคทางสังคม ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ระบบการบริหารจัดการภาครฐั ุยทธศาสต ์รชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสร้างความ • ยกระดับกระบวนทัศน์เพ่ือ • ยึดประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง เป็นธรรมในทกุ มิติ กำหนดอนาคตประเทศ • บรหิ ารงานแบบบูรณาการ • การกระจายศูนย์กลางความ • ภาครัฐมีขนาดเลก็ ลง เจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ • ภาครฐั มีความทันสมัย เทคโนโลยี • บุคลากรเปน็ คนดีและเก่ง • การเพิ่มขีดความสามารถของ • ร่วมมือกนั ปอ้ งกนั การทจุ ริต ชุมชนในการพัฒนาการ • กฎ หมาย มีคว ามสอดคล้อง พ่ึงตนเองและการจดั การตนเอง เหมาะสม • จัดการศึกษาให้กับ • ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ • พัฒนาระบบฐานข้อมลู กลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อย พลาด เกี่ยวกับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม สารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจัดการ และ ขาดโอกาสทางการศกึ ษา • สร้างความตระหนักของการสร้าง • ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุก นโยบาย กศน. • พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล สงั คมสีเขียว ระดับอย่างตอ่ เน่อื ง เพ่อื ประโยชน์ทางการศึกษา • ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้พลังงาน • สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนใน • ยกระดับการรู้หนังสือของ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ การจดั การศกึ ษา กศน. ประชาชน เกิดการเปลี่ยนแปลงในครัวเรือน • สร้างความตระหนักในการ • จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม สงั คม ปอ้ งกันการทุจรติ และชุมชนใหเ้ ข้มแข็ง • วิเคราะห์ ปรับปรุงกฎ ระเบียบ ใหส้ อดคลอ้ งกบั งาน กศน. การจดั การศกึ ษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสำนักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ส่งผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ไดออก ประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ กำหนดใหมี การเวนระยะ ห่างทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพื่อ จัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผูเขารวมเปนจำนวนมาก การปดสถาน ศกึ ษาดวยเหตุพิเศษ การกำหนดใหใชวธิ ีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการเรียนรู แบบออนไลน หนา้ 14

การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ตาง ๆ รวมถึง การสื่อสารแบบ ทางไกลหรือดวยวธิ ีอิเล็กทรอนิกส สำนักงาน กศน. ไดมีการพฒั นา ปรบั รูปแบบ กระบวนการ และวธิ กี ารดำเนินงานในภารกจิ ตอ่ เนอ่ื งตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวิตประจำวัน และการจัดการเรียนรูเพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม (New Normal) ซ่ึง กิจกรรมการเรยี นรูตาง ๆ ไดใหความสำคญั กับการดำเนนิ งานตามมาตรการการปองกนั การแพรระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภท หากมีความจำเปนตองมาพบกลุม หรือ อบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันที่เขมงวด มีเจล แอลกอฮอลลางมือ ผูรับบริการตองใสหนา กากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล เนนการใชสื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลนใน การจัดการเรียนการสอน แนวทางการจัดการศกึ ษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 1. ประชาสัมพันธ์รับสมคั ร รับสมคั รผา่ นทาง website กศน.อาํ เภอ ,website กศน.บล, Google form, Facebook page, Line 2. จัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1) จัดประชมุ ครู จัดทำแผนการเรียนรผู้ ่านทาง Google Meet, Zoom Meeting, Line 2) สง่ แผนการเขียนรู้ตามระยะเวลาท่ีกําหนดผา่ น E-mail, Line, Google Drive 3) ครสู าํ รวจความพร้อมในการเขียนออนไลน์ของผู้เรียนโดยใช้ Google form 3. จัดการเรยี นการสอน 1) การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบวีดโี อ, ETV 2) กิจกรรมพบกลุ่มออนไลน์ผ่านทาง Google Meet, Zoom Meeting Line, Facebook page, Google classroom 4. วัดและประเมินผล 1) ประเมินจากใบงาน, แบบทดสอบ/ทดสอบระหว่างภาคผ่านทาง Google form, Line. Zoom Mooting 2) ประเมินจากงานจำนวนครั้งการเข้าพบกลุ่มจากห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom, Zoom Meeting 5. รายงานผูส้ าํ เรจ็ การศึกษา สถานศึกษา โดยผู้มีอํานาจอนุมัติและประกาศรายชื่อผู้สําเร็จการศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตร ผ่านทาง webite กศน.อาํ เภอ. website กศน.ตำบล 6. การเรยี นรแู้ บบ Offline Learning 1) มจี ำนวนคนไม่มาก 2) มีพื้นทม่ี ากพอให้ปฏบิ ัตติ ามนโยบาย Social distancing 3) มีการดแู ลสุขอนามยั ของนักศึกษาได้อย่างเคร่งครัด 4) ควบคู่กบั การใสห่ น้ากากอนามัย 5) หมน่ั ทำความสะอาดมือดว้ ยแอลกอฮอร์ 6) สถานศึกษาต้องหม่นั ฆ่าเชื้อโรคอย่างสม่ำเสมอ หนา้ 15

แนวทางการจัดการศึกษาการศกึ ษาต่อเนื่อง ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 1. ประชาสัมพันธ์/รับสมัครผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น Application Line ,Website ,Facebook , Google form 2. ครูและวิทยากรออกแบบและจัดทําแผนการสอน ตามหลักสูตรแล้วดําเนินการสอนโดยให้อัดคลิปวิดีโอ ขณะวิทยากรสอนทั้งทฤษฎแี ละปฏบิ ตั เิ พ่ือสง่ ใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้ดว้ ยตนเอง 3. จัดการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น - Facebook ,Zoom meeting ,Line Group , Google Meet 4. ครูจดั ส่งวัสดุฝกึ พร้อมใบงานใหก้ ับผู้เรียนตามหลักสูตร ผ่านทางไปรษณีย์ 5. ครูประเมินผลกิจกรรมตามหลักสูตร โดยตรวจจากจํานวนการเข้าเรียนผ่านทางออนไลน์ ตรวจชิ้นงานทาง ออนไลน์ VDO call และประเมินความพึงพอใจผ่าน Google Form 6. ครสู รปุ รายงานผลและจัดทาํ เร่ืองเบิก ตามเอกสารประกอบหลักสตู ร แนวทางการจดั การศึกษาการศึกษาตามอัธยาศยั ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 1. E-book นำ E-book จาก Application website มาเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ ในหน้า Webpage ห้องสมดุ 2. QR code สร้างเป็น QR เผยแพร่เกร็ดความรู้ดา้ นต่าง ๆ ,วารสาร/ข่าว ประชาสัมพันธ์ 3. Online test ผูส้ นใจเขา้ เรียนรู้ และทําแบบทดสอบ Online เม่ือผ่านการทดสอบจะได้รับเกียรติบัตร Online 4. DIY online by Library จดั หา/จดั ทาํ คลปิ e-book การสอน ,ประดิษฐส์ ือ่ ส่งเสริมการอ่าน ,วธิ ีการทําหน้ากาก อนามัย , วธิ ีการทําขนมไทย ฯลฯ 5. Library Delivery จดั ทํา Menu Books ยืม-คบื หนงั สือในรูปแบบแบบออนไลน์ ,บรรณารักษน์ ำสง่ หนงั สือให้ผรู้ ับบริการถึง บ้าน 6. บา้ นหนงั สือชุมชน หมุนเวียนหนงั สือและสื่อ ,ชุมชนมีสว่ นร่วมในการเลือกหนังสือ หน้า 16

ส่วนที่ 3 งบประมาณรายรับรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น ได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับการ ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ข้อมูลสถานะงบประมาณ ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564) โดยจำแนกเป็นแผนงานต่าง ๆ ดังนี้ ตารางสถานะงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/โครงการ/งาน รหสั รบั จัดสรร คงเหลอื เบกิ จา่ ย 8,508 ร้อยละ งบประมาณ จากสำนกั งาน กศน. 99.43 - แผนงาน : ยุทธศาสตร์พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมดิจิทลั 1,484,280 3,359 100 1. โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจทิ ลั 470001 141,000 - 99.41 งบรายจ่ายอน่ื ค่าใช้จา่ ยโครงการศูนยด์ ิจทิ ลั ชุมชนและค่าใชจ้ ่ายในการสร้างเครือขา่ ย 571,560 100 ดิจทิ ลั ชมุ ชนระดบั ตำบล แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ 1. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 700001 งบรายจา่ ยอนื่ คา่ ใชจ้ า่ ยโครงการความ 700002 รว่ มมือการผลิตผูด้ ูแลผูส้ ูงอายุ ระหว่าง กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกระทรวง สาธารณสุข 2. โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิต งบรายจา่ ยอืน่ ค่าใชจ้ า่ ยโครงการจดั และ สง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ติ เพอ่ื คง พัฒนาการทางกายและจิตและสมองของ ผสู้ ูงอายุ 3. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 700003 68,650 งบรายจ่ายอื่น คา่ ใช้จ่ายโครงการขบั เคล่ือน การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาท่ยี งั่ ยืน กจิ กรรมพฒั นาบคุ ลากร สำนกั งาน กศน. หนา้ 17

แผนงาน/โครงการ/งาน รหัส รับจัดสรร คงเหลือ เบกิ จ่าย รอ้ ยละ งบประมาณ จากสำนกั งาน กศน. 99.05 แผนงาน : ยุทธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา 100 99.97 1. โครงการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 100 1.1 ค่าหนังสือเรยี น 650038 19,078,278 180,620 99.66 100 1.2 ค่ากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 650082 22,619,270 73 100 100 1.3 ค่าจัดการเรียนการสอน 65009 92,290,859 30,989.75 100 1.4 คา่ จดั การเรยี นการสอน (e-exam) 650091 120,000 120,000 99.99 100 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพอื่ สนับสนนุ ด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 100 1. โครงการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาการศกึ ษาทีย่ ่งั ยืน 100 1.1 โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน 70019 9,847,100 33,466 100 748,800 - 93.69 1.2 โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการ 70013 46,500 - 99.92 ส่ือสารด้านอาชีพ 104,000 - 1.3 โครงการพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชน 70014 137,090 - เคลื่อนท่ี 1.4 โครงการศนู ย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ กศน. 70027 ใน 5 ภมู ิภาคเปน็ Co-Learning space 1.5 โครงการหลกั สตู รจิตอาสา 904 70012 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 1. ผลผลิตท่ี 4 ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ 1.1 งบดำเนินงานและกิจกรรมจดั การศึกษา 6004 7,713,815 973.14 366,000 - นอกระบบ 3,000 - 1.2 สิ่งอำนวยความสะดวก ส่อื บรกิ าร และ 6004 421,359 - การช่วยเหลอื อนื่ ใด ทางการศึกษา 130,000 - 8,707,๙65 549,740.90 สำหรบั คนพิการ 1.3 โครงการเทียบโอนความรเู้ ทียบระดับ 700002 การศกึ ษามิติความรู้ความคดิ (ศนู ย์ทดสอบ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ E-Exam) 1.4 งบลงทนุ – ค่าครุภัณฑ์ 6004 1.5 คา่ ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคาร 5704 2. ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2.1 งบดำเนนิ งาน 6005 แผนงาน : บคุ ลากรภาครัฐ 1. งบบุคลากร (พนักงานราชการ) 21401 118,200,000 90,732 หน้า 18

แผนงาน/โครงการ/งาน รหัส รับจัดสรร คงเหลอื เบกิ จ่าย - รอ้ ยละ 2. งบดำเนนิ งาน (คา่ เช่าบ้าน/ งบประมาณ จากสำนกั งาน กศน. เงนิ ประกนั สงั คม) 100 21401 2,877,545 แผนงาน : บูรณาการปอ้ งกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผูต้ ดิ ยาเสพติด 1. โครงการคา่ ยพฒั นาทักษะชีวิตรทู้ ันภยั ยา 670001 84,800 300 99.65 เสพตดิ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกนั และปลกู จิตสำนึก 285,761,871 1,018,462 100 รวมท้ังสน้ิ (ทมี่ า : กลุ่มงานบรหิ ารการเงินและสนิ ทรัพย์ 30 กันยายน 2564) หนา้ 19

ส่วนท่ี 4 สรุปผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน การจัดการศกึ ษานอกระบบตัง้ แต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน นโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ด้านการศึกษานอกระบบกำหนดไว้ว่าให้จัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพไม่เสีย ค่าใช้จ่าย โดยรัฐสนับสนุนค่าตำราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าเล่าเรียนอย่างทั่วถึง จดั การศึกษาให้กบั กลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา การจดั ให้มกี ารประเมินเพื่อเทียบ ระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ และมี มาตรฐานตามทก่ี ำหนด สง่ เสริมให้ผู้เรยี นต้องเรยี นรแู้ ละปฏบิ ัตกิ ิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ เพ่อื เสรมิ สรา้ งความ สามัคคี การเป็นจิตอาสา และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสว่ นรวม จากนโยบายและจุดเน้นดังกล่าว สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น ได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม กำกับดูแลสถานศึกษาในสังกัด จำนวน 26 แห่ง ให้ดำเนินการตามนโยบายและจุดเน้นที่ได้รบั อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการดำเนินการ โดยมีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1.1 รายงานผลการดำเนนิ งานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เปา้ หมาย(คน) ผลดำเนินการ(คน) รอ้ ยละ ผ้ไู มร่ หู้ นงั สอื 1,620 1,620 100 การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษา 4,073 4,073 100 การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 13,189 13,189 100 การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 19,797 19,797 100 การศึกษาขน้ั พื้นฐาน หลักสตู รประกาศนียบตั ร 1,484 1,484 100 วิชาชีพ การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 38,543 38,543 100 40,163 78,706 100 รวม 1. ผลการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายให้กับ กลุ่มเปา้ หมายผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษากล่มุ ตา่ ง ๆ โดยมจี ำนวนนกั ศึกษา ดงั น้ี หน้า 20

1.2 รายงานผลการทดสอบระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ครง้ั ท่ี 2 ประจำปีการศึกษา 2563 ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ย สาระการ รายวชิ า ระดับจงั หวัด ระดับ ระดับจงั หวัด ระดบั ระดบั จังหวัด ระดับ เรียนรู้ ประเทศ ประเทศ ประเทศ สาระ ทกั ษะการเรยี นรู้ 32.74 36.90 35.23 38.30 25.87 29.02 ทกั ษะการ 49.21 43.09 49.55 28.89 20.54 21.75 เรียนรู้ 28.50 21.83 24.96 26.61 26.31 29.87 สาระ ภาษาไทย 50.59 55.21 45.54 ความรู้ ภาษาอังกฤษ 32.41 37.22 25.92 พืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ 26.38 29.25 27.70 วิทยาศาสตร์ 32.23 39.77 25.40 ช่องทางการเขา้ สู่ 37.40 41.43 41.88 46.39 43.03 51.61 อาชพี /ช่องทางการ 38.46 43.93 33.19 36.95 29.15 34.17 พฒั นาอาชีพ/ชอ่ ง 31.07 32.24 29.20 30.87 25.29 28.59 ทางการขยายอาชพี 41.37 45.80 38.05 44.29 30.74 38.12 32.63 40.28 38.86 47.39 25.03 28.14 สาระการ ทกั ษะการประกอบ 34.00 39.16 34.48 38.26 19.92 20.60 ประกอบ อาชพี /ทกั ษะการ 39.95 41.85 32.60 34.65 28.03 30.95 อาชีพ พฒั นาอาชพี / ทกั ษะ 42.77 47.02 35.82 40.38 28.15 32.19 การขยายอาชพี พฒั นาอาชีพใหม้ อี ยู่ มกี นิ /พฒั นาอาชพี ให้ มีความเข้มแขง็ / พัฒนาอาชีพใหม้ ี ความม่ันคง สาระ สขุ ศกึ ษา พลศึกษา ทกั ษะการ เศรษฐกิจพอเพียง ดำเนนิ ศลิ ปศึกษา ชวี ติ สาระการ สังคมศึกษา พฒั นา สงั คม ศาสนา และหนา้ ท่ี พลเมือง การพัฒนาตนเอง 34.13 41.55 30.89 32.20 22.22 24.35 ชมุ ชน สงั คม สรุป : ผลคะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด ทัง้ 3 ระดับ คือ ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมธั ยมศึกษาตอนปลาย ทุกสาระการเรยี นรู้จำแนกตามรายวิชามีคะแนนเฉลีย่ ตำ่ กวห่านค้าะ2แ1นนเฉลย่ี ระดับประเทศ

1.3 รายงานผลการทดสอบระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้ังที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ สาระการ รายวชิ า ระดบั จังหวดั ระดบั ระดับจงั หวัด ระดับ ระดับจังหวัด ระดบั เรียนรู้ ประเทศ ประเทศ ประเทศ สาระ ทกั ษะการเรยี นรู้ 34.66 38.24 34.96 37.41 24.85 27.75 ทกั ษะการ 46.26 32.33 37.44 29.08 21.77 23.73 เรียนรู้ 28.73 20.20 21.89 30.60 23.58 26.43 สาระ ภาษาไทย 46.80 51.70 42.21 ความรู้ ภาษาอังกฤษ 31.73 37.25 28.54 พ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ 36.96 39.99 26.97 วิทยาศาสตร์ 35.44 40.49 29.91 ช่องทางการเข้าสู่ 36.20 40.90 41.51 44.25 44.36 50.43 อาชพี /ชอ่ งทางการ 39.39 47.09 37.11 40.24 27.33 31.68 พัฒนาอาชพี /ชอ่ ง 30.70 31.56 25.03 24.94 24.96 27.84 ทางการขยายอาชพี 39.00 48.07 42.81 48.23 32.28 37.50 35.96 44.40 35.18 37.36 27.35 32.60 สาระการ ทกั ษะการประกอบ 33.37 38.49 31.78 33.78 23.71 26.68 ประกอบ อาชีพ/ทกั ษะการ 47.67 52.60 37.76 39.81 27.78 29.49 อาชพี พัฒนาอาชีพ/ ทักษะ 46.79 57.05 38.35 40.87 25.91 31.44 การขยายอาชพี พัฒนาอาชพี ให้มีอยู่ มกี นิ /พัฒนาอาชีพให้ มีความเขม้ แข็ง/ พฒั นาอาชพี ให้มี ความมัน่ คง สาระ สุขศกึ ษา พลศกึ ษา ทักษะการ เศรษฐกิจพอเพียง ดำเนิน ศิลปศึกษา ชวี ิต สาระการ สงั คมศึกษา พัฒนา สงั คม ศาสนา และหนา้ ท่ี พลเมอื ง การพัฒนาตนเอง 33.06 36.36 29.96 32.75 25.88 29.32 ชุมชน สงั คม สรปุ : ผลคะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวัด ท้งั 3 ระดบั คือ ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ทกุ สาระการเรียนรจู้ ำแนกตามรายวชิ ามีคะแนนเฉลย่ี ตำ่ กวห่านคา้ ะ2แน2นเฉล่ยี ระดบั ประเทศ

1.4 รายงานผู้จบหลักสตู ร GPA/PR ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ของสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ จำนวนผู้จบหลกั สตู ร ที่ กศน.อำเภอ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม 1 เมอื งขอนแก่น ชาย หญงิ พระ ชาย หญิง พระ ชาย หญิง พระ 697 2 บา้ นฝาง 98 3 พระยืน 24 36 0 146 130 0 208 152 1 149 4 หนองเรือ 2 2 0 26 18 0 21 29 0 187 5 ชุมแพ 5 7 0 27 22 0 45 43 0 237 6 สีชมพู 3 2 0 41 22 0 62 56 0 185 7 นำ้ พอง 1 7 0 59 43 0 63 64 0 121 8 อุบลรัตน์ 0 9 0 43 32 0 46 54 1 95 9 กระนวน 1 2 0 19 21 0 48 30 0 124 10 บ้านไผ่ 2 5 0 17 7 0 26 37 1 181 11 เปือยนอ้ ย 2 7 0 22 19 0 40 34 0 25 12 พล 1 4 0 39 31 0 65 41 0 216 13 แวงใหญ่ 0 1055 0 6 8 0 85 14 แวงน้อย 1 5 0 46 38 0 66 60 0 83 15 หนองสองห้อง 0 1 0 22 15 0 29 18 0 357 16 ภเู วยี ง 1 2 0 23 12 0 23 22 0 156 17 มัญจาครี ี 5 11 0 76 64 0 107 94 0 139 18 ชนบท 4 7 0 34 20 0 42 49 0 121 19 เขาสวนกวาง 1 4 0 33 24 0 42 35 0 46 20 ภูผาม่าน 0 7 0 24 18 0 34 38 0 44 21 ซำสูง 0 0 0 7 6 0 16 17 0 41 22 โคกโพธไ์ิ ชย 1 1 0 7 8 0 12 11 4 79 23 หนองนาคำ 1 2 0 1 6 0 16 15 0 80 24 บ้านแฮด 2 6 0 15 12 0 25 19 0 73 25 โนนศิลา 3 0 0 14 13 0 23 27 0 58 26 เวียงเก่า 1 1 0 14 10 0 23 24 0 75 0 4 0 8 7 0 15 24 0 รวมทั้งสิ้น 1 3 0 15 17 0 18 21 0 3,752 62 136 0 783 620 0 1,121 1,022 7 หนา้ 23

1.5 รายงานผจู้ บหลักสูตร GPA/PR ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของสถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ จำนวนผู้จบหลกั สตู ร ท่ี กศน.อำเภอ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม 1 เมืองขอนแก่น ชาย หญิง พระ ชาย หญงิ พระ ชาย หญิง พระ 632 2 บา้ นฝาง 128 3 พระยืน 31 26 0 175 80 0 215 104 1 161 4 หนองเรือ 3 7 0 23 23 0 39 33 0 256 5 ชุมแพ 4 14 0 35 24 0 45 39 0 275 6 สีชมพู 4 14 0 48 80 0 46 62 2 185 7 นำ้ พอง 15 30 0 63 54 0 49 64 0 184 8 อุบลรัตน์ 1 18 0 44 36 1 44 41 0 147 9 กระนวน 1 2 0 58 19 0 64 40 0 115 10 บา้ นไผ่ 4 4 0 44 16 0 39 40 1 173 11 เปอื ยน้อย 1 0 0 20 14 0 38 42 0 40 12 พล 2 7 0 36 30 0 57 41 0 215 13 แวงใหญ่ 0 1 0 17 5 0 7 10 0 69 14 แวงน้อย 8 9 0 52 32 0 65 49 0 124 15 หนองสองห้อง 0 0 0 13 13 0 24 19 0 246 16 ภเู วียง 4 4 0 24 21 0 44 27 0 179 17 มัญจาครี ี 5 9 0 60 72 0 51 49 0 136 18 ชนบท 7 5 0 38 35 0 54 39 1 120 19 เขาสวนกวาง 6 12 0 32 29 0 29 28 0 47 20 ภผู าม่าน 2 2 0 31 20 0 29 36 0 45 21 ซำสูง 1 0 0 14 9 0 14 9 0 46 22 โคกโพธ์ิไชย 0 2 0 7 9 0 12 14 1 76 23 หนองนาคำ 1 0 0 8 12 0 10 15 0 64 24 บา้ นแฮด 5 5 0 16 12 0 17 21 0 110 25 โนนศลิ า 2 4 0 12 9 0 18 19 0 69 26 เวียงเกา่ 2 10 0 13 17 0 39 29 0 78 2 1 0 13 7 0 25 21 0 รวมทั้งสิ้น 4 3 0 17 22 0 15 17 0 3,920 115 189 0 913 700 1 1,089 908 5 หนา้ 24

1.6 รายงานผู้จบหลกั สตู ร กิจกรรมส่งเสรมิ การรูห้ นังสอื ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ท่ี กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผ้จู บหลักสตู ร รอ้ ยละ 1 เมอื งขอนแก่น (คน) ผลการดำเนนิ งาน - 2 บ้านฝาง 100 3 พระยืน - (คน) 100 4 หนองเรอื 35 100 5 ชมุ แพ 35 - 100 6 สีชมพู 175 35 100 7 น้ำพอง 105 35 100 8 อบุ ลรตั น์ 105 175 100 9 กระนวน 175 105 10 บา้ นไผ่ 76 105 - 11 เปอื ยนอ้ ย - 175 100 12 พล 71 76 100 13 แวงใหญ่ 35 - 100 14 แวงนอ้ ย 105 71 100 15 หนองสองห้อง 35 35 100 16 ภเู วยี ง 70 105 100 17 มัญจาครี ี 70 35 100 18 ชนบท 70 70 100 19 เขาสวนกวาง 70 70 100 20 ภูผาม่าน 105 70 100 21 ซำสงู 70 70 100 22 โคกโพธิไ์ ชย 35 105 100 23 หนองนาคำ 37 70 100 24 บา้ นแฮด 35 35 100 25 โนนศลิ า 36 37 100 26 เวียงเกา่ 6 35 100 35 36 100 รวมท้ังสิ้น 35 6 35 100 1,740 35 1,626 หนา้ 25

1.7 รายงานนักศึกษา ปวช. ลงทะเบียนของสถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแก่น ที่ สำนกั งาน กศน.จงั หวัด จำนวน (คน) ภาคเรยี น 2/2563 ภาคเรียน 1/2564 1 กศน.อำเภอเมืองขอนแกน่ 210 210 2 กศน.อำเภอพระยนื 200 188 3 กศน.อำเภอสชี มพู 7 5 4 กศน.อำเภออุบลรัตน์ 23 38 5 กศน.อำเภอหนองสองหอ้ ง 553 512 6 กศน.อำเภอมัญจาคีรี 172 149 7 กศน.อำเภอชนบท 152 152 8 กศน.อำเภอเขาสวนกวาง 17 12 9 กศน.อำเภอโคกโพธ์ไิ ชย 244 218 รวม 1,578 1,484 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น ได้รับการจัดสรรงบประมาณ สำหรับการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ โดยจำแนกเป็นงบประมาณเงินอดุ หนนุ แผนงาน : ยุทธศาสตร์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษาโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจน จบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน รวมเป็นเงนิ จำนวน 151,165,608 บาท โดยการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ประกอบดว้ ย 1) คา่ หนังสือเรียน จำนวน 21,590,040 บาท 2) คา่ จดั การเรยี นการสอน จำนวน 104,203,518 บาท 3) การจัดให้มีการเรียนรู้ที่เน้นการฝึกปฏิบัติที่เกิดผลจริง สถานศึกษาในสังกัดจึงได้มีการ ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามกรอบการดำเนินงานที่สำนักงาน กศน. ได้กำหนด ซึ่งสำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น ได้รับงบประมาณค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวนเงิน 25,252,050 บาท กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนทสี่ ถานศึกษาได้ดำเนนิ การมีรายละเอียด ดงั นี้ ปญั หาและอุปสรรคการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1) นกั ศึกษาเข้ารว่ มโครงการปรับพืน้ ฐานจำนวนนอ้ ย เนือ่ งจากจัดกจิ กรรมในช่วงเวลา ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. นักศกึ ษาไม่สะดวกในการร่วมกจิ กรรมและไปทำงานต่างพน้ื ที่ 2) นกั ศกึ ษาบางส่วนต้องประกอบอาชพี จึงไม่สามารถเขา้ รว่ มกิจกรรมได้ 3) ความแตกต่างระหว่างบุคคลทำให้พื้นฐานความรู้ของนักศึกษาแตกต่างกัน เกิดการเรียนรู้ที่ไม่ ท่ัวถึง 4) เนอื่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จงึ ส่งผล กระทบตอ่ การจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน หน้า 26

ขอ้ เสนอแนะในการจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 1) สถานศึกษาควรกำหนดช่วงเวลาในการจดั กิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้มีทางเลือกแก่นักศึกษา มาร่วมกจิ กรรม 2) สถานศึกษาควรจัดโครงการปรับพื้นฐานผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ฝึก กระบวนการคิดและการแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ได้และจัดการเรยี นการสอนเสรมิ ในทุกรายวิชา 3) สถานศึกษาควรเพิ่มกิจกรรมให้หลากหลายและทัว่ ถงึ กับประชาชนในพ้นื ที่ 4) สถานศกึ ษาควรจดั กิจกรรมท่ปี ระชาชนสามารถนำความรหู้ รือเนื้อหาท่เี รียนไปพฒั นาทกั ษะ ชวี ิตตนเองได้ 5) ครูควรจัดกจิ กรรมท่ีส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาไดค้ ้นหาความรเู้ พ่มิ เติมจากส่ือต่าง ๆ แนวทางในการพัฒนาการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 1) ครูวางแผนการจดั การเรยี นการสอนรว่ มกบั วทิ ยากรหรือปราชญ์ชาวบ้านเพ่ือเพ่ิมกิจกรรมการ สอน เน้อื หาความรแู้ ละกจิ กรรมการมีสว่ นร่วมแบบบูรณาการณอ์ ย่างตอ่ เน่ืองให้แก่นกั ศกึ ษาและประชาชน 2) ครูออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สนองความต้องการ ความ สนใจความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 3) สถานศึกษาจดั อบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ครูและบุคลากรในสังกัดเพ่ือพฒั นาศักยภาพดา้ นวทิ ยากร 4) สถานศึกษาจัดทำกรอบแนวทางการพฒั นาและยกระดับคณุ ภาพการศึกษา เพ่ือเพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิ รายบคุ คล 5) สถานศึกษาควรจัดการศึกษาตามกรอบแนวทางจดั การศึกษาในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค ตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเน้นการสอนหลากหลายรูปแบบ เชน่ การจัดการเรยี นการ สอนแบบ 5 On คอื On-Air, On-Line, On-Demand, On-Site, On-Hand สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่นจึงจัดทำกรอบแนวทางจัดการศึกษาในสถานการณ์แพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และจัดทำกรอบแนวทางพัฒนาและยกระดับคุณภาพ การศึกษา ส่งผลให้ต้องจัดการศึกษาแบบออนไลน์ ด้วยระบบ Google Classroom , Zoom meeting , Facebook live และจัดทำคูม่ อื ในการจัดการเรียนการสอนให้ตรงกับสถานการณ์ดังกล่าว 2. การศึกษาอย่างต่อเน่อื ง 2.1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ การพัฒนาทักษะชีวิต เป็นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามอัตภาพและความสงบสุข ความปลอดภัยในสังคม เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติให้มีความเข้มแข็งและเจริญก้าวหน้า ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบจึงได้จัด กิจกรรมเพือ่ สนองนโยบายรัฐบาล หนา้ 27

โดยศึกษาความรู้ที่มีบทเรียนพร้อมนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข ตลอดจนการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมปจั จุบัน การปรับวิธกี ารคิดในเรือ่ งการดำรงชีวิต การมีสังคมกับคน รอบขา้ งหรือแม้แต่การจัดการกับสิ่งแวดลอ้ มรอบตัวในรูปแบบต่าง ๆ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้ดำเนินการถ่ายทอดนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตลงสู่ กศน. อำเภอ ทั้ง 26 อำเภอในสังกัดเพื่อดำเนินการสานต่อนโยบาย โดยได้รับงบประมาณ ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 525,895 บาท โดยมผี ลการดำเนินงาน ดังตอ่ ไปนี้ 2.1.1 รายงานผจู้ บหลักสตู ร กิจกรรมจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ขอนแก่น จำนวนผู้จบหลกั สูตร ที่ กศน.อำเภอ เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ร้อยละ 1 เมืองขอนแก่น (คน) (คน) 100 2 บ้านฝาง 100 3 พระยืน 180 180 100 4 หนองเรือ 70 70 100 5 ชมุ แพ 50 50 100 6 สีชมพู 100 100 100 7 นำ้ พอง 120 120 100 8 อุบลรัตน์ 100 100 100 9 กระนวน 120 120 100 10 บ้านไผ่ 60 60 100 11 เปอื ยน้อย 90 90 100 12 พล 100 100 100 13 แวงใหญ่ 40 40 100 14 แวงนอ้ ย 120 120 100 15 หนองสองห้อง 50 50 100 16 ภูเวยี ง 60 60 100 17 มญั จาครี ี 120 120 100 18 ชนบท 110 110 100 19 เขาสวนกวาง 80 80 100 20 ภผู าม่าน 80 80 100 21 ซำสงู 50 50 100 22 โคกโพธไิ์ ชย 50 50 100 23 หนองนาคำ 50 50 100 24 บ้านแฮด 40 40 100 30 30 40 40 หน้า 28

ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผู้จบหลกั สตู ร รอ้ ยละ 25 โนนศิลา (คน) ผลการดำเนินงาน 100 26 เวียงเก่า 100 50 (คน) 100 รวมทั้งสิ้น 30 50 2,101 30 2,101 ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ 1) วทิ ยากรขาดความเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน 2) เกิดขอ้ จำกดั ด้านเวลา เน่อื งจากนกั ศึกษาและประชาชนในพ้ืนท่ีต้องประกอบอาชีพจึงไม่สามารถ มาเขา้ ร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 100 3) กลมุ่ เปา้ หมายมีความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เชน่ ช่วงวยั อายุ พ้นื ฐานความรู้ และประสบการณ์ 4) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ข้อเสนอแนะ เพื่อพฒั นารปู แบบและวิธีการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ 1) สถานศึกษาควรจัดอบรมพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้หรือทักษะเฉพาะด้านแก่ นักศึกษาและประชาชนในพน้ื ท่ี 2) สถานศกึ ษาควรจดั อบรมให้ความรูเ้ ฉพาะดา้ นแกว่ ทิ ยากร 3) สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามความต้องการ และความแตกต่างระหว่าง บคุ คลของนกั ศึกษาและประชาชนอย่างทัว่ ถึง 4) สถานศกึ ษาควรส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาและประชาชนมที ักษะด้านการใชช้ วี ิตในสงั คม การดำรงตนไว้ ซึง่ ความเป็นไทยรกั ษาไวซ้ งึ่ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ 5) ครูออกแบบการจัดกจิ กรรมผ่านระบบออนไลน์ แนวทางการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต 1) สถานศึกษาร่วมจัดทำแผนการจัดกิจกรรมกับวิทยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการ สอน 2) สถานศึกษาจัดทำคมู่ อื และสอ่ื การเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์ 3) สถานศึกษาวางแผนการจัดกิจกรรมท่ีมีความหลากหลาย บูรณาการเนื้อหาความรู้กับทักษะการ ใชช้ ีวติ 2.2 การจัดการศกึ ษาเพื่อสงั คมและชมุ ชน พันธกิจที่สำคัญของงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คือ การก้าวสู่การพัฒนา กระบวนการเรียนรสู้ ำหรับประชาชนในทกุ ดา้ น ทีจ่ ะทำให้ประชาชนสามารถพฒั นาตนเองให้กา้ วทันโลกยุค โลกาภิวัตน์ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาชุมชน เปน็ การศึกษาท่ีบรู ณาการความรู้และทักษะจากการศึกษาท่ีผู้เรียน มีอยู่หรือได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน แล้วนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา หน้า 29

สังคมและชุมชน โดยมีรูปแบบการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลายและใช้ชมุ ชนเป็นฐานในการพฒั นาการเรยี นรู้ของคน ในชุมชนเป็นกิจกรรมที่จัดเพื่อตอบสนองนโยบายและความต้องการของประชาชนในการพัฒนาสังคมและ ชุมชน โดยประชาชนได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตและ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อื่นใน ชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรียนรู้ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น ได้ดำเนินการถ่ายทอดนโยบายลงสู่ กศน.อำเภอ ทั้ง 26 อำเภอ และ ได้รับงบประมาณในการจัดการศึกษาเพื่อสังคมและชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 1,378,000 บาท โดยมีผลดำเนินงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ 2.2.1 รายงานผจู้ บหลกั สูตร กจิ กรรมจัดการศกึ ษาเพอื่ สงั คมและชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น ท่ี กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผู้จบหลกั สตู ร รอ้ ยละ 1 มืองขอนแกน่ (คน) ผลการดำเนินงาน 100 2 บ้านฝาง 100 3 พระยนื 144 (คน) 100 4 หนองเรอื 94 100 5 ชุมแพ 35 144 100 6 สีชมพู 80 94 100 7 น้ำพอง 96 35 100 8 อบุ ลรัตน์ 80 80 100 9 กระนวน 96 96 100 10 บ้านไผ่ 42 80 100 11 เปือยนอ้ ย 72 96 100 12 พล 80 42 100 13 แวงใหญ่ 28 72 100 14 แวงน้อย 96 80 100 15 หนองสองห้อง 35 28 100 16 ภเู วยี ง 42 96 100 17 มญั จาครี ี 96 35 100 18 ชนบท 88 42 100 19 เขาสวนกวาง 56 96 100 20 ภูผาม่าน 56 88 100 21 ซำสูง 35 56 100 35 56 35 35 35 หนา้ 30 35

ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผ้จู บหลกั สตู ร รอ้ ยละ 22 โคกโพธ์ไิ ชย (คน) ผลการดำเนินงาน 100 23 หนองนาคำ 100 24 บา้ นแฮด 28 (คน) 100 25 โนนศลิ า 21 100 26 เวยี งเกา่ 28 28 100 35 21 100 รวมท้ังสนิ้ 21 28 1,583 35 21 3,255 ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั การศกึ ษาเพอ่ื สงั คมและชุมชน 1) เกดิ ข้อจำกดั ดา้ นเวลา เนือ่ งจากนกั ศกึ ษาและประชาชนต้องประกอบอาชีพ 2) กิจกรรมไม่มีความหลากหลาย ไม่ตอบสนองความต้องการแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เนื่องจากความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและความแตกตา่ งของช่วงวัย 3) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื สังคมและชุมชน ขอ้ เสนอแนะ เพือ่ พฒั นารูปแบบและวธิ ีการจดั การศกึ ษาเพือ่ สังคมและชุมชน 1) สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อสังคมและชุมชนอย่างต่อเนื่องเพื่อความรู้ และทักษะ อย่างมน่ั คง และยัง่ ยนื 2) สถานศกึ ษาควรจัดสรรงบประมาณใหเ้ พียงพอในการจัดกิจกรรม 3) สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ แนวทางการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่อื สงั คมและชมุ ชน 1) ครูและภาคีเครือข่าย ชุมชนในท้องถิ่นร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาต่อยอดทักษะ ความรู้ และการสร้างรายได้แกน่ กั ศกึ ษาและประชาชนในพ้นื ที่ 2) สถานศกึ ษาจดั ทำคมู่ อื และสอื่ การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ 3) สถานศึกษาสง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมในรปู แบบออนไลน์ 2.3 การจัดการศกึ ษาเพื่อเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการ จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาอาชีพที่ตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายมุ่งเน้นการปฏิบัติจริงที่บูรณาการกับวิถีชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อแก้ปัญหาการ ว่างงาน และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจชุมชน โดยมอบหมายภารกิจให้ กศน.อำเภอทั้ง 26 อำเภอ ดำเนินงานส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หน้า 31

โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ มากที่สุด โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแม่แบบในการดำเนินการ สำนักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่นได้รับงบประมาณในการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 1,014,400 บาท โดยมีผลดำเนนิ งาน ดังต่อไปนี้ 2.3.1 รายงานผู้จบหลักสูตร กิจกรรมจัดการศกึ ษาเพื่อเรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกดั สำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผ้จู บหลกั สูตร ร้อยละ 1 เมอื งขอนแก่น (คน) ผลการดำเนินงาน 100 2 บ้านฝาง 100 3 พระยืน 108 (คน) 100 4 หนองเรอื 35 100 5 ชุมแพ 25 108 100 6 สชี มพู 60 35 100 7 น้ำพอง 72 25 100 8 อุบลรตั น์ 60 60 100 9 กระนวน 72 72 100 10 บา้ นไผ่ 30 110 100 11 เปือยน้อย 54 132 100 12 พล 60 30 100 13 แวงใหญ่ 20 54 100 14 แวงน้อย 72 60 100 15 หนองสองห้อง 25 20 100 16 ภเู วยี ง 30 72 100 17 มัญจาครี ี 72 25 100 18 ชนบท 66 30 100 19 เขาสวนกวาง 40 72 100 20 ภผู ามา่ น 40 66 100 21 ซำสงู 25 40 100 22 โคกโพธ์ิไชย 25 40 100 23 หนองนาคำ 25 25 100 24 บา้ นแฮด 20 25 100 25 โนนศิลา 15 25 100 20 20 25 15 20 หนา้ 32 25

ท่ี กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผจู้ บหลักสูตร รอ้ ยละ (คน) ผลการดำเนินงาน 100 26 เวยี งเก่า 15 100 รวมท้ังส้นิ (คน) 1,165 15 1,165 ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การศึกษาเพื่อเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1) การดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ต่อเนื่อง ทำให้ นักศึกษาและประชาชนไม่นำความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปต่อยอดแบบยั่งยืน 2) สภาพอากาศ น้ำ ดิน ไม่เอ้ือต่อการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข้อเสนอแนะ เพ่อื พฒั นารูปแบบและวธิ กี ารจดั การศกึ ษาเพื่อเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1) สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมท่ีเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิไดจ้ ริงและง่ายต่อการปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เน่ือง 2) สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนใช้ประโยชน์จากพื้นที่การเกษตรตามแนว พระราชดำริให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3) วทิ ยากรหรือปราชญช์ าวบ้านท่ีทำเกษตรผสมผสานท่ีประสบผลสำเร็จในพื้นท่ีนำเสนอข้อมูลและ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ให้แกป่ ระชาชนในชมุ ชนเพื่อการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างยัง่ ยืน แนวทางการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1) สถานศึกษาจัดหาปราชญ์ชาวบ้านที่ประสบผลสำเร็จมาเป็นวิทยากรให้ความรู้และถ่ายทอดภูมิ ปญั ญาท้องถิ่นแกผ่ เู้ ขา้ อบรมและประชาชนในชมุ ชน 2) สถานศกึ ษาวางแผนการดำเนินจัดกิจกรรมในรปู แบบออนไลน์ 3) สถานศึกษาจดั ทำคู่มือและสอื่ การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ 3. การศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยการศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สภาพแวดล้อม สื่อ แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยดำเนินการตามวัตถปุ ระสงค์ 2 วัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้ 1) การให้บริการความรู้และข่าวสารข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลายที่ประชาชนเรียนรู้ได้ ตลอดเวลา เช่น แผ่นพับ ลมหายใจของชุมชน ทีวี วีซีดีเพื่อการศึกษา การพัฒนาอาชีพ ใบความรู้ เว็บไซต์ ศูนย์การเรียนชุมชน ฯลฯ โดยจัดบริการในศูนย์การเรียนชุมชนในเวลาพบกลุ่มนักศึกษา และเวลาอื่นที่ สนใจจะศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม นอกจากนั้นการจัดหน่วยบริการเคลื่อนที่ก็เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ อย่างดี เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีมากขึ้น สามารถเรียนรู้ได้อย่างใกล้ชิดกับวิทยากร เช่น การออกหน่วย หน้า 33

บรกิ ารอำเภอยมิ้ เคลอื่ นท่ี โครงการหอ้ งสมดุ เคลือ่ นท่เี พอ่ื นอ้ ง โครงการจงั หวัดเคล่ือนท่ี โดยการนำกิจกรรม ไปส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนถึงที่บ้านได้แก่ การบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ การฝึกอาชีพการบูรหอม ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ และการฝึกอาชีพอาหารขนมอยา่ งง่าย เปน็ ต้น 2) การส่งเสริมให้ประชาชนเรียนรู้อยู่ในชุมชนได้อย่างอิสระต่อเนื่อง และเป็นไปตามความ ต้องการ สามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในชุมชน เป็นการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้ชุมชนพึ่งตนเอง โดยครูศูนย์การเรียนชุมชนมีบทบาทหลักในการวางแผนการเรียน และจัดโอกาสให้บุคคลได้เรียนรู้อย่างมีความสุขในคุ้มบ้าน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างสมาชิก เกิดองคค์ วามรูใ้ หม่ ๆ นำไปสูก่ ารพฒั นาบ้านตนเอง 3.1 โครงการจัดสร้างแหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชนในตำบล (จดั ซื้อหนงั สอื พมิ พ/์ สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล) สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้ดำเนินการถ่ายทอดโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน ในตำบล (จัดซื้อหนังสือพิมพ์/สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล) ลงสู่ กศน. อำเภอทั้ง 26 อำเภอ ครอบคลุม กศน. ตำบล ทั้ง 199 ตำบล เพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริการ และมีมุมให้ความรู้ต่าง ๆ โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการโครงการ ดังน้ี 1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนโดยใช้ กศน.ตำบล ที่ดำเนินการอยู่แล้วให้เกิด ประโยชน์สูงสดุ สามารถสร้างเครอื ขา่ ยการเรียนรรู้ ่วมกับองค์กร ชมุ ชนอนื่ ๆ อยา่ งกว้างขวาง 2) ส่งเสริมให้มีการขยายและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสืบสานและการถ่ายทอด องค์ความรู้ โดยให้มีการจดั ทำ และเผยแพร่สื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในชุมชน 3) จัดหาหนังสือและสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีที่มี คุณภาพและสาระที่หลากหลาย ทันสมัย เพื่อให้ประชาชนนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มพูนสมรรถนะ ของตนเอง และเสริมสร้างศักยภาพในการแขง่ ขนั ของชมุ ชน 4) จดั กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตเชิงรุกท่ีหลากหลาย ทันสมัย สร้างสรรค์ ต่อเนื่อง และตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน โดยจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐาน การฝึกอาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและ ธรรมชาติ การส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย การป้องกันภัยจากยาเสพติด การเสริมสร้างความรู้ เกีย่ วกับประชาคมอาเซยี น และการจัดการศึกษาและกิจกรรมการเรยี นรู้ตามความจำเปน็ เร่งดว่ นของแต่ละ ชุมชน สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้รับงบประมาณในการดำเนินโครงการจัดสร้างแหล่ง เรียนรู้ชุมชนในตำบล (จัดซื้อหนังสือพิมพ์/สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล) จำนวน 500,000 บาท โดยมีผลการ ดำเนนิ โครงการท้ัง 26 อำเภอ ดงั ตอ่ ไปนี้ หนา้ 34

3.3.1 รายงานกิจกรรมโครงการจดั สรา้ งแหลง่ เรียนรู้ชมุ ชนในตำบล (จดั ซื้อหนงั สือพิมพ์/ส่ือ สำหรับ กศน.ตำบล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกดั สำนกั งาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ ท่ี สถานศึกษา ผลดำเนินงานโครงการจัดสรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ จำนวนผเู้ ข้ารว่ ม ชมุ ชนในตำบล (แห่ง) 1. เมอื งขอนแกน่ 3,585 2. บ้านฝาง 18 654 3. พระยนื 7 402 4. หนองเรอื 5 650 5. ชมุ แพ 10 788 6. สชี มพู 12 440 7. น้ำพอง 10 525 8. อุบลรัตน์ 12 495 9. กระนวน 6 625 10. บา้ นไผ่ 9 305 11. เปอื ยน้อย 10 350 12. พล 4 455 13. แวงใหญ่ 12 250 14. แวงนอ้ ย 5 345 15. หนองสองห้อง 6 550 16. ภเู วยี ง 12 450 17. มัญจาครี ี 11 420 18. ชนบท 8 395 19. เขาสวนกวาง 8 382 20. ภูผาม่าน 5 320 21. ซำสูง 5 222 22. โคกโพธิไ์ ชย 5 250 23. หนองนาคำ 4 280 24. บา้ นแฮด 3 355 25. โนนศลิ า 4 280 26. เวยี งเกา่ 5 250 3 14,023 รวม 199 หนา้ 35

ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั โครงการจัดสร้างแหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชนในตำบล 1) การดำเนินการจดั ส่งหนงั สอื พมิ พ์ล่าช้า 2) สื่อ/หนงั สือพิมพ์ ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของชุมชน 3) การจัดกจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคลื่อนทไ่ี ม่เกิดความต่อเน่ือง 4) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจดั โครงการจัดสรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ชมุ ชนในตำบล ข้อเสนอแนะ เพอื่ พฒั นารูปแบบและวธิ ีการจดั โครงการสรา้ งแหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชนในตำบล 1) สถานศึกษาควรจัดหาสือ่ /หนังสือท่ีมีความหลากหลายและจัดทำมมุ หนังสือให้เอื้ออำนวยต่อการ อ่านและสร้างความน่าสนใจ 2) สถานศึกษาควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอในการจดั ซ้ือจดั จ้าง ส่ือ/หนงั สอื พมิ พ์ 3) สถานศึกษาควรหมุนเวยี นอาสาสมัครในการ รบั -สง่ หนงั สือพิมพ์ 4) สถานศกึ ษาควรดำเนนิ การรบั -ส่งหนังสือในรูปแบบ Delivery 5) สถานศึกษาควรสร้างและพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ในชุมชนให้ได้มากท่ีสุดในตำบลเพื่อให้ประชาชนได้ เข้าถึงการเรยี นรไู้ ดม้ ากข้นึ อยา่ งทว่ั ถึง แนวทางการจดั กจิ กรรมโครงการจัดสรา้ งแหลง่ เรียนรู้ชมุ ชนในตำบล 1) สถานศกึ ษาวางแผนการขอรับสอ่ื /หนังสอื พิมพ์จากหนว่ ยงานราชการ/เอกชน 2) สถานศึกษาจัดหาและสร้างส่ือการเรยี นรู้ในรปู แบบออนไลน์ เช่น หนังสือ E-Book , QR code , website เป็นต้น 3) สถานศึกษาส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ด้วยระบบ Google Classroom , Zoom meeting , Facebook live และจัดทำคู่มือในการจัดการเรียนการสอนให้ตรงกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3.2 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น การส่งเสริมการอ่านสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้ดำเนินการจัดทำแผนการจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดตามพระราชดำริสมเด็จ พระเทพฯ เป็นต้น การจัดบริการสื่อ โดยจัดบริการสื่อประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมและหลากหลาย เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ (หนังสือพิมพ์) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสาธิต สื่อทดลอง วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนิสัยรักการอ่านการเรียนรู้ ขยายขอบเขต และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป และเป็นการกระตุ้นให้เกิดความสนใจทั่วทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง อันจะนำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ในจังหวัดขอนแก่น สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น จึงจัดโครงการ ส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ออกให้บริการประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ ขึ้น ประกอบด้วยกิจกรรมให้บริการ สื่อ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอื่นๆ เช่น จัดนิทรรศการ ข่าวสารที่เป็นที่สนใจ อาเซียนศึกษา กิจกรรมตอบปัญหา เล่านิทาน กิจกรรม ICT ซึ่งมีเป้าหมายใหบ้ ริการ ส่งเสริมการอ่านร่วมกับ กศน.ตำบล ซึ่งเป็นอีกส่วนหนึ่งของการผลักดันให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้โดยมี ผลดำเนนิ กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น ดงั นี้ หน้า 36

3.3.1 รายงานกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกดั สำนักงาน กศน.จงั หวัดขอนแก่น ผลการดำเนินงานกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น (1) (2) (3) (4) (5) ห้องสมดุ ท่ี สถานศกึ ษา ประชาชน บา้ น หนว่ ยบรกิ าร อาสาสมัคร หอ้ งสมุดเคลอื่ นที่ รวมทัง้ สน้ิ 1. เมอื งขอนแก่น 5,017 หนงั สอื เคลือ่ นที่ สง่ เสริม สำหรับชาวตลาด 23,686 2. บา้ นฝาง 800 3,250 3. พระยืน 1,260 ชมุ ชน (รถโมบาย) การอา่ น ตามพระราชดำริ 6,300 4. หนองเรอื 480 2,400 5. ชมุ แพ 750 สมเด็จพระเทพฯ 2,120 6. สีชมพู 2,160 10,800 7. น้ำพอง 480 23,995 57 868 1,005 2,400 8. อบุ ลรัตน์ 889 2,340 9. กระนวน 480 750 750 750 200 2,400 10. บ้านไผ่ 660 3,300 11. เปือยนอ้ ย 840 1,260 1,260 1,260 1,260 4,200 12. พล 360 1,800 13. แวงใหญ่ 240 480 480 480 480 1,200 14. แวงน้อย 2,554 4,950 15. หนองสองห้อง 1,140 350 350 350 320 5,700 16. ภูเวียง 120 680 17. มญั จาคีรี 500 2,160 2,160 2,160 2,160 2,500 18. ชนบท 824 4,059 19. เขาสวนกวาง 1,460 480 480 480 480 2,700 20. ภผู ามา่ น 990 4,860 21. ซำสูง 150 364 365 362 360 860 22. โคกโพธ์ิไชย 780 3,900 23. หนองนาคำ 420 480 480 480 480 2,100 24. บ้านแฮด 660 3,300 25. โนนศลิ า 320 660 660 660 660 1,340 26. เวียงเกา่ 1,245 4,880 21,621 840 840 840 840 108,025 รวม 360 360 360 360 240 240 240 240 536 470 859 531 1,140 1,140 1,140 1,140 120 100 100 240 500 500 500 500 736 685 968 846 730 150 80 280 1,020 990 1,140 720 150 150 150 260 780 780 780 780 420 420 420 420 660 660 660 660 240 300 220 260 939 1,416 560 720 31,155 17,333 19,119 18,797 หนา้ 37

ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 1) สื่อการอ่านและส่ือการเรียนรู้ไมม่ คี วามหลากหลาย ไมต่ อบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย 2) อาสาสมัครมีจำนวนไมเ่ พียงพอต่อกลุม่ เปา้ หมาย 3) ขาดการประชาสมั พนั ธท์ ีน่ า่ สนใจ ทำใหจ้ ำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีจำนวนนอ้ ย 4) เกิดข้อจำกดั ดา้ นระยะทางทำให้การหมนุ เวียนส่ือค่อยล้าชา้ 5) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ข้อเสนอแนะ เพ่ือพฒั นารูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น 1) สถานศึกษาควรจัดมมุ หนงั สือ มุมการเรียนรู้ใหน้ า่ อา่ นสะดดุ ตา สร้างความสนใจน่าดงึ ดูด 2) สถานศึกษาควรดำเนินการหมุนเวียนประเภทของสื่อการอ่านและสื่อการเรียนรู้ให้มีความ หลากหลายและตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนในชุมชน 3) สถานศกึ ษาประสานงานและจดั หาอาสาสมัครเพื่อหมนุ เวียนส่ือไปยงั ชุมชนอยา่ งทัว่ ถงึ แนวทางการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน 1) สถานศกึ ษาจัดทำสื่อเพอ่ื ประชาสมั พันธก์ ารจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นอย่างทัว่ ถงึ 2) สถานศึกษาจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายและชุมชนเพื่อการจัดกิจกรรมที่ตรง ตามความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย 3) สถานศึกษาจัดทำแบบประเมินความพงึ พอใจของกลุ่มเป้าหมายท่ีใชบ้ รกิ ารเพื่อนำผลท่ีไดม้ าสรุป และปรบั ปรุงพฒั นากิจกรรมใหม้ ีประสิทธภิ าพเพมิ่ ข้นึ 4) สถานศึกษาจัดหาและสร้างส่ือการอา่ นในรปู แบบหนงั สือ E-Book และเผยแพร่ผ่านช่องทาง ออนไลน์ 4. โครงการ/กจิ กรรม สำคญั ตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปี) สำนกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ ได้รับนโยบายตามแผนงาน พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยแบ่งออกเปน็ 4 แผนงาน ดงั นี้ 1) แผนงานพ้นื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2) แผนงานยุทธศาสตร์พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 3) แผนงานยุทธศาสตรเ์ พ่อื สนับสนุนดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 4) แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมดิจทิ ัล 5) แผนงานบรู ณาการป้องกนั ปราบปรามและบำบัดรกั ษาผ้ตู ดิ ยาเสพติด โดยไดง้ บประมาณจดั สรรเป็นจำนวน 13,215,101 บาท ซงึ่ แยกประเภทการสรปุ ผลการ ดำเนินงานตามแผนงาน ดังนี้ หน้า 38

4.1 แผนงานพื้นฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้รับงบประมาณจัดสรรตามแผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศกั ยภาพคน (การศึกษานอกระบบ) ในการจัดซื้อส่ิงอำนวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และการ ชว่ ยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สำหรบั คนพกิ าร จำนวน 366,000 บาท โดยมีผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 4.1.1 รายงานกจิ กรรมการจดั ซ้ือสิ่งอำนวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร และการชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษา สำหรบั คนพกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งาน กศน.จังหวัดขอนแก่น จำนวนผจู้ บหลกั สตู ร ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน รอ้ ยละ (คน) (คน) 1 เมอื งขอนแก่น 180 180 100 2 พระยนื 120 120 100 3 อุบลรตั น์ 164 164 100 464 464 100 รวมท้ังสน้ิ ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานสำหรับคนพกิ าร 1) กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุซึ่งมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ เช่น สายตา หู และโรคประจำตัว ทำให้เกิดปญั หาด้านการเดนิ ทางมาเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2) สื่อและสิง่ อำนวยความสะดวกไมเ่ พียงพอตอ่ ความต้องการของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 3) ครูผู้สอนดูแลนักศึกษาไม่ทั่วถึงเนือ่ งจากนักศึกษาแต่ละคนมีความพิการคนละด้าน ทำให้การจัด กิจกรรมการสอนค่อนข้างลา่ ชา้ 4) สถานณการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อ การจดั กจิ กรรมการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานสำหรับคนพกิ าร ขอ้ เสนอแนะ เพื่อพฒั นารูปแบบและวธิ ีการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานสำหรับคนพกิ าร 1) ครูควรทำแบบสอบถามเพื่อคัดกรองประเภทของความพิการและความสามารถในการรับรู้ของ ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม 2) สถานศึกษาจัดหาและสร้างส่ือใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายท่ีหลากหลายอย่าง ทว่ั ถึง แนวทางการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานสำหรับคนพกิ าร 1) สถานศึกษาวางแผนการจดั กจิ กรรมร่วมกับภาคเี ครือข่ายและชุมชนในท้องถิ่น 2) สถานศึกษาจัดทำแผนการเรยี นรู้รายบุคคล เพื่อช่วยให้จดั สรรส่ือ/สิ่งอำนวยความสะดวกตรงกับ ความตอ้ งการของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม หนา้ 39

3) สถานศึกษาวางแผนการจัดกิจกรรมที่มคี วามหลากหลายและเน้นความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4.2 แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ สำนักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ ได้รับงบประมาณจัดสรรตามแผนงานยุทธศาสตร์พฒั นา ศักยภาพคนตลอดชว่ งวัย โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ โดยมีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี 4.2.1 โครงการความร่วมมือการผลิตผ้ดู ูแลผสู้ ูงอายรุ ะหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง สาธารณสขุ หลักสูตร 420 ชว่ั โมง งบประมาณ จำนวน 141,000 บาท โดยมีผลการดำเนินงาน ดังน้ี จำนวนผูจ้ บหลกั สูตร ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน รอ้ ยละ (คน) (คน) 1 บา้ นไผ่ 20 19 95 รวมท้ังสน้ิ 20 19 95 4.2.2 โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกายและจติ และสมองของผู้สงู อายุ งบประมาณ 497,560 บาท โดยมีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี 4.2.2.1 รายงานกจิ กรรมโครงการจัดและสง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิต เพือ่ คงพัฒนาการทางกาย และจติ และสมองของผ้สู งู อายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน. จงั หวดั ขอนแกน่ ที่ กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผจู้ บหลักสตู ร รอ้ ยละ 1 พระยนื (คน) ผลการดำเนินงาน 100 2 บ้านฝาง 100 3 หนองเรือ 260 (คน) 100 4 ชมุ แพ 364 100 5 สชี มพู 554 260 100 6 นำ้ พอง 330 364 100 7 บา้ นไผ่ 554 554 100 8 เปือยน้อย 890 330 100 9 พล 554 554 100 10 แวงใหญ่ 208 890 100 11 ภูเวยี ง 790 554 100 260 208 606 790 260 หน้า 40 606

ที่ กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผ้จู บหลกั สตู ร ร้อยละ 12 ชนบท (คน) ผลการดำเนินงาน 100 13 เขาสวนกวาง 100 14 ภผู ามา่ น 416 (คน) 100 15 ซำสูง 360 100 16 โคกโพธ์ิไชย 130 416 100 17 บา้ นแฮด 260 360 100 18 เวยี งเก่า 208 130 100 208 260 100 รวมท้ังสนิ้ 156 208 7,108 208 156 7,108 ปญั หา/อุปสรรคในการจัดโครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทาง กายและจิตและสมองของผู้สูงอายุ 1) ผู้สูงอายุส่วนมากในชุมชนขาดคนดูแลช่วงเวลากลางวัน จึงเกิดข้อจำกัดเรื่องการเดินทางมาร่วม กิจกรรม 2) ขาดปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งครแู ละผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมที่วยั สงู อายุ 3) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจดั โครงการจดั และส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต เพือ่ คงพฒั นาการทางกายและจิตและสมองของ ผสู้ ูงอายุ 4) กรอบการใชง้ บประมาณไมส่ มเหตุกบั การดำเนินการจรงิ และงบประมาณไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการจัดโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพอ่ื คงพัฒนาการทางกายและจิตและสมองของผู้สูงอายุ 1) สถานศึกษาควรจัดอบรมการทำกิจกรรมสำหรบั ผ้สู ูงอายุ วธิ กี ารดแู ลรกั ษาสุขภาพเบื้องต้น ให้แก่ ครแู ละบุคลากรเพ่อื การดำเนนิ กจิ กรรมที่ถกู ต้องตามหลักการและเกดิ ความต่อเน่ือง 2) สถานศึกษาควรจดั สรรงบประมาณในการจดั กจิ กรรมให้เพียงพอ แนวทางการจัดกิจกรรมโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพ่อื คงพัฒนาการทางกาย และจิตและสมองของผ้สู ูงอายุ 1) สถานศกึ ษาวางแผนการจดั กจิ กรรมร่วมกบั ภาคเี ครอื ข่ายและชมุ ชนในท้องถ่ิน 2) สถานศึกษาดำเนนิ การประชาสัมพนั ธ์การจดั กจิ กรรมให้ทัว่ ถึงอย่างต่อเนอื่ ง 3) สถานศกึ ษาจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเพ่ือนำผลท่ีได้มาสรุปและ ปรบั ปรุงพัฒนาการจดั กจิ กรรมใหม้ ปี ระสิทธิภาพเพ่ิมข้นึ หน้า 41

4.3 แผนงานยุทธศาสตร์เพอื่ สนับสนนุ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตามทีส่ ำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยได้กำหนดนโยบาย มุ่งเน้น การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาการงานและอาชีพเพื่อการมงี านทำ โดยใหค้ วามสำคัญกบั การจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาการงานและอาชีพระดับพื้นฐาน ระดับกึ่งฝีมือ และระดับฝีมือ ที่สอดคล้องกับปัญหาและความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยสำนักงาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ ได้ดำเนินการตามนโยบาย โดยแบง่ ออกเป็น 2 โครงการ ดงั ต่อไปนี้ 4.3.1 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้รับงบประมาณจัดสรรตามยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน งบประมาณจำนวน 9,847,100 บาท ซึ่งแยก ออกเป็น 3 กจิ กรรม ดังนี้ 1) การศกึ ษาอาชีพ 1 อำเภอ 1 อาชีพ 2) การศกึ ษาแบบพัฒนาอาชีพระยะส้ัน กลุม่ สนใจ ไม่เกนิ 30 ชั่วโมง 3) การศึกษาแบบช้นั เรียนวชิ าชีพ 31 ชัว่ โมงขน้ึ ไป และมีผลการดำเนนิ งานตามโครงการ โครงการ 1 อำเภอ 1 อาชพี เป็นโครงการสำคัญท่ีกระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นถึงประโยชน์ และเห็นวา่ ในปัจจุบันประชาชนมเี ศรษฐกิจไม่ค่อยดนี ัก มคี ่าใช้จา่ ยในชวี ติ ประจำวันเพิม่ มากข้ึน จึงมีแนวคง ความคิดในการจัดฝึกอาชีพให้กับประชาชนที่สนใจทั่วประเทศเพื่อให้ประชาชนที่ว่างงาน หรือมีอาชีพอยู่ แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิม หรือประชาชนที่ได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ และค่าครองชีพในการ ดำรงชีวิตประจำวันให้มีรายได้เพิ่มขึ้น จะทำให้ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต และอยู่ในสังคมอย่างมี ความสุขมากย่งิ ข้ึน 4.3.1.1 รายงานกจิ กรรมการศึกษาแบบ 1 อำเภอ 1 อาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ ที่ กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผจู้ บหลกั สตู ร รวม 1 เมอื งขอนแก่น (คน) ผลการดำเนนิ งาน 100 2 บา้ นฝาง 70 100 3 พระยืน 70 (คน) 100 4 หนองเรือ 70 100 5 ชุมแพ 70 70 100 6 สชี มพู 70 70 100 70 70 70 หนา้ 42 70 70

ที่ กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผ้จู บหลักสูตร รวม 7 น้ำพอง (คน) ผลการดำเนนิ งาน 100 8 อุบลรตั น์ 100 9 กระนวน 70 (คน) 100 10 บ้านไผ่ 70 100 11 เปอื ยนอ้ ย 70 70 100 12 พล 70 70 100 13 แวงใหญ่ 70 70 100 14 แวงน้อย 70 70 100 15 หนองสองห้อง 70 70 100 16 ภูเวยี ง 70 70 100 17 มัญจาครี ี 70 70 100 18 ชนบท 70 70 100 19 เขาสวนกวาง 70 70 100 20 ภผู าม่าน 70 70 100 21 ซำสงู 70 70 100 22 โคกโพธ์ิไชย 70 70 100 23 หนองนาคำ 70 70 100 24 บา้ นแฮด 70 70 100 25 โนนศลิ า 70 70 100 26 เวียงเกา่ 70 70 100 70 70 100 รวมท้ังสนิ้ 70 70 1,820 70 70 1,820 กิจกรรมการศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้นกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง เป็นนโยบาย โครงการทีส่ ำนกั งาน กศน. ไดด้ ำเนนิ การจัดให้มีขนึ้ โดยใช้สถานศึกษา กศน.อำเภอ/กศน.ตำบล หรือแขวง เปน็ ฐานการจดั กิจกรรมใหแ้ กป่ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายในพื้นท่บี ริการ โดยมีความเช่ือม่ันวา่ โครงการดังกล่าว จะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อย และขาดโอกาสในการเพิ่มรายได้อันเป็นเงื่อนไขสำคญั ของการเกดิ ความเหลื่อมลำ้ ทางเศรษฐกิจท่ีส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เข้มแขง็ อย่างที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึงเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่มีอาชีพ อยู่แล้ว และต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ และทักษะไปใช้เพื่อสร้าง รายได้ให้กบั ประชาชนในชมุ ชนท้องถนิ่ โดยให้สถานศึกษาใชศ้ ูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนที่จดั ต้งั ไว้ หรอื กศน.ตำบล หรือในชมุ ชน หรอื สถานทข่ี องภาคีเครือขา่ ย ซึ่งรูปแบบการจดั ใช้หลักสตู รวชิ าชีพระยะสนั้ และส่งเสริมการ ใชร้ ะบบเทคโนโลยเี พื่อการพัฒนาอาชีพ ในอันทจ่ี ะประกอบอาชพี ทสี่ รา้ งรายได้ไดจ้ รงิ หนา้ 43

4.3.1.2 รายงานกิจกรรมการศกึ ษาแบบพฒั นาอาชีพระยะส้ันกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ช่วั โมง ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น ท่ี กศน.อำเภอ เป้าหมาย จำนวนผู้จบหลกั สตู ร รอ้ ยละ 1 เมืองขอนแกน่ (คน) ผลการดำเนินงาน 100 2 บา้ นฝาง 100 3 พระยนื 461 (คน) 100 4 หนองเรือ 168 100 5 ชุมแพ 120 461 100 6 สีชมพู 240 168 100 7 น้ำพอง 288 120 100 8 อบุ ลรัตน์ 240 240 100 9 กระนวน 288 288 100 10 บา้ นไผ่ 144 240 100 11 เปือยน้อย 216 288 100 12 พล 240 144 100 13 แวงใหญ่ 96 216 100 14 แวงน้อย 288 240 100 15 หนองสองห้อง 120 96 100 16 ภเู วียง 144 288 100 17 มัญจาครี ี 288 120 100 18 ชนบท 264 144 100 19 เขาสวนกวาง 112 288 100 20 ภผู ามา่ น 192 264 100 21 ซำสูง 120 112 100 22 โคกโพธ์ิไชย 120 192 100 23 หนองนาคำ 120 120 100 24 บา้ นแฮด 36 120 100 25 โนนศลิ า 72 120 100 26 เวยี งเกา่ 96 36 100 120 72 100 รวมท้ังสน้ิ 72 96 1,726 120 72 1,726 หน้า 44

โครงการจัดการศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชั่วโมงขึ้นไป เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาการงานและอาชีพเพื่อการมีงานทำ โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาการงาน โดยมุ่งใหผ้ ู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้สอดคล้อง กับสภาพปัญหาภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อแก้ปัญหาการว่างงาน การทำมาหากินฝืดเคือง และพัฒนา ฟนื้ ฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชน 4.3.1.3 รายงานกิจกรรมจัดการศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชั่วโมงขึ้นไป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ ท่ี กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผู้จบหลกั สตู ร รอ้ ยละ 1 เมืองขอนแก่น (คน) ผลการดำเนินงาน 100 2 บา้ นฝาง 100 3 พระยนื 501 (คน) 100 4 หนองเรือ 175 100 5 ชุมแพ 125 513 100 6 สีชมพู 250 175 100 7 น้ำพอง 300 125 100 8 อบุ ลรตั น์ 280 250 100 9 กระนวน 300 300 100 10 บ้านไผ่ 150 280 100 11 เปอื ยน้อย 225 300 100 12 พล 250 150 100 13 แวงใหญ่ 100 225 100 14 แวงนอ้ ย 300 250 100 15 หนองสองห้อง 125 100 100 16 ภเู วยี ง 150 300 100 17 มญั จาคีรี 300 131 100 18 ชนบท 275 150 100 19 เขาสวนกวาง 200 300 100 20 ภผู าม่าน 200 275 100 21 ซำสงู 125 200 100 22 โคกโพธไิ์ ชย 125 200 100 23 หนองนาคำ 125 125 100 24 บ้านแฮด 100 125 100 75 125 100 179 75 100 หน้า 45

ที่ กศน.อำเภอ เปา้ หมาย จำนวนผู้จบหลักสตู ร ร้อยละ 25 โนนศลิ า (คน) ผลการดำเนนิ งาน 100 26 เวยี งเก่า 100 125 (คน) 100 รวมท้ังส้ิน 75 137 5,056 75 5,165 ปัญหา/อุปสรรคในการจดั โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน 1) ข้อจำกัดด้านงบประมาณในการซือ้ วัสดุจงึ ทำใหว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ไมเ่ พยี งพอต่อผ้เู รยี น 2) ประชาชนในพื้นที่ขาดทักษะเฉพาะดา้ นชา่ ง 3) ขอ้ จำกดั ด้านเวลาในการจัดกจิ กรรมหรืออบรมไม่ตรงกับความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 4) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน ข้อเสนอแนะ เพื่อพฒั นารูปแบบและวธิ กี ารจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอ้ งจดั เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ที่มีในพน้ื ที่มาเอง 2) สถานศกึ ษาจัดทำแบบสอบถามความต้องการของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมเพื่อนำมาออกแบบกจิ กรรม ให้เหมาะสม 3) สถานศกึ ษาควรจดั สรรเวลาการจัดกิจกรรม โดยแบ่งเปน็ กล่มุ เพ่ือลดจำนวนในการรวมกล่มุ 4) สถานศึกษาควรจัดโครงการฝกึ ทักษะอาชพี ระยะส้ันทส่ี ามารถนำไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ จริง แนวทางการจดั กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน 1) สถานศึกษาดำเนนิ การประชาสัมพนั ธก์ ารจัดกิจกรรมให้ทว่ั ถึงอย่างตอ่ เนอ่ื ง 2) ครจู ดั ทำแบบประเมนิ หลังจากฝกึ อบรมเสรจ็ สนิ้ แลว้ เพ่อื ติดตามผลการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเนอ่ื ง 3) สถานสึกษาวางแผนการจัดกิจกรรมรว่ มกับวิทยากร ภาคเี ครือข่ายและชมุ ชนในท้องถ่ิน 4) สถานศกึ ษาสรา้ งสือ่ การสอนในรูปแบบออนไลนแ์ ละเผยแพรใ่ นช่องทางออนไลน์ 4.3.2 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพือ่ การสื่อสารด้านอาชพี โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพเป็นการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบรกิ าร และการทอ่ งเท่ยี ว สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ได้รับงบประมาณจัดสรรตามแผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุน ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 374,400 บาท มีผลดำเนินการ ดงั นี้ หน้า 46