Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Description: การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Search

Read the Text Version

ชุดท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร 2 การสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เมือ่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เสดจ็ ขึ้นครองราชยใ น พ.ศ. 2325 ทรงมี พระราชดำริท่ีจะสรางเมืองหลวงแหงใหมใหมีความมั่นคงทางการเมือง ซึ่งจะกอใหเกิดความเจริญรุงเรือง ใหแกอาณาจักรตอไป อีกท้ังทรงพิจารณาเห็นวาเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรเปนเมืองท่ีไมเหมาะสม จึงโปรดเกลาฯ ใหสถาปนากรุงรัตนโกสินทรขึ้นเปนราชธานีแหงใหมทางฝงตะวันออกของแมน้ำเจาพระยา ในบริเวณยานการคาที่มีชุมชนชาวจีนตั้งบานเรือนอาศัยอยู โดยใหยายชุมชนชาวจีนไปตั้งบานเรือนใหม ในบรเิ วณนอกกำแพงเมอื ง ณ บริเวณทีเ่ รยี กในปจ จบุ นั วา สำเพ็ง ท่ีมาของภาพ : ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช. หนา 7. 45 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

บริเวณท่ีต้ังราชธานีแหงใหมมีชัยภูมิที่เหมาะสมกวากรุงธนบุรี เนื่องจากเปนที่ราบลุมท่ีสามารถ ขยายเมืองออกไปไดกวางขวาง มีแมน้ำเจาพระยาไหลผานเปนปราการธรรมชาติทางดานตะวันตกและ ทางใต เมื่อขุดคลองเพิ่มเติมทางเหนือและทางตะวันตก เมืองหลวงใหมก็จะมีลำน้ำลอมรอบเปนคูเมือง สามารถปอ งกนั ขา ศึกไดดีกวาฝงตะวันตก อีกท้ังสามารถเดนิ ทางตดิ ตอคาขายกบั ตางประเทศไดสะดวกขึ้น ผังแสดงทต่ี ้งั พระบรมมหาราชวงั ทม่ี าของภาพ : แนง นอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวัดพระศรีรตั นศาสดาราม. หนา 10. 46 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

การสรางราชธานีแหงใหมเริ่มจากการสรางพระบรมมหาราชวังกอน โดยพระองคโปรดเกลาฯ ใหท ำพิธียกเสาหลักเมอื ง เมื่อวนั ท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325 พระบรมมหาราชวังที่โปรดเกลาฯ ใหส รา งข้ึนนี้ ประกอบดวยวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต้ังอยูภายในเขตพระราชฐานทำนองเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ ที่กรุงศรีอยุธยา หมูมหามณเฑียร และพระท่ีน่ัง และไดอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร มาประดษิ ฐานไวทว่ี ัดพระศรรี ตั นศาสดารามดวย งานกอสรา งพระราชวงั เสรจ็ ปลาย พ.ศ. 2327 จงึ โปรดเกลา ฯ ใหมีการสมโภชพระนครข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2328 จากน้ันจึงโปรดเกลาฯ ใหขุดคลองคูเมือง โดยขยายตัวเมือง ออกไปจากคลองคูเมืองเดิมท่ีสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงโปรดใหขุดไวอีก 800 เมตร แลวจึงขุดคลองรอบกรุง (คลองบางลำพูและคลองโองอาง) สรางกำแพงเมืองตามแนวคลองรอบกรุง มีปอมตามแนวกำแพง จำนวน 14 ปอม คือ ปอมพระสุเมรุ ปอมยุคนธร ปอมมหาปราบ ปอมมหากาฬ ปอมหมูทะลวง ปอมเสือทะยาน ปอมมหาชัย ปอมจักรเพชร ปอมผีเสื้อ ปอมมหาฤกษ ปอมมหายักษ ปอมพระจันทร ปอมพระอาทิตย ปอมอิสินธร มีประตูประจำกำแพงพระนคร 16 ประตู (ปจจุบัน เหลืออยูไมกี่แหง) และโปรดเกลาฯ ใหขุดคลองเชื่อมระหวางคูเมืองเดิมกับคลองรอบกรุง และใหรื้อ ปอ มวชิ าเยนทรล ง พ้ืนทภ่ี ายในคลองรอบกรงุ คือ ขอบเขตของราชธานแี หงใหมข องอาณาจกั รรัตนโกสินทร ราชธานีแหงใหมน้ีปจจุบันมีนามเต็มวา “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติย วษิ ณกุ รรมประสทิ ธ์ิ” บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร, 2547. ศิลปากร, กรม. กองจดหมายเหตุแหงชาติ. จดหมายเหตุการณอนุรักษกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2525. __________. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรก ารพมิ พ, 2525. 47 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 1 เกาะรตั นโกสินทร 3 คลอง : เสน ทางคมนาคมท่ีสำคญั ของกรุงรัตนโกสนิ ทร เมื่อสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานีแหงใหมของราชอาณาจักรไทย เสนทางการคมนาคม สำคัญภายในกรุงรัตนโกสินทร หรือกรุงเทพมหานครนี้ คือ แมน้ำลำคลอง ซ่ึงเอ้ือประโยชนหลายประการ แกชาวพระนคร ทั้งเปนเสนทางคมนาคมในการเดินทางไปมาหาสูกัน เปนเสนทางการคาทั้งภายในราชธานี กับหัวเมืองตาง ๆ เปน เสนทางตดิ ตอ ดูแลและควบคมุ หวั เมือง เปน เสน ทางขนสง เสบียงอาหาร ยทุ โธปกรณ และกำลังไพรพลในยามสงคราม เปนแหลงอาหาร และขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูก รวมทั้งเปนคูเมืองเพ่ือปองกัน มใิ หขาศึกเขา ถงึ กำแพงเมอื งไดโดยงาย แผนผงั เมืองกรงุ เทพโบราณแสดงเฉพาะคลองและปอ มปราการ ท่มี าของภาพ : คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. และคณะ. ลักษณะไทย : ภมู หิ ลงั . หนา 291. 48 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาฯ ใหเริ่มกอสราง พระบรมมหาราชวัง เม่ือ พ.ศ. 2325 ก็ไดใหขุดลอกคลองคูเมืองท่ีสรางตั้งแตสมัยธนบุรี (ปจจุบันคือ คลองหลอด) ตอมาใน พ.ศ. 2326 โปรดเกลา ฯ ใหขดุ คลองรอบกรงุ ต้งั แตบ างลำพไู ปออกเหนอื วดั สามปลม้ื (คลองบางลำพู-คลองโองอาง) โดยคลองรอบกรุงน้ีไดขยายตัวเมืองออกจากแนวคูเมืองเดิมอีก 800 เมตร เพื่อใหเปนคลองคูเมืองใหมซ่ึงเปนแนวแบงเขตราชธานีกับชานเมืองดวย พรอมกับใหขุดคลองเพิ่มอีก 2 คลอง จากคลองคูเมืองเดิมสมัยธนบุรีไปบรรจบคลองรอบกรุงเพื่อเปนคลองเช่ือมตอกัน (ปจจุบันคือ คลองวัดราชบพิธฯ และคลองวดั สทุ ัศน) ซ่ึงสามารถทำใหการคมนาคมภายในกรุงเปนไปไดอยางสะดวก นอกจากน้ี พระองคย งั ทรงโปรดใหข ดุ คลองมหานาคตรงปอมพระกาฬ ซง่ึ เปนจดุ ท่ีคลองบางลำพู กับคลองโองอางติดตอกัน โดยตัดคลองใหมตรงไปทางตะวันออกเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูก และให ชาวพระนครไดล งเรอื รวมชุมนุมกนั เลนเพลงสกั วาในเทศกาลฤดนู ำ้ เพือ่ พักผอ นหยอ นใจ ในสมัยรชั กาลท่ี 2 และรชั กาลที่ 3 โปรดเกลา ฯ ใหขดุ คลองเพ่มิ เติมจากกรุงเทพฯ ไปยังเมอื งตาง ๆ รายรอบราชธานี เพ่ือความสะดวกในการคมนาคมระหวางราชธานีกับหัวเมืองโดยใชแรงงานชาวจีน แทนการใชแรงงานไพร ซ่งึ การใชแรงงานจีนเปน ทีน่ ิยมในสมัยตอมา พ.ศ. 2357 โปรดเกลาฯ ใหขุดคลองลัดหลังเมืองนครเขื่อนขันธ (คลองลัดลาง) ไปทะลุออก คลองตาลาวตอมาถึงกรุงเทพฯ เพื่อเปนเสนทางคมนาคมกับเมืองหนาดานและเพ่ือประโยชนทางดาน ยทุ ธศาสตร พ.ศ. 2371 ขุดลอกซอมแซมคลองสุนัขหอนใหลึกและกวางพอใหสามารถเดินเรือไดสะดวก ขุดเชื่อมแมน้ำทาจีน แขวงเมืองสมุทรสาคร กับแมน้ำแมกลองแขวงเมืองสมุทรสาคร เพื่อประโยชน ในการคมนาคมและการปกครองหัวเมือง พ.ศ. 2374 ขุดลอกซอมแซมคลองบางบอนแขวงเมืองธนบุรี ต้ังแตวัดปากน้ำถึงบางขุนเทียน และจากบางขนุ เทียนไปถงึ วัดกก วัดเลา รวมเรียกวา คลองบางขนุ เทียน พ.ศ. 2380 ขุดลอกคลองพระโขนง และขุดคลองแสนแสบหรือคลองบางขนากจากหัวหมาก ในเขตกรุงเทพฯ ไปถึงบางขนากเมืองฉะเชิงเทรา เพ่ือเช่ือมแมน้ำเจาพระยากับแมน้ำบางปะกง ซึ่งชวย ยนระยะทางในการเดินทางระหวางเมืองปราจีน ฉะเชิงเทรา กับกรุงเทพฯ เพ่ือประโยชนทางดาน ยทุ ธศาสตรใ นการขนสง เสบยี งอาหาร อาวุธยทุ โธปกรณ และกำลังคนในการทำสงครามกบั ญวนและเขมร พ.ศ. 2393 ขุดคลองเหนอื เมอื งนครเข่ือนขนั ธ ไปเช่ือมตอกับคลองลัดหลังเมอื งนครเขอ่ื นขันธ 49 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แผนผังคลองที่ขดุ ใหมแ ละขุดซอ มในชว งระหวา งรัชกาลที่ 1 ถงึ รชั กาลท่ี 3 (๑. คลองสนุ ัขหอน ๒. คลองมหาชัยชลมารค ๓. คลองแสนแสบ ๔. คลองสำโรงหรือคลองพระโขนง ๕. คลองลดั ลา ง) ในสมัยรัชกาลที่ 4 และรชั กาลที่ 5 ยังคงมีการขดุ คลองอกี หลายคลอง เพอื่ ขยายพืน้ ที่การเกษตร และเสนทางการคมนาคมและการคาท่เี จรญิ รุง เรอื งมากขึน้ บรรณานกุ รม คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร, 2547. ศิลปากร, กรม. กองจดหมายเหตุแหงชาติ. จดหมายเหตุการณอนุรักษกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2525. _________. กองโบราณคด.ี นำชมกรงุ รตั นโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2525. ท่มี าของภาพ : ราชบัณฑติ ยสถาน. ใตร มพระบารมี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช. หนา 81. 50 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 1 เกาะรตั นโกสนิ ทร 4 เมืองและปอมปราการ เพ่อื สรางความม่ันคงใหราชอาณาจักรไทย ในสมัยรัชกาลที่ 2 เปนตนมา สถานการณการเมืองภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เร่ิมมีการเปลี่ยนแปลง เชน เวียดนามไดเขาแทรกแซงลาวและเขมร ซึ่งเปนเมืองประเทศราชของไทย รวมท้ังความกาวหนาทางวิทยาการ และการใชกำลังทางเรือของชาติตะวันตกท่ีคุกคามภูมิภาคน้ี ไทยจึงจำเปน ตองสรางเมืองและปอมปราการเพื่อเสริมสรางความม่ันคงของอาณาจักรไทยเพิ่มขึ้น โดยเริ่มจากการ สรางเมอื งและปอ มปราการจากปากน้ำถึงราชธานี พ.ศ. 2357 สรางเมืองนครเข่ือนขันธข้ึนพรอมปอมริมแมน้ำเจาพระยาทางฝงตะวันตก 5 ปอม คือ ปอมแผลงไฟฟา ปอมมหาสังหาร ปอมศัตรูพินาศ ปอมจักรกลด ปอมพระจันทรพระอาทิตย ริมแมนำ้ เจาพระยาทางฝง ตะวันออก 3 ปอ ม คือ ปอมปเู จาสมิงพลาย ปอมปศ าจสงิ ปอมราหจู ร ในปเดียวกันนั้นยังไดสรางเมือง สมุทรปราการพรอมปอมทางฝงตะวันตกอีก 1 ปอม คือ ปอมนาคราช ปอมบนเกาะกลาง ลำน้ำ 1 ปอม คือ ปอมผีเสื้อสมุทร และ ปอ มทางฝง ตะวนั ออก 4 ปอ ม คือ ปอ มประโคนชัย ปอมนารายณปราบศึก ปอมปราการ และ ปอมกายสิทธิ์ ปอมที่เมืองนครเข่ือนขันธ และ เมืองสมุทรปราการน้ีสรางข้ึนเพ่ือปองกันมิให เรือตางชาติบุกรุกเขาแมน้ำเจาพระยา และ เขาถงึ เมอื งหลวงไดโ ดยงา ย แผนผังปอมเมืองบางกอก (ปอ มวไิ ชเยนทร) ทีม่ าของภาพ : ราชบัณฑติ ยสถาน. ใตร ม พระบารมี จักรีนฤบดนิ ทร สยามินทราธิราช. หนา 83. 51 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ในสมัยรัชกาลท่ี 3 ไดมีการปรับปรุงปอมบางแหงพรอมสรางเมือง และปอมปราการขึ้นใหม อีกหลายแหง เพอ่ื ปอ งกันศตั รตู า งชาตทิ จ่ี ะเขา มาทางแมน ำ้ เจา พระยา พ.ศ. 2371 ปรับปรุงปอมท่ีปากน้ำเจาพระยาทางฝงตะวันออกใหเช่ือมถึงกันเปนปกกา และสรา งปอ มตรีเพชรขน้ึ ใหม พ.ศ. 2377 สรางปอมคงกระพัน ท่ีบางปะกด เหนือเมืองสมุทรปราการ และขยาย ปอมผเี ส้อื สมทุ รออกไป ถมหนิ ปดปากอาวท่ีแหลมฟา ผา เหลือไวเพียงรอ งน้ำลกึ เพือ่ ใชเดนิ เรอื พ.ศ. 2392 สรางปอมเพ่ิมอีก 2 แหงที่บางจะเกร็ง คือ ปอมเสือซอนเล็บและปอมเพชรหึง ท่เี มืองนครเข่อื นขนั ธ สวนการปองกันปากน้ำอื่น ๆ ท่ีเรือตางชาติอาจเขามาไดคือ พ.ศ. 2371 สรางปอมวิเชียรโชฎก เพื่อรักษาปากน้ำทาจีนที่เมืองสมุทรสาคร พ.ศ. 2374 สรางปอมพิฆาฏขาศึก เพ่ือรักษาปากน้ำแมกลอง เมอื งสมทุ รสาคร พ.ศ. 2377 สรา งปอ มเพ่อื รักษาปากนำ้ บางปะกง เมืองฉะเชิงเทรา จะเห็นวากรุงรัตนโกสินทรไดใหความสำคัญในการปองกันภัยท่ีจะเขารุกรานไทยทางเรือ เพื่อปองกันการรกุ รานจากเวยี ดนาม ที่มีปญ หากับไทยต้งั แตสมัยรัชกาลท่ี 2 และทำสงครามกบั ไทยในสมยั รัชกาลท่ี 3 เปนเวลายาวนานถึง 14 ป (ศึกอันนัมสยามยุทธ) รวมทั้งปองกันการรุกรานจากชาติตะวันตก ที่มีแสนยานภุ าพทางอาวธุ ยุทโธปกรณท ่เี หนอื กวา ไทยมาก บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จัดทำสารานุกรมประวตั ิศาสตร, 2547. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรุงรัตนโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรการพิมพ, 2525. 52 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร 5 พระราชวังบวรสถานมงคล (วงั หนา) พระราชวังบวรสถานมงคล ท่ีเรียกกันท่ัวไปวา “วังหนา” น้ัน ต้ังอยู ดานหนาพระบรมมหาราชวัง เหนือวัด มหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิขึ้นไป ในเขต คลองคูเมืองเดิม ทางดานหนาพระราชวัง หันไปทางตะวันตก ดานหลังติดแมน้ำ เจาพระยา พระราชวงั บวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระอนุชา ในรัชกาลท่ี 1 ซ่ึงเปนพระมหาอุปราชไดทรงสรางพระราชวังบวรสถานมงคลข้ึน โดยเร่ิมสรางพรอมกับ พระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ. 2325 เดิมมีอาณาบริเวณกวางขวางกวาในปจจุบัน มีกำแพงและ ปอ มลอมรอบ ตอ มาในสมยั รชั กาลที่ 5 โปรดเกลา ฯ ใหยกเลกิ ตำแหนงกรมพระราชวังบวรฯ ทงั้ พระราชวัง บวรสถานมงคล ขณะน้ันมีสภาพทรุดโทรมเกินกำลังจะบูรณะใหคงคืนสภาพเดิมได จึงโปรดเกลาฯ ใหร้ือ ปอมปราการ ตลอดจนอาคารบางสวนเพ่ือใชในงานราชการ เหลือเพียงเขตบริเวณพระราชมณเฑียรสถาน ใหเปนพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร เม่ือ พ.ศ. 2430 ซึ่งตอมาคือพิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร สืบตอมาจนถึงทุกวันนี้ วังหนาในปจจุบันคือ บริเวณที่ต้ังของสถานท่ีราชการหลายแหง ประกอบดวย มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาตพิ ระนคร โรงละครแหง ชาติ วิทยาลยั ชางศลิ ป วิทยาลยั นาฏศิลป วัดบวรสถานสุทธาวาส อนสุ าวรียทหารอาสา และสนามหลวงตอนเหนอื ท่ีมาของภาพ : ศิลปากร, กรม. นำชมกรุงรตั นโกสินทร. หนา 78. 53 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

การสรางพระราชวังบวรสถานมงคล ในช้ันตนคงกอสรางดวยเครื่องไม เชนเดียวกับการสราง พระบรมมหาราชวัง เพื่อใหเสด็จประทับเปนการช่ัวคราวไปกอน แลวจึงคอยปรับปรุงเพิ่มเติมใหถาวรขึ้น ในภายหลัง พระราชวังบวรสถานมงคล เปนที่ประทับของกษัตริยกรุงรัตนโกสินทรถึง 5 รัชกาล ในแตละยุคสมัยไดมีการบูรณะซอมแซม และกอสรางเพิ่มเติมหลายครั้ง บางอาคารทรุดโทรมจึงถูกรื้อไปบาง ดวยไมอ าจบรู ณะใหค งสภาพดไี ด มีบางอาคารยงั สามารถรักษาไวไดจ นถึงปจ จุบนั ดงั นี้ พระทีน่ ง่ั ศิวโมกขพิมานหรือพระทีน่ ง่ั ทรงปน พระท่ีนั่งศิวโมกขพิมาน สรางข้ึนต้ังแต พ.ศ. 2325 เปนพระท่ีนั่งโถงแบบพระที่นั่งทรงปน ในพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเปนเหตุใหเรียกพระที่น่ังองคนี้อีกชื่อหน่ึงวา พระที่นั่งทรงปน ใชเปนทองพระโรงสำหรับเสด็จออกขุนนาง และบำเพ็ญพระราชกุศลตาง ๆ เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจา มหาสรุ สงิ หนาทเสด็จสวรรคต พระศพไดป ระดิษฐานไว ณ พระท่นี ่งั องคน ี้ ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 3 สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ ทรงปฏิสังขรณโดยขยาย ใหใหญกวาเดิม และเปลีย่ นจากเครอื่ งไมเปน กอ อิฐถอื ปูน พระที่นง่ั พทุ ไธสวรรย พระที่นง่ั พทุ ไธสวรรย พระที่นั่งพุทไธสวรรย เดิมเรียกวา พระที่น่ังสุทธาสวรรย สรางขึ้นใน พ.ศ. 2330 เพื่อเปนที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงคท่ีสมเด็จ พระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท อัญเชิญมาจาก เชียงใหม มีลักษณะเปนพระท่ีนั่งช้ันเดียว ยกพ้นื สงู หลงั คาเปนชัน้ ลด 2 ชัน้ ประดับชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบันจำหลักลาย ลงรัก ปดทอง พื้นประดับกระจก ภายในมีจิตรกรรม ฝาผนัง เปน ภาพเทพชมุ นมุ และเรอ่ื งปฐมสมโพธิ ท่ีงดงาม และทรงคณุ คายง่ิ ภายหลังเมื่อสมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาทเสด็จสวรรคต และพระบาทสมเด็จพระพุทธ- ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาฯ ใหอัญเชิญพระพุทธสิหิงคไปประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตอมาสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย จึงโปรดเกลาฯ ใหต้ังพระแทนเศวตฉัตรข้ึนในพระที่นั่ง เพื่อใชเปนที่เสด็จออกรับแขกเมือง และทำการ พระราชพิธตี า ง ๆ เม่ือพระองคส ้นิ พระชนม พระท่นี ั่งแหงน้ใี ชเ ปนทป่ี ระดษิ ฐานพระศพดว ย ทีม่ าของภาพ : ศิลปากร, กรม. นำชมกรุงรัตนโกสนิ ทร. หนา 56. 54 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพในรัชกาลที่ 3 ไดทรงปฏิสังขรณใหมท้ังหมด และเปล่ียนนามเปนพระท่ีน่ังพุทไธสวรรย ถึงแผนดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดโปรดเกลาฯ ใหคืนพระพุทธสิหิงคมาประดิษฐานยังพระที่น่ังพุทไธสวรรยตามเดิมเพ่ือเปนเกียรติแกพระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกลา เจา อยหู ัว และยงั คงประดษิ ฐานอยูจนถงึ ทกุ วนั นี้ ในพระราชวังบวรสถานมงคล ยังมี พระที่นั่งอ่ืน ๆ อีกหลายองค เชน พระที่น่ัง อิศราวินิจฉัย สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ใชเปนที่ออกแขกเมือง และบำเพ็ญพระราชกุศล หมูพระวิมาน ซึ่งเปนท่ีประทับของกรม- พระราชวังบวรเปนพระราชมณเฑียรที่สำคัญ ที่สุดในพระราชวังบวรสถานมงคล สรางดวย ฝมือประณีตบรรจง มีนามคลองจองกันคือ พระท่นี ั่งวสนั ตพิมาน พระทน่ี ่งั วายุสถานอมเรศ และพระที่นัง่ พรหมเมศธาดา พระท่ีนง่ั อศิ ราวินจิ ฉยั บรรณานกุ รม คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จัดทำสารานกุ รมประวัติศาสตร, 2547. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรการพิมพ, 2525. ที่มาของภาพ : ศิลปากร, กรม. นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. หนา 55. 55 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 1 เกาะรตั นโกสนิ ทร POST-TEST คำชี้แจง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ เพียงขอเดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ในสมัยอยธุ ยาเมืองธนบรุ ีมีบทบาทสำคญั อยา งไร ก. เปนท่ตี ั้งปอมวิไชเยนทร ข. เมอื งปอ มปราการ ค. เมืองหนาดา นการคา นานาชาติ ง. ศนู ยกลางการคา ของชาตติ ะวันตก 2. ปจ จัยขอ ใดทที่ ำใหพระมหากษตั ริยอยุธยาโปรดใหข ุดคลองลดั บางกอกข้ึน ก. ขยายเสนทางคมนาคมระหวา งปากแมน้ำกับกรุงศรอี ยุธยา ข. เพิม่ พน้ื ทที่ างการเกษตรโดยเฉพาะพ้ืนทนี่ าในเขตเมืองธนบุรีศรมี หาสมุทร ค. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการควบคุมหัวเมือง โดยเฉพาะเมืองบางกอกทเ่ี ปน เมอื งหนา ดา น ง. อำนวยความสะดวกในฐานะทเ่ี ปน เมอื งหนาดา นการคา นานาชาติ 3. บรเิ วณฝงตะวันออกของแมน ้ำเจาพระยากอ นการสถาปนากรุงรตั นโกสินทรเปน อยางไร ก. ทต่ี ัง้ พระราชวงั หลวงของพระเจา ตากสิน ข. ทต่ี ้งั ชุมชนชาวจีนและยานการคา ค. เมืองอกแตกท่ีมแี มนำ้ เจา พระยาผา นกลางเมือง ง. ถูกทกุ ขอ 4. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชจงึ โปรดเกลา ฯ ใหสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทรเ ปน ราชธานี ก. เพราะทรงเหน็ วา มีชยั ภมู ิที่เหมาะสม ข. เปนท่ีราบลุม ท่สี ามารถขยายเมอื งออกไปไดก วางขวาง ค. สามารถปอ งกนั ขาศกึ ไดด ีกวาฝง ตะวันตกหากขุดคูเมอื งลอมรอบ ง. ถูกทุกขอ 5. ขอบเขตราชธานีของอาณาจักรรัตนโกสินทรค อื ขอใด ก. พน้ื ที่ภายในคลองรอบกรงุ ข. พืน้ ทร่ี ะหวา งปอ มวิชยั ประสทิ ธิก์ บั ปอ มวไิ ชเยนทร ค. พืน้ ทีบ่ รเิ วณคลองบางลำพแู ละคลองโองอา ง ง. พื้นท่ีระหวางคลองคเู มืองเดิมกับคลองหลอด 56 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. ขอ ใดไมใ ชป ระโยชนของคลองในสมัยพระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ก. เสนทางคมนาคมภายในกรุงรตั นโกสนิ ทร ข. เสน ทางขนสงอาวุธยทุ โธปกรณแ ละกำลงั พลในยามสงคราม ค. เปนแหลงอาหารและขยายพ้นื ท่เี พาะปลูก ง. แนวปอ มปราการสำหรับปอ งกันกรุงรัตนโกสนิ ทร 7. วตั ถุประสงคส ำคัญในการขดุ คลองเพิม่ ขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั และพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยูห วั คือขอใด ก. เพื่อใหช าวพระนครไดล งเรอื เลน เพลงสักวา ข. เปนเสนทางคมนาคมระหวา งราชธานีกบั หัวเมืองตา ง ๆ ค. ขยายพ้นื ท่ที างการเกษตร ง. ถูกทุกขอ 8. ปอ มใดพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั โปรดเกลา ฯ ใหสรา งขึ้นท่เี มอื งนครเข่อื นขนั ธ ก. ปอ มแผลงไฟฟา และปอมมหาสังหาร ข. ปอมนาคราชและปอมผีเสื้อสมทุ ร ค. ปอมประโคนชยั และปอ มนารายณปราบศึก ง. ปอ มปราการและปอมกายสทิ ธ์ิ 9. ตำแหนงกรมพระราชวงั บวรสถานมงคลยกเลกิ ในสมัยใด ก. พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจาอยูหวั ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูหวั ค. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู ัว ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหู ัว 10. ขอใดคอื วัตถุประสงคในการสรางพระทีน่ ่งั พทุ ไธสวรรย ก. เปน ทีป่ ระดิษฐานพระพทุ ธสิหงิ ค ข. เปนที่ประทบั กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ค. เปน ทเ่ี สด็จออกรบั แขกเมอื ง ง. เปนท่ปี ระดิษฐานพระศพและบำเพญ็ พระราชกุศล เฉลย 1. ค 2. ง 3. ข 4. ง 5. ก 6. ข 7. ข 8. ก 9. ค 10. ก 57 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 2 พระบรมมหาราชวงั ความสอดคลองกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การศกึ ษาชดุ ส่ือการเรียนรูประวัตศิ าสตรรัตนโกสินทร ชุดท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั นกั เรียนจะไดรับความรูซึ่งสอดคลองกบั มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ช้วี ดั ชัน้ ป ดงั น้ี ส 4.1 เขา ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธกี ารทางประวัติศาสตรมาวเิ คราะหเหตกุ ารณตา ง ๆ อยา งเปน ระบบ ม.3/ส 4.1 ขอ 1 วิเคราะหเร่ืองราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตร ไดอยา งมเี หตผุ ลตามวธิ ีการทางประวัติศาสตร ม.3/ส 4.1 ขอ 2 ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเร่ืองราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จ และธำรงความเปนไทย ม.3/ส 4.3 ขอ 3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอทิ ธพิ ลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย 58 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 2 พระบรมมหาราชวงั PRE-TEST คำชี้แจง ใหน กั เรียนเลือกคำตอบทีถ่ กู ตองที่สุดเพียงขอเดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. พระบรมมหาราชวังกรุงรัตนโกสินทรท ่สี รา งมานานกวา 200 ป ยงั คงมีความวิจิตรงดงาม ถึงปจ จบุ ัน เพราะเหตใุ ด ก. ความสามารถของชา งศลิ ปไ ทย ข. เพราะเปนศูนยก ลางการปกครองของไทยสืบมาถึงปจจบุ ัน ค. แหลง รวมศิลปวัฒนธรรมที่มีความวิจติ รงดงามทางดานสถาปต ยกรรมไทย ง. พระมหากษตั ริยท ุกพระองคในราชวงศจกั รีไดท ำนุบำรงุ รกั ษาสืบตอมา 2. ขอ ใดคอื สถานท่ที ี่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดเกลาฯ ใหประกอบพธิ ีบรมราชาภเิ ษกขน้ึ ครง้ั แรก ก. พระราชวังหลวงของสมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ข. พระราชวงั แหงใหม ณ บรเิ วณฝง ตะวันตกของแมนำ้ เจาพระยา ค. พระบรมมหาราชวงั แหง ใหม ณ บรเิ วณฝง ตะวันออกของแมน ้ำเจาพระยา ง. พระท่ีน่งั ภายในวัดพระศรีรตั นศาสดาราม มเี สาระเบียงลอ มรอบชั่วคราว 3. หมพู ระมหามณเฑยี รทีส่ รางข้นึ ในรัชกาลที่ 1 ทุกองคม รี ูปแบบศิลปกรรมแบบใด ก. แบบไทยประเพณี ข. แบบผสมผสานศิลปกรรมไทยกับจนี ค. แบบผสมผสานศิลปกรรมไทยกบั ตะวนั ตก ง. ถูกทกุ ขอ 4. นามทเ่ี รียกขานพระราชวังในสมยั อยุธยาของผูค นในสมยั รัตนโกสนิ ทรคอื ขอใด ก. พระราชวังเดิม ข. พระราชวังกรงุ เกา ค. พระบรมมหาราชวัง ง. พระราชวังพระนครหลวง 5. เม่ือการกอ สรา งพระบรมมหาราชวงั แหง ใหมแลว เสร็จ รชั กาลท่ี 1 โปรดเกลา ฯ ใหป ระกอบพระราชพธิ ใี ด ก. พระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา ข. พระราชพิธีถอื นำ้ พระพิพฒั นส ัตยา ค. พระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี ง. ถกู ทกุ ขอ 59 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. พระสยามเทวาธิราช ซง่ึ ถอื เปน เทพศกั ดิส์ ทิ ธ์ทิ ปี่ กปอ งคมุ ครองประเทศไทย ปจจบุ ันประดษิ ฐานอยู ณ ที่ใด ก. หอพระธาตุมณเฑียร ข. พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ ค. พระทีน่ ง่ั ไพศาลทักษิณ ง. วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 7. พระวิมานทบ่ี รรทมของรชั กาลที่ 1 - 3 อยูใ นพระทน่ี ง่ั ใด ก. พระท่นี ั่งไพศาลทักษณิ ข. พระทนี่ ง่ั จกั รพรรดพิ ิมาน ค. พระทีน่ ง่ั อมรนิ ทรวินิจฉยั มไหยสรู ยพิมาน ง. พระท่นี ั่งอมรนิ ทราภิเษกมหาปราสาท 8. พระมหาปราสาทที่รัชกาลท่ี 1 โปรดใหสรา งขนึ้ เลยี นแบบมหาปราสาทของกรงุ ศรอี ยธุ ยา คอื ขอ ใด ก. พระทน่ี ั่งไพศาลทกั ษณิ ข. พระทีน่ ั่งจกั รพรรดิพมิ าน ค. พระท่ีนง่ั อมรนิ ทรวนิ ิจฉัยมไหยสูรยพมิ าน ง. พระทน่ี ่งั อมรนิ ทราภเิ ษกมหาปราสาท 9. ขอ ใดคือพระแทนบรรทมของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ก. พระแทน ราชบัลลงั กป ระดับมกุ ข. พระแทน บรรจถรณป ระดับมกุ ค. พระแทน อาภรณภโิ มกข ง. พระแทนมหาเศวตฉัตร 10. พระมหาปราสาททมี่ ีรูปแบบสถาปตยกรรมเลียนแบบตะวนั ตกคอื ขอใด ก. พระทนี่ ั่งจักรีมหาปราสาท ข. พระท่นี ง่ั ดสุ ิตมหาปราสาท ค. พระทนี่ ง่ั อมรินทราภเิ ษกมหาปราสาท ง. ถูกทกุ ขอ เฉลย 1. ง 2. ค 3. ก 4. ข 5. ค 6. ค 7. ข 8. ง 9. ข 10. ก 60 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั 1 ประวัตกิ ารกอสรางพระบรมมหาราชวงั พระบรมมหาราชวังกรุงรัตนโกสินทรไดรับการสถาปนาขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ- พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และไดมีการตอเติมเสริมแตง รวมท้ังบูรณปฏิสังขรณในรัชกาลตอมา อยา งตอเนอ่ื ง ดวยเหตดุ งั กลาวพระบรมมหาราชวังจงึ เปนศูนยร วมของความย่ิงใหญ และความวจิ ิตรงดงาม ทางศิลปวัฒนธรรมและสถาปตยกรรมมานานกวา 200 ป เน่ืองจากพระมหากษัตริยไทย ในพระบรมราชจักรีวงศทุกพระองคไดทุมเทพระราชหฤทัย ทำนุบำรุงรักษาพระบรมมหาราชวังใหคง ความยงิ่ ใหญและงดงามจวบจนปจจุบนั พระบรมมหาราชวังสรางขึ้นบนพ้ืนท่ีรูปส่ีเหล่ียม ขนาบดวยแมน้ำเจาพระยาทางทิศตะวันตก และตั้งอยูระหวางวัดพระเชตุพนฯ และวัดมหาธาตุ ในสมัยรัชกาลที่ 1 พระบรมมหาราชวังมีพื้นท่ีภายใน คลองรอบกรุง ตอมาในสมยั รัชกาลท่ี 2 โปรดเกลาฯ ใหข ยายเขตพระราชฐานออกไปทางทศิ ใต ครอบคลุม บานเรือนเสนาบดีที่เคยอยูอาศัยมากอน โดยใหสรางปอมปราการเพิ่มขึ้น ปจจุบันพระบรมมหาราชวัง มีเนอื้ ที่ 152 ไร 2 งาน กำแพงทศิ เหนอื ยาว 410 เมตร ทิศตะวันออกยาว 510 เมตร ทศิ ใตย าว 360 เมตร และทิศตะวันตกยาว 630 เมตร รวมความยาวทง้ั หมด 1,910 เมตร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาฯ ใหประกอบพิธียกเสาหลักเมืองข้ึน เม่อื วันท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325 โดยทรงใหพระยาธรรมาธิกรณ และพระยาวจิ ติ รนาวี เปน แมก องกอ สราง พระนคร การกอสรางพระบรมมหาราชวังเริ่มตนเมื่อวันท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2325 กอสรางพระท่ีน่ัง ดวยเคร่ืองไมเ ปนแบบชัว่ คราว มเี สาระเนียดลอ มรอบเปนกำแพงพระราชวัง คร้นั ถงึ วนั ที่ 10 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ไดเสด็จลงเรือพระที่นั่งจากพระราชวังเดิมฝงธนบุรี ขามฝากมาประทับ ณ พระราชวังท่ีเพ่ิงสรางขึ้นเสร็จ และโปรดเกลาฯ ใหประกอบพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษกในวันท่ี 13 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2325 ครัน้ เสรจ็ พระราชพธิ แี ลว จงึ โปรดใหสรา งพระบรมมหาราชวงั เปน ท่ปี ระทับถาวร หมูพ ระมหามณเฑยี รที่สรางข้นึ ในสมยั รัชกาลท่ี 1 ประกอบดว ยพระทีน่ ง่ั สำคัญ 3 องค คือ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ และพระที่น่ังอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน และอาคารอ่ืน ๆ สถาปตยกรรมทุกหลังเปนแบบไทยประเพณี ปจจุบันพระมหามณเฑียรยังคงใชเปนสถานท่ี สำคัญมาโดยตลอด ท่ีสำคัญโปรดใหสรางพระอารามหลวงวัดพระศรีรัตนศาสดารามในเขตพระราชฐาน เพ่ือประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร อันเปนธรรมเนียมปฏิบัติมาแตคร้ังโบราณ เชน วัดพระศรี- สรรเพชญใ นเขตพระราชวังของกรงุ ศรีอยุธยา เพ่อื ประดิษฐานพระพุทธรปู คบู า นคเู มอื ง 61 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระบรมมหาราชวงั นอกจากนี้ ยังโปรดใหสรางปอมปราการกับประตูพระราชวังโดยรอบขอบเขตของพระบรม มหาราชวัง ซึ่งรัชกาลท่ี 2 ไดพระราชทานนามปอมใหคลองจองกัน เชน ปอมอินทรรังสรรค ปอมขันธเข่ือนเพชร ปอมเผด็จดัสกร เปนตน เมื่อกอสรางแลวเสร็จ ทรงโปรดเกลาฯ ใหประกอบพิธี บรมราชาภเิ ษกตามโบราณราชประเพณอี กี คร้ังหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 2328 และใหม กี ารสมโภชพระนครข้ึน บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรการพิมพ, 2525. ทม่ี าของภาพ : ศิลปากร, กรม. นำชมกรงุ รตั นโกสินทร. หนา 4. 62 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 2 พระบรมมหาราชวัง 2 แบบแผนการสรางพระบรมมหาราชวัง รูปแบบการวางแผนผัง พระบรมมหาราชวังกรุงรัตนโกสินทร มีลักษณะคลายกับพระราชวังหลวง ของกรุงศรีอยุธยา มีการวางตำแหนง ท่ตี ั้ง ทิศทาง และขนาดของพระทีน่ ่งั รวมทั้งการจัดวางพื้นที่ใชสอยภายใน พระบรมมหาราชวัง ดังจะเห็นวา พระบรมมหาราชวังกรุงรัตนโกสินทร ตง้ั อยูร ิมแมน้ำทางทิศตะวันตก ทำให กำแพงวังดานแมน้ำเปนกำแพงเมือง ไปดวย ดา นหนาของพระบรมมหาราชวัง หันไปทางทิศเหนือ มีถนนอยูทาง ทิศเหนือและทิศตะวันออก และ มี วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ศ า ส ด า ร า ม เ ป น พ ร ะ อ า ร า ม ห ล ว ง ต้ั ง อ ยู ใ น เข ต พระราชฐาน เชนเดียวกับพระราชวัง หลวงในกรุงศรอี ยธุ ยาท้ังส้ิน แผนผังพระบรมมหาราชวงั ท่มี าของภาพ : แนงนอ ย ศกั ดศ์ิ ร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม. หนา 14. 63 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สวนรูปแบบสถาปตยกรรม ขนาดและตำแหนงที่ตั้งของพระที่น่ังองคตาง ๆ ลวนเปน สถาปตยกรรมแบบไทยประเพณีสอดคลองกับพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา นอกจากน้ี ยังมี ปอมปราการกับประตูพระราชวังโดยรอบ รวมท้ังพระตำหนักซ่ึงเปนทาเรือและทางเสด็จขึ้นลงทางชลมารค เชนเดยี วกนั ทางทิศเหนือของพระบรมมหาราชวังมีสนามหลวงอันกวางใหญ เดิมเรียก “ทุงพระเมรุ” เน่ืองจากสมัยกอนใชเปนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระเจาแผนดินและพระบรมวงศานุวงศ ท่ีรมิ สนามหลวงมีทางเดนิ เช่อื มระหวางวงั หลวงกบั วังหนา ของสมเด็จพระมหาอุปราช ตำแหนงทตี่ ง้ั ของวังหนา ของกรุงรัตนโกสินทรก็เปนแบบแผนของวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา สวนดานทิศตะวันออกของพระราชวัง โปรดเกลา ฯ ใหสรา งสนามไชย ซ่ึงมีขนาดเล็กกวา สนามหลวง ใชเปน ท่เี สด็จฯ ออกทอดพระเนตรกระบวนแห หรือเพือ่ ใหพระสงฆป ระพรมน้ำพระพุทธมนตในพิธตี า ง ๆ ภายในพระบรมมหาราชวังแบง พน้ื ท่ีใชสอยไดเปน 4 สว น คือ พระราชฐานชนั้ นอก พระราชฐาน ชนั้ กลาง พระราชฐานชั้นใน และวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม พระราชฐานช้ันนอก ตั้งอยูทางทิศเหนือเปนที่ต้ังของหนวยราชการที่เก่ียวของกับ พระมหากษัตริย เชน ศาลลูกขุนในท่ีทำการของสมุหพระกลาโหมและสมุหนายก หอรัษฎากรพิพัฒน ท่รี ับผดิ ชอบพระคลงั มหาสมบัติ กระทรวงวงั และกระทรวงมธุ ธาธร ซ่งึ รบั ผดิ ชอบดแู ลกจิ การของราชสำนกั พระราชฐานช้ันกลาง เปน ที่ตงั้ ของพระมหาปราสาท และพระราชมณเฑยี รสถานเปน ศูนยก ลาง การปกครอง และเปนที่ประทับของพระมหากษัตริย เปนที่เสด็จออกขุนนางรับราชทูตตางประเทศ และ ประกอบพระราชพธิ ีสำคญั พระราชฐานช้ันใน เปน ตำหนกั ท่ีประทับของพระมเหสี เทวี ตลอดจนพระราชธิดา และเรอื นเจา จอม สนมกำนัน และพนักงานซงึ่ เปน หญิงลว น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต้ังอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระบรมมหาราชวัง เปน ทป่ี ระดษิ ฐานพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏิมากร และอาคารทางพระพุทธศาสนาจำนวนมาก บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกัด, 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรการพิมพ, 2525. 64 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั 3 พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑยี รสถาน ภายในพระราชฐานชั้นกลาง เปนที่ตั้งของพระมหาปราสาทและพระราชมณเฑียรสถาน ซ่ึงในอดีตเปนท่ีประทับของพระมหากษัตริยในพระราชวงศจักรีทุกพระองคเรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 6 แหงกรุงรัตนโกสินทร ปจจุบันพระที่นั่งหลายองคเปนสถานที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญ เชน พระราชพิธี บรมราชาภิเษก พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธีสงกรานต เสด็จออกรับราชทูตท่ีเขาเฝา ถวายสาสน เปนตน พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑียรสถาน ในพระบรมมหาราชวังปจจุบันนี้สรางขึ้น ในหลายรัชกาลตอเน่ืองกัน บางองคมีการบูรณปฏิสังขรณและปรับปรุงเพิ่มเติม พระที่นั่งบางองคมีลักษณะ สถาปตยกรรมเปนแบบไทยประเพณี และประดับตกแตงดวยฝมืออันประณีต ซ่ึงถือเปนรูปแบบแหงศิลปะ และสถาปตยกรรมไทยที่ย่ิงใหญอลังการทางศิลปวัฒนธรรมท่ีเปนภูมิปญญาและเอกลักษณของชาติไทย โดยแท พระท่ีนั่งบางองคมีการทำรูปแบบทางศิลปะและสถาปตยกรรมของตางชาติเขามาผสมผสานปะปน เชน ศลิ ปะจีน ศลิ ปะแบบตะวนั ตก เปน ตน พระท่ีนั่งท่ีสรางในสมัยรัชกาลท่ี 1 ไดแก พระท่ีน่ังจักรพรรดิพิมาน พระท่ีน่ังไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน พระท่ีน่ังดุสิดาภิรมย สวนหมูพระมหาปราสาทท่ีสรางขึ้น คือ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท นอกจากนี้ ยังโปรดใหสรางพระแทนราชบัลลังกปดทองมีนามวา พระที่นั่ง บุษบกมาลามหาพมิ าน อยูในทองพระโรงของพระท่ีน่ังอัมรนิ ทรวินจิ ฉยั มไหยสรู ยพมิ านไวด ว ย พระท่ีน่ังท่ีสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ไดแก พระที่นั่งสนามจันทร ซึ่งใชเปนที่ประทับพักผอน ยามวางราชกิจ หรือใหขุนนางเฝาฯ ในบางโอกาส พระท่ีนั่งบรมพิมาน และหมูพระท่ีน่ังในสวนศิวาลัย เปน ตกึ แบบยุโรป และเกง จีนจำนวนมากในสวนขวา ทม่ี าของภาพ : http://www.zabzaa.com/pic/i/f2fc6932f7460e5446928946f0833266.jpg 65 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ในสมยั รชั กาลท่ี 3 โปรดเกลา ฯ ใหป รับปรงุ พระทน่ี ง่ั ดสุ ิตมหาปราสาท และพระทีน่ ่งั ดสุ ดิ าภริ มย ดวยการตอเติมผนังกออิฐถือปูน และเขียนภาพท้ังภายในภายนอก พระที่น่ังดุสิดาภิรมณนี้ใชเปน ศาลาเปลื้องเคร่ืองทรงของพระมหากษัตริยเมื่อเสด็จโดยพระราชยานคานหาม หรือโดยพระคชาธาร และพระที่น่ังพุดตานกาญจนสิงหาสน ซึ่งเปนพระแทนราชบัลลังกปดทองในหองโถงพระที่นั่ง อัมรนิ ทรวินิจฉยั มไหยสูรยพิมาน พระทนี่ ั่งสององค ภายในพระท่นี ่งั อมรนิ ทรวนิ ิจฉัยมไหยสรู ยพิมาน องคห นา คือ พระทีน่ ั่งพุดตานกาญจนสงิ หาสน ที่มาของภาพ : แนงนอย ศกั ดศิ์ รี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม. หนา 103. 66 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระที่นั่งที่สรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 4 ไดแก พระท่ีนั่งอาภรณพิโมกขปราสาท เพื่อ เฉลิมพระเกียรติพระองค เขาไกรลาสจำลอง เพื่อใชเปนที่สรงน้ำพระบรมวงศานุวงศ ในพิธีโสกันต (โกนจุก) หอศาสตราคม เปนท่ีสำหรับพระสงฆฝายรามัญนิกายทำพิธีสวดพระปริตร เสกน้ำพระพุทธมนต ถวายสำหรับสรงพระพักตร ตลอดจนประพรมพระมหามณเฑียร พระท่ีน่ังมหิศรปราสาท เพื่อ เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลยั ซง่ึ เปน พระบรมชนกนาถ และอัญเชญิ พระบรมอัฐิ มาประดิษฐานไวดวย พระท่ีนั่งไชยชุมพล เปนพลับพลาขนาดเล็กใชเปนท่ีประทับทอดพระเนตรกระบวน แหพระยายืนชิงชาในการพระราชพธิ ตี รยี มั ปวาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดใชเ ปนที่ประกอบพธิ สี งั เวยพระสยาม เทวาธิราชและเทพยดา รวมทั้งพระพุทธรัตนสถาน เปนพุทธเจดียสถานอารามภายในพระบรมมหาราชวัง ขนานนามวา “พระพทุ ธนเิ วศน” พระท่ีนั่งท่ีสรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 5 ไดแก พระที่น่ังจักรีมหาปราสาท พระที่น่ังมูลสถาน- บรมอาสน พระท่ีนั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่น่ังดำรงสวัสดิ์อนัญวงศ พระที่น่ังพิพัฒนพงศถาวรวิจิตร พระท่ีนั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร พระทน่ี ง่ั อมรพมิ านมณี พระทีน่ ง่ั สทุ ธาศรอี ภิรมย พระทีน่ ั่งบรรณาคาร พระท่ีนั่งปรีดีวโรทัย พระท่ีน่ังราชกรันยสภา (สถานท่ีประชุมปรึกษาราชการแผนดิน) และพระที่นั่ง บรมพมิ าน ซง่ึ มีรูปแบบสถาปตยกรรมแบบตะวนั ตกท่มี ศี ลิ ปะแบบไทยตกแตง ทผี่ นงั บางสวน พระที่นั่งที่สรางขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดแก พระท่ีนั่งราชฤดี เปนพระที่นั่งขนาดเล็กท่ีสรางข้ึน ตามพระที่นั่งองคเดิมที่สรางในสมัยรัชกาลท่ี 4 ใชเปนที่ต้ังแทนสรงมูรธาภิเษกในโอกาสครบรอบนักษัตร เฉลิมพระชนมพรรษา ศาลาเปลอ้ื งเคร่ือง เพือ่ ใชเ ปนทเ่ี ก็บเครอ่ื งใชส ว นพระองค พระมหากษัตริยในชวง 3 รัชกาลแรกแหงกรุงรัตนโกสินทร จะเสด็จประทับในพระท่ีน่ัง ในหมพู ระมหามณเฑยี รทสี่ รา งขนึ้ ในสมยั รชั กาลท่ี 1 บรรณานกุ รม แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสนิ ทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2525. 67 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั 4 หมูพระมหามณเฑียรในสมัยรชั กาลที่ 1 หมูพระมหามณเฑียรที่สรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 1 ประกอบดว ย พระท่ีน่งั ชน้ั เดยี วขนาดใหญ 3 องค ตอเนื่องกัน ไดแก พระท่ีน่ังไพศาลทักษิณ พระท่ีน่ังจักรพรรดิพิมาน และพระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัย- มไหยสูรยพิมาน รวมท้ังอาคารอ่ืน ๆ ซึ่งเปนท่ีประทับของพระมหากษัตริยในราชวงศจักรี 3 รัชกาล คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และพระบาท- สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว หมูพระมหามณเฑียรดังกลาวน้ีทุกหลังลวนเปนสถาปตยกรรมแบบไทย ประเพณีท้ังสน้ิ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ เปน พ ร ะ ที่ นั่ ง ที่ ส ร า ง เ ช่ื อ ม ต อ กั บ พ ร ะ ที่ นั่ ง อมรินทรวินจิ ฉัยฯ รัชกาลท่ี 1 ทรงสรา งขึ้น เพ่อื ใชเ ปนทีป่ ระทับ ท่ีขา ราชการฝายในเฝา และบำเพ็ญพระราชกุศลเปนการภายใน ปจจุบันภายในพระท่ีนั่งมีพระแทนราช บัลลังกท่ีประทับ 2 องค เพ่ือใชในการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก กลางพระท่ีน่ัง ตั้งพระแทนประดิษฐานพระสยามเทวาธิราช (สรางข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 4 ถือเปนเทพ ศักด์ิสิทธิ์ที่ปกปองคุมครองประเทศไทย) มีหอพระ 2 หอ ขนาบอยสู องขางพระท่ีนัง่ คือ หอพระสุลาไลยพิมาน เปนที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปและวัตถุมงคล สวนหอพระ ภายในพระที่น่งั ไพศาลทกั ษณิ ธาตมุ ณเฑยี ร เปน ทีป่ ระดิษฐานพระบรมอฐั ิ ของรชั กาลที่ 1 - 3 ทมี่ าของภาพ : แนงนอ ย ศกั ด์ศิ รี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม. หนา 98. 68 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระท่ีนั่งจักรพรรดิพิมาน เปนพระที่น่ัง พระทนี่ งั่ จกั รพรรดิพิมาน ที่เปน พระวิมานท่บี รรทมของรชั กาลท่ี 1 - 3 จึงถือเปน พระท่ีนั่งประธานในหมูพระมหามณเฑียร ทางดาน ซายขวาเปนอาคาร สองขางพระที่น่ังเปนท่ีประทับ ของพระมเหสี เทวี หรือเจาจอมท่ีทรงโปรดฯ ตอมาในรัชกาลท่ี 6 พระราชทานนามอาคารนี้วา พระท่ีนง่ั เทพสถานพิลาส และพระทน่ี งั่ เทพอาสนพ ิไล พระที่น่ังอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน เปนทองพระโรงองคสำคัญของหมูพระมหามณเฑียร พระมหากษัตริยในราชวงศจักรีทุกพระองคเสด็จมาประกอบพระราชพิธีสำคัญ ณ ทองพระโรงแหงนี้ เชน พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา หรือเสด็จออกรับราชทูตที่เขาถวายสาสน เชน เซอรจอหน ครอเฟด ราชทูตองั กฤษ พระท่ีน่ังอมรินทรวินิจฉัยฯ มีรูปแบบศิลปกรรมที่งดงามมาก คูหาหนาบันเปนเคร่ืองลำยอง ในกรอบหนาบันจำหลักไมปดกระจกดวยรูปพระอมรินทราธิราชประทับน่ังในพระวิมานทามกลาง ลายกระหนก แสดงถึงฝมือของชางศิลปไทย ภายในพระท่ีน่ังมีพระราชบัลลังกต้ังอยู 2 องค ซ่ึงสรางขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 1 คือ พระที่น่ังบุษบกมาลามหาพิมาน สำหรับพระมหากษัตริยประทับเวลาเสด็จออก มหาสมาคมในโอกาสตาง ๆ และพระแทนมหาเศวตฉัตร ใชในการพระราชพิธีตาง ๆ เชน พระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก นอกจากพระท่นี งั่ ตา ง ๆ ดังกลาวแลว ภายในหมูพระมหามณเฑยี รยงั มหี อตา ง ๆ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลา ฯ ใหสรา งไวด ว ย คือ หอพระสุลาไลยพิมาน เปน ทีป่ ระดษิ ฐาน ปูชนียวัตถุเพ่ือทรงสักการบูชา เชน พระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูป หอพระธาตุมณเฑียร เปนที่ ประดิษฐานพระบรมอัฐิสมเดจ็ พระบรมราชบพุ การี ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช ภายในมุขกระสันท่ีตอเน่ืองกับองคพระที่น่ังไพศาลทักษิณที่เรียกวา พระเฉลียงหนาหอ มีจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งกลาวกันวาเปนฝพระหัตถพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เขียนเปน ลวดลายเคร่อื งมงคลแบบจีน บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกัด, 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรุงรตั นโกสนิ ทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพมิ พ, 2525. ทม่ี าของภาพ : http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล: พระทีน่ ่ังจกั รพรรดิพมิ าน.jpg 69 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั 5 หมพู ระท่นี ัง่ ดุสิตมหาปราสาท พระทีน่ ัง่ ดสุ ิตมหาปราสาท พระมหาปราสาทองคแรกท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนคือ พระท่ีน่ังอมรินทราภิเษกมหาปราสาท สรางดวยเครื่องไมถายแบบมาจากพระท่ีนั่ง สรรเพชญปราสาทในพระราชวังกรุงศรีอยุธยา ซ่ึงไดใชเปนพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งท่ี 2 เมื่อ พ.ศ. 2328 แตภายหลังถูกฟาผาเพลิงไหมหมดทั้งองค จึงโปรดเกลาฯ ใหรื้อแลวสรางพระท่ีน่ัง ดุสิตมหาปราสาทขนึ้ ใหม ณ ท่ีเดิม ในรัชกาลตอ ๆ มาไดมกี ารสรางพระท่นี ั่งองคอื่น ๆ เพ่ิมเติม เชน พระทนี่ งั่ พมิ านรัตยา พระท่นี งั่ อาภรณภ ิโมกขปราสาท พระที่น่งั ราชกรนั ยสภา เปน ตน พระที่น่งั ดุสิตมหาปราสาทจงึ เปน พระที่นงั่ ประธาน ในหมพู ระที่น่งั ดงั กลา ว ทม่ี าของภาพ : แนง นอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรีรัตนศาสดาราม. หนา 114. 70 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระที่น่งั ดสุ ิตมหาปราสาท เปนปราสาทจตรุ มุขทม่ี ีขนาด พระแทน ราชบงั ลังกป ระดบั มุก เทากัน องคพระที่นั่งกออิฐถือปูน ยอดเปนเคร่ืองไมทรงมณฑป ซอน 7 ช้ัน ที่มุมไมสิบสองของยอดปราสาทมีครุฑยุดนาค รองรับ อยูทั้ง 4 มุม หลังคาช้ันลด 4 ชั้น มีชอฟา ใบระกา และหางหงส ซ่ึงทำเปนนาค 3 เศียรซอนติดกันเปนแผง เรียกวา นาคเบือน หนา บนั มขุ จำหลักรปู นารายณท รงครฑุ ที่มุขดานทิศเหนือประดิษฐานพระท่ีนั่งบุษบกมาลา สำหรับเสดจ็ ออกมหาสมาคม หรอื ใหป ระชาชนเฝาฯ ภายในพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทมีศิลปวัตถุช้ินเอก คือ พระแทนราชบังลังกประดับมุก ประดิษฐานอยูกลางพระท่ีน่ัง และพระแทนบรรจถรณประดับมุก ซ่ึงเปนพระแทนบรรทมของ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ตง้ั อยูทางดา นมุข ตะวันออก ตอมาเมอื่ รัชกาลท่ี 1 เสด็จสวรรคต พระที่นง่ั ดุสิตมหาปราสาทไดเปนท่ีประดิษฐานพระบรมศพ จนกลายเปนธรรมเนียมสืบตอมา เม่ือพระมหากษัตริยและพระมเหสี รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศช้ันสูง ส้นิ พระชนมลงจะไดน ำพระบรมศพมาประดิษฐาน ณ พระทน่ี ั่งองคนีด้ ว ย ภายในกำแพงแกวของพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทมีพระที่นั่งอาภรณภิโมกขปราสาท ตรงแนวกำแพงแกวดานตะวันออกเปนพระท่ีน่ังโถงตั้งอยูเสมอฐานสูงเสมอกำแพงแกว ซ่ึงสรางขึ้น ในสมัยรัชกาลท่ี 4 เปนพลับพลาประทับยานรับสงเสด็จในโอกาสตาง ๆ พระท่ีนั่งราชกรัณยสภา ต้ังอยู ทางใตของพระที่นั่งอาภรณภิโมกขปราสาท สรางขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 เพ่ือใชเปนที่ประชุมปรึกษาหารือ ราชการแผน ดนิ ในสมัยรชั กาลที่ 5 ปจจบุ นั เปน ที่ประชมุ องคมนตรี และหอเปลอื้ ง สรา งขนึ้ ในสมัยรชั กาลที่ 6 บรรณานกุ รม แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรงุ รตั นโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพมิ พ, 2525. ที่มาของภาพ : http://www.bloggang.com/data/vinitsiri/picture/1299419004.jpg 71 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั 6 หมูพระทนี่ งั่ จักรีมหาปราสาท พระท่ีนั่งจักรมี หาปราสาท หมูพระที่น่ังจักรีมหาปราสาท สรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร ภายหลังที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จขึ้นครองราชยสมบัติใน พ.ศ. 2411 พระองคทรงมี พระประสงคที่จะสรางพระราชมณเฑียรท่ีประทับขึ้นใหม ณ บริเวณท่ีเคยเปนพระตำหนักท่ีพระองค ทรงมีพระราชสมภพ การกอสรางหมูพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทเร่ิมใน พ.ศ. 2411 - 2413 ประกอบดวย พระทน่ี ่ังมูลสถานบรมอาสน พระท่ีนัง่ สมมตเิ ทวราชอปุ บัติ พระท่นี ั่งดำรงสวสั ดอิ์ นัญวงศ และพระทน่ี ง่ั พิพัฒนพงศถาวรวิจิตร พรอมดวยหอพระอีก 2 หอ เพ่ือประดิษฐานพระพุทธรูปท่ีทรงบูชา และ ประดิษฐานพระบรมอัฐขิ องพระมหากษตั รยิ อ งคก อ น ๆ ตอ มาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว เสด็จกลบั จากการประพาสสิงคโปรแ ละชวา ไดโ ปรดเกลาฯ ใหสรางพระทีน่ ั่งบรมราชสถติ ยมโหฬาร พ.ศ. 2418 โปรดเกลาฯ ใหส รางทองพระโรงประดษิ ฐานพระมหาเศวตฉัตร ทมี่ าของภาพ : แนงนอ ย ศกั ด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม. หนา 114. 72 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พ.ศ. 2419 ไดโ ปรดเกลา ฯ ใหสรา งพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท โดยใหช า งชาวอังกฤษทพ่ี ระองค เคยทอดพระเนตรผลงานท่ีทำเนียบรัฐบาล เมืองสิงคโปร ชื่อนายจอหน คลูนิซ (John Clunich) เปนหัวหนาสถาปนิก นายเฮนรี คลูนิช โรส (Henry Clunich Rose) เปนสถาปนิกผูชวย และเจาพระยา ภานุวงศมหาโกษาธิบดี เปนแมกองการกอสราง การกอสรางแลวเสร็จเม่ือ พ.ศ. 2425 มีพระราชพิธี เฉลมิ พระราชมณเฑียร พรอ มกับพธิ ฉี ลองกรงุ รตั นโกสนิ ทรแ ละพระราชวงศจ กั รี ครบรอบ 100 ป องคพระทน่ี งั่ จกั รีมหาปราสาท สรา งเลยี นแบบสถาปต ยกรรมของฝรั่งเศสในยคุ ฟน ฟศู ิลปวทิ ยาการ แตสวนหลังคาและยอดพระที่นั่งเปนแบบไทยประเพณี เพื่อใหสัมพันธกับหมูพระที่นั่งอยูใกลเคียงกัน และ ใหสอดคลองกับหมูพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา ลักษณะของอาคารเปนอาคารหลังเด่ียวมีมุข 3 มุข แตละมุขประดับเคร่ืองยอดบนหลังคา พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาทมีความสูงถึง 3 ช้ัน มีทางข้ึนภายนอก เปนอัฒจนั ทรขนาดใหญส องขางมขุ กลางทย่ี ่ืนออกมาจากองคพระทีน่ ัง่ ช้ันแรกเปนทองพระโรงกลาง ซ่ึงเปนสว นสำคัญที่สุดของพระท่นี ง่ั เปนสถานทท่ี พี่ ระมหากษัตรยิ  ทรงรับสาสนตราตั้งจากเอกอัครราชทูตประเทศตาง ๆ หรือเสด็จออกมหาสมาคมเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา และพระราชทานเล้ยี งรบั รองแดพ ระมหากษตั รยิ หรือประมุขของรฐั ช้ันสอง มุขหนาตรงกลางเปนทองพระโรง ประดิษฐานพระบรมรูปพระมหากษัตริย ในพระราชวงศจักรี เบื้องซายและขวาเปนหองโถงรับรอง สวนทางดานตะวันออกเปนที่พักของบรรดา ทตู านทุ ูตกอ นถวายสาสนตราตัง้ ชั้นสามของพระท่ีน่ังเปนที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิของพระมหากษัตริย และพระมเหสี ของรัชกาลท่ี 4 - 8 ระหวา ง พ.ศ. 2425 - 2427 โปรดเกลา ฯ ใหส รา งพระท่นี ั่งทีด่ านหลงั พระท่ีน่งั ราชสถิตมโหฬาร เพ่ิมข้ึนอีก 4 องค ไดแก พระที่นั่งอมรพิมานมณี เพ่ือเปนพระวิมานท่ีบรรทม พระท่ีน่ังสุทธาศรีอภิรมย เพ่ือเปนที่ประทับของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระที่นั่งบรรณาคมสรณี เปนหองสมุด และพระที่น่ังราชปรีดีวโรทัย เพื่อเปนที่ประทับพักผอน พรอมกับโปรดเกลาฯ ใหสรางสวนข้ึนบนดาดฟา ระดับเดยี วกับที่ประทบั พระราชทานนามวา สวนสวรรค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จประทับที่พระราชมณเฑียรแหงน้ีตราบจน ปลายรัชกาลจนถึง พ.ศ. 2443 จึงยายไปประทับท่ีพระราชวังดุสิตที่โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นทางทิศเหนือ ของกรุงเทพฯ พระบรมมหาราชวังจึงเปน เพยี งสถานท่ีประกอบพระราชพธิ ีสำคญั เทานั้น บรรณานกุ รม แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรก ารพมิ พ, 2525. 73 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 2 พระบรมมหาราชวงั POST-TEST คำชีแ้ จง ใหน กั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกตอ งที่สดุ เพียงขอ เดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ขอใดคอื สถานท่ีทีพ่ ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดเกลา ฯ ใหป ระกอบพิธีพระบรมราชาภิเษก ก. พระราชวังเดมิ ของสมเด็จพระเจา ตากสินมหาราช ข. พระบรมมหาราชวังแหงใหม ณ บริเวณฝงตะวนั ออกของแมนำ้ เจา พระยา ค. พระบรมมหาราชวังแหง ใหม ณ บริเวณฝง ตะวนั ตกของแมน ำ้ เจาพระยา ง. พระทน่ี ่งั จักรพรรดิพมิ าน บริเวณหมูพ ระมหามณเฑียร 2. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ทรงโปรดเกลาฯ ใหส รางวัดพระศรรี ัตนศาสดารามในเขตพระราชฐานทำนองเดียวกนั กบั วดั ใดที่กรงุ ศรีอยธุ ยา ก. วัดกษัตราธริ าช ข. วดั ธรรมกิ ราช ค. วัดสุวรรณดาราราม ง. วัดพระศรสี รรเพชญ 3. รปู แบบสถาปต ยกรรมของหมพู ระมหามณเฑียรทส่ี รา งข้ึนในสมัยรชั กาลที่ 1 เปนแบบใด ก. แบบไทยประเพณี ข. แบบผสมผสานศิลปกรรมไทยกับจนี ค. แบบผสมผสานศลิ ปกรรมไทยกับตะวันตก ง. ถูกทุกขอ 4. พระราชวังกรุงเกา หมายถึงขอใด ก. พระราชวังทีก่ รุงศรีอยุธยา ข. พระราชวงั ทล่ี พบรุ ี ค. พระราชวงั เดมิ ทกี่ รุงธนบุรี ง. พระบรมมหาราชวังทีก่ รุงเทพมหานคร 5. ขอใดเปนสถานท่สี ำหรบั พระสงฆฝายรามัญนิกายมาประกอบพิธเี สกนำ้ พระพทุ ธมนต เพอ่ื สรงพระพักตรพ ระมหากษตั รยิ  และเพื่อประพรมพระมหาราชวัง ก. หอพระสุลาไลยพมิ าน ข. หอพระธาตมุ นเฑียร ค. หอศาสตราคม ง. หอราชพงศานุสร 74 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. สถานทีป่ ระกอบพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกคือขอ ใด ก. พระทน่ี ง่ั จกั รพรรดพิ มิ าน ข. พระที่นั่งไพศาลทกั ษิณ ค. พระทน่ี ั่งอมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั มไหยสูรยพิมาน ง. พระทน่ี ง่ั บษุ บกมาลามหาศาล 7. พระสยามเทวาธิราชซงึ่ ถือเปนเทพศักด์ิสทิ ธิท์ ี่ปกปอ งคมุ ครองประเทศไทย ปจจุบนั ประดษิ ฐาน อยใู นทใี่ ด ก. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ข. วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม ค. พระท่นี ั่งจักรพรรดพิ มิ าน ง. พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษิณ 8. ขอ ใดคอื พระแทนบรรทมของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ก. พระแทน มหาเศวตฉตั ร ข. พระแทน อาภรณภิโมกข ค. พระแทน ราชบัลลงั กประดบั มกุ ง. พระแทน บรรจภรณป ระดบั มุก 9. ขอใดใชเปนสถานทีป่ ระชมุ ปรกึ ษาราชการแผนดนิ ในสมัยรัชกาลท่ี 5 ก. พระทน่ี ง่ั ดสุ ดิ าภิรมย ข. พระทน่ี ง่ั ราชกรณั ยสภา ค. พระที่นง่ั ราชฤดี ง. พระที่นั่งสนามจนั ทน 10. พระมหาปราสาทองคใ ดท่ีมีรปู แบบสถาปตยกรรมเปน แบบตะวันตก ก. พระที่นั่งพทุ ไธสวรรย ข. พระที่นั่งมหศิ รปราสาท ค. พระท่นี ่ังจกั รมี หาปราสาท ง. พระที่นงั่ ดสุ ติ มหาปราสาท เฉลย 1. ข 2. ง 3. ก 4. ก 5. ค 6. ก 7. ง 8. ง 9. ข 10. ค 75 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 3 วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ความสอดคลอ งกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 การศึกษาชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ชุดที่ 3 วัดพระศรีรัตน- ศาสดาราม นักเรียนจะไดรับความรซู งึ่ สอดคลองกับมาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวช้วี ดั ชน้ั ป ดังนี้ ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชว ธิ ีการทางประวัตศิ าสตรม าวเิ คราะหเหตุการณต า ง ๆ อยางเปนระบบ ม.3/ส 4.1 ขอ 1 วิเคราะหเรื่องราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตร ไดอ ยางมเี หตุผลตามวิธกี ารทางประวัติศาสตร ม.3/ส 4.1 ขอ 2 ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเร่ืองราวตาง ๆ ทีต่ นสนใจ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จ และธำรงความเปน ไทย ม.3/ส 4.3 ขอ 3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอทิ ธิพลตอ การพัฒนาชาติไทย 76 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 3 วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม PRE-TEST คำชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกตองที่สุดเพียงขอ เดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ทต่ี ั้งของวัดพระศรรี ตั นศาสดารามคอื ขอ ใด ก. พระราชฐานชนั้ ใน ข. พระราชฐานช้ันนอก ค. พระราชฐานชนั้ กลาง ง. นอกพระราชฐาน 2. ขอ ใดหมายถงึ พระพทุ ธรูปคูบ า นคูเมืองของไทย ก. พระแกวมรกต ข. พระสยามเทวาธิราช ค. พระพุทธชินราช ง. พระคนั ธารราษฎร 3. ศาลารายรอบพระอโุ บสถทใ่ี ชเปนท่ีอานหนังสอื ธรรมะใหร าษฎรฟงจนเกิดประเพณี สวดโอเอวหิ ารราย เกิดข้ึนในรชั สมยั ใด ก. รัชกาลท่ี 1 ข. รชั กาลท่ี 3 ค. รัชกาลท่ี 4 ง. รชั กาลท่ี 5 4. พระพุทธรปู ที่เปนประธานในพระราชพิธแี รกนาขวัญคือขอใด ก. พระแกว มรกต ข. พระพทุ ธชนิ ราช ค. พระสยามเทวาธริ าช ง. พระคนั ธารราษฎร 5. สง่ิ กอสรา งใดในวดั พระศรรี ตั นศาสดารามทเ่ี ปนศิลปกรรมเขมร ก. หอพระนาก ข. พระศรรี ัตนเจดีย ค. นครวดั จำลอง ง. พระปรางค 8 องค 77 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. พระพุทธมณรี ัตนปฏมิ ากรท่ปี ระดิษฐานในพระอุโบสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เคยประดษิ ฐาน ณ ทใี่ ดมากอ น ก. พระราชวงั หลวงกรุงธนบุรี ข. พระราชวังกรุงศรีอยธุ ยา ค. วัดพระมหามณรี ตั นปฏมิ ากร ง. โรงพระแกว กรงุ ธนบุรี ปจจุบันคือพระอุโบสถวดั อรณุ ราชวราราม 7. เครื่องทรงสำหรับฤดูหนาวของพระพทุ ธมณีรัตนปฏมิ ากร รชั กาลใดทรงโปรดเกลา ฯ ใหสรา งถวาย ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ข. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั ค. พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา เจาอยูหัว ง. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห ัว 8. ขอใดหมายถึงภาพจติ รกรรมฝาผนังในพระระเบยี งที่โอบลอมอาคารในวดั พระศรีรตั นศาสดาราม ก. ภาพพทุ ธประวตั ิตอนปราบหมมู าร ข. ภาพหลักธรรมในเรอื่ งไตรภมู ิ ค. ภาพแสดงเรอื่ งราวในวรรณกรรมเรอื่ งรามเกยี รติ์ ง. ภาพกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค 9. ทม่ี าของยกั ษว ดั พระแกว ทท่ี ำหนา ทเ่ี ปน ทวารบาลเฝาประตคู อื ขอใด ก. สินคาทน่ี ำมาจากเมืองจีนในสมัยรัชกาลที่ 1 ข. ฝมอื ของขรวั อนิ โขง สรางข้นึ ในสมยั รัชกาลที่ 4 - 5 ค. ฝม ือชา งหลวง ในสมัยรชั กาลที่ 3 ง. ยักษป ูนปน สงู 6 เมตร มาจากวดั อรุณราชวราราม 10. พระบรมราชลัญจกรท่ีเปน รปู ครุฑยดุ นาค เปน พระบรมราชสญั ลักษณร ัชกาลใด ก. รัชกาลที่ 1 ข. รชั กาลท่ี 2 ค. รชั กาลท่ี 3 ง. รชั กาลที่ 4 เฉลย 5. ค 1. ข 2. ก 3. ค 4. ง 6. ง 7. ค 8. ค 9. ค 10. ข 78 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 3 วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 1 รจู กั วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแกว เปนพระอารามหลวงตั้งอยูในเขตพระราชฐานช้ันนอก ทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นพรอมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร เม่ือ พ.ศ. 2325 แลวเสร็จใน พ.ศ. 2327 เพื่อใหเปนที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแกวมรกต พระพุทธรูปคูบานคูเมือง ของไทย ที่มาของภาพ : ศิลปากร, กรม. นำชมกรุงรัตนโกสินทร. หนา ปกใน. 79 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

วัดพระศรีรัตนศาสดารามเปน วัดท่ีสรางขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง ต า ม แ บ บ วั ด พ ร ะ ศ รี ส ร ร เ พ ช ญ ข อ ง กรุงศรีอยุธยา มีพระระเบียงลอมรอบ ท้ัง 4 ดานเปนขอบเขตบริเวณ และ เปนวัดท่ีไมมีพระสงฆจำพรรษา ใชเปนท่ี บวชนาคหลวง และประชุมขาทูลละออง พระบาท ถือน้ำพระพพิ ัฒนสัตยา พระแกว มรกตประดิษฐานภายในพระอโุ บสถ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในเครอ่ื งทรงฤดูฝน วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้ภายหลังการสถาปนาแลวไดรับการบูรณปฏิสังขรณ หรือกอสราง ข้ึนใหมสืบตอมาทุกรัชกาล เพราะเปนวัดสำคัญ สิ่งกอสรางภายในวัดจึงมีมากมาย และมีรูปแบบ ที่หลากหลายตามพระราชนิยมทางศิลปะของแตละรัชกาล การบูรณปฏิสังขรณใหญท่ัวทุกอาราม ทุก 50 ป คือ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว และในรัชกาลปจจุบัน โดยมุงอนุรักษสถาปตยกรรมและศิลปกรรม อันเปนมรดกชิ้นเอกของชาติใหคงความงดงาม และรักษาคุณคาของชางศิลปไทยไวอยางดีที่สุด เพอื่ ใหว ัดพระศรีรัตนศาสดารามคงอยคู ูกบั กรงุ รตั นโกสินทรต ลอดไป ท่ีมาของภาพ : แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม. หนา 55. 80 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สิ่งสำคัญภายในวัดประกอบดวย พระอุโบสถ สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ตั้งอยูทางดานใตของ พระอาราม ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธมณีรัตนปฏิมากร ศาลารายรอบพระอุโบสถ สรางใน สมัยรัชกาลท่ี 4 มีทั้งหมด 12 หลัง ใชเปนที่อานหนังสือศาสนาใหราษฎรฟงเวลามีงาน จนเกิดประเพณี สวดโอเอวิหารรายขึ้น หอราชพงศานุสร สรางข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 4 พระอุโบสถทางทิศเหนือ ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรปู ประจำรชั กาลพระมหากษตั ริยก รุงศรีอยุธยาและธนบรุ ี ทีร่ ัชกาลที่ 3 ทรงสรา งอุทศิ ถวาย พระโพธิธาตุพิมาน รัชกาลที่ 4 ใหสรางขึ้นเพ่ือประดิษฐานพระปรางคบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ จากพุทธคยา หอพระคันธารราษฎร สรางในสมัยรัชกาลที่ 4 - 5 ตั้งอยูทางดานใตมุมพระระเบียง หนา พระอโุ บสถ ภายในหอเขยี นภาพเกี่ยวกบั ฝนตาง ๆ ฝมือขรวั อนิ โขง เปน ทปี่ ระดษิ ฐานพระคนั ธารราษฎร หรือพระพุทธรูปเรียกฝน ซ่ึงใชเปนประธานในพระราชพิธีแรกนาขวัญ และพิธีพิรุณศาสตร พระมณฑป ภายในมีตูพระไตรปฎกฝมือเจาพระยามหาเสนา (บุนนาค) ซึ่งมีขนาดใหญกวาประตูมณฑปเพ่ือมิให นำออกไปได เปนที่ประดิษฐานพระไตรปฎก ฉบับทองใหญ ซึ่งไดรับการสังคายนาในสมัยรัชกาลท่ี 1 ปราสาทพระเทพบิดร สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ประดิษฐานพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริย แหง กรุงรัตนโกสนิ ทรทัง้ 5 พระองค และตอมาประดิษฐานพระบรมรูปรัชกาลท่ี 6 - 8 ดวย หอมณเฑียรธรรม กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทสรางถวายหลังจากไฟไหมหอมณเฑียรธรรมเดิม ตอนแรกใชเปนที่ สำหรับราชบัณฑิตบอกหนังสือพระภิกษุ สามเณร ปจจุบันไวตูพระไตรปฎกประดับมุก 2 ตู หอพระนาก สรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 1 เดิมเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนหลอดวยนาก ปจจุบันเปนที่ประดิษฐาน พระอัฐิของเจานายในพระบรมราชจักรีวงศ พระศรีรัตนเจดีย รัชกาลที่ 4 โปรดใหถายแบบเจดียตามแบบ วัดพระศรีสรรเพชญของกรุงศรีอยุธยา ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ นครวัดจำลอง รัชกาลที่ 4 โปรดใหจำลองแบบมาจากนครวัดของเขมร สรางดวยศิลาลวน ๆ เลียนแบบของจริงทุกประการ พระปรางค 8 องค สรา งขน้ึ ในสมัยรัชกาลท่ี 3 อยดู า นหนาของวดั เปน พระปรางคป ระดับกระเบ้อื งเคลือบ สีตา งกัน จัดเปน ศลิ ปะช้นั สูงเพื่อถวายสิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิตาง ๆ บรรณานุกรม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกัด, 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรุงรตั นโกสนิ ทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรก ารพมิ พ, 2525. 81 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 3 วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 2 พระพุทธมหามณีรตั นปฏิมากร พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแกวมรกต เปนพระพุทธรูปปางสมาธิ ทำดวย มณีสีเขียวเน้ือเดียวกันทั้งองค หนาตักกวาง 48.3 เซนติเมตร สูงตั้งแตฐานถึงยอด พระเศียร 66 เซนติเมตร ประดิษฐานอยใู นบษุ บกทองคำ พ ร ะ พุ ท ธ ม ห า ม ณี รั ต น ป ฏิ ม า ก ร น้ี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญมาจากเมืองเวียงจันทน ต้ังแตเม่ือคร้ัง ทรงดำรงตำแหนงสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก แลวทรงประดิษฐานไว ณ โรงพระแกว กรุงธนบุรี (ปจจุบันคือพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม) จนกระท่ังพระองคทรงปราบดาภิเษกเปนปฐมกษัตริย แหงราชวงศจักรี จึงไดอัญเชิญมาประดิษฐาน ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันท่ี 22 มนี าคม พ.ศ. 2327 พระแกวมรกตในเครอื่ งทรงฤดูรอ น ที่มาของภาพ : แนงนอ ย ศกั ดศิ์ ร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. หนา 11. 82 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช ทรงพระราชศรัทธาสรางเคร่ืองทรงฤดูรอน และฤดูฝน ถวายเปนพุทธบชู า โดยเครอื่ งทรงสำหรบั ฤดูรอน เปนเคร่ืองตน ประกอบดวย มงกุฎ พาหุรัด ทองกร พระสังวาล เปนทองลงยาประดับมณีตาง ๆ ยอดมงกุฎประดับดวยเพชร สวนเครื่องทรงสำหรับ ฤดูฝน ใชทองคำเปนกาบหุมองคพระอยางหุมทองคำ สลักลายท่ีเรียกวาลายพุมขาวบิณฑ พระเศียรใช ทองคำเปนกาบหุมต้ังแตไรพระศกถึงจอมเมาฬ เม็ดพระศกลงยาสีน้ำเงินแก พระลักษมีทำเวียน ทักษิณาวรรษ ประดับมณี และลงยาใหเขากับ เมด็ พระศก ตอมาพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางเคร่ืองทรงสำหรับฤดูหนาว ถวายเปน พทุ ธบชู าอีกชุดหนงึ่ ทำดว ยทองเปน หลอดลงยารอยดวยลวดทองเกรียว ทำใหไ หวไดโดยตลอดเหมอื นกบั ผา ใชค ลมุ ทัง้ สองพาหาของพระองค บุษบกทองคำที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร สรางดวยไมสลักหุมทองคำท้ังองค ฝงมณีมีคาสีตาง ๆ ทรวดทรงงดงามมาก เปนฝมือชางรัชกาลที่ 1 เดิมบุษบกน้ีตั้งอยูบนฐานชุกชี พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสรางพระเบญจาสามชั้นหุมดวยทองคำสลักลายวิจิตร หนุนองคบุษบกใหส งู ขนึ้ บรรณานุกรม แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรุงรัตนโกสินทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพมิ พ, 2525. ทมี่ าของภาพ : http://www.dhammajak.net/board/files/_paragraph_4_177.jpg 83 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 3 วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 3 ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ภาพจติ รกรรมฝาผนังทพ่ี ระระเบยี งวดั พระศรีรตั นศาสดาราม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีภาพจิตรกรรม ฝาผนังที่งดงามมาก มีปรากฏอยูในพระระเบียงและใน พระอุโบสถดังน้ี ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในพระระเบยี ง พระระเบียง คือ ฝาผนังตามทางเดินท่ีโอบลอม อ า ค า ร ทุ ก ห ลั ง ใ น วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ศ า ส ด า ร า ม โ ด ย ร อ บ เปนภาพท่ีแสดงเรื่องราวของวรรณกรรมเรื่องรามเกียรต์ิ ท่ี พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ า จุ ฬ า โ ล ก ม ห า ร า ช ทรงพระราชนิพนธขึ้น ทม่ี าของภาพ : ศลิ ปากร, กรม. นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. หนา 122 และ 123. 84 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชนิพนธวรรณกรรมเร่ือง รามเกียรต์ิ ซึ่งไดทรงปรับปรุงมาจากมหากาพยของอินเดีย ชื่อ รามายณะ อันเปนวรรณกรรมที่มีอิทธิพล และเปน ที่ยอมรบั ในประเทศตาง ๆ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตม าชานานแลว เชน อินโดนีเซีย ลาว กัมพูชา พมา เพราะมีเนื้อหาสะทอนถึงพระบรมเดชานุภาพในการปกครองแผนดินของพระมหากษัตริย “พระราม” หรอื ตวั เอกของเรื่องรามเกียรติ์ คอื พระนารายณ หรือพระวษิ ณุอวตารมาสูโลกเพือ่ บำบดั ทุกข บำรุงสุขประชาชน ตามความเชือ่ ของศาสนาพราหมณ ภาพจิตรกรรมฝาผนังเร่ืองรามเกียรติ์มีท้ังหมด 178 หอง โดยเริ่มเน้ือหาหองที่ 1 ต้ังตนที่ประตู ดานทิศเหนือตรงขามกับพระวิหารยอด จากน้ันภาพตาง ๆ ไดดำเนินเร่ืองไปในทิศทางทวนเข็มนาฬกา และทกุ ภาพมคี ำบรรยายโดยยอไวดานลาง ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในพระอโุ บสถ พระอุโบสถของวัดพระศรีรัตนศาสดารามตั้งอยูทางทิศใต เปนที่ประดิษฐานพระพุทธมณี รัตนปฏมิ ากร (พระแกว มรกต) ภาพจิตรกรรมฝาผนงั จะปรากฏอยใู นผนงั ดา นทิศตะวนั ออก ดานทิศตะวนั ตก ผนังดา นทศิ เหนือ และดานทิศใต สว นใหญเปน ภาพพุทธประวัติ ภาพชาดก และหลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา ดงั นี้ ผนังดานทิศตะวันออก เหนือประตูบานกลาง มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเปนภาพพุทธประวัติ ตอนมารวิชัย ซ่ึงเปนตอนที่พระพุทธเจาทรงปราบหมูพญามาร เปนภาพที่เขียนข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 1 แสดงการตอสูระหวางพระยามารกับเทวดา พระพุทธเจาประทับน่ังปางมารวิชัยใตโพธิบัลลังก มีแมพระธรณี ยนื บนแทนกำลงั บดิ มวยผม ดา นลางแวดลอ มดว ยพญามาร ผนังดานทิศตะวันตก เบื้องหลังองคพระแกวมรกตท้ังผนังเปนภาพเรื่องไตรภูมิ ไดแก กามภูมิ รูปภมู ิ และอรปู ภูมิ ผนังดานทิศเหนือและทิศใต เดิมเขียนภาพเทพชุมนุม ซึ่งเปนคติท่ีสืบเนื่องมาจากสมัยอยุธยา ตอมามีการบูรณะในสมัยรัชกาลที่ 3 ไดเปลี่ยนเปนภาพพุทธประวัติ โดยผนังระหวางชองหนาตาง เขียนเปนภาพชาดก หรือประวัตขิ องพระพุทธเจา ในอดตี ชาติ สำหรับผนังบริเวณใตชองหนาตางทางทิศเหนือ เปนภาพกระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค (ทางบก) สว นทางทศิ ใต เปนภาพกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค (ทางนำ้ ) บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรก ารพิมพ, 2525. 85 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 3 วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 4 ยักษวัดพระแกว ยกั ษอินทรชติ ยักษท ศกัณฐ ยกั ษจกั รวรรดิ บริเวณโดยรอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มียักษปูนปนสูงประมาณ 6 เมตร ทำหนาที่เปนทวารบาลเฝาประตูเปนคู ๆ อยู 3 ดาน ท้ังดานตะวันออก ดานตะวันตก และดานทิศใต รวม 6 คู หรือ 12 ตนดวยกัน ยักษทวารบาลแตละตัวประดับดวยกระเบื้องเคลือบสีตาง ๆ อยางงดงาม ยืนกุมกระบองอยูบนฐานส่ีเหลี่ยมจตุรัส ประจำเรียงรายไปทุกชองประตูพระระเบียงคด มีชื่อตามชื่อยักษ ในรามเกียรต์ดิ ังน้ี คูดานตะวันออกมี 2 ประตู ประตูแรกตรงกับปราสาทพระเทพบิดร สวนประตูที่สองอยูใกลกับ พระอุโบสถ ทวารบาลท้งั 4 ตัว ไดแก ตวั ท่ี 1 ชือ่ อินทรชติ กายสเี ขียว สวมมงกุฎยอดกาบไผ เปนบตุ รทศกณั ฐแหงกรุงลงกา ตวั ท่ี 2 ช่ือ สุริยาภพ กายสีแดงชาด สวมมงกุฎยอดกาบไผ เปน บุตรทา วจกั รวรรดแิ หง กรุงมลิวนั ตัวท่ี 3 ชื่อ วิรุฬหก กายสีขาบหรือสีน้ำเงินแก สวมมงกุฎนาคเปนบุตรของพญารากษส แหงมหาอนั ธกาลนคร ตวั ท่ี 4 ชื่อ มังกรกณั ฑ กายสีเขียว สวมมงกฎุ นาคเปนบุตรพญาขร พญายักษแหงโรมคัล 86 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คดู า นทิศใต ประตศู รรี ตั นศาสดา มที วารบาล 2 ตัว คอื ตัวที่ 5 ชื่อ ทศคีรีธร กายสีอิฐแดงปลายจมูกมีงวงชาง บุตรทศกัณฐกับนางชางทาวอัศกรรณ มาลาสรู เจา เมอื งดุรัม ขอไปเลยี้ งเปนบุตรบุญธรรม ตัวที่ 6 ช่อื ทศครี วี ัน กายสีเขียวปลายจมูกเปนงวงชาง บตุ รทศกัณฐก บั นางชาง พี่นอ งฝาแฝด กบั ทศครี ีธร คดู านตะวนั ตกมี 3 ประตู ประตแู รกคอื ประตูทางเขา บรเิ วณวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ดา นหลงั ของพระอุโบสถ ประตูที่สองตรงกับทิศตะวันตกของพระศรีรัตนเจดีย และประตูท่ีสามตรงกับดานทิศเหนือ ของพระศรีรัตนเจดีย ทั้งหมดมที วารบาล 6 ตัว คือ ตวั ที่ 7 ชอ่ื จักรวรรดิ กายสีเขียวมสี ีเ่ ศียรแปดกร สวมมงกุฎเปน พญายักษ ครองกรงุ มลวิ นั ตัวที่ 8 ชื่อ อัศกรรณมาลา กายสีมวงแก มีเศียรสองช้ัน รวม 7 ช้ัน สวมมงกุฎเปนพญายักษ ครองเมืองดรุ มั ตัวท่ี 9 ชื่อ สหัสเดชะ กายสีขาว มีหนาเปนช้ัน 5 ช้ัน หน่ึงพันเศียร และสองพันกร เปน พญายักษครองเมอื งปางตาล ตัวที่ 10 ช่ือ ทศกณั ฐ กายสเี ขยี ว มีเศยี ร 3 ช้นั รวม 10 เศยี ร สวมมงกุฎยอดชัย เปนพญายกั ษ ครองกรุงลงกา ตวั ท่ี 11 ชอื่ วริ ุฬจำบงั กายสนี ้ำเงนิ สวมมงกฎุ บุตรพญาทษู ณ ครองเมอื งจารึก ตัวที่ 12 ช่ือ ไมยราพณ กายสีมวงออน สวมมงกฎุ เปนพญายกั ษค รองเมอื งบาดาล ยักษเหลานี้สรางข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 3 เปนฝมือของชางหลวงเทพรจนา (กัน) ซ่ึงการปน มลี กั ษณะงดงามมาก และประณตี คลายกนั กบั ยกั ษว ดั อรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศิลปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรัตนโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรก ารพิมพ, 2525. ที่มาของภาพ : แนง นอย ศักดศิ์ ร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรีรัตนศาสดาราม. หนา 40 และ 41. 87 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 3 วดั พระศรีรตั นศาสดาราม 5 พระบรมราชสัญลกั ษณ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองค ไดโปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามท้ังพระอาราม เพ่ือเฉลิมฉลองพระนครครบรอบ 100 ป ใน พ.ศ. 2425 ในการน้ีจึง โปรดเกลาฯ ใหส รางบษุ บกข้นึ 3 องค เพ่อื ประดิษฐานพระบรมราชสัญลักษณ ของรชั กาลท่ี 1 - 5 โดยบุษบกองคแ รกประดษิ ฐานพระบรมราชสญั ลกั ษณ ของรัชกาลที่ 1 - 3 อยูภายในบุษบกเดียวกัน คร้นั ตอ มาในรชั กาลปจจุบัน ราชสกุลตาง ๆ ในราชวงศจักรีชวยกันบริจาคทรัพยเพื่อจัดสรางบุษบก ขึ้นอีก 1 องค เพ่ือประดิษฐานพระบรมราชสัญลักษณของรัชกาลที่ 6 พระบรมราชสัญลักษณร ชั กาลปจจบุ นั ถึงรัชกาลปจจุบัน เพ่ือรวมเฉลิมฉลองเม่ือคราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป บษุ บกทั้ง 4 องคตง้ั อยูบนฐานประดบั หนิ ออ น 2 ชน้ั ชน้ั บนจารึกคำอทุ ิศถวาย และพระราชกรณียกิจ ของรัชกาลน้ัน ๆ ต้ังฉัตรโลหะฉลุโปรงปดทอง 7 ช้ัน ที่ส่ีมุมฐานลางต้ังฉัตร 5 ชั้น รอบฐานท้ัง 4 ดาน ต้ังชา งเผอื กสำรดิ ประจำรัชกาลตาง ๆ ไวโดยรอบ เหนอื ชางขน้ึ ไปเปน พระบรมราชสัญลักษณประจำรัชกาล บุษบกองคที่ 1 ต้ังอยูทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระมณฑป ประดิษฐานพระบรมราช สัญลักษณ 3 รชั กาล คือ รชั กาลท่ี 1 รัชกาลที่ 2 และรชั กาลที่ 3 บษุ บกองคท ่ี 2 ต้ังอยทู างทศิ ตะวันออกเฉยี งใต ประดิษฐานพระบรมราชสญั ลกั ษณรัชกาลท่ี 4 บุษบกองคที่ 3 ตง้ั อยทู างใต ประดษิ ฐานพระบรมราชสัญลกั ษณรัชกาลท่ี 5 บุษบกองคท ่ี 4 ประดษิ ฐานพระบรมราชสัญลักษณ 4 รชั กาล คอื รัชกาลที่ 6 รชั กาลที่ 7 รชั กาล ท่ี 8 และรชั กาลที่ 9 บรรณานกุ รม แนงนอย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกดั , 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2525. ท่ีมาของภาพ : แนงนอย ศักด์ิศร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม. หนา 79. 88 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 3 วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 6 ปราสาทพระเทพบิดร ปราสาทพระเทพบิดร ปราสาทพระเทพบิดร เดิมมีช่ือเรียกวา “พุทธปรางคปราสาท” สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เมอ่ื พ.ศ. 2398 ถอื เปนสถาปตยกรรมที่มคี วามสำคญั ยิง่ ในวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เทยี บเทา พระอโุ บสถ เนื่องจากสรางข้ึนดวยความประณีตบรรจง ประดับประดาดวยเครื่องกระเบ้ืองท้ังหลัง เพราะปราสาท พระเทพบิดรนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นดวยมีพระประสงคจะให เปนท่ีประดิษฐานพระแกวมรกต เพราะทรงเห็นวาพระอุโบสถท่ีประดิษฐานพระแกวมรกตนั้นมีฐาน เต้ียกวาพระมณฑป ซ่ึงประดิษฐานพระธรรม คร้ันสรางเสร็จพบวามีขนาดเล็กไมเพียงพอตอการประกอบ พระราชพธิ ีได ทม่ี าของภาพ : แนง นอย ศักดศิ์ รี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. หนา 65. 89 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ปราสาทพระเทพบิดรเปนปราสาทจัตุรมุข ภายในปราสาทพระเทพบิดร ยอดปรางค นภศูลมีมงกุฎยอดปรางคประดับกระเบ้ือง เคลือบ มีมุขหนาอยูทางทิศตะวันออก มีซุมทิศโดยรอบ สวนตอนบนยอดมีกาบขนุนประดับเปนปรางคแบบไทย หนาบันของปราสาทพระเทพบิดรมีลักษณะพิเศษกวา สถาปตยกรรมอื่น ๆ ดวยเปนพระราชลัญจกรประจำ รัชกาลที่ 1 - 4 แหงราชวงศจักรี มุขทางดานทิศเหนือ ประดิษฐานอุณาโลมพระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 1 มุขดาน ใตเปนรูปครุฑยุดนาคพระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 2 มุ ข ด า น ต ะ วั น ต ก เ ป น รู ป พ ร ะ วิ ม า น พ ร ะ ร า ช ลั ญ จ ก ร ในรัชกาลท่ี 3 มุขดานตะวันออกเปนรูปพระมหามงกุฎ พระราชลัญจกรรชั กาลท่ี 4 มขุ ตา ง ๆ ประกอบดวย ชอ ฟา ใบระกา หางหงส นับเปนปราสาทยอดปรางคองคเดียว ในประเทศไทย ซุมพระทวารและซุมพระบัญชรเปน รปู ทรงมงกุฎ บานประตูหนา ตา งเขียนลายรดน้ำปดทอง ในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2446 เกิดไฟไหม พระพุทธปรางคปราสาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวจึงโปรดเกลาฯ ใหซอมแซมปราสาทข้ึนใหม มาสำเร็จในรชั กาลท่ี 6 เมอื่ บรู ณะเสรจ็ แลว ทรงโปรดเกลา ฯ ใหเปล่ียนนามใหมเปนปราสาทพระเทพบิดร และให อัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยแหง กรงุ รัตนโกสินทรท งั้ 5 พระองคป ระดิษฐานภายในปราสาทนี้ ปจจุบันยังใชเปนที่ประดิษฐานพระบรมรูปรัชกาลท่ี 1 ถงึ รชั กาลที่ 8 บรรณานุกรม แนงนอย ศักด์ิศรี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอรบุคส จำกัด, 2543. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรงุ รัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพมิ พ, 2525. ทีม่ าของภาพ : แนงนอย ศกั ด์ศิ รี, ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรีรัตนศาสดาราม. หนา 67. 90 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดที่ 3 วัดพระศรีรตั นศาสดาราม POST-TEST คำชี้แจง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกตองทีส่ ดุ เพียงขอ เดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. วัดพระศรรี ตั นศาสดารามตัง้ อยูบรเิ วณใดของพระบรมมหาราชวงั ก. นอกพระราชฐาน ข. พระราชฐานชน้ั ใน ค. พระราชฐานช้นั กลาง ง. พระราชฐานช้ันนอก 2. พระพทุ ธรูปทีเ่ ปน ประธานในพระราชพิธพี ริ ุณศาสตรคอื ขอใด ก. พระแกวมรกต ข. พระพทุ ธชินราช ค. พระคันธารราษฎร ง. พระสยามเทวาธริ าช 3. นครวดั จำลองโปรดใชจำลองแบบมาจากศลิ ปกรรมชาติใด ก. เขมร ข. พมา ค. ลาว ง. ญวน 4. พระแกวมรกตภาพฝม อื ขรัวอนิ โขงภายในวดั พระศรรี ตั นศาสดารามอยใู นขอใด ก. พระอุโบสถ ข. พระระเบียง ค. หอพระคันธารราษฎร ง. หอราชพงศานุสร 5. รัชกาลใดทรงโปรดเกลาฯ ใหสรา งเครอ่ื งทรงฤดูรอนถวายพระพทุ ธมหามณีรตั นปฏมิ ากร เปน พทุ ธบชู า ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ข. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั ค. พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลาเจาอยหู วั ง. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห วั 91 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. ขอใดไมใชภ าพจติ รกรรมฝาฝนังในพระอโุ บสถวดั พระศรีรตั นศาสดาราม ก. ภาพกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ข. ภาพเร่ืองไตรภมู ิ ไดแ ก กามภูมิ รปู ภมู ิ และอรูปภูมิ ค. ภาพประวัติของพระพทุ ธเจา ในอดีตชาติ ง. ภาพเรือ่ งรามเกียรติ์ 7. ยกั ษว ัดพระแกวเปน ฝมอื ของชางหลวงในสมยั รัชกาลใด ก รชั กาลท่ี 1 ข. รชั กาลท่ี 2 ค. รัชกาลที่ 3 ง. รชั กาลท่ี 4 8. พระบรมราชสัญลกั ษณป ระจำรชั กาลตา ง ๆ ประดษิ ฐานบรเิ วณใด ก. พระอโุ บสถ ข. พระมณฑป ค. ปราสาทพระเทพบดิ ร ง. หอพระมณเฑียรธรรม 9. ขอใดคอื พระประสงคข องรชั กาลท่ี 4 โปรดเกลา ฯ ใหสรา งปราสาทพระเทพบดิ ร ก. เพอื่ ประดษิ ฐานพระแกวมรกต ข. เพื่อประดษิ ฐานพระบรมราชสัญลกั ษณ ค. เพ่ือประดิษฐานพระปรางคบ รรจุพระบรมสารีริกธาตุ ง. เพื่อประดษิ ฐานพระบรมรปู สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ  10. พระบรมราชลัญจกรท่เี ปน รูปพระมหามงกุฎเปนพระราชลัญจกรรชั กาลใด ก. รชั กาลท่ี 1 ข. รชั กาลท่ี 2 ค. รชั กาลที่ 3 ง. รชั กาลท่ี 4 เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ค 5. ก 6. ง 7. ค 8. ข 9. ก 10. ง 92 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ท่ี 4 พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรุงรตั นโกสนิ ทร ความสอดคลอ งกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การศึกษาชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ชุดที่ 4 พระอารามหลวง ประจำรัชกาลกรุงรัตนโกสินทร นักเรียนจะไดรับความรูซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป ดงั นี้ ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชวิธกี ารทางประวตั ิศาสตรม าวิเคราะหเ หตุการณตาง ๆ อยางเปนระบบ ม.3/ส 4.1 ขอ 1 วิเคราะหเรื่องราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตร ไดอ ยา งมเี หตผุ ลตามวิธีการทางประวตั ิศาสตร ม.3/ส 4.1 ขอ 2 ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ทตี่ นสนใจ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจ และธำรงความเปน ไทย ม.3/ส 4.3 ขอ 3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอทิ ธิพลตอ การพัฒนาชาติไทย 93 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 4 พระอารามหลวงประจำรชั กาลกรงุ รตั นโกสนิ ทร PRE-TEST คำชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกตอ งทีส่ ดุ เพียงขอเดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ขอ ใดคอื วัดประจำรชั กาลที่ 1 ก. วัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหาร ข. วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ค. วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ง. วัดราชบพธิ สถิตมหาสมี ารามราชวรวิหาร 2. ขอใดเปน วดั ประจำรชั กาลที่ 5 และรชั กาลที่ 7 ก. วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ข. วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ค. วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร ง. วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี ารามราชวรวิหาร 3. วัดใดสถาปนาข้ึนเพ่ืออทุ ศิ ถวายคณะสงฆธ รรมยุติกนกิ าย ก. วัดราชประดิษฐสถติ มหาสมี ารามราชวรวหิ าร ข. วดั ราชบพธิ สถิตมหาสมี ารามราชวรวิหาร ค. วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ง. วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร 4. วัดประจำรชั กาลในขอ ใดที่เปน วัดเกา ท่ีสรา งข้นึ ในสมยั อยธุ ยา ก. วัดราชประดษิ ฐสถติ มหาสีมารามราชวรวหิ าร ข. วดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมารามราชวรวหิ าร ค. วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร ง. วดั ราชนัดดารามวรวหิ าร 5. สถาปตยกรรมวัดใดมรี ปู แบบเปนศิลปะแบบจนี ก. วดั ราชประดิษฐสถิตมหาสมี ารามราชวรวิหาร ข. วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมารามราชวรวหิ าร ค. วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ง. วัดราชนัดดารามวรวหิ าร 94 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร