Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Description: การเรียนรู้ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ผ่านสื่อ Virtual Field Trip

Search

Read the Text Version

สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ลิขสิทธข์ิ องสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท 0 2288 5735 โทรสาร 0 2281 2602 สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ดำเนนิ การจัดพิมพ ISBN 978-616-202-861-8 พมิ พครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2556 จำนวนพมิ พ 34,000 เลม พมิ พที่ โรงพิมพช มุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด 79 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผูพิมพผ โู ฆษณา

คำนำ คุณคาในการเรียนรูประวัติศาสตรไทย คือ การกอใหเกิด “การเขาใจ รากเหงาความเปนไทย รักและภาคภูมิใจในชาติไทย” ซ่ึงการพัฒนาผูเรียน ใหเกิดคุณลักษณะดังกลาว ครูผูสอนประวัติศาสตรจะตองเขาใจและสามารถ จัดกระบวนการเรียนรูไดถูกตองตามธรรมชาติของวิชา หลักการ หลักคิด และวิธีการ ทางประวัติศาสตร ซึ่งเปนวิธีการศึกษาเรื่องราวสำคัญท่ีเกิดข้ึนในอดีตดวยการสืบคน จากหลักฐานรองรอยทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ ผานการคิด วิเคราะห วินจิ ฉยั บนพ้นื ฐานของความเปน เหตแุ ละผลจากขอ เท็จจรงิ ทหี่ ลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทำ ส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร เปนส่ือการเรียนรูออนไลนท่ีเสนอเน้ือหาสาระในรูปแบบ ท่ีหลากหลายท้ังวีดิทัศน สาระความรูเพิ่มเติมจากวีดิทัศน ภาพ 360 ํ แบบทดสอบ กอนเรยี น - หลงั เรยี น มมุ สนทนาแลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกนั ซึ่งเปนสอื่ ทสี่ ง เสริมใหท ุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเองไดทุกเวลาทุกสถานที่ตามความสนใจ อีกทั้งชวยกระตุน ใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเรื่องราวความเปนมาของชาติไทยที่สะทอนใหเห็นถึง ความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตที่ไดสรางสรรคเปนมรดก ทางวัฒนธรรมสืบตอมาจวบจนปจจุบัน นอกจากน้ี ยังเปนเคร่ืองมือชวยใหครูผูสอน สามารถจัดการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตรไดบ รรลผุ ลตามเจตนารมณข องหลกั สูตร เอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip” เปนสวนหน่ึงของสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง ซึ่งจัดพิมพข้ึนเพ่ือ รองรับกลุมผูเรียนที่ไมสามารถเรียนรูผานระบบออนไลนได ภายในเลมแบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสำหรับครู และสวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสำหรับนักเรียน ในสวนของ เนื้อหานำเสนอ 5 ประเด็นหลัก คือ เกาะรัตนโกสินทร พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรุงรัตนโกสินทร อาหารไทย : ครวั ไทยสูครวั โลก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผูเขียน ผูตรวจ และผูท ม่ี สี ว นเก่ยี วของในการจดั ทำเอกสารนใี้ หส ำเร็จลุลว งดวยดีไว ณ โอกาสน้ี (นายชนิ ภัทร ภมู ิรตั น) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

สารบัญ หนา สว นท่ี 1 การจดั การเรยี นรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสนิ ทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั ครู ♦ แนวทางการใชช ุดส่อื การเรียนรปู ระวัตศิ าสตรรัตนโกสินทร 2 ♦ คำชี้แจงการใชช ดุ สื่อการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรรตั นโกสินทร 9 10 ❂ กรอบเนือ้ หาสาระของเอกสารการเรียนรปู ระวัตศิ าสตรรตั นโกสินทร 12 ❂ การวิเคราะหหลักสตู รสาระประวตั ิศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 17 ❂ การวเิ คราะหเนอื้ หาและการนำเสนอในชุดส่อื การเรียนรูป ระวัติศาสตรร ัตนโกสินทร 20 ❂ โครงสรา งของเอกสารการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรรัตนโกสนิ ทร 21 ❂ วิธกี ารใชช ุดสอื่ การเรียนรปู ระวัติศาสตรร ัตนโกสนิ ทร 23 ♦ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรร ตั นโกสนิ ทร สว นท่ี 2 การเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรรัตนโกสนิ ทร ผา นส่อื Virtual Field Trip สำหรับนักเรยี น 36 39 ♦ ความรูพืน้ ฐานประวัติศาสตรรตั นโกสินทร 58 ❂ ชุดท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร 76 ❂ ชุดที่ 2 พระบรมมหาราชวงั 93 ❂ ชดุ ที่ 3 วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม 108 ❂ ชุดที่ 4 พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรงุ รตั นโกสินทร 119 ❂ ชุดที่ 5 อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก 120 ♦ บรรณานกุ รม ♦ คณะผูจ ัดทำ

เกริ่นนำ บางคร้ังในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตร นักเรียนหลายคนมักตั้งคำถามวา “จริงหรือไม” “เชื่อไดหรือไม” “รูไดอยางไร” รวมถึงยังสงสัยคลางแคลงใจวาที่เรียนกันมาในหนังสือเรียน ประวตั ศิ าสตรน ้ัน เปน เร่ืองถกู ตอ งหรอื ไม อันที่จริงเร่ืองราวในประวัติศาสตรแมไดผานระยะเวลามาเน่ินนานมาก บางเรื่องยาวนาน มากกวา 10,000 ป แตยังคงปรากฏรองรอยบางประการหลงเหลือใหไดศึกษา รองรอยที่หลงเหลือ ใหศึกษาไดในปจจุบันน้ีเราเรียกวา หลักฐานทางประวัติศาสตร ซึ่งมีทั้งส่ิงของเคร่ืองใช อาวุธ เคร่ืองประดบั โครงกระดูก รอ งรอยคนั นำ้ คดู ิน กำแพงเมอื ง แสดงรองรอยการสรา งบานเมือง ส่งิ กอ สราง ทท่ี รุดโทรมปรกั หักพัง รปู เคารพ เชน เทวรูป พระพทุ ธรูป ภาพตามผนังถำ้ หรอื ตามศาสนสถาน เหลา น้ี คือ หลักฐานโบราณคดี ซึ่งนักโบราณคดีที่มีความรูไดศึกษาวิเคราะหดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร และโบราณคดี แลวจึงตีความอธิบายใหเราไดเขาใจ นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานที่เปนตัวหนังสือ เรียกวา หลักฐานลายลักษณอักษร เชน ศิลาจารึก เอกสารโบราณเขียนในใบลานหรือวัสดุตาง ๆ รวมทั้งจารึก ตามเสา ท่ีตองใชนักภาษาศาสตรที่เชี่ยวชาญทางตัวหนังสือโบราณชาติตาง ๆ ศึกษา และวิเคราะห ตีความอธิบายใหเราไดรับรูเร่ืองราวท่ีบอกเลาผานวัตถุน้ัน ๆ สวนนักประวัติศาสตร คือผูที่สืบคน ความจริงในอดีต โดยรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่มีท้ังหลักฐานของนักโบราณคดี นักภาษาศาสตร นักภูมิศาสตร นักวิทยาศาสตร รวมทั้งบันทึกท่ีเปนจดหมาย แผนที่ ภาพวาด หรือเอกสารในภาษาตาง ๆ ของนักเดินทางท่ีเกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาทั้งหมดมาประมวลเขาดวยกัน และศึกษาวิเคราะหอยางเปนระบบดวยวิธีการที่เรียกวา วิธีการทางประวัติศาสตร เพ่ือใหไดความจริง ในอดตี ทมี่ ีเหตุผลเชอ่ื ถือได เปน ประวัตศิ าสตรใ หอ นุชนรนุ ตอมาไดเรยี นรูกัน ดังนั้น เร่ืองราวที่นักเรียนไดเรียนรูจึงไมใชเปนเรื่องท่ีเชื่อถือไมได เพราะแตละเร่ืองไดผาน กระบวนการศึกษาวิเคราะหจากหลักฐานทางประวัติศาสตรทั้งสิ้น แตบางเรื่องอาจมีการเปล่ียนแปลงได หากมกี ารพบหลกั ฐานใหม หรอื การศกึ ษาวิเคราะหใ หมที่นาเช่ือถือมากกวา วีดิทัศนชุด สื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip และเน้ือหาสาระ ประเด็นตาง ๆ ทเ่ี พ่มิ เติมในเอกสารการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip เลมนี้ จะชวยใหนักเรียนเขาใจประวัติศาสตรรัตนโกสินทรไดดีย่ิงขึ้น เพราะไดเห็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตรที่สะทอนความสามารถและภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีตท่ีไดสรางสรรค เปน มรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ มาจวบจนปจ จบุ ัน

“บางครัง้ ในการเรยี นประวตั ิศาสตร นกั เรยี นหลายคนตง้ั คำถามวา “จริงหรอื ไม” “เช่ือไดหรอื ไม” “รไู ดอ ยา งไร” รวมถงึ ยังสงสัยคลางแคลงใจวาท่ีเรียนมาน้นั เปนเร่ืองถกู ตองหรือไม ”

สวนที่ 1 สำหรบั ครู

แนวทางการใชช ดุ ส่ือการเรยี นรูป ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip เปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปแลววา คุณคาทางการเรียนรูประวัติศาสตรคือการกอใหเกิด “การเขาใจรากเหงาความเปนไทย รัก และภูมิใจในชาติตน” ซึ่งประโยชนดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ ครูผูสอนประวัติศาสตรเขาใจและสามารถจัดกระบวนการเรียนรูไดถูกตองตามธรรมชาติของวิชา หลักการ และหลักคิด (Concept) และวิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) ซ่ึงเปนวิธีการศึกษา เร่ืองราวสำคัญท่ีเกิดขึ้นในสังคมมนุษยในอดีต ดวยการสืบคนจากหลักฐานรองรอยตาง ๆ อยางเปนระบบ ผานการคิดวิเคราะห คิดวิพากษวิจารณ และคิดวินิจฉัยบนพ้ืนฐานของความเปนเหตุและผลจากขอเท็จจริง ทีห่ ลากหลาย จากวดี ิทศั นป ระกอบส่อื การเรียนรนู อกหองเรียนเสมือนจรงิ : Virtual Field Trip ประวตั ิศาสตร เปนส่ือการเรียนรูอีกรูปแบบหน่ึงท่ีจะชวยกระตุนใหผูเรียนสนใจความเปนมาของชาติบานเมือง และ การศึกษาจากเอกสาร “การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip” อันเปนเน้ือหาสาระท่ีเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสาระประวัติศาสตรที่นำเสนอในวีดิทัศน จะเปนเครื่องมือ ที่ชวยใหครูผูสอนประวัติศาสตรสามารถจัดการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตร ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น อันที่จริงองคประกอบของการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรน้ันเหมือนกับสาระอื่น ๆ คือ ประกอบดวย (1) หลักสูตร (2) ครูผูสอน (3) วิธีสอน (4) ส่ือการเรียนการสอน และ (5) การวัดและ ประเมินผล ทั้งน้ี เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรชุดน้ี จะมีบทบาทเปนสื่อการเรียนการสอน ที่ครูผูสอนสามารถนำไปใชท้ังในหองเรียน นอกหองเรียน ประกอบกิจกรรมการเรียนรอู ื่น ๆ หรือมอบหมาย ใหผ เู รยี นศกึ ษาดว ยตนเองตามความสนใจ อยางไรก็ตาม องคประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว ครูผูสอนนับวามีความสำคัญ ที่สุดท่ีจะตองเปนผูจัดการดึงศักยภาพของผูเรียนใหสามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการสังเกต การศึกษาจากสถานการณจริง และการคิดวิเคราะหเพ่ือบูรณาการความรู ไดด วยตนเองโดยสอดคลองกบั ระดบั วฒุ ภิ าวะท่ีเหมาะสม คุณสมบัติสำคัญท่ีสุดที่ครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีอยางนอยท่ีสุด 3 ประการ ประการแรก คือ ความเขา ใจหลักสตู ร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้วี ัดชั้นป ประการท่สี อง คือ การมีพืน้ ฐานความรูในเรือ่ ง เนือ้ หาสาระ และ Concept ทางประวตั ิศาสตรท ี่ดพี อสมควร ซ่ึงในกรณนี หี้ ากครูผูสอนมไิ ดม ีพื้นฐานมากอ น 2 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ก็สามารถศึกษาไดดวยตนเอง ในท่ีนี้ขอแนะนำเอกสาร 2 เลม ที่สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ไดจัดพิมพและแจกใหสถานศึกษาทุกแหง รวมทั้งแจกใหผูเขาประชุมสัมมนาประวัติศาสตรที่สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดจัดขึ้นในระหวาง พ.ศ. 2545 - 2554 คือ เอกสาร คูมือการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร : ประวัติศาสตรไทยจะเรียนจะสอนกันอยางไร (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2543) และคูมือครู การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร (เอกสาร โรเนียว, 2554) และประการสุดทาย คือ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบรรลุตามหลักสูตร (เปา หมายในการพฒั นาผเู รยี น สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค) และคณุ คา ของ ประวตั ศิ าสตร ดังนั้น เพือ่ สรา งความเขาใจดังกลา วจึงวิเคราะหหลักสตู รใหเห็นชดั เจนดังนี้ 1. เปา หมายในการพฒั นาผเู รียน เน่ืองจากประวัติศาสตรเปนวิชาหนึ่งในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งความใน “ทำไมตองเรียน สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม” ทค่ี รูผูสอนประวตั ิศาสตรค วรจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หสอดคลอ งกบั เปา หมายดงั น้ี ทำไมตองเรยี นสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชวยใหผเู รยี นมีความรู ความเขา ใจ การดำรงชีวิตของมนุษยทั้งในฐานะปจเจกบุคคลและการอยูรวมกันในสังคม การปรับตัว ตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจำกัด เขาใจถึงการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลง ตามยคุ สมยั กาลเวลาตามเหตุปจจัยตาง ๆ เกดิ ความเขาใจในตัวเองและผูอ ื่น มีความอดทนอดกลนั้ ยอมรับในความแตกตา ง และมคี ุณธรรม สามารถนำความรไู ปปรับใชใ นการดำเนนิ ชวี ติ เปนพลเมอื งดี ของประเทศชาติและสังคมโลก ภารกิจของครูผสู อนในการจดั การเรยี นรูจ งึ ควรเนน การพัฒนาผูเ รยี นดังนี้ 1) พัฒนาตนเองเปนปจเจกบุคคลท่ีมีคุณภาพ เชน ใฝเรียนรู เพ่ิมศักยภาพตนเองใหกาวหนา ทนั สมยั ทนั เหตุการณ 2) สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข เชน การยอมรับในความสามารถ ของตนเองและผูอนื่ ยอมรับและเคารพในความแตกตา ง อดทนอดกล้นั 3) เขาใจและเห็นคุณคาของการอยูรวมกันในสังคม เชน การเปนพลเมืองไทยและพลโลกที่มี ประสทิ ธิภาพ มีจิตสำนึกในความเปนชาติ มจี ิตสาธารณะ เสียสละสวนตนและพวกพอง เพื่อรักษาประโยชน ของสังคมและประเทศชาติ 3 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

4) เขาใจและเห็นคุณคาทรัพยากรและส่ิงแวดลอม เชน การมีจิตสำนึกและจิตอาสาในการ รกั ษาธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม 5) รูเทาทันและปรับตัวในโลกปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ โลกปจจุบันยุคโลกาภิวัตน ท่ีกาวไกล และเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะทางดานขอมูลและการส่ือสารท่ีมีทั้งเท็จและจริง ปะปนกันอยู ดังนั้น นอกจากการพัฒนาผูเรียนใหสามารถใชเทคโนโลยีไดแลว ยังควรใหความสำคัญกับ การตรวจสอบขอ มลู เพ่อื ใหเ ปน บุคคลทร่ี ูเ ทาทนั ขอ มลู ขา วสารดวย 2. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดระบุวาการพัฒนาผูเรียน ใหบรรลมุ าตรฐานการเรียนรู จะชวยใหผูเรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ คือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแกปญ หา 4) ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี สมรรถนะสำคัญท่ีหลักสูตรกำหนดดังกลาวเปนส่ิงที่หลักสูตรคาดหวังวากิจกรรมการจัด การเรียนรูควรพฒั นาผเู รยี นใหมีความสามารถทั้ง 5 ดาน ในทน่ี ้ขี อยกตวั อยางสมรรถนะสำคญั เพยี ง 1 ดา น เพือ่ แสดงใหเหน็ วา สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นจะนำไปสูการออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรไู ดอยางไร ความสามารถในการสอื่ สาร ประกอบดว ย 1. การรับสาร เชน การฟง - การอาน จบั ใจความสำคัญได การดู - การเหน็ - การสำรวจ แยกแยะรายละเอียดของเร่ืองราวได 2. การสง สาร เชน การเลา เร่อื ง การเขียนเรอื่ ง การจดั นิทรรศการ 3. การตอรอง เชน การแสดงเหตผุ ล การใชภาษาโนมนาวเพอ่ื ลดความขัดแยง 4. การเลือกรับ - ไมร ับขอมูล เชน การตรวจสอบความนาเช่อื ถือแหลง ท่ีมาของขอมูล จะเห็นวาขอพิจารณาดังกลาว จะทำใหครูผูสอนไดกรอบแนวคิดนำมาซ่ึงวิธีการออกแบบกิจกรรม การเรียนรูในการฝกทักษะผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การใหศึกษาวีดิทัศน และใหตอบคำถาม ตามลำดบั ขนั้ ตอนท่ีถูกตอง โดยเริ่มจากคำถามทเี่ ปนขอเทจ็ จริง (เชน ใคร ทำอะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร) อันเปนการทบทวนเรื่องที่ไดศึกษาจากส่ือ จากนั้นจึงเปนคำถามวิเคราะห (ทำไม) ตามดวยการแสดง ความคิดเห็นตอเร่ืองท่ีไดศึกษาอยางมีเหตุผล (นักเรียนคิดวา) หรืออาจแสดงความคิดเห็นตอส่ือวีดิทัศน ทางดานคณุ ภาพหรอื ความนา เช่อื ถอื ของขอมูลหลักฐาน เปน ตน 4 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค หลักสูตรไดระบุไวชดั เจนถงึ “คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค” อนั เปรยี บเสมอื นเจตคติ คา นิยม ท่สี ำคัญในการเปน พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน กษตั ริย 2) ซ่ือสัตยสจุ ริต 3) มีวินยั 4) ใฝเ รียนรู 5) อยอู ยางพอเพียง 6) มุงม่นั ในการทำงาน 7) รกั ความเปนไทย 8) มีจติ สาธารณะ ท้ังเปาหมายในการพัฒนาผูเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค ลวนเปนส่ิงท่ีคาดหวังวาจะปรากฏในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอนในทุกสาระวิชา เพ่ือให “บรรลุผลตามหลักสูตร” สวนคุณคาของประวัติศาสตรที่หวังวาจะเกิดในตัวผูเรียน คือกระบวนการ สรางภูมิปญญาทจี่ ะพัฒนาผเู รียนใหเ ปน ปญญาชนของชาติ ไดแก 1) สงเสริมจิตใจใฝรู (Inquiring Mind) ในเรื่องราวท่ีเก่ียวของกับสังคมมนุษยท้ังในระดับ ทอ งถิ่น ประเทศชาติ และสังคมมนษุ ยอ ่นื ๆ 2) มีทักษะในการจัดระบบขอมูล ตรวจสอบ และประเมินคา เพ่ือหาขอเท็จจริง ในประวัติศาสตร 3) ปลูกฝงแนวคิดวิเคราะห (Critical Thinking) คิดวิพากษวิจารณบนพื้นฐานขอเท็จจริง ที่ไดจากหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร 4) มีทักษะในการวินิจฉัยขอเท็จจริงจากขอสนเทศท่ีหลากหลาย ที่สืบคนไดจากหลักฐาน ทางประวัติศาสตร 5) มีทักษะในการเขียนความเรียง การเลาเร่ือง และการนำเสนอดวยวิธีการตาง ๆ ไดอ ยางมเี หตผุ ล กระชับชดั เจน นาสนใจ และเชือ่ ถอื ได ท่ีสำคัญประวัติศาสตรในยุคโลกาภิวัตน หรือโลกของขอมูลขาวสารท่ีรวดเร็ว และมีอิทธิพล ตอคานิยมและวิถีการดำเนินชีวิตของผูคนอยางกวางขวางนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประวัติศาสตรอยางถูกตอง จะมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผูเรียนใหเปนผูรูจักใชวิจารณญาณในการรับรู และประเมินความนาเชื่อถือหรือความไมนาเชื่อของขอมูลตาง ๆ ในขั้นตอนที่เรียกวา “วิพากษวิธี ทางประวัติศาสตร” ดวยการท่ีครูผูสอนตั้งคำถามเพื่อประเมินแหลงท่ีมาของขอมูลของผูเรียนทุกคร้ัง เชน “ขอมูลมาจากแหลงใด ใครทำข้ึน ผูทำมีความรูดานใด หรือรูเรื่องนั้นดีหรือไม ทำขึ้นทำไม ของจริง หรือของปลอม” ซึ่งเปนขั้นตอนของการวิพากษตัวหลักฐาน กอนที่จะตรวจสอบวาขอเท็จจริงที่ไดน้ัน 5 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สอดคลองหรือขัดแยงกับหลักฐานอ่ืน ๆ หรือไม ทำไมจึงเหมือนกัน ทำไมจึงแตกตาง ส่ิงเหลาน้ีถือวา เปนกระบวนการศึกษาขอมูลท่ีจำเปน อันเปนการพัฒนาภูมิปญญา เพ่ือท่ีจะฝกฝนผูเรียนใหยึดถือเหตุผล เปนสำคญั ขจัดความอคติสว นตวั และความเช่ือด้งั เดิมออกไป อยางไรก็ตาม ครูผูสอนประวัติศาสตรควรเขาใจดวยวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรที่ดี โดยเนนกระบวนการพัฒนาภูมิปญญาดังกลาว จะกอใหเกิดคุณคาดานเจตคติและคานิยมที่ดีใหแกผูเรียนดวย ทงั้ ตอ ตนเอง ครอบครัว ทอ งถิน่ และประเทศชาติ ตอบสนองคุณลกั ษณะอันพึงประสงคที่ระบุไวในหลกั สตู ร คือ “ความรักชาติ ศาสน กษัตริย และรักความเปนไทย” (ขอ 1 และขอ 7) นอกจากนี้ ยังสามารถ สรางเจตคตแิ ละคานิยมอันเปน คุณคาสำคัญของประวตั ิศาสตรไดดวย ดังน้ี 1. รกั และภูมิใจในบรรพบุรุษ 2. ใชเหตผุ ลในการดำเนนิ ชีวติ 3. สรา งความรูสึกรว มเปนอันหน่งึ อันเดยี วกนั ในสังคม 4. ตระหนักในคณุ คา ของมรดกทางวัฒนธรรมของทองถิน่ และชาติ 5. ยอมรับและเขาใจความแตกตางของมนุษยชาติท่ีเปนผลจากปจจัยทางภูมิศาสตร และสังคม 6. อยรู วมกับสังคมอน่ื ไดอ ยางสันตสิ ุข และมีจติ สำนึกตอสังคมไทยโดยรวม แมวาการเรียนรูประวัติศาสตรสามารถทำไดหลายรูปแบบ ท้ังการอานหนังสือดวยตนเอง การฟงคำบรรยายจากครูหรือผูเช่ียวชาญเฉพาะสาขา การสำรวจและศึกษาจากสถานท่ีจริง การวิเคราะห จากเสนเวลา (Time Line) การชมภาพยนตรหรือวีดิทัศน การสืบคนโดยผานกระบวนการเรียนรู ทางการศกึ ษา เชน การบรรยาย การอภปิ ราย การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การเลนละคร การศึกษานอกสถานที่ หลากหลายวิธีท่ีครูผูสอนสามารถนำมาใชในการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ แตส่ิงสำคัญท่ีสุดคือ การพัฒนาภูมิปญญาของผูเรียนใหเขาถึงคุณคาของประวัติศาสตรอยางแทจริง ซึง่ จะเกดิ ไดจ ากการจดั การของครผู สู อนท่มี ีประสทิ ธิภาพเปนสำคัญ โดยเฉพาะอยางย่ิงการจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดเขาถึงสภาพสังคมในความเปนจริง ที่ปรากฏในปจจุบันซึ่งลวนเปนผลมาจากอดีตทั้งส้ิน ดังนั้น การกระตุนใหผูเรียนไดสนใจเหตุการณในสังคม ปจจุบัน แลวหันมาสืบคนวา ปญหาและส่ิงแวดลอมในสังคมปจจุบันนั้นเกิดข้ึนเพราะเหตุใด อันเปนการ ยอนศึกษาอดีตเพ่ือสรางความเขาใจปจจุบัน และหาแนวทางกาวสูอนาคตท่ีดีกวา จึงนับเปนวิธีการจัดการเรียนรู ทม่ี คี ณุ คาตอประวัติศาสตรไ ดอยางแทจรงิ วิธีการกระตุนใหผูเรียนสนใจสภาพสังคมไทยในปจจุบันทำไดหลายวิธี เชน มอบหมายใหไป รวบรวมภาพเหตุการณในสังคมแลวนำมาศึกษาวิเคราะห หรือมอบประเด็นศึกษาใหผูเรียนไปสำรวจชุมชน หรือสถานทท่ี ่ีมผี ูคนหลากหลาย เชน ตลาด สำนักงานอำเภอ สำนกั งานเทศบาล แลวนำขอ มูลมาวเิ คราะห เชื่อมโยงอดีตกับปจจุบัน หรือนำวีดิทัศนที่เกี่ยวของกับชุมชน ทองถ่ิน แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร การศึกษานอกสถานที่ รวมทั้งการจัดนิทรรศการภาพเหตุการณสำคัญในประวัติศาสตร ลวนเปนวิธี ที่สามารถกระตนุ ใหผเู รียนเกิดความอยากรอู ยากเหน็ และนำไปสูการสบื คนอดตี ไดเปนอยา งดี 6 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สำหรับการจัดการเรียนการสอนโดยการศึกษานอกสถานท่ี แมวาจะทำใหเกิดการเรียนรู อยา งเปนรูปธรรม ซง่ึ จะกระตุนใหเกดิ ความตอ งการสืบคน เรือ่ งราวในอดตี ผเู รยี นจะไดส ัมผัสกบั แหลง เรียนรู ในรูปแบบตาง ๆ เกิดประสบการณตรง มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณกับบุคคลภายนอกโรงเรียน ซง่ึ เทากบั เปน การเพิ่มพนู ความรไู ปในตัวดวย อีกทั้งยงั ไดรบั ความสนุกสนานจากการเรียนรู แตย งั มีขอ จำกดั หลายประการ เชน แหลงเรียนรูตาง ๆ อยูไกลทำใหประสบปญหาในการเดินทาง การดูแลนักเรียน การประกันความปลอดภัย มีการลงทุนสูง รวมถึงขาดวิทยากรท่ีมีความรูที่จะขยายประสบการณ ทเี่ กยี่ วเนื่องกบั แหลง เรียนรนู ้ัน ๆ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีแนวคิดในการนำส่ือเทคโนโลยีมาใช ในการจัดการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตร จงึ ไดจดั ทำสอื่ การเรียนรูนอกหอ งเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรส โุ ขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร เพอ่ื ใหผ เู รยี นไดเ รียนรูแ ละรบั ประสบการณต าง ๆ จากนอก หองเรียน โดยมีการออกแบบใหเสมือนไดเรียนรูในสถานที่จริง เปนการชวยใหครูผูสอนไดกาวพนขอจำกัด ของการเรยี นรนู อกสถานท่ีที่ตองเดนิ ทางไปในแหลง เรยี นรูจริง ซึง่ การเรียนรเู สมอื นจริงมีจุดเดนดงั นี้ 1. ผูเรียนไดเรียนรูนอกหองเรยี น ไดพบกบั ส่งิ แวดลอมที่แปลกใหมแ ตกตา งหลากหลาย 2. ผูเรียนสามารถยอนกลับไปศึกษาความรูเก่ียวกับสถานท่ีน้ันซ้ำไดอีกจนกวาการเรียนรู จะบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคของผูเรยี น 3. ผูเรียนไดเรียนรูในแงมุมท่ีิไมสามารถเรียนรูไดตามปกติ อาจเน่ืองมาจากเหตุผล ดานความปลอดภยั ความหางไกล 4. ผูเรยี นสามารถเรียนรสู ถานทตี่ า ง ๆ ที่สนใจไดทุกเวลาทกุ สถานที่ 5. ผูเรียนไมจำเปนตองเดินทางไปยังแหลงเรียนรูดวยตนเอง ทำใหปลอดภัยจากอันตราย ทีอ่ าจจะเกิดข้ึนจากการเดินทางได 6. ผูเรียนสามารถซักถามความรจู ากวทิ ยากรหรอื ผูเช่ียวชาญไดก รณีมีการออนไลน เอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip ชุดน้ี จัดทำขึ้น เพื่อเปน “ส่ือ” หรือเคร่ืองมือสำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สามารถนำไปใช ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรไดตามศักยภาพ ซึ่งอาจนำไปใชเปนส่ือหลัก ในการจัดกิจกรรม หรือนำไปเปนส่ือกระตุนการนำเขาสูบทเรียน ส่ือท่ีใชในระหวางจัดกิจกรรมการสอนอื่น ๆ สื่อท่ีใหแสดงความคิดเห็น หรือเปนส่ือสรุปความเขาใจก็สามารถทำได ทั้งนี้ สื่อวีดิทัศนจะกระตุนใหผูเรียน สนใจเรียนรูประวัติศาสตรไดเปนอยางดี เพราะเปนเครื่องมือท่ีสรางขึ้นเพื่อแสดงความเจริญรุงเรืองของ อาณาจักรไทยในอดีต ผานรองรอยทางสถาปตยกรรมและประติมากรรม อันเปนภูมิปญญาของชาวไทย ในแตละยุคสมัยท่ีมีเอกลักษณทางศิลปกรรมที่แตกตางกัน รวมทั้งเปนสิ่งท่ีจะเชื่อมโยงเร่ืองราวท่ีเปน นามธรรมใหเห็นเปนรูปธรรมได สวนเอกสารท่ีเปนเนื้อหาเสริมความรูนั้น ครูผูสอนสามารถนำไปประยุกตใช เปน “ใบความรู” หรอื เพม่ิ พนู ความรูในประเดน็ ตาง ๆ เพิม่ เตมิ ได 7 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แมวาเอกสารเลมนี้มีสาระสำคัญเปนประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 แตครูผูสอนประวัติศาสตรระดับช้ันอ่ืนสามารถนำไปใช ในฐานะที่เปนเคร่ืองมือที่จะกระตุนใหผูเรียนเขาใจถึงความเปนชาติไทยที่บรรพบุรุษไทยไดกอรางสรางตัว จนเปน ประเทศไทยในปจ จบุ ัน อนึ่ง เน้ือหาสาระท่ีนำเสนอในเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทรฉบับน้ีเปนเพียง สวนหน่ึงของส่ือการเรียนรู Virtual Field Trip ท่ีจัดทำข้ึน ซ่ึงสามารถเปนส่ือหรือเครื่องมือสำหรับครู นักเรียน และผูสนใจใชเปนแนวทางในการศึกษาเรียนรูผานส่ือออนไลน Virtual Field Trip ท่ีทุกคน สามารถเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจไดตลอดเวลา เปนส่ือท่ีนำเสนอเนื้อหาสาระในรูปแบบส่ือท่ี หลากหลาย ทั้งวีดิทัศนในรูปแบบของสารคดีส้ัน เนื้อหาสาระซึ่งเปนความรูเพิ่มเติมจากวีดิทัศนแตละตอน กจิ กรรม แบบทดสอบ ภาพน่งิ ภาพเคลือ่ นไหว และสอ่ื ประสมแบบ 360 ํ ท้ังน้ี คาดหวงั วา จะเปน แนวทางหนึ่ง ที่จะกระตุนใหผูเรียนสนใจใฝเรียนรูเร่ืองราวความเปนมาและสืบคนความรูเก่ียวกับประวัติศาสตรชาติไทย ไดดว ยตนเองตอไป 8 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คำช้ีแจง การใชชุดส่ือการเรยี นรูป ระวัติศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip การจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสอื่ Virtual Field Trip ประกอบดว ย เคร่ืองมือ 2 ชดุ คือ 1. วีดิทัศนประกอบส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัตศิ าสตรส โุ ขทยั อยุธยา รัตนโกสนิ ทร สำหรับประวัติศาสตรร ัตนโกสินท มีเนือ้ หา 5 ตอน คอื 1) เกาะรตั นโกสนิ ทร 2) พระบรมมหาราชวงั 3) วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 4) พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรงุ รัตนโกสนิ ทร 5) อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก 2. เอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip ซงึ่ แบงออก เปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip สำหรบั ครู สวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั นกั เรยี น วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ใหครผู ูสอนและผูเรยี นใชส่ือวีดทิ ศั นฯ และเอกสารการเรยี นรปู ระวัตศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip ประกอบการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตร 2. เพื่อเพิ่มพูนความรูใหแกครูผูสอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร รตั นโกสนิ ทรท งั้ ดานเนื้อหาสาระ กจิ กรรมการเรยี นรู การวัดและการประเมนิ ผล 3. เพ่ือใหเด็ก เยาวชน และคนไทยมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความสำคัญของ ประวตั ิศาสตรช าติไทย เกิดความรกั ความผกู พัน ความหวงแหน และความภมู ิใจในแผน ดนิ ไทย 9 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กรอบเน้ือหาสาระของเอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรรตั นโกสินทร ผา นสอื่ Virtual Field Trip สวนที่ 1 การจัดการเรยี นรปู ระวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip สำหรับครู ประกอบดวยรายละเอยี ดดังน้ี ❖ การวิเคราะหหลักสูตรสาระประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เปนการนำเสนอสาระ เก่ียวกับการวิเคราะหหลักสูตรประวัติศาสตรกับสาระที่ปรากฏในส่ือวีดิทัศนการเรียนรูนอกหองเรียน เสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร เพ่ือใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัด กจิ กรรมการเรยี นรทู เ่ี หมาะกับผูเรียน ❖ โครงสรางของเอกสารการจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนการนำเสนอเก่ียวกับโครงสรางของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือใหครูผูสอนเขาใจภาพรวมของเอกสารท้ังหมด จะไดนำไปใชในการจัดกิจกรรม ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ❖ วิธีการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เปนการนำเสนอสาระเก่ียวกับวิธีการใชชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip เพ่ือใหค รูผูส อนสามารถนำไปปรับใชต ามความเหมาะสม สวนท่ี 2 การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip สำหรับนักเรียน ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระท่ีจะเสริมความรูเพ่ิมเติมจากสื่อวีดิทัศนทั้ง 5 ตอน โดยจำแนกเน้ือหาเพ่ิมเติม จากวีดทิ ัศนอ อกเปน ประเดน็ ยอยเพ่ือใหค รอบคลุมเน้อื หาสาระของวีดิทัศนแตละตอน ดังนี้ 1. เกาะรตั นโกสินทร 1. จากอยุธยาสรู ัตนโกสนิ ทร 2. การสถาปนากรงุ รัตนโกสนิ ทร 3. คลอง : เสน ทางคมนาคมทีส่ ำคญั ของกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองและปอมปราการเพอื่ สรางความมัน่ คงใหร าชอาณาจักรไทย 5. พระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หนา) 2. พระบรมมหาราชวงั 1. ประวตั ิการกอสรางพระบรมมหาราชวัง 2. แบบแผนการสรางพระบรมมหาราชวงั 3. พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑยี รสถาน 4. หมพู ระมหามณเฑียรในสมยั รัชกาลที่ 1 5. หมพู ระท่นี ่ังดุสติ มหาปราสาท 6. หมพู ระท่นี ั่งจกั รมี หาปราสาท 10 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม 1. รูจักวัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2. พระพทุ ธมหามณีรัตนปฏมิ ากร 3. ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ในวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 4. ยกั ษว ัดพระแกว 5. พระบรมราชสัญลักษณ 6. ปราสาทพระเทพบิดร 4. พระอารามหลวงประจำรชั กาลกรงุ รตั นโกสนิ ทร 1. วัดประจำรัชกาลท่ี 1 วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร 2. วดั ประจำรัชกาลที่ 2 วดั อรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร 3. วัดประจำรัชกาลที่ 3 วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 4. วัดประจำรัชกาลที่ 4 วดั ราชประดิษฐสถติ มหาสมี ารามราชวรวิหาร 5. วัดประจำรัชกาลที่ 5 วัดราชบพติ รสถติ มหาสมี ารามราชวรวิหาร 5. อาหารไทย : ครัวไทยสูครวั โลก 1. การหลอมรวมวฒั นธรรมในอาหารไทย 2. คุณคาและภูมิปญญาในอาหารไทย 3. อาหารไทยในงานบุญ 11 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

การวเิ คราะหหลกั สตู รสาระประวัติศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ปญหาของการเรียนการสอนประวัติศาสตรสวนหน่ึงมาจากการท่ีครูผูสอนไมเขาใจหลักสูตร วาจะสอนอะไร สอนแคไหน สอนไปทำไม หรือเปาหมายในการสอนแตละเรื่องคืออะไร ทำใหไมสามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ยังไมรวมถึงคำถามท่ีมักเกิดข้ึนในใจครูผูสอน ตลอดเวลาวาจะสอนอยางไร (ในเนื้อหาแตละเร่ือง) ใหบรรลุผลตามที่หลักสูตรคาดหวัง คือ รักถ่ิน รกั ชาติ ภูมิใจในชาติตน ตระหนักในคุณคาของมรดกทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย ดังไดกลาวแลววาคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดที่ครูผูสอนประวัติศาสตรพึงมีประการแรก คือ ความเขาใจหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้ีวัดชั้นป สำหรับมาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระบุหลักการสำคัญของการเรียนรู ประวัตศิ าสตรใ นมาตรฐานการเรยี นรู 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานการเรียนรูประวตั ิศาสตร ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร สามารถใชว ิธกี ารทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเ หตกุ ารณต าง ๆ อยา งเปน ระบบ จะเหน็ วามาตรฐาน ส 4.1 วาดวยเรื่องประวตั ศิ าสตรและวธิ กี ารศึกษาประวตั ิศาสตร ซงึ่ กำหนด ใหเรียนเนื้อหาสำคัญ 2 เร่อื ง คอื 1. เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร 2. วิธีการทางประวตั ศิ าสตร เน่ืองจากครูผูสอนประวัติศาสตรสวนใหญไมไดศึกษามาทางประวัติศาสตรโดยตรงจึงอาจไมเขาใจ เปาหมายของหลักสตู รในมาตรฐาน ส 4.1 ซ่ึงมลี ักษณะเปนหลักการหรอื Concept ประวัติศาสตรอ ยูมาก จงึ ขออธิบายสน้ั ๆ พอใหเขาใจดังน้ี เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร มีเปาหมายดงั นี้ 1. เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร การเขาใจเร่ืองเวลา จะทำใหเขาใจเรื่องราวในเอกสารนั้น ๆ แมวาจะอยูตางพ้ืนที่ก็จะทำใหเชื่อมโยงไดวามีใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร จนสามารถเรยี งลำดับเหตุการณต ามเสนเวลา (Time Line) ได 12 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

2. เพื่อใหผูเรียนเขาใจเหตุการณทางประวัติศาสตร การเขาใจเร่ืองเวลาจะทำใหเขาใจ เหตกุ ารณวา แตละเหตุการณม ีความสำคญั อยางไร ปจจัยใดเปน เหตุ (เหตุการณทีเ่ กดิ กอน) ปจ จยั ใดเปน ผล (เหตุการณท่ีเกิดหลัง) นอกจากน้ี ยุคสมัยทางประวัติศาสตรยังแสดงภาพรวมของเหตุการณในแตละชวงเวลา ไดช ดั เจน หรือแสดงลักษณะเดน ในแตล ะชว งเวลานน้ั 3. เคร่ืองมือบอกเวลาเปนภูมิปญญาของมนุษย อันเน่ืองมาจากมนุษยตองปรับตัวใหเขากับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังน้ัน การสอนเร่ืองน้ีอยางถกู ตองจะสรา งความภาคภมู ิใจในความเปนชาติไดดวย 4. เพื่อใหผูเรียนใชคำบอกเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร บอกเลาเรื่องราวไดอยางถูกตอง ซงึ่ จะกลายเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรไ ดตอ ไปในอนาคต ท้ังนี้ การเรียนรูเร่ืองเวลา เนื้อหาสาระในแตละปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรับ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ไมไดมีเน้ือหาใหเ รยี น วิธีการทางประวตั ิศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) หมายถึง กระบวนการแสวงหาขอเท็จจริง ในอดีตของสังคมมนุษยอยางเปนระบบ ดวยการศึกษาวิเคราะหขอมูลหลักฐานประเภทเอกสารเปนหลัก และศึกษาหลักฐานอน่ื ๆ ประกอบ เพอ่ื ใหไดมาซึ่งความรใู หมท างประวัตศิ าสตรบ นพ้นื ฐานของความมีเหตผุ ล วิธีการทางประวัติศาสตร มีเปาหมายดงั นี้ 1. เพ่ือใหผูเรียนไดออกนอกหองเรียนไปสูโลกแหงความเปนจริง ดวยการสืบคน (สำรวจ สอบถาม ลงมือปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดวยการอาน ฟง สังเกต จดบนั ทึกขอ มลู ) เร่ืองราวท่ตี นอยากรูด วยตนเอง 2. เพื่อใหผูเรียนรูเทาทันขอมูลขาวสารในโลกยุคโลกาภิวัตนดวยการตรวจสอบ กลั่นกรอง ขอมูลเพอ่ื ใหไ ดขอเท็จจรงิ 3. เพื่อใหผ เู รยี นฝก ฝนทกั ษะการคิดวเิ คราะหอ ยางเปนเหตเุ ปน ผลกอนวินิจฉยั เรือ่ งราวตาง ๆ 4. เพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิต โดยนำกระบวนการตาง ๆ ที่ไดเรียนรู ในหองเรียนไปใชในการดำเนินชีวิต และการอยูรวมกันในสังคม รูจักแกปญหาและความขัดแยงตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสม ท้ังนี้ การเรียนรูเร่ืองวิธีการทางประวัติศาสตรในแตละช้ันปของผูเรียนจะมีความแตกตางกันไป สำหรบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 ไดก ำหนดไวใ นตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางดังน้ี ตัวชี้วัด 1. วิเคราะหเร่ืองราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตรไดอยางมีเหตุผลตามวิธีการ ทางประวตั ิศาสตร 2. ใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรใ นการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ 13 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตรสำหรับการศึกษาเหตุการณทางประวัติศาสตรท่ีเกิดขึ้น ในทอ งถน่ิ ของตนเอง 2. นำวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรมาใชในการศกึ ษาเรอ่ื งราวท่เี กยี่ วของกบั ตนเอง ครอบครวั และ ทองถ่นิ ของตน 3. วิเคราะหเหตุการณสำคญั ในสมยั รัตนโกสินทร โดยใชว ธิ กี ารทางประวัติศาสตร มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปจจุบันในดานความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณอยางตอเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวเิ คราะหผลกระทบที่เกดิ ข้นึ จะเห็นวามาตรฐาน ส 4.2 วาดวยเรื่องพัฒนาการของมนุษยชาติ สวนการเปล่ียนแปลงของ สังคมมนุษยที่มีอยูอยางตอเนื่องตามกาลเวลาและมีความแตกตางกันในแตละพ้ืนที่ ซ่ึงรวมทั้งความขัดแยง ที่กอใหเกิดสงคราม การลมสลายของอาณาจักรหรือแวนแควนตาง ๆ รวมท้ังความรวมมือทางดานตาง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในสงั คมมนษุ ย ดงั น้ัน หลักสูตรกำหนดใหเรียนเนือ้ หาสำคัญ 2 เรอื่ ง คอื 1. วฒั นธรรมและอารยธรรมของสงั คมมนุษยในพืน้ ท่ตี าง ๆ 2. การเปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติ เปา หมายในการเรยี นรเู ร่อื งพัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาติ เน่ืองจากอดีต ปจจุบัน และอนาคตแสดงธรรมชาติของสังคมมนุษยที่มีการเปล่ียนแปลง อยูตลอดเวลา และแมในชวงเวลาเดียวกัน สังคมมนุษยในแตละพ้ืนท่ียังมีความเหมือนและความตาง ประวัติศาสตรจึงใหความสำคัญอยางมากกับความแตกตางที่เปนลักษณะเฉพาะในสังคมมนุษยท่ีเกิดจาก สาเหตุปจจัยของส่ิงแวดลอมที่แตกตางกัน ซ่ึงยอมสงผลกระทบตอส่ิงอ่ืน ๆ ในสังคมดวย (ทั้งการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม) ดังน้ัน เปาหมายในการเรียนรูพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของ มนุษยชาติ คอื 1. เพ่ือใหนักเรียนเขาใจเหตุการณในประวัติศาสตร โดยเร่ิมตนดวยการสืบคนหาขอเท็จจริง วา “มีใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร” เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานที่จะวิเคราะหตอไปไดวา ทำไมจึงเกิด เหตุการณน้ันข้ึน เหตุการณน้ันมีการเปล่ียนแปลงอยางไร และมีผลกระทบทางดานใดบาง “ทำไม และอยางไร” จงึ เปน คำถามสำคัญ 2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจสังคมมนุษยในพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งมีพัฒนาการจากอดีตสูปจจุบัน ซ่ึงมีความแตกตางกันเพราะสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและทางสังคม อันสงผลใหเกิดความแตกตาง ทางดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม 14 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. เพ่ือใหนักเรียนรูเทาทันโลกในยุคปจจุบัน สามารถคิดวิเคราะหถึงความรวมมือและ ความขัดแยงท่ีกอใหเกดิ “พัฒนาการและการเปล่ยี นแปลง” ของสงั คมมนษุ ย สามารถปรบั ตนเอง 4. เพื่อใหนักเรียนเขาใจลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม (ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา ศาสนา และวิถีการดำเนินชีวิต) ท่ีมีความแตกตาง และคลายคลึงกันในสังคมมนุษย การสอนเร่ืองนี้ อยางถูกตองจะทำใหนักเรียนมีความรักและความภาคภูมิใจในความเปนทองถ่ินและความเปนชาติไทย รวมทง้ั แหลง อารยธรรมในพน้ื ท่ีตา ง ๆ ที่แสดงถึงความเจริญของมนุษยชาติ ท้ังน้ี การเรียนรูเนื้อหาสาระในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 กำหนดไวในตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลางดงั นี้ ตัวชีว้ ัด 1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภมู ิภาคตาง ๆ ในโลกโดยสงั เขป สาระการเรยี นรูแกนกลาง 1. ท่ีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตรของภูมิภาคตาง ๆ ของโลก (ยกเวนเอเชีย) ท่ีมีผลตอ พัฒนาการโดยสงั เขป 2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคตาง ๆ ของโลก (ยกเวนเอเชีย) โดยสงั เขป ตวั ชี้วัด 2. วิเคราะหผลของการเปลี่ยนแปลงท่ีนำไปสูความรวมมือ และความขัดแยงในคริสต ศตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความพยายามในการขจดั ปญหาความขัดแยง สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลตอพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก โดยสังเขป 2. ความรวมมือและความขัดแยงในคริสตศตวรรษที่ 20 เชน สงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 สงครามเย็น องคการความรวมมือระหวา งประเทศ มาตรฐานการเรียนรูประวัติศาสตร ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาไทย มคี วามรกั ความภูมิใจ และธำรงความเปน ไทย จะเห็นวามาตรฐาน ส 4.3 วา ดว ยเน้อื หาสำคญั 3 เร่อื ง คือ 1. ความเปนมาของชาติไทย ซ่ึงรวมวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย และผูทำคุณงามความดี สรางสรรคความเจริญใหป ระเทศ 2. วฒั นธรรมไทย 3. ภูมปิ ญญาไทย 15 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สาระการเรียนรูในเร่ืองน้ีไดบรรจุอยูในหลักสูตรต้ังแตเร่ิมมีการจัดการเรียนการสอนใหเปนระบบ ตามแบบตะวันตก ซึ่งนาจะเปนความเช่ียวชาญของครูผูสอนท่ีนาจะมีพัฒนาการดานการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหตอเนื่องและดียิ่งข้ึนได แตกลายเปนวาเนื้อหาดังกลาวกลับเปนปญหาของสังคมไทย ในปจจุบนั ท่ี “ความเปนไทย” กลายเปนเร่อื งลาสมัย “บรรพบุรษุ ไทย” ที่ไดเสยี สละเพอื่ ชาติ กไ็ มไดใ สใ จ ท่ีจะนำมาเปนแบบอยางในการประพฤติปฏิบัติท่ีสำคัญ อดีต “ความบกพรองหรือความสำเร็จ” ที่นาจะ เปนบทเรยี นของปจ จบุ ัน กม็ ิไดถูกนำพาหรอื หยิบยกมาเปน อุทาหรณไ ดอ ยา งแทจ รงิ ทั้งน้ี เขาใจวาปจจัยหน่ึงที่ทำใหเกิดสภาพดังกลาวมาจากโลกยุคโลกาภิวัตน และเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมหรือตลาดเสรี ทำใหเยาวชนไทยนิยมชมชอบวัฒนธรรมของชาติท่ีเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ คนเกง คนรวย ไดรับความชื่นชมมากกวาคนดีมีคุณธรรม อยางไรก็ตาม นาจะเปนเร่ืองทาทายครูมืออาชีพ ท่ีจะนำเยาวชนของชาติใหเขาถึงเปาหมายของหลักสูตร คือ “มีความรัก ความภูมิใจ และสราง ความเปนไทย” การเรียนรูเรื่องความเปนชาติไทยนี้ หลักสูตรกำหนดเน้ือหาสาระในชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ใหเรียนเร่ืองประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร และพัฒนาการของสมัยรัตนโกสินทรทางดานตาง ๆ โดยกำหนดไวใ นตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู กนกลางดังน้ี ตวั ชีว้ ัด 1. วเิ คราะหพ ัฒนาการของไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรใ นดานตาง ๆ สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. พัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทรทางดานการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสมั พนั ธร ะหวา งประเทศตามชว งสมัยตา ง ๆ 2. เหตุการณสำคัญสมัยรัตนโกสินทรท่ีมีผลตอการพัฒนาชาติไทย เชน การทำสนธิสัญญา เบาวริ่งในสมัยรัชกาลที่ 4 การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 5 การเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ครง้ั ท่ี 2 โดยวเิ คราะหส าเหตุปจจยั และผลของเหตกุ ารณตาง ๆ ตวั ชี้วัด 2. วเิ คราะหป จ จัยที่สง ผลตอความมั่นคงและความเจรญิ รงุ เรืองของไทยในสมยั รัตนโกสินทร สาระการเรยี นรแู กนกลาง 1. การสถาปนากรุงเทพมหานครเปนราชธานีของไทย 2. ปจ จยั ท่ีสงผลตอความม่ันคงและความเจริญรงุ เรอื งของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร ตวั ชีว้ ดั 3. วิเคราะหภ ูมิปญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร และอทิ ธิพลตอการพัฒนาชาติไทย สาระการเรียนรแู กนกลาง 1. ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทรที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาชาติไทย จนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ 16 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ตวั ชีว้ ดั 4. วเิ คราะหบทบาทสำคญั ของไทยในสมยั ประชาธิปไตย สาระการเรยี นรูแกนกลาง 1. บทบาทของพระมหากษัตริยไทยในราชวงศจักรีในการสรางสรรคความเจริญและความมั่นคง ของชาติ 2. บทบาทของไทยตัง้ แตเปลีย่ นแปลงการปกครองจนถงึ ปจจบุ ันในสังคมโลก การวิเคราะหเนื้อหาและการนำเสนอ ในชุดสื่อการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip ประกอบดวย 1. ส่อื ประกอบการเรยี นรูนอกหองเรยี นเสมือนจริง ซ่งึ เปนวดี ทิ ศั นเรอื่ ง ประวตั ิศาสตรร ัตนโกสนิ ทร 2. เอกสารการเรียนรปู ระวัตศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสอ่ื Virtual Field Trip ชุดสอื่ การเรยี นรูด ังกลา ว ทัง้ เน้อื หาและการนำเสนอจะสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ส 4.1 และ ส 4.3 ในบางตวั ชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางของช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ดงั น้ี ส 4.1 เขาใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถ ใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรมาวเิ คราะหเหตกุ ารณต าง ๆ อยางเปนระบบ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วเิ คราะหเ ร่ืองราวเหตกุ ารณส ำคญั 1. ขั้นตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรสำหรับการศึกษา ทางประวัติศาสตรไดอ ยางมเี หตผุ ล เหตุการณทางประวตั ิศาสตรทเี่ กดิ ขึน้ ในทองถิ่นของตนเอง ตามวิธีการทางประวตั ิศาสตร 2. วเิ คราะหเหตกุ ารณสำคัญในสมัยรัตนโกสนิ ทร 2. ใชว ิธีการทางประวัติศาสตรใ นการศึกษา โดยใชว ธิ กี ารทางประวัติศาสตร เรอื่ งราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ 17 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปน ไทย ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วิเคราะหพัฒนาการของไทย 1. พฒั นาการของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทรท างดา นการเมือง สมยั รตั นโกสนิ ทรใ นดา นตา ง ๆ การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสมั พันธระหวาง ประเทศตามชว งสมัยตาง ๆ 2. เหตกุ ารณสำคัญสมัยรตั นโกสินทรทม่ี ผี ลตอการพัฒนา ชาติไทย เชน การทำสนธสิ ัญญาเบาวร่งิ ในสมยั รชั กาลท่ี 4 การปฏริ ูปประเทศในสมยั รัชกาลท่ี 5 การเขา รวม สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และครง้ั ที่ 2 โดยวิเคราะหสาเหตุ ปจจัยและผลของเหตุการณตา ง ๆ 2. วเิ คราะหปจจยั ท่สี ง ผลตอความม่นั คง 1. การสถาปนากรงุ เทพมหานครเปนราชธานีของไทย และความเจรญิ รงุ เรอื งของไทย 2. ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความมั่นคงและความเจริญรงุ เรอื ง ในสมยั รัตนโกสินทร ของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร 3. วิเคราะหภูมปิ ญ ญาและวฒั นธรรมไทย 1. ภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร สมัยรตั นโกสนิ ทร และอทิ ธพิ ลตอ การพฒั นา ที่มอี ิทธิพลตอ การพัฒนาชาตไิ ทยจนถงึ ปจ จบุ นั โดยเฉพาะ ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศรรามาธิบดี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และสมเดจ็ พระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ 4. วิเคราะหบทบาทสำคัญของไทยในสมยั 1. บทบาทของพระมหากษัตรยิ ไทยในราชวงศจักรี ประชาธปิ ไตย ในการสรางสรรคค วามเจรญิ และความม่นั คงของชาติ 2. บทบาทของไทยตั้งแตเปลยี่ นแปลงการปกครอง จนถึงปจ จุบันในสังคมโลก 18 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ทั้งนี้ ครูผูสอนควรไดศึกษาชุดสื่อการเรียนรูประวัติศาสตรสมัยรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip จะเห็นวาในบางเร่ือง สาระท่ีปรากฏจะมีบางเร่ืองท่ีเกินหรือลุมลึกกวาท่ีกำหนดใหเรียน ในหลักสูตรซ่ึงจะเปนความรูเพ่ิมเติมสำหรับนักเรียน ท่ีจะสงผลใหนักเรียนมีความภูมิใจในความเปนชาติไทย ที่มีพัฒนาการตอ เนอ่ื งจนถึงปจจบุ นั สวนสาระการเรียนรูแกนกลางที่ขาดไปหรือมีไมค รบถว น (เฉพาะมาตรฐาน ส 4.1 และ ส 4.3) ตามท่ีหลักสูตรกำหนดใหนักเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูสอนอาจเชื่อมโยงโดยมอบหมายใหศึกษา เพิ่มเติมและเช่อื มโยงกันกไ็ ด 19 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

โครงสรา งของเอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสินทร ผานสือ่ Virtual Field Trip เอกสารการเรียนรปู ระวัติศาสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip มจี ุดมงุ หมายใหเ ปน เครื่องมือสำหรับครูผูสอนประวัติศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร ไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ จึงไดจดั ทำโครงสรางของเอกสารดงั กลา ว ประกอบดว ยสาระสำคัญดงั นี้ 1. การจัดการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนสาระ เก่ียวกับพ้ืนฐานความเขาใจในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรที่มีประสิทธิภาพ โดย ใหความสำคัญกับหลักสูตร ความรูพื้นฐานในเน้ือหาสาระ รวมท้ัง Concept ทางประวัติศาสตร และ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหไดผลตามท่ีหลักสูตรคาดหวัง และคุณคาของประวัติศาสตร ท่ีใหความสำคัญกับกระบวนการสรางปญญาใหผูเรียน ทั้งนี้ เพ่ือใหครูผูสอนเห็นแนวทางการนำชุดสื่อ การเรยี นรปู ระวัติศาสตรรตั นโกสินทรไ ปใชไ ดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. วิธีการใชเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip เปนสาระเกี่ยวกับวิธีการนำชุดส่ือการเรียนรูไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร รตั นโกสินทรไ ดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ชุดสอ่ื การเรียนรปู ระกอบดวย (1) วดี ิทัศนส ื่อการเรียนรูนอกหอ งเรยี น เสมือนจริงประวัตศิ าสตร จำนวน 1 ชุด (2) เอกสารการเรยี นรูประวตั ศิ าสตรร ตั นโกสินทร ผานสอ่ื Virtual Field Trip จำนวน 1 เลม ซึง่ รายละเอยี ดประกอบดว ย ❖ กรอบเนื้อหาสาระของเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ❖ การวเิ คราะหห ลกั สตู รสาระประวัตศิ าสตร ❖ โครงสรา งของเอกสารการเรียนรปู ระวตั ิศาสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ❖ วิธกี ารใชชุดสอ่ื การเรียนรูประวัติศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นส่ือ Virtual Field Trip 3. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตร ซ่ึงเปนตัวอยางการเสนอแนะการจัด กิจกรรมการเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรทีเ่ นน การปฏิบัตจิ ากสภาพจรงิ และการคดิ วเิ คราะหเพอ่ื ทจี่ ะพัฒนาผเู รยี น ใหบ รรลผุ ลตามความคาดหวงั ของหลกั สูตร และคุณคาของประวัติศาสตรไดอ ยางแทจรงิ 4. ตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู เปนการเสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปน ตัวอยางใหก ับครใู นการบูรณาการใชชุดส่อื การเรียนรดู งั กลา วสหู อ งเรยี น 5. การเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรับนักเรียน ซึง่ เปนเน้ือหาสาระสวนท่จี ะใหผ เู รียนศกึ ษาเรียนรเู พมิ่ เติมจากวีดิทัศนทงั้ 5 ตอน ประกอบดว ย ❖ เกร่ินนำ เพ่ือกระตุนใหผูเรียนสนใจศึกษาประวัติศาสตร โดยศึกษาจากหลักฐาน ประวตั ศิ าสตรดว ยชดุ สือ่ การเรียนรูประวตั ิศาสตรร ตั นโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ❖ ความรูพ้ืนฐานประวัติศาสตรรัตนโกสินทร เพื่อใหผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูเก่ียวกับ ประวัตศิ าสตรรัตนโกสนิ ทรก อนทีจ่ ะศกึ ษาจากวดี ิทัศนและเอกสารความรู ❖ เอกสารความรูเพิ่มเติม แยกเปนประเด็นยอยที่สอดคลองกับสื่อวีดิทัศน ซ่ึงครูผูสอน อาจนำไปปรับใชในการจัดกิจกรรมการสอนหรืออาจเสนอแนะใหเด็กสืบคนประเด็นตาง ๆ เพ่ิมเติม ตามความสนใจ 20 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ท้งั นี้ ในเอกสารความรูเพ่มิ เตมิ แตล ะประเดน็ ประกอบดวยโครงสรา งดงั น้ี 1. แบบทดสอบกอนเรียน เพ่ือใหผูเรียนตรวจสอบพ้ืนฐานความรูกอนศึกษาชุดส่ือ การเรยี นรปู ระวตั ศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร 2. เนื้อหาสาระความรูเพิ่มเติม เปนรายละเอียดประเด็นยอยซ่ึงสอดคลองกับ ส่ือวดี ทิ ศั นท่ีนำเสนอเกี่ยวกบั ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรแตล ะตอน 3. แบบทดสอบหลังเรียน เปนแบบวัดและประเมินผลที่มุงเนนการตรวจสอบ Concept และสาระความรูที่จำเปนสำหรับผูเรียน ขอมูลท่ีไดจากการประเมินจะชวยในการปรับกิจกรรม การเรยี นรูใ หเ หมาะสมกบั ระดับความรูของผเู รยี นมากขึ้น 6. บรรณานุกรม ในเน้ือหาแตละเรื่องเปนสาระเพิ่มเติมเพ่ือใหผูเรียนศึกษาเรียนรูดวยตนเอง ไดนำเสนอหนังสืออางอิง ซ่ึงเปนที่มาของขอมูลไวทายเนื้อหา ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาเพ่ิมเติมได ตามความสนใจของแตละคน หรือหากผูเรียนมีขอสงสัยในขอมูล ผูเรียนสามารถตรวจสอบความถูกตองได นอกจากนี้ ยังรวบรวมหนังสือท่ีมีเน้ือหาสาระท่ีเก่ียวของท้ังหมดไวทายเลมดวย ซึ่งเปนเคร่ืองมือในการ ศึกษาคนควา สำหรับผูเรียน ครผู ูส อน และผสู นใจศึกษาประวัติศาสตรตอ ไป วธิ ีการใชช ุดส่ือการเรยี นรูป ระวตั ิศาสตรร ัตนโกสินทร ผา นสอ่ื Virtual Field Trip เน่ืองจากชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip ชุดนี้ ประกอบดว ย (1) สอ่ื วีดทิ ัศนการเรียนรูน อกหอ งเรียนเสมือนจริง : Virtual Field Trip ประวัติศาสตรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสนิ ทร จำนวน 1 ชดุ (2) เอกสารการเรยี นรูประวัติศาสตรร ัตนโกสนิ ทร ผา นสื่อ Virtual Field Trip ซึ่งครูผูสอนประวัติศาสตรจำเปนตองเตรียมการกอนการจัดการเรียนการสอนในแตละขั้นตอน ตงั้ แตก ารนำเขาสบู ทเรยี น กจิ กรรมการเรียนการสอน การสรุปผล และการวัดผลประเมินผล ดงั น้ี 1. การเตรียมการกอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือใหการดำเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรเู กิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด ครูผสู อนตอ งเตรยี มการดังน้ี 1) การเตรียมหองเรียนและแหลงเรียนรู เน่ืองจากการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตร รตั นโกสินทร ตอ งใชส ือ่ อุปกรณประกอบ เชน คอมพิวเตอร โปรเจกเตอร หรอื อปุ กรณอน่ื ๆ 2) ศึกษาวีดิทัศนประกอบส่ือการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง เนื่องจากในการจัดทำ ชุดสื่อดังกลาวประกอบดวยเนื้อหาสาระประวัติศาสตรสุโขทัยสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ประวัติศาสตรอยุธยาสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 และประวัติศาสตรรัตนโกสินทรสอดคลองกับหลักสูตรสาระประวัติศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ดังนั้น กอ นใชค รูผสู อนจำเปน ตองจำแนกหรอื แยกแยะเฉพาะเนอื้ หาทจี่ ะใชใ นการจัดการเรยี นการสอนตามระดบั ช้นั อนงึ่ ในสาระประวตั ศิ าสตรร ตั นโกสนิ ทร ยงั จำแนกเน้ือหาออกเปน 5 สวน คอื 1. เกาะรตั นโกสินทร 2. พระบรมมหาราชวงั 3. วัดพระศรีรตั นศาสดาราม 21 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

4. พระอารามหลวงประจำรัชกาลกรุงรตั นโกสินทร 5. อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก ดังน้ัน ครูผูสอนจึงตองวางแผนลวงหนาวาจะใชส่ือดังกลาวอยางไร และใชเวลาเทาใด จึงจะเหมาะสม การนำเขาสูบทเรียนเพ่ือกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจตอการเรียนการสอนควรเปน อยางไร เปนตน 3) ศึกษาเอกสารการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ซงึ่ เปนสอื่ คขู นานกนั เพอ่ื ทำความเขาใจใหช ัดเจนวามีเน้ือหาเพ่ิมเติมในเร่อื งใดบาง 4) จดั เตรียมเอกสารใหเพยี งพอสำหรับนกั เรยี น เชน แบบทดสอบกอ น - หลังเรยี น ภาพ แผนที่ แผนผงั หรอื เน้ือหาสาระทจี่ ะใหนกั เรยี นศึกษาเพม่ิ เตมิ 5) จัดทำแผนการจัดการเรียนรู เพื่อเตรียมการสอนลวงหนา โดยใหการใชชุดส่ือการเรียนรู ประวัตศิ าสตรร ัตนโกสินทร ผานสื่อ Virtual Field Trip ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ไดเ สนอแนะตัวอยาง แผนการจัดการเรียนรูไ วใ นลำดับตอไป 2. การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ครูผูสอนประวัติศาสตรสามารถดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูท่ีกำหนดไว หรือ อาจใชตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูท ีเ่ สนอแนะไว อาจมีการปรบั เปลี่ยนกจิ กรรมไดต ามความเหมาะสม 1) กิจกรรมกระตุนใหนักเรียนสนใจศึกษาชุดสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรตั นโกสนิ ทร 2) ทำแบบทดสอบกอ นเรียน 3) ชมสอื่ วดี ิทัศนการเรยี นรนู อกหอ งเรยี นเสมือนจรงิ ตอนที่กำหนดใหศ กึ ษา 4) สนทนาและแสดงความคิดเหน็ รว มกนั 5) ศึกษาเอกสาร “ความรเู พ่มิ เติมเก่ียวกับประเดน็ ท่ีเกยี่ วขอ งกบั วีดทิ ศั นตอนท่ีศกึ ษา” 6) ทำแบบทดสอบหลังเรยี น ท้ังนี้ ครูผูสอนอาจจะใหนักเรียนทำกิจกรรมการเรียนรูเก่ียวกับประวัติศาสตรรัตนโกสินทร กอนการทำแบบทดสอบกอนเรียนหรือแบบทดสอบหลังเรียน แลวจึงเพ่ิมเติมกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือฝกฝน ทักษะกระบวนการเรยี นรูท างประวตั ศิ าสตร และสรางเจตคติคา นยิ มทางประวัติศาสตรกไ็ ด 3. การสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผูสอนสามารถสรุปผลการจัดกิจกรรม ไดห ลายลักษณะ เชน ❖ การบันทึกผลการเรียนรูเน้ือหาสาระ ดวยการใหนักเรียนชวยกันระดมความคิดวา ไดรับความรเู ก่ยี วกบั เรือ่ งใดบาง และบนั ทกึ เพ่ือเตอื นความจำรวมกัน ❖ การใชแ บบทดสอบ เพื่อประเมินความกาวหนา ในการเรียนรูข องนักเรยี น และอาจนำมา ใชในการสรุปเนื้อหากไ็ ด ❖ การสอบถามความคิดเห็น เพือ่ ใชเปนขอ มูลในการปรับปรงุ การเรยี นการสอนตอไป 22 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ประวัตศิ าสตรร ัตนโกสนิ ทร กจิ กรรมท่ี 1 ลองแมน ำ้ เจาพระยา : ชมสถานท่สี ำคญั ในสมยั รตั นโกสินทร ความสอดคลอ งกับหลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.1 ม.3/1 ส 4.1 ม.3/2 และ ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด สถานที่สำคัญ ๆ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน มักตั้งอยูริมแมน้ำเจาพระยาซึ่งเปนเสนทาง คมนาคมที่สำคัญ เปนแหลงอาหารและเอ้ือประโยชนอ่ืน ๆ อีกหลายประการแกชาวไทยต้ังแตอดีต จนถงึ ปจจุบนั จุดประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักรูคุณคาของสถานที่สำคัญในสมัย รตั นโกสินทรท ่ีต้ังอยรู มิ แมน ำ้ เจา พระยา 2. เพื่อฝกทักษะการสังเกต การฟง การคิดวิเคราะห การคิดสรางสรรค และทักษะ การจดบันทกึ 3. เพื่อฝก ทกั ษะการทำงานรว มกนั “การทำงานเปน ทีม” แนวทางจัดกิจกรรม 1. นักเรียนที่เขารวมกิจกรรมลองแมน้ำเจาพระยา ศึกษาแผนที่แมน้ำเจาพระยาท่ีไดรับ แจกจากผสู อนหรอื ผนู ำกิจกรรม 2. นักเรียนต้ังใจฟงพรอมจดบันทึกขอมูลขณะฟงวิทยากรบรรยายเร่ือง “ความสำคัญของ แมน ้ำเจาพระยาจากอดีตจนถึงปจ จบุ ัน” ❂ เปน เสนทางคมนาคมหลักของชาวไทย ❂ แหลง อาหาร ❂ ท่ีตง้ั ของสถานทสี่ ำคัญในอดีต ฯลฯ 23 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

3. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมแนะนำการปฏิบัติตนขณะทำกิจกรรมลองแมน้ำเจาพระยา เพือ่ ความปลอดภัยของนักเรยี น 4. ผูสอนหรือผนู ำกิจกรรมมอบหมายงานและชี้แจงวิธกี ารทำงาน ดังนี้ ❂ ฟง สังเกต และจดบันทึกขณะฟงวทิ ยากรบรรยายสถานที่สำคัญ ❂ ลงที่ต้งั ของสถานท่สี ำคญั ในแผนท่แี มนำ้ เจา พระยาทีก่ ำหนดให 5. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมนำนักเรียนลงเรือเพื่อชมทัศนียภาพของแมน้ำเจาพระยา วิถีชีวิต ริมฝงแมน้ำ และที่สำคัญคือ สถานท่ีสำคัญ ๆ ริมฝงแมน้ำเจาพระยา โดยวิทยากรบรรยายประกอบ และตอบขอ ซักถาม 6. เม่ือเสร็จส้ินการลองแมน้ำเจาพระยาแลวใหนักเรียนสืบคน/ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม เกย่ี วกับสถานทส่ี ำคัญในประเดน็ ที่สนใจ 7. นักเรยี นนำเสนอผลการศึกษาใหน า สนใจอยา งเสรีตามแนวคดิ และความสามารถของตนเอง 8. จดั นิทรรศการหนา ช้นั เรียนเพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรูรวมกนั 9. ผูสอนหรือผูนำกิจกรรมแสดงความช่ืนชมในความสามารถและผลงานของนักเรียนทุกคน และกระตุนใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจผลงานของตนเอง และชื่นชมผลงานของเพ่ือนท่ีเขารวมกิจกรรม ทุกคน ขอ ควรคำนึง กจิ กรรมนีจ้ ะประสบผลสำเรจ็ ตองมีการเตรียมการทดี่ ี ดังน้ี 1. วิทยากรตองเปนผูท่ีมีความรู ความสามารถ และมีประสบการณเกี่ยวกับสถานที่สำคัญ ๆ ริมฝงแมน้ำเจาพระยา สามารถอธิบาย ช้ีแจง และใหความรู รวมถึงคำแนะนำตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ชัดเจน ถูกกาลเทศะ มอี ารมณข นั ทำใหนักเรียนมีความสุขและสนกุ สนาน 2. ผูนำกิจกรรมควรมีการประเมินความเส่ียงของเสนทาง การเลือกพาหนะที่เหมาะสม เพราะความปลอดภัยของนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมเปนสิ่งที่ผูนำกิจกรรมตองคำนึงถึงตลอดเวลา ตั้งแต การเตรียมความพรอมกอ นการเดนิ ทาง ระหวางการเดินทาง จนสนิ้ สดุ การเดนิ ทาง 3. มกี ารประสานงานกบั หนวยงานหรอื บคุ คลที่เกยี่ วของ 4. ผูนำกิจกรรมตองคอยใหความชวยเหลือและดูแลนักเรียนที่เขารวมกิจกรรมอยางใกลชิด ตลอดเวลาในระหวา งการเดนิ ทาง 5. นักเรียนที่เขารวมกิจกรรมควรใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันตลอดเวลาในระหวาง การเดนิ ทาง 24 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

วันแรก กำหนดการกิจกรรมลองแมน ้ำเจาพระยา 09.00 - 10.00 น. ฟงบรรยายสรปุ ความสำคญั ของแมน ำ้ เจา พระยา ประกอบวีดทิ ัศน 10.00 - 10.30 น. ศึกษาแผนที่ในฐานะเปนเคร่ืองมือในการศึกษาความรู ท่ีต้ังของสถานท่ีสำคัญตาง ๆ โดยใหนักเรียนสังเกตตำแหนงของถนน คลอง เสนทางแมน้ำ ตลอดจนวิถีชีวิต 10.30 - 11.00 น. รมิ ฝง แมน ำ้ ฯลฯ 13.00 - 15.00 น. มอบหมายบัตรงานใหน ักเรียนแตละกลุมวางแผนการทำงานตามทไี่ ดรบั มอบหมาย วันทีส่ อง ลองเรือแมน้ำเจาพระยา พรอมฟงวิทยากรบรรยายถึงสถานที่สำคัญในอดีต 09.00 - 12.00 น. ตามบรเิ วณท่ีต้ังตามริมแมน้ำเจา พระยา 13.00 - 15.00 น. ศึกษาเพิ่มเติมจาก Internet และสือ่ อืน่ ๆ เกย่ี วกบั สถานทท่ี ่ีนกั เรยี นสนใจ นำเสนอผลงานตามแนวคดิ และความสามารถของนกั เรยี น ท่ีมาของภาพ : www.amphur.in.th 25 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ตัวอยางบตั รงาน กิจกรรม “ลอ งแมนำ้ เจาพระยา : ชมสถานทส่ี ำคัญในสมยั รตั นโกสินทร” จุดประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักรูคุณคาของสถานท่ีสำคัญในสมัย รตั นโกสนิ ทรท ีต่ ้งั อยรู มิ แมนำ้ เจา พระยา 2. เพื่อฝกทักษะการสังเกต การฟง การคิดวิเคราะห การคิดสรางสรรค และทักษะ การจดบนั ทึก 3. เพ่ือฝกทกั ษะการทำงานรว มกนั “การทำงานเปน ทมี ” กิจกรรมที่ 1 1. ใหน กั เรยี นศกึ ษาแผนท่ีแมน้ำเจาพระยาท่ีไดร ับ 2. ต้ังใจฟงพรอมจดบันทึกขอมูลขณะฟงวิทยากรบรรยายเร่ือง “ความสำคัญของแมน้ำ เจาพระยาจากอดีตจนถึงปจจบุ นั ” 3. ลงทต่ี ง้ั ของสถานทสี่ ำคัญในแผนท่ีแมน ้ำเจาพระยาทก่ี ำหนดให กิจกรรมที่ 2 1. เม่ือเสร็จส้ินการลองแมน้ำเจาพระยาแลวใหนักเรียนสืบคน/ศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ สถานทส่ี ำคญั ในประเด็นทีส่ นใจ 2. นกั เรยี นนำเสนอผลการศึกษาใหน า สนใจอยางเสรตี ามแนวคิดและความสามารถของตนเอง 3. จดั นิทรรศการหนา ชั้นเรียนเพอ่ื แลกเปลยี่ นเรยี นรูรว มกัน 26 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

บัตรงาน “ลอ งแมน ำ้ เจา พระยา : ชมสถานทส่ี ำคญั ในสมยั รัตนโกสินทร” ช่ือ.........................................................................................................................ชน้ั ...................................... กจิ กรรมท่ี 1 ใหน ักเรียนลงท่ีตัง้ ของสถานท่ีสำคญั ในแผนทแ่ี มน ำ้ เจา พระยาทีก่ ำหนดให 27 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

เฉลยกจิ กรรมท่ี 1 28 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กจิ กรรมท่ี 2 อาหารไทย : ครวั ไทยสคู รวั โลก กิจกรรม เสนห ป ลายจวกั ความสอดคลอ งกับหลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด อาหารไทยจากอดีตจนถึงปจจุบัน เปนท่ีช่ืนชอบของคนไทยและชาวตางประเทศมากย่ิงข้ึน ขึ้นอยูกับปจจัยหลัก 3 ประการ คือ ปจจัยทางวัฒนธรรมไทยที่หลอมรวมภูมิปญญาไทยกับภูมิปญญา ตางชาติทางดานอาหารเขาดวยกันอยางกลมกลืน จนกลายเปนเอกลักษณของตนเองอยางโดดเดน ปจจัย ภูมิศาสตร อันเปนที่มาของพืชพันธุธัญญาหาร อันอุดมสมบูรณบนผืนแผนดินไทย ท่ีเอื้อตอการนำมา ปรุงอาหารอยางหลากหลาย และปจจัยลักษณะนิสัยและทักษะการประดิดประดอย จัดแตงรูปลักษณ ของอาหารใหส วยงาม มเี สนห  และถูกหลกั โภชนาการของคนไทยนั่นเอง ท่ีทำใหค นไทยสามารถนำครัวไทย สูครวั โลกได จดุ ประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนไดสืบคนที่มาของอาหารไทยบางชนิดท่ีไดพัฒนามาจากอาหารตางชาติ จนกลายเปน อาหารไทย เชน ฝอยทอง เปน ตน 2. เพอ่ื ใหนักเรียนมปี ระสบการณใ นการทำอาหารไทย 3. เพ่อื พัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะหแ ละสรางสรรค 4. เพือ่ ปลกู ฝง คานยิ มรบั ประทานอาหารไทยในชีวิตประจำวัน แนวทางจัดกิจกรรม 1. นักเรียนศึกษาเร่ือง อาหารไทย : ครัวไทยสูครัวโลก จากสื่อวีดิทัศนและเอกสารประกอบ และอภิปรายรวมกันวา “ทำไมอาหารไทยจึงไดชื่อวาเปนตัวแทนของวัฒนธรรมไทย ที่มีเอกลักษณ โดดเดน เปนท่ยี อมรับของชาวโลก” 2. แบงกลุมนักเรียน กลุมละ 5-6 คน สืบคนตามวิธีการทางประวัติศาสตรตามประเด็นที่วา อาหารไทยชนิดใดที่คนไทยไดพัฒนามาจากชาวตางชาติ และผสมผสานกลมกลืนจนกลายเปนอาหารไทย ท่ีโดดเดน เชน ฝอยทอง แกงมสั มัน่ แกงกะหรี่ เปนตน 3. นักเรียนแตล ะกลมุ ฝกหัดทำอาหารไทยทชี่ าวตางชาติช่นื ชอบ เชน ตมยำกุง ผัดไทย ตมขาไก สมตำ ไกย า ง เปนตน 29 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

4. นักเรียนแตละกลุม สงผูแทนนำเสนอผลงานตามภาระงานที่มอบหมายในขอท่ี 2 และ 3 พรอ มนำอาหารที่กลมุ ทำมารว มจดั เปนงาน Thai Food Party Day และรับประทานอาหารรว มกนั 5. ผูสอนกระตุนใหนักเรียนรูจักชื่นชมผลงานของตนเองและของเพื่อนกลุมอ่ืน ๆ เพ่ือให นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ และใหนักเรียนปรับเปล่ียนคานิยมหันมารับประทานอาหารไทยเพ่ิมขึ้น แทนการรบั ประทานอาหารขยะ (Junk Food) การสะทอนคิด กิจกรรมเสนหปลายจวักนี้เปนการกระตุนใหนักเรียนไดคิดวิเคราะหถึงคุณคาของอาหารไทย และ ฝกหัดทำอาหารไทยมากย่ิงข้ึน ซ่ึงผูปกครองควรใหความรวมมือในกิจกรรมน้ีอยางจริงจัง และสนับสนุน ใหนักเรียนมีเสนหปลายจวักติดตัวไป เพราะอาจจะเปนประโยชนตอนักเรียนในอนาคตตอการทำธุรกิจ ทางดานอาหาร เปนการยกครัวไทยสูครัวโลกโดยแทจริง จึงนับไดวาเรียนรูประวัติศาสตรเพื่อความเปนเลิศ ในปจ จบุ ันและอนาคตน่ันเอง ท่ีมาของภาพ : www.watch333.blogspot.com, www.bloggang.com, www.rongrean.com 30 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กิจกรรมท่ี 3 วดั พระศรีรตั นศาสดาราม กิจกรรม “วัดพระศรีรตั นศาสดาราม” วัดกษัตริยส รา ง ศนู ยรวมจิตใจของชาวไทยทงั้ ประเทศ ความสอดคลองกบั หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู ส 4.1 ม.3/1 ส 4.1 ม.3/2 และ ส 4.3 ม.3/3 แนวคิด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เปนพระอารามหลวงท่ีสำคัญยิ่งแหงราชวงศจักรี และเปนแหลงรวม ศิลปกรรมชั้นเย่ียมทุกสาขาสวยงามวิจิตรย่ิง สมกับเปนพระอารามหลวงคูบานคูเมืองโดยแท อีกทั้งเปน ศูนยรวมจิตใจของชาวไทยทั้งประเทศ จดุ ประสงค 1. เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และตระหนักในคุณคา ความสำคัญของวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม ทม่ี ตี อพระมหากษัตรยิ แ หงราชวงศจ กั รีและชาวไทยทง้ั ประเทศ 2. เพ่ือฝกทักษะการรวบรวมขอมูลทางประวัติศาสตรของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ดวยการ สังเกต การสำรวจ และการฟงการบรรยายจากผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา น 3. เพื่อปลูกฝงความรักชาติ ความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยท่ีเกิดมาใตรมพระบารมี ของพระมหากษัตรยิ แ หงราชวงศจ ักรี แนวทางจดั กิจกรรม 1. นกั เรยี นศึกษาสือ่ วีดทิ ัศนและเอกสารประกอบ ตอนท่ี 3 วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ท่ีกำหนดให แลวอภิปรายรวมกันในรายละเอียดถึงประวัติความเปนมา แผนผังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และ ความสำคัญของสิ่งกอสรางภายในวัด พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัด พระศรรี ตั นศาสดาราม ยกั ษว ัดพระแกว พระบรมราชสญั ลกั ษณ และปราสาทพระเทพบิดร โดยเนนใหนักเรียน ตระหนกั ถึงบทบาทและความสำคัญของวดั ดงั กลา วท่มี ีตอ ราชวงศจกั รี และประชาชนชาวไทยท้งั ประเทศ 2. นักเรียนรวมกันวางแผนอยางรอบคอบ เพื่อเขาไปศึกษาภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยางเปนระบบ โดยแบงกลุมเพื่อเวียนฐานศึกษาตามจุดตาง ๆ และมอบหมายงานกันทำตามบัตรงาน ทีว่ ทิ ยากรหรอื ครผู ูส อนกำหนดภาระงานโดยฟงวทิ ยากรบรรยายสรุปประกอบวดี ิทัศน กอนนำชมเกี่ยวกับ ❂ แผนผังวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม และความสำคัญของสิง่ กอ สรา งภายในวดั ❂ พระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากร ❂ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภายในวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 31 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

❂ ยกั ษว ดั พระแกว ❂ พระบรมราชสญั ลักษณ ❂ ปราสาทพระเทพบิดร 3. นักเรียนเดินทางไปวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และแบงกลุมศึกษาตามบัตรงานท่ีระบุ จนครบทุกฐาน 4. นกั เรียนสืบคน ขอมลู เพม่ิ เติมตามความสนใจ 5. นกั เรยี นนำเสนอผลงานและภาพถา ยประกอบ 6. ผูสอนเพ่มิ เติมขอ มลู และกลาวคำชมเชยผลงานของนักเรียนทกุ คน ขอสังเกต กิจกรรมนอกสถานท่ีชวยใหผูเรียนไดพินิจพิจารณาศิลปกรรมทุกแขนงในสถานท่ีศึกษา อยางใกลช ดิ ซ่ึงจะสง ผลใหน ักเรียนชนื่ ชมความสวยงาม ความวิจิตรบรรจงของศิลปกรรมน้นั ๆ ซ่ึงเกดิ จากฝม ือ ชา งศิลปไทย เกดิ ความภาคภูมิใจในภูมปิ ญ ญาของคนไทย และภมู ิใจในตนเองท่ไี ดเ กดิ มาบนผืนแผน ดินไทย ผูเรียนไดบูรณาการทักษะตาง ๆ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห ความคิดสรางสรรค เขาใจความเปนมาของชาติไทย ตระหนักในความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริยและพระพุทธศาสนา เขาใจผอู ื่น และมุมมองของผูอ น่ื เปนตน ทีม่ าของภาพ : www.thaigoodview.com, www.watrongsao.blogspot.com, www.unseentravel.com 32 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ตวั อยา ง แผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรียนรู : พระมหากษตั ริยไ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทร กลุม สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวตั ิศาสตร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 เวลา 3 ชว่ั โมง มาตรฐานการเรียนรู ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปญญา มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปนไทย ตัวชีว้ ดั วิเคราะหป จ จยั ทีส่ งผลตอความมน่ั คงและความเจรญิ รุง เรืองของคนไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร สาระสำคัญ 1. พระราชประวตั ิและพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริยในราชวงศจกั รี 2. ความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณยี กิจในดา นตา ง ๆ จุดประสงคก ารเรียนรู 1. สรุปพระราชประวัติและพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตรยิ ในราชวงศจักรีไดโดยสงั เขป 2. อธิบายความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณยี กจิ ทสี่ งผลตอ การพัฒนาชาติไทยได สาระการเรียนรู 1. พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยใ นราชวงศจ ักรี 2. ความสำคญั และประโยชนของพระราชกรณียกจิ ในดา นตา ง ๆ 33 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

กิจกรรมการเรียนรู 1. นำเขาสูบทเรียนโดยใหนักเรียนดูสื่อการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร โดยเนนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับพระราชกรณียกิจท่ีสำคัญ ของพระมหากษัตริย แลวรว มกนั อภิปราย เชน ❂ รสู กึ อยางไรในพระราชกรณยี กจิ เหลานน้ั ❂ พระราชกรณยี กิจเหลาน้ันมสี ว นในการพัฒนาชาติไทยอยา งไร 2. ครผู สู อนแจง จุดประสงคการเรยี นรแู ละสาระการเรยี นรู 3. ครูผูส อนใหนักเรียนรว มกนั อภิปรายถึงพระมหากษตั ริยท ่นี ักเรยี นชื่นชอบ พรอ มบอกเหตุผล ประกอบวาเพราะเหตใุ ด 4. แบงกลุมนักเรียน กลุมละ 5-6 คน เพ่ือสืบคนรายละเอียดของพระราชประวัติและ พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ท นี่ ักเรียนช่นื ชอบ 5. แตละกลุมรวมกันวิเคราะหพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ ท่ีมีประโยชน ในการพฒั นาชาตไิ ทยจากประสบการณ จากขอมลู และขอ เท็จจรงิ ท่ีไดจากการสบื คน 6. แตละกลุมบูรณาการขอมูลเปนองคความรูของตนเองดวยวิธีการตาง ๆ ตามความถนัด และความสนใจของกลมุ 7. นักเรียนแตละกลุมแลกเปล่ียนเรียนรูซึ่งกันและกันโดยการจัดปายนิทรรศการแสดงผลงาน ของพระมหากษัตริยท ่ีตนเองช่นื ชอบ ประกอบการนำเสนอ 8. ครผู สู อนและนักเรียนรว มกันสรุป พระราชกรณียกจิ สำคญั ของพระมหากษัตรยิ ร าชวงศจ ักรี ในภาพรวมอีกคร้ัง เพ่ือใหไดองคความรทู ีช่ ดั เจนยง่ิ ข้ึน 9. ทดสอบนักเรียนเปนรายบุคคล โดยใหนักเรียนเขียนเรียงความเร่ืองพระราชกรณียกิจ พระมหากษตั รยิ ร าชวงศจ กั รีที่ขา พเจา ช่นื ชอบและใชเปนแนวทางในการดำเนนิ ชีวิต สือ่ และแหลง เรียนรู 1. สื่อวีดิทัศนการเรียนรูนอกหองเรียนเสมือนจริง Virtual Field Trip ประวัติศาสตร รัตนโกสินทร 2. แหลงเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุดโรงเรียน หองคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต การสอบถามผูรู แหลง ขอ มูลภายนอกโรงเรียน หองสมดุ ประชาชน เปนตน การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ พฤตกิ รรมการทำงาน และการนำเสนอผลงาน 2. ตรวจผลงานการเขียนเรยี งความ 3. ทดสอบนกั เรียนโดยใชแ บบทดสอบ และจากการรว มกจิ กรรมท่กี ำหนด 34 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

สวนท่ี 2 สำหรับนักเรียน

ความรูพื้นฐานประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรเปนชวงสมัยที่มีความสำคัญมากชวงหนึ่งในประวัติศาสตรไทย เนื่องจากเปนชวงเชื่อมตอจากสมัยอยุธยาและธนบุรีจึงสืบทอดความเจริญรุงเรืองของอารยธรรมไทย ครงั้ “บานเมอื งด”ี ไว และพัฒนาตอ เนอ่ื งมาถงึ สมัยปจจบุ นั ดงั นน้ั การศึกษาประวตั ศิ าสตรส มัยรัตนโกสินทร จะชว ยใหผ ูศึกษาเขาใจถงึ พัฒนาการของประวตั ิศาสตรไ ทยไดชัดเจนมากขน้ึ ประวัติศาสตรสมัยรัตนโกสินทร โดยท่ัวไปหมายถึงชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2325 - 2475 สวนชวงเวลาหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบันเรียกวา ประวัติศาสตรสมัยใหมห รอื ประวตั ศิ าสตรไทยยุคประชาธปิ ไตย สมัยรัตนโกสินทร เริ่มตนเม่ือสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก แมทัพใหญและสมุหนายก ในสมัยธนบุรีไดรับการสนับสนุนจากขุนนางและไพรฟาประชาชนใหปราบดาภิเษกข้ึนเปนพระมหากษัตริย เม่ือวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 นบั เปนปฐมกษัตริยแ หง ราชวงศจ ักรี และมพี ระมหากษตั รยิ ส ืบสันตติวงศ เปน ลำดบั มาถงึ ปจจุบนั รวม 9 พระองค คอื 1. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 2325 - 2352) 2. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลยั (พ.ศ. 2352 - 2367) 3. พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยหู ัว (พ.ศ. 2367 - 2394) 4. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) 5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว (พ.ศ. 2411 - 2453) 6. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั (พ.ศ. 2453 - 2468) 7. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู วั (พ.ศ. 2468 - 2477) 8. พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั อานนั ทมหดิ ล (พ.ศ. 2477 - 2489) 9. พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ภูมิพลอดลุ ยเดช (พ.ศ. 2489 - ปจ จบุ ัน) 36 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

พัฒนาการของอาณาจักรรตั นโกสินทรแบง ออกไดเ ปน 3 ระยะ คือ 1. สมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2394) เริ่มต้ังแตรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ถึงรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจา อยูหัว เปนชว งเวลาทีว่ างรากฐาน บานเมืองใหเปนปกแผนทั้งดานอาณาจักรและศาสนจักร ในชวงเวลาน้ีพมายังคงขยายอำนาจเขามารุกรานไทย ตอเนื่องจากสมัยอยุธยา ทำใหตองทำสงครามเพ่ือปองกันประเทศใหพนภัยจากการคุกคามของศัตรู และ เพื่อรักษาอาณาเขตใหม่ันคงปลอดภัย พรอมท้ังขยายอาณาเขตออกไป ไดลาว เวียงจันทน หลวงพระบาง จำปาศักด์ิ เขมร และมลายู เปนเมืองประเทศราช นอกจากนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ไทยไดทำสงครามกับ เวยี ดนาม (ญวน) เรียกวา ศึกอนั นัมสยามยุทธ (พ.ศ. 2376 - 2390) เปน เวลายาวนานถงึ 14 ป ในชวงสมัยน้ีการคากับตางประเทศโดยเฉพาะการคาสำเภากับจีนขยายตัวอยางกวางขวาง และเริ่มทำการคากับตะวันตก มีการทำสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชยกับชาติตะวันตก การเผยแพรคริสตศาสนาและวิทยาการความเจริญดานตาง ๆ ของชาวตะวันตก ทำใหผูนำไทย เร่ิมเปลย่ี นแปลงแนวคิดกาวเขาสคู วามทนั สมัยในเวลาตอมา 2. สมัยปรับตัวใหทนั สมยั (พ.ศ. 2395 - 2475) เร่ิมต้งั แตร ัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) ถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนประชาธิปไตย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลา เจาอยหู วั เปนชว งเวลาที่ไทยมกี ารเปล่ยี นแปลงทางการเมือง การปกครอง สังคม และเศรษฐกิจ จากเดิมที่เคยดำเนินมาหลายรอยปอยางรวดเร็ว เนื่องจากไทยตองเผชิญกับการคุกคามของจักรวรรดินิยม ตะวันตก จึงตองปรับปรุงบานเมืองใหทันสมัยในทุกดาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหปฏิรูปประเทศอยางกวางขวางและครอบคลุมทุกดาน ซ่ึงเปนผลใหไทยสามารถรักษา เอกราชไวได ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไทยไดกาวเขาสูสังคมโลก และทรงพยายามที่จะแกไ ขสญั ญาทไี่ มเ ปนธรรมตา ง ๆ จนประสบผลดีในระดับหนึ่ง 3. สมยั ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2475 - ปจจบุ ัน) เรมิ่ ต้งั แตประเทศไทยเปล่ยี นแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนประชาธิปไตย โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงเปน พระมหากษตั ริยอ งคสุดทา ยในระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย และเปน พระองคแ รกในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากสภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำท่วั โลก และความแตกแยกทางความคดิ ทางการเมอื ง ทำใหพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหัวทรงสละราชสมบัติ เปดโอกาสใหรัฐบาลแตงตั้งพระมหากษัตริยพระองคใหม ตามวถิ ีทางการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดลุ ยเดช สังคมไทยไดม ีการเปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ ท้ังทางดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม สืบจนถึงปจ จบุ ัน 37 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คำชี้แจงการใชชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ผานส่ือ Virtual Field Trip สำหรบั การศกึ ษาดวยตนเอง 1. ศกึ ษาความรูพน้ื ฐานประวัติศาสตรร ัตนโกสินทร 2. ทำแบบทดสอบกอ นเรียน 3. ชมสื่อวีดิทศั น “ประวัติศาสตรรัตนโกสินทร” 4. ศึกษาเน้ือหาสาระที่จัดใหเ พิ่มเตมิ เพื่อเตมิ เตม็ ความรู 5. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 6. เฉลยแบบทดสอบและเปรียบเทียบผลการเรียนรกู อ น - หลงั ดว ยตนเอง 7. ศึกษาเพ่ิมเติมจากหนังสือที่ปรากฏในบรรณานุกรมทายเน้ือหาหรือสื่ออื่น ๆ เมอ่ื ตอ งการความรเู พม่ิ ขึน้ พกั และหาเวลาศกึ ษาประเดน็ ตอ ไปเมื่อนกั เรียนพรอ ม 38 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชุดท่ี 1 เกาะรัตนโกสินทร ความสอดคลองกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การศึกษาชุดส่ือการเรียนรูประวัติศาสตรรัตนโกสินทร ชุดที่ 1 เกาะรัตนโกสินทร นกั เรยี นจะไดรบั ความรซู ง่ึ สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชวี้ ัดช้นั ป ดังนี้ ส 4.1 เขา ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชว ิธีการทางประวัตศิ าสตรม าวิเคราะหเหตกุ ารณต า ง ๆ อยางเปนระบบ ม.3/ส 4.1 ขอ 1 วิเคราะหเรื่องราวเหตุการณสำคัญทางประวัติศาสตร ไดอยางมเี หตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร ม.3/ส 4.1 ขอ 2 ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ทีต่ นสนใจ ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จ และธำรงความเปน ไทย ม.3/ส 4.3 ขอ 1 วิเคราะหพฒั นาการของไทยสมัยรตั นโกสินทรในดานตา ง ๆ ม.3/ส 4.3 ขอ 2 วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความมั่นคงและความเจริญรงุ เรือง ของไทยในสมัยรตั นโกสินทร ม.3/ส 4.3 ขอ 3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอทิ ธิพลตอการพฒั นาชาติไทย 39 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 1 เกาะรัตนโกสินทร PRE-TEST คำชี้แจง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ กู ตอ งทีส่ ดุ เพียงขอ เดียวลงในกระดาษคำตอบ 1. ปจ จัยในขอ ใดท่ที ำใหพ ระมหากษัตริยอ ยุธยาโปรดใหขดุ คลองลัดบางกอกขนึ้ ก. อำนวยความสะดวกในการคา นานาชาติ ข. ขยายเสน ทางคมนาคมตามเสน ทางระหวางกรงุ ธนบุรีกับกรุงศรีอยุธยา ค. เพ่มิ พื้นท่ีทางการเกษตร โดยเฉพาะพืน้ ท่ีนาในเขตเมืองธนบรุ ศี รมี หาสมุทร ง. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ หวั เมือง โดยเฉพาะเมอื งบางกอกท่ีเปน เมืองหนาดา น 2. ในสมยั อยธุ ยา บางกอกมีบทบาทอยา งไร ก. เมอื งปอ มปราการ ข. เมืองหนาดานการคานานาชาติ ค. ศนู ยกลางการคา ของชาตติ ะวันตก ง. เปนท่ตี ั้งปอมวชิ ัยประสิทธ์ิ 3. บริเวณฝง ตะวันออกของแมนำ้ เจาพระยากอ นการสถาปนากรงุ รตั นโกสินทร เปน อยา งไร ก. ท่ีต้งั ของชมุ ชนชาวจีน และยา นการคา ข. เมอื งอกแตก ทม่ี ีแมน ้ำเจาพระยาผานกลางเมือง ค. ทีต่ ้งั พระราชวงั หลวงของพระเจาตากสนิ มหาราช ง. ถกู ทุกขอ 4. ปอมทีส่ มเด็จพระนารายณโปรดเกลาฯ ใหทหารฝร่งั เศสสรา งขน้ึ ทเ่ี มอื งบางกอก ก. ปอมสุเมรุ และปอ มยุคนธร ข. ปอ มมหาปราบ และปอมมหากาฬ ค. ปอ มมหาชยั และปอมจักรเพชร ง. ปอมวิชัยประสทิ ธิ์ และปอมวิไชเยนทร 5. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช จึงโปรดเกลา ฯ ใหย ายราชธานี ก. เพราะทรงเห็นวากรงุ ธนบรุ มี ชี ัยภมู ไิ มเ หมาะสม ข. พระราชวังเดิมมอี าณาเขตคับแคบ ขยายพระราชวงั ใหส งา งามไมได ค. กรงุ ธนบุรมี ีแมน ำ้ ผานกลางเสมือนเมืองอกแตก ขาศึกยกมาทำลายไดงาย ง. ถกู ทุกขอ 40 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

6. ขอบเขตพระราชวงั แหง ใหมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชคือขอ ใด ก. บริเวณคลองบางลำพู - คลองโอง อาง ข. พื้นทีร่ ะหวา งปอมวิชัยประสิทธิก์ ับปอ มวไิ ชเยนทร ค. พื้นทภี่ ายในคลองรอบกรงุ ง. บริเวณคลองคเู มอื งเดิมกบั คลองหลอด 7. ขอใดไมใ ชป ระโยชนของคลองในสมยั พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช ก. เสนทางคมนาคมภายในกรุงรตั นโกสินทร ข. แนวปอมปราการสำหรับปอ งกันกรุงรัตนโกสนิ ทร ค. เสน ทางขนสง อาวธุ ยทุ โธปกรณ และกำลังไพรพลในยามสงคราม ง. ขยายพ้นื ทเ่ี พาะปลูก และใหช าวพระนครลงเรือเลน เพลงสกั วา 8. ขอ ใดคือวัตถปุ ระสงคสำคัญในการขุดคลองเพ่ิมขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั และพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจาอยหู ัว ก. เสน ทางคมนาคมกับเมอื งหนาดา นและหัวเมอื งอ่นื ๆ ข. เพ่ิมเสน ทางคมนาคมภายในกรงุ รัตนโกสนิ ทร ค. ขยายและเพมิ่ พืน้ ทที่ างการเกษตร ง. ถกู ทกุ ขอ 9. ขอใดคือวัตถปุ ระสงคใ นการสรา งปอมปราการเพมิ่ ข้ึนในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจา อยูหัว ก. เตรยี มทำสงครามกบั ญวน ข. ปองกนั เรือรบของชาติตะวนั ตก ค. สรางแนวปองกันรอ งนำ้ ลกึ ทใ่ี ชเ ปนเสนทางเดนิ เรอื ง. สรางความมนั่ คงใหพระราชวงั หลวงท่กี รงุ เทพมหานคร 10. ตำแหนงกรมพระราชวังบวรสถานมงคลยกเลิกในสมัยใด ก. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหวั ข. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั ง. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจา อยูหวั เฉลย 1. ก 2. ข 3. ก 4. ง 5. ง 6. ค 7. ค 8. ก 9. ข 10. ข 41 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

ชดุ ที่ 1 เกาะรตั นโกสินทร 1 จากอยุธยาสูร ตั นโกสินทร เมืองรตั นโกสินทร ในชว งเวลาทีก่ รุงศรีอยุธยาเจรญิ รุง เรอื งเปนศูนยก ลางทางการเมอื ง การปกครอง และศูนยก ลาง การคานานาชาติน้ัน เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรหรือเมืองบางกอก ท่ีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงตั้งข้ึน เม่ือ พ.ศ. 2106 เปนเมืองท่ีมีฐานะเปนเมืองหนาดานการคานานาชาติท่ีสำคัญสำหรับการเก็บภาษีและ การตรวจสนิ คา ทางเรอื ทจ่ี ะเดนิ ทางเขา ออกคา ขายกบั อาณาจกั รอยธุ ยา อาณาจกั รอยุธยาอยลู กึ จากปากแมน ้ำเขาไปราว 140 กิโลเมตร ลำนำ้ คดเคยี้ วใชเ วลาเดินทางนาน ซึง่ เปน ปญ หาในการเดินทาง และการคาจากปากแมน ำ้ ถงึ กรุงศรีอยธุ ยา พระมหากษตั ริยอ ยธุ ยาหลายพระองค โปรดใหขุดคลองลัดเพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางและยนระยะทาง เชน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดใหขุดคลองเชื่อมระหวางคลองบานพราวถึงคลองเชียงรากข้ึนเปนคลองแรก ตอมาขุดคลองลัด แมน้ำเจาพระยาอีก 5 แหง คือ คลองลัดตำบลบางกรวย คลองลัดหนาเมืองนนทบุรี คลองลัดตำบลบางกอก ท่มี าของภาพ : แนง นอ ย ศกั ดศ์ิ ร,ี ม.ร.ว. พระบรมมหาราชวงั และวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม. หนา 10. 42 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

คลองลัดปากเกร็ด และคลองลัดนครเข่ือนขันธ สวนคลองลัดบางกอกน้ันขุดในสมัยพระไชยราชาธิราช ซึ่งยนระยะทางไปไดถึง 40 กิโลเมตร แตก็ยังอยูหางไกลจากอาวไทย เรือสินคาสวนใหญจึงมักหยุดพัก ท่ีเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรกอนจะเดินทางตอไปยังกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเรือที่จะเขาไปไดตองเปนเรือขนาดเล็ก สวนเรอื สินคาขนาดใหญจ ะเขา ไปไดถงึ เมืองธนบรุ ศี รีมหาสมุทรเทาน้นั เมืองแหงนี้จงึ เปนแหลง ชุมชนคาขาย ที่สำคัญมาต้ังแตโบราณ โดยมีปอมวิชัยประสิทธิ์และปอมวิไชเยนทร ท่ีสมเด็จพระนารายณมหาราช โปรดใหทหารฝรง่ั เศสสรา งขนึ้ เปนปอ มปราการสำคญั อยสู องฝง ของแมน ำ้ เจา พระยา รัตนโกสินทรในอดตี ท่ีมาของภาพ : ราชบัณฑติ ยสถาน. ใตร มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามนิ ทราธิราช. หนา 80. 43 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร

เมอื่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาลมสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 ภั ย จ า ก ส ง ค ร า ม ท ำ ใ ห ผู ค น ส ว น ห น่ึ ง อ พ ย พ ไ ป ต้ังถิ่นฐานที่เมืองบางกอก ประกอบกับเมื่อสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรี เปนราชธานีแหงใหมทางฝงตะวันตกของแมน้ำ เจา พระยา และสรางพระราชวงั ใกลปอมวิชยั ประสิทธ์ิ สวนทางฝงตะวันออกของแมน้ำเปนท่ีตั้งชุมชนชาวจีน และยานการคาขนาดใหญ ดังนั้น เม่ือสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราชโปรดใหขุดคูเมืองครอบคลุม ท้ังสองฝงแมน้ำเม่ือ พ.ศ. 2314 ทำใหเมืองธนบุรี ศรีมหาสมุทร มีแมน้ำเจาพระยาผานกลางเมือง โดยมีศูนยกลางการปกครองอยูฝงตะวันตกของ แมน้ำเจาพระยา มีปอมวิชัยประสิทธ์ิไวปองกันเมือง สวนยานการคาอยูฝงดานตะวันออก มีปอมวิไชเยนทร ต้ังเปน ปราการอยูท างฝง น้ีดวย เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกเสด็จขึ้นครองราชย ใน พ.ศ. 2325 ทรงเห็นวากรุงธนบุรีเปนเมืองที่มีแมน้ำผานกลางเมือง ซ่ึงมีชัยภูมิไมเหมาะสม เสมือนเมืองอกแตก ขาศึกยกทัพมาทำลายไดงาย พระราชวังมีอาณาเขตคับแคบ เพราะมีวัดขนาบอยู ทั้งสองขาง ถือเปนท่ีอุปจาร ขยายพระราชวังใหสงางามไมได จึงโปรดใหยายราชธานีมาอยูฝงตะวันออก ของแมน้ำเจาพระยาเพียงฝงเดียว ราชอาณาจักรไทยจึงไดเชื่อมตอจากอยุธยาสูธนบุรีและรัตนโกสินทร ดังกลาว ซ่ึงศูนยกลางอาณาจักรยังคงมีบทบาทสำคัญทางการคานานาชาติ เมืองหลวงแหงใหมคือ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนศนู ยกลางการปกครองของอาณาจักรรัตนโกสนิ ทรสบื มาถงึ ปจจบุ ันน้ี บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. ธนบุรี ศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2553. ราชบัณฑิตยสถาน. ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการ จดั ทำสารานุกรมประวัติศาสตร, 2547. ศลิ ปากร, กรม. กองโบราณคด.ี นำชมกรุงรตั นโกสินทร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2525. ที่มาของภาพ : www.thaigoodview.com/files/u4617/pano_03.jpg 44 Virtual Field Trip ประวัติศาสตร