Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน สุข1-merged-compressed

แผน สุข1-merged-compressed

Published by มานพ ในพิมาย, 2018-10-12 00:27:26

Description: แผน สุข1-merged-compressed

Search

Read the Text Version

๑๐ การบูรณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน ทักษะการพูด ทักษะการฟังและทักษะการอา่ น ๒. การบูรณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. คุณธรรมจริยธรรมและศลี ธรรม ๔. หนา้ ทพี่ ลเมอื งดีสิทธิผบู้ ริโภค การบรู ณาการ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณุ ธรรมจริยธรรม หนา้ ที่พลเมืองดี สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนหน่วยท่ี ๔คาช้ีแจง : จงทาเคร่ืองหมาย  ท่ีนกั เรียนคดิ ว่าถูกตอ้ งที่สดุ๑. สทิ ธขิ องบคุ คลซึ่งเปน็ ผู้บริโภคยอ่ มไดร้ ับความคุม้ ครองตามกฎหมายบญั ญตั ิข้อใดก. พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. ๒๕๔๑ข. พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๓๑ค. พระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. ๒๕๒๑ง. พระราชบัญญัติคมุ้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. ๒๕๑๑๒. ถ้ามกี ารเลอื กใชส้ ินค้าและบริการของผบู้ ริโภค น.ส.เรรินซ่ึงเป็นผบู้ ริโภคจะต้องคานงึ ถงึ เร่อื งใดมากที่สดุก. ต้องคานงึ ถึงความคุ้มคา่ ข. ต้องคานงึ ถงึ ความปลอดภยัค. ตอ้ งคานึงถงึ สนิ ค้า ง. ต้องคานงึ ถึงการบริการ๓. ผบู้ รโิ ภคถูกหลอกลวงโดยรเู้ ท่าไม่ถึงการณใ์ นการเลอื กซื้อสินค้าประเภทใดมากทส่ี ดุก. อาหารสาเร็จรูป อาหารกระป๋องข. อาหารกงึ่ สาเร็จรปู อาหารประเภทบรรจุกล่องค. อาหารเสริม เคร่อื งสาอาง ยาลดความอ้วนง. อาหารประเภทเครอื่ งดื่มบารงุ ร่างกาย๔. สิทธิผูบ้ รโิ ภคมี ๕ ขอ้ มีข้อใดบ้างทเ่ี ก่ยี วกับนกั เรยี นโดยตรงก. ขอ้ ๑, ขอ้ ๓ และขอ้ ๔ ข. ขอ้ ๑,ข้อ ๒ และข้อ ๕ค. ข้อ ๓, ขอ้ ๔ และขอ้ ๕ ง. ขอ้ ๑, ข้อ ๒, ข้อ ๓ และขอ้ ๕๕. นักเรียนคิดว่า Need ในหวั ข้อแนวทางการเลือกบริโภคอยา่ งฉลาดและปลอดภัยมคี วามหมายว่าอยา่ งไรก. ความตอ้ งการเทยี ม ข. ความต้องการแท้ค. ความรกั แท้ ง. ความรักเทียม๖. นักเรยี นในฐานะเปน็ ผ้บู รโิ ภคมีวิธพี จิ ารณาเลือกซื้อผลิตภัณฑต์ า่ งๆอย่างไรก. ต้องมีฉลากเปน็ ภาษาอังกฤษแสดงชอื่ ผลติ ภณั ฑ์ทตี่ ั้งข. ตอ้ งมฉี ลากเปน็ ภาษาไทยมชี ่อื ที่ผลิต เลขท่ี วันเดือนปที ผ่ี ลติค. มีฉลากภาษาไทยแสดงชอื่ ผลติ ภัณฑ์ ทตี่ ้งั ของผูผ้ ลิตหรือผแู้ ทนจาหนา่ ย วันเดือนปที ่ผี ลิตง. มีฉลากเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ แสดงชอ่ื สินค้า ท่ตี ั้งของสินค้าทจ่ี าหน่าย๗. ถ้านกั เรยี นจะเลอื กซอ้ื ผลิตภัณฑ์สินคา้ และบริการสขุ ภาพควรพิจารณาข้อใดก. มีเครื่องหมายรหสั สนิ คา้ ย่หี ้อสินค้าข. นาเข้าจากตา่ งประเทศค. ราคาแพง บรรจุภัณฑ์สวยงามง. มีเครื่องหมาย มอก. หรือ อย. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๘. ถ้านกั เรียนไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรม ถูกเอารัดเอาเปรยี บจากผู้ประกอบการผผู้ ลิตจะร้องเรยี นไปที่ใด ก. เจ้าหนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานคุ้มครองผบู้ ริโภค ข. เจ้าหน้าทีข่ องหนว่ ยงานสาธารณสุข ค. เจา้ หนา้ ทขี่ องหน่วยงานความปลอดภัย ง. เจ้าหนา้ ท่ีของหน่วยงานวทิ ยโุ ทรทศั น์ ๙. สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยามหี น้าท่อี ย่างไร ก. กากับดแู ลอาหารทน่ี าเข้าจากต่างประเทศ ข. กากับดูแลส่งเสรมิ การผลิต การจาหนา่ ยและโฆษณาผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ ค. กากับดแู ลยาและเวชภณั ฑ์ทางการแพทย์ ง. กากบั ดแู ลอาหารให้มีสารเสพตดิ เปน็ สว่ นประกอบ๑๐. กรมทะเบยี นการคา้ กระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่ทาอะไร ก. ควบคุมสินคา้ ให้ดี ข. ควบคมุ วัตถุมีพษิ ค. ควบคุมปริมาณ การชั่ง ตวงและวดั สินคา้ ง. ควบคุมตรวจสอบ มาตรฐานสินค้า เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรียนหนว่ ยท่ี ๔ ๑.ก ๒.ข ๓.ค ๔.ข ๕.ข ๖.ค ๗.ง ๘.ก ๙.ข ๑๐.ค บ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

บันทักหลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..……๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ...............................................ครผู ู้สอน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ข้อเสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผ้ทู ี่ได้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงช่อื ................................................ (นายวนิ ัย คาวิเศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหนั คาราษฎ์รังสฤษดิ์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕วิชา พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษา๔ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ เร่ือง ส่ือโฆษณากบั สขุ ภาพ เวลา 2 ชวั่ โมง………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑ เปา้ หมายการเรยี นรู้ วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพเพ่ือการเลือกบริโภค๒ สาระสาคญั สื่อโฆษณาเก่ียวกับสุขภาพมีความสาคัญและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและใช้บริการเกี่ยวกับสุขภาพต่างๆ ของประชาชน การรับข้อมูลข่าวสารโฆษณาท่ีเกี่ยวกับสุขภาพในสังคมผู้บริโภค(Consumer Society) ภายใต้การแข่งขันทางการตลาด มีการกระตุ้นให้เกิดการบริโภคเกินความจาเป็น และเกดิ ความฟุมเฟือย เราจึงควรรู้เท่าทันสื่อโฆษณาเก่ียวกับสุขภาพ สามารถวิเคราะห์และรู้จักพิจารณาเลือกซื้อสนิ ค้าและใชบ้ ริการสุขภาพท่มี ีคณุ ภาพต่อไป๓ มาตรฐานและตัวชวี้ ัด มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรค และ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ตวั ชีว้ ดั : สิง่ ที่ผู้เรยี นพึงรแู้ ละปฏิบัติได้ ๒. วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของสื่อโฆษณาเก่ียวกบั สุขภาพเพ่ือการเลือกบริโภค๔ สาระการเรยี นรู้ ๑. ความหมายของสื่อโฆษณาเก่ียวกับสุขภาพ ๒. ความสาคญั ของส่ือโฆษณา ๓. ประเภทของสื่อโฆษณาเกีย่ วกับสุขภาพ ๔. ผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ ๕. อทิ ธพิ ลของส่ือโฆษณาเกยี่ วกับสุขภาพ ๖. หลกั การพจิ ารณาสอ่ื โฆษณา ๗. การควบคมุ การโฆษณาโดยรฐั สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๕ กิจกรรมฝกึ ทักษะทีค่ วรเพิม่ ให้นกั เรียนK (Knowledge) P (Practice) A (Attitude)ความรู้ ความเข้าใจ การฝกึ ปฏิบตั ิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์๑. อธิบายความหมายของสอื่ ๑.วเิ คราะห์อทิ ธพิ ลของสื ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซอื่ สัตย์สุจรติโฆษณาเก่ยี วกบั สุขภาพ โฆษณาเก่ียวกบั สขุ ภาพ ๓. มวี ินยั ๔. ใฝุเรียนรู้๒. อธิบายความสาคัญของสอ่ื เพือ่ เป็นแนวทางในการ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง โฆษณา เลือกบรโิ ภคอยา่ งฉลาด ๖. มงุ่ ม่นั ในการทางาน และปลอดภัย ๗. รักความเปน็ ไทย๓. อธบิ ายประเภทของสื่อ ๘. มจี ิตสาธารณะ โฆษณาและผลติ ภัณฑ์ สุขภาพ๔. อธิบายอิทธิพลของสื่อ โฆษณาเกย่ี วกบั สขุ ภาพ๕. อธบิ ายหลักการพจิ ารณา เพ่อื การรเู้ ท่าทนั สื่อโฆษณา เกี่ยวกับสขุ ภาพ๖. อธบิ ายการควบคมุ การ โฆษณาโดยรฐั ได้๖ การวัดและประเมนิ ผล ๑. เครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล ๑) แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน ๒) แบบฝึกหดั ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ ๕) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. วิธวี ัดผล ๑) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี น ๒) ตรวจแบบฝึกหัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๕) สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๖) สังเกตสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๗) สงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๓. เกณฑ์การวดั และประเมินผล ๑) สาหรบั ชวั่ โมงแรกท่ีใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียนไมม่ เี กณฑผ์ ่าน เกบ็ คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนทไี่ ด้จากการทดสอบหลังเรยี น ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหดั ต้องผา่ นเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ทักษะ และจิตพสิ ัย ทกุ ชอ่ งเกนิ รอ้ ยละ ๕๐ ๔) การประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ ตอ้ งไมม่ ีช่องปรบั ปรงุ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจรงิ ๗) การประเมินผลการสงั เกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น คะแนนข้ึนอยู่กับการประเมินตามสภาพจรงิ๗ หลกั ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น และแบบฝึกหดั ๒. ผลการทาใบงาน๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น ๑. ครูและนักเรียนสนทนากันว่าในปัจจุบันสื่อต่างๆมีหลายประเภทผู้ผลิตย่อมต้องการให้เข้าถึงกลุ่มเปูาหมายให้มากท่ีสุดเพ่ือให้ผู้บริโภคมาซ้ือผลิตภัณฑ์หรือสินค้าน้ันๆส่ิงท้ังหลายล้วนมีสองด้านคือด้านที่เปน็ ประโยชน์และโทษและส่งผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพหากรูจ้ ักใช้ของท่ีเป็นโทษอย่างเช่นยาพิษก็มีประโยชน์ได้ยาเสพติดอย่างมอร์ฟีนยังเกิดประโยชน์ในการทางการแพทย์เม่ือใช้อย่างเหมาะสมและยารักษาโรคก็กลายเป็นยาพิษได้หากใช้อย่างไมถ่ ูกวิธี ๒. นักเรียนยกตัวอย่างส่ือที่มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสินค้าหรือบริการต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพโดยผ่านช่องทางสื่อต่างๆได้แก่สื่อส่ิงพิมพ์เช่นวารสารนิตยสารแผ่นพับรวมท้ังการโฆษณาผ่านส่ือมวลชนต่างๆเช่นหนังสอื พิมพ์วารสารวทิ ยแุ ละโทรทศั นป์ น็ ตน้ รวมทั้งส่ือในลักษณะอื่นๆเช่นปูายโฆษณาท้ังนี้เพ่ือให้ผู้บริโภครับรู้ข้อมลู ข่าวสารด้านสขุ ภาพเพอื่ กระต้นุ จงู ใจใหผ้ บู้ รโิ ภคซือ้ หรือใชส้ ินคา้ หรือบริการน้ัน ๓. ครเู ชอ่ื มโยงเขา้ สบู่ ทเรียน และแจง้ กิจกรรมฝกึ ทักษะทค่ี วรเพ่ิมให้นักเรยี นทราบ ๔. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนท้ายหน่วยการเรียนรู้ ขัน้ สอน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๕. ครูอธิบายความหมายของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพความสาคัญของส่ือโฆษณา และประเภทของสื่อโฆษณาเกีย่ วกับสขุ ภาพโดยใชส้ ่ือแผ่นใสและรูปภาพประกอบ เพอื่ ส่ือความหมายใหน้ กั เรยี นเข้าใจง่ายยงิ่ ข้ึน ๖. เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนทกุ คนร่วมแสดงความคดิ เห็นในชน้ั เรียนเพอื่ สรุปเปน็ ข้อความรรู้ ว่ มกนั ๗. นกั เรียนแบง่ กลุ่มเป็น๓กลุ่มจานวนเทา่ ๆกันตามความสมัครใจและให้ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามขน้ั ตอนดงั น้ี ข้ันท๑ี่ จดั บอร์ดสอ่ื โฆษณาเก่ียวกับสขุ ภาพประเภทต่าง ๆ ตามความสนใจของกลุ่มนักเรียน (ห้ามซ้ากัน) ขัน้ ท๒ี่ ทุกกลุ่มแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Construct) โดยศึกษาหาข้อมูลทาความเข้าใจและสรุปเปน็ ข้อความรูข้ องกลมุ่ เกีย่ วกบั สอื่ โฆษณาที่มผี ลต่อสุขภาพ รวมทั้งเร่อื งอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ขั้นที่ ๓ ส่งตัวแทนของกลุ่มนาเสนอหน้าช้ันเรียนและนักเรียนทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็นประมาณกลุม่ ละ ๑๐นาที ๘. ครูอธิบายถึงสอ่ื โฆษณาซง่ึ จะนาข่าวสารโฆษณาต่างๆซึ่งเป็นข้อมูลผลิตภัณฑ์ยังผู้บริโภคกลุ่มเปูาหมายนับได้ว่าการสื่อสารช่องทางท่ีสาคัญระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคเรียกได้ว่าเป็นส่ิงที่ช่วย สร้างความบันเทิงและสร้างความต้องการให้กับผู้บริโภคทาให้ผู้ท่ีสนใจน้ันอยากดูอยากมีและอยากได้ในสินค้าหรือผลิตภัณฑ์น้ันๆโดยการโฆษณามอี ทิ ธิพลหรือ “อานาจ” ในการสร้างคา่ นยิ มของระบบทนุ นยิ มและบริโภคนิยมสามารถแทรกซึมไปได้ทุกทถ่ี ้าไมพ่ จิ ารณาในสนิ คา้ หรอื ผลติ ภณั ฑ์น้ันตามลกั ษณะของการส่อื สารดงั นี้ ๘. ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดังน้ี ๘.๑ หาข่าวสารข้อมูลจากสื่อต่างๆ ประกอบดว้ ย ๑) สื่อสง่ิ พิมพ์เช่นวารสารนิตยสารแผ่นพบั และโปสเตอร์ ๒) สอ่ื สารมวลชนเช่นหนังสอื พมิ พว์ ทิ ยุโทรทศั น์ ๓) ส่ือบุคคลเช่นครูแพทย์พยาบาลวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิผู้นาชุมชนอาสาสมัครนักเรียนนกั ศึกษาดาราและผูท้ ีม่ ีชอื่ เสยี งในสงั คม ๔) สือ่ อนิ เทอร์เน็ตเชน่ เกมออนไลน์ (Online Game) และเว็บไซต์ (Website) ๕) สอื่ กิจกรรมเชน่ การจัดแถลงข่าวการพาส่ือมวลชนเย่ียมชมโรงงานเป็นตน้ ๖) สื่ออื่นๆเช่นส่ือวีดิทัศน์ส่ือซีดี (CD) แนะนาสินค้าส่ือปูายโฆษณากลางแจ้งสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ ๘.๒ นาเสนอโดยจัดนิทรรศการ โดยระบรุ ายละเอียดให้ชดั เจน ๙. ให้นักเรียนนาสื่อโฆษณามาคนละ ๑ แผ่น และเขียนระบุว่าในแผ่นโฆษณานั้นต้องบ่งบอกได้ว่ามีองค์ประกอบของการส่ือสารอยา่ งไรบ้าง ๑๐. นกั เรียนทาใบงานท่ี ๕.๑ ในหนงั สือเสริมฝึกประสบการณ์ สขุ ศกึ ษา ๔ ข้นั สรปุ และประยุกต์ ๑๑. ครูและนักเรียนนาอภิปรายและสรุปร่วมกันเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้เพ่ือให้ได้ความรู้ตามหัวข้อท่ีได้ศกึ ษามาและเพมิ่ เตมิ ในสว่ นท่ีไม่ไดก้ ลา่ วถงึ เพ่ือใหม้ ีความสมบูรณย์ ิง่ ข้นึ ในการนาไปใช้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

ชว่ั โมงที่ ๒ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน ๑๒. ครแู ละนกั เรียนกลา่ วถึงผลิตภณั ฑ์สุขภาพเป็นผลติ ภัณฑท์ มี่ คี วามเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของบุคคลทว่ั ไป ๑๓. ครูบอกหน่วยงานท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบ เช่นสานักงานคณะกรรมการอาหารและยากระทรวงสาธารณสุขเป็นหนว่ ยงานซง่ึ มหี นา้ ที่หลักในการกากบั ดูแลและส่งเสริมการผลิตการจาหน่ายการส่ังนาเข้ามาในราชอาณาจักรและการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆที่อยู่ในความควบคุมได้แก่อาหารเครื่องสาอางวัตถุอันตรายยาเครื่องมือแพทย์ สารเสพติดให้โทษให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพ่ือคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัยความเหมาะสม ประโยชนจ์ ากการใชแ้ ละการบรโิ ภคผลติ ภณั ฑ์ข้ันสอน๑๔. ครอู ธบิ ายผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ และอิทธิพลของส่ือโฆษณาเกย่ี วกับสขุ ภาพโดยใช้สอื่ แผ่นใสประกอบ๑๕. ครูแนะนาการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยการใช้เทคนิค Jigsaw เพ่ือให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมและฝึกคิดอย่างมีระบบและเน้นการปฏิบัติจริงมากกว่าการท่องจานักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีเหตผุ ล มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรคร์ ้จู ักคน้ หาความร้เู พิ่มเตมิ และความรทู้ ่ีเกิดขน้ึ จากการมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่อื นเขา้ มามสี ว่ นรว่ มดว้ ยกลุ่มเพ่ือนจงึ มผี ลตอ่ พฤติกรรมการเรียนรู้มากขน้ึ๑๖. แบ่งกลมุ่ นกั เรียนออกเปน็ ๕กลุม่ เท่าๆกันโดยคละความสามารถกันเป็นกลุ่มบ้าน (Home Group) โดยใหศ้ กึ ษาแนวทางปฏบิ ัติเพอ่ื ปอู งกันตนเองจากส่ือทไ่ี ม่ปลอดภยั โดยหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆท่ีสะดวกต่อผ้เู รยี น (แตล่ ะกลุ่มกาหนดกรณีศกึ ษาของตนเอง)๑๗. ใหก้ ลุม่ บ้านแยกกลมุ่ เปน็ การศึกษาในกลุ่มเชี่ยวชาญ (Expert Group) นักเรียนจะแยกกลุ่มบ้านไปจับกลุ่มใหม่เพ่ือศึกษาข้อมูลและสื่อการเรียนรู้ต่างๆในส่วนที่ได้รับมอบหมายซ่ึงกลุ่มเช่ียวชาญสมาชิกจะศึกษาค้นคว้าสรุปเน้ือหาสาระจัดลาดับข้ันตอนการนาเสนอเพื่อกลับไปเสนอหัวข้อที่ตนสนใจศึกษาในกลุ่มเดิมของตนเอง๑๘. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเช่ียวชาญจะกลับมาท่ีกลุ่มบ้านเดิมของตนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อธิบายเน้อื หาทีศ่ กึ ษามาใหเ้ พื่อนในกลุม่ ฟังทีละหวั ข้อและอภปิ รายทบทวนใหเ้ ข้าใจชดั เจน๑๙. นกั เรียนในกลมุ่ อภิปรายแลกเปลยี่ นความรู้ซึง่ กันและกนั เตรยี มการนาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น๒๐. ส่งตวั แทนนาเสนอหน้าชน้ั เรียน๒๑. นกั เรียนยกตวั อย่างผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพชนดิ ต่างๆ ไดแ้ ก่ อาหารคือวตั ถทุ กุ ชนดิ ทค่ี นกนิ ด่มื อมหรือนาเขา้ ส่รู ่างกาย เคร่อื งสาอางคือวัตถุท่ีมุ่งประโยชน์ในเร่ืองความสะอาดและความสวยงามหรือส่งเสริม ให้เกดิ ความสวยงาม ยา หมายถึงวตั ถทุ ม่ี งุ่ หมายใชส้ าหรบั การบาบดั บรรเทารักษาหรอื ปูองกันโรคหรือความเจ็บปุวยของมนษุ ย์หรอื สตั ว์ เคร่อื งมอื แพทย์ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

วตั ถอุ นั ตราย สารเสพติดให้โทษ ๒๒. ครูอธิบายถึงอิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพในทุกด้าน เช่น สุขภาพทางกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม สขุ ภาพปญั ญา ๒๓. นกั เรียนทาใบงานท่ี ๕.๒ และ๕.๓ในหนงั สอื เสรมิ ฝกึ ประสบการณ์ สขุ ศกึ ษา ๔ ขน้ั สรปุ และประยกุ ต์ ๒๔. ครแู ละนกั เรยี นสรปุ ถงึ ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ และอทิ ธพิ ลของสอื่ โฆษณาเก่ียวกบั สุขภาพ โดยการถามตอบเปน็ กล่มุ และรายบุคคล ๒๕. ครูแนะแนวทางให้นักเรียนมีการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวโรงเรียนและชุมชนเช่น เมือ่ ทกุ คนในสังคมพฒั นาตนเองให้เปน็ สมาชิกที่ดีไดแ้ ลว้ จะประสบความสาเร็จในทสี่ ุด ขัน้ สรุปและประยกุ ต์ 26. สือ่ โฆษณาเกยี่ วกบั สขุ ภาพมีการเผยแพร่ผ่านส่ือหลายประเภททางช่องทางต่างๆซ่ึงมีการกระตุ้นให้เกิดการบริโภคเกินความจาเป็นและฟุมเฟือยดังน้ันการพิจารณาเลือกรับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพท่ีผ่านสื่อโฆษณาจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้บริโภคเพื่อให้รู้เท่าทันสามารถเลือกซื้อสินค้าและผลิตภัณฑ์ต่างๆตลอดจนเลอื กใช้บรกิ ารสขุ ภาพด้วยความสมเหตสุ มผลและเป็นประโยชน์ตอ่ สขุ ภาพมากทส่ี ุด 27. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น และแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ในหนงั สือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๔๙ สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑๒.หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน สขุ ศกึ ษา ๔ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ ๑๓.หนงั สือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๔ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๑๔.วดี ิทัศน์ แผน่ ใส และรปู ภาพประกอบ ๑๕.ขา่ วสาร ส่อื สง่ิ พมิ พ์๑๐ การบูรณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง เช่น ฟังครูอธิบายหรือแนะนาฟงั เพอื่ นๆ แสดงความคิดเห็นฯลฯ ทักษะการอ่าน เช่น อ่านเน้ือหาสาระในหน่วยการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมฯลฯ ทักษะการเขียน เชน่ ทาแบบฝึกหดั ทาใบงาน เขยี นสรปุ เน้ือหา ฯลฯ และทักษะการพูด เช่น การนาเสนอ การตอบคาถามฯลฯ ๒. การบูรณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและศีลธรรม ๔. หน้าท่พี ลเมอื งดี สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

ส่ือโฆษณา การบรู ณาการ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยกบั สุขภาพ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณุ ธรรมจริยธรรม หนา้ ที่พลเมืองดี แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี นหนว่ ยท่ี ๕คาช้แี จง จงทาเครื่องหมายทีน่ กั เรียนคดิ วา่ ถูกต้องที่สดุ๑. ในฐานะเปน็ ผูบ้ ริโภค นกั เรยี นไดร้ บั อะไรจากสือ่ โฆษณาเกีย่ วกบั สุขภาพก. ข้อมลู ข่าวสารดา้ นสุขภาพเพื่อสนองความตอ้ งการทัง้ ทางด้านร่างกายและจติ ใจข. ข้อมลู ข่าวสารดา้ นทีอ่ ยอู่ าศัยเพือ่ สนองความต้องการทั้งทางร่างกายและจติ ใจค. ข้อมูลข่าวสารดา้ นการเดนิ ทางเพ่อื สนองความต้องการทง้ั ทางกายและจิตใจง. ขอ้ มลู ข่าวสารด้านการอุตสาหกรรมเพ่อื สนองความตอ้ งการท้ังทางกายและจติ ใจ๒. องคป์ ระกอบของการส่ือสารมีกที่ างอะไรบ้างก. มี ๔ ทาง คือ การส่ือสาร ผู้ส่งสาร ข่าวสาร ผู้รับข่าวสารข. มี ๔ ทาง คือ ผู้สง่ สาร ขา่ วสาร ชอ่ งทางสื่อ ผูร้ ับข่าวสารค. มี ๔ ทาง คอื การสื่อสาร การโฆษณา ประชาสมั พันธ์ ข่าวสารง. มี ๔ ทาง คอื ผู้สง่ สาร การโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ ช่องทางสอ่ื๓. เม่ือนักเรียนเกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงหลังจากใช้ผงซักฟอกย่ีห้อหนึ่ง เป็นผลจากสื่อโฆษณาเก่ียวกับสขุ ภาพด้านใดก. สขุ ภาพจติ ข. สุขภาพปัญญาค. สขุ ภาพกาย ง. สขุ ภาพสังคม๔. นกั เรยี นเขา้ ใจวธิ ีการแยกแยะสอื่ ทางบวกและทางลบอยา่ งไรก. คานึงถงึ เนื้อหาของขา่ วสารข. คานึงถงึ ความยากง่ายของข่าวสารค. คานึงถงึ ความไวของขา่ วสารง. คานงึ ถึงความเป็นจรงิ ความไวในการรับส่อื และไม่หลงเช่ือง่ายๆ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๕. ถ้านักเรียนจะรูเ้ ทา่ ทันส่ือโฆษณาควรได้รับการฝกึ ฝนด้านใดก. ดา้ นการสง่ เสรมิ ทักษะโดยการคิดวเิ คราะห์ข. ด้านการสง่ เสรมิ ความไวในการรบั สอ่ืค. ด้านการสง่ เสรมิ ความคิดง. ดา้ นการส่งเสรมิ การประชาสมั พันธ์๖. Consumer Society มคี วามหมายตรงกับขอ้ ใดก. สังคมผูบ้ รโิ ภค ข. สงั คมข่าวสารค. สงั คมธรุ กจิ ง. สงั คมโฆษณา๗. นักเรียนไดร้ บั ผลของการรบั ส่ือโฆษณาเก่ยี วกับสขุ ภาพจติ อย่างไรก. มคี วามรูส้ กึ ดีและไม่ดีเกี่ยวกบั โฆษณาข. มคี วามร้สู ึกไมพ่ ึงพอใจเพราะโฆษณาค. มีความร้สู ึกพึงพอใจทสี่ ินคา้ มีคณุ สมบตั เิ ป็นจรงิ ตามโฆษณาง. มีความรูส้ กึ เสยี หายและเปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพกาย๘. ประเภทของสื่อโฆษณาทน่ี กั เรยี นได้สมั ผสั ในชีวติ ประจาวันมากทส่ี ุดคือประเภทใดก. สอ่ื กิจกรรม ข. สื่อโทรทศั น์ค. สื่อสง่ิ พมิ พ์ ง. ส่ือบคุ คล๙. ในฐานะทน่ี กั เรียนเปน็ ผ้เู รียนคิดวา่ ผูเ้ รียนตรงกับขอ้ ใดมากทส่ี ุดก. ผรู้ ับขา่ วสาร ข. ผสู้ ่งข่าวสารค. ชอ่ งทางสอื่ ง. ข่าวสาร๑๐. ส่ือโฆษณาเก่ียวกับสุขภาพมคี วามสาคญั อย่างไรก. มีอทิ ธิพลตอ่ ผู้ขายทจ่ี ะใหส้ นิ คา้ สขุ ภาพขายได้ในตลาดข. มอี ิทธิพลตอ่ ทัศนคตจิ ติ ใจและพฤติกรรมทีผ่ ้บู ริโภคจะนาไปเลือกซ้ือสนิ คา้ค. มอี ิทธิพลต่อผูค้ า้ สง่ สินคา้ สุขภาพที่จะนาไปใช้ง. มอี ิทธพิ ลต่อผูค้ า้ คนกลางที่จะนาสนิ คา้ ส่งตอ่ อยา่ งม่นั ใจ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี นหน่วยที่ ๕๑.ก ๒.ข ๓.ค ๔.ก ๕.ก๖.ก ๗.ข ๘.ข ๙.ก ๑๐.ข สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

บบนั ทักหลงั สอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปญั หา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..……๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ข้อเสนอแนะของหัวหนา้ สถานศกึ ษาหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงช่ือ................................................ (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหนั คาราษฎ์รงั สฤษด์ิ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6วชิ า พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๔ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 เร่ือง ปฐมนเิ ทศความรเู้ ก่ยี วกบั กีฬาฟุตบอล เวลา 2 ชัว่ โมง……………………………………………………………………………………………………………………………………………๑.มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ ๓.๑2/1(ม.4-6)วเิ คราะห์ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั การเคล่ือนไหวรูปแบบตา่ งๆในการเล่นกฬี า๒.สาระสาคญั ความคิดรวบยอด กีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่ดัดแปลงมาจากกีฬา ๓ ชนดิ คือ เทนนสิ เบสบอล และแฮนด์บอล เข้าดว้ ยกนัทาให้ผูเ้ ล่นต้องมีการเคลอ่ื นท่ี ทต่ี ้องอาศัยความสมั พันธข์ องระบบประสาท และระบบกล้ามเน้อื ทาใหผ้ ูเ้ ลน่ มีสมรรถภาพทางกายท่ีดี ฟตุ บอลเปน็ กีฬา ประเภททีมทีช่ ว่ ยเสรมิ สร้างความสามัคคใี นหมูค่ ณะ และฝกึ ความเปน็ ผ้นู า ผู้ตามท่ีดี สามารถเล่นดว้ ยความสขุ สนุกสนานเกิดประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม๓. สาระการเรยี นรู้ 3.๑ ประวัติความเป็นมาของกีฬาฟุตบอล ประโยชน์ มารยาทของผู้เล่นและผดู้ ูกฬี า ที่ดี 3.๒ รายละเอยี ดข้อ ๔.๑ – ๔.๒ อยูใ่ นเน้ือความรู้ที่ ๑.๑ เร่ืองข้อตกลงเบอื้ งตน้ ใน การเรยี นการสอนและเนือ้ หาความรูท้ ี่ ๑.๒ เรือ่ งความรู้ทว่ั ไปของกีฬาฟุตบอล ท่ีแนบอยู่ทา้ ยแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ ความรู้ นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับประวัตคิ วามเปน็ มาของกีฬาฟตุ บอล ทักษะ นกั เรียนเข้าใจธรรมชาติของเกมการแข่งขันฟตุ บอล๔. แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์คาช้แี จง ใหใ้ ส่คะแนนท่เี หมาะกบั สภาพจริงกลมุ่ ท่ี ….............. ชื่อกล่มุ ………………………………..…...……….. จานวน สมาชิก ………….… คนเลขท่ี รายการ ๑-๔ ๕-๖ ๗-๘ ๙-๑๐ ๐,๑,๒,๓, รวม ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒ ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ๓ มีวนิ ัย ๔ ใฝเุ รยี นรู้ ๕ อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖ มุ่งมัน่ ในการทางาน ๗ รักความเป็นไทย ๘ มจี ิตสาธารณะ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๕.สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 5.๑ นักเรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเข้าใจเกีย่ วกับประวตั ิความเปน็ มาของกฬี าฟตุ บอล 5.๒ นกั เรียนเข้าใจถงึ ธรรมชาติเกมการแขง่ ขันกีฬาฟุตบอล๖. ช้ินงานภาระงานทแ่ี สดงผลการเรียนรู้ ๑. ให้นักเรียนเล่าตามหวั ขอ้ ทค่ี รแู บ่งให้ ๒. ส่งตวั แทนกลุ่มๆ ๒ คนเพื่อนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน ๓. ให้แต่ละกลมุ่ ต้ังคาถามไวก้ ลมุ่ ละ ๔ ขอ้ ๔. นกั เรียนทุกคนจดบนั ทึกลงในสมุด ๕. ครูและนักเรยี นร่วมกันใหค้ ะแนนตามสภาพจริง๗. การประเมนิระดับการประเมิน ดเี ย่ยี ม ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ผา่ น ๑การนาเสนอผลงานดาเนนิ กจิ กรรม มกี ารนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ ผลงานเป็นลาดับ ผลงานไมเ่ ป็นลาดับการรายงานผลการ ขัน้ ตอนดว้ ยวธิ ี ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานเปน็ ลาดับ ขั้นตอนดว้ ยวธิ ีการปฏิบัติ แปลกใหม่ได้ คล้ายคลึงกับแบบ ใจความชดั เจน ข้ันตอนดว้ ยวธิ ีการ ขน้ั ตอนดว้ ยวิธีการ ท่วั ไปแต่ไม่ได้ น่าสนใจ ใจความชัดเจน แปลกใหม่ได้ คล้ายคลึงกับแบบ มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง ถงึ ผลสาเรจ็ ของ ใจความชัดเจน ท่ัวไปได้ใจความ ถึงผลสาเรจ็ ของ การปฏบิ ัติในระดับ การปฏิบตั ิของการ ดีทกุ กิจกรรม น่าสนใจเกอื บตลอด ชดั เจน ปฏิบตั ิใน ระดบั กลางทุก มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง กิจกรรม ถึงผลสาเรจ็ ของ ถงึ ผลสาเร็จของ การปฏบิ ตั ิในระดับ การปฏิบตั ิในระดับ ดี ๒ กจิ กรรมและ ๑ กจิ กรรมและ ระดับปานกลาง ๑ ปานกลาง ๑ กจิ กรรม กิจกรรม๘. กิจกรรมการเรียนรู้ขน้ั นา / ขน้ั เตรยี ม (๕-๑๐ นาที) 8.๑ นักเรียนทุกคนเตรียมความพรอ้ มการจัดชุดกอ่ นเรียน 8.๒ หวั หน้าชนั้ สารวจรายช่อื ของนักเรยี นทกุ คน 8.๓ นกั เรยี นและครูร่วมกันสนทนาถงึ เร่ืองข้อตกลงเบ้ืองต้น ความรเู้ กีย่ วกับ กฬี าฟุตบอล โดยครูผู้สอนเป็นผู้เปิดประเด็น สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

ขัน้ สอน / เรียนร้แู ละนาไปใช้ (๒๕-๓๕ นาท)ี 8.4 นกั เรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ท่ี ๑.๑ เรื่องข้อตกลงเบ้ืองต้นใน การสอนที่ครูจดั เตรียมไวใ้ ห้ คนละ ๑ ชดุ โดยครูและนกั เรียนรว่ มกันสนทนา ศึกษารายละเอียดแลว้ สรุปร่วมกัน 8.5 นักเรยี นแบ่งเปน็ กล่มุ ๆละ ๕ คน โดยใหน้ ักเรียนศกึ ษาตามหัวข้อ ประวัติและความเป็นมาของฟุตบอล(www.bkps.ac.th) 8.6 ครผู สู้ อนสนทนากับนักเรยี น โดยอธบิ ายวิธกี ารเรียนตามลาดบั ขั้นตอนในการปฏบิ ัติตามลาดบัดังน้ี ๑) ให้นกั เรียนเล่าตามหัวข้อทค่ี รแู บ่งให้ ๒) สง่ ตัวแทนกล่มุ ๆ ๒ คนเพื่อนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น ๓) ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ต้ังคาถามไว้กลุม่ ละ ๔ ขอ้ ๔) นกั เรยี นทุกคนจดบันทึกลงในสมดุ ๕) ครูและนกั เรยี นร่วมกันให้คะแนนตามสภาพจริง 8.7 นกั เรยี นทุกกลุม่ ปฏิบัติตามขน้ั ตอน ตามขอ้ ๕.๒.๓ ๑) ทุกกลุม่ ช่วยกันทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ขอ้ ๒) นักเรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ที่ ๑.๒ เรอื่ งความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกับกฬี าฟตุ บอล ๓) นกั เรยี นปฏิบตั ิตามใบงานที่ ๑.๑ เร่ืองความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ วกับกีฬาฟุตบอล ๔) นักเรยี นทุกกลมุ่ ทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน ๑๐ ขอ้๙.ข้นั สรุปและสขุ ปฏิบตั ิ (๕-๑๐ นาท)ี 9.๑ สมุ่ นักเรยี น ๒-๓ คน มาสรุปเรื่องการปฐมนเิ ทศและความรู้ทว่ั ๆไปเกย่ี วกับกีฬาฟตุ บอลจากนั้นเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนได้แสดงความคิดเหน็ และซักถามข้อสงสยั เพื่อความชดั เจนและถูกต้องตอ่ ไป 9.๒ ครูเสนอแนะเพ่ิมเติมในส่วนของคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความมีระเบียบวินัย น้าใจนักกีฬา การปฏิบัติตนในการทางานร่วมกับผู้อื่น คุณค่าการออกกาลังกายและการเลน่ กีฬาอย่างสมา่ เสมอกับการมีวิถีชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร เพ่ือให้สามารถดารงตนอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างปลอดภยั และมคี วามสุข นักเรยี นมีสว่ นรว่ มทกุ คนโดยการแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ระหว่างนักเรยี นกับนักเรียนและครูรว่ มสนทนาในเรอื งประวตั ิและเกมการแข่งขัน๑๐. วัสดุอปุ กรณ์ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ เว็ปไซต์ (www.bkps.ac.th) เว็ปไซต์ http://school.obec.go.th/volley ใบความรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

บนั [ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

บนั ทกั หลงั สอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงชอ่ื ................................................ (นายวนิ ยั คาวิเศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหันคาราษฎ์รงั สฤษด์ิ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7วชิ า พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษา ๔ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 เร่ืองทดสอบสมรรถภาพทางกาย เวลา 1 ช่ัวโมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑.มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬาพ ๓.๑/ ๒(ม.4-6)ใช้ความสามารถของตน เพื่อเพ่มิ ศกั ยภาพของทมี คานึงถึงผลทีเ่ กิดต่อผู้อื่นและสงั คมนกั เรียนสามารถสาธิตทา่ การบริหารร่างกาย และการเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายได้๒. สาระสาคัญความคดิ รวบยอด ผมู้ สี มรรถภาพทางกายที่ดี มักเป็นผู้มจี ิตใจรา่ เริง แจ่มใสด้วย ดังนนั้ การบริหารรา่ งกายและการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายจะทาให้รา่ งกายมีประสิทธิภาพในการเลน่ กฬี าและปฏบิ ัติหน้าที่ การงาน ตา่ ง ๆได้เป็นอย่างดี ตลอดจนเมอื่ รา่ งกายได้ออกกาลังกายแล้วยังช่วยให้ระบบต่าง ๆ มีการประสานสัมพันธ์เป็นอย่างดีทางานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ นับว่าเป็นการลดภาวะการเจบ็ ปวุ ย ของประชากรได้เปน็ อย่างดี๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ นกั เรยี นมคี วามรู้ มคี วามเขา้ ใจ สามารแสดงทา่ กายบริหาร เพื่อการเสรมิ สร้าง สมรรถภาพทางกาย ได้ถูกต้องอย่างนอ้ ย ๕ ท่า ๓.๒ นกั เรียนสามารถอธิบายวธิ ีการเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายไดถ้ ูกตอ้ ง๔.แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์คาช้แี จง ใหใ้ สค่ ะแนนทเี่ หมาะกับสภาพจรงิสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุ่มกลมุ่ ท่ี …........... ชือ่ กลมุ่ …………………………………………….. จานวน สมาชิก ……….…… คนเลขท่ี รายการ ๓ ๒๑ ๐ ๐,๑,๒,๓,๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์๒ ซื่อสัตย์สจุ ริต๓ มวี ินยั๔ ใฝุเรยี นรู้๕ อยอู่ ย่างพอเพยี ง๖ มุ่งม่ันในการทางาน๗ รกั ความเป็นไทย๘ มีจติ สาธารณะ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

รวม๕.สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ๕.๑ ผูเ้ รยี นมีความเข้าใจสามารแสดงทา่ กายบริหาร เพื่อการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย ได้ถกู ต้องอย่างนอ้ ย ๕ ท่า ๕.๒ ผเู้ รยี นเข้าใจถงึ เกมการแขง่ ขันกีฬาฟตุ บอลนกั สามารถอธบิ ายวธิ กี ารเสรมิ สรา้ ง สมรรถภาพทางกายได้ถกู ต้อง๖.ช้นิ งานภาระงาน/แสดงผลการเรยี นรู้ระดบั การประเมิน ดีเยยี่ ม ดี พอใช้ ผา่ นการนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอผลงานดาเนนิ ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานเป็นลาดบั ผลงานไม่เปน็กิจกรรม ข้นั ตอนดว้ ยวธิ ี ข้นั ตอนดว้ ยวธิ ีการ ขั้นตอนดว้ ยวิธกี าร ลาดบั ขั้นตอนด้วย แปลกใหม่ได้ แปลกใหม่ได้ คล้ายคลึงกบั แบบ วิธีการคลา้ ยคลึง ใจความชัดเจน ใจความชดั เจน ทั่วไปได้ใจความ กบั แบบทั่วไปแต่ นา่ สนใจ น่าสนใจเกือบ ชัดเจน ไมไ่ ด้ใจความ ตลอด ชัดเจนการรายงานผลการ มีคาบรรยายแสดง มีคาบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดงปฏิบตั ิ ถึงผลสาเรจ็ ของ ถงึ ผลสาเร็จของ ถงึ ผลสาเร็จของ ถงึ ผลสาเรจ็ ของ การปฏบิ ัตใิ นระดับ การปฏิบตั ใิ นระดับ การปฏบิ ัติในระดบั การปฏบิ ัตขิ องการ ดีทุกกิจกรรม ดี ๒ กจิ กรรมและ ๑ กิจกรรมและ ปฏิบัตใิ น ระดับปานกลาง ๑ ปานกลาง ๑ ระดบั กลางทุก กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรม๗. การประเมินตัวชว้ี ัดพ ๓.๑/ ๒(ม.4-6) ใชค้ วามสามารถของตน เพอื่ เพิ่มศักยภาพของทีม คานงึ ถึงผลทีเ่ กิดต่อผูอ้ นื่ และสังคม๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ การบริหารรา่ งกาย - การบริหารกล้ามเนอ้ื เชน่ ขา ทอ้ ง และหลัง - การบรหิ ารส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ข้อมือ ข้อเทา้ หัวไหล่ คอ เอว และลาตัว ๘.๒ การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๘.๓ รายละเอียดข้อ ๔.๑ – ๔.๒ อยใู่ นเนื้อหาความรทู้ ี่ ๒.๑ เรอ่ื ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและเนอื้ หาความรู้ท่ี ๒.๒ เรื่อง ทา่ การบรหิ ารร่างกาย ดังแนบอยู่ทา้ ย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ข้ันนา / ขั้นเตรยี ม (๕ – ๑๐ นาท)ี 8.4 นักเรียนเขา้ แถวตอน แบง่ เปน็ ๕ กลุม่ หวั หนา้ กลุ่มแตล่ ะกลุ่มสารวจรายชื่อนกั เรียน ความสะอาด การแต่งกาย และสุขภาพของนกั เรียนทุกคนใน กลุ่ม เพอ่ื เตรยี มความพร้อมและความปลอดภยั ในการร่วมกจิ กรรม 8.5ครสู นทนากบั นักเรยี นเรื่องการเล่นกีฬา และการออกกาลงั กายจาเปน็ ต้องมีการบรหิ ารรา่ งกายเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายก่อนการเล่น และหลงั การเลน่ เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มในการฝึก ทักษะอ่นื ๆตอ่ ไปข้นั สอน (๑๐ – ๑๕ นาที) 8.6 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาเน้ือหาความรูท้ ี่ ๒.๑ เร่อื ง การเสริมสรา้ ง สมรรถภาพทางกาย และเน้ือหาความรู้ท่ี ๒.๒ เร่ืองทา่ การบริหารร่างกาย และร่วมกันอภปิ ราย สรปุ ผล โดยมคี รูคอยใหค้ าชแี้ นะ และสาธิตเพิ่มเตมิ ข้ันฝึก (๑๐ – ๑๕ นาที) 8.7 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ แยกฝกึ ปฏิบัติ โดยเลอื กทา่ การบริหารรา่ งกายจากเนื้อหาความรทู้ ่ี ๒.๒เรือ่ งทา่ การบริหารร่างกาย กลมุ่ ละ ๕ ทา่ และร่วมกันคิดท่าบรหิ ารร่างกายของกลมุ่ เองอีก ๕ ทา่ ฝึกปฏบิ ตั ทิ ่าละ ๑๐ ครง้ั โดย ครผู ูส้ อนคอยใหค้ าแนะนา ช่วยเหลอื และปรบั ปรงุ แก้ไข ในกรณีทีน่ กั เรยี นไม่สามารถปฏบิ ตั ิไดถ้ ูกต้อง จนสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องขั้นใช้ (๘ – ๑๐ นาท)ี 8.8 แขง่ ขันเกม “ทา่ บรหิ ารร่างกาย”วิธีการแข่งขัน ๑) แต่ละกล่มุ เลือกท่าบริหารรา่ งกาย กลุม่ ละ ๓ ท่า ๒) บริหารร่างกาย ท่าละ ๒๐ คร้งั ๓) กลุ่มใดบรหิ ารรา่ งกายไดอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง เป็นระเบียบ มีความสามัคคี และเขม้ แข็งมากที่สดุ เปน็ กลุ่มที่ชนะข้ันสรุปและสุขปฏิบัติ (๕ – ๑๐ นาท)ี 8.9 นักเรียนทุกกลุ่มรวมแถวตอนสรปุ อภปิ รายถึงประโยชน์ของการบริหารร่างกายและการเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกาย ครูผสู้ อนเปิดโอกาสให้ นกั เรยี นไดเ้ สนอแนวทางพฒั นาและปรับปรงุ โดยครูผู้สอนคอยให้ คาแนะนา เสนอแนะเพิม่ เติม 8.10 นักเรียนสรุปทา่ บรหิ ารร่างกายของกล่มุ ทน่ี กั เรียนร่วมกันคิดเอง โดยมภี าพและคาอธิบายท่าจานวน ๕ ทา่ ส่งเปน็ ผลงานในคาบเรียนตอ่ ไป ๓ นักเรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมสขุ ปฏิบัติ (ทาความสะอาดร่างกาย เชน่ มอื แขนและใบหนา้ )๙. วัสดอุ ุปกรณ์ ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ ๖.๑ เน้อื หาความรู้ที่ ๒.๑ เรอ่ื ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๖.๒ เนอื้ หาความรูท้ ่ี ๒.๒ เรื่อง ทา่ การบรหิ ารรา่ งกาย๖.๓ อปุ กรณ์กีฬาฟุตบอลเทา่ ท่จี ะนามาแสดงได้ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

เนอื้ หาความรู้ท่ี ๒.๑ เร่ืองการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของรา่ งกายในการประกอบกิจกรรมหรือการทางานอย่างใดอยา่ งหนึ่งอย่างมปี ระสิทธิภาพ การออกกาลังกาย และการบรหิ ารร่างกายสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่นการวิง่ การเลน่ กีฬา ฯลฯ การออกกาลงั กาย และการบริหารรา่ งกายทาใหเ้ กดิ ความแข็งแรง ความวอ่ งไว ความอดทน ความเรว็ ฯลฯ ทั้งน้ีทาให้ระบบการทางานของร่างกายถกู กระตนุ้ ให้พฒั นาขึ้นสมรรถภาพตา่ ง ๆ มดี ังต่อไปน้ี ๑) ความแข็งแรง คือ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือในการหดตวั การทางานและสามาร เคลือ่ นไหวได้มากท่สี ุด เช่น ยบุ ข้อ , ลกุ นง่ั , วิดพนื้ , ยกดัมเบลล์ ๒) ความเรว็ คอื ความสามารถในการเคลือ่ นไหวอย่างรวดเรว็ โดยใช้เวลานอ้ ยถึงจดุ หมายก่อน เช่นว่ิงซิกแซกหลบหลีกส่งิ กีดขวาง , คลานไปหน้า-หลังอยา่ งรวดเรว็ ก้าวไป ๑๐ ก้าวแล้วหมนุ ตัวกลับหลัง , ว่งิ มาอย่างรวดเร็ว และกระโดดข้ามส่งิ กีดขวางวง่ิ ดว้ ยความเรว็ เต็มทใ่ี นระยะทาง ๕๐ - ๑๐๐ เมตร ๓) กาลงั คอื ความสามารถในการทางานของกล้ามเนื้อในการหดตัวอยา่ งฉับพลันเพ่ือทางานได้อยา่ งรวดเรว็ เชน่ ยนื กระโดดไกล , ไต่เชือก , วิง่ กระโดดขา้ ม ขว้างลูกบอลให้ไกลท่ีสดุ , กระโดดแตะที่สูง หรือผนงัห้อง ๔.ความอดทน คือ ความสามารถทจี่ ะออกแรงติดตอ่ กันเป็นระยะเวลานาน โดย รา่ งกายสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเคลอ่ื นไหว หรอื ใช้สมองและประสาท หรอื ปฏบิ ัติ งานอนื่ ๆ ซ้าในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพลศึกษา หรือเลน่ กีฬาในอริ ยิ าบถต่างๆ เช่นเดิน ทางไกล , วิง่ ระยะทางอย่างนอ้ ย ๑,๕๐๐ เมตร , กระโดดเชือกติดตอ่ กนั อย่างน้อย ๕ นาที ,วิ่งอยู่กับท่ีติดต่อกัน อย่างน้อย ๕ นาที ๕) ความอ่อนตัว คือ ความสามารถในการเคลือ่ นไหวได้ง่ายและสะดวก โดยข้อต่อ ต่าง ๆ และกล้ามเน้อื ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่นยืนกระโดดหมนุ ตวั กลับลงสู่พ้ืนดว้ ย ปลายเท้าทงั้ สอง , ยนื เขยง่ ด้วยปลายเทา้ ยกแขนเสมอไหล่ , ยนื เท้าเดยี วกางแขน ก้มตวั ไปหน้ายกเท้าอีกข้างหน่งึ ขึน้ ไปด้านหลัง ขนานกบั พืน้ ,เดนิ บนไม้กระดานแผน่ เดียว วางหนงั สอื บนศีรษะไม่ใหห้ นงั สือตก ๖) ความคลอ่ งตวั คอื ความสามารถในการเคลื่อนท่จี ากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยอาศัย ความคล่องแคลว่ วอ่ งไว เช่นว่ิงกลบั ตัว , ว่ิงกลับตัวตามกาหนดเวลา , กระโดดสงู ๕ คร้ัง สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

เนอื้ หาความรทู้ ี่ ๒.๒ เรอ่ื งท่าการบรหิ ารร่างกาย ในการออกกาลงั กายหรือเล่นกฬี า ถา้ จะให้ได้ผลดี ผู้เลน่ จาเปน็ จะต้องรจู้ กั การบริหารรา่ งกายก่อนและหลงัการออกกาลงั กาย หรอื เล่นกีฬา เพ่ือเปน็ การกระตุน้ ให้กล้ามเนอื้ เอ็น และข้อต่อของร่างกาเตรียมพร้อมที่จะออกกาลงั กาย เพ่ิมจากสภาวะปกติ เพอ่ื ปูองกันการบาดเจ็บ อนั อาจจะเกิดขน้ึ ในขณะที่กลา้ มเน้ือ เอ็น และข้อต่อยึด หรือหดตวั อย่างรวดเร็วการบริหารร่างกายในแต่ละครั้ง ควรประกอบไปดว้ ยการบริหารสว่ นตา่ ง ๆดงั ตอ่ ไปนี้ - รา่ งกายสว่ นบน ไดแ้ ก่ คอ แขน ไหล่ และหลังสว่ นบน - ร่างกายส่วนกลางหรอื ลาตัว ได้แก่ ท้อง หลังและสะโพก - ร่างกายสว่ นล่าง ไดแ้ ก่ ขา และเท้า สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

บัน[บบนั ทักหลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงช่อื ................................................ (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) ผ้อู านวยการโรงเรียนหนั คาราษฎร์ งั สฤษดิ์ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 8วิชา พ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษา ๔ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 เรื่อง อบอุ่นรา่ งกาย เวลา 1 ชว่ั โมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ตัวช้วี ดัพ3.1/3(ม.4-6) เล่นกฬี าไทย กฬี าสากล ประเภทบุคคล/คู่ กฬี าประเภททีม ร้แู ละเข้าใจเกี่ยวกบัความรู้ทัว่ ไปของกีฬาฟุตบอล และข้อตกลงเบื้องต้น๒. สาระสาคญั ความคดิ รวบยอด การสรา้ งความคนุ้ เคยกับลกู ฟุตบอล จะก่อให้เกดิ การประสานสมั พันธ์ระหวา่ งประสาทตากบั ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ทาใหท้ ราบถึงลกั ษณะการยืดหยนุ่ น้าหนกั ของลูกบอลเพอ่ื เป็นพน้ื ฐานในการฝกึ ทกั ษะต่าง ๆ ให้ง่ายขนึ้ตลอดจนสามารถใชม้ ือและแขน บังคบั ลูกฟตุ บอลไปในทศิ ทางทตี่ ้องการนาไปใช้ในการออกกาลงั กาย๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ การสรา้ งความคุน้ เคยกบั ลูกฟุตบอลด้วยการโยน ขว้าง ทุ่ม กลงิ้ ตี และเลยี้ ง ๓.๒ การสรา้ งความคุ้นเคยกบั ลูกฟุตบอลด้วยการสง่ และการรบั ๓.๓ รายละเอียดข้อ ๔.๑– ๔.๒ อยใู่ นเอกสารเนื้อหาความรู้ที่ ๓.๑ เร่อื ง การสรา้ งความคุ้นเคยกบั ลกู ฟตุ บอลและแบบฝกึ ปฏิบตั ิที่ ๓.๑ เร่อื ง เกมแข่งขนั สรา้ งความคุน้ เคยกบั ลกู ฟตุ บอล ดงั แนบอยูท่ ้าย๔. แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์คาช้ีแจง ใหใ้ สค่ ะแนนท่ีเหมาะกบั สภาพจรงิ สังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลุ่มกลมุ่ ที่ …................... ชือ่ กล่มุ ………………..…..………………………….. จานวน สมาชิก ……………… คนเลขท่ี รายการ ๓ ๒ ๑ ๐ ๐,๑,๒,๓ รวม ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒ ซ่ือสัตย์สุจริต ๓ มวี นิ ัย ๔ ใฝุเรียนรู้ ๕ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๖ มุ่งม่นั ในการทางาน ๗ รักความเป็นไทย ๘ มีจติ สาธารณะ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๕.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๕.๑ นกั เรียนสามารถแสดงออกทางทักษะกีฬา ๕.๒ นกั เรยี นสามาถนาทักษะกีฬาไปใช้ในการแขง่ ขัน ๕.๓ นกั เรียนมีความสามารถแก้ปัญหาขณะทีม่ ีการแข่งขันกีฬาฟุตบอล๖.การวัดและประเมนิ ผล ทักษะตวั ชีว้ ัด พ3.1/3(ม.4-6) เล่นกฬี าไทย กฬี าสากล ประเภทบคุ คล/คู่ กฬี าประเภททีม รูแ้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกบัความรทู้ ว่ั ไปของกฬี าฟตุ บอล และข้อตกลงเบื้องตน้๗. กิจกรรมการเรยี นรู้ขน้ั นา / ข้นั เตรียม (๕ – ๑๐ นาท)ี ๗.๑ นักเรยี นเข้าแถวตอน แบ่งออกเป็น ๕ กลุม่ หวั หน้ากลมุ่ สารวจรายชอื่ นักเรียน ตรวจเลบ็ และความสะอาดการแตง่ กาย และสขุ ภาพของนักเรียนทุกคน เพ่ือเตรียมความพรอ้ มและความปลอดภัย ๗.2 นักเรียนทกุ กล่มุ บริหารร่างกาย โดยแต่ละกลมุ่ ผลดั เปลยี่ นกันเปน็ ผูน้ า และผู้ตามในการ บรหิ ารรา่ งกายตามลาดับดังน้ี ๑) ว่ิงยกเข่าสงู อย่กู บั ท่ี ๓๐ วินาที ๒) กระโดดตาม ๒๐ คร้ัง ๓) กระโดดตบใต้ขา ๒๐ ครั้ง ๔) นั่งก้มตวั มือแตะปลายเทา้ ๒๐ คร้ัง ๕) บริหารข้อมือ ข้อเทา้ เข่า ๒๐ ครงั้ ๗.๓ ครูสนทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกบั ขนาด นา้ หนัก และความยดื หยนุ่ ของลกู ฟุตบอล พรอ้ มสาธิตและชีใ้ ห้เหน็ ถงึ ความสาคัญในการสรา้ งความคุ้นเคยกับลกู ฟตุ บอล ท่ีเป็น ทักษะพื้นฐาน ในการฝกึ ทกั ษะ อื่นๆต่อไปขัน้ สอน (๕ – ๑๐ นาท)ี 7.4 นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมตามเนื้อหาความรู้ท่ี ๓.๑ เรื่อง การสร้างความคุ้นเคย กับลูกฟตุ บอล จากน้ันตวั แทนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอ อธบิ าย พร้อม สาธิตการฝึกปฏบิ ตั ิท่าการสรา้ ง ความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล ตามหัวข้อ ที่กลุ่มจับฉลากได้ โดยครูผู้สอนคอยให้การดูแล ชว่ ยเหลือ รว่ มสาธติ และเสรมิ ในส่วนทีย่ ังไม่สมบูรณ์จนครบทุกกลุ่มขน้ั ฝกึ (๑๕ – ๒๐ นาท)ี ๗.5นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มแยกฝกึ ปฏบิ ตั ิ โดยเลือกท่าการสร้างความคนุ้ เคยกับลกู ฟตุ บอล กลมุ่ ละ๕ทา่ ๗.6ครนู าภาพแบบฝึกปฏิบัติที่ ๓.๑ แบบฝกึ ที่ ๑,๒,๓ที่แนบอย่ทู า้ ยแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ให้นักเรียนชมและตวั แทนนักเรยี นสาธติ ตวั อย่างแบบฝกึ ท้งั ๓แบบใหน้ ักเรยี นทกุ คนชมจากนั้นนักเรยี นทุกกลุ่ม แยกฝึกปฏบิ ตั ิขั้นสรปุ และสขุ ปฏบิ ตั ิ (๕ – ๑๐ นาที) สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๗.7 นักเรียนทุกกลุ่มรวมแถวตอน และร่วมกันอภิปราย ซักถาม ตอบปัญหา แสดงความคิดเห็น สรุปการสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล โดยครู คอยให้คาแนะนา และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ใหน้ ักเรยี นมคี วามตระหนัก และบงั เกดิ กับนักเรียนทุกคน ๗.8 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสุขปฏบิ ตั ิ ( ทาความสะอาดร่างกาย เชน่ มอื แขน และใบหน้า )๘.วัสดอุ ปุ กรณ์อุปกรณ/์ สื่อแหลง่ เรียนรู้ ๘.๑ ใบงานท่ี ๓.๑ เร่อื งท่าการสรา้ งความคุ้นเคยกับลกู ฟตุ บอล ๘.๒ แบบฝกึ ปฏบิ ัติที่ ๓.๑ เรื่อง เกมแข่งขันสรา้ งความคนุ้ เคยกับลกู ฟุตบอล ๘.๓ ลูกฟตุ บอล 5 - 1๐ ลกู๙.สรุปผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ สร้างความคนุ้ เคยกับลูกฟุตบอล จะกอ่ ให้เกิดการประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งประสาทตากับส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทาให้ทราบถึงลักษณะการยืดหยุ่น น้าหนักของลูกบอลเพ่ือเป็น พ้ืนฐานในการฝึกทักษะต่าง ๆ ให้ง่ายขน้ึ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ นกั เรยี นเกิดทักษะการเคล่ือนไหวที่ใช้กบั กีฬาฟตุ บอลดว้ ยการเคล่อื นไหวในทิศทางตา่ งๆ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

เนอ้ื หาความรูท้ ่ี ๓.๑ เร่อื งการสร้างความคุ้นเคยกบั ลกู ฟุตบอล แบบฝึกปฏบิ ัตทิ ่ี ๓.๑ เร่ืองเกมการสรา้ งความคุน้ เคยกบั ลกู ฟตุ บอลเกมสง่ บอลลอดใต้ขาสลับเหนอื ศรี ษะ คนท่ี ๑ ส่งลูกบอลลอดใต้ขาไปด้านหลงั ใหค้ นท่ี 2 คนที่ 2 รับลกู บอลแล้วสง่ ขา้ มศีรษะไปดา้ นหลงั ให้คนตอ่ ไป คนต่อไปกส็ ง่ ลอดใต้ขาอีก สลบั กนั อย่างนจ้ี นครบคน กลุ่มใดสง่ ลูกบอลครบกอ่ นชนะเกมส่งบอลลอดใต้ขาไปดา้ นหลงั รบั ส่งลูกบอลใต้ขาไปด้านหลงั ให้ผูเ้ ล่นในกลุ่ม คนสดุ ทา้ ยว่ิงขึ้นมาหวั แถวเปน็ การแข่งขนั ระหว่าง-กลมุ่เกมสง่ บอลดา้ นข้างลาตัวเป็นวงกลม ผู้เล่นยนื เปน็ วงกลม คนที่ ๑ สง่ ลูกบอลด้านข้างลาตัวไปให้ผู้เลน่ คนท่ี ๒ คนที่ ๒ สง่ ลกู บอลดา้ นข้างลาตวั ใหผ้ เู้ ล่นคนที่ ๓ ทาเชน่ น้จี นถงึ ผู้เล่นคนสุดท้าย การส่งใหส้ ่งแบบมือต่อมอื หา้ มโยนให้กันA สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

บนั ทกึ หลงั สอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงชอ่ื ................................................ (นายวนิ ยั คาวิเศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหนั คาราษฎ์รงั สฤษด์ิ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 9วชิ า พ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษา ๔ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๔หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 เร่ือง ทกั ษะพืน้ ฐานฟตุ บอล เวลา 1 ช่ัวโมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑. มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี าพ ๓.๑/4(ม.4-6) แสดงการเคล่อื นไหวไดอ้ ย่างสร้างสรรค์สาธิตการยนื ทา่ เตรยี มพร้อม และการเคล่อื นทใี่ นการเลน่ ฟุตบอลได้๒. สาระสาคัญความคดิ รวบยอด การยนื เตรียมพร้อมและการเคล่ือนท่ี เป็นพืน้ ฐานทส่ี าคัญในการเล่นฟุตบอล ผู้เล่นท่ีฝึกฝนจนเกิดความชานาญ จะสามารถทราบวิถี ทิศทาง และความเร็วของลกู บอลได้ อีกทั้งก่อให้เกิดความคล่องแคล่ว ว่องไว การตดั สนิ ใจ ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง ตลอดจนชว่ ยเสริมสร้างสมรรถภาพทาง๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ อธิบายและแสดงท่าการยนื เตรียมพร้อมในการเล่นฟุตบอลไดถ้ ูกต้อง ๓ – ๕ คร้ัง ๓.๒ อธิบายและแสดงทา่ การเคลอ่ื นที่แบบสไลด์ด้านข้าง ดา้ นหลัง แบบวงิ่ ได้ ๓ – ๕ ครงั้ ความรู้ นักเรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การยืนเตรียมพรอ้ มในการเลน่ ฟุตบอลได้ ทักษะ นักเรยี นเขา้ ใจธรรมชาติของเกมการแข่งขันความเร็วของลูกบอลได้ อีกท้ังกอ่ ให้เกดิ ความ คล่องแคลว่ วอ่ งไว การตัดสนิ ใจ ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง ตลอดจนช่วยเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพ ทางกาย ทางจิต และนาไปใชใ้ นการออกกาลงั กายในชีวติ ประจาวันได้๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์คาช้ีแจง ให้ใสค่ ะแนนที่เหมาะกับสภาพจริงกลมุ่ ที่ …................ ชือ่ กล่มุ ……………………………………..…….. จานวน สมาชกิ ………….… คนเลขที่ รายการ ๓ ๒ ๑ ๐ ๐,๑,๒,๓, ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒ ซอื่ สัตยส์ จุ รติ ๓ มีวินยั ๔ ใฝเุ รยี นรู้ ๕ อยอู่ ย่างพอเพียง ๖ มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗ รักความเปน็ ไทย ๘ มีจิตสาธารณะ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

รวม๕.สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๕.๑ อธบิ ายและแสดงท่าการยนื เตรียมพร้อมในการเล่นฟุตบอล ๕.๒ อธิบายและแสดงทา่ การเคล่อื นท่ีแบบสไลด์ด้านข้าง ด้านหลัง๖. ชน้ิ งาน/ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ ๖.๑ ให้นักเรยี นเล่าตามหวั ขอ้ ท่ีครูแบง่ ให้ ๖.๒ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ๆ ๒ คนเพื่อนาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ๖.๓ ให้แต่ละกลุ่มตัง้ คาถามไว้กลุม่ ละ ๔ ข้อ ๖.๔ นกั เรยี นทุกคนจดบนั ทึกลงในสมดุ ๖.๕ ครูและนักเรยี นร่วมกันใหค้ ะแนนตามสภาพจริง๗. การประเมนิ ระดับการประเมิน ดีเยีย่ ม ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ผ่าน ๑การนาเสนอ มกี ารนาเสนอผลงาน มกี ารนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอผลงานดาเนนิกิจกรรม เปน็ ลาดบั ขัน้ ตอนด้วย ผลงานเปน็ ลาดบั ผลงานเป็นลาดบั ผลงานไมเ่ ป็นลาดบั วิธแี ปลกใหมไ่ ด้ ขน้ั ตอนด้วยวธิ ีการ ขน้ั ตอนดว้ ย ข้นั ตอนดว้ ยวธิ ีการ ใจความชดั เจน แปลกใหม่ได้ วิธกี ารคล้ายคลึง คล้ายคลึงกบั แบบ น่าสนใจ ใจความชัดเจน กบั แบบทั่วไปได้ ทว่ั ไปแต่ไม่ได้ นา่ สนใจเกือบตลอด ใจความชัดเจน ใจความชัดเจนการรายงานผล มคี าบรรยายแสดงถึง มคี าบรรยายแสดง มีคาบรรยาย มีคาบรรยายแสดงการปฏิบตั ิ ผลสาเรจ็ ของการ ปฏบิ ัตใิ นระดบั ดีทกุ ถึงผลสาเร็จของการ แสดงถึง ถงึ ผลสาเร็จของ กจิ กรรม ปฏบิ ัตใิ นระดบั ดี ๒ ผลสาเร็จของ การปฏบิ ัติของการ กิจกรรมและระดบั การปฏิบตั ิใน ปฏิบตั ใิ น ปานกลาง ๑ ระดับ ๑ ระดบั กลางทุก กิจกรรม กจิ กรรมและปาน กิจกรรม กลาง ๑ กจิ กรรม๘.การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนขั้นนา / ขั้นเตรียม (๕ – ๑๐ นาที) ๘.๑ นกั เรยี นเขา้ แถวตอน แบ่งเป็น ๕ กลมุ่ หัวหนา้ กล่มุ สารวจรายช่ือนกั เรียนทกุ คน ความ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

สะอาด การแตง่ กายและสขุ ภาพของนักเรียนเพื่อเตรยี มความพร้อมและความปลอดภยั ๘.๒ นักเรยี นทุกกลุม่ บริหารรา่ งกายโดยการว่งิ รอบสนามฟุตบอลจานวน ๒รอบพรอ้ มทง้ั บริหาร หวั ไหล่แขนขอ้ มือและลาตวั ทา่ ละ๒๐ครั้ง ขณะเลน่ หรือฝกึ ปฏิบตั ิท่ีอาจเกิดขึ้นได้ ๘.๓ ครูสนทนากับนักเรยี นถงึ ประสบการณใ์ นการชมการแขง่ ขนั การเลน่ ทีมเก่ียวกับการเคลื่อนท่ใี นลกั ษณะตา่ งๆและชใี้ หเ้ ห็นถงึ ความสาคญั ของทักษะท่ีทุกคนควรทราบและเปน็ พื้นฐานต่อไปขนั้ สอน (๑๐ – ๑๕ นาท)ี ๘.4 นักเรยี นศึกษาสือ่ วดี โี อซีดี เร่ือง การเคล่ือนท่ีเลน่ ฟุตบอล (เวลา ๘ นาท)ี และศกึ ษาภาพประกอบที่ ๔.๑ เร่ือง ท่าเตรียมพร้อม และ การเคลื่อนทใี่ นลักษณะต่างๆ โดยครผู ูส้ อนคอย ใหก้ ารช่วยเหลือ อธบิ ายพร้อมสาธติ เสรมิ ความรปู้ ระกอบภาพจาก วีดโี อซีดี เพอ่ื ให้นักเรยี น เกดิ ความเข้าใจย่ิงข้นึและปฏิบตั ิได้ถูกต้อง พร้อมทั้งเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ซักถาม และแสดงความคดิ เหน็ขน้ั ฝกึ หดั (๑๐ – ๑๕ นาที) ๘.5 หลงั จากนกั เรียนชมวีดโิ อซดี ี และดภู าพประกอบที่ ๔.๑ เรอ่ื ง ท่าเตรียมพรอ้ มและการเคลอ่ื นทใ่ี นลกั ษณะต่าง ๆ แล้ว นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ ๔ คน ฝกึ ปฏิบัตแิ บบฝึที่ ๔.๑ เรอ่ื ง การเคลอื่ นทีใ่ นลักษณะต่างๆ ทค่ี รูนาภาพมาให้ดู โดยเลือกฝกึ ปฏิบตั ิกลมุ่ ละ ๒ แบบข้นั ใช้ (๑๐ -๑๕ นาท)ี ๘.6 นักเรยี นรว่ มกันคิดแบบฝกึ การเคลื่อนท่เี ลน่ บอล กลุ่มละ ๑ แบบ ฝกึ ปฏบิ ตั โิ ดยนาทักษะ ต่างๆจากสือ่ วีดโี อซีดี มาประยุกต์ใช้ ครผู ้สู อน คอยให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื และปรบั ปรงุ แกไ้ ขขัน้ สรปุ และสุขปฏิบัติ (๕ – ๑๐ นาที) ๘.7 นักเรียนและครูผู้สอนรว่ มกนั อภปิ ราย สรปุ ความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะ การยืน การเตรียมพร้อม และการเคล่ือนที่แบบต่างๆ ๘.8 นกั เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมสุขปฏิบัติ (ทาความสะอาดร่างกาย เชน่ มือ แขน และใบหน้า)๙. วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่ือแหล่งการเรยี นรู้ ๙.๑ ชดุ เครอื่ งเล่นซดี ี จอทวี ี ๙.๒ ภาพประกอบเนื้อหาความรู้ท่ี ๔.๑ เร่อื ง การยนื เตรียมพรอ้ มและการเคลื่อนที่เล่นลูกบอลแบบตา่ งๆ ๙.๓ แบบฝึกปฏิบัตทิ ่ี ๔.๑ เร่อื ง แบบฝกึ การเคล่ือนท่แี บบต่างๆ ๙.๔ ลกู ฟตุ บอล ๒๐ – ๒๕ ลกู ๙.๕ ส่ือวีดีโอซีดี เรอื่ ง การยืนเตรยี มพรอ้ มและการเคล่ือนท่ี เลน่ ลกู บอลแบบตา่ งๆ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

เนอื้ หาความรู้ที่ ๔.๒ความปลอดภัยในขณะฝกึ และเล่นฟุตบอล๑. ความปลอดภัยดา้ นตวั ผูเ้ ลน่ ๑.๑ ควรเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและตรวจสขุ ภาพก่อนฝึกกีฬาหรือร่วมเลน่ กฬี า ๑.๒ ตอ้ งอบอุ่นรา่ งกายกอ่ นเลน่ ทกุ ครง้ั ๑.๓ ตอ้ งร้หู ลกั ในการทรงตัวและรับนา้ หนักตัวเอง หากลงไมถ่ ูกหลกั ขอ้ เท้าอาจแพลง หรอื เคลด็ ขดั ยอกได้ ๑.๔ ควรได้รบั อาหารทีม่ ีคุณค่าตอ่ รา่ งกาย และพกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ ๑.๕ ควรทาความเข้าใจกติกาการเลน่ และศึกษาเทคนิคการเล่นลกู ต่าง ๆ ท่ถี ูกวิธี ถา้ การเล่นไมถ่ ูกเทคนิควิธีการอาจทาไห้เกดิ อุบัตเิ หตุได้ง่าย เชน่ นิ้วเคล็ดข้อเทา้ แพลง รองช้า เปน็ ต้น ๑.๖ ไม่ควรเลน่ กฬี าติดต่อกันนาน ๆ ๑.๗ ควรรูว้ ธิ กี ารปฐมพยาบาลพอสมควร ๑.๘ ถ้าร้วู า่ ร่างกายผดิ ปกติควรหยุดออกกาลงั กาย ๑.๙ แต่งกายให้เหมาะสมกบั การเลน่ กีฬา หรือไมใ่ สเ่ ครื่องประดบั เช่น แหวน นาฬิกา แวน่ ตา ฯลฯ ๑.๑๐ ควรปฏบิ ัตติ ามมารยาทของผเู้ ลน่ ทด่ี ี ๑.๑๑ ผู้ทีม่ โี รคประจาตวั ควรปรึกษาแพทย์๒. ความปลอดภยั ดา้ นสภาพแวดล้อม ๒.๑ ตรวจอปุ กรณ์ และสถานที่ทกุ ครั้งก่อนเล่นกีฬา ๒.๒ พน้ื สนามเรียนเสมอกัน ไมม่ เี ศษวัสดุ เช่น ก้อนหิน กอ้ นกรวด หรอื กระดาษฯลฯ ๒.๓ ถ้าสนามอยตู่ ดิ กาแพง ควรมีที่ปูองกนั เช่น แผน่ ฟองน้า ๒.๔ เสา และตาข่ายต้องแขง็ แรงทนทาน ๒.๕ ตาขา่ ยท่ีขงึ ด้วยลวดธรรมดาหรอื ลวดสลงิ ควรเก็บหวั ลวดให้มดิ ชิด ๒.๖ ลกู บอลการสูบลมให้พอดี ไมแ่ ข็งแรงหรืออ่อนไป ลกู บอลแข็งจะทาใหน้ ้ิวเจ็บ ๒.๗ ผดู้ กู ฬี าควรปฏบิ ตั ติ ามมารยาทของการเปน็ ผดู้ ูทด่ี ี เพื่อปูองกนั ไม่ใหเ้ กดิ อันตราย แกน่ กั กีฬา ๒.๘ ไม่ควรเลน่ ในสนามทมี่ แี สงสวา่ งไม่เพียงพอ หรือขณะฝนตก สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

บนั [บบนั ทักหลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงช่อื ................................................ (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) ผ้อู านวยการโรงเรียนหนั คาราษฎร์ งั สฤษดิ์ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 10วชิ า พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษา ๔ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10 เรอ่ื ง เดาะเลีย้ งส่งลูกบอล เวลา 1 ชว่ั โมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑. มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬาพ ๓.๑/๔(ม.4-6)เข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการ นอกโรงเรยี น และนาหลักแนวคดิ ไปปรับปรุงและ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนและสังคมรู้ และเข้าใจ สามารถอธบิ าย และสาธติ การเลน่ ลกู บอลดว้ ยมือล่างได้สาระสาคัญความคิดรวบยอดการเล่นฟุตบอลไมว่ ่าจะเปน็ การรบั หรอื การรกุ โดยส่วนใหญจ่ ะเป็นการเลน่ โดยใช้แขน ไม่ว่าจะเปน็ การรับลูกเสิร์ฟ รับลูกตบของฝาุ ยตรงข้าม จะใช้การเลน่ ด้วยมือล่าง เพราะมโี อกาสถกู ลูกบอลได้ง่ายแน่นอน แม่นยา การเล่นลูกด้วยมือล่าง แขนท่อนล่างท้ังสองตอ้ งเสมอกันในขณะท่สี ัมผสั หรอื ตีลูกบอล๓. สาระสาคญั แกนกลาง ๓.๑ การจบั เดาะบอลแบบต่างๆในการเลน่ ลูกบอลดว้ ยเท้า เข่า ศรษี ะ ๓.๒ การเล้ยี งบอลแบบตา่ งๆ ๓.๓ การสง่ บอลในทิศทางตา่ งๆ๔. แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์คาช้แี จง ใหใ้ สค่ ะแนนท่ีเหมาะกับสภาพจริงกลุ่มท่ี …........... ชือ่ กลมุ่ ……………………………………….. จานวน สมาชิก ……… คนเลขท่ี รายการ ๓ ๒๑ ๐ ๐,๑,๒,๓,๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์๒ ซ่อื สตั ย์สุจริต๓ มีวินัย๔ ใฝุเรยี นรู้๕ อยู่อยา่ งพอเพียง๖ ม่งุ มน่ั ในการทางาน๗ รกั ความเปน็ ไทย๘ มีจิตสาธารณะ รวม สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๕.สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน ๕.๑ อธบิ ายและแสดงวธิ ีการเดาะบอลลักษณะตา่ งๆ ๕.๒ อธิบายและแสดงวธิ กี ารเลี้ยงบอล ๒ ใน ๕ คร้ัง ๕.๓ อธิบายและแสดงวิธีการออกแรงในการเล่นลูกบอลด้วยการโหมง่ บอล ๕ ใน ๑๐ ครั้ง ๕.๔ ปฏิบัตติ นเป็นผู้มคี วามรับผิดชอบ มนี า้ ใจ มีระเบียบวินัย มีคณุ ธรรมและยดึ หลัก เศรษฐกิจพอเพยี ง๖. การประเมินระดบั การประเมนิ ดเี ย่ียม ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ผา่ น ๑การนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ มกี ารนาเสนอผลงานดาเนนิ ผลงานเป็นลาดับ ผลงานเปน็ ลาดบั ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานไมเ่ ป็นกิจกรรม ข้ันตอนดว้ ยวิธี ขัน้ ตอนดว้ ยวธิ กี าร ข้ันตอนด้วยวธิ ีการ ลาดบั ข้นั ตอนด้วย แปลกใหมไ่ ด้ แปลกใหมไ่ ด้ คลา้ ยคลึงกับแบบ วธิ ีการคล้ายคลึง ใจความชัดเจน ใจความชดั เจน ทวั่ ไปไดใ้ จความ กับแบบทั่วไปแต่ นา่ สนใจ นา่ สนใจเกอื บตลอด ชดั เจน ไมไ่ ดใ้ จความชดั เจนการรายงานผลการ มีคาบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง มีคาบรรยายแสดงปฏิบตั ิ ถึงผลสาเร็จของ ถงึ ผลสาเรจ็ ของ ถงึ ผลสาเรจ็ ของ ถึงผลสาเรจ็ ของ การปฏิบตั ใิ นระดบั การปฏิบตั ใิ นระดับ การปฏิบตั ใิ นระดบั การปฏิบัติของการ ดีทกุ กิจกรรม ดี ๒ กิจกรรมและ ๑ กจิ กรรมและ ปฏิบัตใิ น ระดับปานกลาง ๑ ปานกลาง ๑ ระดับกลางทุก กิจกรรม กจิ กรรม กจิ กรรมแบบฝกึ ปฏิบัตทิ ี่ ๕.๑ เรื่องแบบฝกึ การเลน่ ลูกบอลดว้ ยมือล่าง ดังแนบ อยทู่ ้ายแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕๗.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ข้ันนา / ข้นั เตรียม ( ๕ – ๑๐ นาท)ี ๗.1 นกั เรยี นเข้าแถวตอน แบ่งออกเปน็ ๕ กลมุ่ หัวหนา้ กลุ่มแต่ละกลุ่มสารวจ รายชอ่ื ความสะอาด เครื่องแตง่ กาย และสุขภาพของนกั เรียนทกุ คน ในกลุม่ เพื่อเตรยี มความพร้อม และความปลอดภัย ๗.๒ นักเรียนบริหารรา่ งกาย โดยแบ่งเป็น ๒ กล่มุ ชาย ๑ กลมุ่ หญิง ๑ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ บรหิ ารรา่ งกายกลมุ่ ละ 10 ทา่ บริหารร่างกายเกิดจากการนาเสนอ ของกลุม่ หรือศึกษาจากเน้ือหา ความรู้ ท่ี ๒.๒เรอ่ื งทา่ บริหารรา่ งกายในคาบ เรียนท่ีผา่ นมาขัน้ สอน ( ๑๐ – ๑๕ นาที ) ๗.3 ครูผูส้ อนสนทนากับนักเรียนถงึ ประสบการณ์ในการชม หรือเลน่ เกี่ยวกับ การจับมือจดุสมั ผัสลูกบอลที่แขน การออกแรงเล่นลูกบอล พร้อมสาธติ และช้ใี ห้เห็นถึงความสาคญั ของทักษะท่ที ุกคนควรทราบ และเป็นพ้ืนฐานต่อไป ๗.4 นักเรียนชมแผ่นภาพการวางเท้าแบบตา่ งๆ เนอ้ื หาความรู้ที่ ๕.๑ เรื่องวิธกี าร เลน่ ลกู บอล สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

ด้วยเดาะ และครูผูส้ อนเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้แสดงความสามารถเปน็ ผนู้ าใน การสาธติ การเดาะ และวธิ ีปฏบิ ตั ิ ๗.5 ครผู ู้สอนและนักเรยี นรว่ มกนั อธบิ ายและสาธิตแบบฝกึ ท่ี ๕.๑ เรอื่ งแบบฝกึ การเลน่ ลูกเล้ยี งลกู บอลการเคลือ่ นที่ไปกับลกู บอล ดว้ ยหนา้ เท้า ครูสาธิตใหน้ ักเรียนทกุ คนได้ชมเป็น ตวั อยา่ งจนเกิดความรู้ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปฝึกปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถูกต้องขนั้ ฝกึ ( ๑๐ – ๑๕ นาที ) ๗.6 นกั เรียนจับค่กู นั ฝกึ ปฏบิ ัติตามแบบฝกึ ท่ี ๕.๑ เรื่องแบบฝึกการเล่นลกู บอล ดว้ ยเทา้ ทไ่ี ด้อธบิ าย และสาธิตไปแลว้ ฝกึ ปฏิบัตกิ ลุม่ ละ ๒ แบบ ครผู สู้ อนคอยใหก้ ารดูแลช่วยเหลอื แนะนา และปรับปรุงแกไ้ ข ในกรณีที่นกั เรยี นไมส่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ถกู ต้อง จนนกั เรียนสามารถปฏิบตั ิได้ถูกต้องข้ันใช้ ( ๑๐ – ๑๕ นาที ) ๗.7 นักเรียนแบ่งกลมุ่ เปน็ ๔ กล่มุ เท่าๆกนั แข่งขนั เกม “ เดาะบอลแข่งขัน ” การแขง่ ขนัเนน้ ความสนุกสนาน ความปลอดภัย ความมนี า้ ใจนักกีฬา ความสามคั คี และความซ่อื สัตย์วิธีเลน่ และกติกา ๑) กลมุ่ ท่ี ๑ เลน่ กับกลมุ่ ท่ี ๒ โดยกลมุ่ ท่ี ๑ นั่งเปน็ แถวหน้ากระดานแต่ละคนหา่ งกัน 2 - 3ช่วงแขน เตรยี มพร้อมท่ีจะเดาะลกู บอล กลุ่มที่ ๒ ทุกคนถือลกู บอลยนื ใหต้ รงคู่ท่นี ัง่ อยู่ห่างจากคนนั่ง 3 - 4กา้ ว เมือ่ ไดย้ นิ สัญญาณ นกหวดี คนทย่ี นื โยนลกู บอลใหค้ นนง่ั และคนนง่ั อันเดาะกลบั ถ้าคนยืนเดาะลูกบอลไว้ไดใ้ หน้ บั ๑ จากน้นั คนยืนโยนใหค้ นนั่งคนที่ ๒ และ ปฏิบัตเิ ช่นเดยี วกนั เมอ่ื ถึงคนสุดท้ายให้วง่ิ อ้อมหลงั คนนั่งไปเร่ิมต้น คนนง่ั คนท่ี ๑ ใหมจ่ นครบทกุ คน ๒) กลมุ่ ๓ เลน่ กบั กลุม่ ๔ ปฏบิ ัติเช่นเดยี วกบั ข้อ ๑ ๓) นาจานวนครัง้ ท่ที ุกคนทาได้มารวมกนั คูใ่ ดทาได้มากทีส่ ุดเปน็ ผู้ชนะข้ันสรุป และสขุ ปฏิบตั ิ ( ๕ – ๑๐ นาที ) ๗.8 นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ และสรปุ ความรู้ ความเข้า เกย่ี วกับการเลน่ ลูกบอลดว้ ยเดาะบอล โดยครผู ูส้ อนร่วมใหค้ าชแ้ี นะเพมิ่ เตมิ พรอ้ มสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๗.9 นกั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมสุขปฏิบัติ (ทาความสะอาดร่างกาย เช่น มือ แขน และใบหน้า)๘. วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ ลูกฟตุ บอล 10 ลูก นกหวดี สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

บนั [บบันทกั หลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปญั หา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..…………….………………………………………………………………………..…………..……………………………………………………………………….…………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรือผ้ทู ี่ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงชอ่ื ................................................ (นายวนิ ัย คาวิเศษ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นหันคาราษฎ์รังสฤษดิ์ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 11วชิ า พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา ๔ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๔หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 11 เร่อื ง โหม่งยงิ ฟุตบอล เวลา 1 ชั่วโมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑.มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็นประจาอย่างสมา่ เสมอมวี นิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีนา้ ใจนักกีฬา มจี ิตวิญญาณในการแข่งขนั และช่ืนชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า พ.3.2/1(ม.4-6)ออกกาลงั กายและเล่นกีฬาทเ่ี หมาะสมกับตนเองอย่างสมา่ เสมอ และใชค้ วามสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปน็ ตวั ตนคานงึ ถึงผลทเ่ี กดิ ตอ่ สงั คม๒. สาระสาคัญความคดิ รวบยอด การเลน่ ลูกบอลด้วยมือล่างด้านหน้า โต้คู่ และลกู ต้ังสูงเป็นทกั ษะพ้ืนฐานทสี่ าคัญในการเลน่ ฟตุ บอลที่นิยมเล่นกันมาก และเหมาะสาหรบั ผทู้ ่หี ดั เล่นใหม่ อกี ทง้ั ยังสามารถนาไปใช้ในการออกกาลงั กายในชวี ิตประจาวนั เพอ่ื ส่งเสรมิ สมรรถภาพทางรา่ งกายและทางจิตใจได้๓. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓.๑ การเล่นลูกบอลด้วยศรษี ะ ๓.๒ การเลน่ ลูกบอลด้วย ศรษี ะเพื่อให้ไดเ้ ปรยี บ ๓.๓ การเลน่ ลูกบอลด้วยยิงทาประตู๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์คาช้แี จง ให้ใส่คะแนนที่เหมาะกับสภาพจรงิกลมุ่ ที่ …................ ช่อื กลุ่ม ……………………..…………………….. จานวน สมาชกิ …………… คนเลขที่ รายการ ๓ ๒ ๑ ๐ ๐,๑,๒,๓, ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒ ซอื่ สัตยส์ จุ รติ ๓ มีวินัย ๔ ใฝเุ รียนรู้ ๕ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๖ มุง่ มน่ั ในการทางาน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๗ รักความเป็นไทย๘ มีจติ สาธารณะ รวม สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๕.สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน๕.๑ อธบิ ายและแสดงวธิ กี ารเล่นลูกบอลด้วยการโหม่งบอล๕.๒ อธิบายและแสดงวิธกี ารเล่นลูกบอลดว้ ยการโหมง่ ในทิศทางตา่ งๆ๕.๓ อธิบายและแสดงวิธีการเลน่ ลูกบอลดว้ ยการยิงทาประตู๖. การประเมนิระดับการ ดเี ย่ยี ม ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ผา่ น ๑ประเมนิ มีการนาเสนอ ผลงานไม่เป็นลาดับการนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ ข้นั ตอนด้วยวิธีการ คล้ายคลึงกับแบบผลงานดาเนนิ ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานเป็นลาดบั ผลงานเปน็ ลาดับ ท่ัวไปแตไ่ มไ่ ด้ ใจความชัดเจนกจิ กรรม ขนั้ ตอนด้วยวิธี ขน้ั ตอนด้วยวิธกี าร ขน้ั ตอนดว้ ยวิธกี าร มคี าบรรยายแสดง ถึงผลสาเรจ็ ของ แปลกใหม่ได้ แปลกใหม่ได้ คล้ายคลึงกบั แบบ การปฏบิ ัติของการ ปฏิบัตใิ น ใจความชดั เจน ใจความชัดเจน ทัว่ ไปได้ใจความ ระดับกลางทุก กิจกรรม นา่ สนใจ น่าสนใจเกอื บตลอด ชดั เจนการรายงานผล มีคาบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดงการปฏบิ ตั ิ ถึงผลสาเรจ็ ของ ถงึ ผลสาเร็จของการ ถงึ ผลสาเรจ็ ของการ การปฏบิ ัตใิ นระดับ ปฏิบตั ใิ นระดับดี ๒ ปฏบิ ตั ิในระดับ ๑ ดีทกุ กิจกรรม กิจกรรมและระดับ กิจกรรมและปาน ปานกลาง ๑ กลาง ๑ กจิ กรรม กิจกรรม๗. การประเมินผลงานตัวชีว้ ัดพ.3.2/1(ม.4-6)ออกกาลังกายและเลน่ กีฬาทเี่ หมาะสมกับตนเองอย่างสม่าเสมอ และใชค้ วามสามารถของตนเองเพิม่ ศักยภาพของทมี ลดความเปน็ ตวั ตนคานึงถงึ ผลทเี่ กดิ ต่อสังคม๘.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ขน้ั นา / ข้ันเตรยี ม (๕ – ๑๐ นาที) ๘.๑ นกั เรยี นเขา้ แถวตอน แบ่งออกเปน็ ๕ กลุม่ หวั หนา้ กลุ่มแตล่ ะกลุ่ม สารวจ รายชื่อนักเรียนความสะอาด เคร่ืองแตง่ กาย และสุขภาพของนกั เรยี นในกลมุ่ เพื่อเตรียมความพรอ้ มและ ความปลอดภยั ๘.๒ นกั เรยี นทกุ กลมุ่ บริหารร่างกาย โดยแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทน กล่มุ ละ ผลดั เปล่ียนกันเปน็ ผ้นู าการบริหารรา่ งกายกลมุ่ ละ ๑ ท่า ทา่ ละ ๑๐ – ๒๐ ครงั้ ท่าบริหารรา่ งกายเปน็ ท่าทเ่ี กิดจากความคิดของกลุ่มหรือศึกษาจากเน้ือหาความรูท้ ี่ ๒.๒ เร่ือง ทา่ บริหารร่างกายในคาบที่ผ่านมา ๘.๓ ครผู ้สู อนสนทนากับนกั เรยี นถงึ ประสบการณใ์ นการชมการแข่งขนั หรือเล่นลูกบอลด้วยศรษี ะ และชี้ให้เหน็ ถงึ ประโยชน์ และความสาคญั ของทักษะท่ีทุกคน ควรทราบ และเป็นพื้นฐานต่อไป สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

ขน้ั สอน (๑๐ – ๑๕ นาท)ี ๘.4 ครทู าแผน่ ภาพแบบฝึกปฏบิ ตั ใิ หน้ ักเรียนศึกษา พรอ้ มเปดิ โอกาสใหต้ วั แทนนกั เรียนรว่ มอธิบายและสาธติ ท่า และวิธกี ารฝึกแบบฝึกปฏบิ ัตทิ ี่ ๖.๑ ทง้ั ๔ แบบข้นั ฝึก (๑๕- ๒๐ นาท)ี ๘.5 นักเรียนแบ่งกล่มุ ๆ ละ ๔ คน ตวั แทนแตล่ ะกลุม่ จับฉลากแบบฝึกปฏบิ ตั ทิ ่ี ๖.๑ เร่อื ง การเลน่ ลูกบอลด้วยศรษี ะ โตค้ ู่ และลกู ต้ังสูง กลมุ่ ละ ๑ แบบ ๘.6 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ไปศกึ ษาแบบฝึกจากกลุ่มอ่นื อีก ๒ แบบ และฝึกปฏิบตั ิโหมง่ บอล ๘.7 ครผู สู้ อนคอยให้การดูแลชว่ ยเหลือ แนะนา สง่ เสริมและปรบั ปรงุ แก้ไข ในกรณที น่ี ักเรียนไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง จนปฏิบตั ิไดถ้ กู ต้องข้นั ใช้ (๕ – ๑๐ นาท)ี ๘.8 แขง่ ขันเลน่ เกม “ เล่นลูกด้วยศรษี ะ” เนน้ ความสนกุ สนาน ความซื่อสัตย์ กตกิ าและวธิ ีเลน่ ๑) การโหมง่ ลกู บอลท่รี ะดับ ๑ เมตร ๒) การโหมง่ ลกู บอลท่ีระดับ 3 เมตร ๓) การโหม่งบอลเพ่ือทาปรตู ระยะ 1 เมตร ระยะ 5 เมตร ๔) การโหม่งบอลเพ่ือทาปรตู ระยะ 3 เมตร ระยะ 5 เมตร และปรับระยะตามความเหมาะสมขัน้ สรปุ และสุขปฏิบตั ิ (๕ – ๑๐ นาที) ๘.9 นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ ราย ซักถาม แสดงความคดิ เห็นและสรปุ ความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบัการเล่นลกู ด้วยศรษี ะ ครผู ู้สอนร่วมชี้แนะเพมิ่ เตมิ พร้อม สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เช่นความซอื่ สัตย์ ความมีนา้ ใจนักกีฬา เปน็ ตน้ ๘.10 นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมสุขปฏบิ ตั ิ (ทาความสะอาดรา่ งกาย เช่น มอื แขนและใบหน้า)๙. วัสดุ อุปกรณ์ สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ การสาธติ ตว้ั อย่าง โหมง่ ระดับตา่ งๆ โหม่งระใกล้ การโหม่งทาประตู ๙.๒ ลูกฟุตบอล 1๐ ลูก สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

บนั ทกั หลงั สอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปัญหา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงชอ่ื ................................................ (นายวนิ ยั คาวิเศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหันคาราษฎ์รงั สฤษด์ิ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12วชิ า พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษา ๔ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 12 เรอื่ ง กฎ กติกา เวลา 1 ช่ัวโมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑.มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัตเิ ป็นประจาอยา่ งสมา่ เสมอมีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มนี ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขนั และชนื่ ชม ในสุนทรียภาพของการกีฬาพ ๓.๒/4(ม.4-6) อธิบายและปฏิบัตเิ ก่ยี วกับสิทธิ กฎ กติกา กลวธิ ีตา่ งๆ ในระหว่างการเล่นการแข่งขันกีฬาผู้อ่ืน และนาไปสรปุ เปน็ แนวปฏิบัติและใช้ในชวี ติ ประจาวนั อย่างต่อเนือ่ ง๒. สาระสาคัญความคิดรวบยอด การเลน่ ลกู บอลดว้ ยมอื บน หรอื เรียกวา่ การเซต เปน็ การเลน่ ลกู บอลดว้ ยนวิ้ มือและเป็นทักษะพื้นฐานท่ีสาคัญในการเล่นฟุตบอลเพราะการเซตเป็นหัวใจของทีมในการสรา้ งเกมรุกอีกท้ังสามารถนาไปใช้ในการออกกาลงั กายในชวี ิตประจาวนั เพื่อส่งเสรมิ สมรรถภาพทางร่างกาย ทางจิตได้๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ศกึ ษากฎ กติกา การเลน่ กีฬาฟตุ บอล 3.2 ระเบยี บข้อบงั คับในการเล่นกฬี าฟตุ บอล๔.แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง ใหใ้ ส่คะแนนท่ีเหมาะกบั สภาพจรงิกล่มุ ท่ี …........... ชื่อกลุม่ …………………………………….……….. จานวน สมาชกิ ………….… คนเลขที่ รายการ ๓ ๒ ๑ ๐ ๐,๑,๒,๓, รวม ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒ ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ ๓ มีวนิ ัย ๔ ใฝุเรียนรู้ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ๖ มุ่งมน่ั ในการทางาน ๗ รักความเป็นไทย ๘ มีจิตสาธารณะ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๕.สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๕.๑ อธิบายหลกั การการเลน่ ทถ่ี ูกต้องตามกตกิ าการเลน่ ฟตุ บอล ๕.๒ อธิบายหลกั การ กฎ ในการเล่นกีฬาฟตุ บอล ๕.๓ อธบิ ายหลกั การขอ้ บงั คบั ในการเลน่ กีฬาฟตุ บอล๖. การประเมนิ ระดับการประเมิน ดเี ยี่ยม ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ผา่ น ๑การนาเสนอ มกี ารนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอผลงานดาเนนิ ผลงานเปน็ ลาดบักิจกรรม ขั้นตอนด้วยวธิ ี ผลงานเป็นลาดับ ผลงานเปน็ ลาดับ ผลงานไมเ่ ปน็ แปลกใหมไ่ ด้ ใจความชดั เจน ขัน้ ตอนดว้ ยวธิ กี าร ขัน้ ตอนด้วยวิธกี าร ลาดบั ขั้นตอนดว้ ย น่าสนใจ แปลกใหมไ่ ด้ คลา้ ยคลงึ กับแบบ วธิ การคลา้ ยคลึง ใจความชัดเจน ทั่วไปไดใ้ จความ กบั แบบท่ัวไปแต่ น่าสนใจเกอื บตลอด ชดั เจน ไมไ่ ดใ้ จความชดั เจนการรายงานผลการ มคี าบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดง มีคาบรรยายแสดง มคี าบรรยายแสดงปฏิบัติ ถึงผลสาเรจ็ ของ ถึงผลสาเร็จของ ถึงผลสาเรจ็ ของ ถงึ ผลสาเร็จของ การปฏบิ ัติในระดบั การปฏบิ ัตใิ นระดบั การปฏบิ ตั ิในระดบั การปฏิบัตขิ องการ ดีทุกกจิ กรรม ดี ๒ กิจกรรมและ ๑ กจิ กรรมและ ปฏิบัตใิ น ระดับปานกลาง ๑ ปานกลาง ๑ ระดับกลางทุก กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม๗. การประเมนิ ผลงานตัวชีว้ ัดพ ๓.๒/4(ม.4-6) อธิบายและปฏิบตั เิ กย่ี วกบั สิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ในระหว่างการเล่นการแขง่ ขันกีฬาผู้อนื่ และนาไปสรุปเป็นแนวปฏบิ ตั แิ ละใชใ้ นชีวติ ประจาวนั อยา่ งต่อเนอื่ ง๘.การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ขั้นนา / ขนั้ เตรียม (๕ – ๑๐ นาท)ี ๘.๑ นักเรยี นเขา้ แถวตอนแบ่งออกเปน็ ๕ กลุ่ม หวั หน้ากลุ่มแตล่ ะกลุ่มสารวจรายช่อื ความ สะอาดเครอื่ งแต่งกาย และสขุ ภาพของนักเรียนทกุ คนในกลุ่ม เพอื่ เตรียมความพรอ้ ม และ ความปลอดภัยในการเรยี นการสอน ๘.๒ นักเรียนบรหิ ารร่างกาย โดยแบ่งเปน็ 3 กลมุ่ ท่ี 1 ศึกษา กฎ การเล่นกฬี าฟุตบอล สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook