Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน สุข1-merged-compressed

แผน สุข1-merged-compressed

Published by มานพ ในพิมาย, 2018-10-12 00:27:26

Description: แผน สุข1-merged-compressed

Search

Read the Text Version

สาระที่ 1 การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ พ 1.1/1 (ม 4-6) อธบิ ายกระบวนการสร้างเสริมและดารงคงประสิทธิภาพการทางานของระบบ อวยั วะตา่ งๆ พ 1.1/2 (ม 4-6) วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวการณ์เจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเองและ บคุ คลในครอบครัวสาระท่ี 2 ชีวติ และครอบครัวมาตรฐาน พ 2.1 วิเคราะห์อิทธพิ ลของครอบครัวเพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศและการดาเนนิ ชวี ิต พ 2.1/1 (ม 4-6) วิเคราะห์ค่านิยมเร่อื งเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอืน่ ๆ พ 2.1/2 (ม 4-6) การเลือกใชท้ ักษะทีเ่ หมาะสมในการปูองกัน ลดความขัดแยง้ และแก้ปญั หาเรอื่ ง เพศและครอบครัว พ 2.1/3 (ม 4-6) วิเคราะห์สาเหตแุ ละผลของความขดั แย้งท่ีอาจเกิดขึ้นระหวา่ งนักเรียนหรอื ชุมชน และเสนอแนวทางแกป้ ญั หาสาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลมาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ 3.1/1 (ม 4-6) วเิ คราะห์ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลอ่ื นไหวรปู แบบต่างๆในการเล่นกีฬา พ 3.1/2 (ม 4-6) ใช้ความสามารถของตนเพื่อเพ่ิมศกั ยภาพของทมี คานึงถึงผลท่เี กดิ ต่อผอู้ นื่ และ สงั คม พ 3.1/3 (ม 4-6) เลน่ กีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบคุ คล/คู่ กีฬาประเภททีม พ 3.1/4 (ม 4-6) แสดงการเคลอ่ื นไหวได้อยา่ งสร้างสรรค์ พ 3.1/5 (ม 4-6) เข้ารว่ มกจิ กรรม นนั ทนาการ นอกโรงเรยี น และนาหลักแนวคดิ ไปปรับปรงุ และ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนและสังคมมาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏบิ ัติเปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยัเคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้าใจนกั กฬี า มีจติ วญิ ญาณในการแขง่ ขนั และช่นื ชมในสนุ ทรยี ภาพของการกฬี า พ 3.2/1 (ม 4-6) ออกกาลงั กายและเลน่ กฬี าท่เี หมาะสมกับตนเองอย่างสม่าเสมอ และใช้ ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทมี ลดความเป็นตัวตนคานึงถงึ ผลท่ีเกดิ ต่อสังค พ 3.2/2 (ม 4-6) อธบิ ายและปฏิบตั เิ ก่ียวกบั สิทธิ กฎ กติกา กลวิธตี า่ งๆ ในระหวา่ งการเล่นการ แขง่ ขันกีฬากับผอู้ ื่น และนาไปสรปุ เป็นแนวปฏิบตั แิ ละใชใ้ นชวี ติ ประจาวันอยา่ งต่อ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

พ 3.2/3 (ม 4-6) แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแขง่ ขันกีฬาและนาไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเปน็ บคุ ลิกที่ดีพ 3.2/4 (ม 4-6) รว่ มกจิ กรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณคา่ และความงามของการกีฬา สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒วชิ า พ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษา๔ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรื่องการวางแผนพัฒนาสุขภาพ เวลา ๒ชั่วโมง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๑ เปา้ หมายการเรียนรู้ วางแผนและปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ พัฒนาสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวให้มีสุขภาพท่ีดีตลอดไป ๑. วางแผนดแู ลสุขภาพของตนเองและบคุ คลในครอบครวั ๒. วางแผนการพัฒนาสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั๒ สาระสาคญั ทุกคนจาเป็นต้องตระหนักถึงความสาคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยมีการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและปฏิบัติตามแผนอย่างสม่าเสมอ จะนาไปสู่การมีสุขภาพที่ดีทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชมุ ชนตอ่ ไป๓ มาตรฐานและตัวชีว้ ดั มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรคและ การสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพตัวช้ีวดั : สงิ่ ทผ่ี ูเ้ รยี นพงึ รู้และปฏบิ ัติได้มฐ.พ.๑.๑ มฐ.พ.๔.๑ ตวั ชว้ี ดั : สง่ิ ทีผ่ เู้ รยี นพงึ รู้และปฏิบัตไิ ด้ ๕. วางแผนและปฏบิ ตั ติ ามแผนการพฒั นา๒. วางแผนดแู ลสขุ ภาพตามภาวะการ สุขภาพของตนเองและครอบครัว เจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัว๔ สาระการเรยี นรู้ ๑. ความหมายของสขุ ภาพ ๒. ความหมายของการวางแผนพัฒนาสุขภาพ ๓. ความสาคัญของการวางแผนพฒั นาสุขภาพ ๔. การวางแผนพัฒนาสขุ ภาพ๕ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะทค่ี วรเพ่มิ ให้นกั เรียน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude)ความรู้ ความเข้าใจ การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์๑. อธิบายความหมายของสุขภาพ ๑. อธบิ ายความหมายของสขุ ภาพ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์๒. อธิบายความหมายของการ ๒. อธบิ ายความหมายของการ ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ๓. มีวินัยวางแผนพฒั นาสขุ ภาพ วางแผนพัฒนาสุขภาพ ๔. ใฝเุ รยี นรู้ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง๓. อธบิ ายความสาคัญของการ ๓. อธบิ ายความสาคัญของการ ๖. มงุ่ มัน่ ในการทางาน วางแผนพัฒนาสุขภาพ วางแผนพฒั นาสขุ ภาพ ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ๔. จัดทาแผนพัฒนาสุขภาพ ๔. จัดทาแผนพฒั นาสุขภาพ ตนเอง ตนเอง๖ การวัดและประเมนิ ผล ๑. เคร่ืองมอื วดั และประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบฝกึ หัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๗) แบบสงั เกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. วธิ ีวดั ผล ๑) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรยี น ๒) ตรวจแบบฝึกหัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๖) สงั เกตสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๗) สังเกตคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล ๑) สาหรบั ช่วั โมงแรกทใี่ ช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑผ์ ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบหลังเรียน ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผา่ นเกณฑ์การทดสอบเกนิ รอ้ ยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ เร่อื งความรู้ความเข้าใจการนาไปใช้ทกั ษะ และจติ พสิ ยั ทกุ ชอ่ งเกินร้อยละ ๕๐ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือเกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรงุ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน คะแนนข้ึนอยูก่ ับการประเมินตามสภาพจรงิ ๗) การประเมินผลการสงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น คะแนนข้ึนอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง๗ หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน และแบบฝกึ หัด ๒. ผลการทาใบงาน๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี ๑ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครูและนักเรียนสนทนาถึงการวางแผนดูแลสุขภาพท้ังของตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นสิ่งท่ีความจาเป็นและมีความสาคัญอย่างย่ิงในการดาเนินชีวิตให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและมีสุขภาพดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจซึ่งต้องเริ่มต้นท่ีการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมีความเอาใจใส่กระตือรือร้นและศึกษาเรียนรู้ข้อมูลเก่ียวกับสุขภาพอยู่เสมอในการท่ีจะทาให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพดีจนเกิดเป็นสุขนิสยั จะส่งผลให้ทุกคนในครอบครัวมีสุขภาพดีสุขภาพของคนเราน้ันไม่ควรปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรมควรมีการวางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเองและบุคคลในครอบครวั ๒. ครูแนะนาให้นักเรียนวางแผนการกาหนดแนวทางวิธีการในการสร้างสุขภาพดูแลส่งเสริมสุขภาพล่วงหน้าโดยมีการประเมินภาวะสุขภาพและวิเคราะห์ผลการประเมินภาวะสุขภาพนาข้อมูลมาวางแผนพัฒนาสุขภาพและกาหนดแนวทางวธิ กี ารพัฒนาสขุ ภาพเพ่อื ให้มีสภาวะสุขภาพที่สมบูรณแ์ ข็งแรง ๓. นักเรียนยกตัวอย่างการวางแผนดูแลสุขภาพ เช่นการรักษาความสะอาดการปูองกันโรคการรบั ภูมคิ มุ้ กนั โรคอาหารและโภชนาการการออกกาลงั กายและเล่นกีฬาเปน็ ต้น ๔. ครูเชือ่ มโยงเขา้ ส่บู ทเรยี นและแจง้ กจิ กรรมฝึกทกั ษะท่คี วรเพ่ิมเติมใหน้ ักเรียนฟัง ๕. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน ขนั้ สอน ๖. ครอู ธิบายความหมาบของสุขภาพ ความหมายของการวางแผนพฒั นาสุขภาพ และความสาคัญของการวางแผนพัฒนาสุขภาพการวางแผนพฒั นาสขุ ภาพตนเอง โดยใช้สื่อแผน่ ใสประกอบ ๗. นักเรียนทดลองประเมินภาวะสุขภาพของตนเองซึ่งเป็นข้ันตอนเริ่มต้นของการวางแผนพัฒนาสุขภาพการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคลเป็นการบอกได้ว่าในขณะน้ันภาวะสุขภาพทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นอย่างไรตลอดจนภาวะทางสังคมและภาวะทางปัญญาเป็นอย่างไรซ่ึงภาวะสุขภาพนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามพฤตกิ รรมของบุคคลและสภาพแวดลอ้ ม สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๘. ครูใช้สื่อวีดิทัศน์ ส่ือแผ่นใสและรูปภาพต่างๆ ประกอบการอธิบายเก่ียวกับเนื้อหาของการประเมินภาวะสุขภาพทางกายและการประเมินภาวะสุขภาพทางจิตเพ่ือสื่อความหมายให้นักเรยี นเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น ๙. ครูแสดงตารางประเมินภาวะความดันเลือดของคนเราว่าเป็นอย่างไร ซึ่งโดยปกติคนเราจะมีค่าความดันเลือดประมาณ๑๒๐/๘๐หรอื มากนอ้ ยกว่านีเ้ ล็กนอ้ ยดงั น้ี ๑๐.ครแู นะนาใหน้ กั เรยี นประเมนิ การช่ังน้าหนักและวัดส่วนสูง ถ้าจะพิจารณาว่าบุคคลอ้วนหมายถึงภาวะที่ร่างกายได้รับพลังงานจากอาหารมากกว่าพลังงานท่ีร่างกายใช้ไปทาให้เหลือพลังงานที่สะสมไว้ในร่างกายในรปู ไขมันมากขึ้นแลว้ ทาให้น้าหนักเพ่ิมมากขึ้นสาหรับผ้ใู หญส่ ามารถประเมินด้วยวิธีง่ายๆคือคานวณค่าดัชนีมวลกาย(Body Mass Index) สาหรบั การช่ังนา้ หนักและสว่ นสงู นอกจากจะเป็นวิธกี ารประเมินภาวะสุขภาพทางการแพทย์แลว้ บคุ คลทวั่ ไปยังสามารถทาการประเมินดว้ ยตนเองไดเ้ ป็นประจา ๑๑. ครูอธบิ ายการประเมินภาวะสุขภาพทางจิต การท่ีคนเราสามารถทราบภาวะสุขภาพทางจิตของตนเองไดน้ น้ั ย่อมเปน็ ประโยชน์มากเพราะจะได้มกี ารปรบั ปรุงและสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ของตนเองใหม้ สี ขุ ภาพจิตทดี่ อี ยู่เสมอการประเมินภาวะสุขภาพทางจติ และอารมณ์นั้นสามารถประเมนิ ได้โดยใช้แบบประเมนิ ซ่งึ มหี ลายแบบเชน่แบบทดสอบความเครยี ดแบบวัดความสุขเป็นตน้ นกั เรียนสามารถนามาใชท้ ดสอบภาวะสุขภาพจิตของนักเรียนได้เป็นระยะๆรวมทง้ั นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าแบบประเมินสุขภาพจิตอื่นๆได้ที่เว็บไซต์ของกรมสุขภาพจิต (www.dmh.go.th)ในชัน้ เรียนนีไ้ ดน้ าแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวยั รนุ่ ซีอีเอส-ดี (Center forEpidemiologic Studies - Depression Scale : CES-D) เครอ่ื งมือน้ีพฒั นาขึน้ มาโดยนักวจิ ัยแห่งศนู ย์การศกึ ษาทางระบาดวทิ ยา(Center for Epidemiologic Studies) สถาบันสุขภาพจติ แห่งชาติ (NationalInstitute of Mental Health) ประเทศสหรฐั อเมรกิ าสาหรับประเทศไทยศาสตราจารย์แพทยห์ ญิงอุมาพรตรงั คสมบัติไดน้ ามาแปลเป็นภาษาไทยและพบวา่ เป็นเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการคดั กรองภาวะซึมเศรา้ ในวัยรุ่นอายุระหว่าง๑๕-๑๘ปีท่ีสามารถประเมินความซมึ เศร้าของวัยรนุ่ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพวิธีการใชเ้ คร่อื งมือนี้ประกอบดว้ ยข้อความ๒๐ข้อเปน็ คาถามเกยี่ วกบั อาการซึมเศร้าในระยะเวลา๑สปั ดาหท์ ผี่ ่านมาตวั เลือกเกย่ี วกับ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

ความรนุ แรงใชไ้ ด้ในวยั ร่นุ อายุ๑๕-๑๘ปตี วั เลือกเกี่ยวกบั ความรุนแรงและความถ่ีของอาการซึมเศร้ามี๔ระดับให้ผตู้ อบเลอื กคาตอบให้ตรงกบั ความรู้สกึ มากทีส่ ุด ๑๒. ครแู นะนาให้นกั เรียนทดลองประเมนิ ภาวะสขุ ภาพทางจิตตามตัวอย่างดังน้ี ท่านมคี วามรสู้ ึกดังต่อไปนี้บ่อยเพียงใดใน๑สัปดาหท์ ผ่ี ่านมากรณุ าเขียนเครอ่ื งหมายลงในชอ่ งทีต่ รงกบั ความรสู้ ึกของทา่ นมากทีส่ ุด สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๑๓. นักเรียนอธิบายความหมายของการวางแผนพัฒนาสุขภาพและเสนอแนวทางการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและคนในชมุ ชน ๑๔. นักเรียนช่ังนา้ หนักและวัดสว่ นสงู พร้อมทัง้ คานวณดชั นมี วลกายของตนเอง และระบุภาวะสุขภาพของตนเองวา่ มนี ้าหนักเทา่ ใด ส่วนสูงเท่าใด ดัชนมี วลกายมเี ท่าใด และสรุปภาวะสุขภาพของตนเอง ๑๕. นกั เรยี นทาแบบคดั กรองภาวะซึมเศรา้ ในวัยร่นุ (CES-D) ฉบับภาษาไทยแล้วแปรผล ๑๖. ครกู ล่าวถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกดิ ความเข้าใจและนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ถูกต้อง ซึ่งเปน็ แนวการดาเนินอยแู่ ละการปฏบิ ัตติ นของประชาชนทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดับครอบครัวจนถึงระดับประเทศ ซึ่งมีหลักอยู่ ๓ประการ ได้แก่ความรจู้ กั พอประมาณ ความมีเหตุมีผล และความจาเป็นท่ีต้องมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีต่อการเกิดผลกระทบเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน จึงต้องรู้จักพอเพียงในการใช้ชีวิต ด่ืมกินอย่างพอเพียงตามหลกั ทีว่ า่ ให้รายจ่ายน้อยกวา่ รายรบั ดังนน้ั ถา้ จติ ใจมภี มู คิ ุ้มกันท่ีไม่ดีก็ไม่สามารถอยู่อย่างพอเพียงได้ไม่ว่าเรากาลังเรียนหนังสือหรือทางานแล้วก็ตาม สามารถนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้แต่ต้องนามาใช้อย่างพอประมาณไม่มากหรอื น้อยจนเกินไปจะทาอะไรต้องตัดสนิ ใจด้วยเหตุผลเปน็ หลัก ๑๗.นักเรียนยกตัวอยา่ งการสร้างภมู ิคุ้มกนั ท่ดี ีในตัวเอง เพื่อให้ผู้สนใจนาไปปรับใช้ ดังน้ี ๑) การใหค้ วามรกั ความอบอนุ่ ภายในครอบครวั ๒) การฝกึ ให้ร้จู ักระเบยี บวนิ ยั การควบคมุ ตวั เอง ๓) การฝกึ ทกั ษะชวี ิต ใหแ้ ก้ไขปญั หาไดถ้ ูกตอ้ ง ๔) การฝึกใหม้ เี อกลกั ษณ์เป็นของตนเอง ข้ันสรุปและประยกุ ต์ ๑๘. นักเรียนและครูสรุปการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวและวิธีการวางแผนดูแลสุขภาพของบคุ คลในครอบครัว ๑๙. ครูแนะนาใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตหิ น้าท่ีพลเมอื งดี ดังน้ี ๑) มจี รยิ ธรรมท่คี วรประพฤติทาให้สังคมอยู่ด้วยกันโดยสงบ เช่น มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรบั ผดิ ชอบ ไมเ่ บียดเบียนผูอ้ ืน่ ไมท่ าให้ผอู้ ่นื เสยี หายเป็นตน้ ๒) มีคุณธ รรมท่ีดีมีประโ ยชน์ที่สังคมเห็นว่าเป็นคว ามดีความงาม เช่นซื่อสัตย์สุจริตมีเมตตาเอ้ือเฟ้อื เผอ่ื แผ่ เหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนรวม ๓) ความมีศีลธรรม หรือรักษากาย วาจา ใจให้ปกติ ไม่ทาช่ัวหรือเบียดเบียนผู้อ่ืน เช่นไม่พูดเท็จ พูดแต่ความจรงิ ไม่เสพของมนึ เมา มสี ตอิ ยู่เสมอ ไม่ฆา่ สตั ว์ตดั ชวี ิต มคี วามเมตตากรณุ า ๒๐. นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๒.๑ ถึง ๒.๔ ในหนังสือเสรมิ ฝึกประสบการณ์ สขุ ศึกษา ๔ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒๑. ครูกล่าวเพิ่มเติมว่าความพอเพียงเป็นเรื่องสาคัญสาหรับตนเองและครอบครัวควรจะให้เข้าใจเรื่องความพอเพียงและเรอื่ งค่าใชจ้ ่ายของตนเองและครอบครวั ซง่ึ ก็ต้องมีจติ สานกึ ร้จู ักบรหิ ารเงนิ ร้จู ักใชจ้ า่ ย สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๒๒. ครแู นะนาให้นักเรียนมีการพง่ึ ตวั เองเป็นหลัก ควรทาอะไรเป็นข้ันตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง การสร้างสามัคคีให้เกิดข้ึนบนพ้ืนฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วนแต่ละระดับครอบคลุมท้ังด้านจิตใจ วัฒนธรรม สังคมทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมรวมถึงเศรษฐกิจและปัญหาเรื่องความไม่รู้จักพอเพียงที่เกิดขึ้นนั้น ต้องตระหนักและชัดเจนถงึ ความพอเพียงในอนาคตนักเรียนจะเตบิ โตเปน็ ผู้ใหญ่ทีด่ ีไดใ้ นสงั คมไทยต่อไป ๒๓. ครกู ล่าวถึงการประเมินภาวะสุขภาพทางสงั คมนั้นสามารถประเมินจากสภาพความเปน็ อยูท่ ่ดี ขี องคนในสังคมเชน่ ใชเ้ กณฑ์การประเมินตามตัวชีว้ ดั ท่ีกาหนดไว้เชน่ สงั คมมคี วามปลอดภัยจากอาชญากรรมและความรนุ แรงดารงชวี ติ อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อการมสี ุขภาพดีมที ่ีอยู่อาศัยถูกสุขลกั ษณะมีน้าสะอาดเพยี งพอรวมทง้ั ได้รับการศึกษาในระบบและมีโอกาสเรียนรตู้ อ่ เนื่องตลอดชีวิตเพอื่ พฒั นาทักษะทางสุขภาพอย่างถูกต้องตลอดจนมกี ารประกอบอาชีพมีรายไดม้ ีการดารงชีวิตอย่างพอเพยี งและมีความสุข ขัน้ สอน ๒๔. ครูอธิบายการประเมินภาวะสขุ ภาพทางสังคมและยกตัวอย่างแบบประเมินภาวะสุขภาพทางสังคม โดยให้นักเรียนแตล่ ะคนเปน็ ผกู้ รอกขอ้ มลู เอง ดงั น้ี หากนักเรยี นตอบใช่ทุกข้อแสดงว่านกั เรยี นมีสุขภาพทางสังคมท่ีดีหากนกั เรียนมคี าตอบไมใ่ ช่ในข้อใดนักเรยี นควรทบทวนศึกษาหาสาเหตแุ ละแนวทางการปรับปรุงสขุ ภาพทางสังคมในส่วนท่ีนกั เรียนสามารถแก้ไขไดห้ ากนักเรยี นมคี าตอบไมใ่ ช่มากกวา่ ๓คาตอบนักเรียนควรปรกึ ษาอาจารยเ์ พ่ือช่วยหาแนวทางในการปรับปรุงสขุ ภาพทางสังคมต่อไป ๒๕. ครูอธิบายการประเมินภาวะสุขภาพทางปัญญาและยกตัวอย่างแบบประเมินภาวะสุขภาพทางปัญญาโดยใหน้ ักเรียนแต่ละคนเปน็ ผ้กู รอกขอ้ มลู เอง ดงั น้ี สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

หากนกั เรียนตอบใช่ทกุ ขอ้ แสดงว่านักเรยี นมสี ุขภาพทางปัญญาท่ีดีหากนักเรียนมีคาตอบไม่ใช่ในข้อใดนักเรียนควรศึกษาสาเหตุและแนวทางการปรับปรุงสุขภาพทางปัญญาในส่วนท่ีนักเรียนสามารถทาได้หากนักเรียนมีคาตอบไม่ใช่มากกว่า๓คาตอบนักเรียนควรปรึกษาอาจารย์เพื่อช่วยหาแนวทางในการปรับปรุงภาวะสุขภาพทางปัญญาจากการประเมินภาวะสขุ ภาพของตนเองในกลมุ่ วยั รุ่นซ่ึงเปน็ ช่วงเวลาทพ่ี ัฒนาจากวัยเด็กไปสู่วัยผใู้ หญม่ ีการเปล่ยี นแปลงตา่ งๆทสี่ าคัญท้ังทางด้านร่างกายจิตใจสังคมและสติปัญญาพบว่าปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นที่พบบ่อยมีดังน้ี ๒๖. ครูแนะนาใหน้ ักเรียนการทาแผนพัฒนาสขุ ภาพ โดยมีการวางแผนดังนร้ี ับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เลือกรับประทานผักและผลไม้มากขึ้นข้าวเปน็ อาหารหลักสลบั กับอาหารประเภทแปูงให้รับประทานหลากหลายแต่ลดปรมิ าณน้อยลงดื่มนม๒-๓แกว้ /วันดืม่ น้า๘-๑๐แก้ว/วันหลีกเล่ยี งอาหารรสหวานจดั เค็มจัดของทอดบะหมี่ก่ึงสาเรจ็ รปู น้าอัดลมและรับประทานอาหารสะอาดปราศจากการปนเป้ือนงดหรอื ลดเคร่ืองดมื่ ที่มแี อลกอฮอล์กาแฟหรอื เครอ่ื งดมื่ ท่ีมคี าเฟอีนการวางแผนการรับประทานอาหารวา่รับประทานเท่าไรจึงจะถือว่าพอดตี ามหลกั ของธงโภชนาการ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๒๗. นักเรียนแบ่งกลุ่มสร้างแบบสอบถามเพ่ือประเมินภาวะสุขภาพจากน้ันสรุปและประเมินผลภาวะสุขภาพของนกั เรียนในโรงเรยี น ๒๘. นกั เรยี นหาภาพข่าวบคุ คลท่ีเป็นตวั อยา่ งในการพัฒนาสุขภาพตนเองและอภปิ รายร่วมกนั ในช้นั เรียน ๒๙. นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๒.๔ ถึง ๒.๑๐ ในหนังสอื เสริมฝกึ ประสบการณ์ สุขศกึ ษา ๔ ขั้นสรุปและประยุกต์ ๓๐. ครูอธิบายสรุปเพ่ิมเติมในส่วนที่ยังไม่ได้กล่าวถึงปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นทาให้เกิดการสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจานวนมากการวางแผนพัฒนาสุขภาพและการดูแลสุขภาพตามแผนที่กาหนดไว้โดยเฉพาะในวยั เรยี นและวยั รนุ่ จึงเปน็ ส่ิงท่ีทุกคนต้องให้ความสาคัญเพ่ือทาให้มีสุขภาพและมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ใี ช้ชวี ติ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๓๑. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนและแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สขุ ศกึ ษา ๔๙ สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน สขุ ศึกษา ๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่๔ ของบริษัท สานกั พิมพ์เอมพันธ์จากัด ๒. หนังสือเสรมิ ฝกึ ประสบการณ์ สุขศกึ ษา ๔ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี๔ของบริษัท สานกั พิมพ์เอมพันธ์จากดั ๓. วดี ิทัศน์ แผ่นใส และรปู ภาพประกอบ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนหน่วยท่ี ๒คาชี้แจง จงทาเครื่องหมาย  ทีน่ ักเรียนคิดวา่ ถูกต้องท่ีสดุ๑. การวางแผนพฒั นาสขุ ภาพเปน็ อยา่ งไรก. การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพข. การกาหนดแนวทางวธิ กี ารในการสรา้ งสขุ ภาพค. การประเมนิ ภาวะทางจิตง. การประเมินภาวะทางสงั คม๒. ระดับไตรกลีเซอไรดใ์ นผู้ใหญ่ปกติไมค่ วรเกนิ เท่าใดก. ๓๕ มลิ ลกิ รัม/เดซิลติ รข. ๑๓๐ มิลลกิ รมั /เดซิลติ รค. ๑๕๐ มิลลกิ รัม/เดซลิ ติ รง. ๒๐๐ มิลลิกรมั /เดซลิ ติ ร๓. การจดั ทาแผนออกกาลงั กายเพื่อลดนา้ หนักในผใู้ หญ่ควรทาอยา่ งไรก. รับประทานยาลดน้าหนักข. รับประทานอาหารม้ือเดยี วค. รบั ประทานอาหารลดไขมนัง. ออกกาลังกายวันละ ๓๐ นาที ๕ วัน/สัปดาห์๔. ถ้าร่างกายมีอาการต่างๆ เช่น เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามร่างกาย ประเมินได้ว่าร่างกายเป็นอย่างไรก. ภาวะรา่ งกายไม่ดี ตอ้ งรีบพบแพทย์ ข. ภาวะรา่ งกายออ่ นแอ ต้องพักผอ่ นค. ภาวะรา่ งกายขาดการออกกาลงั กาย ง. ภาวะร่างกายขาดออกซเิ จน๕. ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดของคนปกตคิ วรอย่ใู นระดับใดก. ๖๕-๑๐๐ มิลลิกรมั /เดซิลิตร ข. ๑๐๐-๑๒๐ มิลลิกรัม/เดซลิ ิตรค. ๑๒๐-๑๓๐ มิลลกิ รมั /เดซลิ ติ ร ง. ๑๓๐-๑๔๐ มลิ ลิกรมั /เดซลิ ิตร๖. ข้อใดคือคา่ ความดันเลอื ดปกติก ๑๐๐/๑๒๐ ข. ๑๑๐/๑๒๐ค. ๑๒๐/๘๐ ง. ๑๓๐/๙๐๗. ระดับกรดยูรกิ ในเลือดของคนปกติเป็นเช่นไรก. ไม่เกนิ ๑๐ มลิ ลิกรมั /เดซิลิตร ข ไมเ่ กนิ ๙ มิลลิกรัม/เดซลิ ิตรค. ไมเ่ กนิ ๘ มลิ ลกิ รัม/เดซลิ ิตร ง. ไมเ่ กิน ๗ มลิ ลิกรัม/เดซิลติ ร สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๘. ผู้เป็นโรคอ้วนมดี ัชนมี วลกายอย่างไรก. ๒๐ ข. ๒๒.๕ค. ๒๙.๙ ง. ≥๓๐๙. เมื่อทาแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทยแล้ว ได้คะแนนรวมสูงกว่า ๒๒ ถือว่าบุคคลนั้นเป็นอย่างไรก. มอี ารมณด์ ี แจม่ ใสข. มีภาวะเครียด แต่ไมม่ ากค. มภี าวะซมึ เศรา้ ตอ้ งไดร้ บั การตรวจวนิ จิ ฉยั เพื่อชว่ ยเหลือต่อไปง. มีภาวะเสี่ยงตอ้ งรบี ไปพบแพทย์๑๐. การประเมนิ ภาวะสุขภาพทางสงั คมตัวชวี้ ดั ท่ีกาหนดคอื อะไรก. สงั คมมคี วามปลอดภยั จากสารเสพตดิ และมีจติ สาธารณะสูงข. สังคมมคี วามปลอดภยั จากอาชญากรรมและความรนุ แรงค. สงั คมมีความปลอดภัยจากความเครยี ดและภาวะเส่ียงจากอุบัติเหตุง. สงั คมมีความปลอดภยั จากความวติ กกงั วลและมีทักษะสขุ ภาพสูง เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี นหนว่ ยท่ี ๒๑.ข ๒.ค ๓.ง ๔.ก ๕.ก๖.ค ๗.ง ๘.ง ๙.ค ๑๐.ข สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

การบนั [บบนั ทกั หลงั สอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปญั หา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..……๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ...............................................ครผู ู้สอน (นายมานพ ในพิมาย)๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….…….ลงช่อื ................................................ (นายวินัย คาวเิ ศษ)ผอู้ านวยการโรงเรยี นหันคาราษฎร์ งั สฤษดิ์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔วชิ า พ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษา๔สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เร่อื ง พฤตกิ รรมทางเพศ เวลา 2 ชวั่ โมง………………………………………………………………………………………………………………………………………………๑ เปา้ หมายการเรียนรู้ ๑. วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ และการดาเนินชีวิตท่เี หมาะสม๒. วเิ คราะห์ค่านยิ มในเรื่องเพศตามวฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมอ่นื ๆที่เหมาะสม๒ สาระสาคัญ การดาเนินชีวิต และพฤติกรรมทางเพศของบุคคลมีอิทธิพลมาจากครอบครัว กลุ่มเพื่อน สังคม และสิ่งแวดล้อม แต่ละสังคมย่อมสร้างสรรค์วัฒนธรรมที่มีความเหมาะสมกับวิถีการดาเนินชีวิต วัฒนธรรมทางเพศของสังคมไทยเป็นวัฒนธรรมท่ีดีงาม ส่งเสริมให้หญิงรักนวลสงวนตัว และให้หญิงและชายรักเดียวใจเดียวตลอดจนส่งเสริมค่านิยมการมีเพศสัมพันธ์และมีคู่ครองในวัยสมควร ดังน้ันนักเรียนจึงควรเรียนรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และมพี ฤตกิ รรมทางเพศและการดาเนนิ ชวี ิตที่เหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย๓ มาตรฐานและตัวชว้ี ัด มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที ักษะในการดาเนินชวี ิต ตวั ช้วี ดั : สิง่ ทผ่ี เู้ รยี นพึงรู้และปฏิบตั ไิ ด้ ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศและการดาเนนิ ชวี ติ ๒. วเิ คราะหค์ ่านิยมในเรอ่ื งเพศตามวัฒนธรรมไทย และวฒั นธรรมอนื่ ๆ๔ สาระการเรียนรู้ ๑. อิทธิพลตา่ งๆ ทมี่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ และการดาเนินชวี ติ ๒. ค่านยิ มในเรอ่ื งเพศ๓. คา่ นิยมเรอื่ งเพศในสงั คมและวัฒนธรรมไทย๔. คา่ นยิ มเรอ่ื งเพศในสงั คมและวฒั นธรรมตะวนั ตก๕. พฤติกรรมทางเพศทีเ่ หมาะสมกับวัฒนธรรมไทย สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๕ กจิ กรรมฝึกทกั ษะทีค่ วรเพ่ิมให้นกั เรยี น K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเขา้ ใจ การฝกึ ปฏิบตั ิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์๑. อทิ ธิพลตา่ งๆ ท่มี ผี ลต่อ พฤติกรรมทางเพศ และ ๑. วิเคราะห์อิทธพิ ลของ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ การดาเนนิ ชีวิต ครอบครัว เพ่ือน สงั คม ๒. ซ่ือสัตยส์ ุจรติ๒. ค่านยิ มในเร่ืองเพศ๓. ค่านิยมเรื่องเพศในสังคม และวฒั นธรรมท่มี ีต่อ ๓. มีวินยั และวฒั นธรรมไทย พฤติกรรมทางเพศ และการ ๔. ใฝุเรียนรู้๔. ค่านิยมเร่ืองเพศในสงั คม ดาเนนิ ชวี ิตท่เี หมาะสม ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง และวัฒนธรรมตะวนั ตก๕. พฤติกรรมทางเพศที่ ๒. วิเคราะหค์ า่ นิยมในเรื่องเพศ ๖. ม่งุ มนั่ ในการทางาน ตามวัฒนธรรมไทย และ ๗. รกั ความเปน็ ไทย เหมาะสมกบั วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมอื่นๆ ๘. มีจิตสาธารณะ๖ การวดั และประเมนิ ผล ๑. เคร่อื งมอื วดั และประเมินผล ๑) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี น ๒) แบบฝึกหัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุม่ ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๖) แบบสงั เกตสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๗) แบบสังเกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๒. วธิ วี ัดผล ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ๒) ตรวจแบบฝกึ หัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๖) สงั เกตสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๗) สังเกตคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล ๑) สาหรบั ช่วั โมงแรกท่ีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๒) การประเมินผลจากแบบฝกึ หดั ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ทกั ษะ และจิตพิสยั ทุกช่องเกนิ รอ้ ยละ ๕๐ ๔) การประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล เกณฑ์ผ่านการประเมนิ ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรับปรุง ๖) การประเมนิ ผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คะแนนขึน้ อยกู่ บั การประเมินตามสภาพจรงิ ๗) การประเมินผลการสงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน คะแนนข้ึนอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง๗ หลกั ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น และแบบฝึกหัด ๒. ผลการทาใบงาน๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น ๑. ครูกล่าวถึงปัญหาพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนเป็นปัญหาสาคัญท่ีสุดประการหน่ึงท่ีจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพท้ังทางร่างกายและจิตใจปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศของเยาวชน ในปัจจุบันท่ีเห็นได้ชัดเจนได้แก่อิทธิพลจากครอบครัวเพ่ือนสังคมและวัฒนธรรมนักเรียนจึงควรเรียนรู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องท่ีมีอิทธิพลทางเพศเพื่อจะได้ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมไม่ถูกชักนาไปในทางที่ไม่ถูกต้องซ่ึงจะเป็นผลเสียต่ออนาคตของตนเอง ๒. ครูเนน้ ให้นักเรียนสรา้ งภูมคิ ุม้ กันทีด่ ีในตวั เองเรอ่ื งเพศ เช่นไม่ควรแต่งกายอิสระ ไม่คบเพื่อนต่างเพศได้อสิ ระ และใกลช้ ดิ สนิทสนมกันง่ายเกินไป นอกจากน้ีควรมีการพิจารณาในการดูข่าวสารภาพยนตร์วีดิทัศน์ อินเทอร์เนตรวมทั้งสถานเริงรมย์มีมากทาให้วัยรุ่นขาดความย้ังคิดปล่อยตัวปล่อยใจให้เป็นไปตามความปรารถนาของธรรมชาติลืมคิดถึงความพร้อมของตนเองด้านเศรษฐกิจและสังคมจึงทาให้วัยรุ่นที่เร่ิมมีความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศมักจะมีความคิดที่แตกต่างกันออกไปซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนท่ีผู้ชายจะไปหาประสบการณ์ทางเพศกบั หญิงบริการทางเพศและผู้หญิงก็จะรักษาพรหมจารีไว้จนกระทั่งแต่งงานดังนั้น นักเรียนทุกคนจึงควรใช้ความระมดั ระวัง ความรอบคอบ ในเรือ่ งเพศ จะได้ใช้ชวี ติ อย่างมคี วามสขุ ๓. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

ขน้ั สอน ๔. ครูอธิบายถึงอิทธิพลต่างๆท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศเช่น อิทธิพลจากครอบครัว อิทธิพลจากเพื่อนอิทธิพลจากสังคม อิทธิพลจากวัฒนธรรม โดยใช้ส่ือแผ่นใสประกอบ พร้อมท้ังยกตัวอย่างกรณีศึกษาเพ่ือเตือนสติและเตือนใจใหน้ กั เรยี นระมดั ระวังและยั้งคิดย้งั ทาในสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง ๕. ครูยกตัวอย่างพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นเพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นในปจั จบุ นั และระบุปัจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น โดยใช้สื่อแผ่นใสและรูปภาพประกอบการอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพอ่ื สือ่ ความหมายให้นักเรียนเข้าใจง่ายย่งิ ขน้ึ ๖. นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๑ ในหนังสอื เสรมิ ฝกึ ประสบการณ์ สขุ ศึกษา ๔ ข้ันสรุปและประยุกต์ ๗. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปเร่ืองอิทธิพลต่างๆที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ และคุณค่าของความเป็นชายความเปน็ หญงิ โดยการถามตอบ โดยใช้สือ่ แผน่ ใสประกอบ ๘. ครแู นะนาให้นกั เรียนปฏบิ ตั หิ น้าที่พลเมืองดี ดังนี้ ๑) มีจรยิ ธรรมทค่ี วรประพฤติทาใหส้ ังคมอยู่ด้วยกันโดยสงบ เช่น มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรบั ผิดชอบ ไมเ่ บียดเบยี นผูอ้ นื่ ไม่ทาใหผ้ อู้ ่ืนเสียหายเป็นตน้ ๒) มีคุณธรรมที่ดีมีประโยชน์ที่สังคมเห็นว่าเป็นคว ามดีคว ามงาม เช่นซ่ือสัตย์สุจริตมีเมตตาเอือ้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม ๓) ความมีศีลธรรม หรือรักษากาย วาจา ใจให้ปกติ ไม่ทาช่ัวหรือเบียดเบียนผู้อื่น เช่นไม่พูดเท็จ พูดแตค่ วามจรงิ ไมเ่ สพของมึนเมา มีสตอิ ยเู่ สมอ ไมฆ่ า่ สตั ว์ตัดชีวติ มีความเมตตากรุณา ชั่วโมงที่ ๒ ข้ันนาเขา้ ส่บู ทเรียน ๙. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องค่านิยมในเร่ืองเพศ ซึ่งหมายถึงความรู้สึกนึกคิดการให้คุณค่าหรือความเชือ่ ถือที่มีตอ่ สิง่ ใดสิ่งหน่งึ ค่านิยมทางเพศจึงเป็นเร่ืองของความรู้สึกการให้คุณค่าและการมีความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศการมีค่านิยมทางเพศท่ีถูกต้องจะนาไปสู่การประพฤติปฏิบัติตนที่สอดคล้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมอันดงี ามของไทยดงั นัน้ วัยรุ่นจงึ ควรให้ความสนใจและทาความเข้าใจเร่ืองเพศและค่านยิ มทางเพศ ๑๐. นักเรียนและครูสนทนาถึงความสัมพันธ์ระหว่างเพศหมายถึงการท่ีชายหญิงมีปฏิกิริยาต่อกันหรือมาร่วมกันทากิจกรรมใดๆ ก็ตามอาจเร่ิมต้นจากการพบปะติดต่อพูดคุยกันธรรมดาจนมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้งถึงข้นั มเี พศสัมพนั ธก์ ็ไดซ้ ึ่งการคบหาสมาคมของมนุษยน์ นั้ เปน็ เร่ืองปกตทิ ่ีปฏบิ ัติกันแม้จะมิได้มีจุดมุ่งหมายไปสู่การมีเพศสัมพันธ์เพราะมนุษย์ชอบอยู่รวมเป็นกลุ่มมีการติดต่อสัมพันธ์กันทั้งใ นระหว่างต่างเพศและระหว่างเพศเดียวกันมีการพ่ึงพาอาศัยและการช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันจะทาให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขและแจ้งกจิ กรรมฝกึ ทักษะท่ีควรเพิ่มใหน้ ักเรียนทราบ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๑๑. ครูช้ีให้นักเรียนได้เห็นว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องเก่ียวข้องกับทุกคนตั้งแต่การกาเนิดชีวิตดังน้ันเร่ืองเพศจึงไม่ใช่เรื่องท่ีน่ารังเกียจหรือเลวร้ายไม่สามารถนามาสนทนาได้แต่ควรกล่าวถึงเรื่องเพศในทางสร้างสรรค์หลีกเลย่ี งการสนทนาเรือ่ งเพศในทางการปลุกเร้าอารมณ์ทางเพศหรอื ในทางลามกอนาจาร ๑๒. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ขน้ั สอน ๑๓. ครูอธิบายเร่ืองค่านิยมทางเพศ และค่านิยมเร่ืองเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทยโดยยกตัวอย่างประกอบในลกั ษณะต่าง ๆ พร้อมทั้งใชส้ ื่อแผน่ ใสประกอบการเรียนการสอน ๑๔. นกั เรยี นเขยี นคา่ นิยมทางเพศที่เหมาะสมกบั วฒั นธรรมไทยท่นี ักเรียนยดึ ถืออยู่มา ๓ ขอ้ ๑๕. นักเรยี นเขียนคา่ นยิ มทางเพศทเ่ี หน็ วา่ ไม่เหมาะสมกับวฒั นธรรมไทยมา ๓ ขอ้ ๑๖. นักเรียนยกตัวอย่างบคุ คลทม่ี ชี อื่ เสียงและคิดวา่ วางตัวทางเพศได้เหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมไทยมากที่สุด โดยเขยี นระบุใหช้ ดั เจนและสมบูรณท์ สี่ ุด ๑๗. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ ๕–๖ คนเท่าๆ กัน แต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง“ค่านิยมในเร่ืองเพศ”จากส่ือต่างๆเช่น หนงั สือพมิ พ์ อนิ เทอร์เนต็ เปน็ ตน้ แล้วระดมความคดิ เห็น และทาใบงานท่ี ๓.๑ ๑๘. ครอู ธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเพศการแสดงความต้องการทางเพศและการปรับตัวทางเพศ โดยเปิดวีดีทัศนป์ ระกอบการอธิบาย ๑๙. นักเรียนจัดการโต้วาทีในญัตติ “สิทธิและศักดิ์ศรีความเท่าเทียมกันตามหลักสิทธิมนุษยชน” พร้อมท้ังอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และสรปุ ผล ๒๐. ครูแนะนาใหน้ กั เรียนทุกคนปฏบิ ัติตนไปในทางสายกลางเป็นการปฏิบตั ดิ ีปฏบิ ตั ชิ อบที่ไมต่ ึงไม่หย่อนเกินไป เปน็ ความพอดีซึง่ จดุ ของความพอดีสาหรับแต่ละคนย่อมแตกตา่ งกนั ไป เพราะแต่ละคนแตกต่างกนั เพ่ือเสริมจุดแขง็ กาจัดจดุ อ่อนของแต่ละคน โดยมเี ปาู หมายทเ่ี หมอื นกันคือการพ้นทกุ ข์ ๒๑. ครูเนน้ ใหน้ ักเรียนสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ท่ดี ใี นตวั เอง โดยสร้างคา่ นิยมท่ีถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การรักนวลสงวนตัว การเข้าตามตรอกออกตามประตู การมีรกั เดียวใจเดียว การไม่ชงิ สุกก่อนห่ามหรือการแต่งงานให้ถูกต้องตามประเพณี เปน็ ตน้ ๒๒. นักเรียนหาข่าวเก่ียวกับปัญหาทางเพศที่เกิดกับวัยรุ่นมาประมาณคนละ ๑ ข่าว พร้อมภาพข่าว และเขียนแสดงความคิดเห็นตามภาพข่าว ๒๓. นักเรียนทาใบงานท๓ี่ .๑และ ๓.๒ ในหนงั สือเสรมิ ฝกึ ประสบการณ์ สุขศึกษา ๔ ข้ันสรปุ และประยุกต์ ๒๔. ครแู ละนกั เรียนสรุปคา่ นยิ มเร่ืองเพศ เป็นการใหค้ วามสนใจเพศตรงข้ามและอยากให้เพศตรงข้ามสนใจจึงพยายามหาทางทท่ี าให้เพศตรงข้ามสนใจ ๒๕. นักเรียนยกตัวอย่างค่านิยมท่ีทาตัวให้เพศตรงข้ามสนใจ เช่น ทาตัวให้เป็นจุดเด่น การแต่งกายให้ดูดีการเขา้ กลุ่มกับเพื่อนๆเป็นต้น ๒๖. ครูกล่าวเพ่ิมเติมว่าการสร้างค่านิยมเรื่องเพศในปัจจุบันมีแพร่หลายในกลุ่มของวัยรุ่นเป็นส่วนมากดังนั้นการเปิดโอกาสให้วัยรุ่นได้เข้าสังคมได้คบหากับเพื่อนต่างเพศในสายตาของผู้ปกครองย่อมดีกว่าการห้าม สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

ปรามปิดกั้นอย่างเข้มงวดจะทาให้แอบคบหาหนีไปเที่ยวในท่ีลับตาผู้ใหญ่ ซึ่งอาจพลาดพล้ังได้โดยร้เู ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ ๒๗. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรปุ โดยการถามตอบเป็นกลมุ่ และรายบคุ คล ๒๘. ครแู นะแนวทางการปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดีตามวิถชี ีวติ ประชาธิปไตยในด้านสังคมดงั น้ี คือ ๑) การแสดงความคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล ๒) การรับฟงั ข้อคิดเห็นของผู้อ่ืน ๓) การยอมรับเม่ือผู้อ่นื มีเหตผุ ลท่ดี กี วา่ ๔) การตัดสินใจโดยใชเ้ หตผุ ลมากกว่าอารมณ์ ๕) การเคารพระเบียบของสังคมเช่น แต่งกายถกู ระเบยี บของโรงเรยี น ๖) การมีจิตสาธารณะคือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติเช่นการปดิ ไฟฟาู การปิดน้า การเกบ็ กวาดขยะ เปน็ ตน้ 29. ครูอธิบายเร่ืองค่านิยมเรื่องเพศในสังคมและวัฒนธรรมตะวันตกในลักษณะต่างๆ โดยการฉายวีดีทัศน์และส่อื แผน่ ใสประกอบเพ่ือสือ่ ความหมายใหเ้ ข้าใจง่ายยงิ่ ขน้ึ ๓0. นักเรียนนาข่าวปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ในสังคมตะวันตกจากสื่อต่างๆ มาวิเคราะห์คนละ ๑ ข่าวโดยใช้เวลาประมาณคนละ ๕ นาที ๓1. ครูอธิบายปัญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในสังคมตะวันตก ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมของประเทศไทย โดยใชห้ วั ขอ้ ขา่ วจากสอ่ื หนังสือพิมพ์และสอื่ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ประกอบ ๓2. ครูอธิบายคุณลักษณะของพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย โดยครูได้เน้นให้เห็นว่าในสงั คมไทยปจั จุบันขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมยังคงเป็นตัวกาหนดวิถีชีวิตและมีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศสาหรับสังคมไทยยังถือว่าความบริสุทธ์ิและการไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานเป็นส่ิงท่ีดีงามตามวัฒนธรรมไทยดังน้ันการวางตัวต่อเพศตรงข้ามในระหว่างท่ีคบหาสมาคมกันเป็นเรื่องสาคัญท่ีนักเรียนต้องให้ความสนใจการวางตัวอย่างเหมาะสมเช่นการแสดงพฤติกรรมของเพศหญิงนั้นจะต้องทาตัวให้เพศชายยกย่องและให้เกียรติโดยฝุายหญิงจะต้องเข้าใจว่าการท่ีผู้หญิงกล้าเกินไปไม่ถือเนื้อถือตัวและให้ความ สนิทสนมกับผชู้ ายมากๆเทา่ กบั เปน็ การเปิดโอกาสใหฝ้ ุายชายสามารถล่วงเกนิ ไดง้ า่ ยขนึ้ ๓3. นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคากล่าวท่ีว่า “เกิดเป็นหญิงต้องให้เห็นว่าเป็นหญงิ ไมท่ อดทิ้งกิรยิ าอัชฌาสัย” ว่าคากลอนดงั กลา่ วมีความหมายอย่างไรและยกตวั อยา่ งประกอบ ๓๗. นักเรียนไปสัมภาษณ์ญาติผู้ใหญ่๑คนและเพื่อนวัยเดียวกัน๑คนเก่ียวกับความคิดเห็นที่มีต่อค่านิยม“การรักนวลสงวนตัว” แล้วเปรยี บเทียบความคดิ เหน็ ของบุคคลท้งั สองคนในเร่ืองดงั กล่าว ๓4. นักเรียนสัมภาษณ์เพื่อนผู้หญิง๑คนและเพ่ือนผู้ชาย๑คนเกี่ยวกับความคิดเห็นในสานวนไทย “ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้าผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง” แล้วเปรียบเทียบความคิดเห็นของเพื่อนทั้ง๒คนว่ามีความคล้ายคลึงหรอื ความแตกตา่ งกันอย่างไร ๓5. ครเู นน้ ให้นักเรียนชายสรา้ งภมู คิ ุ้มกันท่ดี ใี นตัวเอง โดยเนน้ ความเปน็ สุภาพบรุ ษุ และมคี ุณธรรม ดังนี้ ไมล่ ว่ งเกินทางกายตอ่ ฝุายหญิงไมส่ ัมผสั รา่ งกายฝุายหญิงด้วยจติ ใจท่ีไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ ไม่พูดจาทะลึ่งลามกในเรื่องเพศหรือการชักชวนในเรื่องทางเพศซึ่งเป็นการไม่ให้เกียรติและทาให้เสื่อมเสียศักด์ศิ รขี องฝุายหญิง สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

ไม่พดู จาหลอกลวงให้ฝุายหญิงตายใจหรอื เชอื่ อยา่ งสนิทใจแล้วก็หลอกให้มีเพศสัมพันธ์ด้วยเม่ือเบ่ือแล้วกพ็ ยายามตีจากหรือทาตวั หา่ งเหิน ควรวางตนให้เหมาะสมและเป็นท่ีน่าไว้วางใจแก่ฝุายหญิงไม่เป็นคนท่ีกลับกลอกทาตัวไม่น่าเชื่อถือและไม่ซอ่ื สตั ยเ์ พราะจะทาให้ฝุายหญงิ ผิดหวังและเกดิ ปัญหาตามมาอีกมากมาย ผู้ชายเป็นเพศท่ีแข็งแรงกว่าควรดูแลปกปูองให้ฝุายหญิงรู้สึกว่าเมื่อคบกันหรืออยู่ใกล้กันแล้วเกิดความอุ่นใจปลอดภัยและเปน็ ทพี่ ึ่งได้ ควรให้ความช่วยเหลือฝุายหญิงเท่าท่ีตนเองจะกระทาได้อย่านิ่งดูดายเม่ือเห็นฝุายหญิงต้องเหน็ดเหน่อื ยตอ่ การทางานหรือกิจกรรมตา่ งๆท่ฝี ุายชายพอจะช่วยได้ 36. ครูเน้นให้นักเรียนหญิงสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง ให้เน้นที่ความเป็นสุภาพสตรีและรักนวลสงวนตัวมีความละอายดงั นี้ ควรสงวนท่าทีตามที่กุลสตรีพงึ กระทาไมค่ วรแสดงทีทา่ ใหเ้ ห็นวา่ สนใจผูช้ ายเป็นอย่างมากโดยแสดงพฤตกิ รรมจนนา่ เกลยี ดทั้งทางกายและทางวาจา ไมอ่ ยู่ในที่ลบั หลู บั ตากบั ผชู้ ายตามลาพงั สองตอ่ สองแม้จะไมม่ อี ะไรกต็ ามเพราะอาจจะเป็นสาเหตุให้ถูกครหานนิ ทาจากผูอ้ ื่นได้ ไม่ควรไปเท่ียวเตร่กันตามลาพังในสถานท่ีที่จะทาให้เส่ือมเสียช่ือเสียงและเสียหายได้เช่นไปเท่ียวกลางคนื ไปเที่ยวคา้ งคืนไปในทที่ ไ่ี ม่มีใครพบเห็นสองต่อสองเป็นต้น ไม่ยินยอมให้ผู้ชายถูกเนื้อต้องตัวเพราะตามวัฒนธรรมไทยไม่เห็นด้วยกับการกระทาเช่นน้ีถ้าถูกล่วงเกนิ โดยมีเจตนาท่ีไมบ่ ริสุทธิใ์ ห้แสดงทีทา่ ปฏเิ สธอยา่ งแขง็ ขนั ไม่ต้องเกรงใจหรือกลวั ฝาุ ยชายจะโกรธ ในการวางตัวต่อฝุายชายโดยทั่วไปน้ันต้องคานึงถึงความเป็นกุลสตรีของผู้หญิงว่าจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเหมาะสมท้งั ด้านการแตง่ กายและความประพฤติเช่นแต่งกายให้เหมาะสมไม่สวมเสื้อสายเด่ียวเสื้อเกาะอกเส้อื ที่บางหรือรัดรูปเกินไปและรักนวลสงวนตัว ควรรักอยา่ งมสี ติ 37. นกั เรียนทาใบงานที่ ๓.๓ ในหนังสอื เสรมิ ฝึกประสบการณ์ สุขศกึ ษา ๔ ข้ันสรุปและประยุกต์ 38. ครูและนักเรียนสรุปเร่ืองเพศเป็นเร่ืองสาคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์โดยเฉพาะในวัยรุ่นเน่ืองจากวัยรุ่นมีการเจริญเติบโตทางเพศกับพัฒนาการทางเพศอย่างรวดเร็วและมักแสดงพฤติกรรมทางเพศออกมาในหลายรูปแบบอยา่ งไรก็ตามการแสดงออกทางเพศต้องคานึงถึงความเหมาะสมสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทยเช่นการรักนวลสงวนตัวการไม่ชงิ สุกก่อนห่ามการเข้าตามตรอกออกตามประตูการมีรักเดียวใจเดียวเพราะการมีพฤติกรรมทางเพศตามคา่ นิยมดังกลา่ วนอกจากเป็นการรักษาวัฒนธรรมท่ีดีงามของไทยแล้วยังเป็นการปูองกันปญั หาทางเพศทอ่ี าจเกิดข้ึน 39. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกันสรปุ เพิม่ เตมิ ในเร่อื งที่ยังไม่ไดก้ ล่าวถึง ๔0. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สขุ ศึกษา ๔๙ สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๔. หนังสือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ๔ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔๕. หนงั สอื เสริมฝึกประสบการณ์ สขุ ศกึ ษา ๔ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔๖. วีดิทัศน์ แผ่นใส และรปู ภาพประกอบ๗. ข่าวสาร ส่ือสง่ิ พมิ พ์ แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรียนหน่วยท่ี ๓คาช้แี จง จงทาเคร่ืองหมาย  ทีน่ ักเรยี นคดิ วา่ ถกู ต้องทส่ี ุด๑. การมีเพศสมั พนั ธ์ของคูร่ ักกนั สว่ นมากมาจากสาเหตุใดก. ตอ้ งการสบื เผา่ พนั ธ์ุ ข. ความตอ้ งการทางเพศค. สงิ่ แวดลอ้ มตา่ งๆ เป็นใจ ง. สถานการณ์และโอกาสเอ้ืออานวย๒. สถานทีใ่ ดทีว่ ยั รนุ่ ใชเ้ ปน็ สถานท่ีในการมีเพศสมั พันธ์มากทส่ี ุดก. บ้าน ข. โรงแรมค. อพาร์ตเมนต์ ง. คอนโดมิเนียม๓. ในวฒั นธรรมไทยด้งั เดิมมคี ่านิยมในเรือ่ งเพศอย่างไรก. เปน็ เรอื่ งสาคัญ ข. เปน็ เรือ่ งท่ีไม่ควรสอนค. เป็นเรอ่ื งท่ตี ้องศกึ ษาให้เขา้ ใจ ง. เป็นเรือ่ งท่สี ามารถแสดงออกไดเ้ ปิดเผย๔. “การรักนวลสงวนตัว” เป็นค่านยิ มท่บี ุคคลใดควรปฏบิ ตั ใิ นสงั คมปัจจุบนัก. พอ่ แม่ ข. ฝุายชายที่มคี ่รู ักค. ฝาุ ยหญงิ ทม่ี คี ู่รัก ง. ทง้ั ชายและหญงิ ที่มีคูร่ ัก๕. คา่ นิยมทางเพศของผใู้ ดมีคุณค่ามากทีส่ ดุก. มลฤดคี านงึ ถึงหลกั สทิ ธมิ นุษยชนข. สมฤทยั ไมแ่ สดงออกถงึ ความสนใจเพศตรงข้ามมากนักค. นรินรัตนไ์ มแ่ ต่งตวั แบบยั่วยวนเพศตรงขา้ มง. วิภาดามีความคิดท่ีมนั่ คงวา่ จะรกั ษาความบรสิ ทุ ธ์ขิ องตนเองจนถงึ วนั แต่งงาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๖. “เขา้ ตามตรอกออกตามประตู” เปน็ คา่ นิยมที่บคุ คลใดควรปฏบิ ตั ิ ก. พอ่ แม่ ข. ฝุายชายทีม่ ีครู่ กั ค. ฝาุ ยหญงิ ทมี่ คี ่รู ัก ง. คนทเ่ี ป็นเพอื่ นกัน ๗. วฒั นธรรมทางเพศในข้อใดทจ่ี ะส่งผลตอ่ สงั คมในทางท่ดี มี ากทสี่ ดุ ก. ยึดคา่ นยิ มแบบผัวเดยี วเมยี เดียว ข. ไมค่ วรถือโอกาสถูกเน้ือต้องตัวเพศตรงข้ามด้วยเจตนา ค. พฤติกรรมทางเพศของสามภี รรยาเป็นกจิ กรรมสว่ นตัวไม่ควรเปดิ เผย ง. การแสดงความสนใจต่อเพศตรงข้าม ควรปฏิบตั ติ ามจารีตประเพณขี องสังคมไทย ๘. พฤติกรรมทางเพศในข้อใดท่ีระบาดเข้ามาในหมูว่ ยั ร่นุ มากที่สุด ก. มีครู่ กั ข. ดภู าพยนตร์ลามก ค. การไปเทย่ี วกลางคนื กบั ค่รู ัก ง. ดื่มเครือ่ งดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอล์ ๙. ค่านิยมทางเพศในข้อใดที่ไมส่ อดคลอ้ งกับสังคมไทย ก. การออกเดต (Dating) ข. การทดลองอย่ดู ว้ ยกัน ค. การมีรักเดยี วใจเดยี ว ง. ไมอ่ ยู่ในท่ีลับตากนั สองต่อสอง๑๐. ค่านิยมทางเพศในข้อใดเป็นค่านยิ มทางเพศทีถ่ ูกต้องในสังคมไทย ก. การมรี ักเดียวใจเดยี ว ข. การไมเ่ ผยแพร่ความจริงในเร่ืองเพศ ค. การยกย่องเพศชายเหนือกวา่ เพศหญงิ ง. การพดู ในเรอ่ื งเพศเป็นเรื่องน่าอับอาย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนหนว่ ยที่ ๓ ๑. ก ๒. ก ๓. ข ๔. ง ๕.ง ๖. ข ๗. ก ๘. ค ๙. ข ๑๐. ก สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

บบนั ทกั หลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปญั หา/อปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพิมาย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้าสถานศกึ ษาหรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงชอ่ื ................................................ (นายวนิ ยั คาวเิ ศษ) ผู้อานวยการโรงเรียนหนั คาราษฎร์ งั สฤษดิ์ ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรียนรเู้ พื่อจัดทาคาอธบิ ายรายวิชา เพม่ิ เติม รหัส พ31101 ฟตุ ซอล กลุม่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

มาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะ K (คากิรยิ า) อันพงึ สมรรถนะมาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการ ประสงค์ สาคัญผู้เรียนเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ พัฒนาการ P ACพ 1.1/1 (ม 4-6) อธิบายกระบวนการ ของตนเอง กระบวนการ - ความสามารถสร้างเสรมิ และดารงคงประสิทธิภาพการ สรา้ งเสรมิ ในการใช้ทางานของระบบอวยั วะต่างๆ สาเหตุและผล ทกั ษะชีวติพ 1.1/2 (ม 4-6) วางแผนดูแลสขุ ภาพ ของความ วางแผนดแู ลตามภาวการณเ์ จรญิ เติบโตและพฒั นาการ ขัดแย้ง สุขภาพ สามารถของตนเองและบคุ คลในครอบครวั ประยกุ ต์ใชใ้ นมาตรฐาน พ 2.1 วเิ คราะห์อิทธพิ ลของ วเิ คราะห์ ชีวิตประจาวนัครอบครัวเพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผล ค่านิยมเรอ่ื งตอ่ พฤติกรรมทางเพศและการดาเนนิ ชวี ิต เพศ สามารถคดิพ 2.1/1 (ม 4-6) วิเคราะห์คา่ นยิ มเรือ่ ง การปูองกัน สามารถเพศตามวัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมอื่นๆ แก้ปญั หา วเิ คราะห์ สามารถคดิพ 2.1/2 (ม 4-6) การเลือกใชท้ กั ษะท่ี สาเหตุ สามารถเหมาะสมในการปูองกนั ลดความขดั แย้ง แกป้ ญั หาและแก้ปัญหาเร่ืองเพศและครอบครวัพ 2.1/3 (ม 4-6) วเิ คราะห์สาเหตุและผล สามารถคดิของความขัดแยง้ ท่ีอาจเกดิ ข้นึ ระหวา่ ง สามารถนกั เรยี นหรอื ชมุ ชน และเสนอแนวทาง แกป้ ัญหาแก้ปัญหามาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ (คากิรยิ า) อันพึง สาคญั ผเู้ รยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

K P ประสงค์ C วิเคราห์การ A ความสามารถพ 3.1/1 (ม 4-6) วเิ คราะห์ความคดิ รวบ เล่นกีฬา เคล่อื นไหว ในการส่ือสาร ผลท่เี กดิ ต่อยอดเก่ยี วกับการเคลือ่ นไหวรูปแบบต่างๆใน เล่นกีฬาไทย ผอู้ ืน่ และ ความสามารถ กฬี าสากล สังคม ในการใช้การเลน่ กีฬา แสดงการ ทักษะชวี ติ เคล่ือนไหว คานึงถงึ ผล ความสามารถพ 3.1/2 (ม 4-6) ใช้ความสามารถของตน เพอ่ื เพม่ิ ปรับปรงุ และ ท่ีเกิดต่อ ในการใช้ พฒั นา สังคม ทักษะชีวิตเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพของทีม คานงึ ถึงผลทเ่ี กิด ศกั ยภาพของ ความสามารถ ทมี ออกกาลังกาย คุณลักษณะ ในการใช้ตอ่ ผอู้ น่ื และสังคม และเล่นกีฬา อนั พึง ทกั ษะชีวติ ในการใช้พ 3.1/3 (ม 4-6) เล่นกีฬาไทย กฬี าสากล กระบวนการ ทักษะชีวติประเภทบคุ คล/คู่ กีฬาประเภท ความสามารถ ในการใช้พ 3.1/4 (ม 4-6) แสดงการเคล่ือนไหวได้ ทักษะชีวติอยา่ งสรา้ งสรรค์ สมรรถนะพ 3.1/5 (ม 4-6) เขา้ รว่ มกิจกรรม ใช้นันทนาการ นอกโรงเรียน และนาหลัก ความสามารถแนวคิดไปปรบั ปรงุ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของตนเองของตนและสังคม เพ่ิมศักยภาพมาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลังกายการเลน่ เกม และการเลน่ กฬี า ปฏิบตั เิ ป็นประจาอยา่ งสมา่ เสมอ มีวินยั เคารพสิทธิกฎ กติกา มีนา้ ใจนกั กีฬา มีจิตวิญญาณในการแขง่ ขนั และช่นื ชมในสุนทรยี ภาพของการกีฬาพ 3.2/1 (ม 4-6) ออกกาลงั กายและเล่นกฬี าที่เหมาะสมกบั ตนเองอย่างสมา่ เสมอและใช้ความสามารถของตนเองเพิ่มศกั ยภาพของทมี ลดความเป็นตัวตนคานงึ ถงึ ผลที่เกดิ ต่อสังคมมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

พ 3.2/2 (ม 4-6) อธิบายและปฏบิ ัติ สาระสาคญั (คากริ ิยา) ประสงค์ สาคัญผู้เรียนเกีย่ วกับสิทธิ กฎ กตกิ า กลวธิ ตี ่างๆ ใน K PA Cระหวา่ งการเล่นการพ 3.2/3 (ม 4-6) แสดงออกถึงการมี กฎ กตกิ า อธิบายและ ความสามารถมารยาทในการดู การเลน่ และการแขง่ ขนั ในการใช้กีฬาและนาไปใชป้ ฏบิ ัตทิ ุกโอกาส จนเป็น ปฏิบตั ิ ทักษะชวี ิตบุคลกิ ท่ีดีพ 3.2/4 (ม 4-6) รว่ มกิจกรรมทางกาย สรุปเป็นแนว ความสามารถและเล่นกีฬาอย่างมคี วามสุข ชืน่ ชมใน ในการใช้คณุ คา่ และความงามของการกฬี า การเลน่ และ ความมี ทกั ษะชีวติ การแขง่ ขัน น้าใจ กีฬา นกั กฬี า ความสามารถ ในการใช้ เลน่ กีฬาอย่าง ร่วมกิจกรรม ช่ืนชมใน ทักษะชวี ิต มคี วามสขุ ทางกาย คุณค่าและ ความงาม ของการ กีฬา สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

ท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู/้ เวลา/ชม. คะแนน๑ ระบบอวัยวะของร่างกาย ผลการเรียนรู้ 2 62 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาติ 2 63 พฤติกรรมทางเพศ ของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการ 2 6 ของมนุษย์4 สิทธผิ ู้บริโภค พ 1.1/1 (ม 4-6) อธบิ าย 2 65 สอ่ื โฆษณากบั สขุ ภาพ กระบวนการสร้างเสริมและดารงคง 2 6 ประสิทธภิ าพการทางานของระบบ 2 6 อวยั วะต่างๆ พ 1.1/2 (ม 4-6) วางแผนดูแล สขุ ภาพตามภาวการณเ์ จริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและ บุคคลในครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 วเิ คราะห์อิทธิพล ของครอบครัวเพื่อน สังคม และ วฒั นธรรมท่มี ผี ลต่อพฤติกรรมทาง เพศและการดาเนินชีวติ พ 2.1/1 (ม 4-6) วเิ คราะห์ ค่านยิ มเรอื่ งเพศตามวฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมอน่ื ๆ พ 2.1/2 (ม 4-6) การเลือกใช้ ทักษะทเี่ หมาะสมในการปูองกัน ลดความขัดแย้ง และแก้ปญั หาเรอื่ ง เพศและครอบครัว พ 2.1/3 (ม 4-6) วเิ คราะห์สาเหตุ และผลของความขัดแยง้ ท่ีอาจ เกิดขึ้นระหว่างนกั เรยี นหรือชมุ ชน และเสนอแนวทางแกป้ ัญหา มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มีทักษะใน การเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ เวลา/ชม. คะแนน6 ความประวตั ขิ องกีฬาฟุตบอล ผลการเรียนรู้ 2 67 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย พ 3.1/1 (ม 4-6) วิเคราะห์ 2 6 ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับการ8 อบอุ่นร่างกาย เคลื่อนไหวรปู แบบต่างๆในการเล่น 1 39 ทกั ษะพ้ืนฐานฟตุ บอล กีฬา 1 310 เดาะเลยี้ งสง่ ฟตุ บอล 1 3 พ 3.1/2 (ม 4-6) ใช้11 โหมง่ ยงิ ฟุตบอล ความสามารถของตนเพื่อเพม่ิ 1 3 ศักยภาพของทีม คานึงถึงผลที่เกดิ ตอ่ ผู้อ่ืนและสังคม พ 3.1/3 (ม 4-6) เล่นกฬี าไทย กีฬาสากล ประเภทบคุ คล/คู่ กีฬา ประเภททมี พ 3.1/4 (ม 4-6) แสดงการ เคล่อื นไหวได้อยา่ งสร้างสรรค์ พ 3.1/5 (ม 4-6) เขา้ ร่วมกจิ กรรม นันทนาการ นอกโรงเรียน และนา หลักแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตของตนและสงั คม มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มี วนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีนา้ ใจ นกั กฬี า มีจิตวญิ ญาณในการ แข่งขนั และชื่นชมในสุนทรยี ภาพ ของการกีฬา พ 3.2/1 (ม 4-6) ออกกาลงั กาย และเลน่ กีฬาที่เหมาะสมกบั ตนเอง อย่างสมา่ เสมอ และใช้ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

ที่ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู/้ เวลา/ชม. คะแนน12 กฎ กตกิ า ผลการเรียนรู้ 1 313 แขง่ ขนั เพ่ือความเป็นเลิศ พ 3.2/2 (ม 4-6) อธิบายและ 1 614 นา้ ใจนักกีฬา ปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับสทิ ธิ กฎ กติกา 1 3 กลวธิ ตี า่ งๆ ในระหว่างการเล่นการ แข่งขนั กีฬากับผอู้ ืน่ และนาไป สรปุ เปน็ แนวปฏิบตั แิ ละใช้ใน ชวี ิตประจาวนั อยา่ งต่อเน่ือง พ 3.2/3 (ม 4-6) แสดงออกถึง การมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันกีฬาและนาไปใช้ ปฏบิ ตั ทิ กุ โอกาส จนเปน็ บุคลิกท่ดี ี พ 3.2/4 (ม 4-6) รว่ มกิจกรรม ทางกายและเล่นกีฬาอยา่ งมี ความสขุ ชน่ื ชมในคณุ คา่ และความ งามของการกฬี า แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑วิชา พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๔ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรื่อง ระบบอวยั วะของร่างกาย เวลา 2 ช่วั โมง……………………………………………………………………………………………………………………………………………1 เปูาหมายการเรียนรู้ สร้างเสริมและดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบอวยั วะต่างๆไดแ้ ก่  การทางานของระบบอวยั วะตา่ ง ๆ  การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของอวัยวะต่างๆ (อาหาร การออกกาลังกาย นันทนาการ การตรวจสขุ ภาพ ฯลฯ)2. สาระสาคัญ ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยระบบอวัยวะต่างๆ๑๐ระบบแต่ละระบบมีการทางานเก่ียวข้องสัมพันธ์กันผิวหนังทาหน้าท่ีเหมือนเกราะปูองกันส่ิงต่างๆท่ีอาจทาอันตรายต่อร่างกายกระดูกเป็นอวัยวะสาคัญในการช่วยพยุงร่างกายและประกอบเป็นโครงร่างเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเน้ือทาให้เกิดการเคล่ือนไหวจึงต้องมีการสร้าง สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

เสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนังกระดูกและกล้ามเนื้อให้ทางานเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ3. มาตรฐานและตัวชี้วดั มาตรฐาน พ ๑.๑เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ตัวชี้วดั : ส่งิ ทผ่ี ้เู รียนพึงรู้และปฏิบตั ิได้ ๑. อธบิ ายกระบวนการสร้างเสรมิ และดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบอวัยวะต่างๆ4. สาระการเรยี นรู้ ๑. ระบบอวัยวะต่างๆของร่างกาย ๒. ระบบผิวหนัง ๓. ระบบโครงกระดกู ๔. ระบบกลา้ มเน้ือ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

5.กจิ กรรมฝกึ ทักษะทค่ี วรเพ่ิมให้นกั เรยี น สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude)ความรู้ ความเขา้ ใจ การฝกึ ปฏบิ ัติ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์๑. อธิบายระบบอวยั วะตา่ งๆ สร้างเสรมิ และดารง ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ของรา่ งกาย ประสทิ ธิภาพการทางานของ ๒. ซ่ือสตั ย์สจุ ริต๒. อธบิ ายความสาคัญของ ระบบอวัยวะตา่ งๆไดแ้ ก่ ๓. มวี นิ ัยระบบผวิ หนัง  การทางานของระบบ ๔. ใฝุเรียนรู้ระบบโครงกระดูก ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง อวัยวะตา่ งๆระบบกล้ามเนื้อ  การสรา้ งเสรมิ และดารง ๖. มุง่ ม่ันในการทางาน๓. ปฏิบตั ติ นในการสร้างเสริม ประสิทธภิ าพของอวัยวะ ๗. รักความเปน็ ไทยและดารงประสิทธภิ าพการ ตา่ งๆ (อาหาร การออก ๘. มจี ติ สาธารณะทางานของระบบผิวหนัง กาลังกาย นนั ทนาการ การระบบโครงกระดูกและ ตรวจสขุ ภาพ ฯลฯ)ระบบกล้ามเน้ือ๖ การวดั และประเมินผล ๑. เครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน ๒) แบบฝึกหดั ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๗) แบบสงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๒. วธิ วี ดั ผล ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ๒) ตรวจแบบฝกึ หดั ๓) ตรวจใบงาน ๔) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ ๕) สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๖) สงั เกตสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๗) สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๓. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล ๑) สาหรบั ช่วั โมงแรกท่ีใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นไม่มีเกณฑ์ผา่ น เกบ็ คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลงั เรียน ๒) การประเมินผลจากแบบฝกึ หดั ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกนิ ร้อยละ ๕๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ทกั ษะ และจติ พสิ ยั ทกุ ช่องเกินรอ้ ยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือเกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล เกณฑผ์ า่ นการประเมิน ต้องไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ ๖) การประเมนิ ผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คะแนนขึ้นอย่กู บั การประเมินตามสภาพจริง ๗) การประเมนิ ผลการสงั เกตคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี น คะแนนข้ึนอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง๗ หลกั ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น และแบบฝกึ หดั ๒. ผลการทาใบงาน๘ กิจกรรมการเรยี นรู้ช่วั โมงท่ี ๑ข้นั ปฐมนเิ ทศ/ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรียน๑. นักเรียนรับฟังคาชี้แจง สังเขปวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลาเรียนและการประเมนิ ผล ซกั ถามปัญหา รวมทัง้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวชิ าน้ี๒. ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนว่าจะต้องทาควบคกู่ บั กระบวนการทากจิ กรรมกลุ่ม และครูจะดูพัฒนาการของผูเ้ รยี นไปตลอดภาคการศึกษา๓. ครูชี้แจงกาหนดคา่ ระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังน้ี คะแนนร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้เกรด ๔ คะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙ ได้เกรด ๓.๕ คะแนนรอ้ ยละ ๗๐-๗๔ ไดเ้ กรด ๓ คะแนนรอ้ ยละ ๖๕-๖๙ ได้เกรด ๒.๕ คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ ไดเ้ กรด ๒ คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ได้เกรด ๑.๕ คะแนนรอ้ ยละ ๕๐-๕๔ ได้เกรด ๑ คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐ ขั้นสอน ๔. นักเรียนสนทนากับครู เรื่องการทางานของระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ตามธรรมชาติต้ังแต่ในอดตี จนถงึ ปัจจุบนั ซง่ึ เปน็ ระบบแห่งชีวิต โดยการและเปล่ยี นความคดิ เห็นซึ่งกันและกัน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๕. นักเรียนยกตวั อย่างอวยั วะต่างๆของร่างกายที่มองเห็นซ่ึงส่วนใหญ่จะอยู่ภายนอกร่างกายเช่นปากจมูกแขนขามือเท้าและอวัยวะท่ีเรามองไมเ่ หน็ ซงึ่ จะอยู่ภายในร่างกายของคนเราเช่นสมองหัวใจลาไส้และต่อมต่างๆในร่างกาย ๖. ครูอธบิ ายถึงการทางานของผิวหนังเป็นอวัยวะที่ห่อหุ้มร่างกายเซลล์ชั้นบนมีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญคือเคอราทิน(Keratin) ใสและหนามีความสาคัญคือปูองกันน้าซึมเข้าสู่ร่างกาย การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดเคอราทินเรียกว่าเคอราทีไนเซซัน (Keratinization) ตัวอย่างอวัยวะที่เกิดกระบวนการดังกล่าว เช่นฝุามอื ฝาุ เทา้ โดยครูนาสือ่ รูปภาพองคป์ ระกอบของผิวหนังซึง่ เป็นสือ่ แผน่ ใสมาแสดงประกอบการอธิบาย ๗. นักเรียนยกตัวอย่างผิวหนังประกอบด้วย๒ส่วนคือส่วนท่ีอยู่บนพื้นผิวเรียกว่าหนังกาพร้า(Epidermis)ส่วนท่อี ยู่ลกึ ลงไปเรยี กวา่ หนังแท้ (Dermis) สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๘. นักเรียนบอกระบบของร่างกายทั้ง ๑๐ ระบบ พร้อมรูปภาพประกอบ ๙. นักเรียนบอกความสาคัญของระบบผิวหนัง ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเน้ือ โดยพิจารณาจากรปู ภาพแลว้ ให้นักเรยี นบอกส่วนประกอบของผิวหนังให้ถกู ต้อง ๑๐. ครูแนะนาใหน้ ักเรยี นทกุ คนได้น้อมนาเอาหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนรู้การทางานของระบบอวัยวะตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ เพราะจะทาให้มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเองและจะเป็นประโยชน์ในด้านอื่นๆ อีกมาก ๑๑. จากรูปภาพขา้ งตน้ ครูช้ีให้นกั เรียนไดต้ ระหนักถงึ ความสาคัญของหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งดังน้ี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มหี ลกั พิจารณาอยู่ ๕สว่ น ดังน้ี ๑) กรอบแนวคิดเป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทยนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลย่ี นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพ้นจากภยั วกิ ฤต เพ่ือความมัน่ คงและความยง่ั ยนื ของการพฒั นา ๒) คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ทุกระดับโดยเน้นการปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเป็นขน้ั ตอน ๓) คานิยามความพอเพียง ตอ้ งประกอบดว้ ย ๓คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดงั น้ี ๓.๑) ความพอประมาณหมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผ้อู ืน่ ๓.๒) ความมีเหตุผลหมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องและคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ันอย่างรอบคอบ ๓.๓) การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวหมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ โดยคานึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคต สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๔) เง่ือนไขการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยท้ังความรู้ และคุณธรรมเปน็ พน้ื ฐาน ประกอบด้วย ๔.๑) เง่ือนไขความรู้ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อวางแผนและความระมัดระวังในขัน้ ปฏบิ ตั ิ ๔.๒) เง่ือนไขคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความซอ่ื สตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวี ิต ๕) แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นสรปุ และประยุกต์ใช้ ๑๒. ครูสรปุ วา่ ผิวหนังเปน็ อวยั วะภายนอกที่ห่อหุ้มร่างกายช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของบุคคลและบ่งบอกถึงการมีสุขภาพที่ดีและไม่ดีของแต่ละคนด้วยเช่นคนท่ีมีสุขภาพดีผิวหนังหรือผิวพรรณจะเต่งตึงสดใสแข็งแรงซ่ึงจะตรงกันข้ามกับผู้ท่ีมีสุขภาพไม่ดีหรือเจ็บปุวยผิวหนังจะแห้งซีดเซียวหรือผิวหนั งเป็นแผลตกสะเก็ดเป็นต้นดงั นน้ั จงึ จาเปน็ ต้องสร้างเสรมิ และดูแลผวิ หนังให้มสี ภาพทสี่ มบูรณม์ ปี ระสทิ ธิภาพในการทางานอยูเ่ สมอ ๑๓. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ๑๔. ครูเน้นให้นักเรียนนาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และปรับใช้ในการเรียนเพื่อปลกู ฝังใหด้ าเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี วามสุขตอ่ ไป ๑๕. นกั เรียนทาใบงานท่ี ๑.๑ ถึง ๑.๕ ในหนงั สือเสรมิ ฝึกประสบการณ์สขุ ศกึ ษา ๔ชว่ั โมงที่ ๒ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น ๑๖. นกั เรยี นดูรปู ภาพระบบการทางานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายแล้วสนทนาซักถาม โดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ๑๗. ครกู ลา่ วถึงการทางานของระบบอวัยวะของร่างกายประกอบดว้ ยโครงสร้างซึ่งสลับซับซ้อนธรรมชาติได้สร้างระบบอวัยวะต่างๆของร่างกายจาแนกได้เป็น๑๐ระบบแต่ละระบบจะมีหน้าที่การทางานท่ีแตกต่างกันไปแต่จะมีการทางานท่ีมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถ้าระบบอวัยวะต่างๆของร่างกายมีการทางานตามหน้าที่ของตนเองอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพจะทาใหส้ ามารถดารงชวี ิตได้อย่างมคี วามสุข ๑๘. ครูแสดงรูปภาพระบบโครงกระดูกของร่างกายมนุษย์ แล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าส่วนไหนมีความสาคัญอยา่ งไรบา้ ง สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๑๙. ครูเชอ่ื มโยงเขา้ สู่บทเรียน และแจง้ กิจกรรมฝกึ ทักษะทค่ี วรเพม่ิ ใหน้ ักเรียนทราบ ขนั้ สอน ๒๐. ครูอธบิ ายเรื่องกระดูกข้อตอ่ ว่ามีความสาคญั อย่างไรบา้ ง โดยใช้ส่ือแผน่ ใสประกอบการอธบิ าย ๒๑. ครูอธิบายระบบกล้ามเน้ือ (Muscular System) จะทางานร่วมกับระบบโครงกระดูกเพื่อช่วยให้รา่ งกายสามารถเคลื่อนไหวได้ประกอบด้วย กลา้ มเน้ือลาย (Striated Muscle or Crosstripe Muscle) กล้ามเน้อื เรียบ(Smooth Muscle) สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

กล้ามเน้ือหัวใจ (Cardiac Muscle) ๒๒. ชมวีดิทัศน์เก่ียวกับระบบอวัยวะของร่างกายมนุษย์ เช่น ระบบผิวหนัง ระบบโครงกระดูก และระบบกล้ามเนอื้ ๒๓. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กนั อภปิ รายเรือ่ งการทางานของระบบอวยั วะตา่ ง ๆ ของร่างกาย กลมุ่ ที่ ๑ ระบบผิวหนงั กล่มุ ที่ ๒ ระบบโครงกระดูก กลมุ่ ท่ี ๓ ระบบกล้ามเนื้อ ๒๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มและศึกษาหาความรู้เก่ียวกับโรคที่พบในระบบผิวหนังระบบโครงกระดูกและระบบกลา้ มเนื้อ ๒๕. นักเรียนแบ่งกลุ่มสารวจพฤติ กรรมสุขภาพของเพื่อนทุกคนแล้ว เลือกว่าพฤติกรรมใดทีเ่ ปน็ การดูแลรกั ษาระบบผวิ หนงั ระบบโครงกระดูกและระบบกล้ามเน้อื เพราะเหตใุ ดเพื่อนาเสนอหน้าชัน้ เรยี น ๒๖. ครูแนะนาให้นักเรียนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับระบบผิวหนัง ซึ่งจะทาให้ปูองกันน้าซึมเข้าสู่ร่างกายดงั นัน้ จงึ จาเปน็ ตอ้ งสรา้ งเสรมิ และดแู ลผิวหนังให้มีสภาพที่สมบูรณ์มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานอยเู่ สมอดังน้ี อาบน้าชาระลา้ งรา่ งกายให้สะอาดดว้ ยสบู่อยา่ งนอ้ ยวันละ๑-๒คร้ัง ทาครีมบารุงผิวท่ีมีคุณภาพและเหมาะสมกับผิวของตนเองซึ่งวัยรุ่นจะมีผิวพรรณเปล่งปล่ังตามธรรมชาติอยูแ่ ลว้ ไมจ่ าเป็นที่ตอ้ งใช้ครมี บารุงผิวยกเวน้ ชว่ งอากาศหนาวซง่ึ จะทาใหผ้ วิ แห้ง ทาครมี กันแดดกอ่ นออกจากบ้านเมื่อต้องไปเผชิญกับแดดร้อนจัดเพื่อปูองกันอันตรายจากแสงแดดทม่ี ีรังสซี ึ่งเปน็ อนั ตรายต่อผวิ หนัง สวมเสอ้ื ผ้าท่สี ะอาดพอดตี ัวไมค่ บั หรือหลวมเกนิ ไปและเหมาะสมกบั สภาพภมู ิอากาศตามฤดกู าล รบั ประทานอาหารให้ครบ๕หมู่และเพียงพอต่อความต้องการโดยเฉพาะผกั และผลไม้ ๒๗. ครยู กตวั อย่างการสรา้ งภูมิคุ้มกนั ของระบบโครงกระดูกในรา่ งกายมนุษย์ ดังน้ี รับประทานอาหารให้ครบ๕หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีสารแคลเซียมและวิตามินดีได้แก่เนื้อสัตว์นมและผักผลไม้ต่างๆรับประทานให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเพื่อไปเสริมสร้างและบารุงกระดูกให้แข็งแรงสามารถทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ออกกาลังกายเป็นประจาสม่าเสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรงกระดูกและกล้ามเน้ือท่ีได้รับการบรหิ ารหรอื ทางานสมา่ เสมอจะมีความแข็งแกรง่ มากขนึ้ มีการยืดหย่นุ และทางานได้อย่างเต็มที่ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุกับกระดูกหากได้รับอุบัติเหตุโดยถูกตีกระแทกชนหรือตกจากท่ีสูงจนทาให้กระดูกแตกหรือหักต้องรีบปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธีและพบแพทย์เพื่อรักษาให้กระดูกกลับสู่สภาพปกติและใช้งานได้ดอี ย่างปกติ ๒๘. ครูยกตวั อย่างการสรา้ งภูมิคมุ้ กันของระบบกล้ามเน้ือในร่างกายมนุษย์ ดงั น้ี รบั ประทานอาหารใหค้ รบ๕หมู่และมีปรมิ าณทเี่ พยี งพอต่อความต้องการของร่างกาย ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ๓วันวันละอย่างน้อย๓๐นาทีโดยเน้นการออกกาลังกายด้วยรูปแบบวธิ กี ารบริหารกล้ามเนื้อจะทาให้กลา้ มเนื้อในส่วนตา่ งๆของรา่ งกายมคี วามแขง็ แรง ทาจติ ใจให้รา่ เริงแจ่มใสดแู ลสขุ ภาพจติ ของตนเองให้ดี สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

ควรมเี วลาพกั ผ่อนท่เี พยี งพอไมท่ างานหนักหรือหกั โหมจนเกินไปโดยเฉพาะลกั ษณะงานที่ต้องทางานอยู่ในทา่ เดิมนานๆจะทาให้กล้ามเน้ือบรเิ วณน้นั ออ่ นล้าและเกดิ ความไมแ่ ข็งแรงได้ เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกล้ามเน้ือเช่นมีอาการปวดหลังเรื้อรังกล้ามเนื้อกระตุกเป็นประจาควรรีบไปปรกึ ษาแพทย์ ขั้นสรปุ และประยุกตใ์ ช้ ๒๙. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ระบบต่างๆของรา่ งกายประกอบด้วยอวัยวะต่างๆที่ทางานประสานสัมพันธ์กันเช่นระบบโครงกระดูกประกอบด้วยกระดูกท้ังสิ้น๒๐๖ช้ินแบ่งออก๒กลุ่มคือกระดูกแกนและกระดูกรยางค์ระบบผิวหนงั ประกอบด้วยหนังกาพรา้ และหนังแทส้ าหรบั ระบบกล้ามเนื้อประกอบด้วยกล้ามเนื้อลายกล้ามเน้ือเรยี บเปน็ กลา้ มเนอ้ื ที่ประกอบขึ้นเป็นอวัยวะภายในของร่างกายและกล้ามเนื้อหัวใจมีคุณสมบัติพิเศษท่ีสามารถทางานได้เองทุกระบบท่ีกล่าวมาน้ีจะมีการประสานสัมพันธ์กันเพ่ือให้ร่างกายทาหน้าที่ได้ตามปกติกล่าวคือระบบโครงกระดูกจะทาหน้าที่ค้าจุนร่างกายให้คงรูปร่างอยู่ได้ระบบกล้ามเนื้อจะทาหน้าท่ีใช้ในการเคล่ือนไหวของร่างกายท้ังหมดและระบบผิวหนังจะทาหน้าท่ีปูองกันและปกปิดอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับอันตรายปู องกันเช้อื โรคไมใ่ ห้เข้าสู่ร่างกายโดยง่ายขับของเสียออกจากร่างกายโดยต่อมเหงื่อทาหน้าที่ขับเหงื่อออกมาช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงท่ีดังน้ันจึงจาเป็นต้องมีการดูแลสร้างเสริมการทางานของทั้ง ๓ระบบเพ่ือให้ดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของร่างกายไดอ้ ย่างดี ๓๐. นักเรยี นทาใบงานที่ ๑.๖ - ๑.๘ในหนังสอื เสรมิ ฝกึ ประสบการณ์สขุ ศกึ ษา ๔ ๓๑.นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนและแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์สขุ ศกึ ษา ๔๙ สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศึกษา ๔ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ๒. หนงั สอื เสริมฝกึ ประสบการณ์ สขุ ศึกษา ๔ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ๓. วซี ดี ี เรอื่ งการทางานของระบบอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกาย ๔. แผน่ ใส และรูปภาพประกอบ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียนหนว่ ยที่ ๑คาชีแ้ จง จงทาเคร่อื งหมาย  ท่ีนกั เรียนคดิ วา่ ถกู ต้องทส่ี ดุ๑. การทางานของระบบอวัยวะของรา่ งกายประกอบดว้ ยอะไรก. อวยั วะภายใน ข. อวยั วะภายนอก ค. ปาก จมกู แขน ขา ง. โครงสร้างทส่ี ลับซบั ซอ้ น๒. ระบบอวัยวะตา่ งๆ มคี วามสาคญั ต่อรา่ งกายอย่างไรก. ชว่ ยให้เรามชี วี ิตโดยท่ีระบบต่างๆ มกี ารทางานท่ีสลบั ซบั ซอ้ นข. ช่วยให้มีชีวติ ในการหายใจเพือ่ นาพลังงานไปใชใ้ นการทางานตา่ งๆ ของร่างกายค. ช่วยรา่ งกายทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพเพื่อสรา้ งเสริมให้ชวี ติ ดารงอยู่ง. ชว่ ยร่างกายทางานแต่ระบบต่างๆ ทางานอย่างเป็นอิสระจากกัน๓. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ไม่ใช่ กระดูกแกนของร่างกายก. กระดกู ขา ข.กระดูกอก ค. กระดกู ซี่โครง ง. กระดกู สันหลัง๔. ขอ้ ต่อบริเวณใดท่ีมีลกั ษณะการเคลอื่ นไหวได้หลายทิศทางก. ข้อต่อกระดูกนวิ้ มือ ข. ขอ้ ต่อกระดูกขอ้ มอื ค. ข้อตอ่ กระดกู ต้นแขน ง. ขอ้ ตอ่ กระดูกตน้ ขา๕. “มีหน้าท่ีสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวให้แก่ร่างกาย” ข้อความดังกล่าวคือหน้าที่ของส่วนใดของรา่ งกายก. เซลล์กระดูก ข. เนอ้ื เย่ือกระดูก ค. ไขกระดูก ง. โครงกระดกู๖. ขไ้ี คลเกิดจากการผลัดตวั ของส่งิ ใดก. หนังแท้ ข. หนังกาพร้า ค. คอลลาเจน ง. เมลานิน๗. กล้ามเนอ้ื เม่ือไดร้ ับส่ิงเรา้ จะเกดิ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งไรก. เกดิ การเปล่ียนแปลงทางไฟฟูาจัดเปน็ การเปลี่ยนแปลงทางกลศาสตร์ข. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟาู จดั เป็นการเปลย่ี นแปลงทางจลนศาสตร์ค. เกิดการเปล่ยี นแปลงทางเคมจี ดั เป็นการเปลย่ี นแปลงทางกลศาสตร์ง. เกิดการเปล่ยี นแปลงทางเคมจี ัดเปน็ การเปลี่ยนแปลงทางจลนศาสตร์๘. กล้ามเนือ้ ด้านในของตน้ ขาทาหนา้ ทีใ่ ดก. หบุ ต้นขา ข. กางต้นขา ค. เหยียดปลายขา ง. งอปลายขา๙. การรบั ประทานอาหารใดท่ีมสี ่วนช่วยสง่ เสรมิ สารแคลเซยี มแกร่ า่ งกายก. นมสด ข. นมถ่ัวเหลอื ง ค. ปลาเลก็ ปลาน้อย ง. ถกู ทุกข้อ๑๐. โรคกระดูกพรนุ เกิดจากการรับประทานสิ่งใดมากก. ชา ข. กาแฟ ค. สรุ า ง. เบียร์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรียนหนว่ ยท่ี ๑๑.ง ๒.ค ๓.ก ๔.ข. ๕.ค๖.ข ๗.ก. ๘.ก ๙.ง ๑๐.ข สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

ทึกหลังการบนั [บบนั ทกั หลังสอน๑. ผลการสอน …………………………………………………………………………………..………………………………………………………….……...………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….๒. ปญั หา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..……………..……………………………………………………………………………………..…………..…………………………………………………………………………………………...………..…………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..……๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….…...………………….…………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายมานพ ในพมิ าย)๔. ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้าสถานศกึ ษาหรือผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……. ลงช่ือ................................................ (นายวินัย คาวเิ ศษ) ผ้อู านวยการโรงเรยี นหนั คาราษฎ์รังสฤษด์ิ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔วชิ า พ๓๑๑๐๑ สขุ ศึกษา๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรอื่ งสิทธิผู้บรโิ ภค เวลา ๒ ช่วั โมง สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………๑ เปา้ หมายการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิพืน้ ฐานของผบู้ ริโภคและกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค๒ สาระสาคญั การจาหน่ายสินคา้ และการให้บรกิ ารในทอ้ งตลาดปจั จุบนั มีคุณภาพแตกต่างกันขึ้นอยู่กับมาตรฐานของผู้ประกอบการ การรับรู้ ตระหนัก และปฏิบัติตามสิทธิของผู้บริโภค รวมทั้งรู้จักใช้ประโยชน์จากหน่วยงานค้มุ ครองผู้บรโิ ภคจะทาให้ได้รับความเปน็ ธรรมในการบรโิ ภคตามสิทธทิ ี่พึงมีตามกฎหมายคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค๓ มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรคและ การสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ ตวั ชว้ี ัด: สงิ่ ท่ผี เู้ รยี นพึงร้แู ละปฏิบัตไิ ด้ ๓. ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิของผู้บรโิ ภค๔ สาระการเรยี นรู้ ๑. ความหมายของการบรโิ ภคและผบู้ ริโภค ๒. สถานการณป์ ัญหาของผู้บริโภค ๓. สทิ ธิผ้บู ริโภค ๔. แนวทางการเลือกบรโิ ภคอย่างฉลาดและปลอดภัย ๕. การปฏบิ ตั ิตนตามสิทธิผ้บู ริโภค ๖. หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องกบั การคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค ๗. กฏหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการคมุ้ ครองผู้บริโภค สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๕ กจิ กรรมฝึกทักษะที่ควรเพมิ่ ใหน้ กั เรียนK (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ความรู้ ความเข้าใจ การฝกึ ปฏิบัติ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์๑. อธิบายความหมายของการ ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธิพืน้ ฐานของ ๒. ซอ่ื สัตยส์ ุจรติ ๓. มีวินัยบริโภคและผู้บริโภค ผบู้ ริโภคและกฎหมายท่ี ๔. ใฝเุ รยี นรู้ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง๒. ระบุสถานการณป์ ัญหาของ เกย่ี วขอ้ งกบั การคมุ้ ครอง ๖. มุ่งม่นั ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทยผบู้ ริโภค ผู้บรโิ ภค ๘. มจี ิตสาธารณะ๓. อธิบายสิทธผิ ูบ้ รโิ ภค๔. อธบิ ายแนวทางการเลอื กบริโภคอย่างฉลาดและปลอดภัย๕.ปฏบิ ตั ิตนเพื่อปกปูองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บรโิ ภค๖. ระบหุ น่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การคุ้มครองผ้บู ริโภค๗. อธิบายขอ้ กฏหมายที่เกย่ี วขอ้ งกบั การคุ้มครองผู้บรโิ ภค๖ การวัดและประเมินผล ๑. เคร่อื งมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น ๒) แบบฝึกหัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๗) แบบสงั เกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์๒. วธิ วี ดั ผล ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น ๒) ตรวจแบบฝกึ หัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

๕) สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๖) สงั เกตสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน ๗) สงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๓. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล ๑) สาหรบั ชว่ั โมงแรกท่ใี ชแ้ บบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลงั เรยี น ๒) การประเมนิ ผลจากแบบฝกึ หดั ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เร่ืองความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ทักษะ และจติ พสิ ยั ทุกช่องเกนิ ร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งไม่มชี ่องปรบั ปรงุ ๖) การประเมนิ ผลการสงั เกตสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน คะแนนข้นึ อยู่กับการประเมนิ ตามสภาพจริง ๗) การประเมนิ ผลการสงั เกตคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง๗ หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี นและแบบฝกึ หดั ๒. ผลการทาใบงาน๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑ ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรยี น ๑. ครูกล่าวถึงเสรีภาพในการเลือกบริโภค เช่น อาหาร เส้ือผ้า ส่ิงของเครื่องใช้ต่างๆ รวมถึงบริการต่างๆ เพ่ืออานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวันของตนเอง หากแต่ส่ิงที่เลือกนั้นสร้างความปลอดภัยและคุ้มค่ากับให้กับชีวติ ของมนุษย์จรงิ ๒. ครูอภิปรายว่าผู้บริโภคได้ถูกกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๕๔๑ หมายถงึ “ผู้ซ้ือหรอื ผไู้ ดร้ ับบริการจากผปู้ ระกอบธุรกิจหรือผู้ซ่ึงได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ เพ่อื ให้ซอื้ สินค้าหรอื รับบริการและรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม” ดังนั้น ไม่ว่าหญิงหรือชาย เด็กหรือผู้ใหญ่ ทุกอาชีพ ทุกฐานะถือว่าเปน็ ผบู้ ริโภคทง้ั สนิ้ ๓. ครูและนักเรียนเล่าเร่ืองการนาของเน่าเสีย ของที่ไม่ได้มาตรฐานท่ีกาหนด และส่ิงของอ่ืนๆ ท่ีไม่ได้มาตรฐาน และช้ีแนะว่าผ้บู รโิ ภคสามารถร้องเรยี นหรือเรยี กค่าเสยี หายตามกฏหมายได้ ๔. เพื่อปูองกันการเอาเปรียบกันและกันครูจึงแนะนาให้นักเรียนศึกษาพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคพ.ศ.๒๕๒๒ ในการกาหนดสิทธิ หน้าท่ีของผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจ และได้มีการกาหนดให้วันท่ี๓๐ เม.ย.ของทุกปี เป็นวันคุ้มครองผู้บริโภค นอกจากนี้ยังมีการเพ่ิมการคุ้มครองในรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ ต่อเนื่องมาถึง สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

รัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐ ที่กาหนดให้มีองค์กรอิสระเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐโดยมีตัวแทนผู้บริโภคท่ีทาหน้าท่ีให้ความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ และข้อบังคับ ให้ความเห็นในการกาหนดมาตรการต่างๆ แก่ผบู้ ริโภค ๕. ครเู ช่อื มโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน และแจ้งกิจกรรมฝึกทกั ษะท่คี วรเพิ่มใหน้ ักเรยี น ๖. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนขน้ั สอน๗. ครูอธิบายถึงสถานการณ์ปัญหาของผู้บริโภคในประเทศไทย ซ่ึงปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่ารัฐบาลและเอกชนได้ให้ความสาคัญในการส่งเสริมให้ประชาชนในฐานะผู้บริโภคได้รู้จักคุ้มครองสิทธิของตนเองโดยไม่ตกเปน็ ฝุายเสยี เปรียบทีจ่ ะตอ้ งทนอยู่ในภาวะจายอมไปโดยตลอดอย่างไรก็ตามรัฐบาลหรือเอกชนฝุายเดียวย่อมไม่อาจดาเนินการให้สาเร็จไปได้ด้วยดีผู้บริโภคเป็นกลุ่มคนที่สาคัญในการที่จะคุ้มครองสิทธิของตนเองมักพบว่ามีผู้บริโภคจานวนมากท่ีละเลยเพิกเฉยท่ีจะเรียกร้องสิทธิของตนแม้ว่าจะถูกเอารัดเอาเปรียบหรือได้รับอันตรายจากการบริโภคสินคา้ ในลกั ษณะและรูปแบบตา่ งๆอาจกลา่ วได้วา่ ในปจั จุบนั สถานการณ์ในการบริโภคผลิตภัณฑ์หรอื ใชบ้ รกิ ารต่างๆโดยใช้กรณีศกึ ษา ขา่ วสารในหนังสอื พมิ พ์ ฯลฯ เปน็ สือ่ ประกอบในการเรยี นการสอน๘. นกั เรยี นบอกปญั หาของผบู้ รโิ ภคมดี ังนี้ไม่ได้รบั ความเป็นธรรมจากการซ้อื สินค้าและบรกิ ารหลงเชอ่ื โฆษณาสนิ ค้าและผลติ ภัณฑท์ ีเ่ ปน็ เทจ็ หรือเกนิ ความเปน็ จริงถกู เอาเปรียบดา้ นสินค้าและบรกิ ารทว่ั ไปเชน่ ราคาสินคา้ การกักตนุ สนิ คา้ ไม่ติดปูายราคาคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์การถูกเอาเปรยี บจากการทาสัญญา เชน่ บา้ นท่ีดินอาคารชดุ เช่าซ้ือรถยนต์ รถจักรยานยนต์การถูกเอาเปรยี บด้านการขายตรงหรอื ตลาดแบบตรงไม่ได้รับความเปน็ ธรรมเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาลหรอื บริการทางการแพทย์ความยากลาบากในการฟอู งร้องดาเนนิ คดีกบั ผ้ปู ระกอบการ๙. ครูอธบิ ายความหมายและความสาคญั ของสิทธิผู้บริโภค ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับท่ี๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ไดก้ าหนดสิทธขิ องผู้บรโิ ภคไว้๕ขอ้๑๐. นกั เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ ๕-๖คน โดยใชห้ ลกั ประชาธิปไตย โดยให้ศกึ ษาและระดมความคิดเก่ียวกับสิทธิของผบู้ ริโภคตามรัฐธรรมนญู มากลุ่มละ ๑ เรอื่ ง แล้วสรปุ รายงานนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียนสทิ ธิขอ้ ท่ี ๑ สิทธิที่จะไดร้ ับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพท่ีถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้า และบรกิ ารสทิ ธิข้อที่ ๒ สิทธิทจ่ี ะมีอิสระในการเลอื กหาสินค้าและบรกิ ารสทิ ธิข้อท่ี ๓ สทิ ธิที่จะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ นิ คา้ และบรกิ ารสิทธิขอ้ ท่ี ๔ สิทธทิ จ่ี ะได้รบั ความเปน็ ธรรมในการทาสญั ญาสทิ ธขิ ้อที่ ๕ สทิ ธิทจี่ ะไดร้ บั พิจารณาและชดเชยความเสยี หาย๑๑. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเรื่องสิทธิผู้บริโภคสากลถูกกาหนดขึ้นโดยสหพันธ์ผู้บริโภคซึ่งเป็นองค์กรอิสระต้ังข้ึนเมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๓ทก่ี รงุ เฮกประเทศเนเธอรแ์ ลนดม์ ี๘ประการมรี ายละเอียดดังนี้๑) สทิ ธิทจ่ี ะได้รบั ความปลอดภยั ๕) สทิ ธิที่จะได้รบั ค่าชดใช้ความเสยี หาย สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพิมาย

๒) สิทธทิ ่จี ะได้รับขอ้ มลู ข่าวสาร ๖) สิทธิทจี่ ะไดร้ ับบริโภคศึกษา๓) สิทธทิ จี่ ะซือ้ เคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคในราคายุตธิ รรม ๗) สิทธทิ จี่ ะได้รบั ความจาเปน็ ข้ันพืน้ ฐาน ๘) สิทธิที่จะได้อย่ใู นสงิ่ แวดล้อมทส่ี ะอาด๔) สิทธิท่ีจะร้องเรยี นเพ่ือความเปน็ ธรรม ๑๒. ครูอธิบายเรื่องสิทธขิ องผู้บรโิ ภคการเลอื กบรโิ ภคผลติ ภัณฑด์ ้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางการปกปูองสิทธิผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียนโดยเปิดวีดิทัศน์ให้นักเรียนดูประกอบการเรียนการสอน และใช้ส่อื แผน่ ใสประกอบสาหรับสว่ นของเน้อื หาทีไ่ ม่มีในวีดิทศั น์ เพ่ือสื่อความหมายให้นักเรียนเข้าใจไดง้ ่ายยง่ิ ข้ึน ๑๓. ใหน้ ักเรยี นหาฉลากสินคา้ มาคนละ ๑ รายการ พร้อมติดลงในกระดาษ A4 แล้ววิเคราะห์ว่าเป็นสินค้าชนิดใด มีรายละเอียดท่ีปรากฏในฉลากอย่างไรบ้าง และนักเรียนคิดว่าจะซื้อสินค้าชนิดนี้หรือไม่เพราะเหตุใดโดยเขียนอธิบายมาใหล้ ะเอียด ๑๔. ให้นักเรียนนาข่าวสารเก่ียวกับการปกปูองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภค พร้อมทั้งวิเคราะห์ความสาคญั ของการปกปูองสิทธขิ องตนเองในฐานะผบู้ ริโภค ๑๕. นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๑ และ ๔.๒ ในหนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน สุขศึกษา ๔ ๑๖. ครูเน้นให้นักเรียนศึกษาการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองแบบง่าย ๆ ตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสามารถปฏิบัติได้ คือก่อนซื้อสินค้ามาใช้ ควรดูวันเดือนปีท่ีผลิต หรือหมดอายุในการใช้สินค้าหรือบริการนั้นๆรวมถึงราคาโดยระบุหน่วยเป็นบาทหรือสกุลอื่นก็ได้ เพื่อไม่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคนอกจากนี้ผู้บริโภคควรสอบถามข้อเท็จจริงเก่ียวกับคุณภาพของสินค้าจากผู้ขายหรือผู้ท่ีเคยใช้ ศึกษาเงื่อนไขหรือข้อจากัดของสินค้าแต่อย่าหลงเช่ือคาโฆษณาอวดอ้างโดยง่าย ต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เพ่ือลดการถูกโกง และใช้สินค้าได้มีประสทิ ธิภาพ และประหยดั ข้ันสรุปและประยุกต์ ๑๗. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแนวทางการปกปูองสทิ ธผิ ูบ้ ริโภคผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพในโรงเรยี น ๑๘. ครูและนักเรียนสรุปสิทธิของผู้บริโภคในการที่จะให้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคมีบทบัญญัติเกย่ี วกบั สิทธผิ ้บู รโิ ภคเปน็ ไปตามสทิ ธผิ ้บู ริโภคนัน้ ผบู้ ริโภคควรจะรว่ มมอื กันแสดงพลังในการปกปูองสิทธิของตนจากการถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบการในขณะเดียวกันหน่วยงานของรัฐและเอกชนก็จะต้องให้การสนบั สนุนการดาเนินงานเพื่อมใิ หผ้ ู้บรโิ ภคถกู ลว่ งละเมิดสทิ ธิโดยไม่เป็นธรรม ๑๙. ครูสอดแทรกเพม่ิ เตมิ โดยมุ่งเนน้ ให้นกั เรียนทกุ คนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตยดังนี้ ๑) คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเช่นลดความเห็นแก่ตัวเสียสละแรงกายและใจ ดูแลรักษาตู้โทรศัพท์สาธารณะหอ้ งสมุดเป็นตน้ ๒) มีวินัยเช่นฝึกกายวาจาและใจให้ควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงามเพอื่ ใหอ้ ยูร่ ว่ มกันของกลมุ่ ในสงั คมน้นั เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ๓) มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีเช่น เอาใจใส่ตอ่ การเรยี นต้ังใจเรียน เป็นต้น ๔) ความอดทนเช่นมจี ติ ใจหนกั แนน่ เยือกเย็น ควบคมุ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมให้เป็นปกติเม่ือเผชิญกับสิ่งที่ไม่พงึ พอใจ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพิมาย

๕) ประหยดั และอดออมเช่นรู้จักใช้จ่ายตามความจาเป็นอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดไม่ฟุูงเฟูอฟุมเฟือยร้จู ักเก็บออมไวใ้ ช้ยามจาเป็นใช้ชวี ติ ใหเ้ หมาะสมกับฐานะความเปน็ อยู่ของตน ๖) มนี ้าใจเป็นนักกีฬาเช่นรู้แพ้ร้ชู นะใหอ้ ภยั กันและกนั ช่วยเหลอื เก้ือกลู ไมแ่ ข่งขนั หรือแกง่ แย่งชงิ ดีกัน ๗) ซ่อื สัตย์สุจรติ เช่นมีความจริงใจไมม่ ีอคติปฏบิ ตั ติ นปฏบิ ตั ิงานตรงไปตรงมาตามระเบียบ ๘) อนุรักษ์ความเป็นไทยเช่นมีจิตสานึกในความเป็นไทยได้แก่พูดเขียนและใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยและนาความเป็นไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์รวมท้ังคิดค้นปรับปรุงดัดแปลงความเป็นไทยให้เข้ากับสภาพการณ์ที่เป็นอยู่จริงท้ังทางด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมืองตลอดจนถ่ายทอดความเป็นไทยสบื ตอ่ ไปยงั คนรุ่นหลงั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ช่วั โมงที่ ๒ ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น ๒๐. นักเรียนและครูกล่าวถึงส่ิงท่ีควรคานึงถึงก่อนเลือกซื้อและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพทุกชนิดควรศึกษาฉลากใหเ้ ข้าใจก่อนทกุ คร้ังอย่างน้อยสินค้านั้นตอ้ งมฉี ลากภาษาไทยท่ีแสดงชื่อผลิตภัณฑ์และท่ีตั้งของผู้ผลิตหรือผ้แู ทนจาหนา่ ยวนั เดือนปที ี่ผลิตหรอื หมดอายสุ าหรบั ผลติ ภัณฑบ์ างประเภทจะมีการแสดงส่วนประกอบหรือสูตรตารบั วธิ ีการบริโภคข้อควรระวังในการใช้หรือข้อความจาเพาะอ่ืนๆของแต่ละผลิตภัณฑ์เพ่ิมด้วยหากอ่านฉลากจะมีประโยชน์ช่วยให้ทราบรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ทาให้สามารถเปรียบเทียบคุณภาพกับราคาซ่ึงช่วยให้ประหยัดเงินสามารถเก็บรักษาหรือบริโภคผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องสามารถหลีกเล่ียงสารบางชนิดที่ทาให้เกิดการแพห้ รอื เกิดปัญหาในการบรโิ ภคเลือกผลติ ภัณฑท์ ่มี ีคุณสมบัติให้ตรงตามความต้องการได้ ๒๑. ครนู ารปู ภาพสนิ คา้ ต่างๆ มาให้นกั เรยี นดู เพ่ือเช่ือมโยงไปสเู่ น้ือหาสาระต่อไป ขน้ั สอน ๒๒. ครูบอกแนวทางการเลือกบริโภคอย่างฉลาดและปลอดภัย โดยแนะนาว่าก่อนท่ีจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการสุขภาพผู้บริโภคต้องสามารถแยกความต้องการของตนเองว่าอะไรเป็นความต้องการแท้(Need)อะไรเป็นความต้องการเทยี ม (Want)แลว้ พจิ ารณาในการเลือกซื้อให้ดีเพ่ือให้เกิดความคุ้มค่าและใช้ชีวิตอย่างมีความพอเพียง และหลังซื้อสินค้าหรือบริการเราจะต้องเก็บรักษาหลักฐานต่างๆเช่นเอกสารโฆษณาบิลเงนิ สดสาเนาใบเสรจ็ รบั เงนิ สัญญาซอ้ื ขายไว้เพ่ือทาการเรยี กร้องสิทธิของตนและควรจดชื่อสถานท่ีซ้ือสินค้าหรือบรกิ ารนนั้ ไว้เพื่อประกอบการรอ้ งเรยี นในกรณที ่ีถูกละเมดิ สทิ ธิ ๒๓. ครูเปิดวดี ที ัศน์และอธิบายถึงหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องกับการคุ้มครองผู้บรโิ ภคกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับการคุ้มครองผบู้ ริโภคและการเตรียมเอกสารหลักฐานเพ่ือรอ้ งทุกข์สาหรบั ผู้บรโิ ภค ๒๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มสารวจนักเรียนในโรงเรียนเก่ียวกับหลักในการเลือกซ้ือสินค้าจากน้ันนามาสรุปและอภิปรายผลรว่ มกัน ๒๕. นกั เรียนนาข่าวทเ่ี กยี่ วข้องกับถกู ละเมดิ สทิ ธิของผู้บรโิ ภคมานาเสนอและอภิปรายรว่ มกัน ๒๖. นักเรียนสารวจบุคคลใกล้ชิดหรือคนในชุมชนเก่ียวกับการใช้สิทธิของตนเองในฐานะเป็นผู้บริโภคอยา่ งไรบา้ งแลว้ อภิปรายผล สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครมู านพ ในพมิ าย

๒๗. นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติพฤติกรรมการปกปูองสิทธิของตนเองเมื่อถูกละเมิดเช่นซ้ือสินค้ามาแล้วพบว่าสินค้าหมดอายุซื้อเครื่องสาอางมาใช้แล้วพบว่ามีอาการแพ้ปวดแสบปวดร้อนถูกแม่ค้าโกงตาชั่งซื้อสินค้ามาแล้วพบวา่ คุณภาพไม่ได้เปน็ ไปตามทโ่ี ฆษณาไวห้ รอื เม่ือพบเหน็ โฆษณาหลอกลวงเกนิ จรงิ ๒๘. ครูเน้นการดูแลตนเองอย่างมีระเบียบถ้านักเรียนทุกคนมีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงด้านความอบอุ่น การดูแลเอาใจใส่ในระดับครอบครัวและชุมชนรวมท้ังเรื่องการมีสุขภาพดี บริการดี สังคมดีชวี ิตมีความสุขพอเพยี งอยา่ งย่ังยืน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตนักเรียนทุกคนก็จะใช้ชีวติ อยู่ไดอ้ ย่างพอเพยี งและมีความสุขตลอดไป ๒๙. ครูเนน้ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ที่ดีในตวั เองเกย่ี วกับแนวทางการเลือกบริโภคอย่างฉลาดและปลอดภยั ดงั น้ี ควรจะเลือกซือ้ ผลติ ภณั ฑ์สินค้าและบริการสขุ ภาพทมี่ ีคณุ ภาพ ควรศึกษาฉลากให้เข้าใจกอ่ นทุกคร้ัง การซ้ือผลิตภัณฑ์สินค้าหรือบริการสุขภาพต้องมีความละเอียดพิจารณาประโยชน์ที่ตนเองจะได้รับจากสินค้าและบรกิ ารใหด้ ีกอ่ นท่ีจะตดั สนิ ใจซื้อสินคา้ และใชบ้ รกิ ารนนั้ ถ้าพบว่ามีผลิตภัณฑ์สินค้าหรือบริการสุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานควรแจ้งให้ หน่วยงานที่เก่ียวข้องทราบทันทเี พือ่ จะได้ดาเนินการคุ้มครองสทิ ธผิ บู้ ริโภค เลือกซื้อผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการสุขภาพท่ีได้มาตรฐานหรือมีการรับรองคุณภาพกล่าวคือมีเครอ่ื งหมายมอก. หรือมอี ย. เปน็ ต้น ถา้ ไดร้ บั ความไมเ่ ปน็ ธรรมถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบการผู้ผลิตหรือคู่สัญญาให้ร้องเรียนต่อเจ้าหน้าท่ีของหนว่ ยงานคุ้มครองผูบ้ ริโภค ๓๐. ครูเน้นให้ผู้บริโภคควรคานึงถึงบทบาทหรือหน้าที่ในการปฏิบัติตนตามสิทธิผู้บริโภคท่ีพึงกระทาด้วยเช่นกนั ทัง้ น้เี พอื่ ผูบ้ รโิ ภคจะไดม้ ีส่วนรบั ผดิ ชอบในการคุ้มครองสทิ ธิของตนเองโดยมีการปฏิบตั ิดังน้ี การรวมกลุ่มหรือมีการรวมตัวกันเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของตนเองเมื่อได้รับความเดือดร้อนหรือการถูกเอารัดเอาเปรียบหรือปัญหาจากการบริโภคจนทาให้ผู้บริโภครวมตัวกันก่อให้เกิดพลังของผู้บริโภคข้ึนในการเคล่อื นไหวหรือตอ่ รองซึ่งจะทาให้ตืน่ ตัวในการใชส้ ทิ ธแิ ละรักษาผลประโยชน์ทีต่ นเองควรจะได้รบั ศึกษาหาความรู้จากหนังสือ อินเทอร์เน็ต (Internet) วิทยุโทรทัศน์วารสารหรือสื่ออ่ืนๆเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิของผู้บริโภค เพื่อให้มีความรู้และมีความรอบคอบในการพิจารณาเลือกซื้อสินค้าและบริการที่มีคณุ ภาพ มีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้และรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการคุ้มครองผู้บริโภคสามารถทาได้หลายรูปแบบเช่นพูดคุยชี้แจงประช าสัมพันธ์การใช้เสียงตามสายหอกระจายข่าวผู้บริโ ภ คทุกคนมีส่วนร่วมเผยแพร่ความรู้ได้ในรูปการจัดกิจกรรมเพ่ือให้มีความรู้และตระหนักถึงบทบาทหน้าท่ีให้เกิดการรักษาสิทธิของผู้บริโภคให้รู้จักเลือกซ้ือเลือกใช้สินค้าหรือบริการอย่างปลอดภัยเป็นธรรมและประหยัดเช่นกิจกรรมอย.น้อยเป็นกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงและช่วยเหลือผู้อื่นเช่นเพ่ือนครอบครัวและชุมชนด้วยการให้ความรู้ด้านการบริโภคอย่างเหมาะสมโดยจัดต้ังชมรมคุ้มครองผู้บริโภคขึ้นในโรงเรียนและทากิจกรรมต่างๆเช่นการตรวจสอบอาหารท่ีจาหน่ายภายในโรงเรียนรอบๆโรงเรียนในตลาดสดหรือในชุมชนการให้ความรู้แก่เพ่ือนนักเรียนในรูปแบบต่างๆเช่นจัดบอร์ดความรู้พูดหน้าเสาธงออกเสียงตามสายจัดกิจกรรมการแสดงรวมทั้งการให้ความรู้แก่ชุมชนโดยรณรงค์แจกเอกสารการให้ความรู้ทางหอกระจาย สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย

ข่าวหรือวิทยุชุมชนซึ่งการเข้าร่วมกิจกรรมอย.น้อยนอกจากเราจะได้รับความรู้เรื่องการบริโภคผลิตภัณฑ์สขุ ภาพให้ปลอดภัยแลว้ ยงั ชว่ ยพฒั นาและปรบั ปรุงการจาหนา่ ยอาหารภายในโรงเรียนชุมชนใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ ๓๑. นักเรยี นปฏิบตั ิดงั น้ี ๑) แบ่งออกเป็นกลุม่ กลุ่มละ๕-๖คน ๒) หาโฆษณาทีค่ ดิ ว่านา่ จะเปน็ ผลิตภณั ฑท์ ่ลี ะเมิดสิทธิผบู้ รโิ ภค ๓) จัดนิทรรศการ และระบุรายละเอยี ดทีส่ มบูรณ์ ๔) อภปิ รายร่วมกับผ้สู อนในหอ้ งเรยี น ๓๒. นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๔.๓ ถงึ ๔.๕ ในหนงั สอื เสริมฝกึ ประสบการณ์ สขุ ศึกษา ๔ ขน้ั สรปุ และประยุกต์ ๓๓. ครูและนักเรียนสรุปการปกปูองสิทธิของผู้บริโภคเป็นหน้าท่ีสาคัญของผู้บริโภคในการรักษาสิทธิของผู้บริโภคตามที่กฎหมายกาหนดตามท่ีได้เรียนมาแล้วข้างต้นผู้บริโภคควรคานึงถึงสิทธิและควรปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในการปกปูองรักษาสิทธิของตนเองด้วยเมื่อมีปัญหาเก่ียวกับการถูกละเมิดสิทธิผู้บริโภคในรูปแบบต่างๆควรดาเนินการปกปูองและเรียกร้องสิทธิของตนในรูปแบบต่างๆโดยแจ้งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการคุม้ ครองผู้บรโิ ภคซึ่งปัจจุบนั มอี ยูห่ ลายหนว่ ยงานเพ่ือจะได้ดาเนินการควบคุมดูแลลงโทษผู้ประกอบการที่เอารัดเอาเปรยี บผู้บรโิ ภคตอ่ ไป ๓๔. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั สรุปสาระการเรียนรู้ โดยการถามตอบ ๓๕. ครูเตอื นสตใิ หน้ กั เรียนทุกคนหนั มาใชแ้ นวทางการใช้ “ชีวิตพอเพียง เดินสายกลาง รู้จักประมาณตน มีเหตผุ ลมภี ูมคิ มุ้ กนั ” แลว้ จะใหก้ ารดาเนนิ ชีวติ เปน็ สขุ ๓๖. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนและแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สขุ ศกึ ษา ๔๙ สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๘. หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศกึ ษา ๔ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ๙. หนังสอื เสรมิ ฝกึ ประสบการณ์ สุขศกึ ษา ๔ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๑๐. วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ ๑๑. ขา่ วสาร ส่อื ส่ิงพิมพ์ สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 ครูมานพ ในพมิ าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook