Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ว 9-2

ว 9-2

Published by สนง.สรรพสามิต ยะลา, 2022-04-04 11:21:45

Description: ว 9-2

Search

Read the Text Version

แผนบริหารความตอ่ เนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤต (Business Continuity Plan : BCP) กรมสรรพสามติ ประจำปี ๒๕๖๕

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๒(Business Continuity Plan of Excise Department) คานา กรมสรรพสามิต เป็นหน่วยงานราชการที่มีภารกิจอันสาคัญในการหารายได้ให้กับรัฐเพื่อนามาพัฒนา ประเทศ และควบคุมการขออนุญาตจาหน่ายสินค้าควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมาย ซ่ึงกรมสรรพสามิตเองได้ ตระหนักถึงหลักในการบริหารความเสี่ยง เพ่ือลดผลกระทบจากปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ อันอาจจะเกิดข้ึนและมี ผลกระทบต่อการดาเนินภารกิจต่าง ๆ ของกรมสรรพสามิต อันอาจส่งผลเสียต่อประเทศชาติ ซึ่งปัจจัยเส่ียง หลายปัจจัยอยู่นอกการควบคุมของกรมสรรพสามิต อาทิ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย โรคติดต่ออันตราย หรือ ภัยจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การปิดล้อมสถานที่ การก่อการร้าย ต่าง ๆ เป็นต้น ดังน้ันกรมสรรพสามิต จึงได้จัดทาโครงการศูนย์ปฏิบัติงานสารองและสานักงานสรรพสามิตเคลื่อนที่ ข้ึนเพ่ือให้กรมสรรพสามิต สามารถรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ อันเกิดจากปัจจัยเส่ียง อันจะทาให้กรมสรรพสามิตไม่สามารถดาเนินการ ตามภารกิจในการให้บรกิ ารตา่ ง ๆ แก่ผ้ปู ระกอบการ และ ประชาชนทัว่ ไปได้ ซึ่งจะมผี ลกระทบตอ่ ธรุ กิจตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวเน่ืองกับ พระราชบัญญัติ สรรพสามิต สง่ ผลใหธ้ รุ กิจหยดุ ชะงัก เสยี หาย ไม่สามารถดาเนินการตอ่ ได้ เช่น การขออนุญาตส่งออก การขออนุญาตขนสินค้าออก การขออนุญาตต้ังโรงงาน การขออนุญาตรับซ้ือใบยาสูบ และ อื่น ๆ อกี มากมาย แผนบริหารความต่อเนื่องภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต (Business Continuity Plan) ประจาปี ๒๕๖๕ ฉบับนี้ เป็นการทบทวนและปรับปรุงให้มีมาตรการเตรียมความพร้อมสาหรับการบริหาร ราชการและให้บริการประชาชนรองรับต่อสภาวะวิกฤติในปัจจุบัน รวมถึงสถานการณ์การระบาดของโรคติด เชอ่ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามแนวทางและวธิ กี ารท่ีกระทรวงสาธารณสขุ กาหนด โดยการรวบรวม และวิเคราะห์กระบวนงานการทางาน คุณค่าของงาน ปัจจัยเสี่ยง โครงสร้างองค์กร การเผชิญเหตุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ ตลอดจนการจัดเตรียมสถานท่ีทางานสารอง หรือศูนย์ปฏิบตั ิงานสารอง จานวน 3 แห่ง คือ ศูนย์ ปฏิบัติงานสารองจังหวดั นนทบุรี นครราชสีมา และสุราษฎรธ์ านี ซึ่งไดม้ ีการตระเตรียมเครอ่ื งมือ และ อปุ กรณ์ ต่าง ๆ ให้พร้อมสาหรับกรณีมีเหตุฉุกเฉินอันเกิดจากปัจจัยเส่ียง และสาคัญท่ีสุดคือแผนการทางานท่ีจะใช้เป็น คมู่ อื สาคัญในการบริหารจดั การยามฉกุ เฉนิ อนั ประกอบไปด้วย แผนบรหิ ารความตอ่ เน่ืองระดับหนว่ ยงาน และ แผนปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง เมื่อเกิดภัยพบิ ัติ ซ่ึงจะต้องได้รับการฝึกซ้อมเพ่ือให้เกิดความคุ้นเคย อันจะช่วยให้สามารถดาเนินงานตามแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการผู้ประกอบการและ ประชาชนได้ เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณ์จรงิ โดยมผี ลกระทบตอ่ ผ้ปู ระกอบการและประชาชนนอ้ ยท่ีสดุ เพือ่ ให้เกิดความ เช่ือม่ันว่ากรมสรรพสามิต จะเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมในการให้บริการผู้ประกอบการและประชานชน และ ยังคงสามารถเป็นกลไกสาคัญของรัฐในการจัดหารายได้ไปยังรัฐบาล แม้ว่าจะเกิดปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ และ เราก็มีความมุ่งม่ันท่ีจะฝึกฝน ทบทวน และปรับปรุงแผนอย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือให้สามารถรับมือได้กับสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมทเ่ี ปล่ยี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ กรมสรรพสามติ พ.ศ. 25๖๕

¤ แผนบรหิ ารความต่อเนอื่ งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๓(Business Continuity Plan of Excise Department) สารบญั คำนำ ๒ 1. วตั ถุประสงค์ คำจำกดั ความ สมมติฐาน และขอบเขตของการจดั ทำแผน ๗ 1.1 วัตถุประสงค์ (Objective).....................................................................................................๗ 1.2 คำจำกดั ความ........................................................................................................................๘ 1.3 สมมติฐานในการจัดทำแผน ................................................................................................ ๑๑ 1.4 ขอบเขตของแผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง (Scope of BCP)................................................... ๑๑ 2. การวเิ คราะห์กระบวนงาน ทรพั ยากรที่สำคญั และกลยุทธ์บรหิ ารความต่อเนอ่ื ง ๑๒ 2.1 การวเิ คราะหก์ ระบวนงานสำคัญ ......................................................................................... ๑๒ 2.2 การวเิ คราะห์เพ่ือกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคญั ................................................... ๑๖ 2.3 กลยทุ ธ์บรหิ ารความตอ่ เน่ือง (Business Continuity Strategy)....................................... ๒๐ 3. ภาพรวมการจัดการภาวะฉุกเฉิน ภาวะวกิ ฤต และการบริหารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กิจ ๒๒ 3.1 กระบวนการจัดการภาวะฉุกเฉิน ภาวะวกิ ฤต และบริหารความต่อเนอ่ื งทางธรุ กิจของกรม สรรพสามติ ในภาพรวม....................................................................................................... ๒๒ 3.๒ ขั้นตอนการบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งและกอบก้กู ระบวนงานสำคัญในภาพรวม ......................... ๒๓ 3.๓ โครงสร้างคณะบริหารความตอ่ เนื่อง (BCM Committee) ................................................. ๒๔ 4. การดำเนินการเม่อื เกดิ เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ ๒๘ 4.1 ข้นั ตอนการดำเนินการเม่อื เกดิ เหตุการณ์ฉุกเฉินในภาพรวม ................................................ ๒๘ 4.1.1 ขั้นตอนการดำเนนิ การเมื่อเกิดเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินในภาพรวม – ส่วนกลาง.......................๒๘ 4.1.2 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การเม่อื เกิดเหตุการณ์ฉกุ เฉนิ ในภาพรวม – ส่วนภมู ภิ าค ...................๓๖ 4.2 แนวทางการพิจารณาประกาศเหตกุ ารณ์ในแตล่ ะช่วงเวลา.................................................. ๔๔ 5. ขั้นตอนการดำเนินการเม่ือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉนิ ในแตล่ ะเหตุการณ์ ๔๕ 5.1 เหตุการณอ์ คั คภี ยั ................................................................................................................ ๔๕ 5.1.1 การประเมนิ สถานการณ์เมือ่ เกิดเหตุการณ์อคั คภี ัย.........................................................๔๖ 5.1.2 ขัน้ ตอนการดำเนนิ การระหว่างเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณอี คั คภี ยั – ส่วนกลาง ....................๔๗ 5.1.3 ขั้นตอนการดำเนินการระหวา่ งเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ กรณอี ัคคีภัย – สว่ นภูมภิ าค.................๕๔ 5.2 เหตุการณ์แผน่ ดินไหว ......................................................................................................... ๖๑ 5.2.1 การประเมนิ สถานการณ์เมือ่ เกดิ แผ่นดนิ ไหว ..................................................................๖๑ 5.2.2 ขอ้ ปฏิบัติขณะเกดิ แผ่นดินไหว .......................................................................................๖๒ 5.2.3 ขั้นตอนการดำเนนิ การระหวา่ งเกิดภาวะฉุกเฉนิ กรณีแผน่ ดนิ ไหว – ส่วนกลาง ..............๖๓ 5.2.4 ข้ันตอนการดำเนนิ การระหว่างเกิดภาวะฉุกเฉนิ กรณีแผน่ ดินไหว – ส่วนภมู ภิ าค...........๖๗ 5.3 เหตุการณ์อทุ กภยั ................................................................................................................ ๗๑ 5.3.1 การประเมนิ สถานการณเ์ มื่อเกิดอุทกภยั ........................................................................๗๒ 5.3.2 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การระหวา่ งเกดิ ภาวะฉุกเฉิน กรณีอทุ กภยั – ก่อนเกดิ เหตุ................๗๓

¤ แผนบริหารความต่อเนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๔(Business Continuity Plan of Excise Department) 5.3.3ข้ันตอนการดำเนนิ การระหวา่ งเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณีอุทกภัย – ส่วนกลาง.....................๗๖ 5.3.4 ขั้นตอนการดำเนนิ การระหว่างเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ กรณีอุทกภัย – ส่วนภูมิภาค.................๘๑ 5.4 เหตุการณ์กอ่ วินาศภัย ......................................................................................................... ๘๖ 5.4.1 แนวทางกรณีพบวตั ถุตอ้ งสงสยั ......................................................................................๘๖ 5.4.2 แนวทางรับมอื สำหรบั การข่วู างระเบดิ ............................................................................๘๘ 5.4.3 การประเมินสถานการณเ์ ม่ือเกดิ เหตุวินาศภัย.................................................................๙๑ 5.4.4 ขน้ั ตอนการดำเนินการระหวา่ งเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณวี นิ าศภัย – สว่ นกลาง...................๙๒ 5.4.5 ขนั้ ตอนการดำเนินการระหวา่ งเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณวี ินาศภยั – ส่วนภมู ิภาค...............๙๖ 5.5 เหตุการณ์ชมุ นุมฝงู ชน.......................................................................................................๑๐๑ 5.5.1 การประเมินสถานการณเ์ มอ่ื เกิดเหตุการณ์ชมุ นุมฝงู ชน ...............................................๑๐๒ 5.5.2 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การระหว่างเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณปี ระท้วง – สว่ นกลาง ................๑๐๓ 5.5.3 ข้ันตอนการดำเนนิ การระหวา่ งเกดิ ภาวะฉุกเฉิน กรณีประท้วง – สว่ นภมู ภิ าค.............๑๑๐ 5.6 เหตุการณฉ์ ุกเฉินกรณโี รคตดิ ตอ่ อันตราย ...........................................................................๑๑๗ 5.6.๑ กรณีโรคติดเชอื้ โคโรนา Corona Virus 2019 (COVID-19) .....................................๑๑๗ 5.6.2 นยิ ามของผ้ทู ่ีเขา้ เกณฑต์ อ้ งสงสยั และอยใู่ นกลมุ่ เสย่ี งทีต่ ้องสอบสวนโรค (Patient Under Investigation : PUI).............................................................................................................๑๑๗ 5.6.3 หลักเกณฑ์การคัดกรอง ประเมินสถานการณ์และพจิ ารณาดำเนินการเบือ้ งต้น............๑๑๘ 5.6.4 ข้ันตอนดำเนนิ การระหว่างเกิดสถานการณโ์ รคตดิ ต่ออนั ตราย.....................................๑๒๑ 6. ข้นั ตอนการกลบั สภู่ าวะปกติ ๑๒๘ 6.1 ข้อควรพจิ ารณาในการกลับสู่ภาวะปกติ ............................................................................๑๒๘ 6.2 ข้นั ตอนการกลบั สู่ภาวะปกติ..............................................................................................๑๒๙ ภาคผนวก ๑๓๓ ภาคผนวก 1 – บทบาทหน้าทข่ี องคณะบริหารความต่อเนือ่ ง (ส่วนกลาง) ๑๓๓ ภาคผนวก 2 – บทบาทหน้าทีข่ องคณะบริหารความต่อเน่ือง (สว่ นภูมิภาค – ภาค) ๑๓๗ ภาคผนวก 3 – บทบาทหน้าที่ของคณะบริหารความตอ่ เนอ่ื ง (ส่วนภูมิภาค – พืน้ ท)่ี ๑๔๑ ภาคผนวก 4 – การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภาวะฉกุ เฉนิ /ภาวะวิกฤต ๑๔๖ ภาคผนวก 5 – ขัน้ ตอนการดำเนนิ การตามแผน BCP ๑๔๙ ภาคผนวก 6 – ข้อมูลบุคลากรหลัก/บคุ ลากรทดแทนในการจดั การเหตุ 151 ภาคผนวก 7 – แผนผังการแจ้งเหตทุ างโทรศัพท์ (Call Tree) สำหรับคณะบริหารความตอ่ เน่ือง 154 ภาคผนวก 8 – แบบฟอร์มการรายงานสถานะ การแจง้ เหตผุ ่าน Call Tree 159 ภาคผนวก 9 – เส้นทางการอพยพและจดุ รวมพล 160 ภาคผนวก 10 – ขอ้ มูลศูนย์ปฏบิ ัติงานสำรอง 161

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๕(Business Continuity Plan of Excise Department) ภาคผนวก 11 – ขอ้ มูลการตดิ ตอ่ หน่วยงานภายในที่สำคญั 162 ภาคผนวก 12 – ข้อมูลการติดต่อหนว่ ยงานภายนอกท่ีสำคญั 165 ภาคผนวก 13 – รายการตรวจสอบความพรอ้ มของอุปกรณก์ ารระงับเหตเุ บื้องตน้ 167 ภาคผนวก 14 – อปุ กรณ์ที่ตอ้ งจดั เตรยี มให้พร้อมในศนู ยบ์ ัญชาการภาวะวกิ ฤต 171 ภาคผนวก 15 – แผนผงั อาคาร/ที่ตั้งอุปกรณด์ บั เพลิง 172 ภาคผนวก 16 – สอ่ื ความรเู้ ก่ียวกับโรคเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ Corana Virus 2019 (COVID-19) 173 ภาคผนวก 17 – คำแนะนำและการป้องกันควบคุมโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) สำหรับ สถานประกอบการและสถานท่ีทำงาน 179

¤ แผนบริหารความต่อเน่อื งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๖ (Business Continuity Plan of Excise Department) สารบญั ภาพ รูปท่ี 1 แสดงวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตรก์ รมสรรพสามติ ค่านยิ มกรมสรรพสามติ และวฒั นธรรมองคก์ ร ................... ๑๒ รูปท่ี 2 แสดงกระบวนการจัดการภาวะฉุกเฉิน ภาวะวกิ ฤต สถานการณร์ ้ายแรง และบรหิ ารความตอ่ เน่ืองทางธุรกจิ ของ กรมสรรพสามติ ในภาพรวม................................................................................................................ ๒๒ รปู ที่ 3 แสดงข้ันตอนการบรหิ ารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนงานสำคัญในภาพรวม ............................................ ๒๓ รูปที่ 4 แผนผงั แสดงภาพรวมคณะบริหารความตอ่ เนือ่ งของกรมสรรพสามติ ........................................................... ๒๕ รูปท่ี 5 แผนผังแสดงคณะบรหิ ารความตอ่ เน่อื ง (ส่วนกลาง)................................................................................. ๒๖ รูปที่ 6 แสดงคณะบรหิ ารความตอ่ เนื่อง (สว่ นภมู ิภาค-ภาค) ................................................................................ ๒๗ รปู ท่ี 7 แสดงคณะบริหารความตอ่ เนอื่ ง (สว่ นภูมิภาค-พนื้ ที)่ ................................................................................ ๒๗ รปู ที่ 8 แสดงหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ เหตุการณ์อัคคภี ัย ...................................................................................... ๔๕ รปู ที่ 9 แผนผงั แสดงการดำเนินการในเบ้อื งตน้ ของเหตกุ ารณ์อัคคภี ยั .................................................................... ๔๕ รูปท่ี 10 แสดงหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ เหตุการณแ์ ผ่นดนิ ไหว............................................................................... ๖๑ รูปที่ 11 แผนผังแสดงการดำเนนิ การในเบอ้ื งตน้ ของเหตุการณ์แผ่นดินไหว............................................................. ๖๑ รูปท่ี 12 แสดงหลกั เกณฑ์การประเมินเหตกุ ารณ์อุทกภัย.................................................................................... ๗๑ รูปที่ 13 แผนผังแสดงการดำเนนิ การในเบือ้ งตน้ ของเหตุการณ์อุทกภยั .................................................................. ๗๑ รปู ท่ี 14 แสดงหลักเกณฑ์การประเมินเหตุการณ์ก่อวนิ าศภยั ............................................................................... ๘๖ รปู ที่ 15 แผนผงั แสดงการดำเนนิ การในเบอ้ื งต้นของเหตุการณ์อคั คภี ัย .................................................................. ๙๐ รปู ท่ี 16 แสดงหลักเกณฑ์การประเมนิ เหตกุ ารณ์ชมุ นมุ ฝงู ชน.............................................................................๑๐๑ รูปท่ี 17 แผนผงั แสดงการดำเนนิ การในเบ้ืองต้นของเหตกุ ารณช์ มุ นมุ ฝงู ชน ..........................................................๑๐๑ รปู ที่ 18 แผนผงั แสดงการคดั กรอง ประเมินสถานการณแ์ ละพจิ ารณาดำเนนิ การเบ้อื งตน้ ........................................๑๑๘ รูปท่ี 19 ภาพเกณฑ์การพิจารณาความเสยี่ งเบือ้ งตน้ .......................................................................................๑๒๐

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่อื งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๗ (Business Continuity Plan of Excise Department) แผนบริหารความตอ่ เนื่องภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต “Business Continuity Plan (BCP)” หรือแผนบริหารความต่อเนื่องภายใต้สภาวะวิกฤตของ กรมสรรพสามิต จัดทาข้ึนเพ่ือให้หน่วยงานสามารถนาไปปฏิบัติในการตอบสนองและปฏิบัติงานภายใต้สภาวะ วิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที ท้ังที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบตั ิเหตุจากความประมาท เลินเล่อ การมุ่งร้ายต่อองค์กรโดยไม่ให้สภาวะวิกฤต โรคติดต่ออันตรายหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวส่งผลให้ หน่วยงานไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจของผู้รับบริการ การที่หน่วยงานไม่มี แผนการรองรับให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องอาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น โดยเฉพาะกรมสรรพสามิตที่มีภารกิจในการจัดเก็บรายไดซ้ ึ่งเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของภาครัฐ ดังน้ันการ จัดทาแผนดงั กล่าวจึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะช่วยให้หน่วยงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีไม่คาดคิดและทา ให้กระบวนงานสาคญั ขององค์กร (Critical Business Process) สามารถกลบั มาดาเนินการได้อย่างปกติโดยใช้ เวลาน้อยท่ีสุดในการฟ้ืนฟูหรือตามระดับการให้บริการที่กาหนดไว้ซ่ึงจะช่วยให้สามารถลดระดับความรุนแรง ของผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ต่อหน่วยงานได้ 1. วัตถุประสงค์ คาจากดั ความ สมมตฐิ าน และขอบเขตของการจัดทาแผน 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ (Objective) แผนบริหารความต่อเนื่องภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต (แผน BCP) ประจาปี ๒๕๖๕ ฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อให้องค์กรสามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างต่อเน่ืองหากเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบ ต่อธุรกิจและอาจทาให้ธุรกจิ หยุดชะงกั หรือหากเกดิ เหตุการณ์โรคตดิ ต่ออันตราย อาทิ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา Corona Virus 2019 (COVID-19) ที่มีการกลายพันธุ์และได้ระบาดอย่างรวดเร็วเป็นวงกว้างในสังคมท่ัวโลก ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียขึ้นหลายด้าน ท้ังด้านชีวิตและสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและความมั่นคง ส่งผลกระทบต่อธุรกิจและอาจทาให้ธุรกิจหยุดชะงักและเกิดความชะลอตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยแผนบริหารความต่อเน่ืองทางธุรกิจ (Business Continuity Plan : BCP) จะถูกเรียกใช้เม่ือได้รับการ ประกาศจากหัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ือง (BCM Committee) เม่ือเกิดเหตุการณ์หรือมีแนวโน้มท่ีทาให้ ธุรกิจหยุดชะงักโดยระบุถึงแนวทางการกอบกู้กระบวนงานสาคัญต่าง ๆ ช่วงเวลาหยุดชะงักท่ียอมรับได้สูงสุด (Maximum Tolerable Period of Disruption: MTPD) โดยการใช้ทรพั ยากรขั้นตา่ ท่ีจาเปน็ ในการดาเนินงาน จนกระทั่งธรุ กิจสามารถดาเนินงานไดต้ ามปกติ

¤ แผนบริหารความตอ่ เน่อื งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๘ (Business Continuity Plan of Excise Department) 1.2 คำจำกดั ความ คำศพั ท์ ความหมาย กระบวนงานสำคัญ กระบวนงานสำคัญของแตล่ ะหนว่ ยงาน ทเ่ี กดิ จากการวิเคราะห์ (Critical Business Process) ผลกระทบทางธุรกจิ (BIA) ซงึ่ หากหยุดดำเนินการเป็นเวลานาน จะส่งผลกระทบอนั กอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ กรมสรรพสามิตใน ภาพรวม การบรหิ ารความต่อเน่ืองทางธุรกิจ กระบวนการบรหิ ารแบบองค์รวมซง่ึ ช้บี ง่ ภยั คุกคามที่อาจจะ (Business Continuity Management เกดิ ขึ้นต่อองคก์ ร และผลกระทบของภัยคกุ คามนัน้ ต่อการดำเนนิ : BCM) ธรุ กิจ และให้แนวทางในการสร้างขดี ความสามารถให้องคก์ รมี ความยดื หย่นุ (Resilience) เพื่อการตอบสนองและปกป้อง ผลประโยชนข์ องผู้มีสว่ นได้เสียหลัก ชือ่ เสยี ง ภาพลักษณ์ และ กิจกรรมทส่ี รา้ งมูลคา่ ทมี่ ปี ระสิทธิผล การประเมินความเสี่ยง เป็นกระบวนการเพ่ือระบุปจั จัยเสี่ยงและนำมาจัดลำดับความ (Risk Assessment : RA) เสย่ี ง เพือ่ พิจารณาระดบั ความเสีย่ งที่ยอมรับไมไ่ ด้ขององค์กร และพจิ ารณาแนวทางรองรบั ต่อความเสยี่ งเพ่ือใหก้ ารดำเนิน ธุรกจิ มีความต่อเนอื่ ง การวเิ คราะหผ์ ลกระทบทางธุรกิจ กระบวนการในการวเิ คราะห์กิจกรรมต่าง ๆ และผลกระทบต่อ (Business Impact Analysis : BIA) กิจกรรมดังกล่าวหากธรุ กิจเกิดการหยุดชะงักขน้ึ คณะบริหารความต่อเนอื่ ง ผ้บู รหิ ารระดับสงู ของกรมสรรพสามิตที่มหี น้าที่กำกับดูแลให้มี (Business Continuity Management การทบทวนและปรับปรงุ ระบบบรหิ ารความตอ่ เนื่องทางธรุ กจิ Committee : BCM Committee) อย่างต่อเนื่อง ประเมนิ สถานการณ์ และตัดสนิ ใจพจิ ารณา ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉนิ ภาวะวิกฤต และประกาศใชแ้ ผน BCP รวมถึงให้คำแนะนำและพจิ ารณาอนุมัติการดำเนนิ การ ต่าง ๆ ของบคุ ลากร ชว่ งเวลาหยุดชะงกั ทย่ี อมรับไดส้ งู สุด ชว่ งเวลาทย่ี อมรับไดส้ ูงสุดท่หี ากธรุ กจิ หยุดชะงัก (เช่น ชว่ั โมง วนั (Maximum Tolerable Period of เป็นต้น) หากเกินกว่านัน้ จะส่งผลกระทบอันยอมรับไม่ได้ต่อธุรกจิ Disruption: MTPD) ของกรมสรรพสามิตในภาพรวม บคุ ลากร (Personnel) เจา้ หน้าทแ่ี ละพนักงานท้ังหมด

¤ แผนบริหารความต่อเนื่องภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๙(Business Continuity Plan of Excise Department) คำศพั ท์ ความหมาย บคุ ลากรทดแทน (Replacement Personnel) เจา้ หนา้ ทแี่ ละพนกั งานของกรมสรรพสามิตท่ีตอ้ งดำเนนิ บคุ ลากรหลกั (Key Personnel) กระบวนงานสำคัญในภาวะวิกฤตในกรณที ี่บุคลากรหลกั ไม่ สามารถดำเนินการได้ เป้าหมายของการฟ้ืนคนื สภาพ เจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานของกรมสรรพสามติ ที่ต้องดำเนิน (Recovery Point Objective : RPO) กระบวนงานสำคัญในภาวะวิกฤต โดยถกู ระบุชอ่ื ไวใ้ นแผนบรหิ าร ความต่อเนื่องระดับหนว่ ยงาน ผรู้ บั บริการ/ผตู้ ิดตอ่ ประสานงาน จดุ ซงึ่ ข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในกิจกรรมต้องไดร้ บั การฟื้นฟูเพื่อให้ (Customer) สามารถกลบั มาดำเนินกจิ กรรมต่อไปได้ โดยวัดเปน็ ช่วง ระยะเวลาของข้อมลู ที่สญู หาย (เช่น สูญหายไป 1 ช่วั โมง เป็น แผนการก้คู ืนระบบสารสนเทศ ตน้ ) โดยขอ้ มลู จะต้องไดร้ ับการก้คู ืนกลับมาหรือสร้างใหม่เพ่ือ (Disaster Recovery Plan : DRP) ทดแทนข้อมูลท่สี ญู หายไป แผนบรหิ ารความต่อเน่ืองระดับ ประชาชนทมี่ ารับบริการ หรือมาตดิ ตอ่ ประสานงานกับกรม หนว่ ยงาน (Business Continuity สรรพสามติ /สำนกั งานสรรพสามิตภาค/สำนกั งานสรรพสามิต Plan : BCP) พ้นื ท่ี/พนื้ ที่สาขา เอกสารทรี่ ะบุแนวทางในการปฏิบัตงิ านเพื่อจดั การกคู้ ืนระบบ ใน แผนปฏิบัติงาน ณ ศนู ยป์ ฏิบัติงาน กรณเี กดิ เหตุภัยพบิ ัติ (IT Incident) ตอ่ ระบบงานหลักของกรม สำรอง เมอ่ื เกิดภยั พิบตั ิ สรรพสามิต ซึ่งหากเกดิ เหตุที่ทำใหร้ ะบบงานเหลา่ นี้เสียหาย (Work Area Recovery Plan : หรือไมส่ ามารถเข้าใชง้ านได้ จะส่งผลใหก้ ารดำเนนิ งานของกรม WARP) สรรพสามติ หยุดชะงัก แผนผังการแจง้ เหตุทางโทรศัพท์ เอกสารขน้ั ตอนการดำเนินงานท่ใี หแ้ นวทางแก่องค์กรในการ (Call Tree) ตอบสนอง การฟนื้ ฟู การกลับมาดำเนินการและการติดตง้ั เพือ่ ให้ สามารถดำเนินงานไดใ้ นระดับทกี่ ำหนดไวภ้ ายหลังจากการ หยดุ ชะงัก เอกสารท่ีระบุถึงแนวทางการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นทรัพยากร ต่าง ๆ การเคลื่อนย้ายบคุ ลากรและทรัพยากรต่าง ๆ ไปยงั ศูนย์ ปฏบิ ัติงานสำรอง และการกอบกทู้ รพั ยากรตา่ ง ๆ สำหรบั กระบวนงานทรี่ ะบุไว้ในแผนบริหารความต่อเนื่องระดบั หนว่ ยงาน (BCP) ของกรมสรรพสามิต ตาราง/ข้อมูลทร่ี ะบรุ ายชอื่ ของบุคลากรทจ่ี ำเป็นต่อการ ปฏิบัตงิ าน/การจดั การสถานการณต์ ่าง ๆ พร้อมระบุรายละเอียด ของขอ้ มูลการติดต่อ ได้แก่ ชื่อ หมายเลขโทรศัพท์ เพื่อให้ บคุ ลากรใช้แจง้ เหตุ/โทรแจ้งเพือ่ เรียกประชมุ /รายงานเหตุ ตามลำดบั ขัน้ ในการแจง้ เหตุ

¤ แผนบรหิ ารความต่อเนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๑๐(Business Continuity Plan of Excise Department) คำศัพท์ ความหมาย ภาวะฉุกเฉิน (Emergency) สภาวะทีเ่ ป็นอันตรายหรือสภาวะท่มี ีอนั ตรายแฝงสูง ซึ่งอาจ กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อบุคคล ทรัพย์สนิ และส่งิ แวดล้อมได้ หรอื อีกนัยหน่ึง คือ สภาวะที่ไม่อาจควบคมุ ได้ในทันทีทนั ใด ซง่ึ อาจ ทำใหเ้ กิดการเสียชวี ติ บาดเจบ็ หรือเกิดความเสียหายต่อ ทรพั ย์สนิ หรือสง่ิ แวดล้อมได้ ภาวะวกิ ฤต (Crisis) สถานการณร์ นุ แรงซงึ่ หากไม่ได้มีการจัดการทเ่ี หมาะสมอาจสง่ ผล กระทบทีร่ นุ แรงต่อภาพลักษณ์ ชื่อเสยี ง และความสามารถใน การปฏบิ ตั งิ านหรอื การให้บริการขององคก์ รได้ ระยะเวลาเปา้ หมายในการฟ้นื คนื สภาพ ระยะเวลาเป้าหมายจากการเกดิ อุบัติการณ์ท่ีทำให้ผลติ ภณั ฑ์หรือ (Recovery Time Objective : RTO) บริการตอ้ งกลับคืนสภาพเดิม กจิ กรรมต้องกลับมาดำเนินการได้ รวมถงึ ทรพั ยากรต้องไดร้ ับการฟืน้ ฟู โดยมหี นว่ ยเป็น ช่ัวโมง วนั เป็นต้น สถานที่ปฏบิ ัติงานหลัก (Main Site) พนื้ ท่ที ่ีใช้เป็นสถานทีส่ ำหรบั การดำเนนิ งานในแต่ละกระบวนงาน ของกรมสรรพสามติ ศูนยป์ ฏบิ ัตงิ านสำรอง สถานที่ปฏิบัติงานที่กรมสรรพสามิตกำหนดขึ้นเป็นสถานที่ (Alternate Site) ปฏิบัติงานในกรณีที่สถานที่ปฏิบัติงานหลักของหน่วยงานไม่ สามารถใชก้ ารได้ ไวรสั โคโรนา Corona Virus 2019 โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจร้ายแรงจากเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) Corona Virus 2019 (COVID-19) การตดิ เชอื้ โรคจะทำให้มีไข้ และอาการระบบทางเดนิ หายใจผู้ป่วยสว่ นใหญ่มักมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจหอบเหนื่อย บางรายอาจมีปอดอักเสบรุนแรงถึง ข้ันเสยี ชวี ติ ได้ และเช้อื สามารถติดต่อจากคนสู่คน ผ่านการสัมผัส และการแพร่กระจายเชื้อได้จากละอองฝอยจากการไอหรือ จาม น้ำลาย น้ำมูก ซึ่งหากร่างกายสดู ดมเอาละอองฝอยจากการ ไอหรือจาม ของผู้ติดเชื้อก็จะสามารถรับเชื้อไวรัสโคโรนาเข้าสู่ ร่างกายได้ (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ ๑๔ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลบงั คบั ใช้ ณ วนั ท่ี ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๓) นิยามผู้เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (Patient ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องสอบสวนโรคตามแนวทางการคัดกรอง Under Investigation : PUI) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุขกำหนด

¤ แผนบริหารความต่อเน่ืองภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๑๑(Business Continuity Plan of Excise Department) 1.3 สมมตฐิ านในการจดั ทำแผน o สถานการณภ์ ยั พิบัติ และสถานการณ์จากโรคตดิ ต่ออนั ตรายจากเช้ือไวรสั โคโรนา Corona Virus 2019 (COVID-19) หรือจากเชอื้ ไวรสั อ่นื ๆ ที่เกิดข้ึนสง่ ผลให้กระบวนงานสำคัญไมส่ ามารถ ดำเนินการไดต้ ามปกติทส่ี ถานท่ปี ฏบิ ตั งิ านหลัก แตม่ ิไดส้ ง่ ผลกระทบต่อศูนยป์ ฏบิ ตั ิงานสำรองท่ี ได้จดั เตรยี มไว้ o คัดกรองผู้เข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานเพื่อลดโอกาสการแพร่เชื้อโรคในที่ทำงานและลดความเสี่ยง จากการติดเชือ้ โรค o ในขณะเกิดภาวะฉกุ เฉิน/สถานการณ์ร้ายแรง หนว่ ยงานภายนอกท่ีเกีย่ วข้องยงั คงปฏบิ ัติงานได้ ตามปกติและมีการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง o หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องสามารถจดั เตรียมทรัพยากรท่จี ำเป็นในการปฏิบตั งิ านครบถ้วน และพร้อม ใชง้ านท่ศี นู ย์ปฏบิ ัติงานสำรอง หรือการปฏิบัตงิ านจากทบ่ี ้าน (Work At Home) 1.4 ขอบเขตของแผนบริหารความตอ่ เนอื่ ง (Scope of BCP) แผนบรหิ ารความต่อเน่ืองฉบับนี้ ใชร้ องรับสถานการณ์ กรณีเกดิ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นทั้งกรมสรรพสามิตส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค - ภาค และส่วนภูมิภาค - พื้นที่ และ ที่เกิดขึ้นจากโรคติดต่ออันตราย ในกรณีโรคติดต่ออันตราย (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา Corona Virus 2019 (COVID-19)) ที่ไดร้ ะบาดปัจจุบนั นี้ โดยมีเนื้อหาทเี่ กี่ยวกับการบริหารความต่อเน่ืองกรณีเกิด โรคติดต่ออันตรายเพื่อให้แผนฉบับนี้มคี วามสมบูรณ์และทันเหตกุ ารณ์ ซึ่งเนื้อหาของแผนฉบับน้ี จะ ชี้แจงถึงบทบาทหน้าที่และวิธีการดำเนินงานของคณะบริหารความต่อเนื่องและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในแตล่ ะเหตุการณ์ ดังตอ่ ไปน้ี • เหตุการณ์อคั คีภยั • เหตุการณ์แผน่ ดินไหว • เหตุการณอ์ ทุ กภยั • เหตุการณ์ก่อวนิ าศภัย • เหตุการณ์การชมุ นุมฝูงชน • เหตุการณ์ฉุกเฉินกรณีโรคติดต่ออันตราย (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา Corona Virus ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

¤ แผนบรหิ ารความต่อเนอื่ งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๑๒(Business Continuity Plan of Excise Department) 2. การวเิ คราะหก์ ระบวนงาน ทรัพยากรท่สี ำคญั และกลยทุ ธ์บริหารความต่อเนื่อง 2.1 การวิเคราะห์กระบวนงานสำคัญ จากวตั ถปุ ระสงคข์ องกรมสรรพสามิตอันเป็นหนว่ ยงานที่กอ่ ตัง้ ขึน้ โดยมีภารกิจหลกั เก่ียวกับ การบริหารการจดั เกบ็ ภาษตี ามกฎหมายภาษีสรรพสามติ เพื่อใหก้ ารจัดเก็บรายไดข้ องกรมสรรพสามิต มีประสิทธิภาพและความโปร่งใส ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กรมสรรพสามิต ค่านิยมกรมสรรพสามิต และวัฒนธรรมองค์กร โดยมีรายละเอียดดังภาพด้านล่าง ดังตอ่ ไปนี้ รปู ท่ี 1 แสดงวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามติ ค่านยิ มกรมสรรพสามิต และวฒั นธรรมองคก์ ร ทางกรมสรรพสามิต ได้ดำเนินการจัดตั้งกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บรายได้ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีระบบการบริหารที่ดี มีความชัดเจน สามารถดำเนินการจัดเก็บภาษีและ ให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งหมด 11 กลุ่ม โดยใช้หลักเกณฑ์การจำแนก กระบวนการสร้างคุณค่า โดยพิจารณาว่ากระบวนการใดที่มีผลกระทบต่อวิสัยทัศน์ ภาพลักษณ์ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้ง ปัจจัยความสำเร็จ หากมีผลกระทบ ทางตรงจะจัดเป็นกระบวนการสร้างคุณค่า โดยแทนค่าเป็น “X” หากมีผลกระทบทางอ้อมจะ จดั เปน็ กระบวนการสนบั สนุน โดยแทนค่าเปน็ “O” ดงั นั้นจากหลักเกณฑด์ ังกล่าวขา้ งตน้ สามารถแบ่งประเภทของกระบวนการออกเป็น 2 ประเภท คือ

¤ แผนบริหารความต่อเนื่องภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๑๓ (Business Continuity Plan of Excise Department) 1. กระบวนการสรา้ งคุณคา่ สามารถแสดงรายละเอียดตามตารางดงั ตอ่ ไปน้ี เกณฑ์ในการกำหนด กระบวนการ กระบวนการ ิว ัสยทัศน์ ภาพ ัลกษ ์ณ ่สค้ผูรัววาบนไมบด้้ตริ ่สอกวงารกนเ/า ีสรูผ้ยขีมอง ปัจ ัจยความ สำเร็จ 1. จดั เก็บภาษี X X X X 2. ออกใบอนญุ าต X X X X 3. พฒั นามาตรฐานกลไกทางด้านภาษี X X X X 4. ตรวจสอบประเมินภาษี X X X X 5. เปรียบเทยี บคดี X X X X 6. วิเคราะห์สนิ คา้ และของกลาง X X X X 7. ตรวจสอบทางเทคนคิ เพื่อการจดั เกบ็ ภาษี X X X X 2. กระบวนการสนบั สนุน สามารถแสดงรายละเอียดตามตารางดังต่อไปน้ี เกณฑ์ในการกำหนด กระบวนการ กระบวนการ ิวสัยทัศน์ ภาพ ัลกษณ์ ่สค้ผูรัววาบนไมบด้ต้ิรส่อกวงารกนเ/า ีสรผู้ยขมีอง ัปจ ัจยความ สำเร็จ 1. บริหารทรพั ยากรบคุ คล OO O O 2. บรหิ ารการเงิน/การคลัง OO O O 3. บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ OO O O 4. ประชาสัมพันธ์ OO O O จากการวิเคราะห์กระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างคุณค่า และกระบวนการ สนบั สนนุ ท้ัง 11 กลมุ่ ของกรมสรรพสามิตในรายละเอียด โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อกรมสรรพสามิต และต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญของกรมสรรพสามิต สามารถสรุปกระบวนงานสำคัญพร้อม ระยะเวลาเปา้ หมายในการฟืน้ คืนสภาพ ดังน้ี

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่ืองภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๑๔(Business Continuity Plan of Excise Department) 1. กระบวนการสร้างคุณค่า ลำดับ กระบวนงาน หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ระยะเวลาเปา้ หมายในการ ฟืน้ คนื สภาพ 1. จดั เกบ็ ภาษี สำนักงานสรรพสามิตพนื้ ท่ี 1 วนั 2. ออกใบอนญุ าต 2.1 - การอนญุ าตจดทะเบยี นเครื่องหมาย สำนักมาตรฐานและพฒั นาการ 3 วัน แสดงการเสยี ภาษจี ดทะเบียน จดั เกบ็ ภาษี 1 2.2 - การขอใบอนญุ าต/ต่อใบอนุญาต กรณี สำนักงานสรรพสามติ พนื้ ที่ 7 วัน นำเขา้ 2.3 - การประกาศราคานำ้ มันเตา สำนักมาตรฐานและพฒั นาการ 1 วัน จดั เกบ็ ภาษี 2 2.4 - การขออนุญาตใหใ้ ชก้ รรมวิธกี ารผลติ สำนักมาตรฐานและพฒั นาการ 30 วนั สรุ า จดั เกบ็ ภาษี 1 2.5 - การขออนมุ ตั เิ ครอื่ งหมายพิเศษเพอื่ สำนักมาตรฐานและพฒั นาการ 30 วนั การส่งออก (บุหรี่ ซกิ าแรต) กรณดี ่าน จัดเกบ็ ภาษี 1 อืน่ ที่นอกเหนอื จากการประกาศของ กรมสรรพสามิต 2.6 - การขออนุมัติ/เหน็ ชอบใหใ้ ช้ฉลากและ สำนกั มาตรฐานและพฒั นาการ 30 วนั เครื่องหมายต่าง ๆ ท่ีใชก้ ับภาชนะ จดั เกบ็ ภาษี 1 บรรจสุ รุ า (เปล่ียนแปลง) 2.7 - การขออนุมตั ิใชภ้ าชนะสำหรบั บรรจุ สำนักมาตรฐานและพัฒนาการ 30 วนั สุรา จดั เกบ็ ภาษี 1 2.8 - การขออนุมัติกรรมวิธีการผลติ น้ำมนั สำนกั มาตรฐานและพัฒนาการ 30 วนั จัดเก็บภาษี 2 2.9 - การเบกิ จ่ายสาร Marker สำนักมาตรฐานและพฒั นาการ 7 วัน จดั เก็บภาษี 2 ๓. วิเคราะหส์ ินค้าและของกลาง ๓.1 - การให้บริการตรวจวเิ คราะหส์ ินค้า กลมุ่ วิเคราะหส์ ินค้าและของ 15 วัน สุรา/ การให้บริการตรวจวิเคราะห์ กลาง สนิ ค้านำ้ มนั / การให้บริการตรวจ วเิ คราะหส์ นิ คา้ เครื่องด่มื

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๑๕(Business Continuity Plan of Excise Department) 2. กระบวนการสนบั สนนุ ลำดับ กระบวนงาน หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ระยะเวลาเป้าหมายในการ ฟื้นคนื สภาพ 1. บริหารการเงินและการคลงั สำนักบริหารการคลงั และ 1.1 - การดำเนินการจดั ซ้อื จัดจ้าง รายได้ 1 วนั 1.2 - การดำเนินการจดั ซ้ือจดั จ้างแสตมป์ สำนักบริหารการคลังและ 1 วนั รายได้ 1.3 - การเบกิ เงนิ โดยโอนเงนิ เข้าบญั ชผี ขู้ าย 1 วนั (ผา่ นจดั ซ้อื จดั จา้ ง) สำนักบริหารการคลงั และ รายได้ 7 วนั 1.4 - การจดั หาแสตมป์ สำนักบรหิ ารการคลังและ 7 วัน 1.5 - การจา่ ยเงนิ ให้กับ Thai PBS รายได้ 7 วนั 1.6 - การจัดทำคำขอต้งั งบประมาณ สำนักบรหิ ารการคลังและ รายได้ กรณเี กดิ เหตุการณ์ก่อนวนั ที่ 1.7 - การจ่ายเงินเดอื นผรู้ ับบำนาญ 10 : 15 วัน สำนกั บริหารการคลงั และ 1.8 - การจา่ ยเงินเดือนลูกจ้างช่ัวคราวและ รายได้ กรณีเกดิ เหตกุ ารณ์ พนักงานราชการ หลังวนั ที่ 10 : 7 วัน สำนักบริหารการคลังและ กรณเี กดิ เหตกุ ารณก์ อ่ นวนั ท่ี 1.9 - การขอเบกิ แสตมป์ รายได้ 10 : 15 วัน 1.10 - การจา่ ยเงินเดอื นข้าราชการและ สำนกั บรหิ ารการคลงั และ กรณเี กดิ เหตุการณ์ ลกู จ้างประจำ รายได้ หลงั วนั ที่ 10 : 7 วนั 1.11 - การจัดสรรงบประมาณใหส้ ่วนภมู ภิ าค สำนกั บริหารการคลังและ 30 วัน 1.11.1 การเงนิ ไว้เบกิ ให้ส่วนกลาง รายได้ 1.11.2 การโอนเงนิ ใหส้ ่วนภูมภิ าค กรณเี กดิ เหตุการณก์ ่อนวันท่ี สำนกั บรหิ ารการคลงั และ 10 : 15 วัน รายได้ กรณเี กดิ เหตกุ ารณ์ สำนกั บริหารการคลังและ หลังวันท่ี 10 : 7 วนั รายได้ 7 วัน 30 วนั โดยกระบวนงานอื่นเป็นกระบวนงานที่สามารถหยุดปฏิบัติงานได้ขณะเกิดเหตุในช่วงแรก หาก สถานการณ์กลับสู่ภาวะปกติหรือมีคำสั่งอื่นจากผู้บริหาร สามารถกลับมาปฏิบัติงานได้ตามแนวทางการ จัดการเหตุ และบริหารความต่อเนื่องของกรมสรรพสามิต ทั้งนี้ในกรณีเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับโรคติดต่อ อันตรายจะใช้ระยะเวลาในการคืนสภาพกลับมายังสภาวะปกตินานกว่าที่กำหนดไว้ตามการประเมิน สถานการณ์จริง ซึ่งในการประเมินสถานการณ์ให้พิจารณาจากระยะความปลอดภัยตามสถานการณ์จริงที่ เกิดขึ้น โดยให้อ้างอิงประกาศจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข หรือจากคำสั่งผู้บริหารของ หนว่ ยงานราชการ

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๑๖(Business Continuity Plan of Excise Department) 2.2 การวเิ คราะหเ์ พอื่ กำหนดความตอ้ งการทรัพยากรที่สำคัญ จากการวเิ คราะห์และกำหนดกระบวนงานสำคญั ของกรมสรรพสามิตทต่ี ้องสามารถฟ้ืนคืนใน แต่ละช่วงเวลานั้น สามารถสรุปจำนวนทรัพยากรที่ต้องจัดเตรียมสำหรับการปฏิบัติงาน โดยแบ่งเป็นด้านต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1) ด้านสถานทีป่ ฏิบัติงานสำรอง (Working Space Requirement) และปฏิบัติงานนอกสถานที่ หรอื การปฏบิ ตั ิงานจากที่บ้าน (Work At Home) ชื่อสถานท่ี ความสามารถใน ผ้รู บั ผดิ ชอบ ข้อมลู ติดต่อ สำนกั งานสรรพสามิต การรองรับบคุ ลากร ผอู้ ำนวยการสำนกั งาน ภาคที่ 1 จังหวัดนนทบรุ ี สรรพสามติ ภาคท่ี 1 เลขที่ 73 ถ.นนทบรุ ี 1 ๘๐ คน ต.สวนใหญ่ อ.เมือง สำนกั งานสรรพสามติ ผ้อู ำนวยการสำนักงาน จ.นนทบุรี 11000 ภาคท่ี 3 จังหวัดนครราชสมี า ๘๐ คน สรรพสามติ ภาคท่ี 3 เบอรโ์ ทร 0-2525 4811 - 2 สำนกั งานสรรพสามิต ภาคท่ี ๘๐ คน ผ้อู ำนวยการสำนกั งาน ๘ จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี สรรพสามติ ภาคท่ี 8 เลขท่ี 177/1 ตรอกโรง จำนวนตาม ตม้ ต.ในเมือง อ.เมือง การปฏบิ ตั ิงานจากทบี่ า้ น ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ผปู้ ฏิบตั งิ าน จ.นครราชสมี า (Work At Home) เบอร์โทร 044-256- 761 เลขที่ 30/๑๑๙ หมทู่ ี่ 2 ถนนศรวี ิชัย ต.มะขาม เตีย้ อ.เมอื ง จ.สุราษฎร์ ธานี 84000 เบอร์โทร 077-284- 681 , 077-289-3 ๙๔ ช่องทางตดิ ตอ่ ของ ผ้ปู ฏิบตั ิงานแตล่ ะ หนว่ ยงาน หมายเหตุ กรณีสถานการณ์จากโรคติดต่ออันตรายให้ปฏบิ ัติงานจากท่ีบา้ น (Work At Home) เท่าน้นั

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่อื งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๑๗(Business Continuity Plan of Excise Department) 2) ความต้องการดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ๒.๑) กรณีปฏิบตั งิ าน ณ ศูนยป์ ฏบิ ตั ิงานสำรองฯ ชอื่ อุปกรณ์ จำนวนอปุ กรณ์ท่ตี อ้ งการในแต่ละช่วงเวลา ภายใน ๒4 ช่ัวโมง ภายใน ๗ วัน ภายใน ๑ เดอื น โต๊ะและเก้าอ้ี (ชุด) เครื่องคอมพิวเตอร์ (เครื่อง) 36 44 58 Multi-Function Pool (เครือ่ ง) 33 37 43 - เครือ่ งถา่ ยเอกสาร - เคร่อื ง Scanner 4 44 - เครือ่ งพิมพ์แบบ Laser โทรศัพท์ (เครื่อง) 5 55 3 33 โทรสาร (เคร่อื ง) ๓ ๓๓ ๕ ๕๕ เครอ่ื ง Terminal ๓ ๓๓ Smart Card Token ๒.๒) กรณปี ฏิบตั ิงานนอกสถานทห่ี รือปฏบิ ตั งิ านจากที่บ้าน (Work At Home) ช่ืออุปกรณ์/ระบบ ช่วงเวลาในการจัดเตรียมอปุ กรณ์ ภายใน ๒4 ชวั่ โมง ภายใน ๓ วัน เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ✓- ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต (Internet) ✓- ช่องทางการเชือ่ มต่อเครือข่ายเสมอื นระยะไกล ✓- (Virutal Private Network : VPN) สำหรบั เชื่อมต่อ และใชง้ านระบบงานต่าง ๆ ในกรมสรรพสามิต ✓- ช่องทางการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งหน่วยงาน ทีมงาน หรอื ผู้รับบริการ ได้แก่ โทรศัพทส์ ายตรง ระบบงาน ✓- สำหรบั ติดตอ่ สอื่ สารระหว่างทมี งาน -✓ E-Mail ของกรมสรรพสามติ -✓ ระบบงานสำหรับจัดเกบ็ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ เอกสารหรืออุปกรณ์ที่สำคัญจำเป็นในการปฏิบัติงาน อน่ื ๆ หมายเหตุ ในกรณีมีการปฏิบัติงานจากที่บ้าน (Work At Home) หรือทำงานนอกสถาที่ใด ๆ ควรมีการเตรียม ความพร้อมทางด้านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) รวมถึงทรัพยากรสำคัญจำเป็นให้พร้อม ก่อนปฏบิ ัตงิ าน

¤ แผนบริหารความตอ่ เนื่องภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๑๘(Business Continuity Plan of Excise Department) ๒.๓) กรณีพบผู้เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (Patient Under Investigation : PUI) หรือพบผู้ติดเชื้อ จะตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกนั ร่างกายสว่ นบคุ คล (Personal Protective Equipment : PPE) ชอื่ อปุ กรณ์ ระดับความเสยี่ ง ช่วงเวลา ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง เตรียมอปุ กรณ์ หน้ากากกรองอากาศ (Surgical Mark) หรือ ภายใน ๕ นาที หน้ากากกรองอนุภาค เช่น N95, N100 ✓✓ เป็นต้น ขึ้นอยู่กับอาการและการแสดง ภายใน ๕ นาที อาการของผู้เขา้ เกณฑส์ อบสวนโรค (PUI) ✓✓ แอลกอฮอลเ์ จล หรือ 70% แอลกอฮอล์ -✓ ภายใน ๕ นาที เจล หรือน้ำยาทำความสะอาดฆ่าเชอ้ื -✓ ภายใน ๕ นาที ถงุ มือยางแบบใช้ ๑ ครั้งแลว้ ทง้ิ -✓ ภายใน ๕ นาที -✓ ภายใน ๕ นาที เส้ือคลมุ แขนยาวรดั ข้อมือ -✓ ภายใน ๕ นาที -✓ ภายใน ๕ นาที แว่นปอ้ งกนั ตา หรอื กระจังบังใบหน้า หมวกคลมุ ผม รองเทา้ บทู น้ำยาฆา่ เชอ้ื 3) ความตอ้ งการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและขอ้ มูล (IT & Information Requirement) เนื่องจากระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญของหน่วยงานอยู่ใน ความดูแลของหน่วยงานส่วนกลางเป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ข้อมูล ดังนั้นหน่วยงานจึงใช้ข้อมูล สารสนเทศโดยการเช่อื มโยงระบบของหน่วยงานสว่ นภูมิภาคกับหนว่ ยงานสว่ นกลางผา่ นเครือข่าย กระทรวงการคลังทำให้หน่วยงานส่วนภูมิภาคไม่มีระบบคอมพิวเตอร์สำรองและหากระบบมี ปัญหาต้องรอให้หน่วยงานส่วนกลางกู้คืนระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศก่อนหน่ วยงาน สว่ นภูมิภาคจงึ จะสามารถใช้งานของระบบได้ หนว่ ยงาน ช่ือระบบงาน จำนวนผใู้ ชง้ าน สำนกั มาตรฐานและ เวบ็ ไซตก์ รมสรรพสามติ 1 พัฒนาการจดั เก็บภาษี 2 1 ระบบงานกรมสรรพสามติ - ระบบ Main สำนักบรหิ ารการคลังและ Access 1 รายได้ ระบบงานกรมสรรพสามิต - ระบบ Excise Department 1 ระบบงานกรมสรรพสามิต - ระบบควบคมุ การ ขนนำ้ มนั ออกจากโรงกลน่ั (Oil Control) 12 ระบบทดี่ ูแลโดยหน่วยงานภายนอก 2 5 - GFMIS - E-Budgeting - ระบบการจดั ซ้อื จดั จา้ งภาครัฐ (E-GP) / ระบบ PO

¤ แผนบริหารความต่อเนอื่ งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๑๙(Business Continuity Plan of Excise Department) หนว่ ยงาน ชอ่ื ระบบงาน จำนวนผใู้ ชง้ าน สำนักงานสรรพสามิตพ้ืนที่ - E-Pension 3 - E-Payroll 1 ระบบการขออนญุ าต ๖ ระบบงานรายได้ ๖ 4) ความตอ้ งการด้านบุคลากรสำหรับความต่อเนือ่ งเพื่อปฏิบตั ิงาน (Personnel Requirement) ช่ือหน่วยงาน จำนวนบคุ ลากรทต่ี ้องการในแต่ละช่วงเวลา สำนักมาตรฐานและพฒั นาการจดั เกบ็ ภายใน ๒4 ชว่ั โมง ภายใน 7 วนั ภายใน 1 เดอื น ภาษี 1 สำนกั มาตรฐานและพฒั นาการจัดเก็บ 3 4 ๑๐ ภาษี 2 สำนักบริหารการคลงั และรายได้ 4 6๘ สำนกั งานสรรพสามิตพ้นื ท่ี 21 21 21 กลุ่มวเิ คราะหส์ ินคา้ และของกลาง 3 8 14 รวม 5 55 36 44 58 ๕) บุคลากรหลักสำหรับปฏิบัติงานตามกระบวนงานสำคญั ของศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตำแหนง่ ภายใน จำนวนบคุ ลากรหลกั ภายใน 24 ชว่ั โมง 1 เดือน ผู้อำนวยการศูนยเ์ ทคโนโลยี ภายใน สารสนเทศ 1 7 วัน 1 ผ้อู ำนวยการสว่ น เจา้ หนา้ ทีป่ ฏิบตั ิงาน 1 1 3 รวม 11 5 33 ๕5

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอื่ งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๒๐(Business Continuity Plan of Excise Department) 2.3 กลยทุ ธบ์ รหิ ารความตอ่ เนื่อง (Business Continuity Strategy) การกำหนดกลยุทธ์ในกรณีที่ทรัพยากรหลักของกรมสรรพสามิตไม่สามารถใช้งานได้ ตามปกติ หรอื ทำให้บคุ ลากรไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานได้ โดยทรพั ยากรหลกั ประกอบด้วย 1) อาคาร/สถานทปี่ ฏิบตั ิงานสำรอง 2) ปฏบิ ตั งิ านนอกสถานที่และปฏิบัตงิ านจากทบี่ ้าน (Work At Home) 3) วสั ดุอุปกรณท์ สี่ ำคญั /การจัดหาจัดสง่ วสั ดุอปุ กรณ์ท่สี ำคญั 4) เทคโนโลยแี ละข้อมลู หลกั ทส่ี ำคัญ 5) บุคลากรหลัก 6) คู่คา้ /ผูใ้ หบ้ รกิ ารที่สำคัญ/ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ทรัพยากร กลยทุ ธบ์ ริหารความตอ่ เนอื่ ง • ปฏิบตั งิ านท่ีศูนยป์ ฏบิ ัติงานสำรองฯ • ปฏบิ ตั งิ านจากท่บี า้ น (Work At Home) อาคาร/สถานท่ี ปฏิบตั งิ านสำรอง วัสดุอุปกรณท์ ่ีสำคัญ • จัดหาคอมพิวเตอร์สำรองที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการใช้งาน / การจัดหาจัดส่ง พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงผ่านอินเตอร์เน็ตเข้าสู่ระบบ วสั ดุอุปกรณท์ ่สี ำคญั เทคโนโลยีของหน่วยงานกลางและกรมบญั ชีกลางได้ • จัดหาอุปกรณ์/เครื่องมือสำหรับการดำเนินการตามกระบวนงาน สำคญั • จัดทำระบบงานสำรองข้อมูลสารสนเทศเพื่อรองรับกรณีที่ศูนย์ ขอ้ มูลหลักไมส่ ามารถใช้งานได้ • จัดเตรียมชุดให้บริการนอกสถานที่เพื่อรองรับการปฏิบัติงานและ ให้บริการประชาชนนอกสถานท่ี กรณสี ำนักงานสรรพสามิตพื้นท่ีไม่ เทคโนโลยีและข้อมลู สามารถใช้งานได้ หลักทีส่ ำคัญ • กำหนดบุคลากรสำรองทดแทนระดับบริหารและระดับ ปฏิบัตกิ ารภายในฝ่ายงานหรอื กลมุ่ งานท่ีคล้ายกนั • กำหนดบุคลากรสำรองทดแทนระดับบริหารและระดับ ปฏิบัติการภายนอกฝ่ายงานหรือกลุ่มงานที่มีลักษณะงานท่ี บคุ ลากรทดแทน ใกล้เคียงกนั ในกรณีทไี่ ม่เพยี งพอหรอื ขาดแคลน

¤ แผนบริหารความต่อเน่อื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๒๑ (Business Continuity Plan of Excise Department) ทรัพยากร กลยุทธ์บริหารความต่อเนือ่ ง คูค่ า้ /ผใู้ หบ้ ริการท่ี กรมสรรพสามิตได้แบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ สำคญั /ผู้มีส่วนได้ ดังน้ี 1. ผู้ส่งมอบและพันธมติ ร สว่ นเสีย - หน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น กระทรวงการคลัง กรมสรรพากร กรมศุลกากร สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพลังงาน สถานทูต สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักงาน ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้น ไปรษณีย์และหน่วยงาน เอกชน เชน่ ธนาคาร 2. ผู้รบั บรกิ าร 1) ผู้ประกอบอุตสาหกรรม/ผู้ประกอบกิจการสถานบริการและ ผู้อื่นที่กฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีตาม พ.ร.บ.ภาษี สรรพสามติ พ.ศ. ๒๕60 2) ผมู้ ีหนา้ ท่เี สยี ภาษตี าม พ.ร.บ. สุรา ยาสูบ และไพ่ 3) ผขู้ อใบอนุญาตขายสรุ า ยาสูบ และไพ่ 3. ผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบ - ประชาชน/ชมุ ชน/สงั คม โดยมกี ลยุทธ์ คอื 1) กำหนดให้มีการขยายระยะเวลาในการยื่นเอกสารที่จำเป็นใน การดำเนนิ งานตา่ ง ๆ เชน่ การรบั ชำระภาษี การตอ่ ใบอนุญาต การคนื /ยกเว้นภาษเี ป็นต้น จนกระท่งั สภาวะวิกฤตผา่ นไป 2) กำหนดให้มีการยื่นเอกสารที่จำเป็นในการดำเนินธุรกรรม เกยี่ วกับภาษีสรรพสามิตผ่านช่องทางตา่ ง ๆ เช่น ทางไปรษณีย์/ ทาง Internet/Mobile Excise Tax’s Car และการชำระภาษีผา่ น Counter Services เป็นต้น 3) จัดตั้งศูนย์กลางการทำงานตัวแทนกรมฯ เพื่อติดต่อ ประสานงานกับผู้รับบริการ หน่วยงานและประชาชนที่ เกยี่ วข้อง

¤ แผนบริหารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๒๒(Business Continuity Plan of Excise Department) 3. ภาพรวมการจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ภาวะวิกฤต และการบรหิ ารความต่อเนอ่ื งทางธรุ กจิ 3.1 กระบวนการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ภาวะวิกฤต และบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกจิ ของ กรมสรรพสามิตในภาพรวม แสดงรายละเอียดดังภาพด้านล่าง การ (BCM Committee) มีหน้าท่ีกากับ/ดูแลและให้นโยบายแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ดาเนนิ งาน เพ่ือดาเนินการตามนโยบายการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของกรมสรรพสามิต และเป็นผู้ประสานงาน ในภาวะปกติ หลักในการจัดเตรียมทรัพยากรและความพร้อมขององค์กรในการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ือง โดยการจัดทา/ ทบทวนแผนฯ การจัดเตรียมทรัพยากรท่ีเกี่ยวข้อง และการดาเนินการเพ่ือให้ม่ันใจได้ว่าแผนต่างๆ สามารถ นามาปฏบิ ัติได้จริงเมอื่ เกิดเหตุ การจดั การ BCM Committee) ภาวะฉกุ เฉนิ การจัดการภาวะ BCM Committee) วกิ ฤต/บริหาร BCP ความตอ่ เน่ือง BCM Committee) ทางธุรกิจ การกลับสู่ ภาวะปกติ 2 รูปท่ี 2 แสดงกระบวนการจัดการภาวะฉกุ เฉิน ภาวะวกิ ฤต สถานการณ์รา้ ยแรง และบรหิ ารความตอ่ เนอื่ งทางธรุ กจิ ของกรมสรรพสามิตในภาพรวม

¤ แผนบรหิ ารความต่อเนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๒๓ (Business Continuity Plan of Excise Department) 3.๒ ขน้ั ตอนการบรหิ ารความตอ่ เน่ืองและกอบกกู้ ระบวนงานสำคัญในภาพรวม ข้นั ตอนการบรหิ ารความต่อเน่ืองและกอบกู้กระบวนงานสาคัญ เม่ือเกดิ เหตุฉกุ เฉนิ 2 1 ทมี อาคาร/สถานที่ปฏิบตั ิงานหลกั เขา้ ระงับเหตุ ประสานกับ ผทู้ ่ีเกยี่ วข้อง 4 หัวหน้าคณะฯเรยี กประชมุ คณะ 3 บรหิ ารความต่อเนือ่ งผ่าน คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื งรว่ ม Call Tree ประเมินสถานการณ์ 5 คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง พิจารณา 6 ประกาศภาวะวิกฤตและสั่งการใหย้ า้ ยไป ทีมต่าง ทเ่ี กยี่ วขอ้ งดาเนินการเพ่อื จัดการเหตุโดย ครอบคลุม ปฏบิ ัติงานทศี่ นู ยป์ ฏบิ ัตงิ านสารอง รักษาความปลอดภัย/อานวยการจราจร ทีมฯต่าง ทเ่ี ก่ยี วข้องดาเนนิ การเพอื่ เตรยี มการยา้ ยไป 7 ประสานงานโรงพยาบาลใกล้เคียง/ปฐมพยาบาล ปฏบิ ัติงานที่ศนู ย์ปฏบิ ัตงิ านสารอง โดยครอบคลุม - จัดเตรียมยานพาหนะ ดแู ลความปลอดภยั ดา้ น Server และระบบงานสาคญั - ตรวจสอบความพร้อมอุปกรณส์ านกั งาน - ตรวจสอบความพรอ้ มบุคลากรหลกั และบุคลากรทดแทน ตรวจสอบจานวนและรายชอื่ บคุ ลากรทีไ่ ดร้ ับบาดเจ็บและเสียชีวิต - ตรวจสอบความพรอ้ มของอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนดา้ นอุปกรณ์จดั การเหตแุ ละเงนิ สารอง แจง้ เหตทุ ีเ่ กดิ ขน้ึ ไปยังบคุ ลากรทง้ั หมด 8 บุคลากรหลัก/บคุ ลากรทดแทน ดาเนนิ การ ตามแผนความตอ่ เน่อื ง โดยปฏบิ ัติ กระบวนงานสาคญั และรายงานต่อ ผู้บงั คบั บัญชาอยา่ งตอ่ เนื่อง 9 แจ้งสรปุ เหตกุ ารณ์และข้ันตอนการดาเนนิ การให้กับ บุคลากรหลกั ในหนว่ ยงาน เพอื่ รบั ทราบและดาเนนิ การ อาทิ แจง้ วัน เวลาในการปฏบิ ัติงานทศี่ นู ยป์ ฏิบัตงิ าน สารองและสวัสดิการช่วยเหลอื ฉุกเฉนิ รปู ท่ี 3 แสดงขนั้ ตอนการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งและกอบกกู้ ระบวนงานสำคญั ในภาพรวม

¤ แผนบริหารความตอ่ เนือ่ งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๒๔(Business Continuity Plan of Excise Department) 3.๓ โครงสร้างคณะบรหิ ารความต่อเน่ือง (BCM Committee) คณะบริหารความต่อเนื่องคือคณะผู้บริหารของกรมสรรพสามิตที่ทำหน้าที่กำกับดูแลให้มีการ ทบทวนและปรับปรุงระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการประเมินสถานการณ์ การตัดสินใจตา่ ง ๆ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใด ๆ ข้ึนกบั กรมสรรพสามิต โดยประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) คณะบรหิ ารความต่อเน่อื ง (ส่วนกลาง) : คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื งกรณที ี่เกดิ เหตขุ น้ึ ที่กรมสรรพสามติ และสง่ ผลกระทบในวงกวา้ ง 2) คณะบริหารความต่อเนอื่ ง (ส่วนภมู ภิ าค - ภาค) : คณะบริหารความต่อเนอ่ื งกรณที ี่เกดิ เหตขุ ึน้ ในแตล่ ะภาคของกรมสรรพสามติ 3) คณะบริหารความต่อเน่ือง (ส่วนภูมภิ าค - พื้นท่)ี : คณะบริหารความต่อเนื่องกรณที ่เี กดิ เหตุขน้ึ ในแตล่ ะพนื้ ทีข่ องกรมสรรพสามติ

¤ แผนบริหารความตอ่ เนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๒๕ (Business Continuity Plan of Excise Department) ภาพรวมคณะบรหิ ารความต่อเน่ืองของกรมสรรพสามิต 1) 2) 3) 4) ( 1,3 8) รปู ท่ี 4 แผนผังแสดงภาพรวมคณะบริหารความต่อเนอ่ื งของกรมสรรพสามิต

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่ืองภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๒๖ (Business Continuity Plan of Excise Department) คณะบริหารความต่อเนอื่ ง (ส่วนกลาง) 1) 2) 3) 4) ( 1,3 8) รปู ที่ 5 แผนผงั แสดงคณะบริหารความต่อเนอ่ื ง (สว่ นกลาง)

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๒๗ (Business Continuity Plan of Excise Department) คณะบริหารความต่อเนื่อง (ส่วนภูมภิ าค - ภาค) รปู ท่ี 6 แสดงคณะบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง (ส่วนภมู ภิ าค-ภาค) คณะบริหารความต่อเน่ือง (ส่วนภูมิภาค – พน้ื ท่)ี รูปท่ี 7 แสดงคณะบรหิ ารความตอ่ เนอื่ ง (ส่วนภมู ภิ าค-พน้ื ท่ี)

๒๘แผนบรหิ ารความต่อเนอื่ งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ (Business Continuity Plan of Excise Department) 4. การดำเนนิ การเม่อื เกิดเหตุการณ์ฉกุ เฉนิ 4.1 ข้นั ตอนการดำเนินการเม่อื เกดิ เหตุการณ์ฉกุ เฉินในภาพรวม 4.1.1 ข้ันตอนการดำเนินการเม่อื เกิดเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉินในภาพรวม – ส่วนกลาง เมอื่ เกิดเหตุ 6 1 / 2 / 7 /7 ) ( ) ( )( ) / (DRP) 3 ควบคมุ ๓ / 7 7 สถานการณไ์ ด?้ ( ) ( )( / / ๓ / 7 ( ) () ๔ / 8 ( ) 8 ควบคมุ สถานการณไ์ ด?้ ๕ 89 ) Call Tree ( 10 ( / กลับสภู่ าวะปกติ )

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอื่ งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๒๙ (Business Continuity Plan of Excise Department) 11 11 BCP ? ) 12 ( 11 13 15 / BCP 16 / 13 / 13 ) ( )( ) 17 / / BCP 13 13 ( )( 14

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่อื งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๓๐ (Business Continuity Plan of Excise Department) 18 19 20 21

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เน่อื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๓๑(Business Continuity Plan of Excise Department) ขน้ั ตอนท่ี การดำเนินงาน ผดู้ ำเนนิ การ อ้างองิ 1. เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณ์ใด ๆ ข้นึ ใหแ้ จ้งเหตทุ ี่เกิดขน้ึ ไป ผ้พู บเหตุ - 2. ยงั ทีมบรหิ ารความต่อเน่ืองดา้ นอาคาร/สถานที่ 3. ปฏบิ ตั งิ านหลกั ทีมบรหิ ารความ - เม่อื ทีมบรหิ ารความต่อเน่ืองด้านอาคาร/สถานที่ ต่อเน่อื งด้านอาคาร/ ๔. ปฏบิ ัตงิ านหลักไดร้ บั แจ้งเหตุ ใหเ้ ขา้ ไปตรวจสอบ สถานท่ปี ฏบิ ัติงาน • ภาคผนวก 11 : ๕. ระงับเหตุ และประเมินสถานการณท์ ีเ่ กิดขึ้นในพ้นื ที่ ข้อมลู ติดตอ่ 6. หลัก หนว่ ยงานภายในท่ี พิจารณาวา่ สามารถควบคุมสถานการณ์ได้หรือไม่ ทมี บรหิ ารความ สำคัญ - กรณีทสี่ ามารถควบคุมได้สถานการณไ์ ด้ : ตอ่ เน่อื งด้านอาคาร/ • ภาคผนวก 12 : สรุปสถานการณ์และรายงานตอ่ คณะ สถานท่ีปฏบิ ตั งิ าน ขอ้ มลู การติดต่อ บรหิ ารความตอ่ เนื่องก่อนประกาศกลบั สู่ หนว่ ยงานภายนอก ภาวะปกติ หลกั ทีส่ ำคญั - กรณที ี่ไมส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ : ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกท่ี ทมี บริหารความ - เกยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ช่วยระงบั เหตุ เชน่ สถานี ต่อเนื่องดา้ นอาคาร/ ตำรวจ สถานีดบั เพลงิ เปน็ ตน้ และ สถานที่ปฏิบตั ิงาน ภาคผนวก 8 ดำเนนิ การต่อในขน้ั ตอนท่ี ๔ : แบบฟอรม์ การ หลัก รายงานสถานะ การ แจง้ หวั หน้าคณะบริหารความตอ่ เนอื่ ง เพ่ือพจิ ารณา หัวหนา้ คณะบริหาร แจง้ เหตผุ า่ น Call ประกาศภาวะฉกุ เฉนิ Tree ความตอ่ เน่ือง ประกาศภาวะฉกุ เฉิน และเรียกประชมุ คณะบริหาร - ความตอ่ เนื่อง ผ่านทางผัง Call Tree คณะบริหารความ ตอ่ เนื่อง ร่วมประเมินสถานการณ์โดยคำนงึ ระดบั ความ รุนแรงของสถานการณ์ ระยะเวลาในการควบคมุ สถานการณ์และผลกระทบต่อกรมสรรพสามติ

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนื่องภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๓๒(Business Continuity Plan of Excise Department) ข้นั ตอนที่ การดำเนินงาน ผดู้ ำเนนิ การ อา้ งองิ 7. คณะบรหิ ารความ • ภาคผนวก 11 : คณะบรหิ ารความต่อเน่อื งในแตล่ ะดา้ น ดำเนินการ ต่อเนือ่ งในแตล่ ะดา้ น ข้อมลู ตดิ ตอ่ 8. ดงั ตอ่ ไปนี้ หน่วยงานภายในท่ี 9. • ทมี ด้านอาคาร/สถานที่ปฏบิ ัติงานหลกั : รกั ษา หวั หน้าคณะบริหาร สำคญั ความตอ่ เน่ือง • ภาคผนวก 12 : ความปลอดภัยของอาคาร/สถานที่ภายใน ข้อมูลการติดต่อ บรเิ วณของกรมสรรพสามิต รวมถงึ อำนวยการ ทีมบรหิ ารความ หนว่ ยงานภายนอก ด้านการจราจร ต่อเนอ่ื งด้านคู่ค้า/ผู้ ทีส่ ำคัญ • ทมี ด้านวัสดุอปุ กรณ์ทส่ี ำคัญ : ให้การสนับสนนุ ให้บริการท่สี ำคัญ ดา้ นอุปกรณ์ในการจัดการเหตุ รวมถงึ เงิน และผู้ประสานงาน - สำรองในกรณฉี ุกเฉนิ ภายใน-ภายนอก • ทมี ดา้ นบุคลากรหลัก : ประสานงานกบั • ภาคผนวก 11 : โรงพยาบาลบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ปฐมพยาบาล องค์กร ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ เบือ้ งต้นให้แก่ผ้ไู ดร้ ับบาดเจ็บ และแจง้ ข่าวของ หนว่ ยงานภายในที่ ผ้ไู ดร้ ับบาดเจบ็ ให้ญาตริ ับทราบ สำคญั • ทมี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูลท่ี • ภาคผนวก 12 : สำคัญ : ประเมนิ สถานการณ์ของระบบงาน ข้อมูลการติดต่อ สำคัญและพจิ ารณาใชแ้ ผนสำรองฉุกเฉิน หนว่ ยงานภายนอก (Disaster Recovery Plan : DRP) ทส่ี ำคญั • ทีมด้านคู่ค้าและผปู้ ระสานงาน : แจ้งเหตุที่ เกดิ ขึ้นไปยงั บคุ ลากรทีเ่ กี่ยวข้องท้ังหมด พจิ ารณาวา่ สามารถควบคุมสถานการณ์ได้หรือไม่ - กรณที ีส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ : ประกาศกลบั สภู่ าวะปกติ และดำเนนิ การ ตอ่ ในขนั้ ตอนที่ 9 - กรณีท่ีไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้: ประกาศให้ผู้บริหารและพนกั งานทีอ่ ยู่ใน บริเวณสถานที่เกิดเหตอุ พยพไปยงั จุดรวม พล และดำเนนิ การต่อในขน้ั ตอนที่ ๑0 แจ้งให้ผเู้ กย่ี วข้องท้ังภายในและภายนอกทราบ

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนื่องภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๓๓(Business Continuity Plan of Excise Department) ข้ันตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผดู้ ำเนินการ อา้ งอิง 10. อำนวยความสะดวกในการอพยพผบู้ ริหารและ ทมี บรหิ ารความ - ๑1. บคุ ลากรออกจากสถานทีเ่ กดิ เหตุ รวมถงึ ตรวจสอบ ตอ่ เนื่องดา้ นอาคาร/ ผตู้ ิดค้างในสถานท่ีเกดิ เหตุ สถานทปี่ ฏิบัติงาน - ๑2. พิจารณาว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ไดห้ รือไม่ หลัก • ภาคผนวก 11 : - กรณีที่สามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : หวั หน้าคณะบริหาร ขอ้ มูลตดิ ตอ่ ประกาศกลับสู่ภาวะปกติ และดำเนนิ การ หน่วยงานภายในที่ ตอ่ ในขนั้ ตอนที่ ๑2 ความตอ่ เน่ือง สำคญั - กรณีที่ไม่สามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้: • ภาคผนวก 12 : ประกาศภาวะวิกฤต และส่ังการใหย้ ้ายไป ทมี บรหิ ารความ ขอ้ มลู การตดิ ต่อ ปฏบิ ตั ิงานท่ศี นู ย์ปฏิบตั งิ านสำรองของแต่ ต่อเนอ่ื งดา้ นคู่คา้ /ผู้ หนว่ ยงานภายนอก ละหน่วยงาน และดำเนนิ การต่อในขั้นตอน ใหบ้ ริการทสี่ ำคัญ ท่สี ำคัญ ท่ี ๑3 และผปู้ ระสานงาน ภายใน-ภายนอก แจง้ ให้ผู้เก่ียวข้องทง้ั ภายในและภายนอกทราบ องค์กร

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอื่ งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๓๔(Business Continuity Plan of Excise Department) ขั้นตอนที่ การดำเนินงาน ผู้ดำเนินการ อา้ งองิ คณะบริหาร • ภาคผนวก 11 : ๑3. คณะบริหารความต่อเนือ่ งในแตล่ ะดา้ น ดำเนนิ การ ความตอ่ เนื่อง ขอ้ มูลตดิ ต่อ หนว่ ยงานภายในท่ี ดงั ต่อไปนี้ ผ้รู ับผดิ ชอบศนู ย์ สำคญั ปฏบิ ัตงิ านสำรอง • ภาคผนวก 12 : • ทมี สนับสนนุ ด้านการบรหิ ารความตอ่ เน่ือง : บคุ ลากรตามแผน ขอ้ มลู การติดต่อ หนว่ ยงานภายนอก แจ้งไปยังหนว่ ยงานในสังกดั ให้ดำเนินการตาม BCP ที่สำคญั บคุ ลากรตามแผน ขัน้ ตอนที่ระบุไวใ้ นแผน BCP โดยดำเนนิ การต่อ • ภาคผนวก 11 : BCP ข้อมูลตดิ ตอ่ ในข้นั ตอนที่ ๑๖ บุคลากรตามแผน หนว่ ยงานภายในท่ี สำคญั • ทมี ดา้ นอาคาร/สถานท่ีปฏิบัติงานหลัก : BCP แผนบรหิ ารความ ต่อเนอ่ื งระดับ จัดเตรยี มยานพาหนะ และประสานงานไปยัง หนว่ ยงาน(BCP) แผนบรหิ ารความ ผู้รับผิดชอบศนู ยป์ ฏบิ ตั ิงานสำรองให้จัดเตรียม ตอ่ เนื่องระดบั หน่วยงาน(BCP) สถานที่ พร้อมอปุ กรณ์ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง อาทิ เชน่ แผนบริหารความ ตอ่ เน่อื งระดับ วสั ดุอปุ กรณท์ ่สี ำคญั ระบบเทคโนโลยี หน่วยงาน(BCP) สารสนเทศ เปน็ ตน้ • ทีมดา้ นวัสดุอปุ กรณท์ สี่ ำคญั : ตรวจสอบความ พรอ้ มของอปุ กรณ์สำนักงาน • ทมี ดา้ นบคุ ลากรหลกั : ตรวจสอบความพรอ้ ม ของบุคลากรหลักและบคุ ลากรทดแทนตามท่ี ระบุไวใ้ นแผน • ทีมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูลที่ สำคญั : ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื ให้พรอ้ มสำหรับ นำไปใชท้ ีศ่ ูนย์ปฏิบตั ิงานสำรอง ๑4. ตรวจสอบความพร้อมของศูนย์ปฏบิ ัตงิ านสำรองแต่ ละแห่ง เพื่อรองรบั การย้ายการปฏบิ ตั ิงานของกรม สรรพสามติ มายงั ศนู ยป์ ฏบิ ัตงิ านสำรอง ๑5. เดินทางไปยังศนู ยป์ ฏบิ ตั งิ านสำรองตามท่ีระบุไวใ้ น แผน BCP ของแต่ละหน่วยงาน ๑6. ตรวจสอบความพร้อมของการดำเนินงานในแต่ละ กระบวนการท่ศี นู ย์ปฏิบัติงานสำรอง และรายงาน ตอ่ คณะบรหิ ารความต่อเนื่อง ๑7. ปฏบิ ัตงิ านตามแผน BCP และรายงานไปยงั คณะ บริหารความต่อเน่ือง

¤ แผนบริหารความต่อเนอื่ งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๓๕(Business Continuity Plan of Excise Department) ข้นั ตอนท่ี การดำเนินงาน ผู้ดำเนนิ การ อ้างองิ ผรู้ ับผิดชอบศนู ย์ ภาคผนวก 11 : ๑8. ตรวจสอบความพร้อมของศนู ย์ฯและประสานงาน ปฏิบตั งิ านสำรอง ข้อมูลติดตอ่ หนว่ ยงานภายในท่ี กับทมี ด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบตั ิการหลัก เพ่ือ ผู้รบั ผดิ ชอบศนู ย์ สำคัญ ปฏิบัตงิ านสำรอง อำนวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน ผรู้ ับผดิ ชอบศนู ย์ - ปฏบิ ัติงานสำรอง 19. ดูแลความปลอดภัยของอาคาร/สถานท่ขี องศนู ย์ ภาคผนวก 11 : ปฏิบัติงานสำรองแต่ละแห่ง คณะบรหิ ารความ ขอ้ มูลติดตอ่ ต่อเนือ่ ง หนว่ ยงานภายในท่ี ๒0. รายงานการดำเนินงานใหค้ ณะบรหิ ารความต่อเน่ือง สำคัญ รบั ทราบอยา่ งต่อเน่ือง หวั ขอ้ 6 : ข้ันตอน การกลับสสู่ ภาวะ ๒1. ติดตามและบริหารจัดการกลบั สภู่ าวะปกติ โดย ปกติ คำนึงถงึ ความปลอดภยั ของบุคลากร ความพร้อม ของสถานทป่ี ฏิบัติงานและระบบงานหลักตาม ขนั้ ตอนการกลับส่ภู าวะปกติ

¤ แผนบริหารความต่อเนอื่ งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๓๖ (Business Continuity Plan of Excise Department) 4.1.2 ข้นั ตอนการดำเนนิ การเม่อื เกิดเหตกุ ารณ์ฉกุ เฉินในภาพรวม – ส่วนภูมิภาค ( -) 5 -) ( 1 ผู้พบเหตุ ร่วมประเมนิ สถานการณ์ แจ้งเหตไุ ปทที่ มี ฯดา้ นอาคาร/ สถานทปี่ ฏิบัตงิ านหลกั 2 ทีมดป้าฏนิบอตั าิงคาานรห/สลถักานที่ 6 ทีมดา้ นอาคาร/สถานที่ 6 ทมี ด้านวสั ดุอปุ กรณท์ ส่ี าคญั เขา้ ระงับเหตุในเบือ้ งต้นและ ปฏิบตั งิ านหลกั พิจารณาจัดซอ้ื จดั จ้าง ประเมินสถานการณ์ ในขณะเกดิ ภาวะฉกุ เฉนิ ดูแลรักษาความปลอดภยั ๓ ทมี ด้านอาคาร/สถานท่ี 6 ทีมดา้ นบคุ ลากรหลัก 6 ทมี ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ปฏิบัติงานหลกั ประสานงานโรงพยาบาล/ และข้อมลู ทส่ี าคัญ สรุปสถานการณแ์ ละรายงานตอ่ ? คณะบริหารความตอ่ เน่ือง ปฐมพยาบาล/แจ้งข่าวกับญาติ สือ่ สารขอ้ มลู ผา่ นหน้า Website ผูไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ เพ่อื ใหผ้ ู้ใชบ้ ริการรับทราบ (สว่ นภมู ภิ าค - พื้นท)ี่ 6 ทผมี ้ปู ดรา้ ะนสคาคู่น้างแาลนะ เผยแพร่ขา่ วสารใหบ้ คุ คลท้ัง ๓ ทีมด้านอาคาร/สถานท่ี ภายในและภายนอกรบั ทราบ ปฏิบัติงานหลัก สถานการณไ์ ปยังทิศทางเดยี วกนั ประสานงานหนว่ ยงาน ภายนอกเพอื่ เขา้ ระงบั เหตุ และแจง้ หัวหนา้ คณะฯ (ส่วนภมู ภิ าค - พ้นื ท)ี่ ๔ หวั หนา้ คณะฯ 7 (สว่ นภูมภิ าค - พืน้ ท)่ี 7 ( -) พจิ ารณาและประกาศ รายงานสถานการณไ์ ปยัง ? คณะบริหารความตอ่ เนื่อง ภาวะฉุกเฉนิ และเรียกประชมุ คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื งทันที (ส่วนภูมิภาค - ภาค) 7 -) ( พิจารณาอพยพไปยงั จดุ รวมพล 8 หัวหนา้ คณะฯ (ส่วนภมู ภิ าค - พ้นื ท)ี่ ประสานงานไปยัง คณะบรหิ ารความตอ่ เนือ่ ง (สว่ นภูมิภาค - ภาค)

¤ แผนบรหิ ารความต่อเนอื่ งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๓๗(Business Continuity Plan of Excise Department) ( - ) ( -) () 9 หัวหนา้ คณะฯ 10 หัวหนา้ คณะฯ (สว่ นภูมิภาค - ภาค) (สว่ นกลาง) พิจารณาสถานการณ์และรายงาน พจิ ารณาสถานการณ์และ ไปยงั คณะบริหารความต่อเน่ือง สัง่ การให้ยา้ ยไป 12 หวั หน้าคณะฯ (ส่วนกลาง) (ส่วนภมู ภิ าค - พ้ืนท)่ี ประกาศภาวะวิกฤตและ 11 หวั หน้าคณะฯ (ส่วนภมู ิภาค - ภาค) สัง่ การให้ยา้ ยไปปฏิบัตงิ านท่ี สถานทีส่ ารอง สัง่ การให้หวั หน้าคณะฯ(พื้นท)ี่ ประกาศภาวะวิกฤตและย้ายไปยงั สถานที่สารอง 13 ทมี ด้านอาคาร/สถานที่ 13 14 หัวหน้าคณะฯ ปฏิบตั งิ านหลัก (ส่วนภมู ภิ าค - ภาค) ตรวจสอบความพร้อมของ จดั เตรยี มยานพาหนะ/ บุคลากรหลักและ ประสานงานกับผู้รับผดิ ชอบ ประสานงานกบั ผ้รู ับผิดชอบ บุคลากรทดแทน สถานท่สี ารองเพอื่ เตรยี มความ ศูนย์ฯสารอง/กัน้ ผูใ้ ช้บริการที่ไม่ ทราบขอ้ มูลไม่ใหเ้ ข้ามาในพ้นื ที่ 13 ทีมดา้ นคคู่ า้ และ พร้อม 13ทมี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผปู้ ระสานงาน และข้อมูลท่ีสาคญั แจง้ ไปยงั แต่ละหนว่ ยงานให้ ประสานงานกับทีม IT ส่วน ดาเนนิ งานแผน BCP ภูมิภาคเพ่ือเตรียมความพร้อม ของอปุ กรณ์ดา้ น IT

¤ แผนบริหารความต่อเนื่องภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๓๘(Business Continuity Plan of Excise Department) ( -) () 1๕ ( -) เตรยี มความพร้อมด้านตา่ งๆ สาหรับให้บคุ ลากรตามแผน BCP ๑๖ หวั หนา้ คณะฯ (ส่วนภูมิภาค - ภาค) รายงาน สถานการณ์ให้คณะบริหาร ความตอ่ เนือ่ ง (สว่ นกลาง) ๑๗ หัวหน้าคณะฯ (สว่ นภูมิภาค - ภาค) ๑๘ หัวหนา้ คณะฯ ๑๙ คณะบรหิ ารความตอ่ เนือ่ ง (สว่ นภูมิภาค - ภาค) (ส่วนกลาง) ๑๘ รายงานสถานการณ์ให้คณะ บริหารความต่อเน่ือง (สว่ นกลาง) เขา้ ส่ังการและควบคุม ? เพ่ือเข้าควบคมุ สถานการณ์ สถานการณ์ เพ่อื กลบั สภู่ าวะ ปกติ ๑๘ ทีมดปา้ ฏนบิอัตางิคาานรห/สลถักานที่ สรุปสถานการณ์และรายงานตอ่ คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง (ส่วนกลาง) เพ่ือกลบั ส่ภู าวะปกติ

¤ แผนบริหารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๓๙(Business Continuity Plan of Excise Department) ขั้นตอนที่ การดำเนินงาน ผดู้ ำเนนิ การ อ้างองิ 1. เมอ่ื เกดิ เหตุการณ์ใด ๆ ข้นึ ท่ีพืน้ ที่ ใหแ้ จง้ เหตุที่ ผู้พบเหตุ - 2. เกิดขึ้นไปยงั ทีมด้านอาคาร/สถานท่ปี ฏบิ ัติงานหลัก 3. ของพื้นท่ี ทมี บรหิ ารความ - เม่ือทีมด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัตงิ านหลักได้รบั แจ้ง ตอ่ เนื่องดา้ น ๔. เหตุ ให้เข้าไปตรวจสอบ ระงับเหตุ และประเมนิ อาคาร/สถานที่ • ภาคผนวก 11 : ๕. สถานการณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนในพ้นื ที่ ปฏิบตั งิ านหลัก ข้อมูลตดิ ตอ่ ๖. ทมี บริหารความ หนว่ ยงานภายในท่ี พจิ ารณาว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ได้หรือไม่ ตอ่ เน่อื งด้าน สำคญั - กรณที ีส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ : อาคาร/สถานที่ • ภาคผนวก 12 : สรุปสถานการณ์และรายงานตอ่ คณะบรหิ าร ปฏิบัติงานหลัก ขอ้ มลู การตดิ ต่อ ความต่อเนื่อง (ส่วนภูมภิ าค – พืน้ ท่)ี หน่วยงานภายนอกที่ - กรณีที่ไมส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ : ทีมบริหารความ สำคัญ ประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกท่ี ต่อเนอ่ื งด้าน เกีย่ วขอ้ ง เพ่ือช่วยระงับเหตุ เชน่ สถานี อาคาร/สถานที่ - ตำรวจ สถานดี บั เพลงิ เป็นต้น และแจ้งต่อ ปฏิบตั งิ านหลกั หัวหนา้ คณะบริหารความต่อเนือ่ ง (สว่ น หวั หนา้ คณะบริหาร ภาคผนวก 8 ภมู ิภาค – พน้ื ท)่ี และดำเนินการต่อใน ความตอ่ เนื่อง : แบบฟอร์มการ ข้นั ตอนที่ ๔ (สว่ นภูมภิ าค – รายงานสถานะ การ แจ้งเหตผุ ่าน Call แจง้ หัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่อื ง (สว่ นภมู ภิ าค พ้ืนท่)ี Tree – พน้ื ที)่ เพ่ือพิจารณาประกาศภาวะฉกุ เฉนิ คณะบริหารความ - พิจารณาประกาศภาวะฉุกเฉินและเรยี กประชมุ คณะ ต่อเน่ือง บริหารความตอ่ เน่ือง (สว่ นภูมิภาค-พนื้ ท่ี) ผ่านทาง ผัง Call Tree (ส่วนภมู ภิ าค – พ้ืนท่ี) รว่ มประเมนิ สถานการณ์ โดยคำนึงถึงความรุนแรง ของสถานการณ์ ระยะเวลาในการควบคมุ สถานการณ์ และผลกระทบต่อการให้บริการ ประชาชน

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๔๐(Business Continuity Plan of Excise Department) ข้นั ตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผู้ดำเนินการ อ้างองิ คณะบริหารความ • ภาคผนวก 11 : ๗. คณะบริหารความต่อเนือ่ งในแต่ละดา้ น ดำเนินการ ขอ้ มลู ติดตอ่ ต่อเน่ือง หน่วยงานภายในท่ี ดังตอ่ ไปน้ี (ส่วนภูมิภาค – สำคัญ • ภาคผนวก 12 : • ทีมด้านอาคาร/สถานท่ีปฏิบตั ิงานหลัก : รักษา พื้นที่) ข้อมลู การตดิ ต่อ หน่วยงานภายนอกที่ ความปลอดภยั ของอาคาร/สถานที่ภายในบริเวณ คณะบริหารความ สำคญั ตอ่ เนื่อง ของกรมสรรพสามติ รวมถงึ อำนวยการด้าน • ภาคผนวก 11 : (สว่ นภูมิภาค – ข้อมลู ตดิ ต่อ การจราจร พื้นท)ี่ หนว่ ยงานภายในที่ สำคญั • ทมี ดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่สี ำคญั : ใหก้ ารสนับสนุน • ภาคผนวก 12 : ข้อมูลการติดต่อ ด้านอปุ กรณใ์ นการจดั การเหตุ และเงนิ สำรองใน หนว่ ยงานภายนอกท่ี สำคัญ กรณีฉุกเฉนิ รวมถึงการจัดซ้ือจดั จดั จา้ งในชว่ งที เกดิ ภาวะฉุกเฉนิ • ทีมด้านบคุ ลากรหลกั : ประสานงานกับ โรงพยาบาลบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ปฐมพยาบาล เบ้อื งต้นให้แก่ผู้ได้รับบาดเจบ็ และแจ้งข่าวของ ผไู้ ด้รบั บาดเจ็บใหญ้ าติรับทราบ • ทมี ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ท่สี ำคัญ: สื่อสารขอ้ มูลผา่ นหนา้ เวบ็ ไซต์ของกรม สรรพสามิตเพ่ือใหผ้ ูใ้ ชบ้ รกิ ารรบั ทราบถึง เหตกุ ารณ์ที่เกิดข้ึนรวมถงึ การเตรียมความพร้อม และให้การสนับสนุนการใชง้ านชุดปฏบิ ัตกิ าร เคลอื่ นที่ • ทีมด้านคู่ค้าและผู้ประสานงาน : เผยแพร่ ขา่ วสารทีเ่ กิดขึ้นใหผ้ เู้ กี่ยวข้องทั้งภายในและ ภายนอกรบั ทราบไปในทศิ ทางเดยี วกัน ๘. พิจารณาว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ไดห้ รือไม่ - กรณที ส่ี ามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : รายงานสถานการณ์ไปยังคณะบรหิ ารความ ตอ่ เน่อื ง (ส่วนภมู ภิ าค- ภาค) และทมี ด้าน อาคาร/สถานที่ สรุปสถานการณแ์ ละ รายงานต่อคณะบรหิ ารความตอ่ เนื่อง (สว่ น ภูมภิ าค – พืน้ ท่ี) เพ่ือประกาศกลบั สู่ภาวะ ปกติ - กรณีที่ไมส่ ามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : ประกาศใหผ้ ้บู รหิ ารและพนักงานท่ีอยู่ใน บรเิ วณสถานที่เกิดเหตุอพยพไปยงั จดุ รวม พล และดำเนนิ การต่อในขัน้ ตอนท่ี ๙

¤ แผนบรหิ ารความต่อเน่ืองภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๔๑(Business Continuity Plan of Excise Department) ขั้นตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผู้ดำเนนิ การ อา้ งอิง ๙. ประสานงานไปยงั คณะบริหารความต่อเนื่อง (ส่วน หวั หนา้ คณะบรหิ าร • ภาคผนวก 11 : ภมู ภิ าค – ภาค) ความตอ่ เนื่อง (ส่วน ข้อมูลตดิ ตอ่ ภูมภิ าค – พน้ื ท)่ี หนว่ ยงานภายในที่ สำคัญ ๑๐. พิจารณาสถานการณ์และรายงานไปคณะบริหาร หัวหนา้ คณะบริหาร • ภาคผนวก 11 : ความต่อเน่ือง (สว่ นกลาง) ความตอ่ เนื่อง (สว่ น ขอ้ มลู ตดิ ต่อ ภูมิภาค – ภาค) หนว่ ยงานภายในที่ สำคัญ ๑๑. พจิ ารณาสถานการณ์และส่งั การใหย้ า้ ยไปยังการ หัวหนา้ คณะบรหิ าร - ปฏบิ ัตงิ าน โดยอาจพจิ ารณาใชศ้ ูนย์ปฏบิ ตั ิงานสำรอง ความต่อเนื่อง หรือสถานที่ราชการใกล้เคยี งขน้ึ กับระยะเวลาและ (สว่ นกลาง) ความเหมาะสม ๑๒. ส่ังการใหห้ ัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง (สว่ น หัวหนา้ คณะบรหิ าร - ภมู ิภาค – พืน้ ท่)ี พิจารณาประกาศภาวะวิกฤตและ ความตอ่ เนื่อง (สว่ น ใหบ้ ุคลากรยา้ ยไปปฏิบตั ิงานที่ศนู ยป์ ฏิบัตงิ าน ภูมภิ าค – ภาค) สำรอง/ สถานท่รี าชการใกลเ้ คียงและดำเนินการต่อ ในขั้นตอนที่ ๑3 และ ๑4 ๑๓. ประกาศภาวะวิกฤตและสงั่ การให้บคุ ลากรยา้ ยไป หัวหน้าคณะบริหาร - ปฏบิ ัตงิ านตามแนวทางของส่วนภูมิภาค ความตอ่ เนื่อง (ส่วน ภูมิภาค – พ้ืนที)่ ๑๔. คณะบรหิ ารความต่อเนอื่ งในแต่ละดา้ น ดำเนินการ คณะบริหาร • ภาคผนวก 11 : ดังตอ่ ไปนี้ ความต่อเน่ือง ข้อมลู ติดต่อ • ทมี ด้านอาคาร/สถานท่ีปฏบิ ตั ิงานหลัก : หนว่ ยงานภายในที่ จัดเตรยี มยานพาหนะ และประสานงานไปยัง สำคญั ผรู้ บั ผดิ ชอบศูนย์ปฏิบตั งิ านสำรองให้จดั เตรียม • ภาคผนวก 12 : สถานที่ พร้อมอปุ กรณ์ที่เกย่ี วข้อง อาทิ เชน่ วัสดุ ข้อมูลการติดต่อ อปุ กรณ์ทีส่ ำคัญ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยงานภายนอกท่ี เป็นต้น รวมท้ังก้ันไม่ใหผ้ ู้ใช้บริการท่ีไมท่ ราบถงึ สำคญั เหตทุ ่ีเกดิ ขึน้ เขา้ มาในพ้ืนท่ี

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๔๒(Business Continuity Plan of Excise Department) ขนั้ ตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผู้ดำเนนิ การ อา้ งอิง • ทีมด้านบุคลากรหลัก : ตรวจสอบความพร้อม ของบุคลากรหลักและบคุ ลากรทดแทนตามที่ ระบุไวใ้ นแผน • ทมี ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูลทส่ี ำคญั ประสานงานกับทมี ฯด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ส่วนภมู ภิ าค-ภาค) • ทีมดา้ นคู่คา้ และผปู้ ระสานงาน : แจง้ ไปยงั แตล่ ะ หนว่ ยงานใหด้ ำเนินงานตามแผนBCP ท้ังนีใ้ ห้ ดำเนนิ การต่อในขน้ั ตอนท่ี 16 ๑๕. ประสานงานกบั ผู้รบั ผิดชอบศูนยป์ ฏิบัตงิ านสำรอง หัวหนา้ คณะบรหิ าร ภาคผนวก 11 : เตรียมความพรอ้ มในการย้ายการปฏิบัติงาน ความตอ่ เนื่อง (ส่วน ข้อมูลติดต่อ ภมู ิภาค – ภาค) หน่วยงานภายในท่ี สำคัญ ๑๖. เตรียมความพรอ้ มด้านต่าง ๆ เพื่อใหบ้ คุ ลากรตาม คณะบรหิ ารความ - แผน BCP ที่ยา้ ยมา สามารถปฏิบตั งิ านได้ ตอ่ เนื่อง ประกอบด้วย (สว่ นภูมภิ าค – - สถานที่ทำงาน ภาค) - วัสดุอปุ กรณ์ - ระบบสารสนเทศ - สงิ่ อำนวยความสะดวกอนื่ ๆ ๑๗. บรหิ ารจัดการเหตุที่เกดิ ขึน้ และรายงานสถานการณ์ที่ หัวหนา้ คณะบรหิ าร ภาคผนวก 11 : เกิดขนึ้ ให้คณะบริหารความต่อเน่ือง (สว่ นกลาง) ความต่อเนื่อง (ส่วน ขอ้ มูลตดิ ต่อ ทราบอยา่ งตอ่ เนื่อง ภูมิภาค – ภาค) หน่วยงานภายในที่ สำคัญ ๑๘. ประเมนิ สถานการณ์ของเหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขึ้น หัวหน้าคณะบรหิ าร - ความตอ่ เน่ือง (สว่ น ภูมภิ าค – ภาค)

¤ แผนบริหารความตอ่ เน่อื งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๔๓(Business Continuity Plan of Excise Department) ขนั้ ตอนที่ การดำเนินงาน ผ้ดู ำเนินการ อ้างอิง 1๙. พิจารณาว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ได้หรือไม่ คณะบริหารความ ภาคผนวก 11 : - กรณีท่สี ามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : ต่อเนื่อง ข้อมูลตดิ ต่อ ทมี บรหิ ารความต่อเน่ืองดา้ นอาคาร/สถานท่ี (ส่วนภมู ภิ าค – หน่วยงานภายในที่ ปฏิบตั ิงานหลัก สรปุ เหตกุ ารณ์และรายงาน ภาค) สำคัญ ต่อคณะบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง(สว่ นกลาง) และดำเนนิ การเขา้ สูภ่ าวะปกติ - กรณที ่ีไม่สามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : คณะบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง (ส่วนภมู ภิ าค – ภาค) รายงานสถานการณต์ ่อคณะบริหาร ความต่อเน่ือง(ส่วนกลาง) เพ่ือเข้าควบคุม สถานการณ์ ๒๐. เข้าควบคุมสถานการณ์และจัดการเหตเุ พ่ือกลบั สู่ คณะบรหิ ารความ หัวข้อ 6 : ขั้นตอน ภาวะปกติ โดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั ของบุคลากร ตอ่ เนือ่ ง (สว่ นกลาง) การกลบั สสู่ ภาวะ ความพร้อมของสถานท่ีปฏบิ ตั ิงานและระบบงาน ปกติ หลกั ตามขนั้ ตอนการกลับสู่ภาวะปกติ

¤ แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๔๔(Business Continuity Plan of Excise Department) 4.2 แนวทางการพิจารณาประกาศเหตกุ ารณ์ในแต่ละชว่ งเวลา แนวทางการจัดการเหตุและผู้มีอำนาจตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์โดยแบ่งเป็นส่วนกลาง และสว่ นภมู ิภาคสามารถแสดงไดด้ งั นี้ เหตุการณ์ รายละเอียด ผูม้ อี ำนาจพิจารณาและส่งั การ ส่วนกลาง สว่ นภูมภิ าค การประกาศ - เมอ่ื มีเหตุขัดข้องเกิดข้นึ และ หวั หนา้ คณะบรหิ าร หวั หนา้ คณะบริหาร ภาวะฉกุ เฉนิ ไม่สามารถจดั การเหตุน้ัน ๆ ได้ ความตอ่ เนื่อง ความตอ่ เน่ือง ต้องการการสนบั สนุนหรอื อำนาจ (ส่วนกลาง) (สว่ นภูมภิ าค) การตัดสนิ ใจจากภายนอก การประกาศอพยพ - ไม่สามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ หวั หนา้ คณะบริหาร หวั หน้าคณะบริหาร ความต่อเน่ือง ความตอ่ เนื่อง ไปยังจุดรวมพล และสถานการณ์อาจก่อให้เกิด (ส่วนกลาง) (สว่ นภมู ภิ าค) อนั ตรายต่อชวี ติ และทรัพย์สนิ หัวหนา้ คณะบริหาร หวั หน้าคณะบรหิ าร ความตอ่ เน่ือง ความตอ่ เนื่อง การประกาศ - ไมส่ ามารถควบคุมเหตุการณใ์ ห้ (ส่วนกลาง) (ส่วนกลาง) ภาวะวิกฤต จำกดั อยู่ในบริเวณได้ - บุคลากรของกรมสรรพสามิต ไม่สามารถปฏบิ ตั ิงานในสถานที่ ปฏบิ ัตงิ านหลกั ได้ การประกาศใช้ - เหตกุ ารณ์นัน้ ๆ สง่ ผลกระทบ หวั หน้าคณะบริหาร หวั หน้าคณะบริหาร แผน BCP อยา่ งรนุ แรงต่อการดำเนนิ งาน ความต่อเน่ือง ความตอ่ เน่ือง ทำใหธ้ รุ กจิ หยดุ ชะงัก (ส่วนกลาง) (สว่ นกลาง)

¤ แผนบริหารความต่อเน่อื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๔๕(Business Continuity Plan of Excise Department) 5. ขั้นตอนการดำเนินการเมื่อเกดิ เหตุการณฉ์ ุกเฉินในแต่ละเหตุการณ์ 5.1 เหตกุ ารณอ์ ัคคีภยั เม่อื เกดิ เหตุอัคคภี ยั ข้ึนกบั กรมสรรพสามติ ท้ังส่วนกลาง และส่วนภูมภิ าค ทีมงานที่ดแู ลด้านอาคาร/ สถานทป่ี ฏบิ ัตงิ านควรประเมนิ เหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขึ้น โดยพจิ ารณาหลกั เกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ี / รปู ท่ี 8 แสดงหลักเกณฑ์การประเมินเหตุการณอ์ คั คีภยั จากหลกั เกณฑ์การประเมินสถานการณ์อคั คีภัย อาจพจิ ารณาการดำเนนิ การในเบ้ืองต้นไดด้ ังน้ี รูปท่ี 9 แผนผังแสดงการดำเนนิ การในเบอื้ งตน้ ของเหตกุ ารณอ์ คั คภี ยั

¤ แผนบริหารความต่อเนอ่ื งภายใต้สภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามิต ๔๖(Business Continuity Plan of Excise Department) 5.1.1 การประเมนิ สถานการณเ์ มือ่ เกดิ เหตุการณ์อคั คีภยั พจิ ารณาความรุนแรง โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดบั ดังน้ี ▪ ระดบั ความรุนแรงข้ันต้น : เหตอุ คั คภี ัยส่งผลกระทบต่อตัวอาคารและสถานปฏิบัติงานใน ระดับต่ำ และสามารถดับไฟโดยใช้เครื่องมือดับเพลิงเบื้องต้นได้ภายในระยะเวลาอันส้ัน นับตั้งแตเ่ กิดประกายไฟ ▪ ระดับความรุนแรงปานกลาง : เหตุอัคคีภัยส่งผลกระทบต่อตัวอาคารและสถาน ปฏิบัติงานในระดับปานกลาง สามารถใช้เครื่องมือดับเพลิงเบื้องต้นในการดับไฟโดย อาศัยบุคคลากรที่มีความชำนาญได้ ทั้งนี้ จะต้องสามารถดับไฟได้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง นับตั้งแต่เกิดประกายไฟ โดยมีการพิจารณาให้อพยพไปยังจุดรวมพล และเฝ้าระวัง สถานการณเ์ พ่อื ให้ม่ันใจวา่ จะไมม่ แี นวโนม้ ที่ไฟจะลามไปบรเิ วณอื่น ▪ ระดับความรุนแรงสูง : เหตุอัคคีภัยก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาคาร สถานท่ี ปฏิบัติงาน รวมไปถึงสถานที่ข้างเคียงในระดับสูง โดยไฟอาจลุกลามขยายตัวไปทุก ทิศทางอย่างรุนแรงและรวดเร็วเนอื่ งจากมเี ชื้อเพลงิ ทีต่ ดิ ไฟงา่ ย การดับเพลิงจะต้องใช้ผู้ที่ ได้รับการฝึกพร้อมอุปกรณ์ในการระงับเหตุขั้นรุนแรงเท่านั้น โดยระยะเวลาที่ใช้ในการ ดับไฟอาจใช้เวลาค่อนข้างนาน นับตั้งแต่เกิดประกายไฟ โดยมีการพิจารณาการย้ายไป ปฏิบัติงานท่ีสถานทีป่ ฏิบัติงานสำรอง

¤ แผนบริหารความต่อเน่ืองภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๔๗ (Business Continuity Plan of Excise Department) 5.1.2 ขั้นตอนการดำเนินการระหว่างเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ กรณีอัคคีภยั – สว่ นกลาง ขัน้ ตอนการดาเนินการระหวา่ งเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ กรณีอัคคีภัย - ส่วนกลาง ๑ ๒ ๒ ? ๒ ผู้พบเหตุ กดสัญญาณเตือนไฟไหม้/ อพยพออกนอกบรเิ วณ ทีมดา้ นอาคาร/สถานที่ ปฏิบัติงานหลัก ส่ังการอพยพ ไปยงั จดุ รวมพลและ ประสานงานกบั ทมี ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ต่างๆ 4 ทีมดา้ นคู่คา้ และผู้ 4 ประสานงาน ทีมดา้ นบุคลากรหลกั ประสานงานไปยัง สื่อสารผา่ นระบบกระจายเสยี ง ให้บคุ ลากรในอาคารอพยพไป โรงพยาบาล/ปฐมพยาบาล ยังจุดรวมพล และควบคุมการ สาหรบั ผ้ไู ดร้ ับบาดเจบ็ เบ้อื งตน้ อบยพ 4 ทมี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4 ทมี ดา้ นอาคาร/สถานท่ี และขอ้ มูลสาคัญ ปฏบิ ตั งิ านหลัก ประเมนิ สถานการณ์ของ ควบคมุ เพลิง/ตดิ ต่อสถานี ระบบงานสาคัญและพิจารณา ดบั เพลงิ และรายงานตอ่ หวั หน้าคณะบรหิ ารความ ใช้แผนสารองฉกุ เฉนิ ตอ่ เน่ือง (DRP) ๕ คณะบร(ิหสาว่ รนคกวลาามงต)อ่ เน่อื ง พจิ ารณาประกาศภาวะฉกุ เฉิน ๖ คณะบรหิ ารความตอ่ เน่ือง (ส่วนกลาง) บรหิ ารจัดการเหตุ/ ประเมินสถานการณ์

¤ แผนบริหารความต่อเนอ่ื งภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามิต ๔๘(Business Continuity Plan of Excise Department) ข้นั ตอนการดาเนนิ การระหว่างเกดิ ภาวะฉกุ เฉนิ กรณอี ัคคีภัย - สว่ นกลาง 7 7 คณะบรหิ ารความต่อเน่ือง ? (สว่ นกลาง) 7 คณะบริหารความตอ่ เนอ่ื ง สรปุ เหตุการณ์และ (สว่ นกลาง) ประกาศกลับส่ภู าวะปกติ พจิ ารณาประกาศภาวะวกิ ฤต 8 ? 8 () บริหารจัดการเหตุ/ ประเมนิ สถานการณ์ 9 ? 9 คณะบร(ิหสา่วรนคกวลาามงต)่อเนือ่ ง สง่ั การใหใ้ ช้แผน BCP และ WARP 10 ประสานงานบคุ ลากรท่ี เกย่ี วขอ้ งในการดาเนินงาน ตามแผน BCP และ WARP 11 ทีมด้านอาคาร/สถานท่ี ปฏบิ ัติงานหลกั อานวยการอพยพบคุ ลากรไป ปฏิบตั งิ านยังศูนย์ ปฏบิ ตั ิงานสารอง 12 คณะบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง (สว่ นกลาง) บริหารจัดการเพ่อื กลบั สภู่ าวะปกติ

¤ แผนบรหิ ารความต่อเน่ืองภายใต้สภาวะวกิ ฤตของกรมสรรพสามติ ๔๙(Business Continuity Plan of Excise Department) ขัน้ ตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผู้ดำเนนิ การ อา้ งองิ ๑. ระงับเพลงิ ไหม้เบื้องตน้ โดยใช้อปุ กรณ์ดับเพลงิ ท่ีมีอยู่ ผพู้ บเหตุ ภาคผนวก 15 : บริเวณจดุ เกิดเหตุ โดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั เป็นสำคัญ แผนผงั อาคาร/ท่ตี ัง้ อปุ กรณ์ดบั เพลิง ๒. พจิ ารณาว่า สามารถดับเพลงิ ไดห้ รอื ไม่ ผพู้ บเหตุ ภาคผนวก 11 : ข้อมลู - กรณที ่ีผู้พบเหตสุ ามารถดับเพลงิ ได้ด้วยตนเอง : ให้ การติดต่อหน่วยงาน ภายในทีส่ ำคญั สรปุ เหตุการณ์และแจ้งต่อผเู้ กี่ยวข้อง - กรณีทผี่ ู้พบเหตุไมส่ ามารถดบั เพลิงได้ด้วยตนเอง : เน่อื งจากไฟไหม้ทีเ่ กิดขนึ้ มีความรุนแรง ให้กดปุ่ม สญั ญาณเตือนไฟไหม้ อพยพออกนอกบริเวณ และ ดำเนนิ การขน้ั ตอนที่ ๓ ๓. สั่งการเพื่ออพยพไปยังจุดรวมพล แจง้ ไปยงั หัวหนา้ คณะ ทีมบริหาร • ภาคผนวก 8 : บรหิ ารความต่อเน่ือง (ส่วนกลาง) และประสานงานกับทมี ความตอ่ เน่ืองด้าน แบบฟอร์มการ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง อาคาร/ รายงานสถานะ สถานที่ การแจง้ เหตผุ า่ น ปฏิบตั ิงานหลัก Call Tree • ภาคผนวก 9 : เสน้ ทางอพยพและ จดุ รวมพล • ภาคผนวก 15 : แผนผงั อาคาร/ ท่ตี ัง้ อปุ กรณ์ ดับเพลงิ 4. คณะบรหิ ารความต่อเน่อื งในแตล่ ะด้าน ดำเนินการ คณะบริหาร • ภาคผนวก 11 : ดงั ตอ่ ไปน้ี ความต่อเน่ือง ขอ้ มูลติดต่อ • ทีมดา้ นอาคาร/สถานทีป่ ฏิบัติงานหลัก : ควบคมุ เพลงิ หน่วยงานภายในที่ ไมใ่ ห้ลุกลาม พร้อมทั้งประสานงานไปยังสถานดี บั เพลงิ สำคญั และรายงานสถานการณ์ให้หัวหนา้ คณะบรหิ ารความ • ภาคผนวก 12 : ตอ่ เนอื่ งทราบ ข้อมลู การตดิ ต่อ • ทมี ด้านบคุ ลากรหลัก : ประสานงานกับโรงพยาบาล หนว่ ยงานภายนอก บริเวณใกลเ้ คียง ปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ใหแ้ ก่ ท่สี ำคัญ ผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ และแจ้งขา่ วของผู้ได้รับบาดเจบ็ ให้ ญาติรบั ทราบ • ทีมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ท่ีสำคัญ : ประเมินสถานการณ์ของระบบงานสำคัญและพจิ ารณา ใชแ้ ผนสำรองฉุกเฉิน (Disaster Recovery Plan : DRP)

¤ แผนบริหารความตอ่ เนอ่ื งภายใตส้ ภาวะวิกฤตของกรมสรรพสามติ ๕๐(Business Continuity Plan of Excise Department) ขน้ั ตอนท่ี การดำเนนิ งาน ผู้ดำเนินการ อา้ งอิง • ทีมดา้ นคู่คา้ และผูป้ ระสานงาน : สือ่ สารใหบ้ คุ ลากรทกุ คณะบริหาร หัวขอ้ 4.2 : แนว คนในอาคารผา่ นระบบกระจายเสยี ง โดยใหอ้ พยพไป ความต่อเนื่อง ทางการพจิ ารณา (ส่วนกลาง) ประกาศเหตกุ ารณ์ใน ยงั จดุ รวมพลหรือสถานท่ีปลอดภยั แตล่ ะชว่ งเวลา คณะบรหิ าร หลักเกณฑก์ ารประเมนิ 5. พจิ ารณาประกาศภาวะฉุกเฉิน ความต่อเน่ือง สถานการณ์อคั คภี ัย (ส่วนกลาง) 6. ร่วมประเมินสถานการณ์/ จัดการเหตุ คณะบรหิ าร • หัวขอ้ 4.2 : แนว ความตอ่ เนื่อง ทางการพจิ ารณา 7. พจิ ารณาวา่ สามารถควบคมุ สถานการณ์ไดห้ รือไม่ (ส่วนกลาง) ประกาศเหตกุ ารณ์ - กรณที ่สี ามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ : คณะ ในแตล่ ะช่วงเวลา บรหิ ารความต่อเนื่อง สรุปเหตกุ ารณแ์ ละประกาศ คณะบริหาร กลบั สูภ่ าวะปกติ ความตอ่ เน่ือง • หวั ขอ้ 6 : ขนั้ ตอน - กรณีที่ไมส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ : พิจารณา (ส่วนกลาง) การกลบั สูภ่ าวะ ประกาศภาวะวิกฤต ปกติ คณะบริหาร 8. พิจารณาประกาศภาวะวิกฤตหรอื ไม่ ความตอ่ เน่ือง หัวขอ้ 4.2 : แนว - กรณไี มป่ ระกาศภาวะวิกฤต : บริหารจดั การเหตุ (สว่ นกลาง) ทางการพิจารณา เพอ่ื กลับสภู่ าวะปกติ ประกาศเหตุการณ์ใน - กรณปี ระกาศภาวะวกิ ฤต : ดำเนนิ การบรหิ าร แตล่ ะชว่ งเวลา จัดการเหตทุ ่เี กดิ ข้นึ และประเมินสถานการณ์ หัวข้อ 4.2 : แนว 9. พจิ ารณาวา่ สถานการณด์ ังกล่าวทำให้ธรุ กจิ หยุดชะงัก ทางการพิจารณา หรือไม่ ประกาศเหตกุ ารณใ์ น - กรณไี มส่ ง่ ผลกระทบใหธ้ ุรกจิ หยดุ ชะงัก : บรหิ าร แต่ละช่วงเวลา จดั การเหตเุ พื่อกลบั สู่ภาวะปกติ - กรณีสง่ ผลกระทบใหธ้ ุรกิจหยุดชะงัก : ส่ังการใช้ แผน BCP และ WARP


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook