Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวบ่งชี้การประเมินสายสนับสนุน ปีการศึกษา 2561

ตัวบ่งชี้การประเมินสายสนับสนุน ปีการศึกษา 2561

Published by suwimol.i, 2019-08-14 01:12:09

Description: อ.สุวิมล อิสระธนาชัยกุล
สำนักงานประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Search

Read the Text Version

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เร่อื ง เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพหนว่ ยงาน สายสนบั สนุน ปีการศึกษา 2561 วนั ที่ 9 สงิ หาคม 2562 เวลา 08.30-12.00 น. ณ หอ้ งประชุมหลูหุ้ย อาคารบรรณาราชนครินทร์ ช้นั 6

2 ส.ค. 2562 3 ส.ค. 2562 สถาบนั วิจัยและ สานักวิทยบริการ พัฒนาชายแดน และเทคโนโลยี ภาคใต้ สารสนเทศ 4 ส.ค. 2562 สานักงาน อธิการบดี

ตวั บ่งช้ีและเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพ การศึกษาภายในสาหรับหน่วยงานสายสนบั สนุน ปกี ารศึกษา 2561

ตัวบ่งชี้ หนว่ ยงานที่ตอ้ งรายงาน สนอ. สวพ. สวท. มรย. 1 ร้อยละของตวั ชี้วัดทีบ่ รรลเุ ปา้ หมายตามแผนปฏบิ ัติราชการประจาปี / // // มรย. 2 ร้อยละของผรู้ ับบริการทีม่ คี วามพงึ พอใจต่อการใชบ้ ริการอยูใ่ นระดับมากขึ้นไป / // // มรย. 3 ร้อยละของระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารและบริการท่ีนามาใช้ในองค์กรและบรรลุเป้าหมาย / / / มรย. 4 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ / / / มรย. 5 ระบบและกลไกการบริหารและพฒั นางานวิจยั หรอื งานสร้างสรรค์ / // มรย. 6 เงินสนบั สนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรค์ // มรย. 7 ผลงานทางวชิ าการของนกั วจิ ัย 11 6 มรย. 8 การบริการวิชาการแก่สงั คม มรย. 9 ระบบและกลไกการทานุบารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม มรย. 10 การบริหารของหน่วยงานเพื่อการกากับติดตามผลลัพธ์ตามพนั ธกิจและเอกลักษณ์ของ / หนว่ ยงาน มรย. 11 การบรกิ ารนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี / มรย. 12 กจิ กรรมนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี / มรย. 13 รอ้ ยละของผบู้ รหิ ารและบุคลากรได้รับการพฒั นาสมรรถนะและมผี ลการนาไปประยุกตใ์ ช้ / รวม 8

คำนิยำมศพั ท ์

การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT : KM) • การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือ เอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ องคก์ รมคี วามสามารถในเชิงแข่งขนั สูงสดุ

การบรู ณาการ (INTEGRATION) • การผสมกลมกลืนของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจัดสรร ทรัพยากรการ ปฏิบัติการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ท่ีสาคัญของ สถาบัน (ORGANIZATION-WIDE GOAL) การบูรณาการที่มีประสิทธิผล เป็น มากกว่าความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (ALIGNMENT) ซ่ึงการดาเนินการ ของแต่ละองค์ประกอบภายใน ระบบการจัดการ ผลการดาเนินการมีความ เชอ่ื มโยงกันเปน็ หนึ่งเดียวอยา่ งสมบรู ณ์

แนวปฏิบตั ิทีด่ ี • วิธีปฏิบัติ หรือข้ันตอนการปฏิบัติที่ทาให้สถาบันประสบความสาเร็จ หรือสู่ความ เป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพน้ันๆ มีหลักฐาน ของความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ บันทึกเป็นเอกสาร เผยแพร่ให้หน่วยงาน ภายในหรอื ภายนอกสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้

แผนกลยุทธ์ • แผนระยะยาวของสถาบันโดยท่ัวไปมกั ใช้เวลา 5 ปี เป็นแผนทกี่ าหนดทิศทางการ พัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ประกอบไปด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่าง ๆ ของสถาบันควรคลอบคลุมทุกภารกิจของสถาบันซึ่งต้อง มีการกาหนดตัวบ่งชี้ ความสาเร็จของแต่ละกลยุทธ์และค่าเป้าหมายของตัวบ่งช้ีเพ่ือวัดระดับ ความสาเร็จของการดาเนินงานตามกลยุทธ์โดยสถาบันนาแผนกลยุทธ์มาจัดทา แผนดาเนินงานหรอื แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี

แผนกลยุทธท์ างการเงิน • แผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทางการเงินของสถาบันท่ีสามารถผลักดันแผนกล ยุทธ์ของสถาบันให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทางการเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน สถาบันควรประเมินความต้องการทรัพยากรที่ต้องจัดหาสาหรับการดาเนินงานตามกลยุทธ์ แต่ละกลยุทธ์และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็นเงินทุนที่ต้องการใช้ ซ่ึงจะเป็นความ ต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาทสี่ ถาบันใช้ในการดาเนินการใหก้ ลยุทธ์น้ันบงั เกิดผล จากนั้น จึงจะกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ต้องการใช้ว่าสามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุน ใด เช่น รายได้คา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา งบประมาณแผ่นดนิ หรอื เงินอุดหนุนจากรฐั บาล เงินทุนสะสม ของหน่วยงาน เงินบริจาคจากหน่วยงานภายนอกหรือศิษย์เก่า หรือสถาบันจะต้องมีการระดมทุน ด้วยวิธีการอ่ืนๆ อีกเพิ่มเติม เช่น การแปลงทรัพย์สินทางปัญญาเป็นมูลค่า รวมท้ังมีการวิเคราะห์ ต้นทุน ของการดาเนินงานด้วย เช่น ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตในแต่ละหลักสูตร โดยท่ี ระยะเวลาของแผนกลยุทธท์ างการเงินจะเทา่ กับระยะเวลาของแผนกลยุทธข์ องสถาบัน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี • แผนระยะสน้ั ท่มี ีระยะเวลาในการดาเนินงานภายใน 1 ปี เปน็ แผนที่ถา่ ยทอดแผน กลยุทธ์ลงสู่ภาคปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดการดาเนินงานจริงตามกลยุทธ์ ประกอบด้วย โครงการหรือกจิ กรรมต่าง ๆ ที่จะตอ้ งดาเนินการในปีน้ันๆ เพ่ือให้บรรลุเปา้ หมาย ตามแผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการหรือกิจกรรม ค่าเป้าหมายของ ตัวบ่งช้ีเหล่านั้น รวมท้ังมีการระบุผู้รับผิดชอบหลักหรือหัวหน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนินการรายละเอียดและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดาเนิน โครงการทช่ี ดั เจน

พิชญพิจารณ์ (PEER REVIEW) • การตรวจเยี่ยมโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ซึ่ง สามารถให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเชิงพัฒนาแก่สถาบันอุดมศึกษาในการ พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมีคุณภาพและสอดคล้องตามเกณฑ์ มาตรฐานที่กาหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ข้อเสนอแนะในเชิงพัฒนาแก่ สถาบันอดุ มศึกษา

ระบบและกลไก • ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทา อะไรบ้างเพื่อใหไ้ ด้ผลออกมาตามท่ีต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏ ให้ทราบโดยท่ัวกันไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดย วิธีการอื่น ๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต และขอ้ มูลป้อนกลบั ซึง่ มคี วามสัมพันธ์เช่อื มโยงกนั • กลไก หมายถึง ส่ิงท่ีทาให้ระบบมีการขับเคล่ือนหรือดาเนินอยู่ได้ โดยมีการ จัดสรรทรัพยากร มกี ารจัดองค์การหน่วยงาน หรือกลมุ่ บคุ คลเป็นผ้ดู าเนินงาน

หน่วยงานหรอื องคก์ ารระดบั ชาติ • หน่วยงานภายนอกสถาบันระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป (เช่น ระดับจังหวัด) หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน หรือบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ หรือองค์การกลางระดับชาติท้ังภาครัฐและเอกชน (เช่น สภา อตุ สาหกรรม สภาหอการคา้ สภาวิชาชพี )

หลักธรรมาภบิ าล • การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไปใน ครรลองธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซ่ึงสามารถนาไปใช้ได้ ทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมท่ีใช้ในการบริหารงานนี้มีความหมายอย่างกว้างขวาง กลา่ วคือ หาไดม้ ีความหมายเพยี งหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซ่ึงวิญญูชนพึงมีและพึง ประพฤตปิ ฏิบตั ิ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจาก องคก์ ารภายนอก

ตวั บ่งช้แี ละเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปีการศกึ ษา 2561

ตัวบ่งช้ี มรย. ท่ี 1 ร้อยละของตัวชวี้ ดั ทบ่ี รรลเุ ป้าหมายตาม แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี • การเกบ็ ข้อมูล ปงี บประมาณ • คาอธิบายตวั บ่งชี้ พจิ ารณาจากร้อยละของการบรรลเุ ปา้ หมายตามตวั ชว้ี ดั ของแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (ตัวชว้ี ัดตามแผนปฏิบัติราชการครอบคลมุ ตวั ช้วี ดั ทีไ่ ดร้ บั การถา่ ยทอดจากมหาวทิ ยาลัยในปีงบประมาณ 2562 โดยพิจารณาตัวชีว้ ัด รอ้ ยละ 100) • เกณฑก์ ารประเมนิ ใชบ้ ญั ญัติไตรยางศเ์ ทียบ โดยกาหนดร้อยละ 100 เทา่ กบั 5 คะแนน • สตู รการคานวณ ตวั ช้ีวัดทบี่ รรลุเปา้ หมายตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 100 ตัวชว้ี ัดตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปีท้ังหมด

ตัวบง่ ช้ี มรย. ท่ี 2 รอ้ ยละของผ้รู บั บรกิ ารที่มีความพงึ พอใจตอ่ การ ใช้บรกิ ารอยใู่ นระดบั ดีมากขน้ึ ไป • การเกบ็ ขอ้ มลู ปีการศึกษา • คาอธิบายตัวบง่ ชี้ ความพงึ พอใจทมี่ ตี อ้ การใชบ้ รกิ าร หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษา อาจารย์ บุคลากร ศษิ ยเ์ ก่า บคุ คลภายนอก ทมี่ ีประสบการณใ์ ช้บริการของหน่วยงานในสงั กัด ของมหาวทิ ยาลยั ร้อยละของผู้รบั บรกิ ารพงึ พอใจระดบั ดี หมายถึง จานวนผ้ตู อบแบบ ประเมนิ มคี วามพงึ พอใจ ระดับดีขึ้นจากจานวนผตู้ อบแบบประเมนิ ทงั้ หมดโดยระดับ การประเมินความพึงพอใจแบง่ เป็น 4 ระดบั ไดแ้ ก่ ควรปรับปรงุ นอ้ ย มาก และมากท่ีสุด • เกณฑก์ ารประเมนิ 1 2 3 45 • มผี ลการประเมินความ • มผี ลการประเมิน • มีผลการประเมินความ • มีผลการประเมิน • มีผลการประเมนิ พึงพอใจของผู้รับบริการ ความพงึ พอใจ ของ พึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร ความพึงพอใจของ ความพงึ พอใจของ อยูใ่ นระดบั มากขนึ้ ไป ไม่ ผู้รบั บริการ อยใู่ น อยูใ่ นระดับมากข้นึ ไป ผูร้ ับบรกิ าร อย่ใู น ผู้รับบรกิ าร อยู่ใน น้อยกวา่ รอ้ ยละ 75 ระดบั มากข้นึ ไป รอ้ ย ร้อยละ 80 - 84.99 ระดับมากข้ึนไป ระดับมากข้ึนไป ละ 75-79.99 รอ้ ยละ 85 - 89.99 มากกว่า ร้อยละ 90 หมายเหตุ ไดป้ รับเกณฑก์ ารประเมนิ ใหส้ อดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมายของแผนปฏบิ ตั ริ าชการของมหาวทิ ยาลยั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 3 ร้อยละของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและ บริการที่นามาใชใ้ นองค์กรและบรรลุเป้าหมาย (ทุกหนว่ ยงาน) • การเกบ็ ข้อมูล ปีการศกึ ษา • คาอธิบายตัวบ่งช้ี ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริการ บริหารและตัดสินใจ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นเอง หรือจัดหาและนามาใช้ในการให้บริการ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือนามาใช้สาหรับการบริหาร สนับสนุนการตัดสินใจของ ผู้บริหาร ร้อยละของความสาเร็จ คือ การประเมินจากเป้าหมายจานวนรวมของ ระบบสารสนเทศตามแผนไอซีทีของมหาวิทยาลัยท่ีจะพัฒนาหรือจัดหาระบบ สารสนเทศมาใช้ในองค์กรในระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-2569) โดยนับเฉพาะที่มี ความสาเร็จในการนามาใช้อย่างต่อเนื่องและมีการประเมินผลคุณภาพหรือความพึง พอใจการใชร้ ะบบ

ตวั บ่งช้ี มรย. ที่ 3 รอ้ ยละของระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร และบริการท่ีนามาใช้ในองค์กรและบรรลุเป้าหมาย (ทุกหน่วยงาน) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. หน่วยงานมรี ะบบสารสนเทศ (จากการนาเสนอของหนว่ ยงานอาจจะไม่ใช่เป็นผู้พฒั นา เอง หรอื จากการซอ้ื ระบบมาใช้งานเอง) เพอ่ื การดาเนินงานของหน่วยงาน 2. มีการใช้งานและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันเพื่อประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจหน่วยงาน 3. สามารถนาข้อมูลจากการพัฒนาหรือปรบั ปรงุ ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือเพม่ิ คุณภาพในการ ดาเนินงานของหน่วยงานและสามารถนาไปใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจของ ผบู้ ริหารได้ 4. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใชข้ ้อมลู หรอื ระบบสารสนเทศ 5. มีการนาผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้มาปรับปรงุ ข้อมลู หรือระบบสารสนเทศ

ตัวบง่ ชี้ มรย. ท่ี 3 รอ้ ยละของระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ าร และบรกิ ารท่ีนามาใชใ้ นองค์กรและบรรลุเป้าหมาย (ทกุ หน่วยงาน) • เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน คะแนน 5 มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มีการดาเนนิ การ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ

ตัวบ่งช้ี มรย. ที่ 4 สิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ (ทุกหนว่ ยงาน) • การเก็บข้อมูล ปกี ารศึกษา • คาอธบิ ายตัวบง่ ช้ี ความพร้อมของส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอนมีหลาย ประการ ได้แก่ ความพร้อมทางกายภาพเช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ท่ีพักของ นักศึกษา ฯลฯ และความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และส่ิงอานวยความสะดวก หรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด หนังสือ ตารา ส่ิงพิมพ์วารสาร ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ส่ิงสนับสนุนเหล่านี้ต้องมีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพพร้อมใช้งาน ทันสมัยโดย พิจารณาการดาเนินการปรับปรุงพัฒนาจากผลการประเมินความพึงพอใจของ นักศกึ ษาและอาจารย์

ตัวบง่ ชี้ มรย. ที่ 4 สิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้ (ตอ่ ) ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้นี ี้ ให้อธิบายกระบวนการหรอื แสดงผลการ ดาเนนิ งาน อย่างนอ้ ยใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ • ระบบการดาเนินงานของหนว่ ยงานโดยมสี ว่ นร่วมของอาจารยแ์ ละบคุ ลากร ในมหาวิทยาลยั เพื่อใหม้ ีสง่ิ สนับสนนุ การเรียนรู้ • จานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียน การสอน • กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษาและ อาจารยต์ ่อสง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ในการประเมินเพอื่ ให้ทราบวา่ อยู่ในระดบั คะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการ ดาเนินงานทง้ั หมดท่สี ะทอ้ นการจัดเตรียมสิ่งสนับสนนุ การเรียนร้ทู ีจ่ าเปน็ ตอ่ การเรยี นการสอน และสง่ ผลให้ผ้เู รียนสามารถเรียนรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล

ตวั บ่งชี้ มรย. ท่ี 4 สิ่งสนับสนนุ การเรยี นรู้ (ตอ่ ) • เกณฑก์ ารประเมนิ 012 3 45 • มีระบบ มีกลไก • ไมม่ ีระบบ • มีระบบ มกี ลไก • มีระบบ มีกลไก • มกี ารนาระบบ • มรี ะบบ มี กลไก • มรี ะบบ มี กลไก • ไม่มีกลไก • ไม่มกี ารนาระบบ • มีการนาระบบ กลไกไปสู่การ • ไม่มีแนวคดิ ใน กลไกไปสู่ กลไกไปสู่การ ปฏบิ ตั /ิ • มกี ารนาระบบ • มกี ารนาระบบกลไกไปสกู่ าร การกากับ การปฎิบตั /ิ ปฏบิ ัต/ิ ดาเนนิ งาน ตดิ ตามและ ดาเนินงาน ดาเนินงาน • มีการประเมิน กลไกไปสู่การ ปฏบิ ัต/ิ ดาเนินงาน ปรบั ปรุง กระบวนการ • ไมม่ ขี อ้ มลู ปฏบิ ัติ/ • มีการประเมิน หลักฐาน ดาเนินงาน กระบวนการ • มกี ารประเมิน • มกี ารปรบั ปรงุ / กระบวนการ พัฒนากระบวนการจากผลการ • มีการปรบั ปรงุ / ประเมิน พฒั นากระบวนการ • มีผลจากการปรบั ปรุงเห็น จากผลการประเมิน ชัดเจนเปน็ รปู ธรรม

ตัวบ่งชี้ มรย. ที่ 5 ระบบและกลไกการบรหิ ารและ พัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (สาหรับสถาบันจัยฯ) • การเก็บข้อมลู ปีการศึกษา • คาอธิบายตวั บง่ ชี้ สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการบริหารจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีมี คุณภาพโดยมีแนวทางการดาเนินงานที่เป็นระบบและมีกลไกส่งเสริมสนับสนุ นครบถ้วนเพ่ือให้ สามารถดาเนินการได้ตามแผนที่กาหนดไว้ทั้งการสนับสนุนด้านการจัดหาแห ล่งทุนวิจัยและการ จัดสรรทุนวิจัยจากงบประมาณของสถาบันให้กับบุคลากรส่งเสริมพัฒนาสมรรถนะแก่อาจารย์และ นักวิจัยการสนับสนุนทรัพยากรที่จาเป็นซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคลทรัพย ากรการเงินเคร่ืองมือ อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวของต่างๆตลอดจนจัดระบบสร้างขวัญและกาลังใจแก่นักวิ จัยอย่างเหมาะสม ตลอดจนมีระบบและกลไกเพ่ือช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชน์

ตวั บ่งช้ี มรย. ที่ 5 ระบบและกลไกการบริหารและ พัฒนางานวิจยั หรืองานสรา้ งสรรค์ (ตอ่ ) • เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานวิจัยท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการ บริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2. สนบั สนนุ พันธกิจดา้ นการวจิ ัยหรอื งานสร้างสรรค์ในประเด็นตอ่ ไปน้ี - ห้องปฏิบัติการหรือห้องปฏิบัติงานสร้างสรรค์ หรือหน่วยวิจัยหรือศูนย์เคร่ืองมือ หรอื ศนู ยใ์ ห้คาปรึกษาและสนบั สนุนการวจิ ัยหรอื งานสร้างสรรค์ - หอ้ งสมุดหรอื แหล่งค้นควา้ ขอ้ มลู สนับสนนุ การวจิ ัยหรอื งานสรา้ งสรรค์ - สง่ิ อานวยความสะดวกหรอื การรกั ษาความปลอดภัยในการวิจัยหรือการผลิตงาน สร้างสรรคเ์ ช่นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศระบบรกั ษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัตกิ าร - กจิ กรรมวชิ าการที่สง่ เสรมิ งานวิจัยหรอื งานสรา้ งสรรค์เชน่ การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือศาสตรา จารย์รับเชิญ (VISITING PROFESSOR)

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 5 ระบบและกลไกการบรหิ ารและ พฒั นางานวิจยั หรืองานสรา้ งสรรค์ (ต่อ) • เกณฑม์ าตรฐาน (ตอ่ ) 3. จดั สรรงบประมาณเพอื่ เปน็ ทุนวิจัยหรืองานสรา้ งสรรค์ 4. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการ ประชุมวชิ าการหรือการตีพมิ พใ์ นวารสารระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 5. มีการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยมีการสร้างขวัญและกาลังใจตลอดจนยกย่องนักวิจัยที่มี ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เดน่ 6. มีระบบและกลไกเพ่ือช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ ประโยชนแ์ ละดาเนนิ การตามระบบท่กี าหนด • เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มีการดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 - 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้

ตัวบ่งช้ี มรย. ที่ 6 เงินสนับสนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรค์ (สาหรับสถาบันจัยฯ) • การเก็บข้อมลู ปงี บประมาณ • คาอธิบายตัวบ่งชี้ ปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการผลิตงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ในสถาบันอุดมศึกษาคือเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสร รค์ดังน้ัน สถาบันอุดมศึกษาจึงต้องจัดสรรเงินจากภายในสถาบันและท่ีได้รับจากภายนอกสถาบัน เพ่ือสนับสนุนการทาวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างมปี ระสิทธิภาพตามสภาพแวดล้อมและ จดุ เนน้ ของสถาบัน นอกจากน้ันเงินทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ท่ีสถาบันวิจัยฯ ได้รับจากแหล่งทุน ภายนอกสถาบนั ยงั เป็นตัวบ่งชที้ ีส่ าคัญท่แี สดงถงึ ศักยภาพด้านการวจิ ัยของสถาบันวิจยั ฯ

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 6 เงินสนับสนนุ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (ตอ่ ) • เกณฑ์การประเมนิ โดยการแปลงจานวนเงนิ ตอ่ นักวิจยั ประจาเปน็ คะแนนระหว่าง 0 – 5 • เกณฑเ์ ฉพาะกลมุ่ ข กลุ่มสาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนเงินสนับสนนุ งานวิจัยหรืองานสรา้ งสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบนั ทีก่ าหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = 25,000 บาทข้ึนไปต่อคน

ตัวบง่ ช้ี มรย. ท่ี 6 เงนิ สนบั สนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ (ต่อ) • สูตรการคานวณ 1. คานวณเงินสนับสนนุ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบนั ตอ่ จานวนนักวิจัย จานวนเงินสนบั สนุนงานวิจยั ฯ = จานวนเงนิ สนับสนุนงานวจิ ยั ฯ จากภายในและภายนอก จานวนนกั วิจยั 2. แปลงจานวนเงินทค่ี านวณได้ในขอ้ 1 เทียบคะแนนเต็ม 5 คะแนนทไี่ ด้ = จานวนเงินสนบั สนนุ งานวจิ ยั ฯ จากภายในและภายนอก 5 จานวนเงินสนับสนนุ งานวิจัยฯ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

ตัวบ่งช้ี มรย. ท่ี 6 เงนิ สนบั สนุนงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ (ต่อ) • หมายเหตุ 1. จานวนนกั วจิ ยั ใหน้ ับตามปกี ารศกึ ษา และนับเฉพาะที่ปฏบิ ัตงิ านจรงิ ไม่นบั รวมผูล้ าศึกษาตอ่ 2. ใหน้ ับจานวนเงนิ ท่ีมกี ารลงนามในสญั ญารับทนุ ในปกี ารศกึ ษาหรอื ปงี บประมาณหรือปปี ฏทิ นิ นน้ั ๆ ไม่ใชจ่ านวนเงนิ ทเ่ี บิกจา่ ยจรงิ 3. กรณที ่มี หี ลักฐานการแบ่งสัดส่วนเงนิ สนบั สนุนงานวิจยั ซง่ึ อาจเปน็ หลกั ฐานจากแหลง่ ทุนหรือ หลกั ฐานจากการตกลงรว่ มกนั ของสถาบันท่ีรว่ มโครงการ ให้แบง่ สัดส่วนเงินตามหลกั ฐานทปี่ รากฏ กรณีท่ไี ม่ มีหลกั ฐาน ให้แบง่ เงนิ ตามสดั ส่วนผ้รู ว่ มวจิ ยั ของแต่ละคณะ 4. การนับจานวนเงินสนบั สนนุ โครงการวิจยั สามารถนับเงินโครงการวจิ ยั สถาบันทไ่ี ด้ลงนามใน สัญญารับทุนโดยนกั วจิ ยั แต่ไม่สามรถนับเงนิ โครงการวิจัยสถาบนั ทีบ่ ุคลากรสายสนบั สนนุ ทีไ่ มใ่ ช่นักวจิ ยั เปน็ ผู้ดาเนินการ

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 7 ผลงานทางวิชาการของนกั วจิ ยั (สาหรบั สถาบนั วจิ ัยฯ) • การเก็บขอ้ มูล ปกี ารศกึ ษา • คาอธบิ ายตวั บ่งช้ี ผลงานทางวิชาการเป็นข้อมูลที่สาคัญในการแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจาและ นักวิจัยได้สร้างสรรค์ข้ึนเพ่ือแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่าง ต่อเน่ืองเป็นผลงานท่ีมีคุณค่าสมควรส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และนาไปใช้ประโยชน์ท้ังเชิงวิชาการและ การแข่งขนั ของประเทศผลงานทางวชิ าการอยใู่ นรปู ของบทความวจิ ัยหรือบทความทางวิชาการทีต่ ีพิมพ์ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ี ปรากฏในฐานขอ้ มลู TCI หรือ SCOPUS หรือตามประกาศก.พ.อ. หรอื ระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธบิ ัตรหรอื สทิ ธบิ ัตรหรือเป็นผลงานทางวิชาการรับใชส้ ังคมทผี่ ่าน การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแล้วผลงานวจิ ัยท่ีหน่วยงานหรือองคก์ รระดับชาติวา่ จา้ งให้ดาเนนิ การ ตาราหรือหนังสือทใี่ ช้ในการขอผลงานทางวชิ าการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทาง วิชาการแล้วโดยมีวิธีการคดิ ดงั น้ี

ตัวบง่ ช้ี มรย. ที่ 7 ผลงานทางวิชาการของนกั วจิ ัย (ต่อ) เกณฑก์ ารประเมนิ โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของนกั วจิ ยั เปน็ คะแนนระหว่าง 0 – 5 ตามเกณฑแ์ บง่ กลมุ่ สาขาวิชา เกณฑเ์ ฉพาะกลมุ่ ข กลมุ่ สาขาวิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ร้อยละของผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานทางวิชาการของนักวจิ ยั ท่ีกาหนดไว้เป็นคะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 20 ขึ้นไป • สตู รการคานวณ: 1. คานวณคา่ รอ้ ยละของผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานทางวชิ าการของนักวจิ ัยตามสูตร ผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานทางวิชาการของนักวิจัย 100 จานวนนักวจิ ัยทัง้ หมด 2. แปลงค่ารอ้ ยละทคี่ านวณไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเตม็ 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนกั ของผลงานทางวิชาการของนักวิจยั 5 รอ้ ยละของผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานทางวิชาการของนักวิจัยท่กี าหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5

ตัวบง่ ช้ี มรย. ท่ี 7 ผลงานทางวิชาการของนกั วจิ ยั (ต่อ) • กาหนดระดบั คุณภาพงานวจิ ัย ดังน้ี ระดบั คณุ ภาพ ค่านา้ หนัก 0.20 - บทความวิจัยหรือบทความวชิ าการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพมิ พใ์ นรายงานสบื เนอ่ื งจากการ ประชมุ วชิ าการระดับชาติ 0.40 - บทความวจิ ยั หรือบทความวชิ าการฉบับสมบูรณท์ ี่ตพี ิมพ์ในรายงานสืบเนอ่ื งจากการ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรอื ในวารสารทางวิชาการระดบั ชาติทีไ่ มอ่ ยใู่ นฐาน ข้อมลู ตามประกาศก.พ.อ.หรอื ระเบยี บคณะกรรมการการอดุ มศึกษาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่ สถาบนั นาเสนอสภาสถาบนั อนุมตั ิและจดั ทาเปน็ ประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปและแจ้ง ใหก้ พอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแตว่ นั ทอี่ อกประกาศ - ผลงานท่ไี ดร้ บั การจดอนุสทิ ธิบตั ร

ตัวบ่งชี้ มรย. ท่ี 7 ผลงานทางวชิ าการของนักวจิ ยั (ต่อ) • กาหนดระดับคุณภาพงานวจิ ัย ดังน้ี ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพ 0.60 - บทความวจิ ยั หรือบทความวิชาการฉบบั สมบรู ณท์ ตี่ พี ิมพ์ในวารสารทางวชิ าการทปี่ รากฏ ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 0.80 - บทความวิจยั หรือบทความวิชาการฉบับสมบรู ณ์ท่ตี พี มิ พใ์ นวารสารทางวชิ าการระดบั นานาชาตทิ ีไ่ ม่อย่ใู นฐานขอ้ มลู ตามประกาศก.พ.อ. หรอื ระเบยี บคณะกรรมการการ อดุ มศกึ ษาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์การพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสาหรับการเผยแพร่ผลงาน ทางวชิ าการพ.ศ.2556 แต่สถาบนั นาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจดั ทาเปน็ ประกาศให้ ทราบเป็นการทว่ั ไปและแจง้ ใหก้ พอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ ันทีอ่ อกประกาศ (ซึ่งไม่อย่ใู น Beall’s list) หรือตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการทีป่ รากฏในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 1

ตวั บง่ ช้ี มรย. ท่ี 7 ผลงานทางวิชาการของนักวิจัย (ตอ่ ) • กาหนดระดับคุณภาพงานวิจยั ดงั น้ี ค่านา้ หนกั ระดับคุณภาพ 1.00 - บทความวิจยั หรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณ7 ท่ีตพี มิ พ์ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาตทิ ป่ี รากฏในฐานขอ้ มลู ระดบั นานาชาตติ ามประกาศก.พ.อ. หรือระเบยี บ คณะกรรมการการอุดมศึกษาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรับการ เผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 - ผลงานได้รับการจดสทิ ธบิ ัตร - ผลงานวชิ าการรบั ใช้สังคมท่ีได้รับการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวิชาการแล้ว - ผลงานวจิ ัยที่หนว่ ยงานหรือองค์กรระดบั ชาติว่าจา้ งให้ดาเนินการ - ผลงานค้นพบพันธุพ์ ชื พนั ธ์สุ ัตวท์ ี่ค้นพบใหมแ่ ละไดร้ บั การจดทะเบยี น - ตาราหรอื หนงั สอื หรอื งานแปลท่ไี ดร้ ับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวชิ าการแลว้ - ตาราหรือหนงั สือหรอื งานแปลท่ผี ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทาง วิชาการแต่ไมไ่ ดน้ ามาขอรบั การประเมินตาแหน่งทางวิชาการ

ตวั บ่งชี้ มรย. ท่ี 7 ผลงานทางวิชาการของนกั วิจยั (ตอ่ ) การส่งบทความเพ่ือพิจารณาคัดเลอื กใหน้ าเสนอในการประชมุ วชิ าการต้องสง่ เป็น ฉบบั สมบรู ณ์ (Full Paper) และเม่ือไดร้ บั การตอบรับและตีพมิ พแ์ ลว้ การตพี ิมพต์ ้อง ตีพมิ พ์เปน็ ฉบบั สมบรู ณ์ ซง่ึ สามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้ กาหนดระดับคณุ ภาพงานสร้างสรรค์ ดงั น้ี คา่ น้าหนัก ระดบั คณุ ภาพ 0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สูส่ าธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึง่ หรือผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ online 0.40 งานสรา้ งสรรคท์ ไี่ ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดบั สถาบัน 0.60 งานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ บั การเผยแพร่ในระดบั ชาติ 0.80 งานสร้างสรรคท์ ี่ได้รบั การเผยแพร่ในระดบั ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ทไ่ี ดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดับภูมภิ าคอาเซยี น/นานาชาติ ผลงานสร้างสรรคท์ กุ ชนดิ ตอ้ งผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทม่ี ีองคป์ ระกอบไม่ นอ้ ยกว่า 3 คน โดยมบี คุ คลภายนอกสถาบันรว่ มพิจารณาดว้ ย

ตัวบ่งชี้ มรย. ที่ 8 การบรกิ ารวิชาการแก่สงั คม (สาหรับสถาบันวิจัยฯ) • การเก็บข้อมลู ปกี ารศกึ ษา • คาอธิบายตัวบ่งช้ี การบริการวิชาการเป็นภารกิจหลักอีกอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ควรคานึงถึงกระบวนการในการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดย ศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายนามาจัดทาแผนบริการวิชาการประจาปี ทั้งการบริการ วิชาการที่ทาให้เกิดรายได้และการบริการวิชาการท่ี สถาบันวิจัยฯ จัดทาเพื่อสร้างประโยชน์แก่ ชุมชน โดยมีการประเมินความสาเร็จของการบริการวิชาการ และนามาจัดทาเป็นแผนเพ่ือ พัฒนาการเรยี นการสอนแก่นักศึกษาใหม้ ีประสบการณ์จากสภาพจริงและนามาใช้ประโยชนจ์ นเกิด ผลลัพธ์ท่สี รา้ งความพึงพอใจต่อชมุ ชนและสงั คมอย่างตอ่ เนื่องและยัง่ ยืน

ตวั บ่งชี้ มรย. ที่ 8 การบรกิ ารวชิ าการแก่สังคม (ต่อ) • เกณฑม์ าตรฐาน 1. จัดทาแผนการบรกิ ารวิชาการประจาปที ีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของสังคม และกาหนดตวั บง่ ช้ีวดั ความสาเร็จในระดบั แผนและโครงการบรกิ ารวิชาการแก่สงั คม และ เสนอคณะกรรมการประจาหนว่ ยงานเพือ่ พิจารณาอนมุ ัติ 2. โครงการบรกิ ารวชิ าการแกส่ ังคมตามแผน มกี ารจดั ทาแผนการใชป้ ระโยชน์จาก การบริการ วิชาการเพ่อื ใหเ้ กดิ ผลต่อการพฒั นานกั ศึกษา ชุมชน หรอื สังคม 3. โครงการบริการวิชาการแกส่ ังคมในข้อ 1 อย่างน้อยตอ้ งมีโครงการทบ่ี ริการแบบ ให้เปลา่

ตัวบง่ ช้ี มรย. ที่ 8 การบริการวชิ าการแก่สงั คม (ต่อ) • เกณฑ์มาตรฐาน (ตอ่ ) 4. ประเมินความสาเรจ็ ตามตวั บง่ ชขี้ องแผนและโครงการบรกิ ารวชิ าการแกส่ ังคมในข้อ 1 และนาเสนอคณะกรรมการประจาหน่วยงาน เพอื่ พิจารณา 5. นาผลการประเมินตามขอ้ 4 มาปรบั ปรงุ แผนหรือพฒั นาการใหบ้ ริการวิชาการสงั คม 6. หน่วยงานมีสว่ นรว่ มในการบริการวชิ าการแกส่ ังคมในระดับสถาบนั • เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3 - 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ

ตวั บง่ ชี้ มรย. ที่ 9 ระบบและกลไกการทานุบารงุ ศลิ ปะ และวฒั นธรรม (สาหรบั ศูนยศ์ ิลปวฒั นธรรม และสถาบนั วจิ ยั ฯ) • การเก็บข้อมูล ปกี ารศึกษา • คาอธิบายตัวบ่งช:ี้ หน่วยงานต้องมีนโยบาย แผนงาน โครงสร้าง และการบรหิ าร จัดการงานทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมทงั้ การอนุรักษ์ ฟืน้ ฟู สืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรม ไทย ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ตามจุดเนน้ ของสถาบันอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล • เกณฑม์ าตรฐาน 1. กาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบในการทานุบารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม 2. จัดทาแผนดา้ นทานบุ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ลาหนดตัวบ่งชว้ี ดั ความสาเร็จตาม วัตถปุ ระสงคข์ องแผน รวมทัง้ จดั สรรงบประมาณเพ่อื ใหส้ ามารถดาเนินการได้ตามแผน 3. กากบั ติดตามใหก้ ารดาเนินงานตามแผนดา้ นทานุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งช้ี มรย. ที่ 9 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะ และวัฒนธรรม (ต่อ) • เกณฑ์มาตรฐาน (ต่อ) 4. ประเมนิ ความสาเรจ็ ตามตวั บ่งชท้ี ี่วดั ความสาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของแผนด้านทานุ บารุงศิลปะและวฒั นธรรม 5. นาผลการประเมนิ ไปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านทานบุ ารงุ ศลิ ปะและ วฒั นธรรม 6. เผยแพร่กจิ กรรมหรอื การบริการด้านทานุบารงุ ศิลปะและวฒั นธรรมตอ่ สาธารณชน 7. กาหนดหรือสรา้ งมาตรฐานด้านศลิ ปะและวัฒนธรรมซง่ึ เปน็ ที่ยอมรับในระดบั ชาติ • เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3 - 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 - 7 ขอ้

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 10 การบรหิ ารของหนว่ ยงานเพ่อื การกากับ ติดตามผลลพั ธ์ตามพนั ธกิจและเอกลักษณ์ของหนว่ ยงาน (สาหรบั สานักงานอธกิ ารบดี สถาบนั วจิ ยั ฯ และสานักวิทยฯ) • การเก็บขอ้ มูล ปกี ารศกึ ษา • คาอธิบายตวั บ่งชี้ สถาบนั อดุ มศึกษามีพนั ธกจิ หลัก คอื การเรียนการสอน การวิจัย การบริการ ทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดาเนินพันธกิจหลัก สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องดาเนินงานผ่านหน่วยงานภายในสถาบัน ดังนั้น หน่วยงานภายใน สถาบันต้องมีการพัฒนาแผนเพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาและการดาเนินงานของหน่วยงานให้ สอดคล้องกับเป้าหมาย และกลุ่มสถาบัน ตลอดจนมีการบริหารท้ังด้านบุคลากร การเงิน ความ เสี่ยง และการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตามพันธกิจหลักให้บรรลุ ตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้

ตตตัิววดั บบตา่ง่งชชมี้ี้ผสมลกรลยอพั .. ธทท์ต่ีี่ 1า5ม0.1พกนั กาธารกรบิจบรแริหลหิ าะารเรขอขอกองลงหักหนษนว่ณว่ ยยข์ งงอาานงนหเพเนพือ่ ่ว่ือกยกางารารกนกาาก(กตับับ่อ) ตดิ ตามผลลพั ธ์ตามพนั ธกจิ และเอกลกั ษณข์ องหนว่ ยงาน (ตอ่ ) • เกณฑม์ าตรฐาน 1. พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ ของหน่วยงานและวิสัยทัศน์ของสถาบัน รวมท้ังสอดคล้องกับกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ ของหน่วยงาน และพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจาปีตาม กรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งช้ีและเป้าหมายของแผนกลยุทธ์ และเสนอผู้บริหาร ระดับสถาบันเพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ิ 2. ดาเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ท่ีเป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุ ปัจจัยเสี่ยงท่ีเกิดจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยท่ีไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการ ดาเนินงานตามพันธกิจของหนว่ ยงาน และให้ระดบั ความเสยี่ งลดลงจากเดมิ

ตัวบ่งช้ี มรย. ที่ 10 การบริหารของหนว่ ยงานเพอ่ื การกากบั ตดิ ตามผลลพั ธ์ตามพนั ธกิจและเอกลกั ษณ์ของหนว่ ยงาน (ต่อ) • เกณฑม์ าตรฐาน (ตอ่ ) 3. บริหารงานดว้ ยหลักธรรมาภบิ าลอยา่ งครบถ้วนทง้ั 10 ประการทอ่ี ธบิ ายการดาเนนิ งาน อย่างชัดเจน 4. ค้นหาแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี จี ากความรทู้ ี่มีอยู่ในตัวบุคคล ทกั ษะของผู้มีประสบการณ์ตรง และ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ตามประเด็นความรู้ ครอบคลุมพันธกิจของหน่วยงาน จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพรอ่ อกมาเป็นลายลกั ษณ์อักษร และนามาปรบั ใช้ในการปฏิบัตงิ านจรงิ 5. การกากับตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาสายสนบั สนุน

ตัวบง่ ชี้ มรย. ที่ 10 การบรหิ ารของหนว่ ยงานเพ่อื การกากับ ตดิ ตามผลลัพธต์ ามพนั ธกจิ และเอกลกั ษณข์ องหน่วยงาน (ตอ่ ) • เกณฑม์ าตรฐาน (ต่อ) 6. ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในตามระบบและกลไกทเ่ี หมาะสม และสอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ และพฒั นาการของหน่วยงานทไี่ ด้ปรับให้การดาเนินงานด้านการประกนั คณุ ภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบรหิ ารงานตามปกติทป่ี ระกอบด้วย การควบคมุ คุณภาพ การ ตรวจสอบคุณภาพ และการประเมนิ คณุ ภาพ • เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 - 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 11 การบรกิ ารนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี (สาหรบั กองพฒั นานกั ศึกษา และสนอ.) • การเก็บขอ้ มูล ปีการศึกษา • คาอธิบายตวั บง่ ชี้ หน่วยงานควรจัดบริการด้านต่างๆ ให้นักศึกษาอย่าง ครบถ้วนต้ังแต่การให้คาปรึกษาท้ังด้านวิชาการและการใช้ชีวิตจัดบริก ารข้อมูล หน่วยงานที่ให้บริการ เช่น ทุนกู้ยืมการศึกษา แหล่งทุนการศึกษาต่อการบริการจัดหา งาน แหล่งข้อมลู การฝึกประสบการณ์วิชาชพี การเตรยี มความพร้อมเพอ่ื การทางานเม่ือ สาเรจ็ การศกึ ษา ข้อมูลขา่ วสารความเคลือ่ นไหวในและนอกสถาบันท่ีจาเปน็ แกน่ ักศกึ ษา และศิษย์เก่า

ตวั บ่งช้ี มรย. ท่ี 11 การบริการนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี (ตอ่ ) • เกณฑม์ าตรฐาน 1. จดั บริการให้คาปรกึ ษา แนะแนวดา้ นการใช้ชีวิต และการเข้าสอู่ าชพี แก่นักศึกษาใน สถาบัน 2. มกี ารให้ข้อมลู ของหนว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารกจิ กรรมพิเศษนอกหลกั สูตร แหล่งงานทัง้ เตม็ เวลาและนอกเวลาแกน่ ักศกึ ษา 3. จัดกจิ กรรมเตรยี มความพร้อมเพอื่ การทางานเมื่อสาเร็จการศกึ ษาแก่นกั ศึกษา 4. ประเมินคุณภาพของการจัดกจิ กรรมและการจดั บรกิ ารในข้อ 1-3 ทกุ ข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

ตวั บง่ ช้ี มรย. ท่ี 11 การบริการนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ ) • เกณฑ์มาตรฐาน (ต่อ) 5. นาผลการประเมนิ จากข้อ 4 มาปรับปรงุ พฒั นาการให้บริการและการให้ขอ้ มลู เพ่อื สง่ ใหผ้ ลการประเมนิ สงู ขึน้ หรือเป็นไปตามความคาดหวังของนกั ศึกษา 6. ใหข้ อ้ มูลและความรู้ท่ีเป็นประโยชนแ์ กศ่ ษิ ยเ์ กา่ • เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มีการดาเนินการ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 - 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ

ตัวบง่ ช้ี มรย. ท่ี 12 กิจกรรมนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี (สาหรบั กองพฒั นานักศกึ ษา และสนอ.) • การเก็บขอ้ มูล ปกี ารศึกษา • คาอธบิ ายตัวบ่งช้ี หน่วยงานต้องส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและครบถ้วนกิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรทดี่ าเนินการ ท้งั โดยสถาบนั และโดยองคก์ รนักศกึ ษา เป็นกจิ กรรมทีผ่ ู้เข้าร่วมจะมโี อกาสได้รบั การพัฒนา สติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับคุณลักษณะของ บัณฑติ ท่พี งึ ประสงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook