รายงานประจำป 2558 การยางแหงประเทศไทย Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
วสิ ัยทัศน \"เปนองคกรนำดานการบรหิ ารกิจการยางพาราท้ังระบบ เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของเกษตรชาวสวนยาง และเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ของผูประกอบกจิ การยาง”
รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย A Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
สารบัญ 1 - 30 การยางแหงประเทศไทย Rubber Authority of Thailand 31 - 106 สํานักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง Office of the Rubber Replanting Aid Fund 107 - 130 องคการสวนยาง (อ.ส.ย.) Rubber Estate Organization 131 - 142 สถาบนั วจิ ัยยาง (สวย.) Rubber Research Institute of Thailand รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย B Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหงประเทศไทย Rubber Authority of Thailand รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 1 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
ความเปน มาของการยางแหง ประเทศไทย (กยท.) รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 2 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหงประเทศไทย (กยท.) เกิดจากการรวม โดยจดั ใหม ีการศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ัย พฒั นา เผยแพรข อมูล 3 หนว ยงาน ไดแ ก สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง สารสนเทศเกย่ี วกบั ยางพารา และดาํ เนนิ การใหร ะดบั ราคายาง องคการสวนยาง และสถาบนั วจิ ยั ยาง โดยมพี ระราชบัญญัติ มีเสถียรภาพ รวมทั้งสงเสริม สนับสนุนใหมีการปลูกแทน การยางแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558 ไดประกาศลงใน และการปลูกใหม ตลอดจนใหความชวยเหลือเกษตรกร ราชกจิ จานเุ บกษา ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2558 และมผี ล ชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง ผปู ระกอบกจิ การยาง บังคับใชในวันที่ 15 กรกฎาคม 2558 มีวัตถุประสงคให ดา นวชิ าการ การเงนิ การผลติ การแปรรปู การอตุ สาหกรรม การยางแหงประเทศไทย เปนองคกรกลางรับผิดชอบดูแล การตลาด การประกอบธุรกิจ และการดําเนินการอ่ืน การบรหิ ารจดั การยางพาราของประเทศทง้ั ระบบอยา งครบวงจร ที่เก่ียวของ เพ่ือยกระดับรายไดและคุณภาพชีวิตใหดีข้ึน บรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั เงนิ ของกองทนุ สง เสรมิ และสนบั สนนุ บริหารงานโดยคณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย ใหประเทศเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางพารา มีผูวา การการยางแหงประเทศไทย รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 3 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
โครงสรางการบรหิ ารงาน คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง ของสาํ นักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยาง รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 4 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand ผอู ํานวยการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหการทาํ สวนยาง บริหารความเสย่ี ง รองผอู ํานวยการฯ สายงานวชิ าการ ท่ีปรึกษาดา นการบริหาร ที่ปรึกษาดานการเกษตร สาํ นักผอู ํานวยการ สาํ นกั ตรวจสอบภายใน กองกลาง สํานกั ผตู รวจการ (5 ภาค) สว นตรวจสอบ 1 แผนกรับ-สง สวนตรวจสอบ 2 แผนกธุรการและโตตอบ กองธรุ การ สวนตรวจสอบ 3 แผนกการประชมุ สวนตรวจสอบ 4 ฝายกฎหมาย กองชวยอํานวยการ รองผอู าํ นวยการฯ สายงานปฏิบัตกิ าร กองประชาสมั พนั ธและเผยแพร แผนกธรุ การ แผนกประชาสมั พันธ แผนกเผยแพร แผนกเอกสารและสิง่ พมิ พ รองผูอาํ นวยการฯ สายงานบริหาร ฝายสงเสรมิ การสงเคราะห ฝายพฒั นาสวนสงเคราะห ฝา ยฝก อบรม ฝา ยทรพั ยากรบุคคล สํานกั งานกองทนุ สงเคราะห ฝา ยวิจัยและแผน การทาํ สวนยางจงั หวดั (46 แหง *) สวนควบคุมและพฒั นา สวนพฒั นาการผลติ สว นแผนพัฒนาและวดั ผล กองอตั รากําลงั และระบบงาน ระบบการสงเคราะห และถายทอดเทคโนโลยี สว นฝกอบรมดานการเกษตร กองสรรหา บรรจแุ ตง ตงั้ สว นวิชาการและปฏิบตั กิ าร สวนนโยบายและแผน สวนวชิ าการเกษตร สว นพฒั นาสถาบันเกษตรกร สวนฝก อบรมดา นบริหาร และทะเบียนประวตั ิ แผนกแผนงานและขอ มลู สว นบริหารความเสี่ยง สว นโครงการพเิ ศษ สว นพฒั นาการตลาด ทวั่ ไป กองวินยั และแรงงานสมั พันธ แผนกพัฒนานิเทศ และควบคุมภายใน สว นควบคมุ ปจ จัยการผลติ สวนพัฒนาและสงเสรมิ อาชพี เสริม เผยแพรและประชาสมั พนั ธ สว นตดิ ตามและประเมนิ ผล ฝา ยฝก อบรม ฝายทรพั ยากรบุคคล แผนกปฏบิ ตั กิ าร (เฉพาะ สกย.จ. สวนวจิ ยั และพฒั นา ที่ไมม ีหนว ยงาน สกย.อ.) กองจัดหา กองงบประมาณ แผนกผลิตพนั ธยุ าง ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนกจดั หาครุภัณฑ แผนกวางแผนและวิเคราะห (เฉพาะ สกย.จ.ทม่ี แี ปลงผลติ ฯ) และส่งิ กอสราง การเงินและงบประมาณ สว นบริหารทั่วไป สว นปฏิบัติการคอมพวิ เตอร แผนกจัดหาวสั ดุสํานกั งาน แผนกจดั ทํางบประมาณ แผนกธุรการและพัสดุ สว นพัฒนาระบบงานและโปรแกรม แผนกจัดหาวัสดุสงเคราะห แผนกการเงินและบญั ชี สว นพฒั นาระบบสื่อสาร ขอมลู กองการเงนิ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางอาํ เภอ (68 แหง) / สว นฐานขอ มูลสารสนเทศ กองสญั ญาและเบกิ จา ย แผนกเงินสดและธนาคาร ศนู ยปฏบิ ัติการสงเคราะหสวนยางจงั หวัด (13 แหง) แผนกสญั ญาและเบกิ จา ยเงนิ แผนกเงนิ รองจายและเงินยมื แผนกปฏิบตั ิการ ดา นพสั ดุ ทดรอง แผนกธุรการและพสั ดุ แผนกสญั ญาและเบกิ จา ยเงนิ แผนกตดิ ตามและเรยี กเงนิ คนื แผนกการเงนิ และบัญชี ดานวสั ดุสงเคราะห ศนู ยเรียนรูย างพารา (4 แหง ) กองเงนิ สวัสดกิ าร แผนกผลติ กองคลังพัสดุ สถานทีแ่ ละ แผนกสวสั ดกิ ารเงินกู แผนกสงเสรมิ การเรียนรู ยานพาหนะ แผนกเงินสวสั ดิการสงเคราะห แผนกธรุ การและพสั ดุ แผนกกองทนุ สาํ รองเล้ยี งชพี แผนกการเงินและบัญชี แผนกคลงั พัสดุ เร่มิ ใชบงั คับตง้ั แตวนั ที่ 30 กันยายน 2558 แผนกซอ มบาํ รุงและรกั ษา กองบัญชีท่วั ไป หมายเหตุ : * ฝา ยทรัพยากรบคุ คล สถานที่ แผนกบัญชบี ริหาร - มสี าขา ไดแก สกย.จ.พง. ตง. นศ.1 นศ.2 สฎ.กบ. ชพ. สข.1 สข.2 สต. พท. ยล. ปน. กองอตั รากาํ ลงั และระบบงาน แผนกยานพาหนะ แผนกบญั ชสี งเคราะห นธ. บก. ลย. ตก. ชม. อน. พร. พล. นม. และ ยส. แผนกบัญชีทรัพยสนิ - ไมมีสาขา ไดแ ก สกย.จ.จบ. รย. ตร. ภก. บต. ขก. อด. บร. สร. อบ. ฉช. รน. พย. ชร. รอ. กส. สน. นพ. มห. ศก. นภ. กจ. และ นค. กองคาใชจ ายและคา ตอบแทน
กรอบอัตรากาํ ลัง จํานวน 3,008 อัตรา พนกั งาน 2,338 อัตรา ลกู จา ง 670 อัตรา สนก. 422 อัตรา สกย.จ. 2,566 อัตรา พนกั งาน 410 อตั รา พนกั งาน 1,928 อตั รา ลกู จาง 32 อตั รา ลกู จา ง 638 อัตรา รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 5 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย (กยท.) นายสมชาย ชาญณรงคกุล ประธานกรรมการ วัน/เดือน/ปเ กดิ 19 เมษายน 2501 อายุ 57 ป ประวตั กิ ารศกึ ษา - หลกั สตู รผบู ริหารกระบวนการยตุ ิธรรมระดบั สงู รนุ ท่ี 17 วิทยาลัยการยุตธิ รรม สถาบันพฒั นาขา ราชการฝา ย ตุลาการศาลยตุ ิธรรม - หลักสูตรวทิ ยาการประกนั ภยั ระดับสูง รุนท่ี 1 สถาบนั วทิ ยาการประกันภยั ระดับสูง - Certificate-The practice of trade policy : Economics, negotiations and rules John F. Kennedy School of Government, Harvard University, U.S.A - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - วิทยาศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ประวัตกิ ารทาํ งานที่สาํ คญั - อธบิ ดกี รมสง เสรมิ สหกรณ - อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร - ผูต รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - รองผอู าํ นวยการสาํ นักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ ตําแหนงหนาทปี่ จจบุ ัน - อธบิ ดกี รมวิชาการเกษตร วัน/เดือน/ป ทเ่ี ขาดํารงตาํ แหนงคณะกรรมการ – วนั ส้นิ สดุ 29 กรกฎาคม 2558 - 30 กนั ยายน 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 6 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
ร.ต.ท. อาทิตย บุญญะโสภัต รองประธานกรรมการ วัน/เดือน/ปเ กดิ 13 กันยายน 2502 อายุ 56 ป ประวัตกิ ารศึกษา - วทิ ยาลัยปองกนั ราชอาณาจักร (ปรอ.25) - พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑติ สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร - รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ประวัติการทาํ งานท่ีสําคัญ - รักษาการแทนรองปลดั กระทรวงมหาดไทย - ผวู า ราชการจังหวัดสมุทรสาคร - ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย - รองอธบิ ดกี รมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั - รองผวู า ราชการจังหวัดสมทุ รสงคราม - รองผวู า ราชการจังหวดั นา น ตําแหนง หนา ท่ีปจ จบุ นั - อธบิ ดกี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย วัน/เดือน/ป ท่เี ขา ดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ - วนั สิน้ สุด 29 กรกฎาคม 2558 - 30 กนั ยายน 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 7 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย (กยท.) นายเอด วิบูลยเจริญ วนั /เดือน/ปเกดิ กรรมการ 1 กุมภาพันธ 2506 อายุ 52 ป ประวตั กิ ารศกึ ษา - วิทยาลยั ปอ งกนั ราชอาณาจักร (วปอ.57) - พัฒนบริหารศาสตรมหาบณั ฑิต สถาบันบณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร - วิทยาศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ประวัตกิ ารทํางานทสี่ าํ คญั - รองผอู าํ นวยการสาํ นกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ สาํ นกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ - ผอู าํ นวยการสาํ นักงานบรหิ ารหนี้สาธารณะ สาํ นกั งานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ - ผูอ ํานวยการสํานกั บริหารการชาํ ระหน้แี ละสารสนเทศ สาํ นักงานบรหิ ารหน้ี สาธารณะ - เลขานกุ ารกรม สํานักงานเลขานกุ ารกรม สํานักงานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ ตาํ แหนง หนาทป่ี จจบุ นั - ทป่ี รกึ ษาดา นหน้ีสาธารณะ สาํ นักบรหิ ารหนสี้ าธารณะ กระทรวงการคลงั - กรรมการผูแทนกระทรวงการคลังในบริษัท ปตท. (กมั พูชา) จาํ กดั วนั /เดือน/ป ท่เี ขาดาํ รงตําแหนง คณะกรรมการ – วนั สนิ้ สุด 29 กรกฎาคม 2558 - 30 กันยายน 2558 วนั /เดือน/ปเ กิด 7 ตลุ าคม 2504 อายุ 54 ป ประวตั กิ ารศกึ ษา - M.A. (Economics) Western Michigan University สหรฐั อเมรกิ า - วทิ ยาศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ประวตั ิการทํางานทีส่ ําคญั - ผูตรวจราชการกระทรวงพาณิชย - รองอธบิ ดีกรมการคาตางประเทศ นายบุญยฤทธ์ิ กัลยาณมิตร - รองอธิบดกี รมเจรจาการคา ระหวา งประเทศ - ผอู าํ นวยการสาํ นกั เจรจาการคา บรกิ ารและการลงทนุ กรมเจรจาการคา ระหวา ง กรรมการ ประเทศ - ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครอิสตันบูล สาธารณรฐั ตุรกี กรมสง เสริมการสง ออก - อคั รราชทตู ทปี่ รกึ ษา (ฝา ยการพาณชิ ย) สาํ นกั งานสง เสรมิ การคา ในตา งประเทศ ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจกั รกมั พูชา กรมสง เสริมการสงออก ตําแหนง หนา ท่ีปจจุบนั - อธิบดีกรมการคา ภายใน วัน/เดอื น/ป ท่ีเขาดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ – วนั ส้นิ สดุ 29 กรกฎาคม 2558 - 30 กนั ยายน 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 8 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
นายอาทิตย วุฒิคะโร วนั /เดือน/ปเ กิด กรรมการ 3 มิถนุ ายน 2499 อายุ 59 ป ประวตั ิการศกึ ษา นายปณิธาน จินดาภู กรรมการ - Certificate of Entrepreneurship Development Program,University of the Philippines - หลกั สูตรปอ งกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ.48) - พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร - เศรษฐศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ประวัตกิ ารทาํ งานทส่ี ําคญั - อธบิ ดกี รมสงเสรมิ อตุ สาหกรรม - รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม - อธบิ ดกี รมโรงงานอุตสาหกรรม - อธบิ ดีกรมสง เสริมอุตสาหกรรม - ผูอํานวยการสาํ นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม - ผตู รวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม ตาํ แหนงหนาทป่ี จจบุ นั - รองปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม วนั /เดือน/ป ท่เี ขา ดํารงตําแหนง คณะกรรมการ - วนั สน้ิ สดุ 29 กรกฎาคม 2558 - 16 กันยายน 2558 วัน/เดอื น/ปเกดิ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 อายุ 58 ป ประวัติการศึกษา - การปอ งกนั ราชอาณาจกั รภาครฐั รว มเอกชน รนุ ที่ 23 วทิ ยาลยั ปอ งกนั ราชอาณาจกั ร - พฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑติ (รฐั ประศาสนศาสตร) สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร - วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศิ วกรรมเหมืองแร) จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย - นติ ศิ าสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช ประวตั กิ ารทํางานที่สําคญั - ผูตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม (นกั บรหิ ารสูง) - รองอธบิ ดกี รมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร (บริหารตน ) - ผูอ ํานวยการสาํ นักเหมืองแรแ ละสัมปทาน (อาํ นวยการสงู ) กรมอตุ สาหกรรม พนื้ ฐานและการเหมืองแร - ผูอํานวยการกองการเหมืองแร (วิศวกรเหมืองแร 8) กรมทรพั ยากรธรณี - ผอู าํ นวยการกองสมั ปทาน (เจา หนา ทบ่ี รหิ ารงานทรพั ยากรธรณี 8) กรมทรพั ยากรธรณี - เลขานุการกรม (เจา หนา ทบ่ี รหิ ารงานทัว่ ไป 8) กรมทรพั ยากรธรณี - ทรพั ยากรธรณจี งั หวดั ตาก (เจา หนา ทบี่ รหิ ารงานทรพั ยากรธรณี 8) กรมทรพั ยากรธรณี ตาํ แหนง หนา ทีป่ จ จบุ นั - รองปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม วนั /เดอื น/ป ทีเ่ ขาดาํ รงตาํ แหนงคณะกรรมการ - วันส้นิ สดุ 17 กนั ยายน 2558 - ปจ จุบนั รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 9 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย (กยท.) วนั /เดอื น/ปเ กิด 27 กุมภาพนั ธ 2500 อายุ 58 ป ประวตั ิการศึกษา - M.A. (Agricultual Development Economics), Australia - วทิ ยาลยั ปอ งกนั ราชอาณาจักร (วปอ.52) ป พ.ศ.2552 - สถาบันพระปกเกลา หลกั สูตรนโยบายเศรษฐกจิ สาธารณะฯ (ปศส.6) ป พ.ศ.2550 - วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประวตั ิการทาํ งานที่สําคัญ - กรรมาธกิ ารวสิ ามญั การบรหิ ารจดั การนาํ้ เพอื่ การพลงั งานและอตุ สาหกรรม สภานติ บิ ญั ญตั ิ นางสาวลดาวัลย คําภา แหงชาติ - ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน (เจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผน 10 ชช.) กรรมการ ทรงคณุ วฒุ ิ สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ - ผอู าํ นวยการสาํ นักวางแผนการเกษตร ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยสี าํ นกั วางแผนการเกษตร ทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ ม วทิ ยาศาสตร และ เทคโนโลยี สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ตาํ แหนง หนาท่ีปจ จุบัน - รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ - คณะกรรมการบริหารสาํ นกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) - คณะกรรมการรถไฟฟาขนสง มวลชนแหง ประเทศไทย วัน/เดือน/ป ท่ีเขา ดาํ รงตาํ แหนง คณะกรรมการ - วนั สิน้ สุด 29 กรกฎาคม 2558 - ปจ จุบัน วัน/เดือน/ปเ กดิ 2 มกราคม 2503 อายุ 55 ป ประวัติการศกึ ษา - ประกาศนยี บัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร - ศิลปศาสตรบัณฑิต (รฐั ศาสตร) มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง ประวตั ิการทํางานท่ีสําคัญ - ผอู าํ นวยการสาํ นักงานกองทุนออยและนาํ้ ตาลทราย นายวีระศักด์ิ ขวัญเมือง - หัวหนาแผนกควบคมุ การผลติ (ภาคเหนือ/ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กรรมการและเลขานุการ บริษัท ออ ยและนํ้าตาลไทย จาํ กัด - หวั หนาฝายอํานวยการ บริษทั ออยและน้ําตาลไทย จาํ กัด - หวั หนา ฝา ยควบคมุ การจาํ หนา ยนา้ํ ตาลทรายบรษิ ทั ออ ยและนาํ้ ตาลไทย จาํ กดั - ผชู ว ยหวั หนา แผนกควบคมุ การผลติ (ภาคเหนอื )ศนู ยค วบคมุ การผลติ สาํ นกั งาน คณะกรรมการออยและนาํ้ ตาลทราย ตาํ แหนง หนาที่ปจ จุบัน - ผปู ฏิบัติหนาที่ผวู าการการยางแหงประเทศไทย วัน/เดือน/ป ทเ่ี ขา ดํารงตาํ แหนงคณะกรรมการ – วนั สนิ้ สุด 29 กรกฎาคม 2558 - ปจจบุ นั รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 10 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 11 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การแตง ตง้ั คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการชุดตางๆ ต.ค. 2557 – ก.ย. 2558 การยางแหง ประเทศไทย (กยท.) 1. คณะอนกุ รรมการดานกฎหมาย และระเบยี บของการยางแหง ประเทศไทย รายชอื่ คณะกรรมการ ตําแหนง รว มประชุม/การประชุม จํานวนเงนิ เบย้ี ประชุม การยางแหงประเทศไทย ท้งั หมด ที่ไดรับ (บาท) 1. ร.ต.ท. อาทติ ย บุญญะโสภตั ประธานอนุกรรมการ 2/4 20,000 มีอาํ นาจหนา ที่ดังน้ี 1) ศึกษาและเสนอแนะแนวทางบูรณาการปรับปรุง แกไข หรือยกเลิก ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่ง ของ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง และองคก ารสวนยาง เพอ่ื ใหเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคต ามพระราชบญั ญตั ิ การยางแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558 2) เสนอความเหน็ ในการออกระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ หรอื คาํ สง่ั ตามพระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง ประเทศไทย พ.ศ. 2558 3) ยกรางระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ หรือขอบังคับตางๆ ท่ีเก่ียวกับการดําเนินงาน การบริหารงานของการยาง แหง ประเทศไทย 4) แตงตง้ั คณะทาํ งานเพื่อสนับสนนุ การปฏบิ ตั หิ นาทีไ่ ดตามความจาํ เปน และเหมาะสม 5) ปฏิบัตหิ นา ที่อ่นื ๆ ตามท่ไี ดรบั มอบหมาย 2. คณะอนกุ รรมการตดิ ตามการดาํ เนินการโอนกิจการ เงนิ ทรพั ยส นิ สทิ ธิ หนีส้ ิน ภาระผกู พันและ งบประมาณของกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง องคการสวนยาง และสถาบันวิจัยยาง ไปเปน ของการยางแหงประเทศไทย รายช่อื คณะกรรมการ ตาํ แหนง รวมประชุม/การประชุม จํานวนเงนิ เบีย้ ประชมุ การยางแหงประเทศไทย ท้งั หมด ที่ไดรับ (บาท) ประธานอนุกรรมการ 1. นายเอด วิบลู ยเ จริญ อนุกรรมการ 1/1 10,000 2. นางสาวลดาวลั ย คําภา 1/1 8,000 มอี าํ นาจหนา ทดี่ งั น้ี ศกึ ษาและเสนอแนะแนวทางบรู ณาการปรบั ปรงุ แกไ ข หรอื ยกเลกิ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ หรอื คาํ สง่ั ของสาํ นกั งาน กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และองคการสวนยาง เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคตามพระราชบัญญัติการยาง แหง ประเทศไทย พ.ศ. 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 12 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
3. คณะอนกุ รรมการพิจารณาคาตอบแทนผูว าการการยางแหง ประเทศไทย รายชือ่ คณะกรรมการ ตําแหนง รว มประชมุ /การประชุม จาํ นวนเงินเบย้ี ประชุม การยางแหงประเทศไทย ท้งั หมด ที่ไดรับ (บาท) 1. นายเอด วิบูลยเจรญิ ประธานอนุกรรมการ 1/1 10,000 โดยมีอํานาจหนาที่ พิจารณาคาตอบแทนผูวาการการยางแหงประเทศไทยชั่วคราว เสนอคณะกรรมการการยาง แหงประเทศไทย 4. คณะอนุกรรมการดานการจัดการโครงสรา งองคก ร โครงสรา งอัตราเงนิ เดอื น ตําแหนง และอัตรา กําลงั ของการยางแหงประเทศไทย รายช่ือคณะกรรมการ ตําแหนง รวมประชมุ /การประชมุ จํานวนเงนิ เบย้ี ประชมุ การยางแหง ประเทศไทย ท้ังหมด ที่ไดรบั (บาท) 1. นายวีระศักด์ิ ขวญั เมือง ประธานอนกุ รรมการ 2/3 10,000 มอี ํานาจหนา ท่ดี งั นี้ 1) พิจารณาและใหความเห็นขอเสนอดานโครงสรางองคกร โครงสรางอัตราเงินเดือน ตําแหนง และอัตรากําลังของ การยางแหง ประเทศไทย เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบั อาํ นาจหนา ทตี่ ามพระราชบญั ญตั กิ ารยางแหง ประเทศไทย พ.ศ. 2558 2) พิจารณาใหความเห็นในเร่ืองของการบรรจุ แตงตั้ง อัตราเงินเดือนคาจาง คาตอบแทน สวัสดิการ และประโยชน อยา งอนื่ ในการโอนเปนพนกั งานหรอื ลูกจา งของการยางแหงประเทศไทย 3) พิจารณาและใหความเห็นขอ เสนอดานอํานาจหนาท่คี วามรับผิดชอบของสว นงานและหนว ยงาน เพื่อใหครอบคลุม ครบถว น โดยคาํ นึงถงึ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล ความไมซํ้าซอ น ความประหยดั และความรวดเร็วเปนหลัก 4) แตงตั้งคณะทํางานเพอื่ สนบั สนุนการปฏิบตั ิหนาทีไ่ ดต ามความจําเปน และเหมาะสม 5) ปฏิบัตหิ นาทอี่ ่ืนๆ ตามทไ่ี ดรับมอบหมาย โดยใหค ณะอนกุ รรมการดําเนินการตามอาํ นาจหนาท่ีใหแลว เสร็จภายใน วนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2559 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 13 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย (กยท.) - รายงานการเขา ประชมุ คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย ประจาํ ปงบประมาณ 2558 รายชอื่ คณะกรรมการ 1/58 2/58 3/58 4/58 5/58 จํานวนครง้ั เขาประชุม/ การยางแหง ประเทศไทย 7 ส.ค. 21 ส.ค. 4 ก.ย. 17 ก.ย. 29ก.ย. ประชุมท้ังหมด 5/5 1. นายสมชาย ชาญณรงคกุล 2/5 (ประธานกรรมการ) 3/4 ออกจากตําแหนง 4/5 2. ร.ต.ท. อาทิตย บญุ ญะโสภัต 16 ก.ย. 2558 3/5 3. นายอาทิตย วุฒคิ ะโร 4/5 5/5 4. นายบณุ ยฤทธ์ิ กัลยาณมิตร 1/1 5. นายเอด วบิ ลู ยเจรญิ 6. นางสาวลดาวัลย คําภา 7. นายวรี ะศักดิ์ ขวญั เมอื ง 8. นายปณธิ าน จินดาภู ไดรบั การแตงตัง้ เมอื่ วนั ที่ 17 ก.ย. 2558 - รายงานการเขาประชมุ คณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย ประจาํ ปง บประมาณ 2558 ช่อื – นามสกุล คาเบี้ยประชมุ คา ตอบแทนรายเดอื น โบนัสประจําป 2557 (บาท) (บาท) ทจ่ี า ยในป 2558 (บาท) 1. นายสมชาย ชาญณรงคกลุ 50,000 33,548.39 ไมไ ดร บั เนอ่ื งจากเขา มาดาํ รงตาํ แหนงในป 2558 (ประธานกรรมการ) 32,000 16,774.19 ไมไดร บั เนอ่ื งจากเขา มาดํารงตาํ แหนง ในป 2558 2. ร.ต.ท. อาทติ ย บญุ ญะโสภัต 24,000 13,040.86 ไมไดรบั เน่อื งจากเขามาดาํ รงตําแหนง ในป 2558 3. นายอาทิตย วฒุ ิคะโร 16,774.19 ไมไ ดรับเน่ืองจากเขา มาดํารงตําแหนงในป 2558 4. นายบุณยฤทธ์ิ กัลยาณมิตร - 16,774.19 ไมไ ดร ับเนื่องจากเขา มาดาํ รงตําแหนงในป 2558 5. นายเอด วิบลู ยเจรญิ 44,000 16,774.19 ไมไดร บั เนื่องจากเขา มาดํารงตาํ แหนง ในป 2558 6. นางสาวลดาวลั ย คาํ ภา 16,774.19 ไมไ ดร ับเนื่องจากเขามาดาํ รงตาํ แหนงในป 2558 7. นายวีระศักดิ์ ขวัญเมอื ง - 3,733.33 ไมไดร บั เนือ่ งจากเขา มาดํารงตําแหนง ในป 2558 8. นายปณธิ าน จนิ ดาภู 50,000 8,000 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 14 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
รายงานผลการดําเนินงานท่ีสําคัญ ประจําปงบประมาณ 2558 ผลการดําเนินงานของสํานักงานกองทุนสงเคราะห วัตถุประสงค : เพ่ือเพิ่มผลผลิตและรายไดใหแก การทําสวนยาง (สกย.) และตอเน่ืองมาจนถึง การยาง เกษตรกร โดยการใหทุนสงเคราะหปลูกแทนยางเกาดวย แหง ประเทศไทย (กยท.) มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนงาน และ ยางพนั ธดุ ี หรอื ไมย นื ตน ชนดิ อน่ื ทม่ี คี วามสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ โครงการทีส่ าํ คญั ดงั นี้ ผลการดําเนินงาน : สงเสริมการปลูกยางพันธุดี และไมยืนตนที่มี 1. ผลการปฏิบัติงานสงเคราะหปลูกแทน เดือน ความสาํ คัญทางเศรษฐกจิ ตุลาคม 2557- กันยายน 2558 เปรียบเทียบกับแผนการ ดาํ เนินงานป 2558 กจิ กรรม เปา หมาย (รวมท้งั ป) ผลการดาํ เนนิ งาน ต.ค. 57 - ก.ย. 58 รอยละ (รวมทั้งป) - รบั คาํ ขอ (ไร) - อนุมตั ิ (ไร) 470,000 626,820.92 133.37 - โคน (ไร) - ปลูกแทน (ไร) 408,900 541,772.50 132.50 - จายเงนิ สงเคราะห (ลา นบาท) 400,000 407,090.80 101.77 400,000 368,231.70 92.06 4,848.80 5,033.11 103.80 2. สวนที่อยูระหวางใหการสงเคราะห ณ เดือน ความม่ันคงใหแกเกษตรกรในแหลงปลูกยางใหม ระยะที่ 1 กนั ยายน 2558 จาํ นวน 189,830 ราย เนอ้ื ที่ 1,853,654.30 ไร เปา หมายการอนมุ ตั เิ กษตรกรเขา รว มโครงการป 2558 เนอ้ื ที่ 309,522 ไร 3. สวนระงบั การสงเคราะห ณ เดอื นตลุ าคม 2557- กันยายน 2558 จํานวน 324 ราย เน้อื ท่ี 2,589.30 ไร ผลการดําเนินงาน : การอนุมัติเกษตรกรเขารวม โครงการป 2558 จาํ นวน 126,076 ราย เนือ้ ท่ี 922,904 ไร 4. สวนพนการสงเคราะห ณ เดือนตลุ าคม 2557 - เกษตรกรเขารวมโครงการฯ จํานวน 190,888 ราย เนื้อท่ี กันยายน 2558 จํานวน 21,818 ราย เนื้อท่ี 214,532.45 ไร 1,814,521 ไร ระงบั การดาํ เนนิ การ จาํ นวน 1,399 ราย เนอื้ ที่ 10,308 ไร สวนยางอายตุ า่ํ กวา 7 ½ ป จาํ นวน 108,032 ราย โครงการบํารุงรักษาสวนและการกรีดยางอยางถูก เน้ือท่ี 958,661 ไร สวนยางอายุมากกวา 7 ½ ป จํานวน วิธีเพอ่ื เพิ่มผลผลิต 81,457 ราย เน้ือท่ี 845,552 ไร วัตถุประสงค : เพื่อถายทอดความรูการปลูกสราง สวนยางและการกรีดยางอยางถูกวิธีใหกับเกษตรกรผูปลูก ยางพาราในโครงการปลูกยางพาราเพื่อยกระดับรายไดและ กจิ กรรม ผลการดําเนนิ งาน - การอนมุ ตั เิ กษตรกรเขา รว มฯ ป 2557 ราย ไร - เกษตรกรเขารวมโครงการฯ - ระงบั การดําเนนิ การ 126,076 922,904 - สวนยางอายตุ าํ่ กวา 7 ½ ป - สวนยางอายมุ ากกวา 7 ½ ป 190,888 1,814,521 1,399 10,308 108,032 958,661 81,457 845,552 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 15 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
แ ผ น ง า น ภ า ย ใ ต แ ผ น ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี พิ เ ศ ษ 2. โครงการปลูกยางพาราในที่วางเปลาในเขต 5 จังหวัดชายแดนภาคใต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ดําเนิน กิจกรรมสนับสนุนทุนชวยเหลือเกษตรกร การถายทอด ภายใตการบริหารงานของ สกย. ไดแบงสวนงาน เทคโนโลยี ของพ้ืนท่ีพิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต เปน 7 สกย.จ. การดาํ เนนิ งานภายใตโครงการตามนโยบายของรัฐบาลดงั น้ี วัตถุประสงค : เพื่อชวยเหลือเกษตรกรยากจน ใน 496 หมบู า น และ 1,377 หมูบ าน ใหม ีรายไดเพมิ่ ขนึ้ เปน 1. โครงการจัดตง้ั ตลาดนํ้ายางสดระดับทอ งถิ่น 120,000 บาท/ป วัตถุประสงค : ใหค วามชวยเหลอื เกษตรกรผูเขา ผลการดาํ เนนิ งาน : รวมโครงการดวยการสนับสนุนปจจัยการผลิต ถายทอด - กิจกรรม : ใหความชวยเหลือเกษตรกรในการ เทคโนโลยี และการตดิ ตามใหค าํ แนะนาํ เปา หมาย 452 กลมุ ปลกู ยางพาราใน 696 มสี วนดําเนนิ การ 2,930 ราย เนอื้ ท่ี แบง เปน การตดิ ตามใหคําแนะนํากลมุ เดิม 408 กลุม จัดตัง้ 16,345.95 ไร ยกเลิกการเขารวมโครงการ 7 ราย เนื้อท่ี กลุมใหม จํานวน 44 กลุม 15.10 ไร ผลการดําเนินงาน : มีการใหความชวยเหลือ เกษตรกรผเู ขา รว มโครงการ กลมุ เดมิ ตอ เนอ่ื งจาํ นวน 408 กลมุ และมีการจัดตัง้ กลุมใหม 44 กลมุ คดิ เปน รอ ยละ 100 กจิ กรรม การปลูกยางพาราใน 696 หมบู าน การปลกู ยางพาราใน 1,377 หมบู า น จาํ นวน (ราย) เน้อื ที่ (ไร) จาํ นวน (ราย) เนื้อที่ (ไร) - สวนดําเนินการ - ยกเลกิ การเขา รวมโครงการฯ 2,930 16,345.95 4,126 24,419.80 7 32.85 4 15.10 งานตลาดประมลู ยางพารา ผลการดําเนนิ การ : เปดตลาด 108 ตลาด ปรมิ าณ ดําเนินการตลาดยางพาราระดับทองถ่ิน ครอบคลุม การซ้ือขายผานตลาด 915,844.70 ตัน คิดเปนรอยละ พืน้ ทท่ี ่สี ง เสรมิ ใหปลกู ยาง จาํ นวน 108 ตลาด ใหม ีปริมาณ 104.67 ของเปา หมายท้ังป มูลคา 34,470,50 ลา นบาท ยางเขาสูต ลาดจํานวน 835,000 ตนั กิจกรรม เปาหมายทัง้ ป ผลการดาํ เนินงาน รอยละ - ปริมาณยางผา นตลาด (ตัน) 875,000 915,844.70 104.67 - มูลคาการซือ้ ขาย (ลานบาท) - 34,470.50 - ฝก อบรมและถา ยทอดเทคโนโลยีการบาํ รงุ รกั ษาสวน ผลการดาํ เนนิ การ : มเี กษตรกรชาวสวนยางเขา รว ม การกรีดยาง การเก็บเกี่ยว และแปรรปู ผลผลิต โครงการ 79,843 ราย คดิ เปน รอ ยละ 106.90 ของเปา หมาย ท้ังป ในแตล ะโครงการและกิจกรรมตางๆ ดงั น้ี วัตถุประสงค : ดําเนินการฝกอบรมเกษตรกร ชาวสวนยาง โดยจัดหลักสูตรการฝกอบรม และถายทอด เทคโนโลยี เปา หมาย 74,705 ราย รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 16 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย (ราย) ผลงาน (ราย) รอ ยละ 1. ลดตน ทุนการผลิต 4,230 4,777 112.93 1.1 การผสมปยุ ใชเ อง 9,885 10,792 109.18 1.2 การกรีดยาง 8,070 9,411 116.62 1.3 การใสปยุ ตามคา วเิ คราะหด นิ 4,620 5,481 118.64 1.4 การเตรียมการชว งกอนโคน 4,770 5,244 109.94 27,560 29,838 108.26 2. การสง เสรมิ อาชพี เสรมิ 101.36 3. การจดั การสวนยางอยา งยง่ั ยืน 660 669 86.98 4. การเสริมสรางเกษตรกรยคุ ใหม 1,990 1,731 92.26 5. การพัฒนาผูนาํ เกษตรกร (ทัศนศกึ ษาฯ) 12,705 11,920 106.90 6. การพฒั นาครูยาง 74,705 79,863 รวม ดาํ เนนิ การดา นสถาบนั เกษตรกร โรงงานตน แบบ - สหกรณท ี่มโี รงอบ/โรงรม จํานวน 540 แหง วัตถุประสงค : เพ่ือสงเสริมสนับสนุนใหเกษตรกร - สหกรณที่มโี รงเรือน จาํ นวน 145 แหง ชาวสวนยางใชเปนแนวทางเพิ่มมูลคายางพารา โดยมีการ การจดั ตง้ั กลมุ ชาวสวนยาง แปรรูปเปนผลิตภัณฑยาง มีแนวทางบริหารจัดการโรงงาน มกี ารสนบั สนนุ การจดั ตงั้ กลมุ ชาวสวนยาง 6,675 กลมุ ตนแบบใหเปนโรงเรียน เพ่ือเปนแหลงเรียนรูใหแกบุคคล กลมุ ชาวสวนยางเดมิ 6,356 กลมุ กลมุ ชาวสวนยางจดั ตง้ั ใหม ทว่ั ไปและเปน โรงงานผลติ ผลติ ภณั ฑย างแตล ะชนดิ ตามความ 888 กลุม ตอ งการของตลาด โรงงานตนแบบ เปาหมายการอบรม ผลการอบรม สกย.จ.ขอนแกน สกย.จ.ปตตานี พนักงาน 30 คน (1 รนุ ) พนกั งาน 43 คน (1 รนุ ) สกย.จ.สรุ าษฎรธานี เกษตรกร 90 คน (3 รุน) เกษตรกร 90 คน (3 รนุ ) สกย.จ.ระยอง พนกั งาน 30 คน (1 รนุ ) พนกั งาน 31 คน (1 รุน ) รวม เกษตรกร 90 คน (3 รนุ ) เกษตรกร 90 คน (3 รุน) พนักงาน 30 คน (1 รุน) พนักงาน 36 คน (1 รุน) เกษตรกร 90 คน (3 รนุ ) เกษตรกร 94 คน (3 รุน) พนักงาน 30 คน (1 รุน) พนกั งาน 30 คน (1 รุน ) เกษตรกร 90 คน (3 รุน) เกษตรกร 90 คน (3 รนุ ) พนกั งาน 120 คน (3 รนุ ) พนักงาน 140 คน (3 รุน) เกษตรกร 360 คน (12 รุน) เกษตรกร 364 คน (12 รนุ ) รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 17 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
เสริมรายไดและยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร 3. เงินทุนหมุนเวียนเพ่ือชวยเหลือผูรับการ ชาวสวนยาง สงเคราะห เปา หมาย 2,000 ราย เกษตรกรเขา รว มโครงการฯ 1,657 ราย คิดเปนรอยละ 82.85 วตั ถปุ ระสงค : เพ่อื ใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการ ประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกรมีการดําเนินการที่มี แผนงานพฒั นาองคก รและบคุ ลากร มาตรฐานอยางตอเน่อื ง เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับ 1. หมูบา นเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ า การเปลี่ยนแปลง และความกาวหนาของเทคโนโลยี ลงกรณ เปา หมาย 102 กจิ กรรม ดาํ เนนิ งานได 202 กจิ กรรม สารสนเทศ เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปตามเปาหมาย คดิ เปนรอยละ 198.03 วัตถุประสงค และเปนองคกรท่ีดําเนินกิจกรรมภายใตหลัก จริยธรรมและการกํากับที่ดี ควบคูไปกับการใสใจสังคมและ 2. หมบู า นชาวสวนยางพฒั นา เปา หมาย 10 หมบู า น สงิ่ แวดลอ ม จาํ นวนผไู ดร บั การอบรม/รว มกจิ กรรมตา งๆ ดงั นี้ โดยมีหมูบานเขารวมโครงการจํานวน 10 หมูบาน คิดเปน รอยละ 100.00 ดแู ลตอ เน่อื ง 10 หมบู าน สว นงาน เปาหมาย ผลการดําเนนิ งานป 2558 - สว นฝก อบรมดานการเกษตร โครงการ กิจกรรม ราย โครงการ กจิ กรรม ราย - สวนฝกอบรมดา นบริหารทั่วไป - สวนแผนพัฒนาและวดั ผล 3 13 940 2 13 854 รวม 11 22 2,333 11 22 8,109 13 20 806 11 20 2,325 27 55 4,079 24 55 11,288 การจดั เกบ็ เงนิ สงเคราะห (Cess) แยกตามอตั ราการ ระบบรับชําระเงินสงเคราะหทางอิเล็กทรอนิกส จดั เกบ็ ดงั น้ี (e-Cess) 1. ยอดจดั เกบ็ เงนิ สงเคราะห ตงั้ แตเ ดอื น ต.ค. 57 - เปน การใหบ รกิ ารชาํ ระเงนิ สงเคราะหท างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ก.ย.58สามารถจดั เกบ็ เงนิ สงเคราะหไ ด5,408,024,267.87บาท และเชอ่ื มโยงขอ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สก บั กรมศลุ กากร ผา นระบบ จากปริมาณยางสง ออก 3,811,147,968.94 กโิ ลกรัม National Single Window (NSW) 2. แยกตามอตั ราการจัดเกบ็ : ตามมติ ครม. เมอ่ื วนั ที่ 6 ธันวาคม 2558 เห็นชอบ - จัดเก็บอัตรา 3 บาท ปริมาณยาง 113,978 ใหกรมศุลกากรเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการจัดต้ัง National Single Window (NSW) โดยใหหนวยงาน กิโลกรัม มูลคา 341,934 บาท ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การนาํ เขา -สง ออก ใหค วามรว มมอื เพอ่ื รว มกนั - จดั เกบ็ อตั รา 2 บาท ปรมิ าณยาง 134,823,435 ผลักดันให NSW จดั ตงั้ สาํ เรจ็ ตามเปา หมาย กิโลกรมั มลู คา 269,058,039.40 บาท สกย. เปนหนวยงานหนึ่งที่เกี่ยวของกับการนําเขา- - จดั เกบ็ อตั รา1.4ปรมิ าณยาง3,676,210,555.94 สงออก โดยเปนหนวยงานที่จัดเก็บคาธรรมเนียมในการ สง ออกนอกราชอาณาจกั ร หรอื เงนิ สงเคราะห (Cess) ไดล งนาม กิโลกรมั มลู คา 5,126,043,793.27 บาท บันทึกขอตกลง (MOU) วาดวยการเชื่อมโยงขอมูลทาง - เรียกเก็บเพ่ิมจากผูสงยางออก มูลคา อิเล็กทรอนกิ สร วมกับกรมศุลกากร เมอ่ื วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 12,580,501.20 บาท รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 18 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
วัตถุประสงค ในการบริหารจัดการสวนยางในแนวทางท่ีเก้ือกูลกับ 1. เพอ่ื ใหผ ูสงยางออกลดปรมิ าณการใชเ อกสาร เศรษฐกจิ ซง่ึ กาํ หนดเปา หมายการดาํ เนนิ งานป 2558 จาํ นวน 2. เพ่ือใหผูสงยางออกชําระเงินสงเคราะหได 400,000 ไร มีเกษตรกรมารับการสงเคราะหปลูกแทน ตลอดเวลา จํานวน 368,231.70 ไร คิดเปนรอยละ 92.06 โดยมีผล 3. เพื่อใหผูสงยางออกลดขั้นตอนและระยะเวลา การดําเนินงาน คือ ปลูกทดแทนยางเกาดวยยางพันธุดี ในการติดตอ ประสานงานขอใบรบั เงินสงเคราะห จํานวน 208,376.75 ไร ปลูกแทนยางเกาดวยไมยืนตนท่ีมี 4. เพอื่ ใหห นว ยงานทเี่ กยี่ วขอ งในการนาํ เขา -สง ออก ความสาํ คญั ทางเศรษฐกิจ จํานวน 17,926.45 ไร ปลูกแทน ใชขอมลู รวมกันจากการบันทึกรายการครง้ั เดยี ว ยางเกา ดวยปาลม นา้ํ มัน จาํ นวน 140,506.60 ไร ปลูกแทน 5. เพ่ือใหการจัดเก็บเงินสงเคราะหมีประสิทธิภาพ แบบเกษตรผสมผสาน จํานวน 1,421.90 ไร จากผลการ มากข้นึ ดาํ เนนิ งานของยุทธศาสตรดังกลาว สามารถวิเคราะหค วาม 6. เปน การสนองนโยบายตามยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา ตองการของเกษตรกรชาวสวนยางท่ีขอรับการสงเคราะห ระบบโลจิสติกสของประเทศไทย พ.ศ.2550-2554 ภายใต ไดดังนี้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การปรบั ปรงุ สงิ่ อาํ นวยความสะดวก ทางการคา 1. เกษตรกรใหค วามสาํ คญั กบั การปลกู แทนยางเกา ผลการดาํ เนินงาน ดว ยยางพันธดุ มี ากกวา พืชชนิดอน่ื เน่อื งจากรายไดทมี่ าจาก กยท. ไดเปดบริการชําระเงินสงเคราะหทาง ยางพารายังใหผลตอบแทนสงู กวา พืชอื่น อิเลก็ ทรอนกิ ส (e-Cess) ตง้ั แตวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2556 ในปง บประมาณ 2558 มผี ใู ชร ะบบชาํ ระเงนิ สงเคราะหฯ 2. สกย. ใหความรูแกเกษตรกรในการปรับเปลี่ยน ผานระบบ National Single Window (NSW) จํานวน พืน้ ทที่ ี่ไมเ หมาะสมในการปลูกยาง มาปลูกปาลม น้ํามนั หรือ 167 บรษิ ัท เปนจํานวนเงินท้ังส้นิ 2,359,984,225.20 บาท พืชชนิดอ่ืนทใ่ี หผลตอบแทนสูงทดแทนการปลกู ยาง ซ่งึ กยท. ไดก าํ หนดใหผูสงยางออกนอกราชอาณาจกั รชําระ เงนิ สงเคราะห (คา ธรรมเนยี ม) ผา นระบบ NSW เพยี งระบบเดยี ว ยุทธศาสตรท่ี 2 การสรางความม่ันคงใหกับ ต้งั แตวนั ที่ 1 สิงหาคม 2558 เปน ตนไป เกษตรกร และสถาบันเกษตรกร การวิเคราะหของฝายจัดการท้ังในดานการเงินและ สนบั สนนุ ใหเ กดิ การรวมตวั ของเกษตรกรชาวสวนยาง ไมใ ชก ารเงนิ ขนาดเลก็ เพอ่ื เปน สถาบนั เกษตรกรและมกี ารดาํ เนนิ การทม่ี ี มาตรฐานตอเน่ือง เชื่อมโยงเปนเครือขายสถาบันเกษตรกร บทสรุปผลการดําเนนิ งาน เพ่ือใหสามารถพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ในดานการผลิต ยุทธศาสตรท่ี 1 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิต การแปรรูป และการตลาด รวมทงั้ สรา งอํานาจในการเจรจา เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ โดยมงุ เนน การเพมิ่ ผลผลติ ตอรองตางๆ สนับสนุนใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ตอหนวยพื้นที่ เรงรัดใหมีการปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตน มสี ว นรว มในการกาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ การสง เสรมิ และ ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ทดแทนสวนยางเกาท่ีให พฒั นา สรา งแรงจงู ใจใหค นรนุ ใหมเ ขา สอู าชพี การทาํ สวนยาง ผลผลิตไมคุมคา สงเสริมปลูกสรางสวนยางเพิ่มในพ้ืนที่ และทเี่ กยี่ วขอ งกบั อาชพี ยางพาราเพมิ่ ขนึ้ ผลการดาํ เนนิ การ ท่ีเหมาะสม เก็บเกี่ยวผลผลิตจากสวนยางพาราอยางมี จัดตั้งกลุม ชาวสวนยางได 6,675 กลมุ กลมุ ชาวสวนยางเดมิ ประสทิ ธภิ าพและตรงตามความตอ งการของตลาด เกษตรกร 6,356 กลมุ กลุมชาวสวนยางจัดตงั้ ใหม 888 กลุม ถา ยทอด นาํ เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมไปใชอ ยา งจรงิ จงั และทว่ั ถงึ เปน การ ความรูสูเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร 79,863 ราย ลดตนทุนการผลิต สามารถเพ่ิมรายไดใหกับเกษตรกร จากผลการดําเนินงานของยุทธศาสตรดังกลาว สามารถ รวมถึงสงเสริมใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรมีสวนรวม วเิ คราะหค วามตอ งการของเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรได ดงั นี้ รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 19 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
1. เกษตรกรใหความสําคัญกับการรวมกลุมเปน ที่เกี่ยวของหรือมีผลกระทบกับราคาอยางรวดเร็ว ทันเวลา สถาบันเกษตรกรและเชื่อมโยงเครือขายเพ่ิมขึ้น เนื่องจาก และทั่วถึง เพื่อเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ ผลการ เล็งเห็นประโยชนจากการรวมกลุม ซ่ึงนําไปสูอํานาจการ ดาํ เนนิ งานการจดั การตลาดยางพาราแบบครบวงจร มตี ลาด ตอ รองได เปด ดาํ เนนิ การจาํ นวน 108 ตลาด ใหม ปี รมิ าณยางเขา สตู ลาด จํานวน 835,000 ตัน ผลการดาํ เนินงาน 915,844.70 ตนั 2. เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรใหค วามสาํ คญั กบั จากผลการดําเนินงานของยุทธศาสตรดังกลาว สามารถ การอบรมเพื่อรับความรูใหมๆ และสามารถนําไปปรับ วิเคราะหความตองการของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ประยกุ ตใ ชต ง้ั แตก ารปลกู สรา งสวนยาง การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ได ดงั น้ี การแปรรปู และการตลาด 1. ปรมิ าณยางทซี่ อื้ -ขายผา นตลาดประมลู ยางพารา ในภาพรวมการสรา งความมนั่ คงใหก บั เกษตรกรและ ของ สกย. จาํ นวน 915,844.70 ตนั คดิ เปน มลู คา 34,470.50 สถาบันเกษตรกร สงผลใหเกษตรกรมีสวนรวมในการแกไข ลา นบาท แสดงใหเ หน็ ถงึ การใหค วามสาํ คญั และความเชอ่ื มน่ั ปญหาและพัฒนายางพาราทง้ั ระบบ ของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรท่ีมีตอตลาดประมูลยาง ของ สกย. และมีแนวโนม ท่จี ะเพิม่ ปรมิ าณยางข้ึนในอนาคต ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเพมิ่ มลู คา ยางพารา การเพม่ิ มูลคายางพารา ดว ยการสง เสริมการแปรรปู ยทุ ธศาสตรท ี่ 5 การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ าร ยางขั้นตน และขั้นกลาง เพื่อเปนวัตถุดิบตั้งตนเขาสู จดั การองคก ร อุตสาหกรรม เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรไดรับการ ถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปยางดวยวิธีที่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร ถูกตองเหมาะสม และไดมาตรฐาน รวมถึงการสาธิตการ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับ แปรรูปผลิตภัณฑยางเพื่อเพ่ิมมูลคา ผลการดําเนินการ การเปล่ียนแปลง และความกาวหนาของเทคโนโลยี โครงการโรงงานตนแบบอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางสําหรับ สารสนเทศ เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปตามเปาหมาย เกษตรกร เพื่อถายทอดความรูพื้นฐานและทักษะใน วัตถุประสงค และเปนองคกรท่ีดําเนินกิจกรรมภายใตหลัก กระบวนการผลิตผลิตภัณฑยาง การบริหารจัดการโรงงาน จริยธรรมและการกํากับท่ีดี ควบคูไปกับการใสใจสังคมและ และพัฒนาอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑยาง เปาหมายใหมี สง่ิ แวดลอ ม โดยการพฒั นาบคุ ลากรใหม คี วามรคู วามสามารถ พนกั งานเขา รบั การอบรมจาํ นวน 120 ราย และใหม เี กษตรกร ท่ีเปนประโยชนตอหนาท่ีความรับผิดชอบ มีความรอบรูทัน ชาวสวนยางเขารับการฝกอบรมจํานวน 360 ราย ผลการ ตอการบรหิ าร การเปลย่ี นแปลง และการจดั การความเส่ยี ง ดําเนนิ งาน มพี นกั งานเขา รบั การฝก อบรม จํานวน 140 ราย เรงรัดการปรับปรุงโครงสราง จัดใหมีระบบการคัดสรร และมีเกษตรกรชาวสวนยางเขารับการฝกอบรม จํานวน บุคลากรใหสอดคลองและเหมาะสมกับภารกิจที่รับผิดชอบ 364 ราย สงเสริมการปลูกฝงจิตสํานึก คานิยมองคกร คุณธรรม ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การพฒั นาระบบตลาดยางพารา จริยธรรม และสรางวินัยแกบุคลากร ปรับปรุงกฎหมาย จัดใหมีตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น เพื่อรองรับ ระเบยี บ ขอ บงั คบั และคาํ สง่ั ใหส อดคลอ งกบั สภาวะปจ จบุ นั ผลผลิตยางพาราครอบคลุมทุกพื้นท่ี สงเสริมใหเกษตรกร พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหใชเปนประโยชนเต็ม ขายผลผลิตไดในราคาท่ีเปนธรรมโดยระดับราคาสูงกวา ศักยภาพและสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางถูกตอง สะดวก ตนทุนการผลิตของเกษตรกร พัฒนาเครือขายและระบบ รวดเร็วและท่ัวถึง แสวงหาพันธมิตรในการดูแลเกษตรกร ตลาดยางใหเ กษตรกรทว่ั ประเทศสามารถขายยางไดใ นราคา โดยเฉพาะเกษตรกรในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ใกลเคียงกัน สรางกลไกในการเผยแพรขอมูลขาวสารและ เพอื่ ชว ยลดตน ทุนในการบริหารจัดการ วเิ คราะหส ถานการณเ รง ดว น เพอ่ื ใหเ กษตรกรไดร บั รขู า วสาร รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 20 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหง ประเทศไทย (สกย. เดิม) หนว ย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 30 กันยายน 2558 หมายเหตุ สินทรพั ย 15,932,210,368.84 สนิ ทรพั ยห มุนเวยี น 14,513,973,387.50 เงินสดและรายการเทยี บเทาเงินสด 156,982,696.57 เงนิ ลงทุนชั่วคราว 80,463,699.67 ลูกหนกี้ ารคาและลกู หน้ีอนื่ - สุทธิ 6,073,795.96 เงินใหก ูยืมแกผ รู บั การสงเคราะห - สทุ ธิ 1,024,096.00 สินคา คงเหลอื 30,690,728,044.54 สนิ ทรัพยห มุนเวยี นอื่น 67,941,121.00 รวมสนิ ทรพั ยหมุนเวียน 66,105,538.75 สนิ ทรัพยไมห มุนเวยี น 1,234,916,837.63 56,747,022.78 เงินฝากธนาคารมีขอ จาํ กัดการใช เงินทดรองจายและเงนิ ใหกูยมื แกพนักงาน 203,650.00 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ 1,425,914,170.16 สนิ ทรัพยไ มม ตี ัวตน - สทุ ธิ 32,116,642,214.70 สินทรพั ยไมหมุนเวยี นอน่ื รวมสนิ ทรพั ยไมห มนุ เวียน รวมสนิ ทรพั ย รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 21 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหง ประเทศไทย (สกย. เดิม) หนวย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2558 หมายเหตุ หนี้สนิ และเงนิ กองทนุ 126,010,652.52 หน้สี นิ หมุนเวียน 27,884,552.00 129,220,540.15 เจา หนก้ี ารคาและเจาหน้อี น่ื 9,985,350.24 293,101,094.91 เงินสงเคราะหร บั รับเกิน 714,657,418.00 เงินอดุ หนุนจากรัฐบาลรอการรับรู 37,775.60 หนีส้ ินหมนุ เวยี นอนื่ 714,695,193.60 1,007,796,288.51 รวมหนี้สินหมุนเวยี น หน้สี นิ ไมห มุนเวียน 31,108,845,926.19 31,108,845,926.19 ภาระผูกพันผลประโยชนพนกั งาน 32,116,642,214.70 หน้ีสนิ ไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ ไมห มนุ เวยี น รวมหนส้ี ิน เงินกองทนุ เงินกองทุนสะสม รวมเงินกองทนุ รวมหนี้สนิ และเงินกองทนุ รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 22 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหงประเทศไทย (สกย. เดิม) งบรายไดและคา ใชจา ยเบ็ดเสรจ็ สาํ หรับป ต้ังแตว ันที่ 15 กรกฎาคม 2558 ถงึ วันท่ี 30 กันยายน 2558 หมายเหตุ หนว ย : บาท รายได 1,121,359,279.16 เงินสงเคราะหร ับจากผูส ง ยางออกนอกราชอาณาจกั ร 70,116,892.47 เงนิ อุดหนนุ จากรฐั บาล 133,903,950.77 รายไดอ ื่น รวมรายได 1,325,380,122.40 คา ใชจาย 1,675,180,515.76 คาใชจายสงเคราะหเ จาของสวน 532,950,015.10 คาใชจายในการบรหิ าร - คาใชจา ยอน่ื รวมคาใชจาย 2,208,130,530.86 (882,750,408.46) รายไดส ูง (ตา่ํ ) กวาคา ใชสทุ ธิสาํ หรับป - รายไดแ ละคาใชจ า ยเบด็ เสร็จอ่ืน : (882,750,408.46) ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณติ ศาสตรป ระกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชนพนกั งาน รายไดสงู (ตํ่า) กวาคาใชจายเบด็ เสรจ็ รวมสําหรบั ป รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 23 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 24 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand การยางแหง ประเทศไทย (สกย. เดมิ ) งบแสดงการเปล่ียนแปลงเงินกองทนุ สาํ หรับป ต้ังแตว ันท่ี 15 กรกฎาคม 2558 ถงึ วันที่ 30 กันยายน 2558 หนวย : บาท หมายเหตุ เงนิ ทุนเพ่อื กองทนุ เงินทนุ เพ่ือสนับสนนุ เงนิ ทุนเพือ่ สนับสนุน เงนิ ทุนเพื่อ เงินทุนเพือ่ สนับสนนุ รวม การบริหาร พัฒนายางพารา การปลกู แทน เกษตรกร สวัสดิการเกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 5,324,062,368.00 26,613,908,718.39 96,557.25 2,670,271.00 50,563,095.01 295,325.00 31,991,596,334.65 กาํ ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาํ หรับป (410,600,959.27) 1,226,250,352.84 (1,681,763,937.18) (7,471,442.58) 108,681.71 (9,273,103.98) (882,750,408.46) รบั จดั สรร (จดั สรร) เงนิ กองทนุ 68,045,000.00 (2,960,157,347.97) 2,756,650,964.83 71,209,736.37 42,487,839.81 21,763,806.96 - ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558 4,981,506,408.73 24,880,001,723.26 1,074,983,584.90 66,408,564.79 93,159,616.53 12,786,027.98 31,108,845,926.19 หมายเหตุ : อยูในระหวางการดาํ เนินการรวมงบประมาณทั้ง 3 หนวยงาน
การยางแหง ประเทศไทย (องคการสวนยาง เดมิ ) หนว ย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ 30 กนั ยายน 2558 ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2558 136,876,891.72 18,706,737.64 หมายเหตุ 52,885,651.15 251,349,841.22 สนิ ทรพั ย 6 สินทรัพยหมนุ เวียน 7 - 8 1,916,557.02 เงนิ สดและรายการเทยี บเทาเงินสด 9 13,597,672.47 เงินลงทุนชัว่ คราว 1,053,546.44 ลูกหน้กี ารคาและลกู หน้อี ื่น 10 476,386,897.66 สนิ คา และวัสดคุ งเหลอื - สทุ ธิ 11 งานระหวางทํา 11,889,219.27 พัสดคุ งเหลือ 12 7,341,959.43 เงินคางคงรับ 13 951,101,117.37 สนิ ทรัพยหมนุ เวยี นอืน่ 14 15 300,619.78 รวมสินทรพั ยห มนุ เวียน 16 3,448,183.01 สินทรพั ยไมห มนุ เวียน 974,081,098.86 1,450,467,996.52 เงนิ ใหยืมโครงการ คสอ.ปร. ดอกเบีย้ เงินใหยืมโครงการ คสอ.ปร.คา งรบั ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สนิ ทรัพยไ มม ีตวั ตน สินทรพั ยไมห มนุ เวียนอ่นื รวมสินทรพั ยไมหมุนเวยี น รวมสินทรพั ย รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 25 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหงประเทศไทย (องคก ารสวนยาง เดมิ ) หนว ย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ 30 กนั ยายน 2558 ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 7,125,615.78 59,607,131.85 หมายเหตุ 29,607,613.96 96,340,361.59 หนสี้ ินและเงนิ กองทนุ 17 หน้สี นิ หมนุ เวียน 18 5,809,743.11 19 250,000,000.00 เจา หนกี้ ารคา และเจา หน้อี ่นื 47,691,580.38 คาใชจา ยคางจาย 20 หนสี้ นิ หมนุ เวยี นอ่ืน 1,304,006.94 21 93,900,838.00 รวมหนส้ี ินหมนุ เวียน 22 หนส้ี ินไมหมุนเวยี น 23 - 398,706,168.43 เงนิ กูร ะยะยาว 495,046,530.02 เงนิ กโู ครงการ 300 ลา นบาท รายไดร อการรับรู 94,250,485.92 ประมาณหน้สี ินระยะยาว - คา บริหารโครงการฯ 583,178,740.88 ประมาณหน้ีสนิ ระยะยาว - เงินกองทนุ ฯ หน้สี นิ ไมห มุนเวยี นอืน่ 36,297,686.45 9,270,874.31 รวมหน้ีสนิ ไมห มุนเวียน 232,423,678.94 รวมหนสี้ ิน 955,421,466.50 สวนของทุน 1,450,467,996.52 ทนุ เงินงบประมาณ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองขยายงาน สํารองธรรมดา ยงั ไมไดจัดสรร สว นของทนุ รวมหน้ีสินและสวนของทุน รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 26 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหงประเทศไทย (องคก ารสวนยาง เดิม) งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ จําแนกคาใชจ า ยตามหนา ที่ สาํ หรับงวดตัง้ แตว ันที่ 15 กรกฏาคม 2558 ถึง วนั ที่ 30 กนั ยายน 2558 หนว ย : บาท 30 กนั ยายน 2558 รายได 63,180,230.05 รายไดจากการขายยาง 70,547,260.61 รายไดจากการขายยางโครงการเงินกู 300 ลานบาท 1,002,570.60 รายไดจากการขายวัสดปุ ลกู รายไดจ ากการแปรรูปไมย างพารา 140,034.45 รายไดร ับจางผลิตยาง STR 20/ยางคอมปาวด 7,657,825.00 รายไดรับจา งผลติ ยางแผน รมควนั 6,890,855.50 รายไดจากเงินงบประมาณโครงการจดั ต้ังศูนยเ ครือขา ยฯ 1,812,758.91 รายไดจ ากโครงการจาํ หนา ยปจ จัยการผลิต รายไดอืน่ 16,300.00 กําไรจากการขายทรัพยสนิ รายไดอ น่ื - 11,692,921.19 รวมรายได 162,940,756.31 คาใชจ าย 80,819,572.95 ตน ทุนขายยาง 99,738,406.02 ตน ทนุ ขายยางโครงการเงนิ กู 300 ลานบาท 1,173,982.56 ตน ทนุ ขายวัสดปุ ลูก ตนทุนขายแปรรูปไมย างพารา 965,425.70 คาใชจ า ยรบั จางผลติ ยาง STR 20 18,394,079.95 คาใชจา ยรับจา งผลิตยางแผนรมควนั 7,855,410.91 คาใชจ า ยโครงการจดั ต้งั ศนู ยเ ครือขา ยฯ 1,812,758.91 ตน ทุนขายโครงการปจจยั การผลติ คา ใชจายในการขายและบรหิ าร 16,147.36 คา เสือ่ มราคาทรพั ยสนิ 19,901,320.60 คาใชจ ายอน่ื 2,161,549.24 1,126,206.48 รวมคา ใชจ าย 233,964,860.68 กําไร (ขาดทนุ ) กอ นหักตน ทนุ ทางการเงนิ (71,024,104.37) ตนทุนทางการเงนิ - (71,024,104.37) กําไรสาํ หรับงวด กาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อืน่ - ผลกาํ ไร (ขาดทนุ ) จากการประมาณตามหลกั คณิตศาสตร (71,024,104.37) ประกันภยั สาํ หรับโครงการผลประโยขนพนกั งาน กาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ รวมสาํ หรบั งวด รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 27 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 28 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand การยางแหง ประเทศไทย (องคก ารสวนยาง เดมิ ) งบแสดงการเปลยี่ นแปลงสว นของทุน สาํ หรับงวดตงั้ แตว ันที่ 15 กรกฏาคม 2558 ถึง วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2558 ทนุ กาํ ไรสะสมจัดสรรแลว กําไรสะสม หนวย : บาท 677,429,226.80 สาํ รองขยายงาน สาํ รองธรรมดา ยงั ไมจัดสรร รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 36,297,686.45 9,270,874.31 303,447,783.31 1,026,445,570.87 บวก กําไรสทุ ธิ - (71,024,104.37) (71,024,104.37) ปรับปรงุ รายทางการบญั ชีป 2557 --- - หัก ปรบั ปรุงรายทางการบัญชีป 2557 -- ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 677,429,226.80 36,297,686.45 9,270,874.31 232,423,678.94 955,421,466.50 หมายเหตุ : อยูในระหวา งการดาํ เนนิ การรวมงบประมาณทัง้ 3 หนวยงาน
การยางแหงประเทศไทย (สถาบันวิจยั ยาง เดิม) เงนิ งบพเิ ศษการคน ควา ยาง กรมวิชาการเกษตร งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 หมายเหตุ หนวย : บาท สินทรพั ย 3 195,608,064.61 สินทรัพยห มุนเวยี น 4 52,227,283.99 5 33,190,681.39 เงินสดและรายการเทยี บเทา เงินสด 6 35,133,875.25 ลูกหนเ้ี งนิ ยมื 7 316,159,905.24 316,159,905.24 เงนิ คา งรบั จากสํานกั งานกองทุนสงเคราะหก ารทาํ สวนยาง 8 23,965,788.78 เงินโอนศนู ยวิจยั ยางพารา สาํ นักงานตลาดกลางยางพารา 5,102.55 เงินโอนศูนยวจิ ัยยางพารา และศนู ยบริการตางๆ 23,970,891.33 รวมสนิ ทรัพยหมุนเวียน 292,189,013.91 รวมสนิ ทรัพย 316,159,905.24 หนส้ี นิ และทนุ หน้สี ินหมุนเวยี น คาใชจ า ยคา งจาย ภาษเี งินได หกั ณ ทจี่ า ย รอนําสง รวมหนห้ี มนุ เวยี น ทุน รายไดสะสม รวมหนส้ี นิ และทุน รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 29 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
การยางแหง ประเทศไทย (สถาบันวจิ ัยยาง เดิม) เงนิ งบพิเศษการคนควา ยาง กรมวิชาการเกษตร งบรายไดและคาใชจา ย สําหรับงวดตั้งแตว ันที่ 15 กรกฏาคม 2558 ถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558 หมายเหตุ หนว ย : บาท รายได 9 - เงนิ สงเคราะหรบั จากสํานักงานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง 10 838,028.19 รายไดด อกเบ้ียเงินฝากธนาคาร รายไดจ ากการจําหนา ยหนังสอื - รายไดอ ื่นๆ 1,659,784.00 รวมรายได 2,497,812.19 คา ใชจาย 24,875,143.03 คา จาง 67,851,220.01 คา ตอบแทนใชส อยและวสั ดุ 2,496,573.61 คา สาธารณูปโภค 10,301,034.00 คา ครภุ ณั ฑ ทีด่ ิน และสิ่งกอสรา ง 1,568,334.76 รายจายอื่น 107,092,305.41 รวมคา ใชจ า ย 104,594,493.22 รายไดส งู (ตา่ํ ) กวา คา ใชจ าย หมายเหตุ : อยูในระหวา งการดําเนินการรวมงบประมาณทัง้ 3 หนว ยงาน รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 30 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง Office of the Rubber Replanting Aid Fund รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 31 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ความเปน มา ประการที่สอง ประเทศผูผลิตยางรวมกันควบคุม ในคร่ึงศตวรรษแรกของยางพาราไทย ตนยางพารา พ้ืนที่ปลูกยางอันเนื่องมาจากราคายางตกตํ่า สงผลใหเกิด ขอตกลงควบคุมจํากัดยางระหวางประเทศ นํามาซึ่ง ในสวนยางลว นเปน เมลด็ ลกู หลานสายพนั ธดุ ง้ั เดมิ จากบราซลิ พระราชบัญญัตคิ วบคมุ ยาง พ.ศ. 25401 ทนี่ าํ เขา มาจากประเทศมาเลเซยี เกอื บทง้ั สน้ิ แตข าดการบาํ รงุ รกั ษา และดว ยอายยุ างทช่ี ราภาพจงึ ทาํ ใหผ ลผลติ ยางตาํ่ มาก ภายหลังจากสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ประเทศไทย ยากเกินจะแขงขันกับประเทศมาเลเซียที่มีการพัฒนาสวน ไดประกาศยกเลิก พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2480 ยางพาราดวยวิทยาการเทคโนโลยีสมัยใหมไปลวงหนาแลว ณ วนั ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2487 แตอ ยา งไรกต็ ามการปรบั ปรงุ ทั้งดานพันธุ การบํารุงรักษา การกรีด และการแปรรูป สวนยางดว ยการปลกู แทนยงั คงไมป รากฏ เนอ่ื งมาจากสภาพ ซ่ึงทําใหประเทศมาเลเซียเปนประเทศผูผลิตยางอันดับหน่ึง เศรษฐกจิ ทว่ั ไปยงั ตกตาํ่ อยู ประกอบกบั เกษตรกรชาวสวนยาง ของโลก ณ ขณะนัน้ ยังขาดความรูความเขาใจที่ถูกตอง จะมีก็แตการเพ่ิมพื้นที่ ปลกู ใหมเ ทา นน้ั แตส าํ หรบั หลายๆประเทศเรม่ิ มกี ารโคน ยาง ในชวงระหวา งป พ.ศ. 2474 – 2480 เปน ชวงเวลา ปลูกแทนมากขึ้น โดยสวนใหญสวนท่ีปลูกแทนในระยะนั้น ที่สวนยางรุนแรกๆมีสภาพและอายุท่ีควรโคนและปลูก เปนสวนขนาดใหญ มีสถานะทางการเงินเอ้ืออํานวย และ ทดแทนใหมไ ดแ ลว แตส วนยางยงั คงถกู ใชง านตอ ไปในสภาพ ถือครองโดยชาวองั กฤษ ยํ่าแยเชนนน้ั ดว ยปจจยั 2 ประการ พ.ศ. 2495 ประเทศมาเลเซยี ภายใตก ารปกครองของ ประการแรก ตวั ชาวสวนยางเองขาดความเขา ใจเรอื่ ง ประเทศอังกฤษ ไดมีการประกาศใชกฎหมายวาดวยการ ความจําเปนในการปลูกแทนซ่ึงเปนวิธีหลักสําหรับพัฒนา สงเคราะหปลูกแทน ที่มีช่ือวา “Rubber Industry สวนยางใหมตี น ทนุ ตาํ่ (Replanting) Fund Organization 1952” เพ่ือชวย เหลือเกษตรกรชาวสวนยางขนาดเล็ก และถัดมา 1 ป ประเทศศรีลังกา ก็ออกกฎหมายในลักษณะเดียวกันกับ ประเทศมาเลเซยี ใชช อ่ื วา “Rubber Replanting Subidy Act 1953” ในชว งเวลานน้ั ประเทศไทยสง นกั วชิ าการไปประชมุ และดงู านดา นยางพาราทปี่ ระเทศมาเลเซยี หลายครงั้ ดว ยกนั ซึ่งมากพอตอกาศึกษารายละเอียดแนวทางการพัฒนา สวนยางพาราดวยวิชาการสมัยใหมใหกระจางชัด อาทิ การผสมพนั ธยุ าง การขยายพนั ธยุ าง การบาํ รงุ รกั ษา การกรดี การแปรรปู ตลอดจนการเตรียมการปลกู แทนเพอื่ ชว ยเหลอื ชาวสวนยางขนาดเลก็ แนวคดิ การปฏริ ปู สวนยางพาราครง้ั ใหญ ไดกอรูปขึ้นเปนรูปธรรม ดวยการเสนอรางพระราชบัญญัติ กองทุนสงเคราะหการทําสวนยางตอกรมกสิกรรม เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม 2498 เพอ่ื ผา นการตรวจแกข องคณะกรรมการ กฤษฎีกากอนเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเห็นชอบ และสภาผูแทนราษฎรเปนลําดับสุดทาย แตการประกาศใช 1 ขอ ตกลงควบคุมจาํ กดั ยางระหวา งประเทศ ชว งระหวางป พ.ศ. 2477 - 2481 มใี จความสาํ คญั ระบวุ า ประเทศสมาชกิ จะปลูกแทนไดไมเ กนิ รอยละ 20 ของเน้ือที่สวนยางทีก่ รีดได รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 32 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
ไมส ามารถบรรลไุ ดเ นอ่ื งจากมผี คู ดั คา นโดยตลอด ทงั้ รฐั บาล พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จากการเลือกตั้ง รัฐบาลคณะรัฐประหาร และรัฐบาล พ.ศ. 2503 มีผลบังคบั ใชต ามความทร่ี ะบุไวใ นมาตรา 2 วา คณะปฏวิ ตั ิ รวมทงั้ หมด 6 รัฐบาลดว ยกนั “พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั เมอ่ื พน กาํ หนดเกา สบิ วนั นบั แตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา” สําแดงวา วันท่ี ฝายคัดคานไดยกประเด็น เงินสงเคราะห มาเปน 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2503 วนั เดยี วกนั กบั วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ประเด็นคัดคาน เนื่องจากการเก็บเงินสงเคราะหจากยาง คอื วนั กอ กาํ เนดิ สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง ที่สงออกนอกราชอาณาจักรนั้นเปนสาระสําคัญท่ีบรรจุไวใน อันเปนวนั มหามงคลแหงนมิ ิตหมายท่ีดีขององคก ร พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง โดยการ เรยี กเกบ็ เงนิ สงเคราะหด งั กลา วจะสง ผลกระทบตอ ตน ทนุ การ แหลง รายได สงออกทเี่ พิม่ ข้นึ แตในเวลาตอ มาเมื่อ ดร.พศิ ปญ ญาลักษณ ในปจ จบุ นั สาํ นกั งานกองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง กา วขน้ึ ดาํ รงตาํ แหนง ผอู าํ นวยการกองการยาง และเปน 1 ใน 25 คณะทป่ี รกึ ษาทางวชิ าการของรฐั บาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต เปนรัฐวิสาหกิจประเภทสงเสริมไมแสวงหากําไร สังกัด จึงทําให ดร.พิศ ปญญาลักษณ มีโอกาสชี้แจงสาระสําคัญ กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีแหลงรายไดหลักในการ ข อ ง ก า ร ป ลู ก แ ท น ซึ่ ง เ ป น หั ว ใ จ สํ า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ดาํ เนนิ งานมาจาก 3 แหลง ดงั น้ี สวนยางพาราของประเทศใหกาวหนาทัดเทียมกับประเทศ ผนู าํ ดา นยางพารา ซงึ่ ตรงกบั นโยบายทเี่ นน การพฒั นา2 ของ 1. เงินสงเคราะห (Cess) เก็บจากผูสงยางออก รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ประกอบกบั การทย่ี างพารา นอกราชอาณาจักร โดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี เปนสินคาสงออกอันดับหนึ่งแซงหนาขาวเปนครั้งแรกในป พระราชบญั ญตั กิ องทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง กาํ หนดให พ.ศ. 2502 ทําใหรัฐบาลตัดสินใจเสนอรางพระราชบัญญัติ แบงการใชจายเงนิ สงเคราะห (Cess) ออกเปน 3 สวน คอื กองทนุ สงเคราะหก ารทาํ สวนยาง พ.ศ. 2503 ผา นกระบวนการ อยางเรง ดวนเพื่อใหมกี ารประกาศใชโ ดยเรว็ 1.1 ไมเ กนิ รอ ยละ 5 เปน คา ใชจ า ยในการคน ควา ทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันท่ีจะเปนประโยชนแก สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล (พระยศขณะน้ัน) เจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบใหก รมวิชาการเกษตร ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองคท รงตราพระราชบญั ญตั กิ องทนุ ฯ พ.ศ. 2503 ในพระปรมาภไิ ธยพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร 1.2 ไมเ กนิ รอ ยละ 10 เปน คา ใชจ า ยในการบรหิ าร มหาภูมิพลอดุลยเดช ณ วันท่ี 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 งานการสงเคราะหของ สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา ดังประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 77 ตอนที่ 73 วันท่ี สวนยาง (สกย.) หากปใ ดไมเ พยี งพอ ใหร ฐั บาลตงั้ งบประมาณ 6 กันยายน พ.ศ. 2503 ดวยเหตุผลตามหมายเหตุทาย รายจา ยเพ่ิมเติมตามความจาํ เปน ประกาศดงั นี้ 1.3 เงนิ นอกจาก (1.1) และ (1.2) เปน เงนิ ทจ่ี ดั สรร “เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ ไวเพื่อการสงเคราะหเจาของสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ ฉบบั พ.ศ. 2503 คือ โดยทีส่ วนยางในประเทศสว นมาก ท้งั สนิ้ และจะจา ยเพือ่ การอื่นมไิ ด เปนสวนเกาและเปนยางที่มิใชยางพันธุดีเปนเหตุใหการ ผลติ ยางไมไ ดผ ลตามทค่ี วรจะได และโดยทกี่ ารแกไ ขสภาพ 2. เงนิ ดอกผล ดอกผลของเงนิ สงเคราะห นําไปใช ทเี่ ปน อยดู งั กลา วใหด ขี นึ้ ตอ งกระทาํ ดว ยการปลกู ยางพนั ธุ จายในการบริหารงานสงเคราะหของ สกย. ไดเทาที่จําเปน ดแี ทนยางเกา จงึ สมควรใหม กี ฎหมายจดั ตง้ั กองทนุ ขน้ึ เพอ่ื สวนท่ีเหลือสมทบเพื่อการสงเคราะหเจาของสวนยางในป ใชใ นการนี”้ สงเคราะหถัดไป 3. เงินอุดหนนุ จากรฐั บาล ในรูปของเงนิ กทู รี่ ฐั บาล เปนผูกู หรือเงินงบประมาณแผนดิน เพื่อดําเนินการ สงเคราะหแกเจาของสวนยางที่ปลูกแทน ปลูกยางใหม บริหารงานของ สกย. และดําเนินกิจกรรมอื่นท่ีรัฐบาล มอบหมาย 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 1 ถูกประกาศใชใ นสมัยรฐั บาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรตั น เชน เดยี วกนั รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 33 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
สาระสาํ คัญของแผนวิสาหกิจ ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ.2555-2559) ฉบับปรับปรงุ ครั้งที่ 2 ในชว งปง บประมาณ 2558-2559 วสิ ยั ทศั น 4. พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรตามแนว “เปนองคกรหลักในการพัฒนาศักยภาพการผลิต ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเพ่ิมมูลคายางพารา ดวยการใหบริการที่เปนเลิศ 5. พัฒนาการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพ่ิม เพอ่ื เสรมิ สรา งสงั คมชาวสวนยางสคู วามเขม แขง็ และยง่ั ยนื ” ประสิทธิภาพในการบรกิ าร เปนองคกรหลักในการพัฒนาศักยภาพการผลิต วตั ถปุ ระสงค ยางพารา และการใหบริการ ต้ังแตการปลูกจนกระท่ัง 1. เพอ่ื ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการปลกู สรา งสวนยาง เก็บเก่ียวผลผลิต การแปรรูปข้ันตน แปรรูปข้ันกลาง เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรม และการตลาด เพ่ือให เขาสูระบบการจัดการสวนยางอยางย่ังยืน และพัฒนา เกษตรกรมรี ายไดมนั่ คง สง ผลใหส ังคมชาวสวนยางเขมแข็ง ระบบตลาด เพม่ิ รายไดแ ละลดตน ทนุ การผลติ ใหก บั เกษตรกร คา นยิ มองคก ร 2. เพ่ือพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตร ใหเพิ่ม สกย. ไดก าํ หนดคา นยิ มองคก รทจี่ ะใชเ ปน บรรทดั ฐาน มูลคา ผลผลติ โดยการแปรรูปผลผลติ จากยางพารา สําหรับพนักงานไดนําไปใชเปนหลักปฏิบัติเพื่อรวมกัน 3. เพ่ือใหบริการเกษตรกรชาวสวนยางและ ขบั เคลอ่ื นองคก รใหก า วหนา บรรลสุ เู ปา หมายขององคก ร ดงั นี้ ผูสงออกยาง ตั้งแตการใหคําแนะนําปลูกสรางสวนยาง จนกระทั่งการเก็บเก่ียวผลผลิต การแปรรูปขั้นตน-แปรรูป O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทาํ งาน ขั้นกลาง การตลาด และรวมถึงการอํานวยความสะดวก R : Responsibility ความรับผิดชอบ ใหแกผปู ระกอบการสง ออกยาง R : Relationship สรา งความสมั พนั ธท ด่ี รี ะหวา งกนั A : Active Teamwork การทํางานเปน ทมี 4. เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การองคก ร F : Faith ความเชื่อถือในองคกร บคุ ลากรสามารถปฏบิ ตั งิ านอยา งเตม็ ศกั ยภาพสอดรบั กบั การ เปลย่ี นแปลงใหก ารปฏบิ ตั เิ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงค เปา หมาย พนั ธกจิ และเปน องคกรทด่ี าํ เนนิ กจิ กรรมภายใตห ลกั ธรรมาภบิ าล เพ่ือใหการดําเนินงานในชวงแผนวิสาหกิจฉบับที่ 6 เปา หมาย (พ.ศ.2555-2559) ฉบบั ปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 2 ในชว งปง บประมาณ 1. เพ่ิมประสิทธิภาพผลผลิตการปลูกสรางสวนยาง 2558-2559 สามารถบรรลตุ ามวสิ ยั ทศั นท กี่ าํ หนด สาํ นกั งาน กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) จึงไดกําหนด ตามระบบการจัดการสวนยางอยางยั่งยืนในพื้นท่ีเหมาะสม พันธกิจ 5 ประการ ดงั น้ี โดยการเปล่ียนพันธุยางที่ใหผลผลิตน้ํายางมากกวาพันธุเดิม เพื่อใหตนทุนการผลิตอยูในระดับมาตรฐานตามที่ สกย. 1. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางดวยการจัดการ กําหนด สวนยางอยางยั่งยืน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่ ที่เหมาะสม 2. สรา งความมน่ั คงใหก บั เกษตรกร และสรา งความ เขมแข็งใหกับสถาบันเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัว 2. สงเสริมการพัฒนาการแปรรูปผลผลิตท่ีไดจาก เพ่ือดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อเพ่ิม ยางพาราใหม ีคุณภาพและมีมลู คาเพิ่ม มูลคาในการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และ อื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูการเปนสถาบัน 3. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การตลาดยางพารา เกษตรกรทเ่ี ปนนติ บิ คุ คล ปล ะ 5 นติ ิบคุ คล และขยายตลาดยางพาราระดบั ทอ งถนิ่ ใหค รอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ ทีส่ ง เสริมใหปลูกยาง บนพนื้ ฐานความรว มมือของเกษตรกร รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 34 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
3. ดําเนินการเปดตลาดประมูลยางพาราระดับ 4. เพื่อใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเห็นความ ทองถ่ิน ครอบคลุมพื้นท่ีที่สงเสริมใหปลูกยาง และซ้ือ-ขาย สําคัญ และมีสวนรวมในการบริหารจัดการสวนยางใน ผา นตลาดของ สกย. รอ ยละ 25 ภายในป 2559 แนวทางท่เี กื้อกูลกับระบบนเิ วศและสงิ่ แวดลอ ม 4. ปรบั ปรงุ ระบบบรหิ ารจดั การองคก ร ใหเ ทยี บเทา ยุทธศาสตรท่ี 2 การสรางความมั่นคงใหกับ มาตรฐานสากล และเสรมิ สรางทัศนคติ คา นยิ ม วัฒนธรรม เกษตรกร และสถาบันเกษตรกร การทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึงเสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานการใหบริการสูความเปนเลิศ สนบั สนนุ ใหเ กดิ การรวมตวั ของเกษตรกรชาวสวนยาง ภายใตหลักธรรมาภิบาล โดยตองไดรับคะแนนการประเมิน ขนาดเลก็ เพอ่ื เปน สถาบนั เกษตรกรและมกี ารดาํ เนนิ การทมี่ ี ความพึงพอใจจากองคก รอิสระภายนอกมากกวารอยละ 80 มาตรฐานตอเนื่อง เชื่อมโยงเปนเครือขายสถาบันเกษตรกร ทกุ ครั้งที่มกี ารประเมนิ เพ่ือใหสามารถพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันในดานการผลิต การแปรรปู และการตลาด รวมทั้งสรา งอาํ นาจในการเจรจา ยทุ ธศาสตร ตอรองตางๆ สนับสนุนใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค และเปา หมายในชว งแผน มีสวนรวมในการกําหนดแนวทางและดําเนินการสงเสริม และพัฒนา สรางแรงจูงใจใหคนรุนใหมเขาสูอาชีพการทํา วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) จึงไดกําหนด สวนยาง และทเี่ กี่ยวของกบั อาชพี ยางพาราเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตรใ นการดาํ เนนิ งานไว 5 ยุทธศาสตร ดังนี้ เปา ประสงค ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิต 1. เพ่ือใหเกิดการรวมตัวของเกษตรกรเปนสถาบัน เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ โดยมงุ เนน การเพมิ่ ผลผลติ เกษตรกร และเชื่อมโยงเปนเครือขายสถาบันเกษตรกร ตอหนวยพ้ืนท่ี เรงรัดใหมีการปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตน ใหสามารถพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันท้ังในดานการผลิต ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ทดแทนสวนยางเกาที่ให แปรรูป และการตลาด รวมท้ังสรางอํานาจในการเจรจา ผลผลิตไมคุมคา สงเสริมการปลูกสรางสวนยางเพิ่มในพ้ืนที่ ตอรอง ทเี่ หมาะสม เกบ็ เกย่ี วผลผลติ จากสวนยางอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบ และตรงตามความตอ งการของตลาด เกษตรกรนาํ เทคโนโลยี อาชีพ และสถาบันเกษตรกรมีการดําเนินการท่ีมีมาตรฐาน ท่ีเหมาะสมไปใชอยางจริงจังและท่ัวถึง เปนการลดตนทุน อยา งตอเนือ่ ง การผลติ สามารถเพ่มิ รายไดใ หก ับเกษตรกร รวมถึงสง เสรมิ 3. เพอ่ื ใหเ กษตรกรและสถาบนั เกษตรกร มสี ว นรว ม ใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร มีสวนรวมในการบริหาร ในการกําหนดแนวทางและดําเนินการในการสงเสริมและ จัดการสวนยางในแนวทางที่เกื้อกูลกับระบบนิเวศและ พัฒนาเพื่อสรางความมั่นคงใหแกเกษตรกรและสถาบัน สิ่งแวดลอม เกษตรกร เปา ประสงค 4. เพื่อใหมีผูนําเกษตรกรและเกษตรกรรุนใหม 1. เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตอหนวยพ้ืนท่ีใน เพมิ่ ขน้ึ พน้ื ทท่ี ่ีเหมาะสม ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเพ่มิ มลู คา ยางพารา 2. เพื่อใหเกษตรกรใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ การเพ่มิ มูลคายางพารา โดยสงเสรมิ การแปรรูปยาง เพมิ่ ผลผลิตและลดตนทุนการผลิต รวมถงึ การดาํ เนินการใน ขั้นตนและข้ันกลางเพื่อเปนวัตถุดิบตั้งตนเขาสูอุตสาหกรรม เรื่องของผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ และตรงตามความ เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรไดร บั การถา ยทอดเทคโนโลยี ตองการของตลาด การผลิตและการแปรรูปยางดวยวิธีที่ถูกตองเหมาะสมและ 3. เพ่ือเพ่ิมรายไดและเก็บเก่ียวผลประโยชนอยาง ไดมาตรฐาน รวมถึงการสาธิตการแปรรูปผลิตภัณฑยาง คมุ คาจากสวนยางพารา เพอื่ เพิม่ มลู คา รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 35 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
เปา ประสงค ความสามารถที่เปนประโยชนตอหนาที่ความรับผิดชอบ 1. เพอื่ ใหเ กษตรกรและสถาบนั เกษตรกรมแี นวทาง มีความรอบรูทันตอการบริหารการเปลี่ยนแปลงและ ในการแปรรูปผลผลติ การจัดการความเสี่ยง เรง รดั การปรบั ปรงุ โครงสราง จดั ใหม ี ยุทธศาสตรที่ 4 การพฒั นาระบบตลาดยางพารา ระบบการคัดสรรบุคลากรใหสอดคลองและเหมาะสมกับ จัดใหมีตลาดประมูลยางระดับทองถ่ิน เพื่อรองรับ ภารกิจท่ีรับผิดชอบ สงเสริมการปลูกฝงจิตสํานึก คานิยม ผลผลิตยางพาราครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีที่สงเสริมใหเกษตรกร องคกร คุณธรรม จริยธรรม และสรางวินัยแกบุคลากร ขายผลผลิตไดในราคาท่ีเปนธรรม โดยระดับราคาสูงกวา ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบียบขอ บังคบั และคําสั่งใหสอดคลอ ง ตนทุนการผลิตของเกษตรกร พัฒนาเครือขายและระบบ กับสภาวะปจจุบัน พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหใช ตลาดยางใหเกษตรกรท่ัวประเทศสามารถขายยางไดใน ประโยชนเต็มศักยภาพและสามารถเขาถึงขอมูลไดอยาง ราคาใกลเคียงกัน สรางกลไกในการเผยแพรขอมูลขาวสาร ถกู ตอ ง สะดวก รวดเร็วและทัว่ ถงึ แสวงหาพันธมิตรในการ และวิเคราะหสถานการณเรงดวน เพ่ือใหเกษตรกรไดรับรู ดูแลเกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรในภาคเหนือ และ ขาวสารที่เกี่ยวของหรือมีผลกระทบกับราคาอยางรวดเร็ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ือชวยลดตนทุนในการบริหาร ทนั เวลาและทว่ั ถงึ เพ่ือเปน ขอ มลู ประกอบการตดั สินใจ จัดการ เปาประสงค 1. เกษตรกรชาวสวนยางมีชองทางในการขาย เปาประสงค ผลผลิตยางพาราไดใ นราคาที่เปนธรรม 1. พัฒนาทรัพยากรบุคคลใหสามารถปฏิบัติงาน 2. มีตลาดประมูลยางพาราระดับทองถ่ินไวรองรับ ไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ สอดรบั การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ผลผลิตยางพาราครอบคลุมทุกพื้นท่ี ที่มีการสงเสริมการ และการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลแนวใหมท่ียึดหลัก ปลูกยาง สมรรถนะ ผลงานและคุณธรรม โดยเฉพาะในเรื่องการ 3. เกษตรกรไดรับรูขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวของหรือมี ถา ยทอดองคค วามรจู ากรุน สรู ุน การปลูกจิตสํานกึ ที่ดี ผลกระทบกบั ราคา รวดเรว็ ทนั เวลา และทว่ั ถงึ เพอ่ื เปน ขอ มลู 2. พัฒนาใหมีการบริหารภายใตหลักธรรมาภิบาล ประกอบการตัดสนิ ใจ ในการดําเนินงานใหเปนที่ยอมรับของทุกภาคสวน โปรงใส ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ าร ม่ันใจ และตรวจสอบได เพื่อใหสอดคลองกับแนวนโยบาย จดั การองคกร การบรหิ ารจดั การบานเมอื งท่ดี ี เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร 3. พัฒนาบุคลากรใหเปนผูใฝเรียนรูและมีการ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับ แลกเปลยี่ นเรยี นรรู ว มกนั โดยเฉพาะการถา ยทอดองคค วามรู การเปลี่ยนแปลง และความกาวหนาของเทคโนโลยี จากรนุ สูรุน สารสนเทศ เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปตามเปาหมาย 4. ปรับปรุง แกไ ข กฎหมาย ขอระเบียบ และคําส่ัง วัตถุประสงค และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใต ใหส อดคลอ งกับสภาวะปจ จบุ ัน หลกั จรยิ ธรรมและการกาํ กบั ที่ดี ควบคูไปกบั การใสใ จสงั คม 5. ปรบั ปรุงกระบวนการใหบ ริการและพัฒนาระบบ และสิ่งแวดลอม โดยการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ขอ มลู สารสนเทศใหถ กู ตอ ง สะดวกและรวดเรว็ ทนั ตอ การใช เพือ่ เสรมิ สรา งการบริหารจดั การภายใตห ลกั ธรรมาภิบาล รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 36 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 37 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายปติพงศ พึ่งบุญ ณ อยุธยา ประธานกรรมการ วนั /เดือน/ปเกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2490 อายุ 68 ป ประวตั ิการศกึ ษา - หลกั สูตรการปองกันราชอาณาจกั ร วิทยาลยั ปอ งกนั ราชอาณาจักร - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยแคลฟิ อเนียสเตท - เศรษฐศาสตรบัณฑิต North East Missouri State University - นิติศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง ประวัตกิ ารทาํ งานท่ีสําคญั - รัฐมนตรวี า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ - ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม - ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ - เลขาธกิ ารสาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร - รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ - รัฐมนตรวี า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตาํ แหนง หนาทีป่ จจบุ ัน - คณะกรรมการบริหาร สาํ นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) วนั /เดือน/ป ที่เขาดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ – วันสิ้นสดุ 30 สิงหาคม 57 - 24 พฤศจกิ ายน 2557 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 38 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
นายอํานวย ปะติเส ประธานกรรมการ วนั /เดอื น/ปเ กิด 7 พฤษภาคม 2490 อายุ 68 ป ประวัตกิ ารศึกษา - เศรษฐศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ประวตั ิการทํางานท่สี ําคัญ - ท่ีปรกึ ษารองนายกรัฐมนตรี - นกั วิชาการประจําสภาหอการคา ไทย - รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงการคลงั - สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร จงั หวัดมหาสารคาม ตําแหนง หนาท่ีปจ จุบัน - รฐั มนตรีชว ยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ วนั /เดอื น/ป ทเ่ี ขา ดาํ รงตาํ แหนงคณะกรรมการ – วันสิ้นสดุ 25 พฤศจกิ ายน 2557 - 17 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 39 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายสมปอง อินทรทอง รองประธานกรรมการ วัน/เดือน/ปเ กดิ 12 กรกฎาคม 2500 อายุ 58 ป ประวตั กิ ารศึกษา - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร - เนตบิ ัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนตบิ ัณฑติ สภา - นิตศิ าสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง ประวัตกิ ารทาํ งานทีส่ าํ คญั - ผตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - รองเลขาธิการสาํ นักงานการปฏริ ปู ที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม ตําแหนง หนาทีป่ จจุบนั - รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ วนั /เดือน/ป ทเี่ ขาดาํ รงตําแหนงคณะกรรมการ – วนั สิน้ สดุ 1 ตุลาคม 2557 - 2 มีนาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 40 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
นายอภัย สุทธิสังข รองประธานกรรมการ วัน/เดือน/ปเ กดิ ประวตั กิ ารศกึ ษา - สตั วแพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ประวัตกิ ารทํางานท่สี ําคญั - รองอธิบดีกรมปศุสตั ว - ผูตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตําแหนง หนา ท่ีปจจุบนั - รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ รักษาราชการแทนอธิบดีกรมหมอ นไหม วัน/เดอื น/ป ทีเ่ ขา ดาํ รงตาํ แหนงคณะกรรมการ – วันส้นิ สุด 3 มนี าคม 2558 - 28 พฤษภาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 41 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายสมชาย ชาญณรงคกุล รองประธานกรรมการ วนั /เดือน/ปเ กดิ 19 เมษายน 2501 อายุ 57 ป ประวตั ิการศกึ ษา - หลกั สตู รผูบรหิ ารกระบวนการยตุ ิธรรมระดับสงู รุนที่ 17 วิทยาลัยการยตุ ธิ รรม สถาบันพัฒนาขา ราชการฝาย ตลุ าการศาลยตุ ิธรรม - หลักสตู รวิทยาการประกันภยั ระดบั สูง รนุ ที่ 1 สถาบันวทิ ยาการประกนั ภัยระดบั สงู - Certificate-The practice of trade policy : Economics, negotiations and rules John F. Kennedy School of Government, Harvard University, U.S.A - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร - วิทยาศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ประวัติการทํางานทสี่ ําคญั - อธบิ ดีกรมสงเสริมสหกรณ - อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร - ผตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - รองผูอาํ นวยการสํานกั งานมาตรฐานสนิ คา เกษตรและอาหารแหง ชาติ ตาํ แหนงหนา ที่ปจจบุ ัน - รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ วัน/เดอื น/ป ท่เี ขา ดํารงตาํ แหนงคณะกรรมการ – วนั สน้ิ สดุ 29 พฤษภาคม 2558 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 42 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
นายโอฬาร พิทักษ วนั /เดือน/ปเกดิ กรรมการ 17 พฤศจิกายน 2498 อายุ 60 ป ประวตั กิ ารศึกษา - หลกั สตู รการปอ งกนั ราชอาณาจกั รภาครฐั รว มเอกชน (ปรอ.) รุนท่ี 20 วทิ ยาลัยปองกนั ราชอาณาจกั ร - M.Sc. Crop Production , University of Bath สหราชอาณาจกั ร - วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ประวัตกิ ารทํางานท่ีสาํ คัญ - รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ - ผตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - รองอธบิ ดกี รมสงเสริมการเกษตร ฝายวชิ าการ - ผูอาํ นวยการสํานักสงเสริมและจัดการสนิ คา เกษตร กรมสง เสริมการเกษตร ตําแหนง หนาทีป่ จ จุบนั - อธบิ ดีกรมสง เสริมการเกษตร วนั /เดือน/ป ท่เี ขาดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ – วนั สนิ้ สดุ 1 ตลุ าคม 2556 - 14 กรกฎาคม 2558 วัน/เดือน/ปเ กิด 16 ธนั วาคม 2502 อายุ 56 ป ประวตั กิ ารศึกษา - นักบรหิ ารการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ ระดับสงู - พฒั นาสัมพันธระดับผูบริหาร - การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน - พฒั นบริหารศาสตรมหาบณั ฑิต สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร นายอนันต สุวรรณรัตน - วิทยาศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร กรรมการ ประวตั กิ ารทํางานที่สาํ คญั - ผูตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ - ผอู ํานวยการสวนการผลติ ยาง - เลขานกุ ารกรม - ผอู าํ นวยการสาํ นกั ควบคมุ พืชและวสั ดกุ ารเกษตร บริหารระดบั สูง ตาํ แหนง หนาที่ปจ จบุ ัน - อธิบดกี รมวิชาการเกษตร วัน/เดือน/ป ท่เี ขาดาํ รงตําแหนง คณะกรรมการ – วนั ส้ินสดุ 1 ตลุ าคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 43 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายพิเชฏฐ พรอมมูล วนั /เดอื น/ปเ กดิ กรรมการ 14 กันยายน 2502 อายุ 57 ป ประวัตกิ ารศกึ ษา - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต Cranfield Institute Technology, UK - วทิ ยาศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั เชียงใหม ประวัติการทาํ งานทีส่ ําคัญ - นกั วิชาการเกษตร ชาํ นาญการพเิ ศษ ทาํ หนาที่ผอู าํ นวยการสถาบันวจิ ยั ยาง - นักวิชาการเกษตร ชํานาญการพิเศษ ทําหนาที่ผูอํานวยการกลุมวิจัย เศรษฐกิจยาง - นกั วชิ าการเกษตร ชาํ นาญการพเิ ศษ ตาํ แหนง หนาทป่ี จจบุ นั - ผอู ํานวยการสถาบนั วจิ ัยยาง วัน/เดอื น/ป ท่เี ขา ดํารงตําแหนง คณะกรรมการ – วันสิน้ สดุ 1 ตลุ าคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 วัน/เดอื น/ปเ กิด 7 พฤษภาคม 2504 อายุ 54 ป ประวัตกิ ารศกึ ษา - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร - นติ ศิ าสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง ประวัติการทํางานที่สาํ คัญ - ผูอํานวยการสาํ นักงานศุลกากรทา เรอื แหลมฉบงั นายยุทธนา หยิมการุณ ตาํ แหนงหนาทป่ี จ จบุ ัน - ทปี่ รึกษาดานพฒั นาระบบควบคุมทางศุลกากร กรรมการ วนั /เดอื น/ป ท่ีเขาดาํ รงตําแหนง คณะกรรมการ – วันสิ้นสุด 1 ตุลาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 44 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
นางเยาวลักษณ วัน/เดือน/ปเกดิ มานะตระกูล 30 พฤศจิกายน 2497 อายุ 60 ป กรรมการ ประวัติการศึกษา - Master of Business Administration Monash University Australia - นติ ิศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร - เศรษฐศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวตั ิการทํางานท่สี ําคญั - ตําแหนง หนาท่ปี จ จบุ นั - รองผอู าํ นวยการสํานกั งบประมาณ วัน/เดอื น/ป ทเ่ี ขา ดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ – วันสิ้นสดุ 26 พฤศจกิ ายน 2556 - 14 กรกฎาคม 2558 วนั /เดือน/ปเกดิ 27 กมุ ภาพันธ 2500 อายุ 58 ป ประวัติการศกึ ษา - M.A. (Agricultual Development Economics), Australia - วทิ ยาลยั ปองกนั ราชอาณาจักร (วปอ.52) ป พ.ศ.2552 - สถาบนั พระปกเกลา หลักสตู รนโยบาย เศรษฐกิจสาธารณะฯ (ปศส.6) ป พ.ศ.2550 - วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ประวัติการทาํ งานที่สําคัญ - กรรมาธกิ ารวสิ ามญั การบรหิ ารจดั การนาํ้ เพอ่ื การพลงั งานและอตุ สาหกรรมสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ - ท่ีปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน (เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 10 ชช.) นางสาวลดาวัลย คําภา ทรงคุณวฒุ ิ สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ กรรมการ - ผูอํานวยการสํานักวางแผนการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ - รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ สาํ นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ตาํ แหนงหนาที่ปจ จบุ นั - รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ - คณะกรรมการบรหิ ารสาํ นกั งานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องคก ารมหาชน) - คณะกรรมการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย วัน/เดอื น/ป ที่เขา ดํารงตาํ แหนง คณะกรรมการ – วันสิ้นสดุ 6 ตลุ าคม 2551 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 45 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (ก.ส.ย.) นายณกรณ วนั /เดือน/ปเ กิด ตรรกวิรพัท 15 พฤษภาคม 2518 อายุ 40 ป กรรมการ ประวัติการศกึ ษา ดร.กฤชนนท - ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง หอทองคํา - บรหิ ารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ กรรมการ ประวัตกิ ารทาํ งานทีส่ ําคัญ - เลขาธกิ ารประจาํ คณะกรรมาธกิ ารการเงนิ การธนาคารและสถาบนั การเงนิ วฒุ สิ ภา - รบั ผดิ ชอบดา นการตลาด การประชาสมั พนั ธอ งคก รของบรษิ ทั ลคุ แอท มี จาํ กดั - รบั ผิดชอบดาน Logistics การคา -การขนสง ระหวางประเทศบริษทั โอเวอร ซี โปรดกั ส จํากดั ตําแหนงหนา ทป่ี จ จบุ นั - ผอู ํานวยการสันนิบาตสหกรณ - กรรมการผูจ ัดการ บริษทั ลุค แอท มี จาํ กดั - รองประธาน บริษัท โอเวอร ซี โปรดกั ส จํากัด วนั /เดือน/ป ทีเ่ ขา ดํารงตําแหนง คณะกรรมการ - วันสิน้ สุด 24 กรกฎาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 วัน/เดอื น/ปเ กิด 31 ตลุ าคม 2523 อายุ 35 ป ประวตั กิ ารศึกษา - ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ (บริหารธุรกจิ อุตสาหกรรม) สถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกลา คณุ ทหารลาดกระบัง - บริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจเกษตรและอตุ สาหกรรม อาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา คุณทหารลาดกระบงั - สาขาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลยั มหิดล ประวตั กิ ารทาํ งานทสี่ าํ คญั - อปุ นายกสมาคมนกั ธุรกิจ SME รนุ ใหม - ผชู ว ยเลขานุการ คณะกรรมาธกิ ารพลังาน สาํ นกั งานเลขาธิการวฒุ สิ ภา - ทป่ี รกึ ษาวทิ ยาลยั การบรหิ ารและจดั การสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา คณุ ทหารลาดกระบงั - อาจารยว ชิ าการจัดการธรุ กจิ เกษตร หลักสตู รบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑติ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา คณุ ทหารลาดกระบงั ตาํ แหนงหนา ท่ปี จจบุ นั - อาจารย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา คุณทหารลาดกระบัง - กรรมการ บรษิ ทั บอรน ทู บสิ จํากดั วัน/เดือน/ป ทเ่ี ขา ดาํ รงตาํ แหนง คณะกรรมการ - วนั ส้ินสดุ 24 กรกฎาคม 2557 - 14 กรกฎาคม 2558 รายงานประจําป 2558 การยางแหงประเทศไทย 46 Annual Report 2015 Rubber Authority of Thailand
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148