Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Training_plan

Training_plan

Description: Training_plan

Search

Read the Text Version

101 ความรู้เพม่ิ เตมิ สาหรับครู เร่ือง รูปวฏั จกั รหนิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

102 ตวั อยา่ งใบบนั ทึกกิจกรรม 7 ช่ือ.................................................................. ช้นั ...................... เลขที่ ....................... วนั ที่................................ เดือน.................................... พ.ศ. .......................... วาดรูปวฏั จกั รหิน หนิ อคั นี การหลอม หนิ แปร ผุพงั กรอ่ น ประสาน การหลอม การแปรสภาพ หนิ ตะกอน การแปรสภาพ ผุพงั กร่อน ประสาน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

103 แผนการอบรมครู 8 สาระที่ 6 โลกและการเปล่ยี นแปลง เวลา 1 ชวั่ โมง เรื่อง การจาแนกหินโดยใชส้ มบตั ิทางกายภาพ และทางเคมขี องหิน แนวความคดิ การจาแนกออกเป็นอคั นี หินตะกอน และหินแปร โดยใชเ้ กณฑจ์ ากลกั ษณะการเกิด เพราะ หินแต่ละชนิดมีสมบตั ิทางกายภาพแตกต่างกนั อนั ไดแ้ ก่เน้ือหิน สี ลกั ษณะของแร่ประกอบหิน ความหนกั เบาของหิน นอกจากน้ียงั อาจมสี มบตั ิทางเคมีแตกต่างกนั จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถจาแนกหินโดยใชส้ มบตั ิทางกายภาพและเคมไี ด้ ความรู้พนื้ ฐาน การใชแ้ วน่ ขยาย การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ความเข้าใจคลาดเคลอื่ น - วธิ ีการจดั กจิ กรรม กจิ กรรม 8 จาแนกหนิ ได้อย่างไร 1. แต่ละกลมุ่ ช่วยกนั จาแนกหินท้งั 12 กอ้ น โดยใชเ้ กณฑใ์ นการจาแนกที่กลุ่มกาหนดข้ึน พยายามหาเกณฑใ์ นการจาแนกหินใหม้ ากท่ีสุด นาเสนอโดยบอกเกณฑ์ จานวนกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีหินหมายเลขอะไรบา้ ง 2. ใหช้ ่วยกนั สงั เกตสมบตั ิทางกายภาพ และทางเคมีของหินตามใบกิจกรรมที่ 8 บนั ทึก ผล 3. นาเสนอขอ้ มลู และร่วมกนั อภิปราย เปรียบเทียบสมบตั ิทางกายภาพ และสมบตั ิทาง เคมีของหินท้งั 12 กอ้ น 4. ใหแ้ ต่ละกล่มุ ช่วยกนั ใชส้ มบตั ิทางกายภาพ และทางเคมีของหินจาแนกหินท้งั 12 กอ้ น ออกเป็นหินอคั นี หินตะกอน และหินแปร บนั ทึกผลนาเสนอผลการจาแนก พร้อมบอก เหตุผล สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

104 5. ช่วยกันศึกษาใบความรู้ การจาแนกประเภทของหิน จากตารางแสดงการจาแนก ประเภทของหิน และใบเฉลยกิจกรรม ร่วมกนั อภิปรายเปรียบเทียบการจาแนกหินของ กลุ่ม กบั ใบเฉลยกิจกรรม 6. ร่วมกนั อภิปรายประโยชนข์ องการจาแนกหิน การวดั และประเมนิ ผล 1. การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมของผเู้ ขา้ รับการอบรม 2. การแสดงความคิดเห็นต่อช้นั เรียนและการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 3. การตอบคาถามในใบบนั ทึกกิจกรรม 4. การตอบคาถามในใบสะทอ้ นการการเรียนรู้ การเตรียมล่วงหน้าวทิ ยากร - ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

105 ความรู้เพมิ่ เตมิ สาหรับครู เร่ือง ลกั ษณะทว่ั ไปของตวั อย่างหนิ อคั นี หนิ ตะกอนและหินแปร ตวั อย่างของหินอคั นี ชนิดของหิน ลักษณะทัว่ ไป การนาไปใช้ประโยชน์ และแหล่งทีพ่ บ หินแกรนิต หินแกรนิตเป็นหินอคั นีแทรกซอนชนิดหน่ึงท่พี บมากบนพ้นื ทวปี ผลึกแร่มขี นาดปานกลางถึงหยาบ เน้ือหินมขี นาดสม่าเสมอ สามารถมองเห็นผลึกแร่ไดอ้ ยา่ งชดั เจนดว้ ยตาเปล่า หินแกรนิตส่วนใหญ่ (granite) ประกอบดว้ ยแร่ท่ีมสี ีจาง หินแกรนิตจะมีสีขาว เทาออ่ น ชมพู เหลืองหรือน้าตาลอ่อน นิยมใชใ้ นงาน ก่อสร้าง ใชเ้ ป็นหินประดบั ใช้ ปูพ้ืนและผนงั อาคาร ใชเ้ ป็ นหินสลกั และใชต้ กแต่งอาคารสถานที่ แหลง่ ผลิตหินแกรนิตทส่ี าคญั อยทู่ จี่ งั หวดั ตาก หินไดออไรตเ์ ป็นหินอคั นีแทรกซอนเน้ือหยาบชนิดหน่ึง มีส่วนประกอบอยรู่ ะหว่างหินแกรนิตกบั หินไดออไรต์ หินแกบโบร ผลึกแร่ส่วนใหญ่มีขนาดเดียวและสม่าเสมอ สามารถมองเห็นผลึกแร่ไดอ้ ยา่ งชดั เจน (diorite) ดว้ ยตาเปลา่ หินไดออไรตจ์ ะมสี ีดา เทาเขม้ ใชท้ าครกหิน ใชใ้ นงานก่อสร้าง ใชเ้ ป็ นหินประดบั และ ใชต้ กแตง่ อาคารสถานท่ี พบทจี่ งั หวดั สระบรุ ี เลย เพชรบูรณ์ ลพบุรีและนครราชสีมา หินพมั มิซเป็ นหินแกว้ ภูเขาไฟชนิดหน่ึง มีฟองอากาศเลก็ ๆ อยู่ในเน้ือหินมากมายจนมองดูคลา้ ย หินพมั มซิ ฟองน้าและมคี วามวาวคลา้ ยเส้นไหม หินพมั มซิ เกดิ จากการเยน็ ตวั และแขง็ ตวั อยา่ งรวดเร็วของลาวา (pumice) หินพมั มิซมีส่วนประกอบเหมือนหินไรโอไลต์ เน้ือหินมีความพรุนมาก ทาให้มีน้าหนักเบา และ สามารถลอยน้าได้ หรือทเ่ี รียกวา่ หินลอยน้า หินพมั มิซจะมสี ีขาวปนเหลือง น้าตาล เทาอ่อน ใชข้ ดั ถู ภาชนะไดด้ ีและทาใหผ้ ิวภาชนะวาว ชาวบา้ นเรียกว่า หินส้ม พบไดต้ ามชายหาดทะเลอ่าวไทย ซ่ึง ลอยน้ามาจากประเทศอนิ โดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์ หินบะซอลตเ์ ป็นหินอคั นีพชุ นิดหน่ึง มเี น้ือละเอียดและมีเน้ือแน่น ส่วนใหญ่มีรูพรุน หินบะซอลต์มี หินบะซอลต์ สีเทาเขม้ ถึงดา อาจเปล่ยี นเป็นสีน้าตาลหรือแดงในส่วนท่ีเกิดการผพุ งั ใชใ้ นงานก่อสร้าง ใชเ้ ป็ นวสั ดุ (basalt) รองพ้ืนเพือ่ ทาถนนและทางรถไฟ หินบะซอลตพ์ บที่จงั หวดั ตราด แพร่ บุรีรัมย์ ลาปาง กาญจนบุรี จนั ทบุรีและตราด และพบหลายแห่งในประเทศไทย หินชนิดน้ีเป็นหินตน้ กาเนิดของพลอยแซปไฟร์ และทบั ทิม ซ่ึงพบทจ่ี งั หวดั กาญจนบุรี จนั ทบรุ ี ตราดและแพร่ ตวั อย่างของหินตะกอน ชนิดของหิน ลกั ษณะทั่วไป การนาไปใช้ประโยชน์ และแหล่งทีพ่ บ หินกรวดมนมเี น้ือหยาบ ประกอบดว้ ยเศษหินหรือกรวดเป็ นส่วนใหญ่ กรวดมีลกั ษณะกลมมน หินกรวดมน ซ่ึงมเี ส้นผ่านศูนยก์ ลางใหญ่กว่า 2 มิลลเิ มตร พบกรวดขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่และ (conglomerate) กอ้ นหินมนใหญฝ่ ังตวั อยใู่ นเน้ือพ้ืนละเอยี ดขนาดทรายหรือทรายแป้ ง วตั ถุประสานตะกอนอาจ เป็นแคลเซียมคาร์บอเนต เหลก็ ออกไซด์ ซิลิกาหรือตะกอนดินเหนียว หินกรวดมนมีไดห้ ลายสี ตามเน้ือพ้ืน และเม็ดตะกอนกรวดส่วนมากเป็ นหินและแร่ที่คงทนต่อการผุพงั หินกรวดมนใช้ ประโยชน์เป็นหินก่อสร้างและใชป้ ระดบั ตกแต่งอาคารสถานที่ พบทางดา้ นตะวนั ตกและท่ีราบ สูงโคราชของประเทศไทย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

106 หินทราย (sandstone) หินทรายประกอบดว้ ยเศษหินท่ีมีลกั ษณะมนหรือบางคร้ังอาจเป็ นเหล่ียมแต่พบนอ้ ยมากขนาด เมด็ ทรายประสมอยูใ่ นเน้ือพ้ืนที่ละเอียด อาจมีวตั ถุประสานตะกอน เช่น ซิลิกา เหล็กออกไซด์ หินดินดาน (shale) และ หินปูน (limestone) แคลเซียมคาร์บอเนต ตะกอนขนาดทรายท่ีประกอบเป็ นหินทรายส่วนใหญ่เป็ นแร่ควอตซ์ หิน ทรายมีหลายสี เช่น สีแดง เหลือง น้าตาล เทาและขาว ส่วนใหญ่ใช้ในงานก่อสร้างและการ แกะสลกั เป็นรูปร่างตา่ ง ๆ พบมากในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หินดินดานมเี น้ือละเอียด เกิดจากการอดั แน่นของดินเหนียว ทรายแป้ งหรือโคลน มีโครงสร้าง เป็นช้นั บางทาใหเ้ ปราะและแตกเป็ นแผ่นไดง้ ่ายโดยเฉพาะตามพ้ืนผิวท่ีผุพงั หินมีเน้ือแน่นแข็ง แต่ไมแ่ ขง็ แกร่งเหมอื นหินชนวน หินดนิ ดานมีสีแดง น้าตาล เทาหรือดา ใชผ้ สมกบั หินปนู ใน อตุ สาหกรรมการผลิตปนู ซีเมนต์ และใชใ้ นอตุ สาหกรรมเซรามิก พบหินดนิ ดานท่จี งั หวดั ภูเกต็ สุ ราษฎร์ธานี กาญจนบรุ ีและสระบุรี หินปูนมีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนตมากกว่าร้อยละ 50 โดยน้าหนัก ไดแ้ ก่ แร่แคลไซต์ อาจมีหรือไม่มีแร่โดโลไมต์กไ็ ด้ หินปูนอาจเกิดจากการตกจมทบั ถมของซากเปลือกหอยหรือ สิ่งมชี วี ติ อน่ื ๆ ทอ่ี าศยั อยใู่ นทะเล หรือเกดิ จากการตกตะกอนทางเคมี (พบไดน้ อ้ ย) ส่วนมากจะ พบซากดกึ ดาบรรพป์ รากฏอยู่ หินปูนจะมีสีเทาออ่ นถึงเทาเขม้ นิยมใชเ้ ป็นวสั ดุกอ่ สร้างและใชใ้ น อตุ สาหกรรมปูนซีเมนตแ์ ละปูนขาว พบมากในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ตกและภาคใตข้ อง ประเทศไทย ตวั อย่างของหินแปร ชนิดของหิน ลกั ษณะท่วั ไป การนาไปใช้ประโยชน์ และแหล่งทพี่ บ หินไนส์ (gneiss) หินไนส์เป็นหินทีม่ ลี กั ษณะเน้ือหยาบ แสดงร้ิวขนานหรือแถบลายทางของแร่ และมีการเรียงตวั หินควอร์ตไซต์ ของผลกึ แร่ในหิน หินมีเน้ือแน่นแข็ง ลกั ษณะความเป็ นเน้ือเดียวกนั ของหินไนส์อาจใชบ้ อกถึง (quartzite) หินตน้ กาเนิดได้ กล่าวคือ หินไนส์ที่มีตน้ กาเนิดมาจากหินอคั นี หรือหินตะกอน ประโยชนส์ ่วน ใหญ่ใชเ้ ป็นหินทิ้ง หินบด หินกอ่ สร้างและใชเ้ ป็นหินประดบั พบกระจายตวั อย่ทู างดา้ นตะวนั ตก หินชนวน (slate) และภาคตะวนั ออกของประเทศไทย หินควอร์ตไซตเ์ ป็นหินท่เี กิดไดท้ ้งั จากการแปรสภาพบริเวณไพศาลและจากการแปรสภาพแบบ สัมผสั หินมีลกั ษณะเน้ือแน่นแข็ง เป็ นหินท่ีประกอบดว้ ยแร่ควอตซ์เป็ นส่วนใหญ่ หินควอร์ต ไซตเ์ กดิ มาจากหินทรายทถ่ี กู แปรสภาพ เมือ่ หินควอร์ตไซตแ์ ตก รอยแตกจะตดั ผ่านท้งั ผลึกแร่ ควอตซ์และตวั เชอื่ มประสาน ซ่ึงจะแตกต่างจากการแตกในหินทรายที่รอยแตกจะไม่ตดั ผ่านเมด็ ทราย ส่วนใหญ่หินควอร์ตไซต์จะมีสีขาวและมีสีอ่ืน ๆ เช่น สีเทา น้าตาลและแดง ใชเ้ ป็ นวสั ดุ ก่อสร้าง ใชใ้ นอตุ สาหกรรมแกว้ และเซรามิก พบในภาคตะวนั ตก ภาคตะวนั ออก ภาคเหนือและ ภาคใตข้ องประเทศไทย หินชนวนเกิดจากการแปรสภาพบริเวณไพศาล หินมเี น้ือเนียน ประกอบดว้ ยผลึกแร่ขนาดเลก็ ๆ เรียงตวั กนั เป็นร้ิวขนาน หินมีความแข็งเพิ่มข้ึนและเกิดแนวแตกและรอยแยกเป็ นแผ่นตามการ เรียงตวั ของแร่ โดยแนวแตกเรียบน้ีน้ีไมจ่ าเป็นตอ้ งมรี ะนาบเหมอื นกบั การวางช้นั ของหินดินดาน เดิม หินชนวนมีหลายสี เช่น สีเทา-ฟ้ า ดา แดง เขียวและสีน้าตาล-เหลือง หินชนวนท่ีแซะ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

107 หินออ่ น (marble) ออกเป็นแผ่นใหญ่ ๆ ไดจ้ ะใชท้ ากระดานชนวน แผน่ มุงหลงั คาและเป็ นหินประดบั แหล่งผลิตท่ี สาคญั อยทู่ ีจ่ งั หวดั สระบรุ ีและนครราชสีมา หินอ่อนเป็นหินที่เกิดไดท้ ้งั จากการแปรสภาพบริเวณไพศาลและจากการแปรสภาพแบบสัมผสั ของหินคาร์บอเนต ประกอบดว้ ยแร่แคลไซตแ์ ละ/หรือโดโลไมต์ ทเี่ กดิ ผลกึ ใหม่ มีเน้ือละเอียดถึง หยาบ เน้ือผลกึ สม่าเสมอ มเี น้ือแน่นแขง็ หินออ่ นมีหลายสี เช่น สีขาว เทา หรือสีอื่นๆ และอาจมี ลวดลายสวยงามสามารถนามาขดั มันและใชใ้ นงานสถาปัตยกรรม ศิลปกรรมและใชป้ ระดบั ตกแต่งอาคารสถานที่และอาจนาเศษหินไปใชใ้ นอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น สี ยาสีฟันไดด้ ี แหล่ง ผลิตทส่ี าคญั อยทู่ ี่จงั หวดั สระบุรีและลาปาง เอกสารอ้างอิง : ราชบณั ฑิตยสถาน. 2544. พจนานุกรมศพั ทธ์ รณีวทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. อรุณการพมิ พ.์ กรุงเทพฯ. 374 หนา้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

108 ตวั อย่างการบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 8 บันทกึ ลกั ษณะทางกายภาพของหินจากที่สังเกตและทดสอบได้ ลกั ษณะเนอื้ หิน ลักษณะของแร่ประกอบหนิ สี ความหนัก การทาปฏิกิริยา ลักษณะและสมบัติ (จานวนชนิดของแร่ประกอบหินที่ เบาของหิน กับกรดไฮโดร อื่น ๆ ทส่ี ังเกตและ ตัว (เนอื้ ผลกึ หยาบ, สังเกตได้, ลกั ษณะรูปร่างของเม็ดแร่, อย่างท่ี ละเอยี ด, เนอื้ แก้ว, คลอริก ทดสอบได้ เนอื้ ฟองอากาศ) ลกั ษณะการเรียงตัวของแร่ประกอบหนิ ) ไม่เกดิ เหรียญขดู ไม่ เป็ นรอย 1 หยาบ 3 ชนดิ เทา ดา และขาว หลาย ปานกลาง ไม่เกดิ เหรียญขดู ไม่ สี ไม่เกดิ เป็ นรอย 2 หยาบ 3 ชนิด เทา ดา และขาว หลาย ปานกลาง เหรียญขดู เป็ น รอย สี 3 หยาบ 1 ชนิด นา้ ตาล เบา 4 5 6 7 8 9 10 11 12 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

109 ใบบนั ทกึ ผลการทากจิ กรรมที่ 8 คาดคะเนประเภทของตวั อย่างหนิ ท้งั 12 ก้อน โดยการเขยี นเครื่องหมาย  ลงในช่องว่าง ตวั อย่างหนิ ที่ หนิ อคั นี ประเภทของหนิ หนิ แปร หนิ ตะกอน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10  11  12  สรุปข้อมูลท่ไี ด้จากการศึกษาโปสเตอร์และส่ือดิจทิ ัล เรื่อง วฏั จกั รหนิ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

110 แผนการอบรมครู ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

111 แผนการอบรมครู 1 สาระ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ เวลา 1 ช่ัวโมง เรื่อง กลางวนั กลางคนื แนวความคดิ หลกั การหมนุ รอบตวั เองของโลกโดยมีดวงอาทิตยเ์ ป็นแหลง่ พลงั งานแสง ทาใหเ้ กิดกลางวนั กลางคืน โดยบริเวณของโลกที่ไดร้ ับแสงสว่างจะเป็นเวลากลางวนั ในขณะที่บริเวณที่ไมไ่ ดร้ ับแสง สว่างจะเป็นเวลากลางคนื เมื่อโลกหมุนรอบตวั เองไป บริเวณที่เคยไดร้ ับแสงสว่างก็จะเริ่มไมไ่ ดร้ ับ แสง ส่วนบริเวณท่ีเดิมไมไ่ ดร้ ับแสงสว่างกจ็ ะไดร้ ับแสงสวา่ ง หมนุ เวียน สลบั กนั ไปอย่างต่อเน่ือง ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั 1. สร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายการเกิดกลางวนั กลางคืนของโลก 2. แสดงบทบาทสมมติการหมนุ รอบตวั เองของโลก ขณะท่ีโคจรรอบดวงอาทิตย์ ความรู้พนื้ ฐาน 1. โลกเป็นดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์ 2. ดวงอาทิตยเ์ ป็นแหล่งพลงั งานแสงและความร้อนของโลก 3. โลกมรี ูปทรงเป็นทรงกลมแป้ น เมอ่ื เรายนื อยบู่ นโลกจึงเห็นเป็นพ้นื แบนราบ ความเข้าใจคลาดเคลอื่ น 1. ดวงอาทิตยโ์ คจรรอบโลก ทาใหเ้ กิดกลางวนั และกลางคืน 2. การเกิดกลางวนั กลางคืน เกิดข้ึนโดยทนั ทีทนั ใด ไมไ่ ดเ้ กิดจากการเปลี่ยนแปลงเวลาอยา่ ง ชา้ ๆ วธิ กี ารจดั กจิ กรรม 1. ผสู้ อนนาภาพถ่าย กลางวนั กลางคืน บริเวณทวีปเอเชีย ทวปี อเมริกา และทวปี ยโุ รป ที่เป็น ภาพถ่ายจากดาวเทียมใหผ้ เู้ รียนดู และถามว่า สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

112 - ผเู้ รียนสงั เกตเห็นอะไรบา้ ง และสิ่งท่ีสงั เกตเห็นอธิบายไดว้ า่ อยา่ งไร (ผเู้ รียนตอบ ตามท่ีเห็นโดยผเู้ รียนอาจมีหลายคาตอบและน่าจะมคี าตอบว่ากลางวนั กลางคนื หาก นกั เรียนไม่ตอบว่ากลางวนั กลางคืนผสู้ อนมีคาถามเพ่มิ เติมคือ “ผเู้ รียนเห็นความ แตกต่างอะไรบา้ งในแต่ละภาพ” ) . ภาพ ก ภาพ ข ภาพ ค ภาพท่ี 1 กลางวนั กลางคืนของโลกท่ีเกิดบริเวณทวปี เอเชีย ยโุ รป และอเมริกา ที่มา: http://sos.noaa.gov/gallery/ (16 ต.ค. 51) 2. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั อภิปรายจนไดข้ อ้ สรุปวา่ ภาพถา่ ยที่เห็นเป็นภาพของเวลากลางวนั และ กลางคืนของประเทศบนโลก จากน้นั ผสู้ อนต้งั คาถามใหผ้ เู้ รียนอภิปรายวา่ ทาไมจึงเกดิ เวลา กลางวนั และกลางคนื 3. ผสู้ อนตรวจสอบความรู้พน้ื ฐานของผเู้ รียน เพือ่ ใชส้ ร้างแบบจาลองการเกิดกลางวนั กลางคืน จากอุปกรณ์ทกี่ าหนดให้ คือ ลกู โลก และไฟฉาย เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การหมนุ ของโลก โดยผเู้ รียนจะตอ้ งหมุนลกู โลกไปในทิศทวนเขม็ นาฬกิ า เม่อื มองจากข้วั โลกเหนือ นอกจากน้ียงั ตรวจสอบความเขา้ ใจเก่ียวกบั ดวงอาทิตย์ โดยดวงอาทิตยเ์ คลื่อนที่นอ้ ยมากจน ประมาณวา่ หยดุ น่ิง ดงั น้นั ไฟฉายตอ้ งหยดุ นิ่ง 4. ผเู้ รียนทากิจกรรม 1 และบนั ทึกผลในใบกิจกรรมท่ี 1 จากน้นั อภิปรายแบบจาลองของตนเอง ตามประเด็นต่อไปน้ี - ในขณะที่โลกหมุนไป แสงไฟฉายตกกระทบหลอดดูดตลอดเวลาหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไมต่ ลอดเวลา เม่ือโลกหมุนไปจนบริเวณหลอดดูดอย่ฝู ั่งตรงขา้ มกบั ไฟฉายจะไม่ไดร้ ับ แสง เพราะโลกกลมส่วนโคง้ ของลกู โลกจึงบงั แสงไฟฉายไว)้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

113 - แสงไฟฉายจะเร่ิมตกกระทบหลอดดูดทางด้านใด และเร่ิมตกกระทบหลอดดูดอีกเมื่อ ลกู โลกหมนุ ไปกี่รอบ (แสงไฟฉายจะเร่ิมตกกระทบทางดา้ นขวามือของหลอดดูด และจะ ตกกระทบที่ตาแหน่งเดิมอีก เมอ่ื โลกหมนุ ไปทุกๆ 1 รอบ) - เมอ่ื หมุนลกู โลกใหป้ ระเทศไทยเร่ิมพบแสงไฟฉายในตาแหน่งที่ 1 ถา้ สมมติให้หลอดดูด เป็นคน จะเห็นไฟฉายอยา่ งไร (จะเริ่มเห็นแสงไฟฉายก่อน เมื่อเคลื่อนไปเรื่อยๆ จะเห็น บางส่วนของไฟฉายที่อยเู่ หนือแผน่ กระดาษ เมอื่ โลกหมุนรอบตวั เองต่อไปจะเห็นไฟฉาย ท้งั หมดอยเู่ หนือแผน่ กระดาษในเวลาต่อมา) - เม่ือหมนุ ลกู โลกทวนเข็มนาฬกิ าโดยสงั เกตจากข้วั โลกเหนือต่อไปและใหป้ ระเทศไทย หยดุ ในตาแหน่งที่ 2 อร อรบ ออ อยกู่ ลางดา้ นบนของ หลอด) - เมื่อหมุนลกู โลกทวนเข็มนาฬิกาโดยสงั เกตจากข้วั โลกเหนือต่อไป และให้ประเทศไทย หยดุ ในตาแหน่งที่ 3 แลว้ จะเห็นไฟฉายอยา่ งไร (จะไม่เห็นส่วนของไฟฉายบริเวณท่ีอยใู่ ต้ แผน่ กระดาษ) - เมื่อหมุนลูกโลกทวนเข็มนาฬิกาโดยสงั เกตจากข้วั โลกเหนือต่อไป และใหป้ ระเทศไทย หยดุ ในตาแหน่งท่ี 4 แลว้ จะเห็นไฟฉายอยา่ งไร (จะมองไมเ่ ห็นไฟฉายและบริเวณน้ีจะไมม่ ี แสงไฟฉายตกกระทบหลอดดูดเพราะส่วนโค้งของโลกบังไฟฉายท่ีอย่คู นละด้านกบั ประเทศไทย) - การเห็นแสงไฟฉายในแต่ละตาแหน่ง เปรี ยบได้กับช่วงเวลาใดในแต่ละวนั บนโลก (ตาแหน่งท่ี 1 เปรียบไดก้ บั เวลาเชา้ , ตาแหน่งท่ี 2 เปรียบไดก้ บั เวลาเท่ียง, ตาแหน่งท่ี 3 เปรียบไดก้ บั เวลาเยน็ , และตาแหน่งที่ 4 เปรียบไดก้ บั เวลาเท่ียงคืน) - ขณะที่ประเทศไทยไดร้ ับแสงอาทิตย์ ประเทศใดบา้ งท่ีไม่ไดร้ ับแสงอาทิตย์ (ประเทศที่อยู่ ซีกโลกดา้ นตรงกนั ขา้ มกบั ประเทศไทย เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา) - แบบจาลองน้ีทาใหส้ รุปผลไดอ้ ยา่ งไร (การหมนุ รอบตวั เองของโลกทาใหเ้ กิดกลางวนั และ กลางคืน) 5. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนสงั เกตตาแหน่งของประเทศต่างๆ บนลกู โลก และใชค้ าถามกระตุน้ ให้นกั เรียน คานึงถึงการเกิดเวลาแตกต่างกนั ของประเทศต่างๆ บนโลกดงั ต่อไปน้ี - ถา้ ประเทศไทยเป็นเวลาเชา้ มีประเทศใดบา้ งท่ีเป็ นเวลาเชา้ ก่อนประเทศไทย (ญี่ป่ ุน เกาหลี ฟิ ลิปปิ นส์ บรูไน ออสเตรเลยี ) - ขณะท่ีผเู้ รียนนัง่ เรียนในประเทศไทย เพ่ือนในประเทศสหรัฐอเมริกาจะทาอะไร (นอนหลบั ) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

114 - ถา้ ประเทศไทยเป็นเวลาเยน็ ประเทศใดท่ีเป็นเวลาเชา้ พอดี (ประเทศสหรัฐอเมริกา) - ถา้ ประเทศไทยเป็ นเวลากลางคืน คนในประเทศใดบ้างกาลงั จะต่ืนนอนตอนเชา้ (ญ่ีป่ ุน เกาหลี นิวซีแลนด)์ 6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแสดงบทบาทสมมติการหมุนรอบตวั เองของโลกที่ทาใหเ้ กิดกลางวนั กลางคนื โดยเปิ ดสวิตซไ์ ฟของหลอดไฟ จากน้นั ใหผ้ เู้ รียนกางแขนออกแลว้ หมนุ รอบตวั เองในทิศทางทวน เข็มนาฬิกา เมื่อมองจากดา้ นบน ในช่วงเวลาที่แสงตกกระทบดา้ นหนา้ เม่ือหนั หนา้ เขา้ หาหลอดไฟ เป็นเวลากลางวนั และเม่ือหนั หลงั ใหห้ ลอดไฟเป็นเวลากลางคืน ใหผ้ เู้ รียนจาลองตาแหน่งของคน บนโลก สมั พนั ธก์ บั ดวงอาทิตย์ ที่เวลา 6 นาฬกิ า 9 นาฬกิ า 12 นาฬกิ า ....... 6 นาฬกิ าของวนั รุ่งข้ึน การเตรียมตวั ล่วงหน้าของผ้สู อน - เตรียมภาพถ่ายโลกจากดาวเทียม ท่ีมองเห็นซีกโลกดา้ นกลางวนั และซีกโลกด้าน กลางคืนในภาพเดียวกนั สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

115 ใบกจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรม 1 โลกหมนุ รอบตวั เองเกดิ อะไรขนึ้ หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน 1. สร้างแบบจาลองโดยติดหลอดดูดไวต้ รง วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 ประเทศไทย ใหห้ ลอดดดู แทนผสู้ งั เกต และ เรื่องกลางวนั กลางคืน เสียบก่ึงกลางของแผน่ กระดาษสีใหต้ ิดกบั หนา้ 110 ฐานหลอดดูด ใหห้ ลอดดดู แทนผสู้ งั เกต ซ่ึง หนั นา้ ไปทางข้วั โลกเหนือโดย รายการวสั ดุ – อุปกรณ์ แผน่ กระดาษสีแทนเสน้ ขอบฟ้ า 1. ลกู โลก 2. หลอดดดู ยาว 2 เซนติเมตร 2. ผเู้ รียนถือไฟฉายแทนดวงอาทิตยส์ ่องมายงั 3. กระดาษสีขนาด 3 x 3 เซนติเมตร โลกยงั บริเวณทีต่ ิดหลอดดูดผเู้ รียนคนหน่ึง 4. ไฟฉาย หมุนโลกในทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ าเมอ่ื มอง จากข้วั โลกเหนือชา้ ๆ 1 รอบ 3. หมนุ ลกู โลกอีกคร้ังโดยหยดุ ลกู โลกใน ตาแหน่งต่างๆ ดงั ภาพ คือ ตาแหน่งท่ี  ตาแหน่งที่  ตาแหน่งท่ี  และ ตาแหน่งท่ี  4. สงั เกตสิ่งที่เกิดข้นึ บนผวิ ลกู โลก และบนั ทึก ลงในใบบนั ทึกกิจกรรมที่ 1  ทิศการหมุนลูกโลก  ข้วั โลกเหนือ แผ่นกระดาษสี ไฟฉาย หลอดดดู  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 ใบบันทกึ กจิ กรรมที่ 1 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขท่ี.................................. วนั ที่ ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลท่ีสังเกตได้จากการทากจิ กรรม 1 1. ในขณะท่ีโลกหมนุ ไป แสงไฟฉายตกกระทบหลอดดดู ตลอดเวลาหรือไม่ เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 2. แสงไฟฉายจะเริ่มตกกระทบหลอดดูดทางดา้ นใด และเริ่มตกกระทบหลอดดูดอีกเมื่อลกู โลก หมนุ ไปกี่รอบ ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 3. เม่อื หมุนใหป้ ระเทศไทยเร่ิมไดร้ ับแสงไฟฉายในตาแหน่งที่ 1 ถา้ สมมติให้หลอดดูดเป็ นคน จะ เห็นแสงไฟฉายอยา่ งไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 4. เมอื่ หมนุ ลกู โลกทวนเขม็ นาฬกิ าโดยสงั เกตจากข้วั โลกเหนือต่อไป และใหป้ ระเทศไทยหยดุ ใน ตาแหน่งท่ี 2 แสง อ ร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 5. เม่ือหมนุ ลกู โลกทวนเขม็ นาฬกิ าโดยสังเกตจากข้วั โลกเหนือต่อไป และใหป้ ระเทศไทยหยดุ ใน ตาแหน่งท่ี 3 แลว้ จะเห็นแสงไฟฉายอยา่ งไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

117 ใบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 1 (ต่อ) ชื่อ............................................................ช้นั ...........................เลขท่ี.................................. วนั ที่ ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลทส่ี ังเกตได้จากการทากจิ กรรม 1 (ต่อ) 6. เมื่อหมุนลกู โลกทวนเข็มนาฬิกาโดยสงั เกตจากข้วั โลกเหนือต่อไป และให้ประเทศไทยหยดุ ใน ตาแหน่งท่ี 4 แลว้ จะเห็นแสงไฟฉายอยา่ งไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 7. การเห็นแสงไฟฉายในแต่ละตาแหน่ง เปรียบไดก้ บั ช่วงเวลาใดในแต่ละวนั บนโลก ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………… 8. ขณะที่ประเทศไทยไดร้ ับแสงอาทิตย์ ประเทศใดบา้ งทไี่ ม่ไดร้ ับแสงอาทิตย์ ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………… 9. แบบจาลองน้ีทาใหส้ รุปผลไดว้ า่ อยา่ งไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แผนการอบรมครู 2 118 สาระ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ เวลา 2 ช่ัวโมง เร่ือง ทศิ และเวลา แนวความคดิ หลกั การที่โลกหมนุ รอบตวั เอง นอกจากจะทาใหเ้ กิดกลางวนั กลางคืน แลว้ ยงั ทาใหเ้ กิดการ กาหนดทิศอกี ดว้ ย โดยทิศทางท่ีเห็นดวงอาทิตยข์ ้ึนพน้ ขอบฟ้ า กาหนดใหเ้ ป็นทิศตะวนั ออก และ ทิศทางที่เห็นดวงอาทิตยล์ บั ขอบฟ้ าไป กาหนดใหเ้ ป็นทิศตะวนั ตก เนื่องจากโลกหมุนรอบตวั เอง ในทิศทวนเข็มนาฬกิ าหรือจากทิศตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออกเม่อื สงั เกตจากข้วั โลกเหนือ จึงทาให้ เห็นดวงอาทิตยข์ ้นึ ทางทิศตะวนั ออก และเห็นดวงอาทติ ยต์ กทางทิศตะวนั ตก โลกหมุนรอบตวั เอง 1 รอบ ใชเ้ วลา 24 ชวั่ โมง หรือหมนุ ดว้ ยอตั ราเร็ว 15ต่อชวั่ โมง จึงทา ใหเ้ ห็นดวงอาทิตยโ์ คจรได้ ละ 15 เชน่ กนั เราใชป้ รากฏการณ์น้ีในการกาหนดเวลา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สร้างแบบจาลองและอธิบายการเกิดทิศ 2. สร้างแบบจาลองและอธิบายการกาหนดเวลา ความรู้พนื้ ฐาน 1. โลกเป็นทรงกลมท่ีมขี นาดใหญ่มาก เม่ือเรายนื อยบู่ นโลกจงึ เห็นเป็นพ้ืนแบนราบ 2. โลกหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบ 1 ความเข้าใจคลาดเคลอื่ น 1. ทิศเป็นสิ่งท่ีมอี ยแู่ ลว้ และอยบู่ นโลก วธิ กี ารจดั กจิ กรรม 1. ครูทบทวนเร่ืองการหมนุ ของโลก โดยใชค้ าถามว่า โลกหมุนรอบตวั เองอยา่ งไร (จะหมุนรอบ ตวั เองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา เม่ือมองจากข้วั โลกเหนือ) จากน้นั ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั อภิปราย ตามคาถาม - เม่ือโลกหมุนรอบตวั เองจะสังเกตเห็นปรากฏการณ์เคลื่อนท่ีของดวงอาทิตยเ์ ป็ น อยา่ งไร (โลกหมนุ รอบตวั เองคนบนโลกสงั เกตดวงอาทิตยป์ รากฏข้ึนที่ขอบฟ้ าดา้ น สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

119 หน่ึงเป็ นเวลาเชา้ จากน้นั ดวงอาทิตยค์ ่อยๆ ปรากฏสูงข้ึนในเวลากลางวนั แลว้ ดวง อาทิตยต์ กลบั เสน้ ขอบฟ้ าในอีกดา้ นหน่ึงซ่ึงอยตู่ รงขา้ ม) - จากการสงั เกตการเคลอื่ นที่ของดวงอาทิตย์ กาหนดใหด้ า้ นที่เห็นดวงอาทิตยข์ ้ึนเป็ น ทิศอะไร และดา้ นท่ีเห็นดวงอาทิตยต์ กเป็นทิศอะไร (กาหนดใหด้ า้ นท่ีเห็นดวงอาทิตย์ ข้ึนเป็นทิศตะวนั ออก และดา้ นท่ีเห็นดวงอาทิตยต์ กเป็นทิศตะวนั ตก) - จากการสงั เกตจะเห็นดวงอาทิตยเ์ คล่ือนท่ีจากทิศใดไปทิศใด ทาไมจึงเป็ นเช่นน้ัน (เห็นดวงอาทิตยเ์ คล่ือนที่จากทิศตะวนั ออกไปทิศตะวนั ตก เพราะโลกหมุนจากทิศ ตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออก) ผเู้ รียนตอบตามความคิดของตนเอง ซ่ึงผสู้ อนยงั ไม่ควร เฉลยและนาเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 2 2. ใหผ้ เู้ รียนทากิจกรรม 2 ตอนท่ี 1 นาเสนอผลและอภิปรายร่วมกนั จากการทากิจกรรมผเู้ รียนควร ร่วมกนั อภิปรายไดว้ ่า - ถา้ เปรียบไฟฉายเป็ นดวงอาทิตย์ ลูกบอลพลาสติกแทนโลก เม่ือหมุนลูกบอล พลาสติกไป แสงอาทิตยจ์ ะเริ่มตกกระทบทางดา้ นใดของตุ๊กตา และกาหนดให้ ดา้ นน้นั เป็นทิศใด (ดา้ นขวา และดา้ นน้นั เป็นทิศตะวนั ออก) - เม่ือหมนุ ลกู บอลพลาสติกไปแสงอาทิตยจ์ ะเริ่มไมต่ กกระทบตุก๊ ตาทางดา้ นใดของ ตุ๊กตา และกาหนดใหด้ า้ นน้นั เป็นทิศอะไร(ดา้ นซา้ ย และดา้ นน้นั เป็นทิศตะวนั ตก) - ถา้ ใหผ้ เู้ รียนเป็นตุก๊ ตาสงั เกตการข้ึนตกของดวงอาทิตย์ และดา้ นขวามือเป็ นดา้ นท่ี เริ่มเห็นดวงอาทิตยเ์ มือ่ โลกหมนุ ไปจะระบุทิศหลกั อะไรบา้ ง 1.1 ทิศท่ีอยดู่ า้ นขวามอื ของผเู้ รียนคือทิศอะไร (ทิศตะวนั ออก) 1.2 ทิศท่ีอยดู่ า้ นซา้ ยมือของผเู้ รียนคือทิศอะไร (ทิศตะวนั ตก) 1.3 ทิศท่ีอยดู่ า้ นหนา้ ของผเู้ รียนคือทิศอะไร (ทิศเหนือ) 1.4 ทิศท่ีอยดู่ า้ นหลงั ของผเู้ รียนคือทิศอะไร (ทิศใต)้ ) - จากการทากิจกรรมน้ีผเู้ รียนคิดวา่ อ ร (ทิศเกิดจากโลกหมนุ รอบตวั เอง ทวนเข็มนาฬิกาเม่ือมองจากข้วั โลกเหนือ ทาใหด้ า้ นที่เห็นดวงอาทิตยข์ ้ึนเรียกว่า ทิศตะวนั ออก และดา้ นท่ีเห็นดวงอาทิตยล์ บั ขอบฟ้ าวา่ ทิศตะวนั ตก) - การท่ีโลกหมุนทวนเขม็ นาฬกิ า เมื่อมองจากข้วั โลกเหนือ นัน่ คือโลกหมุนจากทิศ ใดไปทิศใด และทาใหเ้ ห็นเหมอื นดวงอาทิตยโ์ คจรจากทิศใดไปทิศใด (โลกหมุน จากทิศตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออกจึงทาใหเ้ ห็นเหมือนดวงอาทิตยโ์ คจรจากทิศ ตะวนั ออกไปทิศตะวนั ตก) - สรุปไดผ้ ลวา่ อยา่ งไร (การที่โลกหมนุ รอบตวั เองทาใหเ้ กิดการกาหนดทิศ) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 3. ถามผูเ้ รียนเพ่ิมเติมเก่ียวกับทิศอื่นๆ ที่เหลือ ได้แก่ ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนืออย่ตู รงไหน (ระหว่างทิศตะวนั ออก และทิศเหนือ) ทิศตะวนั ออกเฉียงใตอ้ ยตู่ รงไหน (ระหว่างทิศตะวนั ออก และ ทิศใต)้ ทิศตะวนั ตกเฉียงเหนืออย่ตู รงไหน (ระหว่างทิศตะวนั ตก และ ทิศเหนือ) ทิศ ตะวนั ตกเฉียงใตอ้ ยตู่ รงไหน (ระหว่างทิศตะวนั ตก และ ทิศใต)้ 4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนดแู ผนท่ีบนลกู โลก และใหผ้ เู้ รียนร่วมกนั อภิปรายตามคาถามต่อไปน้ี - ประเทศไทยอยทู่ างทิศใดของประเทศลาว และอยทู่ างทิศใดของประเทศพม่า - ประเทศญี่ป่ ุนไดร้ ับแสงอาทิตยก์ ่อนหรือหลงั ประเทศไทยเพราะเหตุใด - ประเทศอนิ เดียไดร้ ับแสงอาทิตยก์ ่อนหรือหลงั ประเทศไทยเพราะเหตุใด - ประเทศองั กฤษอยทู่ ิศใดของสหรัฐอเมริกา และอยทู่ างทิศใดของประเทศเยอรมนี 5. ผสู้ อนต้งั คาถามเพื่อใหผ้ เู้ รียนร่วมอภิปรายเก่ียวกบั การหมนุ รอบตวั เองของโลกโดยอาจใช้ คาถามต่อไปน้ี - โลกหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบใชเ้ วลาเท่าใด ( 1 วนั หรือ 24 ชว่ั โมง) - โลกหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบจะคิดเป็นมุมเท่าใด ( 360) - ในเวลา 1 ชวั่ โมง โลกจะหมนุ ไปไดก้ ี่องศา ( 15โดยคานวณจาก 24 ชว่ั โมง โลกหมนุ ไป เป็นมมุ 360 ดงั น้นั ใน 1 ชว่ั โมงโลกหมุนไปเป็นมุม 15) 6. ผสู้ อนต้งั คาถามวา่ การทโ่ี ลกหมนุ ไปจากทิศตะวนั ตกไปทางทิศตะวนั ออกชวั่ โมงละ 15 จะทา ใหเ้ ห็นดวงอาทิตยเ์ สมือนเคลือ่ นที่อยา่ งไร ใหผ้ เู้ รียนทากิจกรรม 2 ตอนที่ 2 บนั ทึกผล แลว้ อภิปรายร่วมกนั ซ่ึงควรไดข้ อ้ สรุปว่า การท่ีโลกหมนุ ทาใหเ้ กิดการกาหนดเวลา โดยการที่โลก หมนุ ไปได้ 15 ต่อชวั่ โมง ทาใหป้ รากฎเห็นเหมอื นดวงอาทิตยเ์ ปรียบตาแหน่งไป 15 ต่อ ชวั่ โมงดว้ ย) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

121 ใบกจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรม 2 กาหนดทิศและเวลาได้อย่างไร ตอนท่ี 1 หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พ้นื ฐาน 1.วางลกู บอลพลาสติกลงบนถว้ ยเพ่ือเป็นฐานให้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 5 ลกู บอลพลาสติกต้งั อยไู่ ด้ แลว้ ติดแผน่ กระดาษ เรื่อง กลางวนั กลางคืน วงกลมซ่ึงแทนพ้นื โลกลงบนลกู บอลพลาสติกท่ี แทนโลก โดยติดบริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตรของโลก 2 ตาแหน่งดงั รูป รายการวสั ดุ – อุปกรณ์ 2.ป้ันดินน้ามนั เป็นตุก๊ ตารูปคน แลว้ ติดตุก๊ ตาน้นั ท่ี 1. ลกู บอลพลาสติก ตรงกลางของแผน่ กระดาษท้งั สอง โดย 2. ถว้ ย เปรียบเสมอื นคนยนื อยบู่ ริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตรของ 3. ดินน้ามนั โลกและใหต้ ุ๊กตาหนั หนา้ ไปทางข้วั โลกเหนือ 4. ไมเ้ สียบลกู ช้ิน ติดไมเ้ สียบลกู ชิ้นที่ดนิ น้ามนั โดยใหไ้ มเ้ สียบ 5. ไฟฉาย ลกู ช้ินแทนแขนคนขา้ งขวา 6. กระดาษแขง็ แผน่ วงกลม 3.ฉายไฟฉายไปยงั ลกู บอลพลาสติกบริเวณเสน้ 7. เทปใส ศนู ยส์ ูตร โดยผเู้ รียนอีกคนหน่ึงหมนุ ลกู บอล 8. เข็มหมดุ พลาสติกไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเม่ือมอง จากดา้ นบน ชา้ ๆ สงั เกตมมุ ระหว่างไมเ้ สียบ ลกู ช้ินท่ีทากบั ไฟฉายว่ามกี ารเปลย่ี นแปลง อยา่ งไรเม่ือหมุนลกู บอลพลาสติกไป 4.เขียนตวั อกั ษร E แทนทิศตะวนั ออกบนลกู บอล หมายเหตุ ถว้ ยท่ีใชต้ อ้ งมีขนาดปากถว้ ย พลาสติกขา้ งๆตุ๊กตา ดา้ นที่แสงไฟฉายเริ่มส่อง กระทบตกุ๊ ตา และเขียน W แทนทิศตะวนั ตก กวา้ งพอที่จะวางลกู บอลพลาสติกไวบ้ น ขา้ งๆตุ๊กตาดา้ นที่ตกุ๊ ตาเร่ิมไม่ไดร้ ับแสงไฟฉาย ปากถว้ ยได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทิศการหมุน 122 ข้วั โลกเหนือ ไฟฉาย ตอนที่ 2 1.สร้างคร่ึงวงกลมที่มีรัศมีขนาดเท่ากบั รัศมขี อง แผน่ กระดาษวงกลม ลกู บอลพลาสติก ไมเ้ สียบลกู ช้ิน 2.แบ่งเสน้ รอบวงของคร่ึงทรงกลมออกเป็น 6 ภาพการหมุนอา่ งพลาสตกิ เมื่อมองจากดา้ นบน ส่วน นนั่ คือ แต่ละส่วนของคร่ึงวงกลมจะมีมมุ 30 กาหนดเป็นตาแหน่ง 1 2 3 ... 7 ดงั รูป 7 3.ใชอ้ ปุ กรณ์จากตอนที่ 1 แต่ถอดแผน่ กระดาษ กลมและถอดตุ๊กตาออก 1 ชุด แลว้ หมุนลกู บอล ทิศการหมุน พลาสติกใหต้ ุ๊กตาท่ีเหลืออยทู่ ่ีตาแหน่ง 1 เปิ ด 6 ของโลก ไฟฉาย สงั เกตและบนั ทกึ ผล 4.หมุนลกู บอลพลาสติกไปจนตกุ๊ ตาอยทู่ ่ีตาแหน่ง 5 ที่ 4 สงั เกตและบนั ทึกผล 5.หมนุ ลกู บอลพลาสติกจนตกุ๊ ตาไปอยทู่ ่ีตาแหน่ง 4 7 สงั เกตและบนั ทึกผล พร้อมท้งั ตอบคาถาม บนั ทึกในใบบนั ทึกกิจกรรม 2 ตอนที่ 2 ข้วั โลกเหนือ 15º 3 แสงอาทิตย์ 2 1 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

123 ใบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 2 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขที่.................................. วนั ที่ ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลท่ีสังเกตได้จากการทากจิ กรรม 2 ตอนท่ี 1 1. ถา้ เปรียบไฟฉายเป็นดวงอาทติ ย์ ลกู บอลพลาสติกแทนโลก เม่ือหมนุ ลกู บอลพลาสติก ไป แสงอาทิตยจ์ ะเร่ิมตกกระทบทางดา้ นใดของตุก๊ ตา และกาหนดใหด้ า้ นน้นั เป็นทิศใด ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 2. เมอ่ื หมุนลกู บอลพลาสติกต่อไปอีกคร่ึงรอบ แแสงอาทิตยจ์ ะเริ่มไม่ตกกระทบทางดา้ นใด ของตุ๊กตา และกาหนดใหด้ า้ นน้นั เป็นทิศอะไร ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 3. ถา้ ใหผ้ เู้ รียนเป็นตุ๊กตาสงั เกตการข้ึนตกของดวงอาทิตย์ และดา้ นขวามือเป็นดา้ นท่ีเริ่ม เห็นดวงอาทิตยเ์ มอ่ื โลกหมนุ ไปจะระบุทิศหลกั อะไรบา้ ง 1.1 ทิศที่อยดู่ า้ นขวามอื ของผเู้ รียน คือ ทิศ…………………………… 1.2 ทิศท่ีอยดู่ า้ นซา้ ยมอื ของผเู้ รียน คือ ทิศ…………………………… 1.3 ทิศท่ีอยดู่ า้ นหนา้ ของผเู้ รียน คือ ทิศ…………………………… 1.4 ทิศท่ีอยดู่ า้ นหลงั ของผเู้ รียน คือ ทิศ…………………………… 4. ใหผ้ เู้ รียนเขียนทิศหลกั ที่ตาแหน่ง ก. ข. ค. และ ง. ในแผนภาพขา้ งลา่ งน้ี ก. ......................................... ง. ......................................... ข. ......................................... ค. ......................................... สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 ใบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 2 (ต่อ) ผลทีส่ ังเกตได้จากการทากจิ กรรม 2 ตอนที่ 1 (ต่อ) 5. จากการทากิจกรรมน้ีผเู้ รียนคิดว่า ทิศเกิดจากอะไร ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 6. การท่ีโลกหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ า เมื่อมองจากข้วั โลกเหนือนน่ั คือโลกหมุนจากทิศใดไป ทิศใด และทาใหเ้ ห็นเหมอื นดวงอาทิตยโ์ คจรจากทิศใดไปทิศใด ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 7. สรุปผลการทากิจกรรมไดว้ า่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

125 ใบบันทกึ กจิ กรรมท่ี 2 (ต่อ) ผลท่ีสังเกตได้จากการทากจิ กรรม 2 ตอนท่ี 1 ตารางบนั ทกึ ผลเมอ่ื เปิ ดไฟฉายพร้อมกบั หมนุ ลกู บอลพลาสตกิ ตาแหน่งที่ มมุ ที่โลกหมนุ ไป เวลา (โดยประมาณ) มมุ ท่ีดวงอาทิตยท์ ากบั พ้นื โลก (องศา) 1 4 7 จากการทากจิ กรรมจงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เม่อื ลกู บอลพลาสติกแทนโลก กระดาษแข็งวงกลมที่ปิ ดบนลกู บอลพลาสติกจะแทน อะไร ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 2. ถา้ ตุ๊กตาแทนคนบนโลกบริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตร เมือ่ โลกหมนุ ไปทาใหค้ นเปลี่ยน จากตาแหน่ง 1 ไปยงั ตาแหน่ง 4 จะใชเ้ วลาห่างกนั เท่าใด และใน 1 ชว่ั โมง โลกจะหมุนไปประมาณกี่องศา ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 3. ในขณะที่โลกหมนุ ถา้ คนอยทู่ ่ีตาแหน่ง 2, 3, 5 และ 6 ขณะน้นั ควรเป็นเวลาเท่าใด ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 4. ถา้ โลกหมุนจากตาแหน่ง 7 ไปอีก 90 ขณะน้นั ควรเป็นเวลาเท่าใด ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 5. สรุปผลการทากิจกรรมไดว้ ่าอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

126 แผนการอบรมครู 3 สาระ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ เวลา 3 ช่ัวโมง เรื่อง ฤดูของโลก แนวความคดิ หลกั การที่โลกกลมและโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ นลกั ษณะท่ีแกนเอียง 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉาก ของระนาบทางโคจร ทาใหเ้ กิดฤดตู ่างๆ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั 1. ทดลองและสรุปไดว้ ่าพ้นื ท่ีท่ีรับแสงตกต้งั ฉาก จะมีอณุ หภูมิสูงกว่าพ้นื ที่ที่รับแสงตกเฉียง 2. สร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายการเกิดฤดู ความรู้พนื้ ฐาน 1. โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ ชเ้ วลา 1 ปี 2. โลกหมุนรอบตวั เองรอบแกนสมมตุ ิท่ีลากผา่ นข้วั โลกเหนือและข้วั โลกใต้ ซ่ึงแกนสมมติน้ีเอยี ง ทามมุ 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉากของระนาบทางโคจรรอบดวงอาทิตย์ 3. ประเทศต่างๆ บนโลกอยบู่ นพ้นื ผวิ โคง้ ของโลกที่ต่างกนั ความเข้าใจคลาดเคลอื่ น 1. ฤดูเกิดจากระยะห่างของโลกกบั ดวงอาทิตย์ เช่น ฤดูหนาวคือช่วงเวลาท่ีโลกอยหู่ ่างจากดวง อาทิตยม์ ากท่ีสุด ท่ีมา: Sharp, J.G. 1996). Children’s Astronomical Belief: A preliminary study of year 6 children in south-west England. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

127 วธิ ีการจดั กจิ กรรม 1. ผสู้ อนนาเขา้ สู่บทเรียนโดยผสู้ อนแจกภาพฤดู 4 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดใู บไมผ้ ลิ ฤดรู ้อน ฤดูใบไมร้ ่วง และฤดูหนาว ใหแ้ ก่ผเู้ รียนแต่ละกลมุ่ และถามดงั ต่อไปน้ี - ภาพท้งั 4 น้ีเป็นภาพจากสถานท่ีเดียวกนั หรือไม่ และภาพเหล่าน้ีบอกอะไรกบั ผเู้ รียน (เป็นภาพจากที่เดียวกนั โดยภาพบอกถึงการเปลย่ี นแปลงของตน้ ไมแ้ ละการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ) - ในภาพท้งั 4 น้ี ผเู้ รียนสงั เกตเห็นอะไรแตกต่างกนั บา้ ง และความแตกต่างเหลา่ น้ีเกิดข้ึน จากอะไร (สีของใบไม้ เกิดข้นึ จากอณุ หภมู ิที่แตกต่างกนั ในแต่ละฤดู) - ถา้ ภาพท้งั 4 น้ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการเปลย่ี นฤดูในหน่ึงปี แต่ละภาพจะแทนฤดอู ะไรบา้ ง (ภาพ ก แทนฤดรู ้อน, ภาพ ข แทนฤดใู บไมร้ ่วง, ภาพ ค แทนฤดูหนาว, และภาพ ง แทน ฤดใู บไมผ้ ลิ) - ในประเทศไทยมกี ารเปลี่ยนแปลงของฤดูดงั ภาพขา้ งล่างน้ีหรือไม่ (ไม่พบ) ภาพ ก ภาพ ข ภาพ ค ภาพ ง ภาพที่ 1 ฤดูต่างๆ ของโลก 2. ใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มสงั เกตลกู โลก และบตั รคาต่างๆ ไดแ้ ก่ บตั รคา “ข้วั โลกเหนือ” “ข้วั โลกใต”้ “ซีกโลกเหนือ” “ซีกโลกใต”้ “ศนู ยส์ ูตรโลก” และ “แกนสมมติ” จากน้นั ใหผ้ เู้ รียนระบุส่วน ต่างๆ ของลกู โลกตามบตั รคา ซ่ึงผเู้ รียนควรระบุได้ ตามภาพที่ 2 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

128 ข้วั โลกเหนือ เสน้ ศูนยส์ ูตร ซีกโลกเหนือ ซีกโลกใต้ ข้วั โลกใต้ ภาพที่ 2 แสดงแกนเอยี ง 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉากของระนาบทางโคจรของโลก 3. ผสู้ อนอธิบายเพิม่ เติมว่าโลกมีรูปทรงกลมแป้ นและมแี กนสมมติเอียงทามุม 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉากของระนาบทางโคจรรอบดวงอาทิตยด์ งั ภาพที่ 2 และผสู้ อนสาธิตโดยใชไ้ มบ้ รรทดั ยาวทาบตามแนวแกนโลกของลกู โลก และใชด้ ินสอทาบไปตามแนวต้งั ฉากกบั ระนาบทาง โคจรรอบดวงอาทิตย์ 4. ผสู้ อนนาเสนอแผนภาพการแบ่งเขตภมู อิ ากาศของโลก และใหค้ วามรู้กบั ผเู้ รียนวา่ ภูมิอากาศ ของโลกแบ่งเป็นเขตหลกั ๆ 3 เขต คือ เขตหนาว เขตอบอุ่น และเขตร้อน ดงั ภาพท่ี 3 ภาพที่ 3 เขตภูมอิ ากาศของโลก 5. ใหผ้ เู้ รียนสงั เกตวา่ ประเทศต่างๆ บนโลก ส่วนใหญ่ต้งั อยบู่ ริเวณเขตภูมิอากาศใด (เขตอบอนุ่ ) จากน้นั ผสู้ อนใหค้ วามรู้แก่ผเู้ รียนว่าประเทศในเขตอบอุ่นเหลา่ น้ีมฤี ดู 4 ฤดู ตามภาพท่ีนาเสนอ ในตอนแรก ฤดเู หลา่ น้ีจึงเป็นฤดทู ี่พบในประเทศส่วนใหญข่ องโลก 6. ใหผ้ เู้ รียนแต่ละกล่มุ อธิบายวา่ “ฤดเู กิดข้ึนไดเ้ พราะเหตุใด” (ผเู้ รียนมกั จะคดิ วา่ ฤดูเกิดจาก ระยะห่างของโลกกบั ดวงอาทิตย)์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

129 7. ผสู้ อนแสดงภาพที่ 4 ประกอบ และใหข้ อ้ มลู เพมิ่ เติมวา่ “ขณะท่ีซีกโลกเหนือเป็นฤดรู ้อนซีก โลกเหนืออยหู่ ่างจากดวงอาทิตยม์ ากกว่าในฤดหู นาว” และถามผเู้ รียนวา่ - ถา้ ฤดบู นโลกไมไ่ ดเ้ กดิ ข้ึนเพราะระยะทางระหว่างโลกกบั ดวงอาทิตยแ์ ลว้ ฤดูบนโลก เกิดข้นึ ไดเ้ พราะอะไร (ผเู้ รียนตอบตามความคิดเห็น) - นอกจากประเด็นต่างๆ ท่ีผเู้ รียนไดอ้ ภิปรายแลว้ สาเหตุของอณุ หภูมทิ ่ีแตกต่างกนั ในแต่ ละฤดูน้นั อาจจะมาจากบริเวณผวิ โลกที่รับแสงหรือไม่ อยา่ งไร (ผเู้ รียนมคี วามคดิ เห็น ต่างๆ เช่น บริเวณที่เบนเขา้ หาดวงอาทิตยจ์ ะมอี ุณหภูมสิ ูง แต่ส่วนโคง้ ของโลกท่ีเบน ออกจากดวงอาทิตยจ์ ะมอี ณุ หภมู ิต่า) ภาพท่ี 4 แสดงระยะห่างของโลกจากดวงอาทิตย์ 8. ผเู้ รียนต้งั สมมติฐานเก่ียวกบั พน้ื ที่ของผวิ โลกมีผลต่อการรับลาแสงของดวงอาทิตย์ จากน้นั ทดลองกิจกรรม 3.1 “แสงตกต้งั ฉาก-แสงตกเฉียงมีผลอยา่ งไร” ตอนท่ี 1 บนั ทึกผลในใบบนั ทึก กิจกรรม 3.1 ตอนที่ 1 และอภิปรายเกี่ยวกบั การทดลองตามประเด็นต่อไปน้ี - แผน่ กระดาษท่ีหุม้ เทอร์มอมเิ ตอร์แผน่ ใด ไดร้ ับแสงตกต้งั ฉาก แผน่ ใดไดร้ ับแสงตก เฉียง (แผน่ ท่ีติดบริเวณศนู ยส์ ูตรไดร้ ับแสงตกต้งั ฉาก ส่วนแผน่ ท่ีติดบริเวณเหนือศนู ย์ สูตรข้ึนไปไดร้ ับแสงตกเฉียง) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

130 - เม่อื แสงตกกระทบกระดาษดา เทอร์มอมเิ ตอร์ท้งั สอง มีอุณหภูมเิ พิม่ ข้ึนเท่ากนั หรือไม่ อยา่ งไร (ไมเ่ ท่ากนั เทอร์มอมเิ ตอร์ท่ีติดบริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตรมอี ณุ หภูมสิ ูงสุด และเทอร์ มอมเิ ตอร์อนั ที่สองท่ีห่างจากเสน้ ศนู ยส์ ูตรจะมอี ุณหภมู ติ ่า) - การทดลองน้ีจะสรุปผลวา่ อยา่ งไร (บริเวณที่แสงตกกระทบเป็นแสงตกต้งั ฉาก จะมี อณุ หภูมเิ พมิ่ สูงข้ึนมากกว่าบริเวณที่ไดร้ ับแสงตกกระทบเป็นแสงตกเฉียง) 9. ผเู้ รียนต้งั สมมติฐานเก่ียวกบั พ้นื ท่ีรับแสงมผี ลต่ออุณหภูมบิ นพ้ืนท่ี จากน้นั ทากิจกรรม 3.1 ตอน ท่ี 2 บนั ทึกผลในใบบนั ทึกกิจกรรม 3.1 ตอนที่ 2 และอภิปรายในประเด็นต่อไปน้ี - เมือ่ ฉายไฟใหแ้ สงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียงกบั กระดาษกราฟ พลงั งานแสงที่ตก กระทบพ้ืนท่ีบนกระดาษกราฟท้งั หมดเท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด (เท่ากนั เพราะ พลงั งานท่ีตกกระทบมาจากไฟฉายกระบอกเดียวกนั ) - พ้นื ที่บนกระดาษกราฟท่ีรับแสง เมื่อแสงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียง เท่ากนั หรือไม่ อยา่ งไร (ไม่เท่ากนั โดยพ้นื ที่ทร่ี ับแสงเมอื่ แสงตกตรงจะนอ้ ยกวา่ เมือ่ แสงตกเฉียง) - พลงั งานแสงท่ีตกกระทบต่อหน่ึงหน่วยพ้นื ท่ี เม่ือแสงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียง เท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่เท่ากนั โดยพ้ืนท่ีแสงตกต้งั ฉากจะมีพลงั งานต่อหน่ึง หน่วยพ้ืนที่มากกวา่ ) - ความสว่างของพ้นื ที่ท่ีรับแสงมคี วามสมั พนั ธก์ บั พลงั งานแสงที่ตกกระทบต่อหน่ึง หน่วยพ้นื ที่อยา่ งไร (บริเวณที่สวา่ งมาก จะมีพลงั งานแสงตกกระทบต่อหน่ึงหน่วย พ้นื ที่มาก) - การทดลองน้ีจะสามารถสรุปไดว้ ่าอยา่ งไร เพราะเหตุใด (บริเวณท่ีแสงตกต้งั ฉากมี พลงั งานแสงที่ตกกระทบต่อหน่ึงหน่วยพ้นื ที่จะมากกว่าบริเวณที่แสงตกเฉียง จึงเป็น สาเหตุใหบ้ ริเวณที่แสงตกต้งั ฉากสวา่ งกว่าและมีอุณหภูมสิ ูงกวา่ ทาใหบ้ ริเวณแสงตกต้งั ฉากมคี วามร้อนมากกว่า) 10. ใหผ้ เู้ รียนลองเลื่อนลกู โลกรอบหลอดไฟ 1 รอบ จากน้นั ผสู้ อนทบทวนความรู้ ก่อนทากิจกรรม 3.2 ในประเดน็ ต่อไปน้ี - โลกมแี กนสมมติเป็นแกนหมนุ รอบตวั เอง ซ่ึงแกนหมนุ น้ีลากผา่ นข้วั โลกเหนือใต้ และ เอียงทามุม 23.5 องศา กบั แนวต้งั ฉาก - โลกมีวงโคจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นวงรี จากตะวนั ตกไปตะวนั ออก ทวนเขม็ นาฬกิ าเมื่อ สงั เกตจากข้วั โลกเหนือ - โลกโคจรรอบดวงอาทิตยโ์ ดยแกนเอยี งคงที่ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

131 - ใหผ้ เู้ รียนลองโคจรลกู โลกรอบหลอดไฟ 1 รอบ ตามขอ้ มลู ที่ไดร้ ับ ซ่ึงการโคจรควร เป็นไปตามภาพท่ี 5 11. ผเู้ รียนทากิจกรรม 3.2 สงั เกตและบนั ทึกผลในใบกจิ กรรม 3.2 ไปพร้อมๆ กบั ผสู้ อนและผเู้ รียน ร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยใ์ นแต่ละตาแหน่งท่ีโลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ และใหผ้ เู้ รียนวางภาพฤดู (ภาพท่ี 1) โดยวางภาพฤดูของซีกโลกเหนือไวด้ า้ นบน และภาพฤดขู องซีกโลกใตไ้ วด้ า้ นล่าง ในแต่ละตาแหน่งของโลกที่โคจรไป โดยมปี ระเดน็ ใน การอภิปรายดงั น้ี ตาแหน่งท่ี 1 (21 มถิ ุนายน) - ณ ตาแหน่งน้ี เมอ่ื พจิ ารณาซีกโลกเหนือท่ีตาแหน่งท่ี 1 แสงไฟตกต้งั ฉากท่ีบริเวณใด (บริเวณซีกโลกเหนือ) - ณ ตาแหน่งน้ีอณุ หภูมิ ซีกโลกเหนือ ซีกโลกใต้ เป็นอยา่ งไร (ซีกโลกเหนือไดร้ ับ พลงั งานความร้อนมากกวา่ ซีกโลกใตไ้ ดร้ ับพลงั งานความร้อนนอ้ ยกวา่ ) - ณ ตาแหน่งน้ีประเทศบนซีกโลกเหนือควรเป็นช่วงฤดใู ด และประเทศบนซีกโลกใต้ ควรเป็นฤดใู ด (ประเทศบนซีกโลกเหนือจะเป็นฤดรู ้อน และประเทศบนซีกโลกใตจ้ ะ เป็นฤดหู นาว และวางภาพฤดรู ้อน (ภาพ ก) ไวด้ า้ นบน ภาพฤดหู นาวไวด้ า้ นลา่ ง) ตาแหน่งท่ี 2 (23 กนั ยายน) - ณ ตาแหน่งที่ 2 แสงไฟตกต้งั ฉากบริเวณใด - ณ ตาแหน่งน้ีอณุ หภูมิของซีกโลกเหนือจะเป็นอยา่ งไรเมือ่ เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 1 (ท่ีตาแหน่งน้ีอณุ หภมู ิของซีกโลกเหนือจะลดต่าลง เนื่องจากแสงที่ตกเป็นแสงตกเฉียง) - ณ ตาแหน่งน้ี อุณหภูมิของซีกโลกใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเมื่อเปรียบเทียบกบั ตาแหน่งที่ 1 (ท่ี ตาแหน่งน้ีอณุ หภูมขิ องซีกโลกใตจ้ ะเพ่มิ สูงข้ึนเน่ืองจากซีกโลกใตเ้ อยี งเขา้ หาดวง อาทิตยม์ ากกวา่ เดิม) - ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดใู ดเมอ่ื โลกโคจรมาอยใู่ น ตาแหน่งน้ี (ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือจะเป็นฤดใู บไมร้ ่วง ส่วนประเทศบริเวณซีก โลกใตจ้ ะเป็นฤดูใบไมผ้ ลิ และวางภาพฤดใู บไมร้ ่วงไวด้ า้ นบน ภาพฤดูใบไมผ้ ลิไว้ ดา้ นล่าง) ตาแหน่งที่ 3 (22 ธนั วาคม) - ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภมู ิของซีกโลกเหนือจะเป็นอยา่ งไรเมอื่ เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 2 (ที่ตาแหน่งน้ีอณุ หภมู ิของซีกโลกเหนือจะลดต่าลงกว่าเดิม เน่ืองจากซีกโลกเหนือ เบนออกจากดวงอาทิตย์ และแสงท่ีตกกระทบเป็นแสงตกเฉียง) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

132 - ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภูมขิ องซีกโลกใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเม่อื เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งที่ 2 (ท่ี ตาแหน่งน้ีอุณหภมู ขิ องซีกโลกใตจ้ ะเพมิ่ สูงข้ึนเน่ืองจากซีกโลกใตเ้ อียงเขา้ หาดวง อาทิตยม์ ากกวา่ เดิม และแสงท่ีตกกระทบเป็นแสงตกต้งั ฉาก) - ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดูใดเมื่อโลกโคจรมาอยใู่ น ตาแหน่งน้ี (ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือจะเป็นฤดหู นาว ส่วนประเทศบริเวณซกี โลก ใตจ้ ะเป็นฤดรู ้อน และวางภาพฤดหู นาวไวด้ า้ นบน ฤดูร้อนไวด้ า้ นล่าง) ตาแหน่งท่ี 4 (21 มนี าคม) - ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภูมิของซีกโลกข้วั เหนือจะเป็นอยา่ งไรเมื่อเปรียบเทียบกบั ตาแหน่ง ท่ี 3 (ที่ตาแหน่งน้ีอณุ หภมู ขิ องซีกโลกเหนือจะเพม่ิ ข้ึน เน่ืองจากข้วั เหนือไดร้ ับแสดง ตกต้งั ฉาก) - ณ ตาแหน่งน้ี อุณหภูมิของซีกโลกใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเม่ือเปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 3 (ท่ี ตาแหน่งน้ีอุณหภมู ขิ องซีกโลกใตจ้ ะลดลง เนื่องจากซีกโลกใตเ้ บนออกจากดวงอาทิตย์ ทาใหไ้ ดร้ ับแสงตกเฉียง) - ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดใู ดเมอ่ื โลกโคจรมาอยใู่ น ตาแหน่งน้ี (ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูใบไมผ้ ลิ ส่วนประเทศบริเวณซีก โลกใตจ้ ะเป็นฤดูใบไมร้ ่วง และวางภาพฤดใู บไมผ้ ลิไวด้ า้ นบน ฤดใู บไมร้ ่วงไว้ ดา้ นล่าง) 12. ใหผ้ เู้ รียนอภิปรายสรุปความเขา้ ใจเก่ียวกบั ปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนเมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดว้ ยแกนเอยี ง 23.5 องศา คงท่ี เมื่อสงั เกตบริเวณแถบอบอุ่นของซีกโลกเหนือและใต้ (นกั เรียน ควรอธิบายไดว้ ่า เม่อื โลกโคจรรอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยแกนเอยี ง 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉากของ ระนาบทางโคจรจะทาใหเ้ กดิ ฤดทู ่ีแตกต่างกนั ในรอบ 1 ปี โดยการเกิดฤดใู นแต่ละชว่ งเดือน เดียวกนั จะไม่เหมอื นกนั ระหว่างซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใต)้ 13. ใหผ้ เู้ รียนเล่ือนลกู โลกรอบดวงอาทิตยบ์ นแผนภาพท่ี 5 จานวน 1 รอบ และอภิปรายคาถาม ต่อไปน้ี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

133 ตาแหน่งท่ี 4 (21 มนี าคม) เม.ย. ก.พ. พ.ค. ม.ค. ตาแหน่งท่ี 1 ตาแหน่งท่ี 3 (21 มิถนุ ายน) (22 ธนั วาคม) ก.ค. ส.ค. ตาแหน่งท่ี 2 ต.ค. พ.ย. (23 กนั ยายน) ภาพที่ 5 แนวการโคจรของลกู โลกรอบหลอดไฟในตาแหน่งต่างๆ - จากการโคจรรอบดวงอาทิตย์ ณ ประเทศไทยไดร้ ับพลงั งานความร้อนอยา่ งไร (ไดร้ ับ พลงั งานความร้อนมากตลอดปี) - ประเทศไทยอยบู่ นซีกโลกเหนือ จะมีฤดูเหมือนกบั ประเทศต่างๆ บนซีกโลกเหนือหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่เหมือน เพราะประเทศไทยอยใู่ กลบ้ ริเวณเสน้ ศนู ยส์ ูตร ทาใหไ้ ดร้ ับ พลงั งานความร้อนไมค่ ่อยแตกต่างกนั ในแต่ละตาแหน่งที่โคจรรอบดวงอาทิตย)์ 14. ใหผ้ เู้ รียนดภู าพอุทกภยั และภยั แลง้ ต่างๆ และถามวา่ “อุทกภยั และภยั แลง้ เหล่าน้ีเกิดข้นึ ในช่วง ฤดูใด เกิดข้นึ ทุกปี หรือไม่ และทาไมจึงเกิดข้ึน” (ผเู้ รียนอาจตอบไดว้ า่ อุทกภยั เกดิ จากพายทุ ี่พดั เขา้ ประเทศไทยในฤดูฝน ส่วนภยั แลง้ เกิดข้ึนในฤดรู ้อนและฤดหู นาว) 15. ผสู้ อนนาเสนอภาพท่ี 6 พร้อมทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกบั การเกิดลมมรสุมในประเด็นต่อไปน้ี - ลมมรสุมเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร (เกดิ จากความแตกต่างของอุณหภมู ิอากาศเหนือพ้นื ทวปี กบั พ้นื มหาสมทุ ร) - ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือเกดิ ข้ึนในช่วงเวลาใด อยา่ งไร (ลมมรสุม ตะวนั ออกเฉียงเหนือเกิดข้ึนในช่วงเดือนตุลาคม ถึง เดือนกมุ ภาพนั ธ์ เน่ืองจากพ้นื มหาสมทุ รอนิ เดียไดร้ ับลาแสงตกตรงจึงร้อนกว่าพ้นื ทวีปเอเชีย ทาใหอ้ ากาศเหนือ มหาสมทุ รอนิ เดียลอยตวั สูงข้ึน และอากาศเหนือพ้นื ทวีปพดั ออกไปแทนที่ทางทิศ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ) - ลมลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตเ้ กิดข้ึนในชว่ งเวลาใด อยา่ งไร (ลมมรสุมตะวนั ตกเฉียง ใตเ้ กิดข้ึนในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม เนื่องจากซีกโลกเหนือไดร้ ับ พลงั งานความร้อนจากดวงอาทิตยม์ ากตรงพน้ื ทวปี บริเวณประเทศจีนไดร้ ับลาแสง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

134 ตกต้งั ฉากกบั พ้นื ที่ จึงร้อนกว่าพ้ืนมหาสมทุ รโดยรอบ ทาใหอ้ ากาศเหนือแผน่ ดินจีน ลอยตวั สูงข้ึน และอากาศเหนือแผน่ มหาสมทุ รพดั เขา้ ไปแทนท่ีทางทิศตะวนั ตกเฉียง ใต)้ แผนภาพที่ 6 แสดงทิศทางและช่วงเวลาของลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตแ้ ละตะวนั ออกเฉียงเหนือท่ี พดั เขา้ สู่ประเทศไทย 16. ใหผ้ เู้ รียนเลอ่ื นลกู โลกบนแผนภาพที่ 5 อกี คร้ัง โดยพจิ ารณาทีละตาแหน่งในเดือนต่างๆ เพือ่ ให้ ผเู้ รียนร่วมกนั อภิปรายถงึ ฤดขู องประเทศไทย ดว้ ยคาถามต่อไปน้ี - ในช่วงเวลาประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกมุ ภาพนั ธข์ องทุกปี ประเทศ ไทยไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมมรสุมใด และในเวลาน้ีประเทศไทยจะเป็นฤดูใด เพราะ เหตุใด (ประเทศไทยไดร้ ับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ จึงเป็นฤดู หนาว เพราะลมน้ีพดั ผา่ นมองโกเลียและจีนในซีกโลกเหนือ ซ่ึงจะนาพาความหนาว เยน็ และความแหง้ แลง้ มาดว้ ย) - ในช่วงเวลาประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถงึ กลางเดือนตุลาคมของทุกปี ประเทศ ไทยไดร้ ับอิทธิพลจากลมมรสุมใด และในเวลาน้ีประเทศไทยจะเป็นฤดูใด เพราะ เหตุใด (ประเทศไทยไดร้ ับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ จึงเป็นฤดฝู น เพราะลมน้ีพดั ผา่ นมหาสมทุ รอนิ เดีย กจ็ ะนาความชุ่มช้นื มาสู่ประเทศไทย ทาใหเ้ กิด ฝนตก) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

135 - ในช่วงเวลาประมาณกลางเดือนกุมภาพนั ธถ์ งึ กลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี เป็น ช่วงที่อทิ ธิพลของลมมรสุมท้งั สองมผี ลต่อประเทศไทยนอ้ ยที่สุด อณุ หภมู ิของ อากาศจะเปล่ยี นแปลงอยา่ งไรและประเทศไทยจะเป็นฤดูใด (อุณหภูมขิ องอากาศจะ สูงข้ึนจึงเป็นฤดรู ้อน) - ภาคใตข้ องประเทศไทยมฝี นตกเกือบตลอดปี เพราะเหตุใด (เพราะสภาพภมู ิประเทศ เป็นแหลมขนาบดว้ ยทะเลท้งั สองดา้ นและเมื่ออยใู่ นช่วงลมลมมรสุม ตะวนั ออกเฉียงเหนือจะนาความช้ืนจากอ่าวไทยมาสู่ภาคใต้ ทาใหเ้ กิดฝนตก และเมื่อ อยใู่ นช่วงลมลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตซ้ ่ึงพดั ผา่ นมหาสมทุ รอนิ เดีย จะนาความช้ืน จากมหาสมุทรอินเดียาสู่ภาคใต้ ทาใหภ้ าคใตม้ ีฝนตกอีกเช่นกนั และในช่วงท่ีลมลม มรสุมท้งั สองมอี ทิ ธิพลนอ้ ยท่ีสุด ทางภาคใตจ้ ะเป็นฤดูร้อนเพราะประเทศไทยอยู่ ใกลแ้ นวศนู ยส์ ูตรจึงไดร้ ับพลงั งานจากแสงอาทิตยม์ าก) 17. จากการอภิปรายร่วมกนั ผเู้ รียนควรสรุปไดว้ ่า “ช่วงท่ีประเทศไทยไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมลม มรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ทาใหเ้ ป็นช่วงของฤดฝู น ช่วงที่ประเทศไทยไดร้ ับอิทธิพลจากลมลม มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทาใหเ้ ป็นช่วงของฤดูหนาวและช่วงที่ไม่ไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมลม มรสุมใดจะเป็นช่วงฤดรู ้อน” 18. ผสู้ อนอภิปรายร่วมกบั ผเู้ รียนวา่ “เป็นไปไดห้ รือไมท่ ่ีประเทศไทยของเราจะมีฤดูเหมอื นในฤดู ของประเทศในแถบหนาวคือ ฤดูใบไมผ้ ลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไมร้ ่วง และฤดหู นาวที่มีหิมะตก หาก เกิดข้ึนน่าจะเป็นเพราะสาเหตุใด” (อาจจะเกดิ ข้ึนไดห้ ากแกนหมนุ ของโลกเอียงทามุมกบั แนวต้งั ฉากของระนาบการโคจรของโลกมากกว่า 23.5 องศา) 19. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั วเิ คราะหก์ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้จากการทากิจกรรมน้ี โดย ผเู้ รียนจะเกดิ คาถามว่าฤดูเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร จากน้นั ร่วมกนั สารวจตรวจสอบโดยสร้าง แบบจาลองการเกิดฤดู ผเู้ รียนดาเนินการคน้ หาความรู้ เร่ิมตน้ จากส่ิงที่ตนเองรู้จกั เกี่ยวกบั ฤดู และลกั ษณะของโลก จากน้นั เกิดขอ้ คาถามท่ีอยากรู้เก่ียวกบั ฤดขู องโลก แลว้ สร้างแบบจาลอง เพ่ือสารวจตรวจสอบการอธิบายการเกดิ ฤดูของโลก จากน้นั ไดว้ เิ คราะห์คาอธิบายแบบจาลอง ร่วมกนั ในแต่ละกลุ่ม สื่อสารสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้ ซ่ึงนามาสู่การสร้างขอ้ สรุปของการเกดิ ฤดูของโลก จากน้นั จึงตรวจสอบการเกิดฤดขู องประเทศไทย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

136 ความรู้เพม่ิ เตมิ สาหรับครู โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ ชเ้ วลา 1 ปี โดยแกนของโลกเอียงทามุม 23.5 องศา กบั แนวต้ังฉากของ ระนาบทางโคจรเสมอ การท่ีแกนโลกเอียงทาใหส้ ่วนต่างๆ ของโลกรับแสงจากดวงอาทิตยต์ ่างกนั บางบริเวณ ไดร้ ับแสงตกต้งั ฉากบางบริเวณไดร้ ับแสงตกเฉียง บริเวณทไี่ ดร้ ับแสงตกต้งั ฉากจะมอี ุณหภูมิสูงกว่าบริเวณไดร้ ับแสงตกเฉียง ทาใหบ้ ริเวณซีกโลกเหนือ อณุ หภมู สิ ูง ในขณะท่ีบริเวณซีกโลกใตอ้ ุณหภูมิต่า เมอ่ื โลกอยู่ ณ ตาแหน่งน้ี แต่เม่ือโลกโคจรไปคร่ึงรอบ แสงที่ตกบริเวณซีกโลกเหนือจะเป็ นแสงตกเฉียง ขณะท่ีแสงที่ตกบริเวณ ซีกโลกใตจ้ ะเป็นแสงตกต้งั ฉาก ทาใหบ้ ริเวณซีกโลกเหนืออณุ หภูมติ ่าและซีกโลกใตอ้ ุณหภูมสิ ูง การท่ีโลกโคจรไปรอบดวงอาทิตยโ์ ดยแกนของโลกเอียงจึงทาใหเ้ กิดฤดูต่างๆ เพราะโลกจะได้รับ พลงั งานความร้อนจากดวงอาทิตยแ์ ตกต่างกนั สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

137 ความรู้เพม่ิ เตมิ สาหรับครู สาหรับประเทศไทยจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตยค์ ่อนข้างมากไม่ว่าโลกจะอ ยู่ ณ ตาแหน่งใดของระนาทางโคจรรอบดวงอาทิตย์ เพราะประเทศไทยอยู่เหนือบริเวณศูนยส์ ูตรเพียงเลก็ นอ้ ยทาให้ อากาศของประเทศไทยร้อน แต่ประเทศไทยไดร้ ับอิทธิพลของลมลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือและตะวนั ตก เฉียงใต้ จึงทาใหเ้ กิดฤดูหนาวและฤดฝู น ตาแหน่งท่ี 4 ตาแหน่งที่ 1 ตาแหน่งที่ 3 ตาแหน่งท่ี 2 ภาพที่ 1 แกนของโลกเอยี ง 23.5° ขณะท่โี คจรรอบดวงอาทิตย์ เน่ืองจากแกนโลกเอยี งทามุม 23.5 องศากบั แนวต้งั ฉากของระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เมอื่ ข้วั โลกเหนือเอียงเขา้ หาดวงอาทติ ยใ์ นตาแหน่งท่ี 1 บริเวณซีกโลกเหนือจะเป็ นฤดูร้อน ซีกโลกใตจ้ ะเป็ นฤดู หนาว เมื่อโลกโคจรต่อไปในตาแหน่งท่ี 2 ข้วั เหนือคอ่ ยๆ เบนออกจากดวงอาทิตย์ ทาให้พลงั งานความร้อนจาก แสงอาทิตยท์ ีต่ กกระทบผิวโคง้ บริเวณซีกโลกเหนือคอ่ ยๆ ลดลง พืชพนั ธุไ์ มใ้ นธรรมชาติสังเคราะห์แสงไดล้ ดลง พืชจะทิ้งใบเพื่อลดการคายน้า บริเวณซีกโลกเหนือจึงเขา้ สู่ฤดูใบไมร้ ่วง ในขณะเดียวกนั บริเวณซีกโลกใตจ้ ะ คอ่ ยๆ ร้อนข้นึ พืชพนั ธุไ์ มใ้ นธรรมชาตจิ ึงผลใิ บ เขา้ สู่ฤดูใบไมผ้ ลิ เม่ือโลกโคจรต่อไปในตาแหน่งท่ี 3 ข้วั เหนือ จะเบนออกจากดวงอาทิตยซ์ ีกโลกเหนือจึงเขา้ สู่ฤดูหนาว ขณะเดียวกนั ซีกโลกใตจ้ ะเป็ นฤดูร้อน จากน้นั โลกจะ โคจรต่อไปในตาแหน่งที่ 4 ซีกโลกเหนือจะคอ่ ยๆ เบนเขา้ หาดวงอาทิตย์ และเขา้ สู่ฤดูใบไมผ้ ลิ ส่วนซีกโลกใตจ้ ะ เป็นฤดใู บไมร้ ่วง จากน้นั โลกจะโคจรไปยงั ตาแหน่งที่ 1 อีกคร้ังทาให้ซีกโลกเหนือจะเบนเขา้ หาดวงอาทิตยอ์ ีก ซีกโลกเหนือกจ็ ะเป็นฤดรู ้อนอกี คร้ังหน่ึง ซีกโลกใตก้ จ็ ะเป็นฤดหู นาว จึงครบรอบการโคจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็ น เวลา 1 ปี ท่ีมา: 1) www.lesaproject.com 2) คู่มอื หนงั สือกิจกรรมสาระการเรียนรู้พ้นื ฐาน ชดุ วิทยาศาสตร์กายภาพ เร่ืองโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชว่ งช้นั ที่ 2 พมิ พค์ ร้ังที่ 1 (2547) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

138 ใบกจิ กรรมท่ี 3.1 กจิ กรรม 3.1 แสงตกต้งั ฉาก แสงตกเฉยี งมผี ลอย่างไร หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ตอนที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 6 1. ใชก้ ระดาษโปสเตอร์ดาขนาดกวา้ ง 2 เรื่อง แสงต้งั ฉาก แสงเฉียง มีผลอยา่ งไร เซนติเมตร และยาว 5 เซนติเมตร พบั แลว้ หุม้ หนา้ 141-142 กระเปาะเทอร์มอมเิ ตอร์ แลว้ เยบ็ ดว้ ยที่เยบ็ กระดาษใหแ้ น่น ทาซ้าจนไดเ้ ทอร์มอมเิ ตอร์ท่ี รายการวสั ดุ – อปุ กรณ์ หุม้ กระเปาะดว้ ยกระดาษดาเหมือนๆ กนั 2 อนั 1. ลกู โลก 2. วางลกู โลกใหห้ นั ดา้ นขา้ งใหข้ ้วั เหนือและข้วั 2. เทอร์มอมเิ ตอร์ส้นั ใตห้ ่างจากโคมไฟเท่ากนั และใหห้ ลอดไฟห่าง 3. กระดาษดาขนาด 2x5 เซนติเมตร จากเสน้ ศนู ยส์ ูตรของโลกประมาณ 30 4. โคมไฟต้งั โตะ๊ เซนติเมตร ดงั ภาพกิจกรรม 5.1 ตอนที่ 1 5. เทปใส 3. นาเทอร์มอมิเตอร์ท่ีหุม้ ดว้ ยกระดาษดา ตดิ 6. ไฟฉาย บนลกู โลกดว้ ยเทปใสท่ีบริเวณศนู ยส์ ูตรและ 7. กระดาษกราฟ เหนือศนู ยส์ ูตร (ซีกโลกเหนือ) สงั เกตและ บนั ทึกอุณหภูมขิ องเทอร์มอมิเตอร์ท้งั 2 อนั ทุกๆ 5 นาที เป็นเวลา 15 นาที ภาพกิจกรรม 5.1 ตอนท่ี 1 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

139 ตอนที่ 2 1. ผเู้ รียนคนท่ีหน่ึงฉายไฟบนกระดาษกราฟที่ ผเู้ รียนอกี คนถอื ไว้ 2. ฉายไฟฉายในแนวต้งั ฉากกบั กระดาษกราฟ ระยะห่าง 30 เซนติเมตร และวาดเสน้ รอบวงของ แสงไฟฉายท่ีปรากฏบนกระดาษกราฟ 3. ทาซ้าคร้ังท่ีสอง โดยใหก้ ระบอกไฟฉายอยนู่ ่ิง แต่กระดกขอ้ มอื ท่ีถือกระดาษกราฟใหเ้ อยี งรับ แสงจากไฟฉาย ในระยะเท่าเดิม ทาใหแ้ สงจาก ไฟฉายทามุมเฉียงกบั กระดาษกราฟ และวาดเสน้ รอบวงของแสงไฟฉายท่ีปรากฏบนกระดาษ กราฟ 4. สงั เกต เปรียบเทียบ ความสว่างและขนาด พ้นื ท่ีที่รับแสงระหวา่ งการฉายไฟฉายท้งั สอง คร้ัง 30 cm. 30 cm. กระดาษกราฟวาง กระดาษกราฟวาง ต้งั ฉากกบั ไฟฉาย เฉียงกบั ไฟฉาย คร้ังที่ 1 คร้ังท่ี 2 ภาพกิจกรรม 3.1 ตอนท่ี 2 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

140 ใบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 3.1 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขที่.................................. วนั ที่ ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลทสี่ ังเกตได้จากการทากจิ กรรม 3.1 ตอนท่ี 1 เวลา (นาที) อุณหภูมทิ ่ีวดั ไดจ้ ากเทอร์มอมเิ ตอร์ (องศาเซลเซียส) 5 10 เหนือเสน้ ศนู ยส์ ูตร เสน้ ศนู ยส์ ูตร 15 1. แผน่ กระดาษท่ีหุม้ กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์แผน่ ใด ไดร้ ับแสงตกต้งั ฉาก แผน่ ใดไดร้ ับแสงตก เฉียง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. เมอื่ แสงตกกระทบกระดาษดา เทอร์มอมิเตอร์ท้งั สอง มีอณุ หภูมิเพมิ่ ข้ึนเท่ากนั หรือไม่ อยา่ งไร .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. การทดลองน้ีจะสรุปผลไดว้ ่าอยา่ งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

141 ใบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ 3.1 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขท่ี.................................. วนั ที่ ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลทสี่ ังเกตได้จากการทากจิ กรรม 3.1 ตอนที่ 2 ลกั ษณะแสงที่ตกบน พ้ืนท่ีรับแสง ความสว่างของพ้นื ท่ี พ้ืนที่ (ตารางหน่วย) รับแสง แสงตกต้งั ฉาก แสงตกเฉียง 1. เม่ือฉายไฟใหแ้ สงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียงกบั กระดาษกราฟ พลงั งานแสงท่ีตกกระทบ พ้นื ท่ีบนกระดาษกราฟท้งั หมดเท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. พ้ืนที่บนกระดาษกราฟที่รับแสง เมื่อแสงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียง เท่ากนั หรือไม่ อยา่ งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. พลงั งานแสงท่ีตกกระทบต่อหน่ึงหน่วยพ้นื ที่ เมือ่ แสงตกต้งั ฉากและแสงตกเฉียง เท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 4. ความสว่างของพน้ื ท่ีที่รับแสงมีความสมั พนั ธก์ บั พลงั งานแสงท่ีตกกระทบต่อหน่ึงหน่วย พ้ืนท่ีอยา่ งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 5. การทดลองน้ีสามารถสรุปไดว้ า่ อยา่ งไร เพราะเหตุใด .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... ..................................................................................................................................... สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 ใบกจิ กรรมท่ี 3.2 กจิ กรรม 3.2 ฤดูเกดิ ขึน้ ได้อย่างไร หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พ้นื ฐาน 1. วาดรูปวงรีแทนวงโคจรของโลกรอบดวง วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 6 อาทิตย์ บนกระดาษแผน่ ใหญ่ดงั รูป และ เรื่อง ฤดูเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร แสดงตาแหน่งต่างๆ ดงั ภาพ หนา้ 143 2. วางหลอดไฟแทนดวงอาทิตยไ์ วต้ รงกลาง รายการวสั ดุ – อุปกรณ์ ของวงรี จากน้นั วางลกู โลกไวท้ ี่ตาแหน่งที่ 1 1. หลอดไฟมีฐานวางบนโต๊ะ โดยหนั ข้วั เหนือของลกู โลกเขา้ หาดวงอาทิตย์ 2. กระดาษแผน่ ใหญ่ สงั เกตแสงจากหลอดไฟที่ตกกระทบ บนผวิ 3. ลกู โลก ลกู โลก 3. เลอื่ นลกู โลกตามทางโคจรมาตาแหน่งท่ี 2 โดยใหแ้ กนเอยี งของลกู โลกคงท่ี สงั เกตแสง จากหลอดไฟท่ีตกกระทบบนผวิ ลกู โลก 4. เล่ือนลกู โลกตามทางโคจรมาตาแหน่งท่ี 3 โดยใหแ้ กนเอียงของลกู โลกคงท่ี สงั เกตแสง จากหลอดไฟท่ีตกกระทบต้งั ฉาก บนผวิ ลกู โลก และเปรียบผลจากการสงั เกตได้ ระหวา่ งตาแหน่งท่ี 1 กบั ตาแหน่งท่ี 3 5. เลื่อนลกู โลกตามทางโคจรมาตาแหน่งท่ี 4 โดยใหแ้ กนเอยี งของลกู โลกคงที่ สงั เกตแสง จากหลอดไฟท่ีตกกระทบบนผวิ ลกู โลก ตาแหน่งท่ี 4 เม.ย. (21 มนี าคม) ก.พ. พ.ค. ม.ค. ตาแหน่งที่ 1 ตาแหน่งท่ี 3 (21 มถิ ุนายน) (22 ธนั วาคม) ก.ค. ส.ค. ตาแหน่งท่ี 2 ต.ค. พ.ย. (23 กนั ยายน) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

143 ใบบันทกึ กจิ กรรมท่ี 3.2 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขท่ี.................................. วนั ท่ี ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. ผลท่ีสงั เกตไดจ้ ากการทากิจกรรมเป็นดงั น้ี 1. ตาแหน่งท่ี 1 (21 มิถนุ ายน)  ณ ตาแหน่งน้ีเมื่อพิจารณาซีกโลกเหนือที่ตาแหน่งที่ 1 แสงไฟตกต้งั ฉากท่ีบริเวณใด .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ีอุณหภูมิ ซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้ เป็นอยา่ งไร .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ีประเทศบนซีกโลกเหนือควรเป็นช่วงฤดใู ด และประเทศบนซีกโลกใตค้ วร เป็ นฤดูใด ..................................................................................................................................... 2. ตาแหน่งท่ี 2 (23 กนั ยายน)  ตาแหน่งที่ 2 แสงไฟตกต้งั ฉากบริเวณใด .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ี อุณหภมู ิของซีกโลกเหนือจะเป็นอยา่ งไรเมื่อเปรียบเทียบกบั ตาแหน่งที่ 1 .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภูมิของซีกโลกใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเมือ่ เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 1 .....................................................................................................................................  ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดูใดเมอ่ื โลกโคจรมาอยใู่ นตาแหน่งน้ี ..................................................................................................................................... 3. ตาแหน่งท่ี 3 (21 ธนั วาคม)  ณ ตาแหน่งน้ี อุณหภูมขิ องซีกโลกเหนือจะเป็นอยา่ งไรเม่อื เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งที่ 2 .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภูมขิ องซีกโลกใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเมอื่ เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 2 .....................................................................................................................................  ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดใู ดเม่ือโลกโคจรมาอยใู่ นตาแหน่งน้ี ..................................................................................................................................... สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 ใบบันทกึ กจิ กรรม ท่ี3.2 ช่ือ............................................................ช้นั ...........................เลขท่ี.................................. วนั ท่ี ...................... เดือน .............................................พ.ศ. ............................. 4. ตาแหน่งที่ 4 (21 มนี าคม)  ณ ตาแหน่งน้ี อณุ หภมู ขิ องซีกโลกข้วั เหนือจะเป็นอยา่ งไรเมอ่ื เปรียบเทียบกบั ตาแหน่งท่ี 3 .....................................................................................................................................  ณ ตาแหน่งน้ี อุณหภมู ขิ องซีกโลกข้วั ใตจ้ ะเป็นอยา่ งไรเม่ือเปรียบเทียบกบั ตาแหน่งที่ 3 .....................................................................................................................................  ประเทศบริเวณซีกโลกเหนือกบั ซีกโลกใตน้ ่าจะเป็นฤดใู ดเม่ือโลกโคจรมาอยใู่ นตาแหน่งน้ี ..................................................................................................................................... สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

145 แผนการอบรมครู 4 สาระ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง ข้างขึน้ ข้างแรม แนวความคดิ หลกั ดวงจนั ทร์เป็นบริวารของโลก โคจรรอบโลกไปในทิศทางเดียวกนั กบั การหมุนรอบตวั เอง ของโลก โดยโคจรในทิศทวนเขม็ นาฬกิ าเมือ่ มองจากข้วั โลกเหนือ หรือโคจรจากทิศตะวนั ตกไปทิศ ตะวนั ออก ดวงจนั ทร์ไม่มีแสงสว่างในตวั เองแต่สะทอ้ นแสงจากดวงอาทิตย์ การเปลี่ยนตาแหน่ง ของดวงจนั ทร์ขณะที่ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกทาใหค้ นบนโลก เห็นแสงสะทอ้ นของดวงจนั ทร์ใน แต่ละคืนแตกต่างกนั เกิดปรากฏการณ์ขา้ งข้ึนขา้ งแรม ช่วงเวลาที่เห็นดวงจนั ทร์มีส่วนสว่างข้ึน เร่ือยๆ จนสว่างเต็มดวงเรียกว่า ขา้ งข้ึน ส่วนช่วงเวลาท่ีเห็นส่วนสว่างลดลงเรื่อยๆ จนมืดท้งั ดวง เรียกวา่ ขา้ งแรม ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั 1. สร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายการเกิดขา้ งข้ึน ขา้ งแรม 2. อภิปรายเพอื่ ทานายลกั ษณะของดวงจนั ทร์ในรอบ 1 เดือน 3. รวบรวมขอ้ มลู เพ่อื จดั ทาปฏทิ ินดวงจนั ทร์ ความรู้พนื้ ฐาน 1. โลกมดี วงจนั ทร์เป็นบริวาร 1 ดวง 2. โลกและดวงจนั ทร์ เป็นดาวบริวารของดวงอาทิตย์ 3. ดวงจนั ทร์เป็นดาวที่ไม่มีแสงสวา่ งในตนเอง แต่แสงท่ีมองเห็นเกิดจากแสงอาทิตยต์ กกระทบ ดวงจนั ทร์แลว้ สะทอ้ นมายงั โลก ความเข้าใจคลาดเคลอ่ื น 1. ขา้ งข้ึน ขา้ งแรม เกดิ จากดวงจนั ทร์ถกู เงาของโลกบงั หรือถกู บงั ดว้ ยส่ิงอื่นๆ เช่น เมฆ 2. ดวงจนั ทร์มแี สงสวา่ งในตวั เอง 3. ดวงจนั ทร์มหี ลายดวง แต่ละดวงมีรูปร่าง แตกต่างกนั ตามที่ปรากฏเช่น เป็นเส้ียว คร่ึงทรงกลม อยแู่ ต่ละตาแหน่ง เมอ่ื โลกหมนุ รอบตวั เองทาใหค้ นบนโลกเห็นดวงจนั ทร์ท่ีมรี ูปต่างแตกต่าง กนั ในแต่ละคืน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

146 4. ดวงจนั ทร์ไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตยไ์ ม่เท่ากนั ทาใหม้ องเห็นแตกต่างกนั วธิ กี ารจดั กจิ กรรม 1. ผสู้ อนนาเขา้ สู่บทเรียนโดยใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลมุ่ วาดภาพแสดงลกั ษณะของดวงจนั ทร์ที่เคยเห็น พร้อมระบายสี ลงในกระดาษท่ีแจกให้ (ผเู้ รียนมกั จะวาดเป็นรูปวงกลม รูปเส้ียว รูปคร่ึงวงกลม หรืออาจจะพบรูปแบบอนื่ ๆ) 2. ใหผ้ เู้ รียนร่วมกนั อภิปรายภาพวาดของดวงจนั ทร์ ดว้ ยคาถามต่อไปน้ี - ภาพวาดดวงจนั ทร์ของแต่ละกลมุ่ เหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (แตกต่างกนั เช่น รูปวงกลม รูปเส้ียว รูปคร่ึงวงกลม) - ทาไมภาพวาดดวงจนั ทร์ของแต่ละกลุ่มจึงแตกต่างกนั เพราะเหตุใด (ผเู้ รียนตอบตาม ความคดิ ของตนเอง) - แสงของดวงจนั ทร์เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร (ผเู้ รียนตอบตามความคิดของตนเอง) 3. ใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลมุ่ ทากิจกรรมที่ 4.1 ตอนที่ 1 สงั เกตและบนั ทึกผลลงในใบบนั ทึกกจิ กรรมท่ี 4.1 ตอนที่ 1 จากน้นั นาเสนอผลการสงั เกตแลว้ ร่วมกนั อภปิ รายตามประเดน็ ดงั น้ี - ถา้ ลกู ปิ งปองที่เสียบไมแ้ ทนดวงจนั ทร์ ไฟฉายแทนดวงอาทิตย์ เรามองเห็นแสงจากดวง จนั ทร์ไดอ้ ยา่ งไร (เรามองเห็นแสงจากดวงจนั ทร์เพราะดวงจนั ทร์ไมม่ ีแสงสวา่ งในตวั เอง จึงรับแสงจากดวงอาทิตยแ์ ลว้ สะทอ้ นเขา้ สู่ตาเรา) - ดวงจนั ทร์ดา้ นท่ีไดร้ ับแสงและดา้ นท่ีไมไ่ ดร้ ับแสง มีลกั ษณะเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (แตกต่างกนั โดยดวงจนั ทร์ดา้ นที่ไมไ่ ดร้ ับแสงจะมดื ส่วนดา้ นทไ่ี ดร้ ับแสงจะ สว่าง) - ส่วนของดวงจนั ทร์ท่ีไดร้ ับแสงในแต่ละวนั เท่าเดิมหรือไม่ เป็ นสดั ส่วนเท่าไรของดวง จนั ทร์ท้งั ดวง (ส่วนของดวงจนั ทร์ไดร้ ับแสงในแต่ละวนั เทา่ เดิม โดยมีสดั ส่วนเป็น คร่ึงหน่ึงของดวงจนั ทร์ท้งั ดวง) - ในแต่ละวนั ดวงจนั ทร์จะมสี ่วนสวา่ งเท่าเดิมหรือไม่ ทาไมจึงเป็นเช่นน้นั (ผเู้ รียนตอบตาม ความคดิ ของตนเอง) 4. ใหผ้ เู้ รียนอาสาสมคั ร 3 คน คนหน่ึงแทนโลก คนที่สองแทนดวงอาทิตย์ ส่วนคนที่เหลอื แทน ดวงจนั ทร์ แสดงบทบาทสมมติการเคล่ือนท่ีของโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจนั ทร์ ส่วนผเู้ รียนท่ี เหลอื เป็นผสู้ งั เกต จากน้นั ร่วมกนั อภิปรายจนสรุปไดว้ ่า ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกจากทิศ ตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออกทวนเข็มนาฬิกาเมอื่ สงั เกตจากข้วั โลกเหนือ โดยขณะเดียวกนั โลกก็ โคจรรอบดวงอาทิตยไ์ ปดว้ ยในทิศทางเดียวกนั 5. ผเู้ รียนอภิปรายการสร้างแบบจาลองการเกิดขา้ งข้ึนขา้ งแรมในประเดน็ ดงั น้ี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

147 - ใชล้ กู ปิ งปองแทนดวงจนั ทร์ และแหล่งกาเนิดแสงแทนดวงอาทิตย์ และผสู้ งั เกตแทนคน บนโลก จะจาลองการเกดิ ขา้ งข้ึนขา้ งแรมไดอ้ ยา่ งไร (ผเู้ รียนตอบตามความคิดเห็น) 6. ผเู้ รียนทากิจกรรมท่ี4.1 ตอนที่ 2 สงั เกตและบนั ทึกลงในใบบนั ทึกกิจกรรมที่ 4.1 ตอนท่ี 2 7. ใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการสงั เกต และร่วมกนั อภิปราย ดงั คาถามต่อไปน้ี - ผเู้ รียนมองเห็นส่วนสว่างของดวงจนั ทร์ไดอ้ ยา่ งไร (เพราะดวงจนั ทร์รับแสงจากดวง อาทิตยแ์ ลว้ สะทอ้ นเขา้ สู่ตาเรา) - ขณะที่ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ตาแหน่งใดที่เห็นดวงจนั ทร์มดื ท้งั ดวง และสวา่ งเต็ม ดวงตามลาดบั (ตาแหน่งที่ 1 และตาแหน่งท่ี 5) - จากการสงั เกตดวงจนั ทร์ต้งั แต่ตาแหน่งท่ี 1 ถงึ ตาแหน่งที่ 5 จะมองเห็นส่วนสวา่ งของ ดวงจนั ทร์มกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร และช่วงเวลาดงั กล่าวน้ีเรียกวา่ อะไร (จะเห็น ส่วนสว่างของดวงจนั ทร์มีบริเวณเพม่ิ ข้ึนจนสว่างเตม็ ดวง เรียกช่วงเวลาดงั กลา่ วน้ีวา่ ขา้ งข้ึน) - จากตาแหน่งท่ี 5 ถงึ ตาแหน่งท่ี 8 จะมองเห็นส่วนสว่างของดวงจนั ทร์มกี าร เปล่ยี นแปลงอยา่ งไร และช่วงเวลาดงั กล่าวน้ีเรียกวา่ อะไร (จะเห็นส่วนสวา่ งของดวง จนั ทร์มบี ริเวณลงลงจนมืดไปท้งั ดวง เรียกช่วงเวลาดงั กล่าวน้ีวา่ ขา้ งแรม) - เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดวงจนั ทร์มสี ่วนสวา่ งแตกต่างกนั ในแต่ละตาแหน่ง (เพราะ ดวงจนั ทร์เปลีย่ นตาแหน่งทาใหผ้ สู้ งั เกตที่มองจากโลกเห็นส่วนสวา่ งแตกต่างกนั ท้งั ๆ ท่ี ส่วนสว่างของดวงจนั ทร์มีบริเวณเท่าเดิม คือ สวา่ งคร่ึงดวงในทกุ ๆ วนั ) - แบบจาลองน้ีจะสรุปผลวา่ อยา่ งไร (ขา้ งข้ึนขา้ งแรม เกิดข้ึนเพราะดวงจนั ทร์โคจรรอบ โลกเปลีย่ นตาแหน่งไปทกุ คืน ทาใหค้ นบนโลกมองเห็นแสงสะทอ้ นจากดวงจนั ทร์ ในแต่ละคืนไม่เท่ากนั ช่วงเวลาท่ีเห็นดวงจนั ทร์มีส่วนสว่างเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ จนสว่าง เต็มดวงเรียกว่า ขา้ งข้ึน ส่วนช่วงเวลาท่ีเห็นมีส่วนสวา่ งลดลงเร่ือยๆ จนมืดท้งั ดวง เรียกว่า ขา้ งแรม) 8. ผสู้ อนถามผเู้ รียนเกี่ยวกบั สญั ลกั ษณ์ท่ีเคยเห็นในปฏทิ ินวา่ มอี ะไรบา้ ง และหมายความวา่ อยา่ งไร (บนปฏทิ ินมสี ญั ลกั ษณ์ตวั เลขแทนเดือน มชี ื่อเดือน มสี ญั ลกั ษณ์ตวั เลขแทนวนั ที่ สญั ลกั ษณ์ วงกลม คร่ึงวงกลม แสดงขา้ งข้ึนขา้ งแรม และพระพทุ ธรูปแสดงวนั พระ เป็นตน้ ) นอกจากน้ี ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั อภิปรายเพ่มิ เติมเก่ียวกบั ชื่อท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ดวงจนั ทร์ของคนไทย ไดแ้ ก่ วนั เพญ็ วนั ดบั วนั โกน วนั พระ เดือนเตม็ และเดือนขาด ซ่ึงควรใชค้ าถามดงั น้ี - วนั เพญ็ คือวนั ใด (วนั เพญ็ คือวนั ที่มดี วงจนั ทร์สว่างเต็มดวง ตรงกบั วนั ข้ึน 15 ค่า) - วนั ดบั คือวนั ใด (วนั ดบั คือวนั ท่ีดวงจนั ทร์มดื ท้งั ดวงซ่ึงตรงกบั วนั แรม 14 ค่า หรือแรม 15 ค่า) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

148 - วนั โกนคือวนั ใด (วนั โกนคือวนั ก่อนหนา้ วนั พระ 1 วนั ) - เดือนขาดคืออะไร (เดือนขาดคือเดือนคี่ซ่ึงเป็นเดือนท่ีมี 29 วนั คือขา้ งข้ึน 1 ค่า ถงึ ขา้ งข้ึน 15 ค่า และ แรม 1 ค่า ถึงแรม 14 ค่า) - เดือนเต็มคืออะไร (เดือนเต็มคือเดือนค่ซู ่ึงเป็นเดือนที่มี 30 วนั คือ ขา้ งข้ึน 1 ค่า ถงึ แรม 15 ค่า) - วนั พระคือวนั ใด (วนั พระคือวนั ขา้ งข้นึ 8 ค่า, ขา้ งแรม 8 คา่ , วนั ขา้ งข้ึน 15 ค่า, และ ขา้ งแรม 15 ค่า หรือ แรม 14 ค่า) 9. ผสู้ อนแจกปฏิทินดวงจนั ทร์ของเดือน เมษายน 2553 (ควรเป็นเดือนที่เรียน) ใหผ้ เู้ รียนแต่ละ กลมุ่ ทากิจกรรม4.2 ตอนที่ 1 และบนั ทึกในใบกิจกรรม4.2 ตอนที่ 1 จากน้นั ใหผ้ เู้ รียนร่วมกนั อภิปรายตามประเดน็ ต่างๆดงั น้ี - จากวนั ท่ีดวงจนั ทร์เตม็ ดวง (ข้ึน 15 ค่า) ก่ีวนั จึงเป็นวนั แรม 15 ค่า (ใชเ้ วลา 15 วนั ) - จากวนั ท่ีดวงจนั ทร์เตม็ ดวง (ข้ึน 15 ค่า) กี่วนั จึงเป็นวนั แรม 8 ค่า (ใชเ้ วลา 8 วนั ) - สงั เกตดวงจนั ทร์ในวนั ขา้ งข้ึนจากปฏิทิน 3-4 วนั ที่ต่อเน่ืองกนั วาดภาพดวงจนั ทร์ และแรเงาดว้ ยดินสอดาตรงส่วนมดื เป็นดงั น้ี ข้ึน 12 ค่า ข้ึน 13 ค่า ข้ึน 14 ค่า ข้ึน 15 ค่า - สงั เกตดวงจนั ทร์ในวนั ขา้ งแรมจากปฏทิ ิน 3-4 วนั ที่ต่อเน่ืองกนั วาดภาพดวงจนั ทร์และแร เงาดว้ ยดินสอดาตรงส่วนมดื เป็นดงั น้ี แรม 8 ค่า แรม 9 ค่า แรม 12 ค่า แรม 13 ค่า - จากการสงั เกตจะสรุปผลไดอ้ ยา่ งไร (ในช่วงเวลาขา้ งข้ึน บริเวณส่วนสว่างของดวงจนั ทร์ จะมากข้ึน ในช่วงเวลาขา้ งแรม บริเวณส่วนสว่างของดวงจนั ทร์จะลดลง) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

149 10. ใหผ้ เู้ รียนทานายวา่ วนั ใดในเดือนพฤษภาคม 2553 เป็นวนั ข้ึน 15 ค่า, แรม 15 ค่า, ข้ึน 8 ค่า, และ แรม 8 ค่า บนั ทกึ ในใบบนั ทึกกิจกรรม 4.2 ตอนท่ี 2 จากน้นั ร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั ผลการ ทานาย เป็นดงั ตารางต่อไปน้ี เดือนสิงหาคม 2553 อาทิตย์ จนั ทร์ องั คาร พุธ พฤหสั บดี ศุกร์ เสาร์ 1234 5 6 7 แรม 8 คา่ เดอื น 8 8 9 10 11 12 13 14 แรม 15 คา่ เดือน 8 15 16 17 18 19 20 21 ข้นึ 8 คา่ เดือน 9 22 23 24 25 26 27 28 ข้นึ 15 คา่ เดอื น 9 29 30 31 - จากตารางพบว่า เดือนสิงหาคม 2553 วนั ข้ึน 8 ค่า เป็นวนั ที่ 18 วนั ข้ึน 15 ค่า เป็นวนั ท่ี 25, วนั แรม 8 ค่า เป็นวนั ท่ี 3, วนั แรม 15 ค่า เป็นวนั ท่ี 10 ตามลาดบั 11. ใหผ้ เู้ รียนเลน่ เกมส์ โดยแต่ละกล่มุ หยบิ บตั รภาพลกั ษณะต่างๆ ของดวงจนั ทร์ข้ึนมากลมุ่ ละ 1 ใบ และตอบคาถามต่อไปน้ี ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. ช. ซ. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 - ภาพท่ีเห็นเป็นภาพดวงจนั ทร์ในลกั ษณะใด - ภาพท่ีเห็นเหมือนดวงจนั ทร์ตาแหน่งใดตามแบบจาลองที่ผเู้ รียนสร้างในกิจกรรมท่ี 4.1 ตอนที่ 2 ( ภาพ ก. คือ จนั ทร์เส้ียวขา้ งข้ึน สงั เกตเห็นในตาแหน่งที่ 2, ภาพ ข. คือ จนั ทร์คร่ึงดวงขา้ งข้ึน สงั เกตเห็นในตาแหน่งที่ 3, ภาพ ค. คือจนั ทร์ขา้ งข้ึน สงั เกตเห็นในตาแหน่งท่ี 4, ภาพ ง. คือจนั ทร์ เตม็ ดวง หรือจนั ทร์เพญ็ สงั เกตเห็นในตาแหน่งที่ 5, ภาพ จ. คือจนั ทร์ขา้ งแรม สงั เกตเห็นใน ตาแหน่งที่ 6, ภาพ ฉ. คือจนั ทร์คร่ึงดวงขา้ งแรม สงั เกตเห็นในตาแหน่งท่ี 7, ภาพ ช. คือจนั ทร์เส้ียว ขา้ งแรม สงั เกตเห็นในตาแหน่งท่ี 8, และภาพ ซ. คือจนั ทร์ดบั สงั เกตเห็นในตาแหน่งที่ 1) 12. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนดูภาพ จนั ทร์ยมิ้ ในคืนวนั ที่ 1 ธนั วาคม 2551 แลว้ ถามผเู้ รียนดว้ ยคาถามต่อไปน้ี ภาพปรากฏการณด์ าวเคียงเดือน เรียกว่า “จนั ทร์ยมิ้ ” วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2551 โดย ดร.ศรนั ย์ โปษยะ จินดา - ใครเคยเห็นปรากฏการณ์ในภาพน้ีบา้ ง ในภาพประกอบดว้ ยอะไร มลี กั ษณะเหมือน อะไรบา้ ง (ดวงจนั ทร์เหมอื นปาก ดาวศกุ ร์เหมือนตาขา้ งขวา และดาวพฤหสั บดี เหมอื นตาขา้ งซา้ ย) - ดวงจนั ทร์ที่เห็นมีลกั ษณะแตกต่างจากภาพดวงจนั ทร์ที่พบในการสร้างแบบจาลอง อยา่ งไร (ดวงจนั ทร์ที่เห็นเป็นเส้ียวในแนวนอน แตกต่างจากดวงจนั ทร์ท่ีพบในการ สร้างแบบจาลองท่ีเป็นเส้ียวในแนวต้งั ) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook