แผนท่ีมรดกทางวฒั นธรรมเมอื งเก่าอทุ ัยธานี สำ� นักงานนโยบายและแผน คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลัยศลิ ปากร แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 1
แผนท่มี รดกทางวัฒนธรรมเมอื งเกา่ อุทัยธานี จัดท�ำโดย กองจัดการสงิ่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรม สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 118/1 อาคารทิปโก้ 2 ช้นั 15 ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท์ - โทรสาร: 0 2265 6580 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 ผูแ้ ตง่ เกรยี งไกร เกิดศิริ - อิสรชยั บรู ณะอรรจน์ แผนท่ี - GIS กึกกอ้ ง เสอื ดี บรรณาธิการ กิตติคณุ จนั ทรแ์ ยม้ บรรณาธกิ ารผู้ช่วย จริ วัฒน์ ทศศะ กองบรรณาธิการ ปทั ม์ วงคป์ ระดษิ ฐ์ - ปภาวดี สะนยั - สิริชัย รอ้ ยเท่ียง - ธนิก หมืน่ ค�ำวัง ออกแบบรูปเลม่ เกรยี งไกร เกิดศิริ - อสิ รชยั บูรณะอรรจน์ - กึกกอ้ ง เสอื ดี ภาพปก กกึ กอ้ ง เสือดี ภาพกราฟกิ อนรุ ักษ์ ชำ� นาญชา่ ง - อิสรชยั บรู ณะอรรจน์ - ธนิก หม่ืนค�ำวงั แบบสถาปัตยกรรม ศริ ลิ ักษณ์ สขุ สวุ รรณ - พรษิ ฐ์ ผอ่ งประเสริฐ - ลอื ชัย แปน้ งาม - ปภาวดี สะนัย อภสิ ิทธ์ิ ศริ ิวัฒนาทกลุ - ภาณุภกั ดิ์ แสงมณี - จรรยารัตน์ อสู่ ันติวงศ์ แบบสถาปตั ยกรรมสามมิติ อิสรชยั บรู ณะอรรจน์ - Lattanaxay Vanasy - Nittha Bounpany - ศิรลิ กั ษณ์ สขุ สุวรรณ Augmented Reality ศรศักดิ์ นวลภกั ด์ิ - สกนธ์ มว่ งสุน ภาพถา่ ย เกรียงไกร เกดิ ศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน์ - รัฐนคร ปิยะศริ โิ สฬส - กนก สุไลมนั - กกึ กอ้ ง เสือด ี รวุ ยั ดา อาบีดีน - ลอื ชัย แป้นงาม - ธเนศ รตั นกุล - กิตติคุณ จนั ทรแ์ ยม้ - ปทั ม์ วงคป์ ระดษิ ฐ์ ภาพถ่ายมุมสูง อสิ รชัย บรู ณะอรรจน์ - รฐั นคร ปิยะศิริโสฬส - กนก สุไลมนั จำ� นวนพิมพ์ 1,000 เลม่ พมิ พ์ท ่ี อ.ี ท.ี พับลิชช่งิ ซ.ลาดพร้าว 101 แขวงคลองจัน่ เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 พมิ พค์ รง้ั แรก มกราคม พ.ศ. 2564 ขอ้ มูลทางบรรณานุกรม สำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม. แผนท่มี รดกทางวัฒนธรรมเมอื งเก่าอุทัยธานี. 2564. 1. แผนที่ 2. มรดกวัฒนธรรม 3. อทุ ยั ธานี ISBN 978-974-641-768-6 2 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ปี รึกษาโครงการ 1. ดร.รววี รรณ ภรู ิเดช เลขาธกิ ารส�ำนักงานนโยบายและแผน 2. นายประเสรฐิ ศริ นิ ภาพร ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 3. นางกิตตมิ า ยินเจรญิ รองเลขาธิการสำ� นักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ผู้อำ� นวยการกองจดั การสิ่งแวดล้อม ธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม คณะกรรมการก�ำกับโครงการ 1. นางสาวกรพนิ ธ ุ์ พยัคฆประการณ ์ นกั วชิ าการสิง่ แวดลอ้ มชำ� นาญการพิเศษ 2. นางสาวกนกกาญจน์ โกติรัมย์ นกั วิชาการส่ิงแวดล้อมช�ำนาญการพเิ ศษ 3. นางสาววรนิจ ไกรพินิจ นกั วชิ าการส่งิ แวดลอ้ มชำ� นาญการ 4. นางสาวน้�ำทิพย์ ศรวี งษฉ์ าย นกั วิชาการส่งิ แวดล้อมช�ำนาญการ 5. นางสาวนลิ อบุ ล ไวปรีชี นักวชิ าการสง่ิ แวดล้อมชำ� นาญการ ที่ปรึกษาทางวชิ าการ และเอื้อเฟอื้ ขอ้ มูล นายคณติ รัตนวัฒนก์ ลุ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม จังหวดั อทุ ยั ธานี นายปฏภิ าณ วงศ์กาญจนา ประธานชมุ ชนอุทัยเมอื งวไิ ล ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ อรศิริ ปาณนิ ท์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารยโ์ รจน์ คณุ เอนก คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วิลาวณั ย์ ภมรสุวรรณ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ นายธงชัย ลิขติ พรสวรรค์ ส�ำนกั พมิ พต์ น้ ฉบบั นายอเนก นาวกิ มูล บ้านพพิ ธิ ภณั ฑ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กวิฎ ต้ังจรัสวงศ์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 3
4 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ภาพมุมสูงบันทึกจากฝั่งเกาะเทโพมองข้ามแม่น�้ำสะแกกรัง กลบั ไปยงั ฝัง่ เมอื งเกา่ อุทัยธานี ดา้ นบนของภาพ คอื ภูเขา สะแกกรังซ่ึงเป็นจุดหมายตาส�ำคัญของอุทัยธานี ภาพโดย: อแิสผรชนยั ที่มบรูรณดกะอทรารงจวนัฒ์ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 5
ภาพจติ รกรรมในพระอโุ บสถ วดั อุโปสถาราม จ.อุทยั ธานี แสดงเหตุการณ์ภายหลังจากท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จโปรด พุทธมารดาและจ�ำพรรษาบนสวรรคช์ นั้ ดาวดึงส์ และเสดจ็ กลบั ลงมาบนโลก ในวันออกพรรษา แรม 1 ค�่ำ เดอื น 11 ซ่งึ เป็นทมี่ าของประเพณตี ักบาตรเทโวโรหณะในปจั จุบนั ภาพโดย: อสิ รชยั บรู ณะอรรจน์ 6 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
คำ� น�ำ “เมืองอุทัยธานี” ต้ังอยู่ริมแม่น้�ำสะแกกรังเป็นเมืองเป้าหมายในการขับเคลื่อนกลไก การอนุรักษ์และพัฒนาบนฐานทุนวัฒนธรรมและศักยภาพเชิงพ้ืนที่เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของผู้คนท่ีอยู่อาศัยภายในพ้ืนท่ีให้ได้รับประโยชน์จากการอนุรักษ์และการพัฒนาภายใต้กรอบ แนวความคิดของการเป็น “เมืองเก่า” ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์ และพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละเมอื งเกา่ พ.ศ. 2546 ซงึ่ ในปจั จบุ นั มกี ารดำ� เนนิ การประกาศเขต พน้ื ทเี่ มืองเกา่ แลว้ ท้งั ส้นิ 33 เมอื ง กระจายตวั อยู่ทุกภมู ภิ าคของประเทศไทย และอยใู่ นระหวา่ ง การด�ำเนนิ การเสนอชื่อเพ่ือการประกาศขอบเขตเพิม่ เติมในปี พ.ศ. 2564 จ�ำนวน 3 เมือง คือ เมอื งเกา่ ฉะเชงิ เทรา เมอื งเกา่ ตรัง และเมืองเกา่ อทุ ัยธานี สำ� หรบั เมอื งเกา่ ตรงั และเมอื งเกา่ ฉะเชงิ เทราไดด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาองคป์ ระกอบของพนื้ ท่ี ภายในเมอื งเกา่ เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ประเภทตา่ ง ๆ ทงั้ ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรมจบั ตอ้ งได้ และ มรดกทางวฒั นธรรมจบั ตอ้ งไมไ่ ด้ และนำ� เสนอขอ้ มลู ประเภทตา่ ง ๆ ดว้ ยการใชแ้ ผนที่ เพอื่ แสดง องคป์ ระกอบของเมืองในพน้ื ที่เมอื งเกา่ ท้งั นี้ “พ้ืนที่เมอื งเก่าเมอื งตรัง” หรือที่รจู้ กั กนั ในนามวา่ “เมอื งทบั เทย่ี ง” และ “พน้ื ทเี่ มอื งเกา่ ฉะเชงิ เทรา” ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ทำ� และเผยแพรห่ นงั สอื แผนที่ วฒั นธรรมไปแล้ว ทวา่ “พืน้ ท่ีเมืองเก่าอทุ ยั ธานี” ยังไมไ่ ด้ด�ำเนนิ การศกึ ษาและจัดทำ� แผนทีท่ าง วัฒนธรรม ด้วยเหตุความจ�ำเป็นเร่งด่วนที่ต้องขับเคลื่อนการสร้างองค์ความรู้เพื่อเตรียมความ พร้อมส�ำหรับการอนุรักษ์และการพัฒนาในพ้ืนที่เมืองเก่าภายหลังมีมติคณะรัฐมนตรีประกาศ ขอบเขตพ้ืนท่ีเมืองเก่า และเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมของชุมชนท้องถิ่นด้วยการส่งเสริม องค์ความรูแ้ ละความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พ้นื ทเี่ มอื งเก่าอันเปน็ กลไกส�ำคัญที่จะน�ำไปสกู่ ารสร้างความ ตระหนกั รใู้ นคณุ คา่ ซง่ึ จะขบั เคลอ่ื นการอนรุ กั ษแ์ ละการพฒั นาเมอื งเกา่ ไปสคู่ วามยง่ั ยนื ไดต้ อ่ ไป ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยกองจัดการ ส่งิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรม รว่ มกับ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร จึงจัดท�ำ “โครงการศึกษา ส�ำรวจ และจัดท�ำแผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี” เพอ่ื สืบค้นขอ้ มูลทางประวัตศิ าสตร์ และการพัฒนาเมืองเกา่ อุทยั ธานดี ้วยเคร่อื งมอื ต่าง ๆ และ น�ำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนที่ และด�ำเนินการจัดพิมพ์ “แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่า อุทัยธานี” ส�ำหรับเป็นข้อมูลอ้างอิงในการวางแผนการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าอุทัยธานี พร้อมไดจ้ ดั ท�ำ Application Augmented Reality ใช้ประกอบกบั หนังสอื เป็นการเผยแพรอ่ งค์ ความรู้เกี่ยวกับเมืองเก่าอุทัยธานีเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าอุทัยธานีบนฐาน คุณค่าและการใช้สอยในบรบิ ทสังคมร่วมสมยั ตามเป้าหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืนตอ่ ไป สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 7
บรรยากาศงานตักบาตรเทโวในวันออก พรรษาทวี่ ดั สงั กสั รตั นครี เี ปน็ งานประจำ� ปี สำ� คญั ของอทุ ัยธานี 8ภาพโดย:แอผสิ นรทชยั่ีมรบดูรกณทะอารงรวจัฒน์ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
สารบญั - ค�ำนำ� 7 - สารบญั 9 - อธิบายการใชห้ นงั สอื แผนทีม่ รดกทางวฒั นธรรม 10 - ข้อมูลเบอ้ื งต้นของอทุ ัยธานี 13 - สภาพภมู ศิ าสตร์ และสิ่งแวดลอ้ มธรรมชาตอิ ุทัยธานี 17 - เมืองเกา่ อุทัยธานี จากอดีตสูป่ จั จบุ ัน 33 - การก�ำหนดขอบเขตพนื้ ทเี่ มอื งเก่าอุทยั ธานี 51 - เสน้ ทางสัญจร และทา่ น�้ำ ในพนื้ ที่เมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี 63 - วัด และศาลเจา้ ในพ้นื ทเี่ มืองเก่าอทุ ัยธานี 81 - ย่านสำ� คัญ ในพ้นื ทเี่ มอื งเกา่ อุทัยธานี 95 - การจ�ำแนกรปู แบบการอยู่อาศัย ในพื้นท่เี มืองเก่าอทุ ยั ธานี 103 - พฒั นาการรปู แบบบ้านรา้ นคา้ ในพ้นื ที่เมอื งเก่าอุทยั ธานี 107 - เรือนแพ ชุมชนลอยน้�ำ ในพน้ื ที่เมืองเก่าอทุ ัยธาน ี 121 - เมืองเกา่ อทุ ยั ธานี: ตน้ ทุนในการพัฒนาเศรษฐกจิ 129 ฐานวัฒนธรรมในบริบทสงั คมร่วมสมัย - บทสรุป 135 - บรรณานุกรม 138 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 9
การใช้แอปพลเิ คชัน่ AR (Augmented Reality) ในหนังสือ หนงั สือแผนที่มรดกทางวัฒนธรรมอุทยั ธานี ได้ประยกุ ตก์ ารนำ� เสนอ ดว้ ยเทคโนโลยี AR หรอื Augmented Reailty ในเนือ้ หาบางสว่ นของหนงั สือ ซง่ึ เป็นการนำ� เสนอมมุ มองในลกั ษณะของการผสานวตั ถุเสมือน ซอ้ นทับลงบน สภาพแวดลอ้ มจรงิ ท้ังนี้ การนำ� เสนอเนือ้ หาแบบ AR ตอ้ งมกี ารใชง้ านรว่ มกับ แอปพลิเคชน่ั บนโทรศพั ทม์ ือถือสมารท์ โฟน โดยวธิ ีการดงั ตอ่ ไปน้ี 1 สแกน QR-Code เพ่อื ดาวน์โหลดโปรแกรมติดต้ัง แอปพลเิ คชนั่ UthaiMap.apk บนโทรศัพทม์ ือถอื หมายเหต:ุ แอปพลเิ คชน่ั ใชก้ บั โทรศพั ทม์ อื ถอื ระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ (Android) เท่านัน้ และตอ้ ง Login บัญชขี อง Gmail บนโทรศัพท์มอื ถือ เพ่ือเช่ือมต่อกบั google drive 2 กดติดตงั้ โปรแกรม และเมือ่ ดาวน์โหลดเสร็จจะมี ขอ้ ความวา่ “ติดต้ังแอปแลว้ ” หมายเหต:ุ แนะน�ำใหเ้ ชื่อมตอ่ กับ WIFI ในการดาวนโ์ หลด เนือ่ งจากไฟล์ มีขนาดใหญม่ ากกวา่ 300 MB 3 หาสญั ลกั ษณ์ UthaiMap เพ่ือเปิดใชง้ านแอปพลเิ คช่ัน 4 แอปพลิเคช่ัน UthaiMap จะท�ำงานร่วมกับ กลอ้ งถ่ายรูปบนโทรศพั ท์มือถอื ทง้ั นี้ เมื่อเห็น ภาพประกอบที่มสี ัญลกั ษณ ์ บนหนงั สอื ให้น�ำกล้องถ่ายรูปส่องไปท่ีสัญลักษณ์ดังกล่าว จากน้นั ภาพของวัตถุเสมือนจะปรากฏขึ้นบน หนา้ จอของโทรศพั ท์มอื ถือโดยอตั โนมตั ิ กด เพื่อ Zoom-in เข้าหาวัตถุ กด เพ่ือ Zoom-out ออกจากวัตถุ กด เพื่อ reset วัตถุให้อยู่ในต�ำแหน่งเริ่มต้น ความหมายของสญั ลักษณ์ในหนงั สือ เขตหา้ มลา่ สัตวป์ า่ พ้ืนทเี่ พ่ือการท่องเทย่ี ว เขตรักษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ ศาสนสถาน อ่างเก็บน�้ำ | หนอง สถาปัตยกรรมพ้นื ถน่ิ แมน่ ำ�้ สถาปตั ยกรรมชุมชนเมอื ง พน้ื ท่ีเพอื่ การวิจัย แหลง่ มรดกโลก 10 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แผนทีม่ รดกทางวฒั นธรรม เมอื งเกา่ อุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 11
ภาพมุมสูงของชมุ ชนเรอื นแพท่ีประกอบอาชีพการเลี้ยงปลา กระชังในแม่น้ำ� สะแกกรงั หน้าเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานี 1ภ2าพโดย:แอผิสนรทช่ียัมรบดูรกณทะอางรรวจัฒน์นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ข้อมูลเบื้องต้น ของ อุทัยธานี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 13
ขอ้ มลู เบื้องตน้ เกีย่ วกบั จงั หวัดอุทัยธานี “จงั หวดั อุทยั ธานี” มีค�ำขวัญท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ มิตทิ างวฒั นธรรม พลับพลาพระบรมราชานุสาวรีย์ ประวตั ศิ าสตร์ และอัตลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ความว่า “อุทัยธานี เมืองพระชนกจกั รี สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ปลาแรดรสดี ประเพณเี ทโว ส้มโอบ้านน้�ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่ง ตราประจ�ำจังหวัดอุทัยธานี ตน้ นำ้� สะแกกรัง ตลาดนดั ดังโคกระบอื ” แม้ว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ท�ำเลที่ต้ังเมืองอุไทยธานี จะไม่ไดต้ ง้ั อยู่ในท�ำเลทตี่ ้ังปจั จุบนั ทวา่ ทำ� เลที่ต้งั ตรงจดุ นกี้ ็มผี ้คู นตัง้ ถิ่นฐาน มาแลว้ ตงั้ แตส่ มยั ปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ อยา่ งชา้ ดงั ประวตั ศิ าสตรก์ ลา่ ววา่ บา้ นสะแกกรงั นเี้ ปน็ นวิ าสสถานเดมิ ของ “สมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก” ซ่ึงมี พระนามเดิมว่า “ทองดี” ผู้เป็นสมเด็จพระบรมชนกนาถในพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ปฐมกษตั ริย์แหง่ พระบรมราชจกั รีวงศ์ ทง้ั น้ี เพอ่ื เปน็ การระลึกถงึ ความส�ำคัญของทำ� เลที่ต้ังอันเปน็ มงคล จังหวัดอุทัยธานีจึงได้ด�ำเนินการปรับปรุงพื้นท่ีบนยอดเขาสะแกกรังเพ่ือ การก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก โดยเริ่ม ด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2514 ภายใต้ความร่วมมือและการประสานงานของ จังหวัดอุทัยธานีกับหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ กระทรวงมหาดไทย เทศบาล เมืองอุทัยธานี ส�ำนักผังเมือง กรมศิลปากร โครงการทางหลวงท้องถ่ิน จังหวัดอุทยั ธานี เม่ือโครงการก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ พลับพลาประดิษฐาน และการพัฒนาพื้นที่ต่าง ๆ โดยรอบเสร็จสมบูรณ์ ในวันท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธีเปิดพระบรม ราชานุสาวรีย์ และทรงปลูกต้นโพธ์ิ และต้นไทร ซ่ึงนับเป็นต้นไม้ส�ำคัญ อันเป็นต้นไม้แหง่ ความเปน็ สริ ิมงคลของจงั หวดั อทุ ยั ธานี ด้วยเหตุอนั เป็นมงคลน้ี จงั หวัดอทุ ัยธานีจงึ คดั เลอื ก “รูปพลบั พลา ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก” บนภูเขา สะแกกรงั เป็นตราประจ�ำจงั หวัดอทุ ัยธานี ท้งั น้ี พลบั พลาประดษิ ฐานพระบรมราชานุสาวรีย์เปน็ พลบั พลาโถง ผังหลงั คาแบบจัตรุ มขุ ตกแต่งดว้ ยองค์ประกอบทางสถาปตั ยกรรมแบบไทย ประเพณี มมี ขุ ลดและมชี ายคาปกี นกโดยรอบ ตรงกลางพลับพลายกเปน็ ฐาน ปัทม์กรุด้วยหินอ่อน ด้านบนประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์โลหะรมด�ำ ประทับน่ังบนพระราชอาสน์ พระกรซ้ายทรงพระแสงดาบประทับไว้ข้าง พระวรกาย 14 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ส�ำหรบั ต้นไม้ประจำ� จังหวัดอทุ ยั ธานี คือ “ตน้ สะเดา (Azadirachta indica A. Juss var. siamensis Valeton)” ซ่ึงเป็นพืชประจ�ำถ่ินที่ขึ้นได้ดีในเขตร้อนแห้งแล้ง ใบและดอกมีรสขม และมีสรรพคุณทางยา นิยม น�ำมาลวกน้�ำร้อนหรือเผาและรับประทานกับเครื่องจ้ิมท่ีมีรสหวาน อาทิ น้�ำปลาหวาน เป็นอาหารเล่ืองช่ือใน สำ� รบั อาหารคาวของไทยมาแต่โบราณ สำ� หรบั ดอกไม้ประจำ� จังหวดั อทุ ัยธานี คอื “ดอกสุพรรณกิ าร์ (Cochlospermum regium (Schrank) Pilg.)” เป็นไม้กลุ่มเดียวกับ “ฝ้ายค�ำ” ทว่าสุพรรณิการ์ที่ปลูกประดับกันอย่างแพร่หลายน้ันมีดอกซ้อนชั้น มีถน่ิ กำ� เนิดเดิมอย่ใู นแถบทุง่ หญา้ เขตรอ้ นในทวปี อเมริกาใต้ ถกู นำ� เขา้ มาปลูกเปน็ ไมป้ ระดับอยา่ งแพร่หลาย ในประเทศไทย และได้ถกู ให้ความหมายในฐานะเป็นดอกไม้ประจำ� จงั หวดั อุทยั ธานี นอกจากต้นไม้ และดอกไม้ประจ�ำจังหวัดดังกล่าวมาข้างต้นแล้ว อุทัยธานียังมีชื่อเสียงเรื่องผลผลิต ทางการเกษตรอื่น ๆ โดยเฉพาะ “ส้มซ่า (Citrus aurantium L.)” ซึ่งเป็นพืชตระกูลส้มและมะนาว ยืนต้น สูง 7-10 เมตร ต้นและกิ่งมหี นามยาว ใบประกอบชนิดลดรูปเหลอื ใบย่อยใบเดียว ดอกมสี ีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลมโตกว่ามะนาวมีเปลือกหนาและผิวขรุขระ แต่ไม่ขรุขระเท่ามะกรูด เน้ือมีสีขาวคล้ายส้มโอ รสเปร้ียว อมหวานเล็กนอ้ ย สม้ ซา่ เป็นพชื พนั ธุโ์ บราณท่ีสันนิษฐานกันวา่ เป็นพืชทมี่ ถี นิ่ กำ� เนิดในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ และปลูกแพร่หลายในไทยมาแต่โบราณ ดังที่ปรากฏกล่าวถึงในต�ำราการปรุงยาไทยต�ำรับต่าง ๆ รวมไปถึง การนำ� ไปปรุงรสชาตขิ องอาหารไทยโดยเฉพาะ “หมก่ี รอบ” นอกจากน้ี จังหวัดอุทัยธานีมีชื่อเสียงจากการประมงน้�ำจืดเพาะเลี้ยงปลากระชังในแม่น้�ำสะแกกรัง โดยเฉพาะการเล้ียง “ปลาแรด (Osphronemus goramy Lacepede, 1801)” จนมีคุณภาพดีเป็นที่รู้จักกัน อย่างแพรห่ ลาย กรมทรพั ย์สนิ ทางปัญญาไดข้ ึ้นทะเบยี นให้ “ปลาแรดลมุ่ นำ้� สะแกกรัง อุทยั ธานี ทะเบยี นเลขที่ สช 56100061” เปน็ “สง่ิ บ่งชีท้ างภมู ศิ าสตร์ (Geographical Indications หรือ GI)” ซง่ึ หมายถงึ ผลิตภณั ฑ์ ที่มีความเฉพาะเจาะจงอ้างอิงกับต�ำแหน่งหรือพื้นท่ีทางภูมิศาสตร์ท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพดีและมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ชอื่ สามัญ: สะเดา ช่ือสามัญ: สุพรรณิการ์ / ฝ้ายค�ำ ชื่อสามัญ: ส้มซ่า ชื่อวิทยาศาสตร์: Azadirachta indica ชื่อวิทยาศาสตร์: Cochlospermum ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Citrus aurantium L. A. Juss. var. siamensis Valeton regium (Schrank) Pilg. ทม่ี า: เตม็ สมติ นิ นั ทน.์ (2557). พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งานหอพรรณไม้ สำ� นกั วจิ ยั การอนรุ กั ษป์ า่ ไมแ้ ละ พนั ธพ์ุ ชื กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื . หนา้ 64 137 และ 146. แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 15
บรรยากาศภายในโถงถำ�้ หลุมยุบของหบุ ปา่ ตาดซึง่ มภี มู ิลักษณ์ทางธรรมชาตทิ ง่ี ดงาม และมพี ืชพนั ธุ์ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ คือ “ตน้ ตาด” พชื ตระกูลปาล์มใบขนนก รวมไปถงึ ในพืน้ ทช่ี ืน้ ของถ�ำ้ ภายในหุบหลมุ ยบุ ยงั พบส่ิงมีชวี ิตชนิดใหมข่ องโลก คือ “ก้ิงกอื มังกรสชี มพ”ู 16ภาพโดยแ:ผเนกทรยี่ีมงรไกดรกทเกาิดงศวริ ัฒิ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
สภาพภูมิศาสตร์ และ ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ อุทัยธานี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 17
อา่ งเก็บนำ้� ทับเสลา เขตรักษาพันธ์สุ ัตวป์ า่ หว้ ยขาแข้ง จ.ตาก อ.บา้ นไร่ เขตห้ามลา่ สัตวป์ ่า เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ป่า อา่ งเกบ็ น�้ำ | หนอง แมน่ ้�ำ พน้ื ท่ีเพ่ือการวจิ ัย พ้ืนทเ่ี พ่อื การทอ่ งเทย่ี ว ศาสนสถาน จ.กาญจนบุรี สถาปัตยกรรมพ้นื ถิ่น สถาปตั ยกรรมชุมชนเมอื ง แหล่งมรดกโลก 18 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ภมู ศิ าสตร์จังหวดั อุทัยธานี อ.ลานสกั จ.นครสวรรค์ สญั ลกั ษณ์ อ.ห้วยยอด ขอบเขตจงั หวัด อ.สว่างอารมณ์ ขอบเขตอำ� เภอ เสน้ ทางน�ำ้ แหลง่ น�ำ้ เขตรักษาพนั ธ์สุ ตั ว์ปา่ / เขตหา้ มลา่ สัตวป์ ่า/ อทุ ยานแห่งชาติ เมืองเก่าหนองฉาง เมืองเกา่ อุทัยธานี อ.ทัพทัน อ.เมอื งอทุ ยั ธานี บึงน�้ำเฉลิมพระเกยี รติ อ.หนองฉาง อ.หนองขาหย่าง พระชนกจกั รี แม่นำ้� สะแกกรัง เขาปลารา้ แม่น้�ำเจา้ พระยา หบุ ป่าตาด จ.ชยั นาท จ.สพุ รรณบุรี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 19
อุทยั ธาน:ี ภมู ิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ท�ำเลที่ต้ังของจังหวัดอุทัยธานี ตง้ั อยู่ในภาคกลางตอนบน ห่างจาก กรงุ เทพมหานคร 206 กิโลเมตร มีทต่ี ง้ั สัมพนั ธ์กบั พนื้ ท่จี งั หวดั ชัยนาททาง ทิศใต้และทศิ ตะวนั ออก สมั พนั ธ์กบั จงั หวดั นครสวรรค์ทางทศิ ตะวนั ออกและ ทิศเหนือ และพ้นื ทีจ่ ังหวัดตากทางทศิ ตะวนั ตก และถดั ออกไปคอื พรมแดน ไทย-เมยี นมา จังหวัดอุทัยธานีมีเน้ือท่ีรวมท้ังสิ้น 6,730 ตารางกิโลเมตร แบ่งขอบเขตการปกครองออกเป็น 8 อ�ำเภอ คอื อ�ำเภอเมอื งอทุ ัยธานี มีพนื้ ท่ ี 250 ตารางกโิ ลเมตร อ�ำเภอทัพทนั มพี ื้นที่ 323 ตารางกิโลเมตร อ�ำเภอสวา่ งอารมณ์ มีพน้ื ท่ี 341 ตารางกิโลเมตร อ�ำเภอหนองฉาง มพี น้ื ที่ 341 ตารางกโิ ลเมตร อำ� เภอหนองขาหยา่ ง มพี ื้นท่ี 347 ตารางกิโลเมตร อำ� เภอบา้ นไร่ มีพืน้ ท่ี 3,621 ตารางกโิ ลเมตร อำ� เภอลานสัก มีพ้นื ที่ 1,080 ตารางกิโลเมตร อ�ำเภอห้วยคต มีพ้ืนท่ี 424 ตารางกิโลเมตร ในมิติของพัฒนาการทางความคิด และองค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ 1 Shyam Singh. (1995). “Interna- ของโลกน้นั จงั หวัดอทุ ยั ธานีมคี วามสำ� คัญด้วยเป็นที่ตั้งของ “หมดุ โลก” ทใ่ี ช้ เป็นหมุดอ้างอิงส�ำหรับระบุพิกัดบนแผนที่โลกในการส�ำรวจแผนท่ีการทหาร tional Geoid Commission National เม่ือปี พ.ศ. 2518 หน่วยงานแผนที่เพื่อความม่ันคง (Defense Mapping Agency (DMA)) สหรัฐอเมริกา ร่วมกับกรมแผนที่ทหารได้ท�ำการปรับแก้ Report for India” in International จุดอ้างอิงพิกัดจากภูเขาที่เมืองเกเลียน ปูร์ (Kalian Pur) รัฐอุตรประเทศ Geoid Commission Activity Report (Uttar Pradesh) ประเทศอนิ เดยี มาใชจ้ ดุ อา้ งองิ ทยี่ อดเขาสะแกกรงั โดยใช้ 1991-1995. pp. 91-101. ดาวเทียมดอปเปลอร์เป็นเครื่องมือ วิธีการรังวัดจะมีความเที่ยงตรงจะต้อง ใช้โครงขา่ ยสามเหล่ียม ซึง่ ไดต้ รงึ เขา้ กับหมุดอา้ งอิงทัง้ สน้ิ 426 สถานี เรยี ก ผลลพั ธจ์ ากการปรบั แกโ้ ครงขา่ ยสามเหลยี่ มในครงั้ นวี้ า่ “พนื้ หลกั ฐาน Indian 1975”1 หมุดโลกบนเขาสะแกกรงั ตัง้ อยยู่ อดสูงสุด ถัดลงมาจากยอดเขาอนั เปน็ ทเ่ี ปน็ ทตี่ งั้ ของมณฑปสริ มิ หามายากฎุ าคาร และผา่ นพลบั พลาประดษิ ฐาน พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกตามล�ำดับ และถัดขึ้น ไปจนถึงจุดสูงสุดของภูเขาจะพบหมุดโลกซึ่งมีลักษณะเป็นแท่งคอนกรีตรูป ตัวยู (U) คว่�ำ ซ่ึงกรมแผนทที่ หารใชเ้ ป็นจุดตรึงค่าพิกัดทางภมู ศิ าสตร์ คอื ละติจูด 15 องศา 22 ลิปดา 56.0487 พิลิปดาเหนือ และลองจิจูด 100 องศา 0 ลิปดา 59.1906 พิลิปดาตะวันออก มีก�ำหนดสูง 140.98 เมตร เหนือระดับน�้ำทะเลปานกลาง 20 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
มณฑปสิริมหามายากุฎาคาร พลับพลาพระบรมราชานสุ าวรยี ์ หมุดโลก สมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก ภาพโดย: อิสรชัย บรู ณะอรรจน์ ภาพซ้าย: แท่งคอนกรีตระบุท่ีตั้งของหมุดโลกบนยอดเขาสะแกกรัง | ภาพขวา: ท�ำเลที่ต้ังอาคารส�ำคัญบนยอดเขาสะแกกรัง ได้แก่ มณฑปสริ มิ หามายากุฎาคาร พลับพลาพระบรมราชานสุ าวรยี ์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และท่ีต้ังของหมดุ โลก ภมู ลิ ักษณ์ และสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพโดยรวมของจังหวัดอุทัยธานีน้ันมีลักษณะเป็นพ้ืนท่ีภูเขาสูง และพ้ืนที่ลาดชัน ที่ปกคลุมด้วยป่าชนิดต่าง ๆ ทางทิศตะวันออกของจังหวัดอุทัยธานีเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มผืนเล็กซึ่งมีความสัมพันธ์ กบั แมน่ ำ้� เจา้ พระยาและแมน่ ำ้� สะแกกรงั มภี มู อิ ากาศแบบกงึ่ รอ้ นชน้ื ไปจนถงึ อากาศแบบรอ้ นชน้ื ทงั้ นี้ ในบรเิ วณ ป่าและภูเขาทางทศิ ตะวันตกมฝี นตกชกุ ในขณะที่บริเวณพื้นทีร่ าบลุ่มแม่นำ�้ ทางดา้ นทิศตะวนั ออกมีอากาศรอ้ น และแหง้ แลง้ มอี ณุ หภูมเิ ฉลี่ยตลอดทงั้ ปีประมาณ 28 องศาเซลเซียส พ้ืนท่ีทางทิศตะวันตกมีลักษณะเป็นป่าดิบเขา มีภูมิประเทศแบบภูเขาหินปูนเช่ือมต่อกับแนวทิวเขา ตะนาวศรที างตอนเหนอื และแนวทวิ เขาถนนธงชยั ตะวนั ตก และเอยี งลาดลงมาทางตะวนั ออกลงสพู่ น้ื ทร่ี าบลมุ่ แม่น้�ำเจ้าพระยา-สะแกกรัง ส�ำหรับพื้นที่สูงทางฝั่งตะวันตก ส่วนใหญ่ครอบคลุมพ้ืนท่ีในแถบอ�ำเภอบ้านไร่ อ�ำเภอลานสัก และอ�ำเภอห้วยคต ซึ่งเป็นพื้นที่ท่ีมีทรัพยากรป่าไม้สมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าดิบเขา ป่าดิบช้ืน ปา่ ดบิ แลง้ ปา่ เตง็ รงั และปา่ เบญจพรรณ ซงึ่ อดุ มไปดว้ ยไมม้ คี า่ เชน่ ตะเคยี นทอง ยาง กระบาก มะคา่ โมง แดง ประดู่ ฯลฯ รวมท้งั ทรัพยากรแร่ธาตุทมี่ ีคณุ คา่ ทางเศรษฐกิจ เช่น เหล็ก ดินขาว แกรนติ และหนิ อ่อน เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ผืนปา่ ทางฝ่งั ตะวนั ตกของจงั หวดั อทุ ัยธานยี ังเปน็ พ้ืนที่ส่วนหนง่ึ ของเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง ซ่ึงเช่ือมต่อกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร อันเป็นผืนป่าตะวันตกผืนใหญ่ซึ่งครอบคลุม พนื้ ทปี่ า่ อนรุ กั ษท์ มี่ ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ ในประเทศไทย และตอ่ เนอ่ื งกบั ผนื ปา่ ในเขตประเทศเมยี นมา ทำ� ใหเ้ ปน็ แหลง่ กระจายพนั ธุ์ของสตั ว์ปา่ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ุดแหง่ หนง่ึ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตภ้ าคพน้ื ทวปี แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 21
ส�ำหรับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นส่วนหนึ่งของทิวเขา 2 เกรยี งไกร เกดิ ศริ ิ และอสิ รชยั บรู ณะ ถนนธงชัยซ่ึงมีอาณาเขตติดต่อกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรที่อยู่ ในจงั หวดั ตากและกาญจนบรุ ี พนื้ ทสี่ ว่ นใหญเ่ ปน็ ภเู ขาและทรี่ าบเชงิ เขาลาดเท อรรจน์ (2561). คู่มือการน�ำเสนอ ไปทางตอนใต้ จดุ สงู สดุ ของพนื้ ที่ คอื ยอดเขาปลายหว้ ยขาแขง้ (1,678 เมตร แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่ง จากระดบั น้�ำทะเล) มแี หล่งน้�ำสำ� คัญ คือ ลำ� หว้ ยขาแขง้ ระยะทางประมาณ มรดกทางธรรมชาติเป็นแหล่งมรดก 20 กโิ ลเมตร ซงึ่ เปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของแมน่ ำ�้ แมก่ ลอง ปกคลมุ ดว้ ยผนื ปา่ ทม่ี คี วาม โลก. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งานนโยบายและ อดุ มสมบรู ณท์ สี่ ดุ แหง่ หนง่ึ ของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ แผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. ดว้ ยคณุ คา่ และความสำ� คญั องคก์ ารยเู นสโก (UNESCO) จงึ ยกยอ่ ง ให้พ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (Huai Kha Khaeng Wildlife หนา้ 26. Sanctuaries) เป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ เมอ่ื ปี พ.ศ. 25342 ตาม เกณฑ์คุณสมบัติของคุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากล (Outstanding Universal 3 เพงิ่ อา้ ง. Value) ในเกณฑ์ข้อท่ี 7 9 และ 103 เขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ การจัดต้ัง: เรอื่ งกำ� หนดใหป้ า่ หว้ ยขาแขง้ เปน็ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2503 เลม่ 89 ตอนที่ 132 วนั ที่ 4 กนั ยายน พ.ศ. 2515 ราชกจิ จานเุ บกษา: Latitude 15° 55’ N | Longitude 99° 45’ E พิกัดภูมศิ าสตร์: WGS 1984 UTM Zone 47N ระวางแผนที:่ ต.ระบ�ำ ต.ปา่ อ้อ อ.ลานสกั ต.ทองหลาง อ.ห้วยคต ต.คอกควาย ทอ้ งท่ี: ต.แก่นมะกรูด อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี ต.แม่ละมุ้ง อ.อุม้ ผาง จ.ตาก 2,780 ตารางกิโลเมตร (1,737,587 ไร)่ ส�ำนักงานเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ปา่ หว้ ยขาแข้ง อ.ลานสกั จ.อุทยั ธานี 61160 เน้อื ที่: จันทร-์ ศกุ ร์ เวลา 08.00-16.30 น. หน่วยงานในพนื้ ท่:ี ผู้ใหญ่ 20 บาท | เด็ก 10 บาท เวลาทำ� การ: เปน็ พื้นทค่ี ุ้มครองตาม พระราชบัญญัตสิ งวนและคุม้ ครองสตั ว์ปา่ พ.ศ.2562 คา่ ธรรมเนยี ม: ส�ำหรับเป็นท่ีอยู่อาศัย และแหล่งเจริญพันธุ์ของสัตว์ป่า เป็นแหล่งศึกษา การใช้ประโยชน:์ หาความรู้ และค้นควา้ ด้านวิชาการ 22 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แผนทีเ่ ขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ห้วยขาแข้ง อ่างเก็บน�้ำทับเสลา เขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ห้วยขาแขง้ ที่มา: ส่วนสารสนเทศด้านสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช เข้าถึงจาก: www.anp.go.th/wildlife_it แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 23
นอกจากน้ี อทุ ัยธานยี ังมคี วามโดดเด่นของภมู ลิ ักษณท์ างธรรมชาติ และระบบนเิ วศ โดยเฉพาะภมู ลิ กั ษณภ์ เู ขาหนิ ปนู ซงึ่ เรยี กวา่ “ภมู ลิ กั ษณแ์ บบ คาสต์ (Karst)” ทเ่ี กดิ จากนำ้� ฝนไดท้ ำ� ปฏกิ ริ ยิ าเคมกี ลายเปน็ กรดคารบ์ อนกิ เม่ือไหลผ่านหินปูนจึงท�ำปฏิกิริยากับแร่แคลไซต์ หรือแคลเซียมคาร์บอเนต (ทC�ำaใหC้ภO3ูม)ิลแกั ลษะณลภ์ะลเู ขาายหอนิอกปมนู าจกึงลเตาม็ยเไปปน็ดโว้ พยรหงลถมุำ�้ ยหบุ ลมุ โพยรบุ งถแ้�ำละแหลนิ ะงทอากงนหำ้� นิ ใตย้ดอ้ ินย ซงึ่ ภมู ลิ กั ษณท์ างธรรมชาตขิ อง “หบุ ปา่ ตาด” เกดิ จากการยบุ ตวั ของ ภเู ขาหนิ ปนู กลายเปน็ หบุ ลกึ โอบลอ้ มดว้ ยผาหนิ ปนู ทสี่ งู ชนั ทำ� ใหใ้ นหบุ มรี ะบบ นเิ วศลกั ษณะเฉพาะตวั ภายในโถงกลางหบุ เขาเตม็ ไปดว้ ย “ตน้ ตาด (Arenga Westerhoutii Griff.)” ซึ่งเป็นพืชตระกูลปาล์มใบขนนก และพบพันธุ์ไม้ หายากอีกหลายชนิด อาทิ ขนุนดิน (Balanophora fungosa J.R. & G. Forst.) ตอ่ มาใน ปี พ.ศ. 2550 ได้มีการค้นพบสัตว์ชนิดใหม่ของโลก คือ “กิ้งกือมังกรสีชมพู (Desmoxytes purpurosea Enghoff, Sutcharit & Panha, 2007)” อกี ด้วย ทงั้ นี้ บนทวิ เขาแนวเดยี วกนั กบั ทวิ เขาอนั เปน็ ทตี่ ง้ั ของแหลง่ ธรรมชาติ หุบป่าตาด ยังมีมรดกทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญ คือ “แหล่งโบราณคดีสมัย กอ่ นประวตั ศิ าสตรภ์ าพเขยี นสเี ขาปลารา้ ” กำ� หนดอายไุ ดป้ ระมาณ 3,000 ปี มาแลว้ อยบู่ นเพิงผายาวประมาณ 9 เมตร แสดงให้เหน็ ถงึ คุณลักษณะของ ภูมิลักษณ์ทางธรรมชาติท่ีมีลักษณะโดดเด่นท่ีเป็นพ้ืนท่ีศักด์ิสิทธ์ิของผู้คน สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ท่เี คยต้งั ถ่นิ ฐานในบริเวณน้เี ม่อื หลายพันปีมาแล้ว ด้วยความส�ำคัญของภูมิลักษณ์ทางธรณีวิทยา ความหลากหลาย ทางชีวภาพของระบบนิเวศ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ยุคโบราณกับ สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาตทิ ต่ี นไดต้ ง้ั ถนิ่ ฐานอาศยั อยนู่ น้ั ทำ� ใหม้ แี นวคดิ ในการ เสนอแหล่งภูมิลักษณ์ทางธรณีวิทยานี้เป็นมรดกของมนุษยชาติในฐานะ ของ “อทุ ยานธรณีโลก” ด้วยสามารถใชม้ รดกทางธรณีอันเปน็ ตน้ ทนุ สำ� คัญ ของพน้ื ทเี่ ชอ่ื มโยงกบั มรดกทางนเิ วศวทิ ยาทเ่ี ปน็ บรบิ ทแวดลอ้ ม และรวมไปถงึ หลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ยืนยันปฏิสัมพันธ์ ของมนษุ ยก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือสรา้ งความเข้าใจและความตระหนักในคณุ คา่ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มภายใตก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ของชุมชนท้องถ่ิน โดยมีเป้าหมายเพ่ือยกระดับเศรษฐกิจชุมชนท้องถ่ินให้ สามารถสร้างงาน อาชีพ และความภาคภูมิใจอันจะน�ำไปสู่ความหวงแหน แหลง่ อุทยานธรณี ความหลากหลายทางชวี ภาพ และคุณคา่ หลากมติ อิ ยา่ ง ยัง่ ยนื ต่อไป 24 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แผนทแ่ี สดงเขตห้ามล่าสตั ว์ป่าถ้�ำประทนุ เขาปลาร้า และหุบปา่ ตาด แผนทเ่ี ขตห้ามลา่ สตั วป์ า่ ถำ้� ประทนุ อ.ลานสกั เขาปลาร้า หุบปา่ ตาด คำ� อธิบายสญั ลกั ษณ์ ขอบเขตพืน้ ที่ ขหล.ถ�ำ้ ประทุน อ.หนองฉาง หมบู่ า้ น ขอบเขตอ�ำเภอ เส้นทางน้ำ� เสน้ ทางคมนาคม ท่ีมา: ส่วนสารสนเทศด้านสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เข้าถึงจาก: www.anp.go.th/wildlife_it แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 25
การจดั ต้งั : เขตห้ามลา่ สตั ว์ปา่ ถำ้� ประทนุ เรอ่ื ง กำ� หนดพนื้ ทเ่ี ขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ถำ้� ประทนุ ราชกิจจานเุ บกษา: ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2535 พกิ ดั ภูมศิ าสตร์: เล่ม 116 ตอนท่ี 18ง วันท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 2542 ระวางแผนท่:ี Latitude 15° 20’ 26” N | Longitude 99° 34’ 52” E ท้องที่: 4939IV WGS 1984 UTM Zone 47N เนอ้ื ท:่ี ต.ปา่ อ้อ อ.ลานสกั ต.เขากวางทอง ต.ทุ่งโพ ต.เขาบางแกรก อ.หนองฉาง หน่วยงานในพืน้ ที:่ 20.88 ตารางกิโลเมตร (13,052 ไร่) ท่ีทำ� การห้ามล่าสัตวป์ า่ ถ�้ำประทุน ต.ป่าอ้อ อ.ลานสกั จ.อทุ ยั ธานี 61160 เขาปลารา้ พิกดั ภูมิศาสตร์: Latitude 15° 23’ 58” N Longitude 99° 39’ 20” E เวลาทำ� การ: ทุกวนั 08.00-17.00 น. คา่ ธรรมเนียม: ไม่มี พนื้ ท่เี ขาปลารา้ เป็นภูเขาหินปนู ที่มถี ำ�้ กระจายตัว อยหู่ ลายแหง่ และเปน็ ถน่ิ ท่อี ยขู่ องเลียงผา ทผ่ี นังถ�้ำ ประทนุ บนเขาปลารา้ มีภาพเขยี นสกี อ่ นประวัติศาสตร์ กำ� หนดอายรุ าว 3,000 ปี เปน็ ลายเส้นสดี ำ� และสีแดง มีภาพมนษุ ย์ และภาพสตั ว์ รวมประมาณ 40 ภาพ ภาพโดย: เกรียงไกร เกิดศิริ หบุ ปา่ ตาด 26 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี พิกัดภูมิศาสตร:์ Latitude 15° 22’ 33” N Longitude 99° 37’ 49” E เวลาทำ� การ: ทกุ วนั 08.00-17.00 น. คา่ ธรรมเนียม: ไทย ผ้ใู หญ่ 20 บ.|เด็ก 10 บ. ตา่ งชาติ ผใู้ หญ่ 200 บ.| เดก็ 100 บ. หบุ ปา่ ตาด ถกู โอบลอ้ มดว้ ยเขาหนิ ปูนสูงชัน มีสภาพ แวดล้อมคล้ายป่าดกึ ด�ำบรรพ์ มีระบบนิเวศ 4 ลกั ษณะ คอื ปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ผลดั ใบผสม ปา่ ดบิ แลง้ กง่ึ ปา่ ผลดั ใบ ผสม และปา่ ละเมาะเขาหนิ ปูน ภายในหบุ มี “ตน้ ตาด” หรอื “ตา๋ ว” พชื โบราณตระกลู ปาลม์ นอกจากนี้ ยงั คน้ พบ สัตวท์ ่ีมลี ักษณะเฉพาะ คอื กง้ิ กือมงั กรสชี มพู
ใส่ภาพโถงถ้ำ� สวยๆ ภาพโดย: อสิ รชยั บรู ณะอรรจน์ บน: ภูมิลักษณ์ของภูมิประเทศแบบคาสต์ (Karst) ท่ีเป็น ภาพโดย: อิสรชยั บรู ณะอรรจน์ หลุมยบุ และโถงถำ้� ซ่งึ เปน็ สภาพภมู ลิ กั ษณ์ท่ีงดงามแปลกตา ของหุบปา่ ตาด ลา่ ง: ก้ิงกือมงั กรสีชมพู (Desmoxytes purpurosea Eng- hoff, Sutcharit, & Panha, 2007) เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีค้นพบ ใหม่ของโลก ในปี พ.ศ. 2558 แสดงถึงความหลากหลาย ทางชวี ภาพของพน้ื ทภี่ ายในระบบนิเวศได้เป็นอยา่ งดี แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 27
แมน่ �้ำสะแกกรัง หนองขุนหมา เขาสะแกกรัง เมืองเกา่ อุทยั ธานี คลองขมุ ทรพั ย์ แม่น�้ำเจ้าพระยา หนองตางู บงึ น�้ำเฉลิมพระเกยี รติพระชนกจักรี วัดสงั กัสรตั นครี ี คลองท่าโพ เกาะเทโพ คลองยาง แผนทแี่ สดงแหลง่ นำ�้ วดั ทา่ ซุง แหลง่ นำ�้ จุดบรรจบ สถานทส่ี �ำคัญ แมน่ ้�ำสะแกกรัง 28 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี สะพานขา้ มแมน่ �้ำเจา้ พระยา อ.มโนรมย์ จ.ชยั นาท
แม่น�้ำ - ล�ำคลอง ในพื้นทเ่ี มืองเก่าอทุ ัยธานี เทือกเขาแหง่ ผืนปา่ ฝั่งตะวนั ตกเป็นแหล่งตน้ น้�ำสำ� คัญของจงั หวัดอทุ ัยธานี โดยเฉพาะ บรเิ วณทวิ เขาแมว่ งกท์ างตอนใตข้ องเทอื กเขาถนนธงชยั เปน็ แหลง่ ตน้ นำ�้ ของ “แมน่ ำ้� สะแกกรงั ” ที่ไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ผ่านที่ต้ังของเมืองเก่าอุทัยธานีแล้วจึงไหลไปบรรจบกับแม่น้�ำ เจา้ พระยาในเขตอำ� เภอมโนรมย์ จงั หวดั ชัยนาท ส�ำหรบั พ้นื ทีเ่ มอื งเกา่ อุทยั ธานีมแี ม่น้�ำและล�ำคลองหลายสายทอ่ี ยใู่ นพื้นที่ อาทิ “แมน่ ้�ำ สะแกกรัง” ซ่ึงมีต้นน้�ำอยู่ในเทือกเขาโมโกจู ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดก�ำแพงเพชร มคี วามยาวประมาณ 225 กิโลเมตร ซง่ึ หล่อเลย้ี งพ้นื ท่เี กษตรกรรม ชมุ ชน และเมือง ไหลผ่าน อ�ำเภอสว่างอารมณ์ อ�ำเภอทัพทัน และอ�ำเภอเมืองอุทัยธานี จากนั้นจึงไหลไปบรรจบแม่น�้ำ เจ้าพระยาตรงท�ำเลท่ีเรียกกันว่า “ปากคลอง” เป็นสายน�้ำส�ำคัญท่ีหล่อเล้ียงวิถีชีวิตการ ประมงน้�ำจืด การเกษตรกรรม อีกทั้งในอดีตยังใช้เป็นเส้นทางสัญจรส�ำคัญท่ีเชื่อมอุทัยธานีกับ เมอื งอน่ื ๆ ในลมุ่ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ผคู้ นทอ่ี าศยั ในเขตเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานจี งึ มวี ถิ ชี วี ติ ทใ่ี กลช้ ดิ และ พ่ึงพาอาศัยสายน�้ำสะแกกรังซ่ึงเป็นองค์ประกอบธรรมชาติท่ีส�ำคัญของเมืองเก่าอุทัยธานี อันเปรียบไดก้ ับเสน้ เลอื ดหลอ่ เลยี้ งชวี ิตชาวเมืองอทุ ยั ธานีมาตงั้ แต่อดีตจนปจั จุบัน นอกจากแม่น้�ำสะแกกรังท่ีเป็นสายน้�ำหลัก ในเขตพื้นท่ีเมืองเก่า และพ้ืนท่ีต่อเนื่อง ยังมีล�ำคลองอื่น ๆ เช่น “คลองท่าโพ” ซ่ึงเกิดล�ำห้วยหลายสายที่ไหลลงมาจากเขตภูเขาทาง ดา้ นตะวนั ตกในบรเิ วณอำ� เภอหนองฉาง แลว้ จงึ ไหลมาทางดา้ นตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องภเู ขาสะแกกรงั และมาบรรจบกับแม่น�้ำสะแกกรังบริเวณท่ีอยู่ด้านใต้ของเมืองเก่าอุทัยธานีลงมาเล็กน้อย จากการศึกษาภาพถ่ายดาวเทียม พบว่า แนวล�ำคลองท่าโพเชื่อมต่อเข้าไปยังพ้ืนที่ตอนในทาง ดา้ นตะวนั ตกซง่ึ เป็นท�ำเลท่ตี ้งั ของเมอื งอุไทยธานเี กา่ ทอี่ �ำเภอหนองฉาง ในทีน่ ี้ จงึ สนั นิษฐานว่า คลองทา่ โพทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ เส้นทางสญั จรและการเดนิ ทัพในสมัยโบราณด้วย ถัดลงไปทางใต้ของเมืองเก่าอุทัยธานีมี “คลองยาง” ซึ่งตรงบริเวณปากคลองนั้นเป็น ที่ต้ังของวัดส�ำคัญของจังหวัดอุทัยธานี คือ “วัดท่าซุง” จากการศึกษาภาพถ่ายดาวเทียมและ การแปลความหมายดว้ ยเทคนคิ การสมั ผสั ระยะไกล (Remote Sensing) จงึ มขี อ้ เสนอวา่ ในอดตี คลองยางเคยเป็นสว่ นหน่งึ ของแม่น�้ำสะแกกรงั ทไ่ี หลโค้งตวดั เน่อื งจากไหลผ่านท่ีราบล่มุ ต่อมา เกดิ การกดั เซาะหรอื อาจจะมกี ารขดุ เปน็ คลองลัดมาบรรจบกบั แม่น�ำ้ เจ้าพระยา ตรงตำ� แหนง่ ที่ เรียกว่า “ปากคลอง” ค�ำวา่ “คลอง” ตามความหมายเดิมหมายถึง “เสน้ ทางน้�ำท่มี นุษย์ขุดข้นึ ” จึงสนั นิษฐานวา่ แมน่ ้�ำสะแกกรงั ชว่ งปลายตรงจุดที่บรรจบกับแม่น้ำ� เจา้ พระยาเปน็ เสน้ ทางน้ำ� ท่ีเกิดจากการขุดขึ้นเพื่อย่นระยะทาง จนท�ำให้แม่น้�ำสายเดิมช่วงท่ีเป็นคลองยางนั้นตื้นเขินจน บางจดุ นำ�้ แหง้ ขอด เหลอื เพยี งรอ่ งรอยของแมน่ ำ้� เดมิ มลี กั ษณะเปน็ ทล่ี มุ่ มคี วามชมุ่ ชนื้ บนผวิ โลก (Meander Scar) ซึ่งยงั แสดงเห็นรอ่ งรอยแนวแม่น�้ำสายเก่าไดจ้ ากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม และในเวลาตอ่ มานนั้ การรบั รขู้ องผคู้ นวา่ คลองยางเคยเปน็ สว่ นหนงึ่ ของแมน่ ำ�้ สะแกกรงั กต็ ดั ขาด ลงไปจากความทรงจำ� ของผคู้ น และให้ช่อื เส้นทางน�้ำในสว่ นนี้ว่า “คลองยาง” ซง่ึ แสดงให้เหน็ วา่ ในอดตี นัน้ คงเป็นแหลง่ ตน้ ยางนาใหญ่เป็นจ�ำนวนมากนั่นเอง แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 29
เขาสะแกกรงั เขาหลวง เขาพะแวง เมืองเก่าอทุ ยั ธานี วดั ทา่ ซงุ เกาะเทโพ แมน่ ำ้� สะแกกรัง แมน่ �้ำเจา้ พระยา จุดท่แี มน่ ำ�้ สะแกกรงั แหลง่ น�้ำ บรรจบกับแมน่ �้ำเจ้าพระยา สถานท่สี ำ� คญั ภาพถ่ายมมุ สงู แสดงตำ� แหน่งท่ีเรียกว่า “ปากคลอง” ซ่งึ เปน็ ต�ำแหนง่ ท่ี แมน่ ำ้� สะแกกรงั ไหลมาบรรจบกบั แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ชมุ ชนทางขวามอื ของ ภาพ คอื ตลาดค้งุ สำ� เภา อ�ำเภอมโนรมย์ จงั หวัดชัยนาท สะพานข้าม แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาและปากคลอง เปดิ ใชง้ านเมอื่ เดอื นมกราคม พ.ศ. 2562 ทำ� ใหแ้ พขนานยนตท์ เี่ ปดิ ใหบ้ รกิ ารมากวา่ 80 ปไี ดย้ ตุ กิ จิ การลง ภ30าพโดย: แอผิสนรชทยั ี่มบรดรู ณกะทอารงรวจัฒน์ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แมน่ ำ้� สะแกกรัง “แม่น้�ำสะแกกรัง” มีต้นก�ำเนิดในเขตเทือกเขาโมโกจู ปัจจุบันอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดกำ� แพงเพชร มคี วามยาวประมาณ 225 กิโลเมตร ไหลลงใตผ้ า่ นเมอื งอทุ ยั ธานีแลว้ ไปบรรจบกับ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ในบรเิ วณทชี่ าวจงั หวดั อทุ ยั ธานใี นอดตี เรยี กวา่ “ปากคลอง” ปจั จบุ นั อยใู่ นเขตบา้ นทา่ ซงุ ต�ำบลท่าซุง อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี ซึ่งอีกฟากหนึ่งของแม่น้�ำเจ้าพระยา คือ “ตลาดคุ้งส�ำเภา” อ�ำเภอ มโนรมย์ จังหวดั ชยั นาท แมน่ �้ำสะแกกรงั ยงั เป็นแหล่งพักพงิ ของชมุ ชนเรือนแพแห่งสุดทา้ ยของไทย ส�ำหรับพ้ืนท่ีฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำสะแกกรังคือ “เกาะเทโพ” ซ่ึงเป็นเกาะท่ีเกิดจากการไหล โอบของแมน่ ้�ำสะแกกรังและแม่น้�ำเจา้ พระยา มขี นาดพนื้ ที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร (15,000 ไร)่ ถือเป็นภูมปิ ระเทศแบบเกาะท่ีมีแม่น้�ำไหลโอบท่ีใหญ่ท่ีสุดของประเทศไทย ภาพโดย: เกรียงไกร เกิดศิริ การทำ� ประมงพื้นบ้านในแมน่ ้�ำสะแกกรงั เช่น การยกยอ และการเพาะเล้ยี งปลา “ปลาแรด” เปน็ ปลานำ�้ จดื ขนาดใหญ่ ทน่ี ยิ ม ในกระชงั เป็นต้น เล้ียงในกระชงั บรเิ วณแมน่ ำ้� สะแกกรงั แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 31
ใส่ภาพเมืองสวยๆ โครงขา่ ยเสน้ ทางสัญจรในเมืองเก่าอทุ ัยธานี 3ภ2าพโดย: แอผิสนรชทัยี่มบรดูรณกะทอารงรวจัฒน์ นธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เมืองเก่าอุทัยธานี จาก อดีต สู่ ปัจจุบัน แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 33
หน้าบันมุขทิศเหนือของมณฑป ผังแปดเหล่ียมของวัดอุโปสถาราม ตกแต่งด้วยงานปูนปั้นลงสีฝีมือ ช่างจีน 34 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เมืองเก่าอุทัยธาน:ี จากอดีตส่ปู จั จบุ นั 1 กรมศลิ ปากร. (2531). บา้ นหลมุ ในท้องท่ีเขตจังหวัดอุทัยธานีพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ยืนยัน เขา้ : รายงานเบอ้ื งตน้ เรอ่ื งชน้ั ดนิ และ การต้ังถิ่นฐานของผู้คนมาตั้งแต่สมัยเหล็ก ดังปรากฏหลักฐานภาพเขียนสี หลกั ฐานทางโบราณคดบี างประเภท. ทีเ่ พงิ ผาทเ่ี ขาปลารา้ อำ� เภอลานสัก กำ� หนดอายุราว 3,000 ปี และยังพบ กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. หลักฐานการต้ังถิ่นฐานในพ้ืนท่ีอย่างต่อเนื่องจนถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตอนปลาย อาทิ “แหล่งโบราณคดีบ้านหลุมเข้า” 1 อ�ำเภอหนองขาหย่าง 2 จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาท “แหลง่ โบราณคดบี า้ นทา่ ทอง” อำ� เภอเมอื งอทุ ยั ธานี แสดงถงึ การต้งั ถ่นิ ฐาน ของผู้คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ท่ีลงหลักปักฐานโดยมีท�ำเลที่ขยับเขา้ มา สมเด็จพระ. (2508). พระราชหัตถ- ใกลบ้ รเิ วณแมน่ ำ้� มากขนึ้ เนอื่ งดว้ ยเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ความเปลยี่ นแปลงจากชมุ ชน เลขาคราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือใน ทด่ี ำ� รงชีวิตโดยพง่ึ พาและใกล้ชดิ กบั ธรรมชาตเิ ปน็ หลัก และพฒั นาสกู่ ารเปน็ รชั กาลท่ี 5 พิมพค์ รง้ั ที่ 3, พระนคร: สงั คมเกษตรกรรมมากขึน้ กรมศิลปากร. หนา้ 12. เมอื่ ลว่ งเขา้ สสู่ มยั ประวตั ศิ าสตรต์ อนตน้ พบหลกั ฐานการตงั้ ถนิ่ ฐาน ของผู้คน “สมยั ทวารวด”ี ซง่ึ มอี ายุอยูร่ ะหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 11-16 อาทิ “แหล่งโบราณคดีบ้านคูเมือง” ท่ีต�ำบลคลองขวาง ในอ�ำเภอหนองขาหย่าง “เมอื งโบราณการงุ้ ” ที่ต�ำบลวงั หิน อำ� เภอบา้ นไร่ “แหลง่ โบราณคดบี ้านใต้” ต�ำบลหนองเต่า อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี “เมืองโบราณบึงคอกช้าง” ท่ีต�ำบล ไผ่เขียว ในอ�ำเภอสว่างอารมณ์ จากหลักฐานการต้ังถิ่นฐานดังกล่าวแสดง ให้เหน็ ว่าภูมลิ กั ษณ์ ระบบนิเวศ และความอุดมสมบูรณข์ องพื้นทีไ่ ดส้ ่งเสริม การต้ังถน่ิ ฐานของผคู้ นมาอยา่ งยาวนานตั้งแต่อดีตจนกระท่ังปจั จุบัน จากการทบทวนขอ้ เขียนทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีมีน้นั พบการกล่าวถงึ การต้ังถน่ิ ฐานบา้ นเมอื งในอทุ ยั ธานวี ่ามีมาแต่คร้งั สมัยสโุ ขทยั สนั นิษฐานวา่ การเรียบเรียงข้อเขียนประวตั ศิ าสตรด์ ังกล่าวอา้ งองิ จากการพบพระพุทธรูป พุทธศิลป์แบบสุโขทัย2 มาเป็นเครื่องสนับสนุนการเขียนเรียบเรียงเนื้อหา ทว่าจากการศึกษาเชิงพื้นที่น้ันยังไม่พบหลักฐานอื่นใดท่ีหนักแน่นพอที่จะ สนับสนุนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์กับสมัยสุโขทัย เน่ืองจาก การใช้การปรากฏของพระพุทธรูปเป็นหลักฐานโดยขาดหลักฐานแวดล้อม อน่ื ๆ อยา่ งเพยี งพอนนั้ จงึ ยงั ไมอ่ าจสรปุ ไดช้ ดั เจนนกั เนอื่ งจากพระพทุ ธรปู เป็นส่ิงท่ีเคล่ือนย้ายได้ และที่ผ่านมามีธรรมเนียมการอัญเชิญพระพุทธรูป จากชุมชนหรือเมืองท่ีถูกทง้ิ รา้ งไปบูชายังเมอื งท่ีสร้างขึน้ ใหม่ โดยเฉพาะการ เคล่ือนย้ายพระพุทธรูปจากเมืองร่วมวัฒนธรรมสุโขทัยที่ถูกท้ิงร้างลงไปยัง กรุงรัตนโกสินทร์เปน็ ตน้ ประวตั ศิ าสตรอ์ ทุ ยั ธานเี รมิ่ ชดั เจนขน้ึ ในชว่ งสมยั อยธุ ยา ดงั หลกั ฐาน กล่าวถึง “เมืองอุไทยธานี” ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตท้องท่ีอ�ำเภอหนองฉาง ทงั้ นี้ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 1991-2031) แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 35
ทรงตรากฎหมาย “พระไอยการต�ำแหน่งนาหวั เมอื ง” 3 โปรดเกลา้ ฯ ให้ยก ภาพบน: วหิ ารวดั พชิ ยั ปรุ ณาราม “เมืองอุไทยธานี” เปน็ “เมอื งขนึ้ เมอื งตร”ี มตี ำ� แหนง่ “ออกพระพไิ ชยสนุ ทร” เคยเป็นวิหารเก่าของวัดกร่างซ่ึง เปน็ ผคู้ รองเมอื ง4 เป็นวัดโบราณท่ีทิ้งร้าง มีรูปแบบ ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ครองราชย์ระหว่าง ทางสถาปัตยกรรมที่เสนอกันว่า พ.ศ. 2133-2148) เมืองอุไทยธานีมีบทบาททางยุทธศาสตร์อย่างส�ำคัญ เป็นสถาปัตยกรรมแบบอยุธยา ต่อเสถียรภาพความม่ันคงของกรุงศรีอยุธยา จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง ตอนต้น ดา่ นขนึ้ ทเี่ มอื งอไุ ทยธานี (ทบี่ า้ นคลองคา่ ย) รวมถงึ ดา่ นแมก่ ลอง ดา่ นเขาปนู ภาพล่าง: พระพุทธรูปประธาน ดา่ นหนองหลวง ดา่ นสลกั พระ โดยมเี มอื งอไุ ทยธานเี ปน็ หวั เมอื งดา่ นชนั้ นอก ในวิหารวัดพิชัยปุรณารามเป็น ดแู ลดา่ นต่าง ๆ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ในซุ้ม ในรชั สมยั สมเดจ็ พระเอกาทศรถ (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2148- เรือนแก้ว 2163) เมืองอุไทยธานีมฐี านะเป็นเมอื งหน้าดา่ นชน้ั นอก ดงั ระบุในกฎหมาย ลักษณะพระธรรมนญู วา่ “เมอื งอไุ ทยธานเี ปน็ หวั เมอื งขนึ้ แกม่ หาดไทย” และ 3 ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). มีบทบาท ในฐานะเมืองหน้าด่านมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนกระท่ังการเสีย กฎหมายตราสามดวง ฉบับราช กรุงศรอี ยธุ ยา ครัง้ ท่ี 2 ในปี พ.ศ. 2310 บัณฑิตยสถานจัดพิมพ์ตามต้นฉบับ หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 สมเด็จ หลวง. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน. พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ไี ดท้ รงกอบกเู้ อกราช และปราบปรามชมุ นมุ ตา่ ง ๆ ทตี่ ง้ั ตน หนา้ 1121-1149. ขึ้นเปน็ ใหญ่เพื่อรวมบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่น ในครั้งน้ัน เมืองอุไทยธานีก็ได้ 4 ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2550). เพงิ่ อา้ ง. ด�ำรงบทบาทเป็นเมืองหน้าด่านที่ส�ำคัญที่ใช้ในการคัดกรองผู้คน ตลอดจน หน้า 1158. การรับศกึ ที่อาจมขี ึน้ ทุกเมื่อ และดำ� เนนิ บทบาทดังกลา่ วเรื่อยมา จนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2367-2394) จงึ มีการยา้ ยทำ� เลทีต่ ้งั ของเมือง อไุ ทยธานไี ปจากทอ้ งทเี่ ดมิ ทอี่ ำ� เภอหนองฉางไปยงั บา้ นสะแกกรงั ซง่ึ เปน็ ทตี่ งั้ เมอื งเก่าอทุ ยั ธานใี นปจั จบุ นั จากการศึกษาหลักฐานทางศิลปสถาปัตยกรรมและพุทธศิลป์ พระพุทธรูปท่ีวัดพิชัยปุรณาราม ท�ำให้มีข้อสันนิษฐานว่า ในท้องท่ีแห่งนี้มี ย่อมต้องมีการตั้งถิ่นฐานของผู้คนมาแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ทว่าคง มีบทบาทมากขึ้นในช่วงปลายกรุงศริีอยุธยา ดังข้อความในพระราชประวัติ “สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี)” ซึ่งมีนิวาสสถานท่ีบ้านสะแกกรัง เป็นบุตรใน “พระยาราชนิกุล (ทองค�ำ)” ปลัดทูลฉลองมหาดไทยในสมัย กรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2275-2301) การย้ายที่ตั้งของเมืองอุไทยธานีมาที่ต้ังใหม่ท่ีบ้านสะแกกรัง ในปี พ.ศ. 2376 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2367-2394) ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตงั้ “พระยาเมืองอุทัยธานี (เสือ พยัฆวิเชียร)” ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าเมือง อุไทยธานี ซ่ึงได้พิจารณาท�ำเลท่ีต้ังบ้านสะแกกรังว่ามีความสะดวกในการ คมนาคมทางน�้ำเชื่อมต่อไปยังแม่น้�ำเจ้าพระยา และมีความอุดมสมบูรณ์ 36 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
5 ดเู พม่ิ เติมใน พลาดศิ ยั สิทธธิ ัญกิจ เหมาะแก่การต้ังถิ่นฐาน การท�ำเกษตรกรรม และการประมงน�้ำจืด จึงขอ (2559). เมอื งอไุ ทยธาน.ี กรงุ เทพฯ: พระราชทานยา้ ยทต่ี ง้ั เมอื งจากเมอื งอไุ ทยธานเี กา่ มายงั ทต่ี ง้ั เมอื ง ณ ทอ้ งที่ โครงการศึกษาประวัติศาสตร์และ ปจั จบุ นั ซงึ่ เดมิ นน้ั เปน็ พนื้ ทใ่ี นความดแู ลของเขตเมอื งมโนรมย์ ภายใตก้ าร ปกครองของเมอื งไชยนาท ในเวลาตอ่ มาจงึ เกดิ ความขดั แยง้ กบั เมอื งไชยนาท โบราณคดีเมืองอุไทธานี. หน้า. 63- เรอ่ื งการจดั เก็บผลประโยชนใ์ นท้องถิน่ จนในที่สุดทางส่วนกลางทีก่ รุงเทพฯ จงึ ไดม้ อบหมายใหพ้ ระยามหาอำ� มาตยด์ ำ� เนนิ การไตส่ วน และจดั แบง่ ขอบเขต 64. พื้นทรี่ ะหวา่ ง 2 เมือง5 จนถงึ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 5 6 พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2550). (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2411-2453) เปน็ ช่วงเวลาท่รี ะบบการบริหาร จดหมายเหตุเมืองอุทัยธานี. อุทัย- บ้านเมอื งมคี วามเปล่ยี นแปลงมาก มกี ารจัดตั้งระบบ “มณฑลเทศาภิบาล” ธานี: สมาคมชาวอุทัยธานี. ซ่งึ ในการนน้ั ได้ด�ำเนนิ การจดั ต้งั “มณฑลนครสวรรค”์ ขน้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. 2438 โดยมพี นื้ ทคี่ รอบคลมุ เมอื งนครสวรรค์ เมอื งไชยนาท เมอื งกำ� แพงเพชร เมอื ง 7 จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาท มโนรมย์ เมอื งพยหุ ะครี ี เมอื งสรรคบรุ ี เมอื งตาก รวมทง้ั เมอื งอไุ ทยธานดี ว้ ย6 สมเด็จพระ. (2508). พระราชหัตถ- นอกจากน้ี พระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาเมืองอุไทยธานีเพ่ือ เลขาคราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ใน ทำ� ความเข้าใจบรบิ ทแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ถึง 2 คร้งั กลา่ วคือ ครั้งแรกในคราว รัชกาลท่ี 5. พิมพ์ครั้งท่ี 3, พระนคร: เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ประพาสหัวเมืองฝา่ ยเหนอื ปี พ.ศ. 2444 และคร้ังท่ี 2 กรมศลิ ปากร. ปี พ.ศ. 2449 และไดท้ รงมพี ระราชหตั ถเลขาประจำ� วนั บนั ทกึ เรอื่ งราวตา่ ง ๆ 8 อมรดรุณารักษ์, จมื่น. (2512). ท่ีทรงพบเห็นซ่ึงเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช้ินส�ำคัญส�ำหรับการศึกษา พระราชกรณียกิจส�ำคัญในพระบาท ถึงสภาพบ้านเมืองและวิถีชีวิตของชุมชนบ้านสะแกกรังเม่ือร้อยกว่าปีที่ผ่าน สมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั เล่ม มาได้เป็นอยา่ งด7ี ท่ี 6. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารค้าคุรสุ ภา. เมืองอุไทยธานีมีพัฒนาการในการต้ังถิ่นฐาน และความเคล่ือนไหว ทางเศรษฐกิจมากขึ้น ท�ำให้ราชส�ำนักส่วนกลางได้เข้ามามีบทบาทในการ บรหิ ารราชการอยา่ งใกล้ชิดข้ึน กลา่ วคอื ในปี พ.ศ. 2450 “พระไชยนฤนาท (ม.ล.อั้น เสนีวงศ์)” ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการเมืองอุไทยธานี มีการ กอ่ สรา้ งศาลากลางเมอื งอไุ ทยธานเี ปน็ อาคารไมย้ กพน้ื ทวา่ ถกู รอื้ ถอนไปแลว้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2508 เพ่อื การกอ่ สรา้ งศาลากลางตามแบบมาตรฐานทพ่ี บตาม จังหวัดต่าง ๆ ซึ่งนิยมก่อสร้างขึ้นในภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 ซงึ่ มีลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมแบบไทยประยกุ ต์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 (ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2453–2468) ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินมายัง เมอื งอุไทยธานใี นปี พ.ศ. 2459 ซงึ่ การเสดจ็ พระราชดำ� เนินคร้ังนัน้ มคี วาม สำ� คัญต่อประวตั ศิ าสตรไ์ ทย คือ เป็นบริบทรว่ มทางประวตั ศิ าสตรใ์ ห้ทรงมี พระบรมราชวินิจฉัยให้เปล่ียนรูปแบบธงชาติจากธงช้างเผือกมาเป็นธง ไตรรงค์ที่เป็นแถบสามสีเพื่อให้เกิดความสะดวกแก่การใช้งานโดยไม่ต้อง กงั วลวา่ จะตดิ กลบั หวั แตอ่ ยา่ งใด ดงั ทจ่ี มนื่ อมรดรณุ ารกั ษ์ (แจม่ สนุ ทรเวช)8 ไดบ้ นั ทึกไว้ แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 37
กลุ่มเรอื นแพและเรอื บ้านทร่ี ิมแม่นำ้� สะแกกรัง หนา้ วัดอุโปสถาราม ภาพถ่ายฝพี ระหตั ถ์ของรชั กาลท่ี 5 เมือ่ พ.ศ.2449 เอื้อเฟื้อภาพ: เอนก นาวกิ มลู และธงชยั ลิขิตพรสวรรค์ ส�ำนักพิมพ์ต้นฉบับ 38 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 39
ศาลากลางเมอื งอุไทยธานหี ลังเกา่ ทีส่ รา้ งข้นึ ในชว่ งเวลาท่ีพระไชยนฤนาท (ม.ล.อ้นั เสนวี งศ)์ เป็นผวู้ ่าราชการเมอื งอุไทยธานี เมอื่ ปี พ.ศ. 2450 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 5 ในช่วงเวลาน้มี กี ารกอ่ สร้าง “โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ” จดั การเรยี นการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2456 และมกี ารกอ่ สรา้ งอาคารทที่ ำ� การของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ อาทิ “สำ� นกั งานที่ดนิ ” ทีส่ รา้ งขนึ้ ในราวปี พ.ศ. 2460 “ศาลเมืองอุไทยธานี” ซง่ึ สร้างข้นึ ก่อนปี พ.ศ. 2470 ทง้ั นี้ ในปี พ.ศ. 2465 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 6 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้เปล่ียนวิธีการสะกดช่ือเมืองจาก “อุไทยธานี” เป็น “อุทัยธานี” และมีการก่อต้ัง “โรงเรียนอุทัยทวีเวท” เพือ่ ใหเ้ ป็นโรงเรียนบรุ ษุ ประจำ� จงั หวัดอุทัยธานีในปีเดยี วกนั น้นั ดว้ ย ตอ่ มาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 7 (ครองราชยร์ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2468- 2478) ทรงประกาศยกเลิกการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. 2476 และได้เปลี่ยนสถานะ จากเมอื งอทุ ยั ธานเี ปน็ “จังหวัดอุทัยธานี” ภมู ิทศั นว์ ฒั นธรรม และเมืองอทุ ยั ธานใี นช่วงแรกเรม่ิ ของการก่อรูปยา่ นพาณิชยกรรมในเมอื งอุทยั ธานี แต่เดิมเต็มไปด้วยเรือนแถวไม้ซ่ึงสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 และสร้างต่อเติมขยายตัวชุมชนเร่ือยมา ทว่าการก่อรูปก่อร่างของผังเมืองนั้นไม่ได้มีการวางแผน ผงั เมอื งอยา่ งเปน็ ระบบกอ่ นหนา้ ทจ่ี ะมกี ารการขยายตวั ของชมุ ชนเมอื ง เปน็ แตเ่ พยี งการขยายออกไปตามความ ตอ้ งการทางเศรษฐกจิ และการต้งั ถิ่นฐาน ทำ� ใหถ้ นนหนทางทมี่ ีมาแต่เดิมนน้ั คบั แคบและคดโค้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 ได้มีเหตุอัคคีภัยซ่ึงสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อย่านการค้าในเมือง อุทัยธานี โดยเฉพาะพ้ืนที่ละแวก “วัดขวิด” จึงมีการสร้างอาคารตึกสร้างอาคารตึกแถวข้ึนมาแทนที่เรือนแถว ไม้เดิมที่ถูกไฟไหม้ไป การพัฒนาในช่วงเวลาดงั กลา่ วย้ายไดย้ า้ ยเขตสังฆาวาสของวัดขวิดออก เพอื่ เปิดโอกาส ส�ำหรับการขยายตัวของย่านพาณิชยกรรมโดยการวางผังและการตัดถนนท่ีเป็นระบบขึ้น ในการน้ันได้นิมนต์ พระสงฆ์ท่ีเดิมจ�ำพรรษาท่ีวัดขวิดไปจ�ำพรรษาที่ “วัดทุ่งแก้ว” ซึ่งได้เปล่ียนช่ือเป็น “วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม” เพื่อรกั ษาขอ้ มูลประวตั ศิ าสตรข์ องเหตุการณ์ที่ได้รวมกนั ของ “วัดขวิด” และ “วดั ทุ่งแก้ว” ขึน้ ในโอกาสน้ี บริเวณศูนย์กลางย่านพาณิชยกรรมของเมืองอุทัยธานีบริเวณพื้นที่ริมแม่น้�ำสะแกกรังซึ่งเป็นท่ีตั้งของ ทา่ เรอื ตา่ ง ๆ ซงึ่ เปน็ จดุ เชอื่ มตอ่ การขนถา่ ยผคู้ นและสนิ คา้ ประเภทตา่ ง ๆ ทงั้ สนิ คา้ เกษตรกรรมและของปา่ ทน่ี ำ� ออกไปจากอทุ ยั ธานแี ละสนิ คา้ ทน่ี ำ� เขา้ มาจากกรงุ เทพมหานคร จงึ เปน็ ยา่ นทม่ี คี วามเคลอ่ื นไหวทางเศรษฐกจิ สงู เหมาะสมสำ� หรบั การตงั้ ตลาดแลกเปลย่ี นสนิ คา้ และมกี ารกอ่ สรา้ งเรอื นแถวไมเ้ พอ่ื การพาณชิ ยกรรมและการอยู่ อาศัย 40 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
ตลอดพฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรข์ องเมอื งอทุ ยั ธานี นบั ตงั้ แตย่ า้ ย เมอื งมายงั ทำ� เลทต่ี ง้ั ปจั จบุ นั ทำ� เลทต่ี ง้ั นไ้ี ดท้ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ชมุ ชนการคา้ ซงึ่ เปน็ จุดรวบรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ และขนถ่ายสินค้าลงไปยังชุมชนและเมือง อ่ืน ๆ ที่ต้ังอยู่ตลอดสองฟากแม่น�้ำเจ้าพระยาจนกระท่ังถึงกรุงเทพมหานคร ท�ำเลท่ีตั้งของบ้านสะแกกรังแห่งน้ีจึงมีความส�ำคัญต่อคนไทยท่ีตั้งถ่ินฐาน มาแต่เดิม และชาวจีนท่ีเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่เพ่ือแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ โดยเข้ามาต้ังบ้านเรือนอยู่ละแวกพื้นที่ริมแม่น�้ำสะแกกรัง เป็นบรรพบุรุษ ของชาวไทยเช้ือสายจีนที่ขับเคล่ือนมิติทางเศรษฐกิจของเมืองอุทัยธานีมา ตั้งแต่อดตี จนกระท่ังปจั จุบัน ในช่วงรชั สมยั พระบาทสมเด็จปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 7 ลงมา การเชื่อมต่อมายังอุทัยธานีต้องใช้การสัญจรทางน�้ำเป็นส�ำคัญ แม้จะมีการ ตัดเส้นทางรถไฟจากส่วนกลางขึ้นสู่ภาคเหนือทว่าเส้นทางรถไฟนั้นไม่ได้ตัด ผา่ นอทุ ัยธานี ทัง้ น้ี หากชาวเมืองอทุ ัยธานีเดนิ ทางโดยสารรถไฟจะตอ้ งข้าม แม่น้�ำสะแกกรังด้วยเรือข้ามฟากไปยังเกาะเทโพแล้วเดินทางลัดข้ามไปยัง พื้นท่ีอีกฟากของเกาะและข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา และเดินทางต่อไปยังสถานี รถไฟเนินมะกอก อำ� เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค์ เพือ่ โดยสารรถไฟขน้ึ เหนือหรือล่องลงทางใต้ ดังจะเห็นได้ว่ากว่าจะเดินทางไปถึงสถานีรถไฟนั้น ก็ประสบกับความทุรกันดารยากล�ำบาก นอกจากนี้ ที่ตั้งของเมืองยงั อย่หู า่ ง ออกมาจากถนนสายหลักท่ีเปรียบเป็นเส้นเลือดใหญ่ที่เชื่อมจากกรุงเทพฯ ไปยังภาคเหนือด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาน้ันจึงท�ำให้เส้นทางการสัญจร ทางน้ำ� มีบทบาทอยา่ งสงู ต่อเมืองอุทยั ธานี จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2500 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรม- ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เปน็ ชว่ งเวลาทปี่ ระเทศไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และการเมอื งอยา่ งสงู เนอ่ื งดว้ ยมคี วามเปลยี่ นแปลงจากเหตปุ จั จยั แวดลอ้ ม ทงั้ ภายในประเทศและภายนอกประเทศอยา่ งพลกิ ฝา่ มอื ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว โครงการก่อสร้างเขื่อนเจ้าพระยาได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จเพื่อการจัดการ ชลประทานในพืน้ ทร่ี าบภาคกลางตอนบน อยา่ งไรก็ดี แม้วา่ เขื่อนเจ้าพระยา จะมปี ระโยชนอ์ ยา่ งสงู ตอ่ การยกระดบั การเกษตรกรรมของประเทศ จนทำ� ให้ ประเทศไทยได้เป็นมหาอำ� นาจทางการกสิกรรมด้วยสามารถผลติ ขา้ วสง่ ออก เป็นจ�ำนวนมาก แต่เมือ่ เขอื่ นเปดิ ดำ� เนนิ การท�ำให้ระดบั นำ้� เหนอื เขอื่ นและใต้ เข่ือนมีความแตกต่างกัน ส่งผลให้เรือเมล์ขนส่งมวลชนและเรือสินค้าต้อง รอคอยเวลาเปิด-ปิดประตูน้�ำเพ่ือให้สามารถสัญจรต่อไปได้ ทว่าก็ไม่เป็น การสะดวกและได้ยุติลงไปโดยปริยาย ซ่ึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อสถานะ ทางเศรษฐกิจของเมืองอทุ ัยธานใี ห้ซบเซาลงไปด้วย แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 41
ตอ่ มามีการพฒั นาระบบการขนสง่ ทางบกมากขึ้น ด้วยการตัดถนน ขน้ึ สภู่ าคเหนอื อนั นำ� พาความเจรญิ ไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยตู่ ามเสน้ ทางทถี่ นน พาดผา่ น ทวา่ ถนนสายหลกั ดงั กลา่ วไดอ้ ยหู่ า่ งออกจากเมอื งอทุ ยั ธานอี อกไป ความเคล่ือนไหวทางเศรษฐกิจของอุทัยธานีก็มีปริมาณน้อยลงและไม่คึกคัก ดงั เดมิ เหมอื นเมอ่ื ครั้งท่ีการขนสง่ ทางนำ�้ ยงั เฟอื่ งฟู ความเคลอ่ื นไหวทางเศรษฐกจิ หลกั ของเมอื งเกา่ อทุ ยั ธานอี ยบู่ รเิ วณ ย่านพาณิชยกรรมละแวกตลาดสดริมแม่น�้ำสะแกกรัง ถัดออกไปจะมีความ เขม้ ขน้ ของการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ เพ่อื ธุรกิจการคา้ ลดลง จงึ มกี ารใชป้ ระโยชน์ ท่ีดนิ เพ่ือการอยูอ่ าศัยไมห่ นาแนน่ กอ่ สร้างอาคารเด่ียวส�ำหรับพักอาศยั และ แทรกด้วยพ้ืนที่เปิดโล่ง ตลอดจนเป็นที่ต้ังของอาคารท่ีท�ำการของรัฐ และ บา้ นพักขา้ ราชการซ่ึงต้งั อยู่หา่ งจากศูนย์กลางยา่ นการคา้ ออกไป จากการศกึ ษาภาพถา่ ยทางอากาศเกา่ (หนา้ ท่ี 76-77) จะเห็นวา่ ถัดออกจากย่านศูนย์กลางพาณิชยกรรมของเมืองออกไปจะเป็นพื้นที่ทุ่งโล่ง และมีวัดวาอารามต่าง ๆ เป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบส�ำคัญของภูมิทัศน์ วัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี อย่างไรก็ดี ในราวปี พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา ความเคลื่อนไหว ทางเศรษฐกิจได้ถูกชดเชยข้ึนจากกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจในนามของการ ท่องเท่ียว นับต้ังแต่พื้นที่ป่าไม้อันอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าทางฟากตะวันตก ของอทุ ัยธานี ซง่ึ เปน็ ปา่ รอยต่อกบั พรมแดนเมียนมาน้ันได้รับการยกยอ่ งให้ เป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ เม่ือปี พ.ศ. 2534 ในนามของ “แหล่ง มรดกโลกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries)” ทำ� ให้ “การท่องเทยี่ วเชงิ อนุรักษ์ (Eco-Tourism)” เริ่มมี บทบาทเคลือ่ นไหวไปตามบริบทแวดลอ้ มของสากลมากขึ้น ตอ่ มาสงั คมไทย เร่ิมมีความนิยม “การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (Cultural Tourism)” โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ท�ำความเข้าใจความหลากหลายทาง วฒั นธรรม ซงึ่ ทำ� ใหพ้ น้ื ทต่ี า่ ง ๆ ในอทุ ยั ธานไี ดร้ บั โอกาส และบทบาทใหมจ่ าก การทอ่ งเทยี่ ว จนกลา่ วไดว้ า่ ดว้ ยมลู เหตทุ เ่ี มอื งอทุ ยั ธานคี งรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ในพ้นื ทเี่ มืองเก่าไว้ โดยไม่ไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปจนสญู เสยี คุณคา่ และอตั ลักษณ์ ท�ำให้เมืองอุทัยธานีในวันน้ีก�ำลังได้รับประโยชน์จากการรักษาต้นทุนทาง วัฒนธรรมอันทรงคุณคา่ ไว้ไดแ้ ละได้เร่มิ ต้นเกบ็ เกยี่ วดอกผลแลว้ ในปัจจบุ นั กล่าวคือ ในราวสามทศวรรษท่ีผ่านมา เป็นช่วงเวลาท่ีเมืองเก่า อทุ ยั ธานพี ฒั นาไปอยา่ งชา้ ๆ จงึ ทำ� ใหย้ งั รกั ษาตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมทงั้ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม ในขณะทหี่ ลายพนื้ ทไี่ ดล้ ะทง้ิ และมคี วามเปลยี่ นแปลง อยา่ งรวดเรว็ การพฒั นาอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปทผ่ี า่ นมาจงึ ทำ� ใหม้ เี วลาขบคดิ และต้ังคำ� ถามต่อความเปล่ยี นแปลง เพราะว่าความเปล่ียนแปลงโดยไมอ่ าจ รักษาคุณค่าและตัวตนทางวัฒนธรรมดังท่ีเกิดขึ้นมาแล้วในพ้ืนท่ีอื่น ได้เป็น บทเรยี นแล้ววา่ ไม่ไดส้ ร้างความย่งั ยนื เทา่ กับการเติบโต และต่อยอดจาก ทุนทางวัฒนธรรมดั้งเดมิ ของพ้ืนที่ เพอ่ื ให้ตอบโจทยบ์ รบิ ทสังคมร่วมสมัยได้ อยา่ งสงา่ งามเชน่ ในปจั จบุ นั 42 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
เมอื งเกา่ อทุ ยั ธานสี ามารถเกบ็ รกั ษามรดกทางวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ทง้ั ท่ี เป็นมรดกวฒั นธรรมจับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) และมรดก วฒั นธรรมจบั ต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage) อันเป็นประจักษ์ แก่สายตาสาธารณชน ปัจจุบันเมืองอุทัยธานีจึงเป็นพื้นท่ีท่ีได้รับความสนใจ จากภาคตี า่ ง ๆ ทมี่ งุ่ หมายจะขบั เคลอื่ นตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมไปสกู่ ารตอ่ ยอด การใชส้ อยในบรบิ ทของสงั คมรว่ มสมยั และเศรษฐกจิ ฐานวฒั นธรรม บนฐาน การรักษาคุณค่าของมรดกวัฒนธรรมของเมืองเก่าไว้เพ่ือเป็นต้นทุนส�ำหรับ การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื ทง้ั นี้ ปี พ.ศ. 2563 สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ไดร้ ว่ มมอื กบั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร จดั ทำ� “โครงการกำ� หนด ขอบเขตพนื้ ทเ่ี มอื งเกา่ อทุ ยั ธาน”ี พรอ้ มกบั เมอื งเปา้ หมายอนื่ ๆ อกี 2 เมอื ง คือ เมืองเกา่ ฉะเชงิ เทรา และเมืองเกา่ ตรัง (ทับเท่ียง) โดยผ่านกระบวนการ มสี ว่ นรว่ มจากภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งในพนื้ ทเ่ี มอื งเกา่ เพอื่ รายงานผลการศกึ ษา เสนอต่อคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า และคณะรฐั มนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบขอบเขตพ้ืนที่เมืองเกา่ และ แนวทางการอนุรกั ษ์และพฒั นาเมืองเก่า กอ่ นด�ำเนนิ การประกาศเขตพน้ื ท่ี เมืองเก่าเพื่อเป็นกลไกเสริมสร้างการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าให้เป็นต้น ทนุ ในการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ในมิติต่าง ๆ ต่อไป จากคุณค่าและความเข้มแข็งของหน่วยงานทุกภาคส่วนในเมืองเก่า อทุ ยั ธานี ทงั้ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน ซง่ึ มคี วามรว่ มมอื ในการด�ำเนินการขับเคลื่อนใหม้ กี ารประกาศขอบเขตพ้นื ทเ่ี มอื งเกา่ ในการนี้ เพื่อเป็นการหนุนเสริมความเข้มแข็งของการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าให้ ด�ำเนินต่อไปได้อย่างเข้มแข็งบนฐานขององค์ความรู้อันจะน�ำไปสู่การจัดท�ำ ผงั แมบ่ ทและแผนแมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาเมอื งเกา่ ตอ่ ไป ดว้ ยความสำ� คญั ดังกล่าวมาส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จงึ รว่ มกบั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ดำ� เนนิ โครงการ ศึกษาโดยวิธีการส�ำรวจภาคสนามในพ้ืนที่เมืองเก่าอุทัยธานีเพื่อรวบรวม ข้อมูลดา้ นต่าง ๆ ภายใต้ “โครงการศกึ ษาสำ� รวจและจัดทำ� แผนท่มี รดกทาง วัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธาน”ี ในปี พ.ศ. 2563 โดยการสืบค้นขอ้ มลู ทาง ประวตั ศิ าสตร์ ทงั้ ประวตั ศิ าสตรล์ ายลกั ษณ์ และประวัติศาสตร์บอกเล่าท่ีิอยู่ ในความทรงจ�ำของชาวเมืองอุทัยธานี และน�ำมาประมวลผลจัดท�ำแผนท่ี มรดกทางวัฒนธรรมและเพือ่ เป็นฐานขอ้ มูลสำ� หรับการวางแผน การบรหิ าร จดั การของหนว่ ยงานภาครัฐทเี่ ก่ยี วข้อง ภายใต้ความรว่ มมอื กับภาคเอกชน และภาคประชาชนเพ่ือขับเคลื่อนกระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า อทุ ยั ธานบี นฐานคุณค่าอย่างเหมาะสมต่อไป แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 43
4 9 10 3 8 2 7 6 1 5 แผนท่ีแสดงต�ำแหน่งอ้างอิงมุมมองภาพถ่าย หมายเลข สถานที่ ปจั จบุ นั และภาพถา่ ยเกา่ ซงึ่ จะปรากฏขน้ึ บน 1 อุโบสถวัดพิชัยปุรณาราม อปุ กรณส์ อื่ สาร เมอื่ ใช้ Augmented Reality 2 แมน่ ำ้� สะแกกรัง บรเิ วณเมืองอุทัยธานี Application ในหนังสือหน้าท่ี 45-50 3 วดั อุโปสถาราม 4 ศาลเจา้ พ่อกวนอู 44 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 5 วดั สงั กัสรตั นคีรี 6 เรือนพระยามรามราชภกั ดี 7 บา้ นขุนกอบกัยกิจ 8 ภาพมุมสงู เมืองเก่าอุทยั ธานี 9 ภาพมุมสงู เมอื งเกา่ อทุ ัยธานี 10 ภาพถ่ายมุมสูงวงเวียนน้ำ� พ ุ
อุโบสถวัดพิชัยปุรณาราม ตั้งหันหน้าทางทิศตะวันออกเข้าหาแม่น้�ำสะแกกรัง เป็นอาคารแบบไทยประเพณี สำ� หรับภาพถา่ ยเกา่ ไดบ้ นั ทึกเหตุการณ์ประเพณีตรุษสงกรานต์ ในปี พ.ศ. 2490 บรเิ วณลานขา้ งอุโบสถมีการ ก่อเจดยี ท์ รายประดบั ธงทิวและมปี ะรำ� ชั่วคราวส�ำหรับทำ� กิจกรรม ทว่าปจั จุบนั ประเพณนี ้ีไม่ได้จดั เหมือนดัง แต่ก่อนแล้ว คงเหลือไว้เพียงความทรงจ�ำที่ถูกบันทึกไว้ในภาพถ่ายเก่าที่ท�ำหน้าท่ีเก็บความทรงจ�ำในอดีตไว้ เทา่ นัน้ แม่น้�ำสะแกกรังบริเวณหน้าเมืองอุทัยธานีในอดีตคลาคล่�ำด้วยเรือนแพท่ีอยู่อาศัยและเรือที่ใช้สัญจรไปมา เปน็ จำ� นวนมาก ดงั เปน็ ประจกั ษจ์ ากภาพถา่ ยฝพี ระหตั ถพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 5 เมือ่ คร้งั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ มาทเ่ี มอื งอทุ ยั ธานเี มื่อปี พ.ศ. 2449 เม่อื เทียบกบั ปจั จุบนั จะเห็นวา่ มีเรอื นแพ อยู่บางตา ทำ� เลท่นี ้ี มีเรือขา้ มฟากให้บรกิ าร แตเ่ มื่อมกี ารสรา้ งสะพานขน้ึ เพอื่ ร่วมเฉลิมฉลองในวาระ 200 ปี กรงุ รตั นโกสินทร์ พ.ศ. 2525 เรอื ขา้ มฟากก็ลดบทบาทลงและเลิกกจิ การไปในทสี่ ุด แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 45
“วดั อุโปสถาราม” หรอื ทีเ่ รียกกันโดยสามญั ว่า “วดั โบสถ”์ ในอดตี นั้นเรียกกันว่า “วดั โบสถ์มโนรมย์” แสดง ให้เห็นว่าวัดนี้มีอายุเก่าแก่กว่าช่วงเวลาที่ย้ายท�ำเลท่ีต้ังเมืองในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 3 ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วนนั้ ชมุ ชนบา้ นสะแกกรงั ยงั ขนึ้ กบั เมอื งมโนรมยว์ ดั ตง้ั อยบู่ นเกาะเทโพ ทางฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ�้ สะแกกรงั ตรงขา้ มกบั ตลาดสดเทศบาล เมอื่ มองไปจะเหน็ ภาพของวดั อโุ ปสถาราม ตง้ั อยรู่ มิ นำ�้ มฉี ากหลงั เปน็ ตน้ ยางนาขนาดใหญ่ ทำ� ใหเ้ ป็นภาพจำ� และจดุ หมายตาท่สี ำ� คัญของเมอื งอทุ ัยธานี แต่สิง่ ทเ่ี ปลีย่ นไปคอื จ�ำนวนเรอื นแพท่ีลดหายไปตามกาลเวลา “ศาลเจา้ พอ่ กวนอ”ู เปน็ อาคารทมี่ กี ารวางผงั และองคป์ ระกอบตกแตง่ สถาปตั ยกรรมแบบจนี แตส่ งิ่ ทน่ี า่ สนใจ คือ การออกแบบตวั อาคารแบบยกใต้ถนุ ซ่งึ แสดงการปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั ภูมินเิ วศของพ้ืนทที่ ีม่ ี น�้ำท่วมในฤดูน้�ำหลากจนท�ำให้เรือค้าข้าวขนาดใหญ่สามารถเข้ามาจอดเทียบได้ถึงด้านหน้าของศาลเจ้าพ่อ กวนอู เพื่อขนถ่ายข้าวกับท่าขา้ วและโรงสีทีอ่ ยู่ดา้ นหลังของศาลเจ้าไดโ้ ดยสะดวก 46 แผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
“ประเพณตี กั บาตรเทโว” ณ วดั สงั กสั รตั นครี ี เปน็ ประเพณสี ำ� คญั ของจงั หวดั อทุ ยั ธานี พระสงฆน์ บั รอ้ ยรปู เดนิ ลง จากยอดเขาเพือ่ รับบณิ ฑบาตจากพุทธศาสนิกชนทเ่ี ฝา้ รอคอยอยู่บริเวณเชิงเขา เป็นสัญลักษณท์ ีเ่ ชือ่ มโยงถึง เหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนพระพุทธองค์เสด็จลงจากสวรรค์ช้ันดาวดึงส์หลังจากโปรดพุทธมารดา ทั้งนี้ ตามเรอ่ื งราวในพุทธประวตั กิ ลา่ ววา่ เสดจ็ ลงมายงั โลกมนุษย์ ณ เมอื งสังกสั สนคร จึงตง้ั นามวดั ตามชอ่ื เมอื ง อันเนื่องในเหตุการณม์ งคลนว้ี ่า “วัดสงั กสั รตั นครี ”ี “เรอื นพระยารามราชภกั ดี (ใหญ่ ศรลัมพ์)” เปน็ ชาวเมอื งอทุ ัยธานีแตไ่ ปเติบโตในหนา้ ทีก่ ารงานราชการใน ทอ้ งทอี่ น่ื และในชวี ติ หลงั เกษยี ณอายรุ าชการไดก้ ลบั มาปลกู สรา้ งบา้ นเพอ่ื การอยอู่ าศยั เปน็ เรอื นไมย้ กใตถ้ นุ สงู แตเ่ ดิมมงุ หลังคาดว้ ยกระเบอ้ื งดนิ เผา เรอื นประธานหันลงสแู่ ม่นำ�้ ส่วนเรือนรองเป็นอาคารกึง่ โถงเปิดออกสู่ เสน้ ทางสญั จรทางบก แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี 47
“ขุนกอบกัยกิจ” หรือ “ต้ังอุยสุ่น” เป็น ชาวจีนแต้จ๋ิวท่ีอพยพเข้ามาลงหลักปักฐาน ประกอบธรุ กจิ ในเมอื งอทุ ยั ธานี อาคารสรา้ ง ราวปี พ.ศ. 2436 ในรชั สมยั ของพระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 เปน็ เรอื นแถวสองชน้ั พน้ื ทช่ี น้ั ลา่ งใชเ้ พอื่ การ พาณิชกรรม พื้นท่ีชั้นบนเป็นท่ีพักอาศัย ผนังอาคารชั้นบนท�ำด้วยโครงไม้ไผ่ขัดสาน แลว้ ฉาบปนู เพอ่ื ใหเ้ หมอื นเปน็ ผนงั เครอื่ งกอ่ และตกแตง่ เขยี นสแี บบจนี ปจั จบุ นั อาคารอยู่ ในสภาพทรดุ โทรม เนอ่ื งจากถกู รอ้ื ลงบางสว่ น เพอื่ ขยายความกวา้ งถนน เมอ่ื ปี พ.ศ. 2538 ภาพถ่ายทางอากาศมองเข้าไปยังพื้นท่ีเมืองเก่าอุทัยธานี จะเห็นได้ว่ามีการพัฒนาพ้ืนที่ริมแม่น�้ำสะแกกรัง และมีการก่อสร้าง อาคารตลาดหลังใหม่ทดแทนอาคารตลาดหลังเดิม ส�ำหรับภาพถ่ายทางอากาศเก่า จาก Augmented Reality Application ซงึ่ เปน็ ภาพมมุ สงู ของอทุ ยั ธานไี วเ้ มอื่ ราว 68 ปมี าแลว้ จากภาพจะเหน็ วา่ ดา้ นหลงั โรงภาพยนตรน์ วิ เฉลมิ อทุ ยั ยงั ไมไ่ ดก้ อ่ สรา้ งตลาด จึงยงั คงเหน็ อโุ บสถของวดั ขวิดอย่างชดั เจน มุมดา้ นล่างซา้ ยตรงทเี่ ป็นพุ่มไม้ใบเขียวเป็นทตี่ งั้ ของโรงสีทา่ ต้นจนั ทร์ 48 แผนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151