Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

Published by oldtown.su.research, 2021-09-28 14:15:59

Description: แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์
เล่ม ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords: แผนผังแม่บท,การอนุรักษ์และพัฒนา,กรุงรัตนโกสินทร์

Search

Read the Text Version

แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรักษแ์ ละพฒั นา 4-53 ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ล้านบาท) ปีที่ ปีที่ ปีที่ สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หนว่ ยละ จํานวนเงนิ หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ การดาํ เนนิ การ 1-5 6-10 11-15 1 3 ด้านภมู ิทศั น์ ตอ่ เน่ือง (ล้านบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร √ 1 (สํานักผังเมอื ง / สาํ นัก การดาํ เนินการ 2 ขับเน้นการรบั รู้โครงสรา้ ง 3.1 การปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ 3.1.2 โครงการปรับปรุงภูมทิ ัศนใ์ น - ปรับปรุงภูมทิ ัศนบ์ รเิ วณถนนตรีเพชร (ชว่ งถนน ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - การจราจรและขนสง่ / ต่อเนอ่ื ง √ พาหุรัดถึงลานหนา้ อนุสาวรีย์รชั กาลท่ี 1) แบ่งพนื้ ท่ี สาํ นกั การโยธา / สํานกั 3 ของกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมอื ง โครงสรา้ งทัศนภาพ* ความยาวรวมประมาณ 0.4 กม. แบง่ พน้ื ท่ี สง่ิ แวดล้อม / สํานัก 27.00 √ เทศกจิ ) 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภูมิทศั น์ใน - สํารวจ ออกแบบ และปรบั ปรุงพน้ื ท่ีริมแม่นํา้ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร 7.00 √ แนวแมน่ ํา้ เจา้ พระยาและแนวคลอง เจ้าพระยา (ชว่ งปากคลองคเู มอื งเดิมถึงปากคลองรอบ แบ่งพื้นท่ี ไร่ แบง่ พนื้ ท่ี (สาํ นกั การระบายนํ้า / √ สําคญั * กรุง) 0.7 กม. รมิ คลองรอบกรุง (ช่วงถนนพาหุรัดถึง สํานกั ผังเมือง / สาํ นัก 90.27 แมน่ ํา้ เจ้าพระยา) ความยาวประมาณ 0.6 กม. 6 4.5 27.0 การโยธา) 3.1.4 โครงการปรับปรุงพื้นทโี่ ลง่ - กรุงเทพมหานคร สาธารณะ - สํารวจ ออกแบบ และปรบั ปรงุ พน้ื ทล่ี านหนา้ (สํานักผงั เมือง / สํานกั อนุสาวรยี ์รชั กาลท่ี 1 ประมาณ 6 ไร่ การจราจรและขนสง่ / สํานักการโยธา / สํานกั 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่าง - ติดตั้งระบบและดวงไฟสอ่ งสว่างอาคารสาํ คญั 2 แห่ง 3.5 7.0 ส่งิ แวดล้อม) อาคารสาํ คัญ และพื้นท่ีสาธารณะ อนสุ าวรีย์รัชกาลท่ี 1 สะพานพระพุทธยอดฟ้า 5.9 กม. 15.3 90.27 - กรมการทอ่ งเทย่ี ว รวม 2 จดุ - กรุงเทพมหานคร - ตดิ ต้งั ไฟส่องสวา่ งสาธารณะ ย่านปากคลองตลาด (สาํ นักการโยธา / สํานกั ตามแนวซอยพระพิทักษ์ 0.1 กม. ถนนพาหุรดั 0.52 วัฒนธรรม กีฬา และ กม. ถนนสะพานพทุ ธ 1.0 กม. ถนนบา้ นหมอ้ 0.74 กม. การทอ่ งเทย่ี ว) ถนนตรเี พชร 0.6 กม. ถนนจกั รเพชร 1.0 กม. ถนน จกั รวรรดิ 0.66 กม. รมิ แมน่ ํ้าเจ้าพระยา 0.7 กม. ริม คลองรอบกรุง 0.6 กม. ระยะทางรวม 5.9 กม. เสรมิ สรา้ งสิง่ แวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จดั ต้ังหนว่ ยงานด้านรกุ ขกรรมเพ่ือดแู ลตน้ ไม้ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ 3 1 และเพม่ิ ศกั ยภาพของ ภมู ิทัศนเ์ มอื ง รกั ษาต้นไมใ้ หญ่* โดยเฉพาะ แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานกั ส่งิ แวดล้อม) ตอ่ เน่ือง 2 2 ผู้ปฏิบตั งิ านด้านภมู ิทศั น์ - จดั ตั้งหนว่ ยงานบริการเพื่อสนับสนนุ การดแู ล ต้นไมใ้ หญข่ องภาครฐั และภาคเอกชน 4 ดา้ นการจราจร เช่ือมโยงโครงข่ายการ 4.1 การเชอื่ มโยง 4.1.2 โครงการทดแทนที่จอดรถบน - พัฒนาพื้นทีจ่ อดรถรวมทงั้ ในพื้นทข่ี องรัฐและ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ √ สัญจรอยา่ งเป็นระบบ โครงข่ายการสญั จร พ้นื ผวิ จราจร* เอกชน แบง่ พื้นที่ แบ่งพ้นื ท่ี (สํานักการจราจรและ ตอ่ เนอื่ ง ขนส่ง) - ผทู้ รงสิทธใิ นพืน้ ที่ ส่งเสรมิ การสญั จรที่เป็น 4.2 การสนบั สนุนการเดิน 4.2.2 โครงการสง่ เสรมิ การใชข้ นส่ง - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคลอ้ งกับ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ มใน เทา้ และการใชจ้ ักรยาน มวลชนเพ่อื ลดการใชย้ านพาหนะ การเช่ือมโยงทง้ั ภายในและภายนอกพื้นท่ี แบง่ พื้นท่ี แบ่งพื้นที่ (สาํ นักการจราจรและ ต่อเนื่อง พน้ื ท่ีกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ สว่ นบคุ คล* - คดั เลอื กรปู แบบระบบขนส่งและยานพาหนะที่ ขนสง่ ) เหมาะสมกับปรมิ าณผู้โดยสารและบรรยากาศของ พน้ื ท่ี 4.2.3 โครงการเก็บคา่ ธรรมเนยี มการ - ศกึ ษาเพอ่ื วางแผนการจัดการจราจร ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √√ เขา้ บรเิ วณกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ช้นั นอก - ใชม้ าตรการทางการเงนิ เพ่ือควบคุมปริมาณ แบง่ พื้นท่ี แบง่ พน้ื ท่ี (สาํ นักการจราจรและ ตอ่ เน่อื ง ดว้ ยยานพาหนะสว่ นบคุ คล* ยานพาหนะในเขตกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ชน้ั นอก ขนส่ง) สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

4-54 แผนผงั แม่บทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษ์และพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ ปริมาณ ราคา หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดับความ หมาย จํานวน หน่วย - กรมเจ้าทา่ (ล้านบาท) สําคญั เหตุ 4. ดา้ นการจราจร หนว่ ยละ จาํ นวนเงิน ปที ี่ ปที ี่ ปีที่ 2 (ต่อ) พฒั นาจุดเปล่ยี นถา่ ยการ 4.3 การออกแบบ พฒั นา 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรุง - ปรับปรงุ ท่าเรือโดยสารในแม่นํา้ เจา้ พระยา 1 ทา่ (ล้านบาท) (ล้านบาท) 3.00 1-5 6-10 11-15 รปู สัญจรให้มปี ระสิทธิภาพ และปรับปรงุ จดุ เปลี่ยน ทา่ เรือ - 2 ต.ย. 1 5 ดา้ น เชื่อมโยงกบั การใช้ ถ่ายการสญั จร - ปรับปรงุ จดุ เชอ่ื มตอ่ สาํ คัญให้เปน็ กําแพงที่เปดิ ได้ ไมม่ กี าร 3.0 3.0 √ หน้า สาธารณูปโภค ประโยชน์ที่ดิน 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวป้องกนั น้าํ ในเวลาปกติ และปิดเพื่อป้องกนั นา้ํ ทว่ มได้โดยไม่ แบ่งพื้นที่ 4-50 5.1 การปอ้ งกนั นาํ้ ท่วม ทว่ ม* ขัดขวางทัศนวิสยั และมมุ มองระหว่างแมน่ ํา้ และ ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ ปรับปรุงสาธารณปู โภค และปรบั ปรุงคณุ ภาพนาํ้ เมอื ง พน้ื ฐานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ - ออกแบบแนวกําแพงปอ้ งกนั นํ้าทว่ ม สถานีสูบน้าํ แบง่ พื้นที่ (สาํ นักการระบายนํ้า) ตอ่ เนื่อง และอเนกประโยชน์ ประตนู ํา้ และบ่อสูบน้าํ เปน็ พิเศษ ใหส้ ามารถปรับใช้ เป็นพน้ื ที่กจิ กรรมริมนํ้า ขบั เนน้ อัตลกั ษณ์ของพืน้ ท่ี 5.1.2 โครงการฟืน้ ฟรู ะบบคูคลอง - ฟื้นฟูระบบคู คลอง และปรบั ปรุงคุณภาพนาํ้ คลอง ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 2 และปรับปรงุ คุณภาพนาํ้ * รอบกรุง 0.6 กม. แบง่ พื้นท่ี แบง่ พน้ื ที่ (สาํ นักการระบายน้ํา) ต่อเน่ือง 5.1.3 โครงการปรบั ปรุงระบบการ - ปรบั ปรุงสถานีสูบนํ้าปากคลองตลาด สถานีสูบน้ํา 2 แหง่ 20.0 40.0 - กรงุ เทพมหานคร 40.00 √ 2 2 ระบายนา้ํ คลองโอ่งอา่ ง (สํานักการระบายน้ํา) 3 - ปรบั ปรงุ บ่อสูบนา้ํ ใตส้ ะพานพระพทุ ธยอดฟา้ 1 แห่ง 15.0 15.0 15.00 3 3 ยกระดับรูปแบบของ 5.2 การปรับปรุง 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา้ และสาย - นาํ สายไฟฟ้าและสายส่อื สารลงใต้ดินตามแนวซอย ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ ระบบสาธารณูปโภคให้ โครงสร้างพื้นฐานของ สอ่ื สารลงใตด้ ิน* พระพิทกั ษ์ 0.1 กม. ถนนพาหรุ ัด 0.52 กม. ถนน แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พ้นื ที่ (สํานักการโยธา) ต่อเนื่อง สอดคลอ้ งกับพน้ื ท่ี ระบบสาธารณปู โภค สะพานพุทธ 1.0 กม. ถนนบา้ นหม้อ 0.74 กม. - การไฟฟ้านครหลวง อนรุ ักษ์ ถนนตรีเพชร 0.6 กม. ถนนจกั รเพชร 1 กม. ถนน - บริษทั ทโี อที จาํ กัด จักรวรรดิ 0.66 กม. ระยะทางรวม 4.6 กม. (มหาชน) - บรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) 6 ด้าน ยกระดับการใช้งาน 6.1 การปรับปรงุ การ 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วัดและ - ปรับปรงุ โรงเรยี นวดั ราชบรู ณะ 1 แห่ง 5.0 5.0 - กรุงเทพมหานคร 5.00 √ สาธารณูปการ สาธารณูปการให้ ใหบ้ รกิ ารสาธารณูปการ โรงเรียนเป็นศนู ยบ์ รกิ ารครบวงจรแก่ (สํานกั พัฒนาสงั คม / สอดคลอ้ งกบั โครงสร้าง ผู้สงู อายุและผ้ดู ้อยโอกาส สาํ นักการศึกษา / ประชากรและบริบททาง สํานักงานเขต) สังคมทีเ่ ปล่ยี นแปลง - วดั 6.1.2 โครงการเพิ่มประโยชนก์ ารใช้ - ปรับปรุงพ้นื ทีใ่ นโรงเรียนวัดราชบรู ณะ 1 แหง่ 2.0 2.0 - กรุงเทพมหานคร 2.00 √ สอยโรงเรียนเปน็ ศูนย์การเรียนรู้ (สํานกั การศึกษา / ศนู ยฝ์ กึ อาชีพ และพ้ืนทก่ี จิ กรรม สาํ นกั งานเขต) สนั ทนาการ - สถานศกึ ษาในสงั กัด กรงุ เทพมหานคร ปรับปรุงสาธารณูปการ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรุงอาคารเรยี น - ปรับปรงุ พน้ื ทใี่ นโรงเรยี นวัดราชบูรณะ 1 แห่ง 2.0 2.0 - กรุงเทพมหานคร 2.00 √ √ เพ่อื รองรับภยั พบิ ัติและ สาธารณูปการเพ่ือรองรบั เป็นท่ีพักยามภัยพบิ ัตแิ ละภาวะ - ตดิ ตัง้ แผนที่ในชมุ ชน 20 แห่ง 0.01 0.2 (สํานกั การศกึ ษา / 0.20 ภาวะฉุกเฉนิ ยามภัยพบิ ตั ิและภาวะ ฉกุ เฉนิ สํานกั ปอ้ งกนั และ ฉุกเฉิน บรรเทาสาธารณภัย / สํานักงานเขต) สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา 4-55 ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หน่วย (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ 6 ดา้ น หนว่ ยละ จํานวนเงิน - กรงุ เทพมหานคร ปที ี่ ปีท่ี ปที ี่ สาธารณปู การ ปรบั ปรงุ สาธารณปู การ 6.2 การเตรยี มพร้อม 6.2.2 โครงการติดต้ังอุปกรณเ์ พ่อื - ตดิ ต้ังหัวจ่ายนํา้ ดับเพลิง ในพน้ื ทวี่ ดั บพติ รพมิ ขุ 1 แหง่ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (สาํ นกั ปอ้ งกนั และ 0.10 1-5 6-10 11-15 2 (ตอ่ ) เพ่ือรองรบั ภัยพิบัติและ สาธารณปู การเพือ่ รองรับ ความปลอดภยั ของชุมชน - ตดิ ตงั้ กล้องวงจรปิด 1 แหง่ บรรเทาสาธารณภัย / 1.00 ภาวะฉกุ เฉนิ ยามภยั พบิ ัตแิ ละภาวะ 0.1 0.1 สํานกั การจราจรและ √√ (ต่อ) ฉุกเฉนิ 1.0 1.0 ขนส่ง / สาํ นกั งานเขต) (ต่อ) 7 ด้านกายภาพและ ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อม 7.1 การปรับปรงุ 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พืน้ ท่ี - จัดกระบวนการมีส่วนรว่ ม 1 แหง่ 0.2 0.2 - กรงุ เทพมหานคร 0.20 √ √ √ 3 วถิ ีชมุ ชน ชมุ ชนใหอ้ ยู่ร่วมกับมรดก สภาพแวดลอ้ มชมุ ชน สาธารณะระดบั กลุ่มชุมชนภายใน - ปรบั ปรงุ พื้นท่สี าธารณะระดบั กลมุ่ ชมุ ชน 1 แหง่ 4.8 4.8 (สํานักผงั เมือง) 4.80 วฒั นธรรมได้อยา่ ง ศาสนสถาน วดั บพิตรพมิ ุข เหมาะสม และสง่ เสริม - พัฒนาพืน้ ท่สี าธารณะจากทโี่ ลง่ วา่ งในชุมชน - ศาสนสถานเจ้าของ 6.00 การเรียนรู้แก่สาธารณะ 2 แห่ง 3.0 6.0 พ้นื ที่ สง่ เสรมิ การต่อยอดภมู ิ 7.2 การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ - รับสมัครชุมชนหรือผปู้ ระกอบการภายในชุมชนท่ี ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ 3 ปัญญาและการสรา้ ง เศรษฐกจิ ชมุ ชน ผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชน* สนใจในการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ แบ่งพนื้ ท่ี แบ่งพน้ื ที่ (สาํ นกั พัฒนาสงั คม) ตอ่ เน่ือง เศรษฐกจิ ชมุ ชน - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการเพอ่ื พัฒนา ผลติ ภณั ฑร์ ว่ มกบั ผเู้ ชยี่ วชาญ 7.2.2 โครงการสง่ เสรมิ ให้เกิด - รับสมคั รผู้ประกอบการทม่ี คี วามพร้อมในพื้นที่ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - สํานกั งานสง่ เสริม การดําเนินการ √ √ 3 ผู้ประกอบการดจิ ทิ ัล* เพอื่ รับการอบรม และให้ความช่วยเหลือโดย แบง่ พื้นที่ แบ่งพ้ืนที่ เศรษฐกิจดจิ ิทลั ตอ่ เนือ่ ง ผู้เชีย่ วชาญ - อบรม และสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการเพม่ิ ทกั ษะของ ผู้ประกอบการในการเปน็ ผูป้ ระกอบการดิจทิ ลั - พฒั นาเวบ็ ทา่ (Portal web) เพอ่ื ส่งเสรมิ การคา้ ดิจิทลั ในระดบั ยา่ นตา่ ง ๆ 8 ดา้ นการท่องเทย่ี ว เพิม่ คณุ ค่าและความ 8.1 การปรบั ปรงุ แหล่ง 8.1.1 โครงการปรับปรุงอุปกรณ์ - ศึกษาและจัดทาํ รายละเอยี ดข้อมูลแหล่งทอ่ งเที่ยว ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ 3 หลากหลายทางการ ท่องเท่ยี ว สอ่ื สารขอ้ มูลแหลง่ ท่องเทยี่ ว* อนุสาวรีย์รัชกาลท่ี 1 วัดราชบรุ ณะ แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พื้นที่ (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา ต่อเนอ่ื ง ทอ่ งเทยี่ ว - ตดิ ตั้งปา้ ยข้อมลู และการทอ่ งเท่ยี ว) 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งขอ้ มูล - ออกแบบและพัฒนาข้อมลู 1 แหง่ 0.5 0.5 - กรงุ เทพมหานคร 0.50 √ 2 วิถชี มุ ชน - พัฒนาและให้บรกิ ารศูนย์ข้อมลู การท่องเท่ยี ว 1 แห่ง 10.0 10.0 (สํานักวฒั นธรรม กีฬา 10.00 ชุมชน และการทอ่ งเท่ยี ว) 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ - สนบั สนุนการประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกิจกรรมการ 15 ครั้ง 0.5 7.5 - การท่องเทยี่ วแห่ง 7.50 √ √ √ 2 3 การท่องเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม ทอ่ งเทีย่ ว ประเทศไทย - จดั งานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพเิ ศษใน 15 คร้ัง 15.0 225.0 - กรุงเทพมหานคร 225.00 พนื้ ทีย่ ่านปากคลองตลาด (สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทอ่ งเทยี่ ว) พฒั นาระบบการให้ขอ้ มูล 8.2 การพฒั นาเสน้ ทาง 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานท่แี ละ - ศึกษาและออกแบบจดุ ให้ขอ้ มูลการท่องเทีย่ วและ ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ และเพิ่มสง่ิ อํานวยความ การท่องเทย่ี ว อปุ กรณ์ใหข้ ้อมูลเส้นทางการ ป้ายขอ้ มลู เส้นทางการท่องเทย่ี ว แบง่ พื้นท่ี แบ่งพ้นื ท่ี (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา ตอ่ เนอื่ ง สะดวกนักท่องเที่ยว ท่องเที่ยว* - ติดตัง้ จดุ ใหข้ อ้ มูลการท่องเท่ียวและปา้ ยขอ้ มลู และการทอ่ งเทยี่ ว) เส้นทางท่องเทยี่ ว สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

4-56 แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สําคญั เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ปีที่ ปีท่ี ปที ่ี การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 2 (ล้านบาท) (ล้านบาท) - การท่องเทย่ี วแห่ง ตอ่ เนื่อง ประเทศไทย √ 8 ดา้ นการทอ่ งเท่ียว พฒั นาระบบการให้ข้อมูล 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนท่แี ละ - จัดทาํ แผนท่ีแสดงข้อมูลเสน้ ทางท่องเท่ยี วทส่ี ําคัญ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - (ตอ่ ) และเพิม่ สงิ่ อํานวยความ การทอ่ งเท่ยี ว ระบบออนไลนเ์ พือ่ ให้ขอ้ มลู การ ในกรุงรตั นโกสนิ ทร์และพื้นท่ีตอ่ เนือ่ ง แบง่ พน้ื ที่ สะดวกนักท่องเทยี่ ว (ต่อ) ท่องเที่ยว* - จัดทําระบบออนไลนเ์ พอ่ื ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมลู แบง่ พนื้ ที่ (ตอ่ ) แหล่งท่องเทย่ี วและเส้นทางทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนท่ี พกั - ปรบั ปรุงฐานข้อมูล แผนท่ี ระบบออนไลน์ใหม้ ี ข้อมลู ที่ถกู ต้องและทนั สมยั รวม 746.57 * โครงการทม่ี ีการดําเนินการต่อเน่อื งกนั หลายพนื้ ท่ี ดูรายละเอยี ดในหนา้ 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผังแมบ่ ทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรกั ษ์และพฒั นา 4-57 4.2.6 บริเวณวงั เดมิ -วงั หลงั (บริเวณฝั่งธนบรุ ีตรงขา้ มกรุงรัตนโกสนิ ทรแ์ ละพืน้ ท่ถี ดั ออกไป) 1) ขอบเขตพนื้ ท่ี จดแนวกง่ึ กลางคลองบางกอกน้อย ทิศเหนือ จดแนวกึง่ กลางแมน่ าํ้ เจา้ พระยา ทศิ ตะวันออก จดแนวกึ่งกลางคลองบางกอกใหญ่ ทิศใต้ จดแนวถนนอิสรภาพฝ่งั ตะวนั ตก ทศิ ตะวัน 2) ความสาํ คญั บริเวณวงั เดมิ -วงั หลัง คือ เขตพระราชวังเดมิ ในสมยั กรงุ ธนบรุ ีเปน็ ราชธานี และพืน้ ทว่ี งั หลังในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธ ยอดฟ้าจุฬาโลก ต้ังอยู่ฝั่งธนบุรีตรงข้ามพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทร์ช้ันในบริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ยังเชื่อมต่อไปจนถึงปากคลอง บางกอกน้อยฝั่งใต้ มีโบราณสถานสมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์กระจายตัวกันอยู่ตลอดระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ตลอดแนวริมแม่นํ้าเจ้าพระยา มีลักษณะเป็นพื้นท่ีแคบและยาวไปตามริมฝั่งแม่น้ําเจ้าพระยา มีแนวคลองตัดผ่านเป็นช่วง ๆ ท่ีทําให้ เกดิ ลกั ษณะเฉพาะของพน้ื ท่ีทมี่ คี วามแตกตา่ งกัน 2 บรเิ วณ ไดแ้ ก่ (1) พืน้ ท่รี อบพระราชวังเดมิ ไปจนถึงวัดระฆงั โฆสิตาราม (2) พ้นื ทบ่ี รเิ วณปากคลองบางกอกนอ้ ย วงั หลัง สถานศี ิริราชและทา่ เรือศริ ริ าช พ้ืนท่ีพระราชวังเดิมจนถึงพื้นท่ีวัดระฆังโฆสิตารามเป็นพื้นที่ฝ่ังตะวันตกของแม่น้ําเจ้าพระยาบริเวณตรงข้ามกับ พระบรมมหาราชวัง เคยเป็นทป่ี ระทับของพระราชวงศ์ชั้นสูงอีกหลายพระองค์ ในรัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานให้เป็นที่ตั้งของโรงเรียนนายเรือและกลายเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการกองทัพเรือจนถึงปัจจุบัน เป็นที่ประดิษฐานของศาล สมเด็จพระเจ้าตากสินสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ประกอบด้วยคูและแนวกําแพงเมืองเดิม ป้อมวิชัยประสิทธ์ิหรือป้อมบางกอก เป็นป้อม ปราการสําคัญที่มีต้ังแต่สมัยอยุธยา และวัดอรุณราชวรารามหรือวัดแจ้ง เป็นวัดในเขตพระราชฐานในสมัยกรุงธนบุรีและเคยเป็นท่ี ประดิษฐานของพระแก้วมรกต มพี ระปรางค์องค์ใหญ่ท่ีกอ่ สร้างต้งั แต่รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย และเสร็จสมบรู ณใ์ น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปรางค์แห่งนี้มีความสูงและความงดงามจากการประดับตกแต่งด้วยเคร่ืองเบญจรงค์ หลากสี จึงเป็นสัญลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยในสายตาของชาวต่างชาติ นอกจากนี้ ยังมีวัดระฆังโฆสิตารามโดยสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์และยกให้เป็นพระอารามหลวง ต่อมากลายเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชหลาย พระองค์ในสมยั รตั นโกสินทร์ บริเวณปากคลองบางกอกน้อยฝั่งโรงพยาบาลศิริราชเดิมเป็นพื้นท่ีวังหลังหรือพระราชวังบวรสถานพิมุขในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เป็นย่านชุมชนของลูกหลานเชื้อพระวงศ์และข้าราชบริพารในช่วงต้นของกรุงรัตนโกสินทร์เน่ืองจากอยู่ ตรงข้ามกับพระบรมมหาราชวงั ในปจั จบุ นั วังหลงั เป็นที่ตั้งของโรงพยาบาลศริ ริ าช พ้ืนท่ีวังหลังและพนื้ ทโ่ี ดยรอบโรงพยาบาลศิริราชมี แหล่งมรดกและชุมชนท่ีมีอัตลักษณ์หลายแห่ง มีคลองบ้านขม้ินเป็นโบราณสถานสําคัญที่รอการฟื้นฟู ฝ่ังตรงข้ามคลองบางกอกน้อย เปน็ ทต่ี งั้ ของพพิ ิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เรอื พระราชพธิ ี นอกจากนนั้ วถิ ีชีวิตริมแม่น้ําเจ้าพระยาและคลองบางกอกน้อยก็เป็นส่วนหนึ่ง ของมรดกวัฒนธรรมของพ้ืนที่ ท้ังน้ี การเชือ่ มตอ่ พนื้ ทบ่ี รเิ วณน้กี บั บรเิ วณพระบรมมหาราชวงั สามารถนงั่ เรอื ขา้ มฝงั่ แม่นํ้าไปยังท่าช้าง หรือท่าพระจันทร์ แต่เดิมมสี ถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) เป็นสถานีขนส่งทส่ี ําคัญ ต่อมาได้มอบที่ดินเพิ่มเติมให้กับโรงพยาบาลศิรริ าชและ ยา้ ยสถานีปลายทางไปยังสถานีรถไฟบางกอกนอ้ ยทอี่ ยูถ่ ัดออกไปทางตะวันตก สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

4-58 แผนผังแมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา ในอนาคตการเปิดให้บริการสถานีศิริราชของรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีส้ม ซ่ึงจะทําให้พื้นที่ด้านเหนือของโรงพยาบาลศิริราช 5) แหลง่ มรดกที่สาํ คัญ กลายเปน็ ศูนยก์ ารคมนาคมท่ีสาํ คญั เชื่อมโยงกบั ท่าศิรริ าชและท่าวังหลัง บริเวณวังเดิม-วงั หลังมีแหลง่ มรดกทส่ี ําคัญ ดังแสดงในภาพท่ี 4-17 3) สรุปสถานการณ์ปจั จบุ นั ภาพท่ี 4-17 แหล่งมรดกทส่ี ําคญั บรเิ วณวังเดมิ -วงั หลัง ในปัจจุบันพระราชวังเดิมและป้อมวิชัยประสิทธิ์อยู่ภายใต้การดูแลของกองทัพเรือ สถานที่ต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีพระราชวังเดิม ไดร้ บั การบูรณปฏิสงั ขรณ์และปรับเปล่ยี นการใช้งานไปตามยุคสมัย วดั โมลโี ลกยารามหรือวัดทา้ ยตลาดกลายเปน็ โรงเรยี นปรยิ ตั ธิ รรม และสนามสอบเปรียญธรรมท่ีสําคัญของประเทศ ในส่วนของคลองคูเมืองฝั่งตะวันตกเรียกช่ือรวมว่าคลองบ้านขมิ้น และเรียกช่ือ คลองตามพ้ืนท่ีที่ผ่าน เช่น คลองบ้านช่างหล่อ ในปัจจุบันยังไม่ได้มีการฟ้ืนฟูและอนุรักษ์ที่เหมาะสมเช่นเดียวกับคลองคูเมือง สายอื่น ๆ จึงมีหลายช่วงท่ีอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม ต้ืนเขิน กลายเป็นท่ีท้ิงขยะของชุมชน ขณะเดียวกัน การพัฒนาอาคารสูงของ โรงพยาบาลศิริราช ทาํ ใหอ้ ัตลกั ษณ์และทัศนภาพพน้ื ท่ีบริเวณนข้ี าดเอกภาพ ด้านการรับรู้ถึงสภาพความเป็นเมืองเก่าและราชธานีเดิมค่อนข้างยาก เน่ืองจากขาดการเชื่อมโยงกันและถูกปิดล้อมด้วย พืน้ ทอ่ี นื่ เช่น พื้นท่พี ระราชวงั เดิม ป้อมวชิ ัยประสทิ ธ์ิ เป็นต้น โบราณสถานหลายแหง่ ต้งั อย่ใู นเขตพื้นทขี่ องกองทัพเรือ ต้องได้รบั การ ขออนญุ าต การเข้าถงึ ทางนา้ํ ตอ้ งอาศยั การขา้ มจากท่าเตยี นถงึ ท่าวัดอรุณราชวราราม และไม่สามารถเดินผ่านวัดอรุณราชวรารามมา จนถงึ เขตพระราชวังเดมิ อกี ทงั้ มขี อ้ จํากัดในการเปดิ ปิดและเย่ยี มชมเพราะเป็นเขตราชการทหาร 4) ศักยภาพพื้นท่ี บรเิ วณวงั เดมิ -วังหลังมีศักยภาพแตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบง่ ไดต้ ามพื้นท่ี ดงั นี้ (1) บริเวณพระราชวังเดิมและพ้ืนท่ีโดยรอบเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสําคัญ อีกท้ังยังเป็นพ้ืนที่ท่ีแสดงออกถึง หลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชาวสยามเรียกว่า “บางกอก” เป็นพ้ืนท่ีต่อเน่ืองกับโบราณสถานและชุมชนเก่าแก่ใน ย่านกะดีจีน-คลองสาน อาทิ วัดกัลยาณมิตร วัดประยุรวงศาวาส ไปจนถึงพื้นที่คลองสานตามริมโค้งแม่นํ้า เจ้าพระยา มีแนวคลองบางกอกใหญ่เป็นขอบเขตและรอยต่อสําคัญ การเชื่อมโยงโบราณสถานและชุมชนเป็นการ เพ่ิมความเข้าใจในเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรม รวมถึงเพ่ิมศักยภาพในการท่องเที่ยวตาม เส้นทางเดินเท้าตั้งแต่วัดโมลีโลกยารามไปจนถึง วัดระฆังโฆสิตารามผ่านพื้นที่หน่วยงานราชการ จึงมีศักยภาพใน การพัฒนาให้เป็นทางเดินริมนํ้าสาธารณะเพ่ือเข้าเย่ียมชมโบราณสถานและชมทัศนียภาพของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นการเชื่อมโยงการสัญจรให้ต่อเนื่องเป็นระบบ ทั้งนี้ ในอนาคตเม่ือรถไฟฟ้าส่วนต่อขยายแล้วเสร็จและเปิด ใหบ้ ริการ การเขา้ ถึงพระราชวงั เดมิ จะสะดวกมากข้นึ โดยสามารถเข้าถึงจากสถานีอิสรภาพ (2) บริเวณพ้ืนที่วังหลังและโรงพยาบาลศิริราชมีกิจกรรมการค้าในรูปแบบการให้บริการในชีวิตประจําวันและการ ท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการให้บริการทางด้านสาธารณสุขของโรงพยาบาลศิริราช การเป็นจุดเปล่ียนถ่ายการ สัญจรบริเวณสถานีศิริราชท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตจะทําให้พ้ืนท่ีบริเวณนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งจาก การขยายตัวของโรงพยาบาลศิริราช และการพัฒนาพ้ืนที่โดยรอบสถานีศิริราชที่เช่ือมโยงกับสถานีรถไฟธนบุรี รวมถึงเช่ือมโยงกับท่าเรือที่มีอยู่ในปัจจุบัน กลายเป็นย่านการเปล่ียนถ่ายการขนส่งท่ีสําคัญทางฝ่ังตะวันตกของ แมน่ าํ้ เจ้าพระยา (3) พ้ืนท่ีระหว่างถนนอรุณอัมรินทร์และถนนอิสรภาพมีคลองคูเมืองฝ่ังตะวันตกสมัยกรุงธนบุรีเป็นโบราณสถาน สาํ คัญที่รอการอนุรักษแ์ ละฟนื้ ฟู นอกจากน้ี ยังมีแหล่งมรดกอืน่ ๆ กระจายตวั ตามพ้ืนที่ชุมชน สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผงั แม่บทการอนุรักษแ์ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรกั ษ์และพฒั นา 4-59 6) แนวคดิ ในการอนรุ กั ษ์และพฒั นา ภาพท่ี 4-12 แนวคิดในการอนุรักษแ์ ละพฒั นาบรเิ วณวงั เดมิ -วงั หลัง แนวคิดหลักในการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณวังเดิม-วังหลัง คือ การเพ่ิมระดับการรับรู้และเข้าถึงพระราชวังเดิม การฟื้นฟู คลองคูเมืองเดิมฝ่ังตะวันตก การเชื่อมโยงพ้ืนที่ริมแม่น้ําให้ต่อเน่ืองกัน โดยการประสานการใช้พ้ืนที่กับหน่วยงานราชการและชุมชน และการจัดเช่อื มต่อโครงข่ายการเดนิ ทางในพ้ืนท่ี 7) การดาํ เนนิ การเพือ่ การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา การดําเนินการเพื่อการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาพ้ืนท่บี ริเวณน้ีจงึ แบ่งเป็น 5 ประเด็น ดังนี้ (1) การประสานการอนุรักษ์ร่วมกับการใช้ประโยชน์ท่ีดินระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือพ้ืนฟูพระราชวังเดิม สมัยธนบุรแี ละคลองคูเมืองเดิม โดยประสานความร่วมมอื จากกองทัพเรือเพ่ือปรับปรุงภูมิทัศน์ให้มีความงามสง่า และการเข้าถึงของพ้ืนท่ีพระราชวังเดิมในเขตพ้ืนท่ีราชการให้เช่ือมโยงกันระหว่างวัดอรุณราชวราราม พระราชวงั เดิม และวัดโมลีโลกยาราม รวมถงึ ประสานความรว่ มมอื กบั กองทพั เรอื เพอื่ เปิดพ้นื ทีโ่ บราณสถานและ พ้ืนท่ีริมนํ้าให้ประชาชนเข้าเยี่ยมชม ต้ังแต่บริเวณหอประชุมกองทัพเรือ ราชนาวิกสภาไปจนถึงกรมอู่ทหารเรือ ซง่ึ เปน็ จดุ สําคญั ในการเยยี่ มชมความงามสงา่ ในมมุ กว้างของพระบรมมหาราชวัง (2) การเช่ือมโยงระบบการสัญจรทางนํ้ากับทางบก โดยพิจารณาเพ่ิมท่าเรือข้ามฟากและท่าเรือท่องเท่ียวในคลอง บางกอกใหญ่ เพ่ือข้ามไปยังท่าเตียนและบริเวณใกล้เคียง เพ่ือเชื่อมโยงกับสถานีสนามไชย รวมถึงเพิ่มการ เชื่อมต่อพ้ืนท่ีริมน้ําท่ีมีอยู่แล้วจากวัดอรุณราชวราราม ผ่านมาทางพระราชวังเดิมไปยัง ป้อมวิชัยประสิทธิ์ และ เพ่ิมสะพาน คนข้ามจากบริเวณท่าน้ําวัดโมลีโลกยารามไปยังวัดกัลยาณมิตร เชื่อมต่อกับบริเวณท่าน้ําและ ทางเดินรมิ นาํ้ บรเิ วณวดั กลั ยาณมิตร และยา่ นกะดีจีนทม่ี อี ย่เู ดิม (3) การฟื้นฟูคลองบ้านขมิ้นหรือคลองคูเมอื งฝ่ังตะวันตกของกรุงธนบุรี การเปิดพื้นที่คลองบางส่วนให้เปน็ พื้นที่เปิด โลง่ สาธารณะ โดยอาศยั มาตรการทางผังเมอื ง การควบคุมอาคาร และคุ้มครองโบราณสถาน รวมถึงการปรับปรุง ภูมิทัศน์วัดสําคัญและชุมชนโดยรอบในบริเวณท่ีมีความเกี่ยวเนื่องกับคลองบ้านขม้ิน ต้ังแต่วัด โมลีโลกยาราม วัดอรุณราชวราราม วัดนาคกลาง วัดพระยาทํา วัดระฆังโฆสิตาราม ไปจนถึงวัดวิเศษการ และการเยยี วยาพ้ืนท่ที จ่ี ะได้รับผลกระทบกรณีทมี่ กี ารเวนคนื ทดี่ นิ ในการฟน้ื ฟูคลองบา้ นขมิ้น (4) การยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นท่ี ได้แก่ การปรับปรุงระบบและโครงข่ายเพื่อ เชื่อมโยงย่านชุมชนกับท่ีว่างของวัดและพ้ืนท่ีว่างหน้าโบราณสถาน การปรับปรุงและฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนที่อยู่ใกล้วัดและพ้ืนที่ประวตั ิศาสตรท์ ี่สําคัญ การพฒั นาและปรับปรุงโครงสรา้ งพ้ืนฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม (5) การจัดทําท่อรวบรวมนํ้าเสียจากแหลง่ ชุมชน การทาํ บ่อบําบัดนํ้าเสียรวม การพฒั นาคุณภาพนํ้าตามคูคลองโดย การควบคุมและออกแบบระบบระบายนํ้าให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมที่อยู่ใกล้แหล่งวัฒนธรรม ริมแมน่ ้าํ และการจดั ทาํ โครงข่ายระบบทอ่ สาธารณูปโภครวมสําหรับงานดูแลสาธารณปู โภคในระยะยาว ภาพที่ 4-13 ผงั รายละเอียดการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาบรเิ วณวงั เดมิ -วังหลัง สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4-60 แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบริเวณ วังเดิม-วงั หลงั (บริเวณฝง่ั ธนบุรตี รง ข้ามกรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละพ้นื ทถ่ี ดั ออกไป) สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพัฒนา 4-61 ยทุ ธศาสตร์ 1 ด้านมรดกวัฒนธรรม อา้ งองิ หนา้ ยุทธศาสตร์ 5 ดา้ นสาธารณปู โภค อา้ งอิงหนา้ 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคุม้ ครองแมน่ าํ้ เจ้าพระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปอ้ งกันนาํ้ ทว่ ม 3-42 3-8 3-43 การคุม้ ครองและบรู ณปฏิสังขรณ์ 1.1.2 โครงการบรู ณปฏสิ งั ขรณแ์ หลง่ มรดกสาํ คญั 3-9 การป้องกันน้าํ ท่วมและปรับปรุง 5.1.2 โครงการฟน้ื ฟรู ะบบคคู ลอง และปรบั ปรงุ คณุ ภาพนํา้ 3-44 3-10 3-45 แหลง่ มรดก 1.1.3 โครงการบูรณปฏสิ ังขรณ์โบราณสถานในพ้นื ทก่ี รุงรตั นโกสินทร์ คุณภาพน้ํา 5.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ระบบการระบายนาํ้ 3-11 อ้างอิงหนา้ 1.1.4 โครงการขน้ึ ทะเบียนโบราณสถานท่ียงั ไม่ไดร้ ับการขน้ึ ทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟ้าและสายสอ่ื สารลงใตด้ ิน 3-48 1.1.5 โครงการจัดทาํ ทะเบียนแหล่งมรดกทอ้ งถิน่ และสนบั สนนุ การบูรณปฏิสังขรณ์ การปรบั ปรุงโครงสร้างพนื้ ฐาน 5.2.2 โครงการจดั ต้งั ศูนย์ประสานงานและขอ้ มลู และพฒั นาเครอื ขา่ ยระบบ 3-49 แหลง่ มรดกทอ้ งถ่ิน ของระบบสาธารณปู โภค สารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสบื สานฟนื้ ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลท้องถิน่ 3-51 การสง่ เสรมิ ฟนื้ ฟวู ิถีวฒั นธรรม 1.2.2 โครงการฟ้ืนฟูภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ วัฒนธรรมอาหาร นาฏศิลป์ และหัตถศลิ ป์ ยุทธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อ้างอิงหน้า 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วัดและโรงเรยี นเปน็ ศูนยบ์ ริการครบวงจรแก่ผู้สูงอายุและ 3-55 ยุทธศาสตร์ 2 ด้านการใชท้ ดี่ ิน อา้ งองิ หนา้ การปรบั ปรุงการให้บริการ ผู้ดอ้ ยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ แผนผงั ขอ้ กาํ หนดและมาตรการตามกฎหมายผังเมือง 3-16 สาธารณปู การ 6.1.2 โครงการเพิม่ ประโยชนก์ ารใช้สอยโรงเรียนเป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี 3-17 อ้างองิ หน้า การปรับปรงุ มาตรการควบคมุ 2.1.2 โครงการแก้ไขปรบั ปรุงข้อบัญญตั ิกรุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร 3-18 และพืน้ ท่ีกิจกรรมสนั ทนาการ 3-61 3-62 การใช้ประโยชนท์ ด่ี ินและอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการคุม้ ครองสง่ิ แวดล้อมศลิ ปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรียนเปน็ ท่ีพกั ยามภัยพบิ ตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จดั ทาํ และดําเนินการให้เปน็ ไปตามผงั เมอื งเฉพาะ บรเิ วณรมิ ฝ่ัง การเตรยี มพร้อมสาธารณปู การ 3-65 3-66 การวาง จัดทํา และดาํ เนินการให้ แม่น้ําเจา้ พระยา เพ่อื รองรับยามภัยพิบัติและภาวะ 6.2.2 โครงการตดิ ตงั้ อปุ กรณ์เพื่อความปลอดภัยของชมุ ชน 3-67 เปน็ ไปตามผงั เมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จดั ทาํ และดาํ เนนิ การให้เปน็ ไปตามผงั เมอื งเฉพาะ ในพื้นท่ี ฉุกเฉิน เปลยี่ นถา่ ยการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ยทุ ธศาสตร์ 7 ด้านกายภาพและวิถชี มุ ชน ยทุ ธศาสตร์ 3 ด้านภูมิทัศน์ อ้างองิ หนา้ แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยในกลุ่มชมุ ชนทส่ี ําคัญ แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั น์โดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1.2 โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะระดับกลมุ่ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน การปรับปรงุ ภูมิทัศนเ์ มอื ง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนใ์ นโครงสรา้ งทศั นภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ในแนวแม่น้าํ เจ้าพระยาและแนวคลองสาํ คัญ 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรับปรุงพ้ืนทโ่ี ลง่ สาธารณะ 3-26 การบริหารจัดการภมู ิทศั น์เมอื ง 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสวา่ งอาคารสําคัญ และพนื้ ทส่ี าธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑข์ องผ้ปู ระกอบการภายในชุมชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแลรักษาตน้ ไม้ใหญ่ 3-28 การส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ชุมชน 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ให้เกดิ ผปู้ ระกอบการดิจทิ ลั ยุทธศาสตร์ 8 ดา้ นการท่องเทยี่ ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อุปกรณส์ ่ือสารขอ้ มลู แหล่งท่องเท่ยี ว การปรับปรงุ แหลง่ ทอ่ งเที่ยว 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งขอ้ มูลวิถชี ุมชน ยทุ ธศาสตร์ 4 ดา้ นการจราจร อา้ งองิ หนา้ 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการส่งเสริมการเชือ่ มต่อยานพาหนะตา่ งประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจัดระเบยี บพ้ืนทท่ี ่องเที่ยว 3-34 การเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยการสญั จร 4.1.2 โครงการทดแทนทีจ่ อดรถบนพ้นื ผวิ จราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานท่ีและอุปกรณใ์ ห้ขอ้ มูลเส้นทางการท่องเทยี่ ว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจํากัดการสญั จรในบรเิ วณกรุงรตั นโกสนิ ทร์ชัน้ ใน การพัฒนาเสน้ ทางการท่องเทย่ี ว 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทแี่ ละระบบออนไลนเ์ พ่ือให้ข้อมูลการท่องเทยี่ ว 3-37 การสนบั สนุนการเดนิ เท้าและ 4.2.2 โครงการส่งเสรมิ การใช้ขนสง่ มวลชนเพ่ือลดการใช้ยานพาหนะส่วนบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการส่งเสรมิ การพฒั นาแหล่งทพี่ กั นักท่องเทีย่ วใหไ้ ด้มาตรฐาน การใช้จักรยาน 4.2.3 โครงการเก็บคา่ ธรรมเนียมการเข้าบริเวณกรงุ รตั นโกสินทรช์ น้ั นอกด้วย การพฒั นาแหล่งทพ่ี ัก ยานพาหนะส่วนบุคคล นกั ทอ่ งเที่ยวใหไ้ ดม้ าตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกิจ การออกแบบ พัฒนาและ 4.3.2 โครงการพัฒนาและปรบั ปรงุ ท่าเรอื โครงการท่แี รเงา หมายถึง โครงการท่ีไมไ่ ด้ดาํ เนนิ การในพ้ืนที่ 6 บรเิ วณวังเดมิ -วังหลงั ปรบั ปรงุ จดุ เปลี่ยนถา่ ยการสญั จร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

4-62 แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา 9) รายละเอยี ด ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงานและโครงการบรเิ วณวงั เดิม-วงั หลงั ตารางท่ี 4-7 รายละเอยี ด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณวังเดมิ -วังหลัง ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ลา้ นบาท) สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หนว่ ยละ จํานวนเงิน หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ ปีที่ ปที ี่ ปที ่ี 1 - กรมศลิ ปากร การดําเนินการ 1-5 6-10 11-15 1 ดา้ นมรดก 1.1.1 โครงการค้มุ ครองแมน่ า้ํ (ล้านบาท) (ล้านบาท) ตอ่ เนื่อง 2 วัฒนธรรม เจา้ พระยา* √ บาํ รงุ รกั ษา และคมุ้ ครอง 1.1 การคุม้ ครองและ - สํารวจและจัดทาํ แผนท่ีเพ่อื กาํ หนดบริเวณที่จะข้ึน ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - 2 แหล่งมรดกสําคญั และ บูรณปฏิสังขรณ์แหล่ง 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสังขรณ์ ทะเบียนโบราณสถานแม่นํ้าเจา้ พระยา โดยเน้นชว่ ง แบ่งพน้ื ที่ จดั ทํามาตรการสนับสนุน มรดก โบราณสถานในพ้ืนที่ ระหวา่ งคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ แหง่ แบ่งพื้นท่ี การฟ้ืนฟูแหล่งมรดก กรงุ รตั นโกสินทร์ - กําหนดพ้ืนที่และประกาศข้ึนทะเบยี น 8 แหง่ 1.1.4 โครงการขึน้ ทะเบยี นโบราณ โบราณสถานแมน่ ํา้ เจ้าพระยา 8 สถานที่ยังไม่ได้รับการข้ึนทะเบยี น* 1.0 8.0 - กรมศลิ ปากร 8.00 √ √ √ - สาํ รวจและกาํ หนดลําดับความจาํ เปน็ เรง่ ดว่ น 24.0 192.0 192.00 - บูรณปฏิสงั ขรณโ์ บราณสถาน 8 แหง่ การดาํ เนินการ √ √ √ - ศึกษาและกาํ หนดลาํ ดบั ความสําคญั ไมม่ ีการ - ไม่มกี าร - - กรมศิลปากร ต่อเนือ่ ง - ข้ึนทะเบยี นโบราณสถานทยี่ ังไมไ่ ด้ขนึ้ ทะเบียน แบ่งพ้นื ท่ี แบง่ พนื้ ที่ 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบยี นแหลง่ - ศึกษาและกําหนดลําดับความสําคญั ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 1 มรดกท้องถิ่น และสนับสนนุ การ - จัดทาํ เกณฑก์ ารข้ึนทะเบียนแหลง่ มรดก แตง่ ตงั้ แบ่งพื้นท่ี แบง่ พ้นื ที่ (สาํ นกั ผังเมอื ง) ต่อเนื่อง 3 2 บูรณปฏสิ งั ขรณแ์ หล่งมรดกทอ้ งถิน่ * คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิพิจารณาการขึ้น 1 ทะเบยี นและอนมุ ตั ิงบประมาณสนับสนนุ การบูรณะ 1 2 ฟ้ืนฟแู หล่งมรดกท้องถิน่ จดั ทาํ มาตรการสนับสนนุ 1.2 การส่งเสริมฟื้นฟวู ถิ ี 1.2.1 โครงการสืบสานฟน้ื ฟู - กําหนดหลกั เกณฑแ์ ละจดั ตง้ั กรรมการพิจารณา ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ √ การฟ้นื ฟแู หล่งมรดกที่ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีและ สนบั สนนุ งบประมาณ แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพื้นที่ (สํานักวัฒนธรรม กีฬา ต่อเนอ่ื ง เป็นวิถวี ฒั นธรรม เทศกาลท้องถิ่น* และการทอ่ งเท่ียว) 1.2.2 โครงการฟน้ื ฟูภูมปิ ัญญา - กําหนดหลักเกณฑแ์ ละจัดต้งั กรรมการพิจารณา ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ ท้องถน่ิ วฒั นธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ สนับสนุนงบประมาณ แบ่งพื้นที่ แบ่งพืน้ ท่ี (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา ตอ่ เนื่อง และหัตถศิลป*์ และการทอ่ งเทยี่ ว) 2 ด้านการใช้ท่ีดิน ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรับปรุง 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ - วางและจดั ทําแผนผังและขอ้ กาํ หนดการใช้ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ ที่ดนิ โดยเครอื่ งมือทางผัง มาตรการควบคุมการใช้ แผนผงั ขอ้ กําหนดและมาตรการตาม ประโยชน์ท่ดี นิ ของผังเมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพน้ื ท่ี (สาํ นักผงั เมือง) ตอ่ เน่ือง เมอื ง ประโยชนท์ ่ีดินและอาคาร กฎหมายผงั เมอื ง* (ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 4) - ดาํ เนนิ การประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บงั คบั ผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ 4) โดย อาศยั อํานาจแห่งพระราชบัญญตั กิ ารผังเมือง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรบั ปรุง - แกไ้ ขปรับปรงุ ขอ้ บัญญัติกรุงเทพมหานคร เพอ่ื ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ ข้อบญั ญัติกรงุ เทพมหานครตาม การควบคุมแบบซอ้ นทับ (Overlay Control) โดย แบง่ พน้ื ที่ แบ่งพื้นท่ี (สํานักผังเมือง) ต่อเน่อื ง กฎหมายควบคุมอาคาร* อาศัยอาํ นาจแหง่ กฎหมายควบคมุ อาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการ - จดั ทํามาตรการคุ้มครองสง่ิ แวดล้อมศลิ ปกรรมเพ่ือ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - สาํ นักงานนโยบายและ การดําเนินการ √ คุ้มครองสิง่ แวดล้อมศลิ ปกรรม* การอนุรักษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พน้ื ที่ แผนทรัพยากรธรรมชาติ ต่อเนอ่ื ง - ดําเนนิ การประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บงั คับ และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมศลิ ปกรรมเพ่อื การ อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ โดยอาศัย อาํ นาจแหง่ กฎหมายสิง่ แวดลอ้ ม สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนุรักษแ์ ละพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรักษ์และพัฒนา 4-63 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนนิ การ ปริมาณ ราคา หนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย 2 ด้านการใช้ที่ดิน จาํ นวน หน่วย (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ (ต่อ) หนว่ ยละ จาํ นวนเงนิ - กรุงเทพมหานคร ปีที่ ปที ี่ ปีที่ 1 ดําเนนิ โครงการอนุรักษ์ 2.2 การวาง จัดทํา และ 2.2.2 โครงการวาง จัดทาํ และ - วาง จัดทํา และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผังเมอื ง 2 พน้ื ที่ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (สาํ นักผงั เมือง) 100.00 1-5 6-10 11-15 3 ด้านภมู ิทศั น์ ฟืน้ ฟเู มอื ง ดําเนนิ การให้เปน็ ไปตาม ดําเนินการใหเ้ ป็นไปตามผงั เมือง เฉพาะ ในพื้นท่รี อบสถานีอิสรภาพ สถานีศิริราช 15 ไร่ 2 ผงั เมอื งเฉพาะ เฉพาะ ในพนื้ ท่ีเปล่ยี นถา่ ยการสญั จร 50.0 100.0 √√ ขับเนน้ การรบั รโู้ ครงสรา้ ง โดยรอบสถานีรถไฟฟา้ - สาํ รวจ ออกแบบ และก่อสรา้ งปรบั ปรุงในพืน้ ที่ 1 ของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 3.1 การปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณวดั อรุณราชวราราม ปอ้ มวชิ ัยประสทิ ธ์ิ และ 5.6 84.0 - กรุงเทพมหานคร 84.00 √ เมอื ง 3.1.1 โครงการปรับปรุงภูมทิ ัศน์ วดั ระฆงั โฆสติ าราม รวมพืน้ ทีป่ ระมาณ 15 ไร่ โดยรอบโบราณสถาน (สาํ นักผังเมอื ง / สํานกั การโยธา / สํานกั งาน เขต / สํานกั การจราจร และขนส่ง) 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ศั นใ์ น - สํารวจ ออกแบบ และปรบั ปรุงพนื้ ทรี่ ิมแม่น้าํ ไม่มีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ แนวแมน่ ํา้ เจ้าพระยาและแนวคลอง เจ้าพระยา (ชว่ งปากคลองบางกอกนอ้ ยถึงปาก แบ่งพื้นท่ี สําคญั * คลองบางกอกใหญ่) ความยาวประมาณ 2.2 กม. แบง่ พื้นที่ (สาํ นกั การระบายนํ้า / ตอ่ เน่อื ง และคลองบา้ นขมน้ิ ความยาวประมาณ 2.6 กม. สํานักผังเมอื ง / สาํ นัก การโยธา) 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ่ งสวา่ ง - ติดตง้ั ระบบและดวงไฟสอ่ งสวา่ งอาคารสําคญั ท่า 4 แห่ง 3.5 14.0 - กรมการทอ่ งเที่ยว 14.00 √ √ √ 3 อาคารสาํ คญั และพ้นื ที่สาธารณะ นํา้ ศิรริ าช พิพิธภณั ฑ์ศริ ริ าชพมิ ุขสถาน ราชนาวิก 8.1 - กรุงเทพมหานคร 123.93 √ สภา วัดระฆงั โฆสิตาราม รวม 4 จุด (สํานักการโยธา / สํานัก - ตดิ ตง้ั ไฟส่องสว่างสาธารณะ ยา่ นวงั เดมิ -วงั หลงั ตาม แนวถนนอรุณอมรินทร์ 2.5 กม. ริมแม่น้ําเจ้าพระยา กม. 15.3 123.93 วัฒนธรรม กฬี า และ 2.2 กม. รมิ คลองบ้านขมน้ิ 2.6 กม. รมิ คลองมอญ 0.8 การทอ่ งเที่ยว) กม. ระยะทางรวม 8.1 กม. เสรมิ สร้างส่ิงแวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จดั ต้งั หน่วยงานด้านรุกขกรรมเพื่อดูแลตน้ ไม้ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 3 และเพิ่มศกั ยภาพของ ภูมทิ ัศน์เมอื ง รกั ษาตน้ ไม้ใหญ*่ โดยเฉพาะ แบ่งพ้นื ที่ แบง่ พ้ืนที่ (สาํ นักส่งิ แวดล้อม) ต่อเน่ือง ผปู้ ฏบิ ัติงานด้านภูมทิ ศั น์ - จดั ตง้ั หนว่ ยงานบรกิ ารเพื่อสนับสนนุ การดูแล ตน้ ไม้ใหญ่ของภาครัฐและภาคเอกชน 4 ด้านการจราจร เชือ่ มโยงโครงข่ายการ 4.1 การเชือ่ มโยง 4.1.1 โครงการสง่ เสริมการเชือ่ มตอ่ - ปรบั ปรุงพื้นทีส่ ถานีศิริราช 1 สถานี 30.0 30.0 - การรถไฟฟ้าขนสง่ 30.00 √ 2 รปู ต.ย. 1 สญั จรอย่างเปน็ ระบบ โครงข่ายการสัญจร ยานพาหนะตา่ งประเภท มวลชนแห่งประเทศไทย หน้า 4-60 - กรงุ เทพมหานคร 1 (สาํ นกั ผังเมอื ง / สํานกั 2 การคลงั ) 4.1.2 โครงการทดแทนท่จี อดรถบน - พฒั นาพน้ื ท่จี อดรถรวมทั้งในพนื้ ที่ของรฐั และ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ พนื้ ผวิ จราจร* เอกชน แบ่งพน้ื ท่ี แบง่ พนื้ ที่ (สาํ นักการจราจรและ ต่อเน่ือง ขนสง่ ) - ผู้ทรงสิทธิในพืน้ ท่ี ส่งเสรมิ การสัญจรที่เปน็ 4.2 การสนับสนุนการเดนิ 4.2.2 โครงการส่งเสรมิ การใชข้ นส่ง - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคลอ้ งกับ ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ มติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มใน เทา้ และการใช้จักรยาน มวลชนเพื่อลดการใช้ยานพาหนะ การเช่อื มโยงทัง้ ภายในและภายนอกพื้นท่ี แบ่งพนื้ ท่ี แบ่งพ้ืนท่ี (สาํ นักการจราจรและ ตอ่ เน่อื ง พนื้ ทก่ี รงุ รัตนโกสินทร์ สว่ นบุคคล* - คดั เลอื กรปู แบบระบบขนสง่ และยานพาหนะที่ ขนสง่ ) เหมาะสมกบั ปรมิ าณผโู้ ดยสารและบรรยากาศของ พ้นื ท่ี สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

4-64 แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ กั ษ์และพัฒนา ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปริมาณ ราคา หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หน่วย - กรมเจา้ ท่า (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ 4. ดา้ นการจราจร หนว่ ยละ จาํ นวนเงิน ปีท่ี ปที ่ี ปีท่ี 2 (ตอ่ ) พฒั นาจุดเปล่ียนถา่ ยการ 4.3 การออกแบบ พฒั นา 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรงุ - ปรบั ปรงุ ทา่ เรอื โดยสารในแม่น้ําเจ้าพระยา 1 ทา่ (ล้านบาท) (ล้านบาท) 3.00 1-5 6-10 11-15 สัญจรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และปรบั ปรุงจดุ เปลยี่ น ทา่ เรือ - 2 5 ดา้ น เชื่อมโยงกับการใช้ ถา่ ยการสัญจร - ปรบั ปรุงและก่อสร้างแนวกาํ แพงปอ้ งกนั นํ้าทว่ ม ไมม่ ีการ 3.0 3.0 √√ สาธารณูปโภค ประโยชนท์ ีด่ ิน 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปอ้ งกันนา้ํ รมิ แมน่ าํ้ เจ้าพระยา (บรเิ วณหน้าวดั ระฆงั โฆสติ า แบ่งพน้ื ท่ี 5.1 การปอ้ งกนั นา้ํ ท่วม ท่วม* ราม) ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ ปรับปรุงสาธารณูปโภค และปรับปรงุ คุณภาพนา้ํ - ปรบั ปรุงจดุ เชอ่ื มต่อสําคัญให้เปน็ กาํ แพงทเี่ ปดิ ได้ พ้ืนฐานให้มปี ระสิทธภิ าพ ในเวลาปกติ และปดิ เพ่ือปอ้ งกันน้ําทว่ มได้โดยไม่ แบ่งพื้นที่ (สาํ นักการระบายนํ้า) ต่อเนื่อง และอเนกประโยชน์ ขัดขวางทศั นวิสัย และมุมมองระหวา่ งแม่นํา้ และ เมอื ง - ออกแบบแนวกําแพงป้องกันน้าํ ทว่ ม สถานสี ูบนาํ้ ประตนู ํ้า และบ่อสูบน้าํ เป็นพเิ ศษ ใหส้ ามารถปรับใช้ เปน็ พืน้ ทีก่ จิ กรรมริมน้ํา ขับเน้นอตั ลักษณข์ องพน้ื ที่ 5.1.2 โครงการฟน้ื ฟรู ะบบคูคลอง - ฟนื้ ฟูระบบคู คลอง และปรบั ปรุงคณุ ภาพนํ้าคลอง ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ 2 และปรับปรงุ คณุ ภาพนา้ํ * บ้านขมิน้ 2.6 กม. คลองวดั ระฆัง 0.4 กม. คลองวดั แบ่งพ้ืนท่ี แบ่งพ้นื ที่ (สํานักการระบายน้ํา) ตอ่ เนอ่ื ง อรุณ 0.7 กม. คลองมอญ 0.8 กม. ระยะทางรวม 4.5 กม. - ก่อสรา้ งโรงควบคุมคณุ ภาพนํ้าขนาดเล็กคลอง √ บางกอกใหญ่ 1 แห่ง 5.1.3 โครงการปรับปรงุ ระบบการ - ปรับปรงุ สถานสี ูบนํ้าคลองมอญ สถานีสบู นา้ํ คลอง 2 แห่ง 20.0 40.0 - กรุงเทพมหานคร 40.00 √ √ 2 ระบายนา้ํ บางกอกใหญ่ 2 (สํานักการระบายนํ้า) 40.00 - ปรับปรุงประตูระบายนาํ้ คลองวดั ระฆัง ประตู ระบายน้าํ คลองวัดอรณุ แห่ง 20.0 40.0 ยกระดับรปู แบบของ 5.2 การปรับปรงุ 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟา้ และสาย - นําสายไฟฟา้ และสายสอ่ื สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ 2 3 ระบบสาธารณูปโภคให้ โครงสรา้ งพนื้ ฐานของ สื่อสารลงใต้ดิน* อรณุ อมรนิ ทร์ 2.5 ก.ม แบง่ พนื้ ท่ี แบ่งพืน้ ที่ (สาํ นกั การโยธา) ต่อเน่ือง สอดคล้องกับพนื้ ที่ ระบบสาธารณปู โภค - การไฟฟ้านครหลวง อนุรกั ษ์ - บรษิ ทั ทีโอที จาํ กัด (มหาชน) - บรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จาํ กัด (มหาชน) 6 ดา้ น ยกระดับการใช้งาน 6.1 การปรบั ปรุงการ 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วัดและ - ปรับปรุงโรงเรียนวัดวิเศษการ 2 แหง่ 5.0 10.0 - กรงุ เทพมหานคร 10.00 √ สาธารณปู การ สาธารณูปการให้ ใหบ้ รกิ ารสาธารณปู การ โรงเรียนเป็นศูนย์บรกิ ารครบวงจรแก่ โรงเรียนวดั นาคกลาง (สํานักพัฒนาสังคม / สอดคลอ้ งกบั โครงสรา้ ง ผสู้ ูงอายแุ ละผดู้ ้อยโอกาส สํานกั การศึกษา / ประชากรและบริบททาง สาํ นักงานเขต) สังคมท่ีเปลยี่ นแปลง - วัด สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผังแมบ่ ทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา 4-65 ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนนิ การ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ 6 ด้าน หน่วยละ จาํ นวนเงิน - กรุงเทพมหานคร ปีท่ี ปีที่ ปที ี่ สาธารณปู การ ยกระดบั การใช้งาน 6.1 การปรบั ปรงุ การ 6.1.2 โครงการเพิม่ ประโยชน์การใช้ - ปรับปรงุ พ้ืนท่ใี นโรงเรียนวดั วิเศษการ 2 แห่ง (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (สาํ นกั การศกึ ษา / 4.00 1-5 6-10 11-15 3 (ตอ่ ) สาธารณปู การให้ ให้บรกิ ารสาธารณปู การ สอยโรงเรยี นเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ โรงเรียนวดั นาคกลาง สาํ นักงานเขต) สอดคลอ้ งกบั โครงสร้าง (ต่อ) ศนู ย์ฝึกอาชพี และพ้ืนท่ีกจิ กรรม 2.0 4.0 - สถานศึกษาในสังกัด √ ประชากรและบรบิ ททาง สนั ทนาการ - ปรับปรุงพ้ืนทใ่ี นโรงเรียนวัดวเิ ศษการ กรุงเทพมหานคร สังคมท่ีเปล่ยี นแปลง โรงเรียนวดั นาคกลาง (ตอ่ ) 6.2 การเตรยี มพร้อม 6.2.1 โครงการปรบั ปรงุ อาคารเรยี น - ตดิ ตัง้ แผนท่ีในชมุ ชน 2 แห่ง 2.0 4.0 - กรงุ เทพมหานคร 4.00 √ √ 3 สาธารณูปการเพอื่ รองรับ เปน็ ทพ่ี ักยามภัยพบิ ัตแิ ละภาวะ (สํานักการศึกษา / 0.40 ปรบั ปรุงสาธารณปู การ ยามภยั พิบัตแิ ละภาวะ ฉกุ เฉิน เพือ่ รองรับภัยพบิ ัติและ ฉกุ เฉนิ 40 แห่ง 0.01 0.4 สาํ นกั ป้องกันและ ภาวะฉุกเฉิน บรรเทาสาธารณภัย / สาํ นกั งานเขต) 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณเ์ พอื่ - ติดตั้งหวั จ่ายนํา้ ดับเพลิง ในพ้ืนท่บี ริเวณปากคลอง 4 แห่ง 0.1 0.4 - กรงุ เทพมหานคร 0.40 √ √ 2 ความปลอดภยั ของชมุ ชน บางกอกนอ้ ย วดั ระฆังโฆสิตาราม วดั เครือวลั ย์ 4 แห่ง 1.0 (สํานกั ปอ้ งกนั และ 4.00 วดั หงส์รัตนาราม - ติดตง้ั กล้องวงจรปิด 4.0 บรรเทาสาธารณภยั / สํานักการจราจรและ ขนสง่ / สาํ นกั งานเขต) 7 ด้านกายภาพและ ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.1 โครงการปรับปรุง - ศกึ ษา วางผัง และออกแบบ 2 พ้นื ท่ี 1.2 2.4 - กรงุ เทพมหานคร 2.40 √ √ 2 วิถชี มุ ชน ชมุ ชนใหอ้ ยู่รว่ มกบั มรดก สภาพแวดล้อมชมุ ชน สภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยในกลุ่ม - ดาํ เนนิ การปรบั ปรุงพน้ื ท่ีกลุ่มชุมชนย่านวังหลงั - 2 57.60 วฒั นธรรมได้อย่าง ชมุ ชนท่สี าํ คญั วัดระฆังโฆสิตาราม กลุ่มชมุ ชนย่านวดั โมลีโลกยา พืน้ ท่ี 28.8 57.6 (สาํ นกั ผงั เมอื ง) เหมาะสม และสง่ เสริม ราม-วัดหงส์รตั นาราม 4 การเรยี นรู้แกส่ าธารณะ 4 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พนื้ ที่ - จดั กระบวนการมีส่วนร่วม 8 แห่ง 0.2 0.8 - กรงุ เทพมหานคร 0.80 √ √ √ 3 สาธารณะระดับกลุ่มชมุ ชนภายใน - ปรบั ปรุงพ้ืนทสี่ าธารณะระดบั กล่มุ ชุมชน บรเิ วณ แหง่ 4.8 19.2 (สํานกั ผงั เมอื ง) 19.20 ศาสนสถาน ปากคลองบางกอกนอ้ ย วัดระฆังโฆสติ าราม วัดเครอื วัลย์ วัดหงส์รัตนาราม - ศาสนสถานเจา้ ของ 24.00 - พฒั นาพ้นื ทีส่ าธารณะจากทีโ่ ลง่ ว่างในชมุ ชน พ้ืนท่ี แห่ง 3.0 24.0 สง่ เสรมิ การต่อยอดภูมิ 7.2 การส่งเสริมใหเ้ กดิ 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ของ - รบั สมัครชมุ ชนหรือผู้ประกอบการภายในชุมชนที่ ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ √ 3 ปญั ญาและการสรา้ ง เศรษฐกิจชุมชน ผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชน* สนใจในการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ แบง่ พื้นท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานกั พัฒนาสงั คม) ตอ่ เนอ่ื ง เศรษฐกิจชุมชน - อบรม และสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพอ่ื พัฒนา ผลติ ภณั ฑ์ร่วมกับผู้เช่ยี วชาญ 7.2.2 โครงการส่งเสริมให้เกิด - รับสมัครผ้ปู ระกอบการทม่ี คี วามพร้อมในพื้นท่ี ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - สาํ นักงานส่งเสริม การดําเนนิ การ √ √ 3 ผู้ประกอบการดิจทิ ัล* เพ่ือรบั การอบรม และใหค้ วามชว่ ยเหลือโดย แบง่ พื้นที่ แบ่งพนื้ ที่ เศรษฐกิจดจิ ิทลั ตอ่ เนื่อง ผเู้ ชี่ยวชาญ - อบรม และสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการเพ่มิ ทักษะของ ผูป้ ระกอบการในการเปน็ ผู้ประกอบการดิจทิ ัล - พัฒนาเวบ็ ท่า (Portal web) เพอื่ สง่ เสรมิ การค้า ดจิ ทิ ัลในระดับย่านตา่ ง ๆ สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

4-66 แผนผังแม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพฒั นา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดับความ หมาย จํานวน หน่วย (ล้านบาท) ปที ่ี ปีที่ ปที ี่ สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ 1-5 6-10 11-15 3 การดําเนินการ √ 2 (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) - กรงุ เทพมหานคร ตอ่ เน่อื ง 2 (สํานักวัฒนธรรม กีฬา √ 8 ด้านการทอ่ งเทย่ี ว เพ่ิมคณุ คา่ และความ 8.1 การปรบั ปรุงแหลง่ 8.1.1 โครงการปรบั ปรุงอปุ กรณ์ - ศกึ ษาและจัดทาํ รายละเอยี ดข้อมลู แหลง่ ท่องเที่ยว ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - และการท่องเท่ยี ว) 1.00 3 หลากหลายทางการ ทอ่ งเที่ยว ส่ือสารขอ้ มูลแหล่งทอ่ งเท่ียว* วัดอรณุ ราชวราราม พระราชวงั เดมิ แบง่ พนื้ ที่ - กรุงเทพมหานคร 20.00 √√√ 2 ท่องเท่ียว - ติดตง้ั ป้ายข้อมูล แหง่ แบง่ พ้นื ที่ (สํานักวัฒนธรรม กีฬา 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งขอ้ มลู 2 แหง่ และการทอ่ งเทีย่ ว) 7.50 √√ 3 วถิ ชี ุมชน - ออกแบบและพัฒนาขอ้ มลู 2 ครั้ง 0.5 1.0 - การท่องเท่ียวแหง่ - พฒั นาและให้บริการศูนย์ข้อมูลการท่องเทีย่ ว ครงั้ 10.0 20.0 ประเทศไทย 225.00 8.1.3 โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ชุมชน 15 - กรงุ เทพมหานคร การทอ่ งเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม 0.5 7.5 (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา การดําเนนิ การ - สนับสนนุ การประชาสัมพันธก์ ารจัดกิจกรรมการ 15 และการทอ่ งเทีย่ ว) ต่อเนอื่ ง ท่องเท่ยี ว 15.0 225.0 - กรงุ เทพมหานคร - จัดงานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพเิ ศษใน (สาํ นกั วฒั นธรรม กีฬา พน้ื ที่วงั เดมิ -วังหลงั และการท่องเท่ยี ว) พัฒนาระบบการให้ขอ้ มูล 8.2 การพฒั นาเสน้ ทาง 8.2.1 โครงการปรับปรงุ สถานท่ีและ - ศกึ ษาและออกแบบจุดให้ข้อมลู การท่องเทย่ี วและ ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - และเพ่ิมสิ่งอํานวยความ การทอ่ งเทย่ี ว อปุ กรณใ์ ห้ข้อมูลเส้นทางการ ป้ายขอ้ มูลเส้นทางการท่องเที่ยว แบง่ พ้นื ที่ - แบ่งพืน้ ที่ สะดวกนักท่องเที่ยว ท่องเทีย่ ว* - ติดตัง้ จดุ ให้ขอ้ มูลการทอ่ งเทยี่ วและปา้ ยข้อมลู เสน้ ทางท่องเทีย่ ว ไมม่ กี าร พื้นที่ 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทแี่ ละ แบ่งพ้นื ที่ พืน้ ที่ ไม่มกี าร - - การท่องเทยี่ วแห่ง การดําเนนิ การ √ ระบบออนไลนเ์ พื่อใหข้ ้อมูลการ - จดั ทาํ แผนทแ่ี สดงข้อมูลเสน้ ทางท่องเท่ียวทส่ี าํ คญั ทอ่ งเทยี่ ว* ในกรงุ รตั นโกสนิ ทร์และพนื้ ท่ีต่อเน่อื ง 1 แบง่ พนื้ ที่ ประเทศไทย ตอ่ เนอ่ื ง - จดั ทําระบบออนไลนเ์ พ่ือประชาสัมพันธ์ ให้ขอ้ มูล 1 ยกระดับมาตรฐานแหล่ง 8.3 การพฒั นาแหล่งทีพ่ ัก 8.3.1 โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนา แหล่งทอ่ งเที่ยวและเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนท่ี 0.4 0.4 - กรุงเทพมหานคร 0.40 √ พกั ท่ีพกั นักท่องเทีย่ ว นกั ทอ่ งเที่ยวให้ได้ แหล่งที่พักนักทอ่ งเทยี่ วใหไ้ ด้ - ปรับปรงุ ฐานขอ้ มูล แผนท่ี ระบบออนไลน์ให้มี (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา ขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและทนั สมยั มาตรฐาน มาตรฐาน 9.6 9.6 และการทอ่ งเท่ียว) 9.60 - ศกึ ษาและจัดทําแนวทางการพัฒนาปรับปรงุ แหลง่ ทพี่ กั นักทอ่ งเทีย่ ว - สนับสนนุ การพฒั นาแหล่งทพี่ ักนกั ท่องเทีย่ ว รวม 1,025.23 * โครงการทม่ี ีการดําเนินการตอ่ เน่อื งกันหลายพ้ืนท่ี ดูรายละเอียดในหน้า 4-3 - 4-4 สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 4-67 4.2.7 บริเวณวัดดุสดิ าราม-บางยข่ี ัน 1) ขอบเขตพ้นื ที่ จดซอยจรญั สนทิ วงศ์ 44 และเสน้ ตรงทีล่ ากต่อออกไปจนบรรจบกับกึ่งกลางแม่นา้ํ เจา้ พระยา ทศิ เหนอื จดแนวก่งึ กลางแมน่ ้าํ เจ้าพระยา ทศิ ตะวันออก จดแนวกง่ึ กลางคลองบางกอกนอ้ ย ทศิ ตะวนั ใต้ จดจุดตัดของถนนอิสรภาพฝ่ังตะวันตกและถนนสุทธาวาส และแนวเส้นตรงที่ลากจากจุด ทศิ ตะวันตก ดังกล่าวผ่านจุดตัดของถนนอรุณอัมรินทร์ฝั่งตะวันตกกับถนนบรมราชชนนีไปจนบรรจบกับ ซอยจรัญสนิทวงศ์ 44 2) ความสาํ คญั บริเวณวัดดุสิดาราม-บางย่ีขันต้ังอยู่บริเวณคลองบางกอกน้อย คลองสายน้ี คือ แม่น้ําเจ้าพระยาสายเดิมก่อนการตัดคลอง ลัดในสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา เม่ือคลองลัดท่ีตัดมีขนาดใหญ่ข้ึนจึงกลายเป็นแม่นํ้าเจ้าพระยาในปัจจุบัน ขณะที่แม่นํ้าสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ่ ตลอดจนมีลําคลองสาขาแตกออกไป มากมาย พื้นท่ีบริเวณนี้มีวัดเก่าท่ีสําคัญ คือ วัดดุสิดาราม วัดดาวดึงษาราม วัดจตุรมิตรประดิษฐาราม วัดพระยาศิริไอยสวรรค์ วัดบางยี่ขัน และมีมรดกทางวัฒนธรรมท่ีโดดเด่นเก่ียวข้องกับโบราณราชประเพณี คือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ซึ่ง เปน็ สถานทเ่ี ก็บและดูแลเรือพระราชพิธีภายใตก้ ารดูแลของกองทพั เรือ รวมทั้งมชี ุมชนเกา่ ท่ีมีความหลากหลายทางศาสนาอยรู่ ่วมกัน อันเป็นลักษณะเด่นของชุมชนริมแม่น้ําเจ้าพระยาในฝั่งธนบุรี เช่น ชุมชนวัดดุสิตาราม และชุมชนมัสยิดหลวงอันซอริซซุนนะห์ เป็น ต้น นอกจากน้ี พ้ืนท่ีบางย่ีขันเคยเป็นที่ต้ังโรงงานผลิตสุราท่ีรู้จักกันในนาม โรงสุราบางย่ีขัน มีรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ตั้งอยู่ บรเิ วณเชงิ สะพานพระราม 8 สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4-68 แผนผังแมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา 3) สรุปสถานการณป์ จั จุบัน 5) แหลง่ มรดกที่สําคญั บริเวณวัดดุสิดาราม-บางยี่ขันถูกปิดล้อมด้วยถนนขนาดใหญ่และแม่น้ําเจ้าพระยา การเข้าถึงพื้นที่ชุมชนและโบราณสถาน บรเิ วณวดั ดุสิดาราม-บางยี่ขนั มีแหลง่ มรดกท่สี าํ คญั ดังแสดงในภาพท่ี 4-20 รวมถงึ มรดกวฒั นธรรมต่าง ๆ ทอี่ ยูร่ ิมแมน่ ํ้าและริมคลองจึงทาํ ได้ลาํ บาก ตอ้ งเข้าถงึ จากทางเรอื หรอื ตอ้ งอาศัยเส้นทางลดั เลาะเขา้ ไปใน เสน้ ทางที่อยูใ่ นชุมชนเปน็ หลัก 4) ศักยภาพพื้นที่ บริเวณวัดดุสิดาราม-บางย่ีขันมีพ้ืนท่ีท่ีมีศักยภาพ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ กล่าวคือ บริเวณปากคลองบางกอกน้อยและ บรเิ วณเชิงสะพานพระราม 8 (1) บริเวณปากคลองบางกอกน้อยเป็นท่ีตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี โดยฝั่งตรงข้ามคือพ้ืนท่ีของ โรงพยาบาลศิริราช ต่อเน่ืองกับท่าเรือศิริราช พื้นท่ีวังหลัง และสถานีรถไฟธนบุรี ในอนาคตจะมีสถานีศิริราชช่วย เพ่มิ ศกั ยภาพในการเข้าถึงจากสว่ นอื่น ๆ รวมถึงเป็นส่วนทเ่ี พม่ิ เสน่หเ์ ชงิ วฒั นธรรมให้กับพื้นที่ใกลเ้ คียง (2) บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 มีความโดดเด่นทางสถาปัตยกรรมในการเป็นท่ีหมายตา ลานหน้าโรงสุราบางยี่ขัน เป็นพื้นที่เปิดโล่งขนาดใหญ่อยู่ริมแม่น้ํา สามารถพัฒนาให้เป็นพื้นที่กิจกรรมทางวัฒนธรรมท่ีสําคัญท่ีอยู่ริมแม่นํ้า เจ้าพระยาได้ในอนาคต ในอนาคตจะมีสถานีบางยี่ขันบนเส้นทางต่อขยายเส้นทางรถไฟฟ้าสายสนี ้ําเงนิ จากบางซื่อ จนถึงทา่ พระ รวมถงึ สถานีบางขนุ พรหมบนเสน้ ทางรถไฟฟ้าสายสีส้ม ทาํ ให้การเขา้ ถงึ มคี วามสะดวกมากขน้ึ ภาพท่ี 4-20 แหลง่ มรดกที่สําคญั บริเวณวัดดุสดิ าราม-บางยี่ขัน สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษ์และพฒั นา 4-69 ภาพที่ 4-21 แนวคิดในการอนรุ กั ษ์และพัฒนาบริเวณวัดดสุ ิดาราม-บางยี่ขนั 6) แนวคิดในการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา แนวคิดหลักในการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณวัดดุสิดาราม-บางยี่ขัน คือ การเช่ือมต่อพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธีกับพ้ืนท่ีโดยรอบจนถึงพื้นท่ีสถานีศิริราช การขึ้นทะเบียนแหล่งโบราณสถานสําคัญโดยเฉพาะอย่างย่ิงคลอง บางกอกน้อย แมน่ ํา้ เจ้าพระยา และวัดสาํ คัญต่าง ๆ ร่วมกบั การปรบั ปรุงพืน้ ท่ชี ุมชน 7) การดาํ เนินการเพอื่ การอนรุ กั ษ์และพฒั นา การดําเนินการอนุรักษ์และพฒั นาพ้ืนที่มรดกวัฒนธรรมวัดดุสิดาราม-บางย่ขี ัน แบ่งเปน็ 2 สว่ นคือ พ้ืนที่บริเวณวัดดุสิดาราม- พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เรือพระราชพิธี และบริเวณโรงสุราบางยี่ขัน พ้ืนท่ีบริเวณวัดดุสิดาราม มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธีเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายสําคัญในการอนุรักษ์และพัฒนา จงึ ดาํ เนินการเป็น 2 ประเด็น ดงั น้ี (1) การรักษาสภาพและบรรยากาศของชุมชนริมแม่นํ้า โดยการออกแบบพื้นท่ีเปิดโล่งให้มีเอกลักษณ์ของการเป็น ชุมชนเก่า พร้อมกับการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการในพ้ืนที่ชุมชน การป้องกันอัคคีภัย การป้องกันน้ําท่วมและการบําบัดน้ําเสีย การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และศูนย์ชุมชนที่มีความสอดคล้องกับการมี พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพธิ อี ยู่ในพน้ื ที่ (2) การเชือ่ มโยงการสัญจรทกุ รูปแบบ โดยการเพ่ิมการเขา้ ถงึ จากเสน้ ทางหลัก เชน่ การพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงจาก ถนนอรณุ อัมรินทร์ผ่านเข้ามาทางวัดดุสิดาราม การพัฒนาเส้นทางการสัญจรดว้ ยเท้าและทางจักรยาน การพัฒนา ทางเดินริมน้ํา การเพ่มิ ทา่ เรอื บริเวณเชงิ สะพานสมเด็จพระปิ่นเกลา้ ฝ่ังพระนครเพ่อื เช่ือมกับสถานีสนามหลวง บรเิ วณเชงิ สะพานพระราม 8 การดาํ เนินการเพอ่ื การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณน้แี บง่ เป็น 2 ประเด็น ดงั นี้ (1) การปรับภมู ิทศั นใ์ หเ้ หมาะสมกับการเป็นพ้ืนท่ีจดั กจิ กรรมเชงิ วฒั นธรรมริมแมน่ ้ําเจ้าพระยา รวมทงั้ จัดทําแผนการ พฒั นาภมู ทิ ัศนแ์ ละการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินของรัฐริมแม่นํา้ ใหช้ ดั เจนและครอบคลุมท้ังพืน้ ทวี่ างผัง (2) การสํารวจและปรบั ปรุงระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการในพื้นที่ ภาพที่ 4-22 ผงั รายละเอียดการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาบรเิ วณวัดดุสดิ าราม-บางย่ขี ัน สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

4-70 แผนผงั แม่บทการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา 8) แผนงานและโครงการ บริเวณวัดดสุ ดิ าราม-บางยี่ขัน สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษ์และพัฒนา 4-71 ยทุ ธศาสตร์ 1 ด้านมรดกวฒั นธรรม อา้ งองิ หน้า ยุทธศาสตร์ 5 ดา้ นสาธารณปู โภค อ้างองิ หนา้ 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคุ้มครองแมน่ ํ้าเจ้าพระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปอ้ งกนั น้ําทว่ ม 3-42 3-8 3-43 การค้มุ ครองและบูรณปฏิสงั ขรณ์ 1.1.2 โครงการบูรณปฏสิ ังขรณแ์ หล่งมรดกสาํ คัญ 3-9 การปอ้ งกนั นาํ้ ท่วมและปรบั ปรงุ 5.1.2 โครงการฟ้ืนฟรู ะบบคูคลอง และปรบั ปรงุ คุณภาพน้ํา 3-44 3-10 3-45 แหลง่ มรดก 1.1.3 โครงการบรู ณปฏสิ ังขรณโ์ บราณสถานในพ้ืนทีก่ รุงรตั นโกสนิ ทร์ คณุ ภาพน้ํา 5.1.3 โครงการปรับปรงุ ระบบการระบายนํา้ 3-11 อา้ งอิงหนา้ 1.1.4 โครงการขึน้ ทะเบียนโบราณสถานทย่ี ังไม่ไดร้ บั การข้ึนทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา้ และสายส่ือสารลงใตด้ ิน 3-48 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบียนแหล่งมรดกทอ้ งถิ่น และสนบั สนุนการบรู ณปฏสิ ังขรณ์ การปรบั ปรงุ โครงสร้างพืน้ ฐาน 5.2.2 โครงการจดั ต้ังศูนยป์ ระสานงานและข้อมูล และพฒั นาเครือข่ายระบบ 3-49 แหลง่ มรดกท้องถ่นิ ของระบบสาธารณูปโภค สารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสบื สานฟน้ื ฟขู นบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลทอ้ งถิ่น 3-51 การส่งเสริมฟืน้ ฟูวถิ ีวัฒนธรรม 1.2.2 โครงการฟืน้ ฟภู มู ิปญั ญาท้องถิ่น วฒั นธรรมอาหาร นาฏศิลป์ และหตั ถศิลป์ ยุทธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อา้ งอิงหนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วัดและโรงเรยี นเป็นศูนย์บรกิ ารครบวงจรแก่ผู้สูงอายแุ ละ 3-55 ยุทธศาสตร์ 2 ด้านการใช้ทดี่ ิน อา้ งองิ หนา้ การปรับปรงุ การใหบ้ รกิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแก้ไขปรับปรุงแผนผังข้อกําหนดและมาตรการตามกฎหมายผงั เมอื ง 3-16 สาธารณูปการ 6.1.2 โครงการเพ่มิ ประโยชนก์ ารใช้สอยโรงเรียนเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ศูนยฝ์ กึ อาชีพ 3-17 อ้างอิงหน้า การปรับปรุงมาตรการควบคมุ 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรับปรุงขอ้ บัญญัติกรุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคมุ อาคาร 3-18 และพ้นื ท่ีกจิ กรรมสนั ทนาการ 3-61 3-62 การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการคุม้ ครองสิ่งแวดล้อมศลิ ปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรยี นเป็นทพ่ี ักยามภยั พบิ ัติและภาวะฉุกเฉิน 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จดั ทํา และดาํ เนินการให้เปน็ ไปตามผังเมืองเฉพาะ บริเวณริมฝั่ง การเตรียมพร้อมสาธารณปู การ 3-65 3-66 การวาง จัดทํา และดําเนนิ การให้ แม่นา้ํ เจา้ พระยา เพ่อื รองรับยามภัยพบิ ตั ิและภาวะ 6.2.2 โครงการตดิ ตั้งอุปกรณ์เพ่ือความปลอดภยั ของชุมชน 3-67 เป็นไปตามผงั เมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จัดทํา และดาํ เนินการให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ ในพื้นที่ ฉุกเฉิน เปลีย่ นถ่ายการสัญจรโดยรอบสถานรี ถไฟฟา้ ยุทธศาสตร์ 7 ดา้ นกายภาพและวิถีชมุ ชน ยุทธศาสตร์ 3 ด้านภูมทิ ศั น์ อา้ งอิงหน้า แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มการอยู่อาศยั ในกลุ่มชุมชนท่สี าํ คัญ แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรับปรุงภูมทิ ศั น์โดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรบั ปรุงสภาพแวดล้อม 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พ้นื ท่ีสาธารณะระดับกลุม่ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน การปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นเ์ มอื ง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ในโครงสรา้ งทัศนภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภมู ิทัศน์ในแนวแมน่ ํ้าเจา้ พระยาและแนวคลองสาํ คัญ 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรับปรุงพ้ืนท่โี ล่งสาธารณะ 3-26 การบริหารจัดการภมู ทิ ัศนเ์ มอื ง 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ่ งสว่างอาคารสําคัญ และพ้นื ที่สาธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภัณฑข์ องผู้ประกอบการภายในชมุ ชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแลรกั ษาต้นไมใ้ หญ่ 3-28 การส่งเสริมเศรษฐกิจชมุ ชน 7.2.2 โครงการส่งเสริมให้เกิดผปู้ ระกอบการดิจิทลั ยุทธศาสตร์ 8 ดา้ นการท่องเท่ียว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรุงอุปกรณ์สื่อสารข้อมูลแหล่งทอ่ งเทย่ี ว การปรบั ปรุงแหล่งทอ่ งเทย่ี ว 8.1.2 โครงการพฒั นาแหลง่ ขอ้ มลู วิถีชุมชน ยุทธศาสตร์ 4 ด้านการจราจร อ้างองิ หน้า 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมการทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการสง่ เสริมการเชอ่ื มต่อยานพาหนะตา่ งประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจดั ระเบยี บพื้นทที่ ่องเที่ยว 3-34 การเชื่อมโยงโครงขา่ ยการสัญจร 4.1.2 โครงการทดแทนทีจ่ อดรถบนพน้ื ผิวจราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรับปรุงสถานท่ีและอุปกรณใ์ ห้ขอ้ มูลเสน้ ทางการท่องเที่ยว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจํากัดการสัญจรในบริเวณกรุงรตั นโกสินทร์ชั้นใน การพฒั นาเส้นทางการท่องเท่ยี ว 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนทแ่ี ละระบบออนไลนเ์ พ่ือให้ข้อมูลการท่องเท่ยี ว 3-37 การสนบั สนุนการเดนิ เทา้ และ 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใช้ขนส่งมวลชนเพอื่ ลดการใช้ยานพาหนะสว่ นบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการส่งเสริมการพัฒนาแหลง่ ที่พักนกั ท่องเท่ยี วใหไ้ ด้มาตรฐาน การใช้จักรยาน 4.2.3 โครงการเก็บค่าธรรมเนยี มการเขา้ บรเิ วณกรุงรัตนโกสินทร์ชน้ั นอกด้วย การพัฒนาแหล่งที่พกั ยานพาหนะส่วนบคุ คล นักท่องเท่ียวใหไ้ ดม้ าตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกจิ การออกแบบ พัฒนาและ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรบั ปรุงทา่ เรอื โครงการท่ีแรเงา หมายถงึ โครงการทไี่ ม่ได้ดาํ เนินการในพืน้ ท่ี 7 บรเิ วณวัดดสุ ดิ าราม-บางยี่ขนั ปรบั ปรงุ จุดเปลยี่ นถา่ ยการสญั จร สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

4-72 แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรกั ษ์และพฒั นา 9) รายละเอียด ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงานและโครงการบริเวณวัดดสุ ิดาราม-บางยี่ขัน ตารางที่ 4-8 รายละเอียด ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงานและโครงการบริเวณวัดดสุ ิดาราม-บางยข่ี ัน ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดับความ หมาย (ล้านบาท) สําคัญ เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ จํานวน หน่วย หนว่ ยละ จํานวนเงนิ หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ ปที ี่ ปีที่ ปที ่ี - กรมศลิ ปากร การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 1 (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) ต่อเนื่อง √ 1 ด้านมรดก บํารุงรักษา และคมุ้ ครอง 1.1 การคมุ้ ครองและ 1.1.1 โครงการค้มุ ครองแมน่ า้ํ - สาํ รวจและจดั ทาํ แผนที่เพ่อื กําหนดบริเวณทจ่ี ะขนึ้ ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - วัฒนธรรม แหล่งมรดกสาํ คญั และ บรู ณปฏิสงั ขรณ์แหล่ง เจา้ พระยา* ทะเบียนโบราณสถานแมน่ ้าํ เจ้าพระยา โดยเนน้ ชว่ ง แบง่ พน้ื ที่ แบ่งพืน้ ที่ จัดทํามาตรการสนับสนุน มรดก ระหว่างคลองบางกอกนอ้ ยและคลองบางกอกใหญ่ การฟน้ื ฟูแหล่งมรดก - กําหนดพน้ื ทีแ่ ละประกาศขน้ึ ทะเบียน โบราณสถานแมน่ ํา้ เจา้ พระยา 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสงั ขรณ์ - สาํ รวจและกาํ หนดลาํ ดบั ความจาํ เป็นเรง่ ด่วน 3 แห่ง 1.0 3.0 - กรมศลิ ปากร 3.00 √ √ √ 2 โบราณสถานในพน้ื ท่ี - บรู ณปฏิสังขรณโ์ บราณสถาน 3 แหง่ 3 แห่ง 24.0 72.0 72.00 2 กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ - ศกึ ษาและกาํ หนดลําดบั ความสําคัญ ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - - กรมศลิ ปากร การดาํ เนนิ การ √ √ √ 1.1.4 โครงการข้นึ ทะเบยี นโบราณ - ขึ้นทะเบยี นโบราณสถานทยี่ ังไม่ไดข้ น้ึ ทะเบยี น ตอ่ เนื่อง สถานทย่ี ังไม่ไดร้ ับการข้นึ ทะเบยี น* แบง่ พน้ื ที่ แบ่งพื้นที่ 1.1.5 โครงการจัดทําทะเบียนแหล่ง - ศกึ ษาและกาํ หนดลาํ ดับความสาํ คญั ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ √ 1 มรดกท้องถ่นิ และสนบั สนุนการ - จัดทาํ เกณฑก์ ารขนึ้ ทะเบียนแหลง่ มรดก แต่งตง้ั แบง่ พ้นื ที่ แบง่ พื้นท่ี (สาํ นกั ผงั เมือง) ต่อเน่อื ง บูรณปฏิสงั ขรณ์แหลง่ มรดกท้องถ่ิน* คณะกรรมการผทู้ รงคุณวุฒพิ ิจารณาการข้ึน ทะเบียนและอนุมัติงบประมาณสนับสนนุ การบูรณะ ฟนื้ ฟูแหลง่ มรดกท้องถิน่ จดั ทํามาตรการสนับสนนุ 1.2 การสง่ เสรมิ ฟื้นฟูวิถี 1.2.1 โครงการสืบสานฟ้นื ฟู - กาํ หนดหลักเกณฑ์และจัดตงั้ กรรมการพจิ ารณา ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 3 1 การฟื้นฟูแหลง่ มรดกท่ี วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ สนบั สนนุ งบประมาณ แบง่ พืน้ ที่ แบง่ พื้นที่ (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา ต่อเน่อื ง เปน็ วถิ วี ฒั นธรรม เทศกาลทอ้ งถ่ิน* และการท่องเที่ยว) 2 ดา้ นการใชท้ ีด่ ิน ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรับปรุง 2.1.1 โครงการแก้ไขปรับปรงุ - วางและจดั ทําแผนผงั และขอ้ กําหนดการใช้ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ ทีด่ นิ โดยเครือ่ งมอื ทางผัง มาตรการควบคุมการใช้ แผนผังข้อกําหนดและมาตรการตาม ประโยชนท์ ดี่ นิ ของผงั เมอื งรวมกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ แบง่ พื้นที่ (สํานักผังเมอื ง) ต่อเน่ือง เมือง ประโยชน์ทีด่ ินและอาคาร กฎหมายผงั เมอื ง* (ปรบั ปรุงครัง้ ที่ 4) - ดาํ เนนิ การประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บงั คบั ผัง เมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 4) โดย อาศยั อาํ นาจแหง่ พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรบั ปรงุ - แกไ้ ขปรบั ปรุงขอ้ บญั ญัตกิ รุงเทพมหานคร เพ่ือ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 1 ขอ้ บัญญตั กิ รุงเทพมหานครตาม การควบคุมแบบซ้อนทบั (Overlay Control) โดย แบ่งพืน้ ที่ แบ่งพ้นื ที่ (สาํ นกั ผงั เมอื ง) ตอ่ เนือ่ ง กฎหมายควบคมุ อาคาร* อาศยั อาํ นาจแห่งกฎหมายควบคุมอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการ - จดั ทาํ มาตรการคมุ้ ครองสงิ่ แวดล้อมศิลปกรรมเพ่ือ ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - สํานกั งานนโยบายและ การดาํ เนินการ √ 2 ค้มุ ครองสง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม* การอนุรักษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ แบง่ พ้ืนท่ี แบ่งพ้ืนที่ แผนทรพั ยากรธรรมชาติ ตอ่ เนอ่ื ง - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคบั และสิ่งแวดล้อม มาตรการคมุ้ ครองส่ิงแวดล้อมศิลปกรรมเพอ่ื การ อนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอาศยั อํานาจแหง่ กฎหมายสิง่ แวดล้อม สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 4-73 ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดับความ หมาย จํานวน หน่วย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนนิ การ หน่วยละ จํานวนเงิน หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ ปีท่ี ปีที่ ปที ี่ 3 ด้านภมู ทิ ัศน์ การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 1 (ล้านบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร ต่อเน่อื ง (สาํ นกั การระบายน้ํา / √ ขบั เน้นการรับรู้โครงสร้าง 3.1 การปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์ 3.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั น์ใน - สํารวจ ออกแบบ และปรับปรงุ พืน้ ทร่ี ิมแมน่ ํ้า ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - สํานกั ผงั เมอื ง / สาํ นัก ของกรุงรัตนโกสินทร์ เมอื ง แนวแมน่ ํา้ เจ้าพระยาและแนวคลอง เจา้ พระยา (ช่วงซอยจรญั สนทิ วงศ์ 44 ถงึ ปากคลอง แบ่งพนื้ ที่ การโยธา) สําคัญ* บางกอกนอ้ ย) ความยาวประมาณ 1.7 กม. พนื้ ท่ีรมิ แบง่ พื้นที่ คลองบางกอกนอ้ ย (ชว่ งแมน่ ้าํ เจ้าพระยาถึงบรเิ วณ ชุมชนบ้านบ)ุ ความยาวประมาณ 1.0 กม. 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่าง - ติดต้ังระบบและดวงไฟส่องสว่างอาคารสําคญั 2 แห่ง 3.5 7.0 - กรมการทอ่ งเท่ียว 7.00 √ √3 อาคารสําคัญ และพนื้ ทีส่ าธารณะ สะพานพระราม 8 4.3 - กรงุ เทพมหานคร 65.79 √ พระบรมราชานสุ าวรยี ์รัชกาลท่ี 8 รวม 2 จุด (สํานักการโยธา / สํานัก - ตดิ ต้งั ไฟส่องสว่างสาธารณะ ย่านวัดดุสิดาราม-บางยี่ ขัน ตามแนวถนนอรุณอมรนิ ทร์ 0.8 กม. ถนนสมเดจ็ กม. 15.3 65.79 วัฒนธรรม กีฬา และ พระป่ินเกลา้ 0.8 กม. ริมแมน่ ้ําเจา้ พระยา 1.7 กม. การทอ่ งเทีย่ ว) รมิ คลองบางกอกน้อย 1.0 กม. ระยะทางรวม 4.3 กม. เสรมิ สรา้ งส่งิ แวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จดั ตง้ั หนว่ ยงานด้านรกุ ขกรรมเพ่ือดูแลต้นไม้ ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ 3 และเพิม่ ศกั ยภาพของ ภมู ิทัศน์เมือง รกั ษาต้นไม้ใหญ*่ โดยเฉพาะ แบง่ พ้ืนท่ี แบง่ พน้ื ที่ (สาํ นกั ส่งิ แวดล้อม) ตอ่ เน่ือง ผู้ปฏิบัติงานด้านภูมทิ ศั น์ - จัดตง้ั หน่วยงานบริการเพ่ือสนับสนนุ การดแู ล ต้นไมใ้ หญข่ องภาครัฐและภาคเอกชน 4 ด้านการจราจร เชอ่ื มโยงโครงข่ายการ 4.1 การเชื่อมโยง 4.1.2 โครงการทดแทนทีจ่ อดรถบน - พฒั นาพน้ื ท่ีจอดรถรวมท้งั ในพ้นื ทขี่ องรฐั และ ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ 1 2 สัญจรอย่างเป็นระบบ โครงข่ายการสัญจร พน้ื ผิวจราจร* เอกชน แบ่งพื้นที่ แบ่งพื้นที่ (สาํ นกั การจราจรและ ตอ่ เนอ่ื ง 2 ขนสง่ ) - ผทู้ รงสิทธใิ นพ้ืนที่ สง่ เสริมการสัญจรที่เป็น 4.2 การสนบั สนนุ การเดนิ 4.2.2 โครงการสง่ เสริมการใชข้ นสง่ - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคล้องกบั ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ มใน เท้าและการใชจ้ ักรยาน มวลชนเพอื่ ลดการใชย้ านพาหนะ การเชอ่ื มโยงทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ แบ่งพ้ืนที่ แบ่งพ้ืนที่ (สํานกั การจราจรและ ตอ่ เนอื่ ง พน้ื ที่กรงุ รตั นโกสินทร์ ส่วนบคุ คล* - คดั เลือกรปู แบบระบบขนสง่ และยานพาหนะที่ ขนส่ง) เหมาะสมกบั ปริมาณผู้โดยสารและบรรยากาศของ พื้นท่ี พฒั นาจุดเปล่ยี นถา่ ยการ 4.3 การออกแบบ พัฒนา 4.3.2 โครงการพัฒนาและปรบั ปรงุ - ปรับปรุงท่าเรือโดยสารในแม่น้าํ เจ้าพระยา 1 ทา่ 3.0 3.0 - กรมเจา้ ท่า 3.00 √ √ สัญจรให้มปี ระสทิ ธิภาพ และปรับปรงุ จดุ เปล่ยี น ทา่ เรอื เชอ่ื มโยงกับการใช้ ถา่ ยการสัญจร ประโยชนท์ ด่ี นิ 5 ด้าน ปรับปรงุ สาธารณูปโภค 5.1 การป้องกันนาํ้ ทว่ ม 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวป้องกันนํ้า - ปรับปรุงจดุ เชื่อมตอ่ สาํ คญั ใหเ้ ป็นกําแพงทีเ่ ปิดได้ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ 2 สาธารณูปโภค พื้นฐานให้มปี ระสิทธิภาพ และปรับปรุงคณุ ภาพนํา้ ทว่ ม* ในเวลาปกติ และปิดเพ่ือปอ้ งกนั นา้ํ ท่วมได้โดยไม่ แบ่งพน้ื ท่ี แบง่ พนื้ ท่ี (สาํ นักการระบายนํ้า) ตอ่ เนอื่ ง และอเนกประโยชน์ ขดั ขวางทศั นวสิ ยั และมุมมองระหว่างแมน่ ้ําและ เมอื ง - ออกแบบแนวกําแพงปอ้ งกนั นาํ้ ท่วม สถานสี ูบนาํ้ ประตนู ํ้า และบ่อสูบนํา้ เป็นพิเศษ ใหส้ ามารถปรับใช้ เป็นพ้นื ทกี่ ิจกรรมริมนา้ํ ขับเนน้ อัตลกั ษณข์ องพืน้ ที่ สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

4-74 แผนผงั แมบ่ ทการอนุรักษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพัฒนา ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย (ล้านบาท) สาํ คญั เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ปีที่ ปีท่ี ปีท่ี การดําเนนิ การ 1-5 6-10 11-15 2 5 ดา้ น (ล้านบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร ต่อเนอื่ ง สาธารณปู โภค (สํานกั การระบายนํ้า) √ (ต่อ) ปรับปรุงสาธารณปู โภค 5.1 การปอ้ งกันน้ําทว่ ม 5.1.2 โครงการฟ้นื ฟรู ะบบคูคลอง - ฟื้นฟูระบบคู คลอง และปรับปรงุ คณุ ภาพน้าํ คลอง ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - พนื้ ฐานให้มีประสทิ ธิภาพ และปรบั ปรงุ คุณภาพนาํ้ และปรับปรงุ คุณภาพนาํ้ * บางกอกนอ้ ย 1.0 กม. คลองบางยข่ี ัน 0.8 กม. คลอง แบง่ พื้นท่ี และอเนกประโยชน์ (ตอ่ ) ขนมจีน 0.6 กม. ระยะทาง รวม 2.4 กม. แบ่งพน้ื ท่ี (ต่อ) 5.1.3 โครงการปรับปรุงระบบการ - ปรับปรงุ สถานีสูบน้ําคลองบางยี่ขนั 1 แห่ง 20.0 20.0 - กรงุ เทพมหานคร 20.00 √ 2 ระบายนํา้ (สาํ นักการระบายน้ํา) ยกระดับรูปแบบของ 5.2 การปรับปรงุ 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟ้าและสาย - นาํ สายไฟฟ้าและสายส่อื สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ 2 ระบบสาธารณูปโภคให้ โครงสรา้ งพ้นื ฐานของ สอื่ สารลงใตด้ ิน* อรุณอัมรนิ ทร์ 0.8 กม ถนนสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ 0.8 แบง่ พื้นท่ี แบง่ พืน้ ที่ (สํานกั การโยธา) ต่อเนอ่ื ง 3 3 สอดคลอ้ งกบั พื้นท่ี ระบบสาธารณูปโภค กม. ระยะทางรวม 1.6 กม. - การไฟฟ้านครหลวง 3 อนรุ กั ษ์ - บรษิ ทั ทีโอที จํากัด 2 (มหาชน) - บรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) 6 ดา้ น ยกระดับการใช้งาน 6.1 การปรบั ปรุงการ 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วดั และ - ปรับปรุงโรงเรียนวัดดสุ ติ าราม 2 แห่ง 5.0 10.0 - กรุงเทพมหานคร 10.00 √ สาธารณปู การ สาธารณูปการให้ ใหบ้ ริการสาธารณปู การ (สาํ นักพฒั นาสงั คม / สอดคลอ้ งกบั โครงสร้าง โรงเรียนเปน็ ศูนย์บริการครบวงจรแก่ โรงเรียนวัดพระยาศิริไอยสวรรค์ สาํ นักการศึกษา / ประชากรและบรบิ ททาง สํานักงานเขต) สงั คมทเ่ี ปลย่ี นแปลง ผ้สู งู อายแุ ละผดู้ ้อยโอกาส - วดั 6.1.2 โครงการเพิ่มประโยชน์การใช้ - ปรับปรุงพ้ืนทใ่ี นโรงเรียนวัดดุสติ าราม 2 แห่ง 2.0 4.0 - กรุงเทพมหานคร 4.00 √ สอยโรงเรยี นเป็นศูนย์การเรยี นรู้ โรงเรยี นวัดพระยาศิริไอยสวรรค์ (สํานักการศกึ ษา / ศูนยฝ์ กึ อาชพี และพื้นทกี่ ิจกรรม สาํ นกั งานเขต) สันทนาการ - สถานศกึ ษาในสังกดั กรุงเทพมหานคร ปรับปรุงสาธารณปู การ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรยี น - ปรับปรงุ พ้นื ทใี่ นโรงเรยี นวดั ดสุ ติ าราม 2 แหง่ 2.0 4.0 - กรงุ เทพมหานคร 4.00 √ √ เพอื่ รองรับภัยพบิ ัติและ สาธารณปู การเพ่อื รองรับ เปน็ ทพ่ี ักยามภัยพิบัติและภาวะ โรงเรยี นวดั พระยาศิรไิ อยสวรรค์ (สํานักการศกึ ษา / 0.40 √ ภาวะฉกุ เฉนิ ยามภยั พบิ ัติและภาวะ ฉุกเฉิน - ตดิ ต้ังแผนท่ีในชมุ ชน ฉุกเฉิน 40 แห่ง 0.01 0.4 สํานกั ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย / สํานักงานเขต) 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณเ์ พ่อื - ติดตง้ั หัวจ่ายนา้ํ ดับเพลิง ในพ้นื ที่วัดดาวดงึ ษาราม 2 แห่ง 0.1 0.2 - กรุงเทพมหานคร 0.20 √ ความปลอดภัยของชุมชน วัดดสุ ดิ าราม 2 แห่ง 1.0 (สํานกั ป้องกนั และ 2.00 - ตดิ ตั้งกล้องวงจรปิด 2.0 บรรเทาสาธารณภัย / สาํ นกั การจราจรและ ขนส่ง / สํานกั งานเขต) สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพฒั นา 4-75 ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปริมาณ ราคา หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ 7 ดา้ นกายภาพและ ปรบั ปรุงสภาพแวดล้อม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.1 โครงการปรับปรงุ - ศึกษา วางผงั และออกแบบ หนว่ ยละ จํานวนเงนิ - กรุงเทพมหานคร ปที ี่ ปที ี่ ปีท่ี วิถีชมุ ชน ชุมชนให้อยู่รว่ มกับมรดก สภาพแวดล้อมชมุ ชน สภาพแวดล้อมการอยอู่ าศัยในกลุ่ม - ดําเนินการปรับปรุงพื้นท่กี ล่มุ ชุมชนย่าน 1 พ้ืนที่ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (สํานกั ผังเมอื ง) 1.20 1-5 6-10 11-15 2 รูป วฒั นธรรมได้อย่าง ชุมชนที่สาํ คญั วัดดุสดิ าราม 1 พื้นที่ 28.80 ต.ย. 1 เหมาะสม และส่งเสรมิ 1.2 1.2 √ หนา้ การเรียนรู้แกส่ าธารณะ 28.8 28.8 4-70 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พ้ืนท่ี - จดั กระบวนการมีส่วนรว่ ม 2 แหง่ 0.2 0.4 - กรงุ เทพมหานคร 0.40 √ √ √ 3 สาธารณะระดับกลุ่มชุมชนภายใน - ปรบั ปรงุ พ้ืนท่ีสาธารณะระดับกลมุ่ ชุมชน 2 แห่ง 4.8 9.6 (สาํ นกั ผังเมอื ง) 9.60 ศาสนสถาน วดั ดาวดึงษาราม วัดดุสดิ าราม - พฒั นาพนื้ ท่ีสาธารณะจากทโี่ ล่งวา่ งในชุมชน - ศาสนสถานเจ้าของ 12.00 4 แหง่ 3.0 12.0 พื้นท่ี ส่งเสรมิ การต่อยอดภมู ิ 7.2 การสง่ เสริมใหเ้ กิด 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ของ - รบั สมคั รชุมชนหรือผปู้ ระกอบการภายในชุมชนที่ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 3 ปญั ญาและการสรา้ ง เศรษฐกิจชุมชน ผปู้ ระกอบการภายในชุมชน* สนใจในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ แบ่งพ้ืนที่ แบง่ พื้นที่ (สํานักพัฒนาสงั คม) ตอ่ เนื่อง เศรษฐกจิ ชุมชน - อบรม และสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการเพือ่ พัฒนา ผลติ ภณั ฑร์ ่วมกับผเู้ ชีย่ วชาญ 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ใหเ้ กิด - รบั สมัครผูป้ ระกอบการทมี่ คี วามพร้อมในพน้ื ที่ ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - - สํานักงานส่งเสริม การดาํ เนินการ √ √ 3 ผู้ประกอบการดิจทิ ัล* เพ่ือรบั การอบรม และให้ความช่วยเหลือโดย แบ่งพืน้ ท่ี แบ่งพ้ืนที่ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ตอ่ เนื่อง ผู้เชี่ยวชาญ - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพมิ่ ทักษะของ ผ้ปู ระกอบการในการเปน็ ผปู้ ระกอบการดิจิทัล - พฒั นาเวบ็ ทา่ (Portal web) เพ่อื สง่ เสริมการคา้ ดจิ ทิ ัลในระดบั ย่านตา่ ง ๆ 8 ด้านการทอ่ งเที่ยว เพมิ่ คุณค่าและความ 8.1 การปรับปรุงแหลง่ 8.1.1 โครงการปรับปรงุ อปุ กรณ์ - ศกึ ษาและจัดทํารายละเอียดขอ้ มูลแหลง่ ท่องเที่ยว ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ 3 2 หลากหลายทางการ ทอ่ งเที่ยว สือ่ สารขอ้ มูลแหลง่ ท่องเทีย่ ว* พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ เรอื พระราชพิธี วดั ดุสิดา แบง่ พืน้ ท่ี แบ่งพ้นื ที่ (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา ต่อเนอ่ื ง 3 ท่องเท่ียว ราม และการท่องเท่ยี ว) - ตดิ ตง้ั ป้ายขอ้ มูล 8.1.3 โครงการจดั กิจกรรมส่งเสริม - สนับสนุนการประชาสัมพนั ธ์การจัดกิจกรรมการ 15 คร้งั 0.5 7.5 - การท่องเทยี่ วแหง่ 7.50 √ √ √ การท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม ท่องเท่ยี ว 15 ประเทศไทย 225.00 - จัดงานตามเทศกาลประเพณีและเทศกาลพิเศษใน พ้ืนทวี่ ดั ดุสิดาราม-บางยข่ี นั ครั้ง 15.0 225.0 - กรงุ เทพมหานคร (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา และการท่องเท่ียว) พัฒนาระบบการให้ข้อมลู 8.2 การพฒั นาเส้นทาง 8.2.1 โครงการปรับปรุงสถานทแ่ี ละ - ศกึ ษาและออกแบบจดุ ให้ขอ้ มูลการท่องเทยี่ วและ ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ และเพมิ่ สง่ิ อํานวยความ การทอ่ งเท่ียว อปุ กรณ์ให้ข้อมูลเส้นทางการ ปา้ ยขอ้ มูลเส้นทางการท่องเท่ียว แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพน้ื ที่ (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา ต่อเน่ือง สะดวกนกั ท่องเทีย่ ว ท่องเท่ยี ว* - ติดตง้ั จุดให้ขอ้ มลู การทอ่ งเที่ยวและปา้ ยข้อมลู และการท่องเทย่ี ว) เส้นทางท่องเทย่ี ว สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

4-76 แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สําคญั เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ปีที่ ปีท่ี ปที ่ี การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 2 (ล้านบาท) (ล้านบาท) - การท่องเทย่ี วแห่ง ตอ่ เนื่อง ประเทศไทย √ 8 ดา้ นการทอ่ งเท่ียว พฒั นาระบบการให้ข้อมูล 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนท่แี ละ - จัดทาํ แผนท่ีแสดงข้อมูลเสน้ ทางท่องเท่ยี วทส่ี ําคัญ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - (ตอ่ ) และเพิม่ สงิ่ อํานวยความ การทอ่ งเท่ยี ว ระบบออนไลนเ์ พือ่ ให้ขอ้ มลู การ ในกรุงรตั นโกสนิ ทร์และพื้นท่ีตอ่ เนือ่ ง แบง่ พน้ื ที่ สะดวกนักท่องเทยี่ ว (ต่อ) ท่องเที่ยว* - จัดทําระบบออนไลนเ์ พอ่ื ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมลู แบง่ พนื้ ที่ (ตอ่ ) แหล่งท่องเทีย่ วและเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนท่ี พกั - ปรบั ปรุงฐานข้อมูล แผนท่ี ระบบออนไลน์ใหม้ ี ข้อมลู ที่ถกู ต้องและทนั สมยั รวม 475.89 * โครงการทม่ี ีการดําเนินการต่อเน่อื งกนั หลายพนื้ ท่ี ดูรายละเอยี ดในหนา้ 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผังแมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา 4-77 4.2.8 บรเิ วณยา่ นบางขนุ พรหม 1) ขอบเขตพ้ืนที่ จดแนวคลองผดุงกรงุ เกษมฝงั่ ตะวันออก ทิศเหนอื จดแนวกงึ่ กลางถนนประชาธปิ ไตย ทศิ ตะวนั ออก จดแนวกงึ่ กลางคลองรอบกรงุ ทิศใต้ จดแนวกงึ่ กลางแมน่ ้ําเจ้าพระยา ทศิ ตะวนั ตก 2) ความสําคญั บริเวณย่านบางขุนพรหมตั้งอยู่ตอนบนสุดของพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ มีสัณฐานสําคัญ คือ พื้นท่ีปิดล้อมด้วยผืนนํ้าถึง 3 ด้าน คือ แม่นํ้าเจ้าพระยา คลองรอบกรุง และคลองผดุงกรุงเกษม มีถนนตัดผ่าน 2 สาย คือ ถนนสามเสนและถนนวิสุทธิกษัตริย์ การมีถนน 2 สายตัดผ่านกลางย่านบางขุนพรหม ทําให้บริเวณนี้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยแต่ละพื้นที่มีอัตลักษณ์และ ประวตั ศิ าสตร์ รวมถึงวิถีชีวติ ท่หี ลากหลายแตกตา่ งกนั พื้นท่ีแรกบริเวณรอบวังบางขุนพรหมหรือบริเวณธนาคารแห่งประเทศไทยในปัจจุบันต้ังอยู่ริมแม่นํ้าเจ้าพระยา ฝง่ั ตะวันออกติดแนวคลองผดุงกรงุ เกษม นับเปน็ พ้ืนท่ีที่มีความสําคัญเนื่องจากเป็นทต่ี ้ังของวงั ของพระบรมวงศานวุ งศห์ ลายพระองค์ ไดแ้ ก่ วังบางขุนพรหม วงั เทเวศร์ และวงั เทวะเวสม์ - วังบางขุนพรหมในอดีตเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์ วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร วังแห่งน้ีผ่านการเปล่ียนแปลงทางการเมืองมาหลายยุคหลายสมัย จากการที่เป็นวังของเจ้าฟ้าและมี ขนาดใหญ่ตั้งอยู่ริมแม่น้ําเจ้าพระยา จึงเคยรับแขกบ้านแขกเมือง จัดงานสังสรรค์ของพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงการจัดให้ ชาวต่างชาตมิ าสอนความรู้ให้กับพระธิดาและเจ้านายฝา่ ยในในสมยั รัชกาลที่ 5 แต่หลังจากการเปล่ยี นแปลงการปกครอง วงั แหง่ นถ้ี ูก ใช้เป็นที่ต้ังของกรมยุวชนทหาร สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ และหน่วยงานราชการอีกหลายแห่ง รวมถึงเป็นที่ตงั้ ของสถานีโทรทศั น์แห่ง แรกของประเทศ ท่ีรู้จักกันในนาม ช่อง 4 บางขุนพรหม ในปัจจุบันพื้นที่วงั บางขุนพรหมเปน็ ทีต่ ้ังของธนาคารแห่งประเทศไทย ซ่งึ ได้ ผนวกรวมเอาวงั เทวะเวสมเ์ ขา้ ไวด้ ว้ ยกนั - วังเทวะเวสม์หรือวังท่ีประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์ วโรปการ ตั้งอยทู่ างทศิ เหนือของวงั บางขนุ พรหม เคยเป็นท่ตี งั้ ของกระทรวงสาธารณสขุ จนกระท่ังมีการย้ายกระทรวงไปยังทต่ี ้ังแห่ง ใหม่ วงั เทวะเวสมจ์ งึ กลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของธนาคารแห่งประเทศไทยมาจนถงึ ปจั จบุ นั - วังเทเวศร์หรือวังท่ีประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ตั้งอยู่ติดกับ ถนนกรงุ เกษมบริเวณปากคลองผดงุ กรุงเกษมและทา่ นาํ้ เทเวศร์ ทศิ ใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทิศตะวนั ออกติดกบั วัดนรนาถสุนทรกิ าราม ในปจั จุบันวงั แหง่ นบี้ างส่วนไดเ้ ปลย่ี นมอื ไป ในขณะท่บี างส่วนยังเป็นท่ีพํานกั ของทายาทราชสกลุ กติ ิยากร นอกจากนี้ บริเวณเชิงสะพานเทเวศรนฤมิตร ยังมีวัดนรนาถสุนทริการามซ่ึงเป็นวัดริมคลองผดุงกรุงเกษมท่ีถูกปฏิสังขรณ์ ขนึ้ มาใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

4-78 แผนผังแม่บทการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษ์และพฒั นา พื้นที่อีก 3 ส่วนมีแหล่งมรดกสําคัญคือ วัด โบราณสถานท่ียังไม่ได้ข้ึนทะเบียน อาทิ วัดสังเวชวิศยาราม วัดสามพระยา วัด 5) แหล่งมรดกท่ีสําคัญ อินทรวิหาร วัดใหม่อมตรส และวัดเอ่ียมวรนุช โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน คือ วัดตรีทศเทพ เน่ืองจากมีเจดีย์เป็นศาสนสถานสําคัญ บรเิ วณย่านบางขุนพรหมมแี หล่งมรดกทีส่ าํ คัญ ดงั แสดงในภาพท่ี 4-23 และพื้นท่ีชุมชนโดยรอบวัดถือเป็นพื้นท่ีท่ีมีมรดกวิถีชีวิตและงานฝีมือท่ีเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนาท่ีน่าสนใจอยู่มากมาย เช่น งานแทงหยวกในชุมชนวัดใหมอ่ มตรส งานทําดอกไมใ้ ยบวั ในชมุ ชน วดั อินทรวิหาร เป็นตน้ ภาพท่ี 4-23 แหลง่ มรดกทสี่ าํ คัญบริเวณย่านบางขนุ พรหม นอกจากความสําคัญทางประวัติศาสตร์และมรดกวัฒนธรรมแล้ว ในอนาคตบริเวณย่านบางขุนพรหมยังจะเป็นจุดเปล่ียน ถ่ายการสัญจรสําคัญในพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องจากเป็นที่ต้ังของสถานีบางขุนพรหมของรถไฟฟ้าสายสีม่วงส่วนต่อขยาย ซึ่งเช่ือมโยงพ้ืนที่ 3 จังหวัด คือ นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ เส้นทางดังกล่าวประกอบด้วยสถานีที่มีความสัมพันธ์ กับสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร์และการเมืองหลายแห่ง อาทิ รัฐสภาแห่งใหม่ หอสมุดแห่งชาติ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สาม ยอด-วังบูรพา และสะพานพระพุทธยอดฟ้า นอกจากนั้น ยังมีท่าเรือเทเวศร์ซึ่งถือเป็นท่าเรือสําคัญมาแต่เดิมและยังคงมีการใช้งาน จนถึงปัจจุบัน 3) สรปุ สถานการณป์ ัจจบุ ัน ย่านบางขนุ พรหมเคยเป็นย่านการค้าที่รงุ่ เรืองมากอ่ น เมื่อส่วนราชการหลายหน่วยงานถกู ย้ายออกไปจากพ้ืนที่ ทาํ ให้ยา่ นนี้ ซบเซาลงไปพอสมควร ห้างร้านปดิ ตัวลงไปจํานวนหนงึ่ อยา่ งไรกต็ าม การที่พื้นที่แห่งน้ีมีความเงียบสงบเหมาะกับการอยู่อาศัย และ ยังคงมหี น่วยงานราชการอยู่โดยรอบพอสมควร ประกอบกับถนนมีขนาดไม่ใหญ่เกินไป สามารถเข้าถึงไดจ้ ากถนนหลักหลายเส้นทาง ทําให้การเข้าถึงชุมชนมีความสะดวก ย่านบางขุนพรหมจึงยังคงอัตลักษณ์ของย่านที่พักอาศัยเดิมท่ีแวดล้อมไปด้วยวัด วัง โรงเรียน และแหลง่ งานสําหรับผู้ท่ีทาํ งานราชการและงานภาคบรกิ าร 4) ศักยภาพพื้นท่ี พื้นท่ีบางขุนพรหมมีศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยท่ีมีเสน่ห์แบบเมืองเก่า เนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีรอยต่อระหว่าง พื้นท่ีกรุงเทพมหานครชั้นใน เช่น ย่านบางลําพู และพื้นท่ีกรุงเทพมหานครช้ันกลาง เช่น ย่านนางเล้ิง วังศุโขทัย และย่านเกียกกาย ท่ีตั้งของรัฐสภาแห่งใหม่ เมื่อโครงข่ายรถไฟฟ้าก่อสร้างแล้วเสร็จ ย่านบางขุนพรหมน้ีจะถูกเชื่อมต่อกับส่วนอื่น ๆ ของ กรุงเทพมหานคร ส่งผลให้สามารถเข้าถึงจากส่วนต่าง ๆ ทั่วกรุงเทพมหานครได้โดยสะดวก และทําให้บรรยากาศของย่านบางขุน พรหม ยังคงเหมาะสมท่ีจะเป็นย่านที่พักอาศัย โดยเฉพาะสําหรับผู้ที่ทํางานในหน่วยงานราชการ อีกทั้งยังมีกลิ่นอายของความเป็น ย่านอนุรักษ์ และมีแนวโน้มท่ีจะกลายเป็นพื้นที่ท่องเท่ียวสําคัญ เน่ืองจากมีท่ีหมายตาระดับเมือง เช่น สะพานพระราม 8 รวมถึงมี พนื้ ท่รี มิ แมน่ า้ํ และเปน็ ท่ตี ั้งของวังบางขุนพรหม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา 4-79 ภาพท่ี 4-24 แนวคิดในการอนรุ ักษ์และพฒั นาบริเวณยา่ นบางขนุ พรหม 6) แนวคดิ ในการอนุรักษแ์ ละพฒั นา แนวคิดหลักในการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณย่านบางขุนพรหม คือ การสร้างชุมชนที่พักอาศัยช้ันดีในพ้ืนที่อนุรักษ์ โดย ส่งเสริมการเช่ือมต่อการสัญจรระหวา่ งพ้นื ท่ีสาธารณะริมแมน่ ้ําเจ้าพระยา พื้นท่ีบริเวณสถานีรถไฟฟา้ และพ้ืนทใี่ นชุมชนทพี่ กั อาศัย 7) การดําเนินการเพื่อการอนรุ กั ษ์และพฒั นา การอนรุ ักษ์และพฒั นาบริเวณยา่ นบางขุนพรหมใหเ้ ป็นชุมชนทพี่ ักอาศัยช้นั ดี จงึ แบ่งเปน็ 3 ประเด็น ดงั น้ี (1) การส่งเสรมิ และปรับปรุบภูมิทัศน์บริเวณพืน้ ที่หมายตา อาทิ บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 และวังบางขุนพรหม บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร เส้นทางสัญจรจากสถานีรถไฟฟ้าเพ่ือเข้าสู่ย่านชุมชน พื้นท่ีริมนํ้า และท่าเรือ เทเวศร์ (2) การปรับปรุงภูมิทัศน์ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และระบบพื้นที่โล่งในย่านชุมชน โดยเน้น ความสัมพันธ์ระหว่างพ้ืนที่ชุมชน กับพื้นที่ศาสนาสถาน และแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ โดยการพัฒนา พ้ืนที่โล่งของวัดให้เป็นพน้ื ท่ีสาธารณะที่มกี ิจกรรมการใช้งานทางสังคม ท้งั นี้ เพื่อส่งเสรมิ การเป็นยา่ นทพ่ี ักอาศัย ที่มกี ลิน่ อายของยา่ นอนุรักษ์ เพม่ิ พืน้ ที่สีเขียว และสง่ เสรมิ ใหว้ ดั เปน็ ศูนยก์ ลางชุมชนอย่างแทจ้ ริง (3) การจัดทําพื้นที่นําร่องในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมแม่นํ้าเจ้าพระยาและคลองคูเมืองเดิม เพื่อคุ้มครองภูมิทัศน์ ทางวัฒนธรรม รวมทั้งการควบคุม และจัดระเบียบการใช้ที่ดินและส่ิงก่อสร้าง เพ่ือเชื่อมโยงการพัฒนา พ้ืนท่ีรมิ นํา้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การควบคุมสง่ิ ก่อสรา้ งท่ีย่ืนล้ําไปในแมน่ า้ํ เจ้าพระยา ภาพที่ 4-25 ผังรายละเอียดการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาบรเิ วณยา่ นบางขุนพรหม สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

4-80 แผนผังแม่บทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรกั ษ์และพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบรเิ วณ ย่านบางขุนพรหม สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพัฒนา 4-81 ยุทธศาสตร์ 1 ด้านมรดกวฒั นธรรม อา้ งองิ หนา้ ยุทธศาสตร์ 5 ด้านสาธารณปู โภค อ้างอิงหนา้ 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการค้มุ ครองแม่น้าํ เจ้าพระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวป้องกันนํ้าท่วม 3-42 3-8 3-43 การคุ้มครองและบูรณปฏสิ งั ขรณ์ 1.1.2 โครงการบูรณปฏิสงั ขรณแ์ หลง่ มรดกสาํ คญั 3-9 การป้องกันนาํ้ ท่วมและปรบั ปรงุ 5.1.2 โครงการฟืน้ ฟูระบบคูคลอง และปรบั ปรงุ คณุ ภาพนํ้า 3-44 3-10 3-45 แหลง่ มรดก 1.1.3 โครงการบูรณปฏสิ งั ขรณโ์ บราณสถานในพ้ืนที่กรุงรตั นโกสินทร์ คณุ ภาพน้ํา 5.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ระบบการระบายน้าํ 3-11 อ้างองิ หนา้ 1.1.4 โครงการข้นึ ทะเบยี นโบราณสถานที่ยังไม่ได้รบั การข้ึนทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟ้าและสายสื่อสารลงใตด้ ิน 3-48 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบียนแหล่งมรดกท้องถ่นิ และสนับสนนุ การบูรณปฏิสังขรณ์ การปรับปรงุ โครงสร้างพนื้ ฐาน 5.2.2 โครงการจัดต้ังศนู ยป์ ระสานงานและขอ้ มลู และพัฒนาเครอื ขา่ ยระบบ 3-49 แหล่งมรดกทอ้ งถ่ิน ของระบบสาธารณูปโภค สารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสืบสานฟ้นื ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลท้องถิน่ 3-51 การสง่ เสรมิ ฟืน้ ฟวู ถิ ีวฒั นธรรม 1.2.2 โครงการฟนื้ ฟภู ูมปิ ัญญาท้องถ่นิ วัฒนธรรมอาหาร นาฏศิลป์ และหัตถศลิ ป์ ยุทธศาสตร์ 6 ด้านสาธารณปู การ อ้างองิ หนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรบั ปรุงวัดและโรงเรยี นเป็นศูนย์บรกิ ารครบวงจรแกผ่ สู้ งู อายุและ 3-55 ยทุ ธศาสตร์ 2 ดา้ นการใช้ทดี่ ิน อา้ งองิ หนา้ การปรับปรุงการใหบ้ รกิ าร ผ้ดู อ้ ยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแกไ้ ขปรบั ปรุงแผนผังข้อกาํ หนดและมาตรการตามกฎหมายผังเมือง 3-16 สาธารณปู การ 6.1.2 โครงการเพิ่มประโยชน์การใช้สอยโรงเรียนเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพ 3-17 อา้ งอิงหน้า การปรับปรงุ มาตรการควบคุม 2.1.2 โครงการแก้ไขปรับปรงุ ขอ้ บัญญตั ิกรงุ เทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร 3-18 และพ้ืนท่กี จิ กรรมสันทนาการ 3-61 3-62 การใชป้ ระโยชน์ท่ีดินและอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการคุม้ ครองสิง่ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรยี นเปน็ ทีพ่ กั ยามภยั พิบัตแิ ละภาวะฉกุ เฉิน 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จดั ทํา และดาํ เนนิ การให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ บรเิ วณรมิ ฝ่ัง การเตรยี มพร้อมสาธารณปู การ 3-65 3-66 การวาง จัดทาํ และดาํ เนินการให้ แม่นํา้ เจ้าพระยา เพอ่ื รองรับยามภยั พบิ ัตแิ ละภาวะ 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภัยของชุมชน 3-67 เป็นไปตามผงั เมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จัดทาํ และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ ในพื้นท่ี ฉกุ เฉนิ เปลีย่ นถ่ายการสัญจรโดยรอบสถานรี ถไฟฟ้า ยุทธศาสตร์ 7 ดา้ นกายภาพและวิถีชุมชน ยทุ ธศาสตร์ 3 ดา้ นภมู ิทศั น์ อ้างองิ หนา้ แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมการอยู่อาศยั ในกล่มุ ชมุ ชนทส่ี าํ คัญ แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์โดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรบั ปรุงสภาพแวดล้อม 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พืน้ ที่สาธารณะระดับกลมุ่ ชุมชนภายในศาสนสถาน การปรบั ปรุงภูมิทศั น์เมือง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภมู ิทศั น์ในโครงสรา้ งทศั นภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภมู ิทศั น์ในแนวแม่นาํ้ เจ้าพระยาและแนวคลองสาํ คัญ 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรบั ปรงุ พ้นื ทโ่ี ล่งสาธารณะ 3-26 การบริหารจดั การภมู ทิ ัศนเ์ มอื ง 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ่ งสว่างอาคารสาํ คญั และพื้นท่สี าธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของผปู้ ระกอบการภายในชุมชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาตน้ ไมใ้ หญ่ 3-28 การสง่ เสรมิ เศรษฐกิจชุมชน 7.2.2 โครงการสง่ เสรมิ ให้เกิดผปู้ ระกอบการดจิ ทิ ัล ยุทธศาสตร์ 8 ด้านการท่องเทย่ี ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรุงอุปกรณส์ ่อื สารขอ้ มลู แหล่งท่องเทย่ี ว การปรับปรงุ แหล่งทอ่ งเท่ียว 8.1.2 โครงการพฒั นาแหล่งข้อมลู วถิ ีชุมชน ยทุ ธศาสตร์ 4 ด้านการจราจร อา้ งองิ หนา้ 8.1.3 โครงการจดั กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการสง่ เสรมิ การเชอื่ มต่อยานพาหนะตา่ งประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจัดระเบียบพ้นื ทท่ี ่องเทย่ี ว 3-34 การเชือ่ มโยงโครงข่ายการสัญจร 4.1.2 โครงการทดแทนท่ีจอดรถบนพืน้ ผวิ จราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรับปรุงสถานทแ่ี ละอปุ กรณใ์ ห้ข้อมูลเสน้ ทางการท่องเท่ียว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจาํ กัดการสัญจรในบรเิ วณกรงุ รตั นโกสินทรช์ นั้ ใน การพัฒนาเสน้ ทางการท่องเที่ยว 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนที่และระบบออนไลน์เพื่อให้ข้อมลู การท่องเทย่ี ว 3-37 การสนบั สนนุ การเดนิ เทา้ และ 4.2.2 โครงการสง่ เสรมิ การใชข้ นส่งมวลชนเพอื่ ลดการใช้ยานพาหนะส่วนบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาแหล่งทพ่ี ักนักท่องเท่ียวใหไ้ ด้มาตรฐาน การใช้จกั รยาน 4.2.3 โครงการเกบ็ ค่าธรรมเนียมการเขา้ บรเิ วณกรงุ รัตนโกสนิ ทรช์ น้ั นอกด้วย การพฒั นาแหล่งท่พี ัก ยานพาหนะสว่ นบคุ คล นักทอ่ งเที่ยวใหไ้ ด้มาตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจัดการจราจรในเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกิจ การออกแบบ พฒั นาและ 4.3.2 โครงการพัฒนาและปรับปรงุ ท่าเรือ โครงการที่แรเงา หมายถงึ โครงการท่ีไม่ได้ดาํ เนนิ การในพ้ืนที่ 8 บริเวณยา่ นบางขนุ พรหม ปรับปรงุ จดุ เปลยี่ นถา่ ยการสัญจร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

4-82 แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรักษ์และพฒั นา 9) รายละเอียด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณย่านบางขุนพรหม ตารางท่ี 4-9 รายละเอียด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณยา่ นบางขนุ พรหม ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดับความ หมาย (ล้านบาท) สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ จาํ นวน หนว่ ย หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ ปที ่ี ปีท่ี ปีท่ี - กรมศิลปากร การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 1 (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) ต่อเนอ่ื ง √ 1 ด้านมรดก บาํ รงุ รกั ษา และคุม้ ครอง 1.1 การค้มุ ครองและ 1.1.1 โครงการคมุ้ ครองแมน่ ้าํ - สํารวจและจดั ทําแผนทเี่ พ่อื กาํ หนดบริเวณท่จี ะขึ้น ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - วัฒนธรรม แหล่งมรดกสําคัญ และ บูรณปฏสิ งั ขรณแ์ หลง่ เจา้ พระยา* ทะเบยี นโบราณสถานแมน่ าํ้ เจา้ พระยา โดยเนน้ ชว่ ง แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพื้นที่ จัดทํามาตรการสนับสนุน มรดก ระหวา่ งคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ การฟน้ื ฟแู หล่งมรดก - กําหนดพน้ื ท่แี ละประกาศขึ้นทะเบยี น โบราณสถานแม่น้ําเจ้าพระยา 1.1.3 โครงการบูรณปฏสิ ังขรณ์ - สํารวจและกําหนดลาํ ดบั ความจําเปน็ เรง่ ดว่ น 4 แห่ง 1.0 4.0 - กรมศิลปากร 4.00 √ √ √ 2 2 โบราณสถานในพืน้ ที่ - บูรณปฏสิ งั ขรณโ์ บราณสถาน 4 แหง่ 4 แหง่ 24.0 96.0 96.00 1 กรุงรตั นโกสินทร์ 3 2 1.1.4 โครงการขึ้นทะเบยี นโบราณ - ศกึ ษาและกาํ หนดลําดับความสาํ คญั ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรมศิลปากร การดําเนินการ √ √ √ 1 สถานทยี่ งั ไมไ่ ด้รับการขน้ึ ทะเบยี น* - ข้ึนทะเบยี นโบราณสถานทีย่ ังไม่ไดข้ น้ึ ทะเบยี น แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพน้ื ที่ ตอ่ เนอ่ื ง 1 1.1.5 โครงการจัดทําทะเบยี นแหลง่ - ศึกษาและกาํ หนดลําดับความสาํ คัญ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ มรดกทอ้ งถ่ิน และสนับสนุนการ - จัดทําเกณฑ์การขึ้นทะเบียนแหล่งมรดก แตง่ ตง้ั แบ่งพน้ื ที่ แบง่ พน้ื ที่ (สํานกั ผังเมอื ง) ต่อเนือ่ ง บรู ณปฏิสงั ขรณแ์ หลง่ มรดกทอ้ งถน่ิ * คณะกรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิพจิ ารณาการข้นึ ทะเบียนและอนมุ ตั ิงบประมาณสนบั สนนุ การบรู ณะ ฟื้นฟแู หลง่ มรดกท้องถน่ิ จดั ทาํ มาตรการสนับสนนุ 1.2 การส่งเสริมฟ้นื ฟวู ถิ ี 1.2.1 โครงการสืบสานฟืน้ ฟู - กําหนดหลักเกณฑแ์ ละจดั ตัง้ กรรมการพิจารณา ไม่มีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ การฟืน้ ฟแู หลง่ มรดกที่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและ สนับสนนุ งบประมาณ แบ่งพื้นท่ี แบ่งพืน้ ท่ี (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา ต่อเนอ่ื ง เปน็ วิถวี ฒั นธรรม เทศกาลทอ้ งถนิ่ * และการทอ่ งเทีย่ ว) 1.2.2 โครงการฟน้ื ฟภู ูมิปญั ญา - กาํ หนดหลกั เกณฑ์และจัดตง้ั กรรมการพจิ ารณา ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ ท้องถิน่ วัฒนธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ สนบั สนนุ งบประมาณ แบง่ พื้นที่ แบง่ พื้นที่ (สาํ นกั วฒั นธรรม กีฬา ต่อเน่ือง และหัตถศลิ ป*์ และการท่องเท่ยี ว) 2 ดา้ นการใชท้ ่ีดนิ ควบคุมการใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรบั ปรุง 2.1.1 โครงการแก้ไขปรับปรุง - วางและจดั ทาํ แผนผังและขอ้ กําหนดการใช้ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ ทีด่ ินโดยเครือ่ งมอื ทางผัง มาตรการควบคุมการใช้ แผนผงั ขอ้ กําหนดและมาตรการตาม ประโยชน์ทด่ี ินของผังเมืองรวมกรงุ เทพมหานคร แบง่ พ้นื ที่ แบ่งพ้ืนท่ี (สาํ นักผังเมอื ง) ต่อเนอ่ื ง เมือง ประโยชนท์ ่ดี ินและอาคาร กฎหมายผังเมือง* (ปรบั ปรุงครงั้ ที่ 4) - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคับผัง เมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ท่ี 4) โดย อาศยั อาํ นาจแห่งพระราชบญั ญตั ิการผังเมือง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ - แกไ้ ขปรบั ปรุงขอ้ บญั ญัตกิ รงุ เทพมหานคร เพื่อ ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ ข้อบญั ญัติกรุงเทพมหานครตาม การควบคมุ แบบซ้อนทับ (Overlay Control) โดย แบง่ พื้นท่ี แบ่งพื้นท่ี (สาํ นักผงั เมอื ง) ตอ่ เน่อื ง กฎหมายควบคมุ อาคาร* อาศยั อาํ นาจแห่งกฎหมายควบคุมอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการ - จดั ทํามาตรการค้มุ ครองสงิ่ แวดลอ้ มศิลปกรรมเพ่ือ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - สํานักงานนโยบายและ การดําเนนิ การ √ 2 คุ้มครองสิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรม* การอนุรกั ษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ แบ่งพ้นื ที่ แบง่ พื้นที่ แผนทรพั ยากรธรรมชาติ ตอ่ เน่ือง - ดาํ เนินการประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บงั คบั และส่ิงแวดล้อม มาตรการคมุ้ ครองสิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรมเพือ่ การ อนรุ กั ษ์และพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ โดยอาศยั อํานาจแห่งกฎหมายส่ิงแวดล้อม สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพฒั นา 4-83 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปริมาณ ราคา หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สาํ คญั เหตุ หน่วยละ จํานวนเงนิ - กรุงเทพมหานคร ปีที่ ปที ่ี ปีที่ 2 ด้านการใชท้ ด่ี นิ ดาํ เนนิ โครงการอนุรักษ์ 2.2 การวาง จัดทาํ และ 2.2.2 โครงการวาง จดั ทํา และ - วาง จัดทาํ และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผงั เมือง 1 พ้ืนท่ี (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (สาํ นกั ผงั เมอื ง) 50.00 1-5 6-10 11-15 1 (ต่อ) ฟื้นฟูเมือง ดาํ เนินการให้เป็นไปตาม ดําเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามผังเมอื ง เฉพาะ ในพื้นท่ีรอบสถานบี างขุนพรหม ผงั เมืองเฉพาะ เฉพาะ ในพืน้ ท่เี ปล่ยี นถา่ ยการสญั จร 50.0 50.0 √ โดยรอบสถานีรถไฟฟา้ 3 ดา้ นภมู ิทศั น์ ขับเน้นการรับรโู้ ครงสร้าง 3.1 การปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์ 3.1.3 โครงการปรับปรุงภมู ิทัศน์ใน - สาํ รวจ ออกแบบ และปรับปรุงพน้ื ท่รี ิมแมน่ ํา้ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √1 รปู ของกรุงรัตนโกสนิ ทร์ เมือง แนวแมน่ ้าํ เจ้าพระยาและแนวคลอง เจ้าพระยา (ช่วงปากคลองผดุงกรุงเกษมถงึ ปาก แบ่งพน้ื ท่ี แบง่ พืน้ ท่ี (สาํ นักการระบายน้ํา / ตอ่ เนือ่ ง ต.ย.1 หน้า สําคัญ* คลองรอบกรงุ ) ความยาวประมาณ 1.0 กม. พ้ืนท่ี สํานักผงั เมือง / สาํ นัก 4-80 รมิ คลองผดุงกรุงเกษม (ช่วงแมน่ าํ้ เจา้ พระยาถึง การโยธา) ถนนประชาธิปไตย) ความยาวประมาณ 1.0 กม. 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสวา่ ง - ติดต้งั ระบบและดวงไฟส่องสวา่ งอาคารสาํ คัญ วัง 1 แหง่ 3.5 3.5 - กรมการทอ่ งเทย่ี ว 3.50 √3 อาคารสาํ คญั และพ้นื ทีส่ าธารณะ บางขุนพรหม รวม 1 จุด 6.2 - กรงุ เทพมหานคร 94.86 √ - ติดตัง้ ไฟส่องสว่างสาธารณะ ย่านบางขนุ พรหม ตาม แนวถนนสามเสน 0.87 กม. ถนนพระราม 8 0.45 กม. กม. 15.3 94.86 (สาํ นกั การโยธา / สํานัก ถนนกรงุ เกษม 0.94 กม. ถนนลกู หลวง 0.46 กม. ถนน วฒั นธรรม กฬี า และ วิสุทธิกษัตริย์ 0.61 กม. ถนนประชาธปิ ไตย 0.85 กม. การทอ่ งเทย่ี ว) ริมแมน่ าํ้ เจา้ พระยา 1.0 กม. รมิ คลองผดุงกรงุ เกษม 1.0 กม. ระยะทางรวม 6.2 กม. เสรมิ สรา้ งสิ่งแวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จดั ต้งั หน่วยงานด้านรุกขกรรมเพื่อดูแลต้นไม้ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 3 และเพ่ิมศกั ยภาพของ ภูมิทัศนเ์ มือง รักษาต้นไม้ใหญ*่ โดยเฉพาะ แบง่ พน้ื ที่ แบ่งพืน้ ท่ี (สาํ นักส่งิ แวดล้อม) ตอ่ เนอ่ื ง ผปู้ ฏบิ ตั งิ านด้านภูมทิ ัศน์ - จัดตงั้ หนว่ ยงานบริการเพื่อสนับสนุนการดูแล ต้นไม้ใหญข่ องภาครัฐและภาคเอกชน 4 ด้านการจราจร เช่อื มโยงโครงข่ายการ 4.1 การเชอ่ื มโยง 4.1.2 โครงการทดแทนทีจ่ อดรถบน - พัฒนาพืน้ ท่จี อดรถรวมทง้ั ในพนื้ ท่ขี องรฐั และ ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ √ 1 สญั จรอย่างเป็นระบบ โครงข่ายการสัญจร พืน้ ผิวจราจร* เอกชน แบง่ พน้ื ที่ แบง่ พืน้ ที่ (สาํ นกั การจราจรและ ตอ่ เนือ่ ง ขนส่ง) - ผู้ทรงสิทธิในพ้นื ท่ี สง่ เสริมการสญั จรท่ีเปน็ 4.2 การสนับสนนุ การเดิน 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใชข้ นส่ง - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคลอ้ งกับ ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ 2 มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ มใน เท้าและการใชจ้ ักรยาน มวลชนเพอื่ ลดการใช้ยานพาหนะ การเชอ่ื มโยงทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพนื้ ที่ (สํานกั การจราจรและ ต่อเนื่อง พ้ืนทก่ี รุงรัตนโกสนิ ทร์ ส่วนบุคคล* - คดั เลอื กรูปแบบระบบขนส่งและยานพาหนะที่ ขนสง่ ) เหมาะสมกับปรมิ าณผู้โดยสารและบรรยากาศของ พื้นที่ พัฒนาจุดเปลี่ยนถา่ ยการ 4.3 การออกแบบ พฒั นา 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรุง - ปรับปรุงทา่ เรือโดยสารในแมน่ ํา้ เจา้ พระยา 2 ท่า 3.0 6.0 - กรมเจ้าทา่ 6.00 √ √ 2 สญั จรใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และปรบั ปรงุ จุดเปล่ยี น ท่าเรือ เช่อื มโยงกบั การใช้ ถ่ายการสญั จร ประโยชนท์ ่ดี ิน สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

4-84 แผนผังแมบ่ ทการอนรุ ักษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรักษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หน่วย (ล้านบาท) สาํ คญั เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หนว่ ยละ จํานวนเงนิ หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ ปที ี่ ปที ี่ ปีท่ี การดําเนินการ 1-5 6-10 11-15 2 5 ด้าน (ล้านบาท) (ล้านบาท) - กรุงเทพมหานคร ต่อเน่อื ง สาธารณูปโภค (สํานักการระบายนํ้า) √ ปรบั ปรงุ สาธารณูปโภค 5.1 การป้องกันน้าํ ท่วม 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปอ้ งกันนา้ํ - ปรบั ปรุงจุดเชอื่ มต่อสาํ คญั ใหเ้ ป็นกาํ แพงท่เี ปดิ ได้ ไม่มีการ - ไม่มีการ - พนื้ ฐานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และปรับปรงุ คุณภาพนา้ํ ท่วม* ในเวลาปกติ และปดิ เพอ่ื ป้องกนั น้าํ ทว่ มไดโ้ ดยไม่ แบ่งพ้นื ท่ี และอเนกประโยชน์ ขัดขวางทัศนวิสยั และมมุ มองระหว่างแม่นํ้าและ แบ่งพนื้ ที่ เมือง - ออกแบบแนวกําแพงป้องกนั นาํ้ ทว่ ม สถานีสูบน้ํา ประตนู ํ้า และบอ่ สูบนา้ํ เป็นพเิ ศษ ให้สามารถปรบั ใช้ เป็นพน้ื ที่กิจกรรมริมน้ํา ขบั เน้นอตั ลกั ษณ์ของพนื้ ท่ี 5.1.2 โครงการฟ้ืนฟรู ะบบคูคลอง - ฟน้ื ฟูระบบคู คลอง และปรับปรงุ คุณภาพน้าํ คลอง ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ 2 และปรบั ปรุงคุณภาพนาํ้ * ผดุงกรงุ เกษม 1.0 กม. แบ่งพน้ื ที่ แบ่งพื้นที่ (สํานักการระบายน้ํา) ต่อเนอื่ ง 5.1.3 โครงการปรบั ปรุงระบบการ - ปรบั ปรุงสถานสี ูบน้าํ เทเวศร์ 1 แหง่ 20.0 20.0 - กรงุ เทพมหานคร 20.00 √ 2 รูป ต.ย.1 ระบายนาํ้ - ปรบั ปรงุ ประตรู ะบายนํ้าเทเวศร์ 1 แห่ง 20.0 20.0 (สํานักการระบายน้ํา) 20.00 หนา้ 4-80 ยกระดบั รปู แบบของ 5.2 การปรับปรุง 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟ้าและสาย - นาํ สายไฟฟา้ และสายสอื่ สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ 2 ระบบสาธารณปู โภคให้ โครงสรา้ งพ้นื ฐานของ ส่ือสารลงใต้ดิน* สามเสน 0.87 กม. ถนนพระราม 8 0.45 กม. ถนน แบ่งพ้ืนที่ แบง่ พ้นื ที่ (สาํ นกั การโยธา) ต่อเนอื่ ง √ √ 3 สอดคลอ้ งกับพน้ื ท่ี ระบบสาธารณูปโภค กรงุ เกษม 0.94 กม. ถนนลกู หลวง 0.46 กม. ถนนวิ - การไฟฟา้ นครหลวง √ อนุรักษ์ สุทธกิ ษตั ริย์ 0.61 กม. ถนนประชาธิปไตย 0.85 3 - บริษทั ทีโอที จํากัด 3 กม. ระยะทางรวม 4.2 กม. (มหาชน) - บริษทั กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) 6 ดา้ น ยกระดบั การใชง้ าน 6.1 การปรับปรุงการ 6.1.1 โครงการปรบั ปรุงวัดและ - ปรับปรุงโรงเรยี นวัดใหม่อมตรส 1 แหง่ 5.0 5.0 - กรงุ เทพมหานคร 5.00 สาธารณูปการ สาธารณูปการให้ ให้บรกิ ารสาธารณปู การ สอดคลอ้ งกับโครงสร้าง โรงเรยี นเปน็ ศนู ย์บริการครบวงจรแก่ 1 แห่ง 2.0 (สํานักพัฒนาสงั คม / ประชากรและบรบิ ททาง สังคมท่เี ปลย่ี นแปลง ผู้สูงอายแุ ละผดู้ ้อยโอกาส 1 แหง่ 2.0 สํานักการศกึ ษา / 20 แหง่ 0.01 สํานักงานเขต) - วัด 6.1.2 โครงการเพ่ิมประโยชนก์ ารใช้ - ปรับปรงุ พ้นื ทใ่ี นโรงเรียนวดั ใหม่อมตรส 2.0 - กรงุ เทพมหานคร 2.00 สอยโรงเรยี นเป็นศนู ย์การเรยี นรู้ (สํานักการศึกษา / ศูนย์ฝกึ อาชีพ และพน้ื ทก่ี ิจกรรม สาํ นกั งานเขต) สนั ทนาการ - สถานศกึ ษาในสงั กัด กรงุ เทพมหานคร ปรบั ปรงุ สาธารณปู การ 6.2 การเตรยี มพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรียน - ปรับปรงุ พน้ื ทใ่ี นโรงเรียนวัดใหม่อมตรส 2.0 - กรงุ เทพมหานคร 2.00 √ เพ่ือรองรบั ภยั พบิ ัติและ สาธารณูปการเพ่อื รองรบั เปน็ ทพ่ี ักยามภัยพบิ ตั แิ ละภาวะ - ตดิ ตั้งแผนที่ในชมุ ชน 0.2 (สาํ นักการศึกษา / 0.20 ภาวะฉุกเฉิน ยามภยั พบิ ัติและภาวะ ฉุกเฉนิ ฉุกเฉิน สํานกั ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย / สํานักงานเขต) สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพัฒนา 4-85 ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย หนว่ ยละ จาํ นวนเงนิ (ล้านบาท) สาํ คญั เหตุ 6 ด้าน (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) - กรุงเทพมหานคร ปที ่ี ปีที่ ปีที่ สาธารณูปการ ปรบั ปรุงสาธารณูปการ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณ์เพื่อ - ติดตั้งหวั จ่ายนํา้ ดับเพลงิ ในพ้ืนท่วี ดั สามพระยา 4 แห่ง (สํานักป้องกันและ 0.40 1-5 6-10 11-15 2 (ตอ่ ) เพ่อื รองรบั ภยั พิบัติและ สาธารณปู การเพือ่ รองรบั ความปลอดภัยของชมุ ชน วัดนรนาถสุนทริการาม วดั อนิ ทรวิหาร วัดใหม่ 0.1 0.4 บรรเทาสาธารณภยั / ภาวะฉกุ เฉนิ ยามภัยพิบตั แิ ละภาวะ อมตรส 4 แหง่ สํานกั การจราจรและ √√ (ตอ่ ) ฉกุ เฉิน - ติดต้งั กล้องวงจรปิด 1.0 4.0 ขนส่ง / สาํ นกั งานเขต) (ต่อ) 4.00 7 ดา้ นกายภาพและ ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.2 โครงการปรับปรุงพน้ื ที่ - จัดกระบวนการมีส่วนร่วม 4 แห่ง 0.2 0.8 - กรงุ เทพมหานคร 0.80 √ √ √ 3 วถิ ชี ุมชน ชุมชนใหอ้ ยู่รว่ มกบั มรดก สภาพแวดลอ้ มชุมชน สาธารณะระดับกลุ่มชุมชนภายใน - ปรบั ปรุงพนื้ ท่ีสาธารณะระดับกลมุ่ ชุมชน วดั สาม 4 แหง่ 4.8 19.2 (สาํ นักผงั เมอื ง) 19.20 วฒั นธรรมได้อย่าง ศาสนสถาน พระยา วัดนรนาถสุนทริการาม วดั อินทรวิหาร วัด เหมาะสม และสง่ เสรมิ ใหมอ่ มตรส 8 - ศาสนสถานเจา้ ของ 24.00 การเรียนรู้แก่สาธารณะ - พฒั นาพื้นทีส่ าธารณะจากท่ีโลง่ วา่ งในชุมชน พน้ื ที่ แห่ง 3.0 24.0 ส่งเสรมิ การต่อยอดภมู ิ 7.2 การสง่ เสรมิ ให้เกิด 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ - รับสมัครชมุ ชนหรือผูป้ ระกอบการภายในชมุ ชนที่ ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 3 ปญั ญาและการสรา้ ง เศรษฐกิจชมุ ชน ผู้ประกอบการภายในชมุ ชน* สนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แบง่ พืน้ ที่ แบ่งพน้ื ท่ี (สํานกั พฒั นาสงั คม) ต่อเนื่อง เศรษฐกิจชุมชน - อบรม และสมั มนาเชิงปฏบิ ัติการเพอื่ พฒั นา ผลติ ภณั ฑ์ร่วมกับผู้เชยี่ วชาญ 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ - รบั สมัครผูป้ ระกอบการท่ีมีความพร้อมในพน้ื ท่ี ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การดําเนนิ การ √ √ 3 ผปู้ ระกอบการดจิ ทิ ัล* เพ่อื รับการอบรม และใหค้ วามชว่ ยเหลือโดย แบ่งพ้ืนท่ี แบง่ พน้ื ท่ี เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ต่อเน่ือง ผ้เู ชีย่ วชาญ - อบรม และสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่มิ ทักษะของ ผู้ประกอบการในการเปน็ ผปู้ ระกอบการดิจิทลั - พัฒนาเว็บทา่ (Portal web) เพอ่ื ส่งเสริมการค้า ดจิ ทิ ลั ในระดับยา่ นตา่ ง ๆ 8 ด้านการท่องเทีย่ ว เพม่ิ คณุ คา่ และความ 8.1 การปรับปรงุ แหลง่ 8.1.3 โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ - สนับสนนุ การประชาสมั พันธก์ ารจัดกิจกรรมการ 15 ครั้ง 0.5 7.5 - การท่องเที่ยวแห่ง 7.5 √ √ √ 2 หลากหลายทางการ ท่องเทยี่ ว การทอ่ งเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม ท่องเท่ยี ว 15 ประเทศไทย 225.0 ท่องเท่ียว - จดั งานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพเิ ศษใน พืน้ ทย่ี ่านบางขนุ พรหม ครัง้ 15.0 225.0 - กรงุ เทพมหานคร (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา และการทอ่ งเท่ียว) พฒั นาระบบการให้ข้อมูล 8.2 การพฒั นาเส้นทาง 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานท่แี ละ - ศกึ ษาและออกแบบจดุ ให้ขอ้ มลู การท่องเท่ยี วและ ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 3 และเพิ่มส่งิ อํานวยความ การทอ่ งเท่ียว อปุ กรณใ์ ห้ข้อมลู เส้นทางการ ปา้ ยขอ้ มูลเสน้ ทางการทอ่ งเท่ียว แบง่ พื้นที่ แบง่ พ้นื ท่ี (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา ต่อเนื่อง สะดวกนกั ท่องเท่ยี ว ท่องเที่ยว* - ติดตั้งจุดให้ขอ้ มลู การทอ่ งเทย่ี วและป้ายข้อมูล และการท่องเทย่ี ว) เส้นทางท่องเท่ียว สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4-86 แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สําคญั เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ปีที่ ปีท่ี ปที ่ี การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 2 (ล้านบาท) (ล้านบาท) - การท่องเทย่ี วแห่ง ตอ่ เนื่อง ประเทศไทย √ 8 ดา้ นการทอ่ งเท่ียว พฒั นาระบบการให้ข้อมูล 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนท่แี ละ - จัดทาํ แผนท่ีแสดงข้อมูลเสน้ ทางท่องเท่ยี วทส่ี ําคัญ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - (ตอ่ ) และเพิม่ สงิ่ อํานวยความ การทอ่ งเท่ยี ว ระบบออนไลนเ์ พือ่ ให้ขอ้ มลู การ ในกรุงรตั นโกสนิ ทร์และพื้นท่ีตอ่ เนือ่ ง แบง่ พน้ื ที่ สะดวกนักท่องเทยี่ ว (ต่อ) ท่องเที่ยว* - จัดทําระบบออนไลนเ์ พอ่ื ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมลู แบง่ พนื้ ที่ (ตอ่ ) แหล่งท่องเทีย่ วและเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนท่ี พกั - ปรบั ปรุงฐานข้อมูล แผนท่ี ระบบออนไลน์ใหม้ ี ข้อมลู ที่ถกู ต้องและทนั สมยั รวม 584.46 * โครงการทม่ี ีการดําเนินการต่อเน่อื งกนั หลายพนื้ ท่ี ดูรายละเอยี ดในหนา้ 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผังแมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 4-87 4.2.9 บรเิ วณยา่ นนางเลิ้ง-มหานาค 1) ขอบเขตพืน้ ท่ี จดถนนประชาธิปไตย ทศิ เหนือ จดแนวคลองผดงุ กรงุ เกษมฝง่ั ตะวนั ออก ทศิ ตะวนั ออก จดถนนหลวง ทิศใต้ จดถนนวรจกั ร ถนนหลานหลวง และแนวก่งึ กลางคลองรอบกรงุ ทศิ ตะวันตก 2) ความสําคญั บริเวณย่านนางเล้ิง-มหานาคประกอบด้วยพื้นท่ีสําคัญ 3 แห่ง คือ พ้ืนท่ีริมคลองผดุงกรุงเกษมและคลองมหานาค ชุมชน นางเลิ้ง และตกึ แถวและชุมชนเกา่ สมยั ต้นรัตนโกสินทร์ รมิ คลองบางลาํ พูฝง่ั ตะวันออก (1) พ้ืนท่ีริมคลองผดุงกรุงเกษมและคลองมหานาคมีสัณฐานและโครงสร้างของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจนถึงสมัย รัชกาลที่ 4 โดยคลองผดุงกรุงเกษมเป็นแนวคูเมืองท่ีขุดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 พร้อมกับการสร้างป้อมปราการ จํานวน 7 แห่ง อยู่ในฝั่งพระนคร 7 แห่ง และอยู่ในฝั่งธนบุรีบริเวณคลองสานอีก 1 แห่ง ส่วนคลองมหานาคขุด ข้ึนมาก่อนคลองผดุงกรุงเกษม โดยถูกแยกออกมาจากคลองรอบกรุงบริเวณป้อมมหากาฬ และต่อมามีการขุด คลองให้ยาวเพิ่มขึ้น มกี ารตั้งถ่ินฐานของชาวมุสลิมเช้ือสายจามที่อพยพมาจากเขมรจนกลายเป็นชุมชนบ้านครัว ในปัจจุบัน จนถึงสมัยรัชกาลท่ี 3 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองแสนแสบต่อจากคลองมหานาคไปจนถึงแม่นํ้า บางปะกง ตลอดแนวริมคลองผดุงกรุงเกษมฝ่ังตะวันตกมีโบราณสถานสําคัญท่ีสร้างต่อเน่ืองกันหลายแห่งต้ังแต่ สมัยรัชกาลท่ี 4 ทั้งท่ีขึ้นทะเบียนและยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน อาทิ วัดมกุฏกษัตริยาราม วัดโสมนัสวิหาร ท่ีสร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลท่ี 4 และวัดเทพศิรินทราวาสท่ีสร้างข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 5 นอกจากน้ียังมีวังและชุมชนต่าง ๆ เรียงรายอยู่ตลอดสองฝ่ังคลอง ก่อนที่รัชกาลที่ 5 จะโปรดเกล้าฯ ให้รื้อป้อมและสร้างถนนกรุงเกษมขนานไปกับ คลองผดงุ กรุงเกษมในเวลาต่อมา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

4-88 แผนผังแม่บทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพฒั นา (2) ย่านนางเล้ิงเป็นบริเวณท่ีมีพัฒนาการต่อเน่ืองจากการขุดคลองผดุงกรุงเกษม โดยในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทรงโปรด 5) แหลง่ มรดกทส่ี าํ คัญ เกล้าฯ ให้สร้างตลาดนางเล้ิงข้ึน ถือเป็นตลาดบกแห่งแรกของกรุงเทพมหานคร ที่บอกเล่าเร่ืองราวพัฒนาการ ยา่ นนางเลิง้ -มหานาคมีแหล่งมรดกที่สาํ คัญ ดงั แสดงในภาพที่ 4-26 เชิงพื้นท่ี การตัง้ ถ่ินฐานของชุมชนรอบตลาดเป็นตน้ แบบของการพฒั นาท่ดี ินท่ีมีตลาดอยู่ตรงกลางและล้อมรอบ ด้วยอาคารพาณชิ ย์ รวมถึงเป็นรูปแบบของการพัฒนาพื้นท่ีของสํานักงานทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษัตริยใ์ นเวลา ภาพท่ี 4-26 แหลง่ มรดกทีส่ าํ คัญบริเวณยา่ นนางเล้ิง-มหานาค ต่อมา ย่านนางเล้ิงเป็นย่านการค้า แหล่งศนู ย์รวมอาหารที่มชี ื่อเสยี งจนถึงปัจจุบัน และเป็นศูนย์รวมแหล่งมรดก ทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ได้แก่ ละครชาตรีและการปักชุดละคร มีชุมชนสําคัญ ได้แก่ ชุมชนศุภมิตร ชุมชน จักรพรรดิพงษ์ ชุมชนวัดสุนทรธรรมทาน ซ่ึงมีมรดกทางวัฒนธรรม และมีโบราณสถานสําคัญ ได้แก่ วัดสุนทร ธรรมทานหรือวัดแค นางเลิ้ง วัดสิตาราม มีตึกแถวริมถนนนครสวรรค์ด้านหน้าตลาดนางเลิ้งและโรงภาพยนตร์ เฉลิมธานี (3) ตึกแถวและชมุ ชนเก่าสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ริมคลองบางลาํ พูฝ่งั ตะวันออก มีแหลง่ มรดกสําคญั คอื วัดปรินายก ท่ีสร้างโดยเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และกลุ่มอาคารเก่าท่ีควรค่าแก่การอนุรักษ์อยู่ในบริเวณ ใกล้เคยี ง ได้แก่ อาคารราชการบนถนนราชดําเนินนอกและตึกแถวเก่าบรเิ วณชุมชนบ้านพานถม 3) สรปุ สถานการณ์ปจั จุบัน ยา่ นนางเล้ิง-มหานาคมีโครงการอนุรักษ์และพัฒนาท่ีดาํ เนนิ การโดยหน่วยงานต่าง ๆ หลายโครงการ ท้ังท่ีแลว้ เสร็จและอยู่ ในขั้นตอนการศึกษา และดําเนินการ เช่น การศึกษาและจัดทําโครงการปรับปรุงฟื้นฟูชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นท่ีต่อเนื่อง โครงการปรับปรุงฟ้ืนฟูย่านคลองผดุงกรุงเกษม โดยสํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร และโครงการปรับปรุงอาคารและชุมชน โดย สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวมถึงการดําเนินการอนุรักษ์อาคารเก่า การจัดกิจกรรมของชุมชนเพ่ืออนุรักษ์ วิถีทางวัฒนธรรมท่ีมีอยู่ของตนอย่างเข้มแข็ง กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ของชาวชุมชนนางเล้ิงและพ้ืนท่ีใกล้เคียงร่วมกับ สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ถือเป็นตัวอย่างท่ีดีของการร่วมมือระหว่างภาคประชาชนกับภาครัฐในการช่วยกันรักษา มรดกทางวฒั นธรรมไว้พรอ้ มกนั ทุกดา้ น 4) ศกั ยภาพพื้นที่ บรเิ วณย่านนางเลิง้ -มหานาค เปน็ พืน้ ทท่ี ี่มศี ักยภาพสําคญั 3 ดา้ น ดังนี้ (1) คลองผดุงกรงุ เกษมเปน็ พื้นทเี่ ปิดโลง่ ขนาดใหญท่ เ่ี ชือ่ มต่อสว่ นอืน่ ของพนื้ ที่อนุรักษ์เขา้ ไว้ดว้ ยกนั (2) ชุมชนโดยรอบตลาดนางเลิ้งเป็นพ้ืนท่ีตัวอย่างท่ีได้ดําเนินการอนุรักษ์ไปแล้วทั้งส่วนที่เป็นอาคารที่ควรอนุรักษ์ และวถิ ชี ุมชน ชมุ ชนรว่ มกันจดั กจิ กรรมเพ่อื อนรุ ักษว์ ิถที างวัฒนธรรมทม่ี ีอยไู่ ว้อย่างเขม้ แข็ง (3) ในอนาคตจะมีการเปิดให้บริการของสถานีหลานหลวงบนเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้ม จะทําให้การเข้าถึงพื้นท่ี สะดวกข้ึน มีผู้มาเยี่ยมเยือนจาํ นวนมากขน้ึ ทั้งแรงงานและนกั ท่องเท่ียว จึงจําเป็นต้องมมี าตรการในการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นงานหัตถศิลป์และนาฏศิลป์ กับอาคารเก่าควรแก่การอนุรักษ์ประเภทตึกแถวบนถนน จกั รพรรดพิ งษ์ซึ่งเปน็ ท่ีตัง้ ของสถานรี ถไฟฟ้า สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผังแมบ่ ทการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรักษ์และพฒั นา 4-89 ภาพที่ 4-27 แนวคิดในการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาบรเิ วณยา่ นนางเล้งิ -มหานาค 6) แนวคดิ ในการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา แนวคิดหลักในการอนุรักษ์และพัฒนาย่านนางเลิ้ง-มหานาค คือ การกําหนดแนวคลองผดุงกรุงเกษมเป็นแนวเช่ือมต่อการ อนุรักษ์และพัฒนาในส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และกําหนดพ้ืนท่ีชุมชนนางเล้ิงเป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ของการอยู่ร่วมกันระหว่าง วถิ ีชุมชนกบั อาคารท่ีควรอนรุ กั ษ์ 7) การดําเนินการเพื่อการอนรุ ักษ์และพัฒนา การดําเนินการเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนาย่านนางเลิ้ง-มหานาคเน้นความสําคัญของพื้นที่ 2 บริเวณ คือ บริเวณแนวคลอง ผดุงกรงุ เกษมและชุมชนโดยรอบตลาดนางเลง้ิ จงึ แบง่ เป็น 5 ประเด็น ดงั น้ี (1) การวางและจัดทําผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษ์พ้ืนท่ีมรดกทางวัฒนธรรมและชุมชนและพ้ืนที่เปลี่ยนถ่ายการ สัญจรสถานีรถไฟฟ้าหลานหลวง การกําหนดมาตรการการโอนสิทธิการพัฒนาสําหรับอาคารอนุรักษ์มาเป็นกลไก สําคัญในการหาเงินทุนสนับสนุนเพ่ือการอนุรักษ์พื้นที่ชุมชน การทดแทนค่าเช่าหรือประโยชน์ท่ีควรได้จากการ พัฒนาเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน (2) การอนุรักษ์แหล่งมรดกและวิถีทางวัฒนธรรม ได้แก่ การขึ้นทะเบียนอาคารและแหล่งมรดกสําคัญระดับท้องถิ่น การออกข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเพ่ือการอนุรักษ์อาคารสําคัญและแหล่งมรดกระดับท้องถ่ิน การส่งเสริม จัดกิจกรรมการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีอยู่ในชุมชน โดยใช้พื้นที่ชุมชนและตลาดนางเลิ้งเป็นพ้ืนท่ีกลยุทธ์ ในการอนุรักษ์ผ่านการเรียนรู้และการสร้างภูมิปัญญาด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมประเภทต่าง ๆ ให้กับ ชมุ ชนโดยรอบ (3) การปรับปรุงภูมิทัศน์และแสงสว่าง ได้แก่ การจัดแสงไฟประดับตกแต่งโบราณสถานและอาคารที่ควรอนุรักษ์ริม คลองผดุงกรุงเกษมและริมคลองมหานาคบางส่วน การฟื้นฟูบูรณะอาคารเก่าในพ้ืนท่ี รวมถึงการจัดการจราจร และการจอดรถบนถนนกรุงเกษมและบริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม การเพิ่มระดับการเข้าถึงพ้ืนที่ริมน้ํา และการ ส่งเสรมิ การสญั จรทางเท้าและจักรยานใหส้ ะดวกมากข้นึ (4) การปรับปรุงระบบโครงสร้างพ้ืนฐานที่จําเป็นในการดําเนินชีวิต ได้แก่ การปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและพ้ืนที่เปิดโล่งของชุมชน เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท้ังชุมชนโดยรอบตลาดนางเลิ้งและชุมชนท่ีอยู่ ไกลออกไป ได้แก่ ชุมชนมัสยิดมหานาค ชุมชนดํารงค์ธรรม ชุมชนบ้านพานถม ชุมชนวัดโสมนัส และการจัดสร้าง ศูนยช์ มุ ชนโดยการปรบั ปรงุ จากอาคารเก่าท่ีมอี ยใู่ นพืน้ ท่ี (5) การบริหารจัดการและการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ การส่งเสริมการฟื้นฟูและยกระดับอาชีพและมรดก วิถชี ีวติ ท่ีมีอยู่เดิมใหเ้ กดิ มลู ค่าทางเศรษฐกจิ เพม่ิ ข้นึ ภาพที่ 4-28 ผังรายละเอียดการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาบริเวณย่านนางเล้ิง-มหานาค สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

4-90 แผนผงั แม่บทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบริเวณ ย่านนางเลิ้ง-มหานาค สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพัฒนา 4-91 ยทุ ธศาสตร์ 1 ด้านมรดกวฒั นธรรม อา้ งองิ หน้า ยทุ ธศาสตร์ 5 ดา้ นสาธารณปู โภค อา้ งอิงหน้า 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคมุ้ ครองแม่นํ้าเจา้ พระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปอ้ งกนั น้าํ ท่วม 3-42 3-8 3-43 การคุ้มครองและบูรณปฏิสงั ขรณ์ 1.1.2 โครงการบรู ณปฏิสงั ขรณแ์ หลง่ มรดกสําคัญ 3-9 การป้องกันนํ้าท่วมและปรบั ปรงุ 5.1.2 โครงการฟน้ื ฟรู ะบบคูคลอง และปรบั ปรุงคุณภาพนาํ้ 3-44 3-10 3-45 แหล่งมรดก 1.1.3 โครงการบรู ณปฏิสังขรณ์โบราณสถานในพืน้ ที่กรุงรตั นโกสินทร์ คุณภาพนํ้า 5.1.3 โครงการปรับปรุงระบบการระบายน้ํา 3-11 อ้างอิงหน้า 1.1.4 โครงการขึ้นทะเบยี นโบราณสถานทย่ี งั ไมไ่ ด้รับการข้นึ ทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟา้ และสายส่อื สารลงใต้ดิน 3-48 1.1.5 โครงการจดั ทาํ ทะเบียนแหล่งมรดกทอ้ งถนิ่ และสนับสนุนการบูรณปฏสิ งั ขรณ์ การปรบั ปรงุ โครงสร้างพน้ื ฐาน 5.2.2 โครงการจดั ต้ังศนู ยป์ ระสานงานและขอ้ มูล และพฒั นาเครือขา่ ยระบบ 3-49 แหล่งมรดกท้องถิน่ ของระบบสาธารณปู โภค สารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มิติ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสบื สานฟนื้ ฟขู นบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลทอ้ งถิน่ 3-51 การสง่ เสรมิ ฟ้นื ฟวู ิถีวัฒนธรรม 1.2.2 โครงการฟ้ืนฟภู ูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ วฒั นธรรมอาหาร นาฏศิลป์ และหัตถศิลป์ ยทุ ธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อา้ งองิ หนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วัดและโรงเรยี นเปน็ ศนู ย์บริการครบวงจรแกผ่ ้สู ูงอายแุ ละ 3-55 ยุทธศาสตร์ 2 ด้านการใช้ทดี่ ิน อา้ งองิ หนา้ การปรบั ปรุงการใหบ้ ริการ ผดู้ ้อยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแก้ไขปรับปรงุ แผนผงั ขอ้ กําหนดและมาตรการตามกฎหมายผังเมือง 3-16 สาธารณปู การ 6.1.2 โครงการเพ่ิมประโยชน์การใช้สอยโรงเรียนเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ศูนยฝ์ ึกอาชพี 3-17 อ้างอิงหน้า การปรับปรุงมาตรการควบคมุ 2.1.2 โครงการแก้ไขปรับปรุงขอ้ บัญญัตกิ รุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร 3-18 และพ้ืนท่ีกจิ กรรมสันทนาการ 3-61 3-62 การใชป้ ระโยชน์ที่ดินและอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทาํ มาตรการคุ้มครองส่ิงแวดลอ้ มศิลปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรับปรุงอาคารเรียนเปน็ ที่พกั ยามภัยพิบตั ิและภาวะฉกุ เฉนิ 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จดั ทํา และดาํ เนนิ การให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ บรเิ วณรมิ ฝั่ง การเตรียมพร้อมสาธารณูปการ 3-65 3-66 การวาง จัดทํา และดาํ เนินการให้ แม่นาํ้ เจ้าพระยา เพ่ือรองรบั ยามภยั พบิ ตั แิ ละภาวะ 6.2.2 โครงการตดิ ตง้ั อุปกรณ์เพ่อื ความปลอดภัยของชมุ ชน 3-67 เปน็ ไปตามผังเมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จดั ทาํ และดาํ เนนิ การให้เปน็ ไปตามผงั เมืองเฉพาะ ในพ้ืนที่ ฉุกเฉิน เปล่ยี นถา่ ยการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ยทุ ธศาสตร์ 7 ดา้ นกายภาพและวถิ ชี มุ ชน ยทุ ธศาสตร์ 3 ดา้ นภมู ทิ ศั น์ อา้ งอิงหนา้ แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มการอยู่อาศัยในกลมุ่ ชุมชนทส่ี ําคญั แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรบั ปรุงภูมทิ ศั นโ์ ดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อม 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พ้ืนท่ีสาธารณะระดับกลมุ่ ชุมชนภายในศาสนสถาน การปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์เมือง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ในโครงสรา้ งทัศนภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรบั ปรุงภูมทิ ัศนใ์ นแนวแม่นํ้าเจ้าพระยาและแนวคลองสําคญั 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรับปรุงพน้ื ท่โี ลง่ สาธารณะ 3-26 การบรหิ ารจัดการภูมทิ ัศนเ์ มือง 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ่ งสว่างอาคารสําคัญ และพื้นที่สาธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของผ้ปู ระกอบการภายในชมุ ชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแลรักษาตน้ ไม้ใหญ่ 3-28 การสง่ เสรมิ เศรษฐกิจชุมชน 7.2.2 โครงการสง่ เสรมิ ให้เกิดผูป้ ระกอบการดิจิทลั ยทุ ธศาสตร์ 8 ดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อปุ กรณ์สอ่ื สารข้อมลู แหล่งทอ่ งเท่ียว การปรบั ปรุงแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งขอ้ มลู วถิ ีชุมชน ยุทธศาสตร์ 4 ดา้ นการจราจร อา้ งองิ หน้า 8.1.3 โครงการจดั กิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการส่งเสรมิ การเช่อื มต่อยานพาหนะต่างประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจัดระเบยี บพนื้ ท่ที ่องเท่ยี ว 3-34 การเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยการสัญจร 4.1.2 โครงการทดแทนทจ่ี อดรถบนพ้นื ผวิ จราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรบั ปรุงสถานท่ีและอปุ กรณ์ให้ข้อมูลเส้นทางการท่องเท่ียว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจาํ กดั การสญั จรในบริเวณกรงุ รัตนโกสนิ ทรช์ ั้นใน การพัฒนาเสน้ ทางการท่องเที่ยว 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนท่แี ละระบบออนไลนเ์ พื่อให้ข้อมูลการท่องเทย่ี ว 3-37 การสนับสนุนการเดินเทา้ และ 4.2.2 โครงการสง่ เสริมการใช้ขนสง่ มวลชนเพ่อื ลดการใช้ยานพาหนะสว่ นบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการสง่ เสริมการพฒั นาแหลง่ ทพี่ ักนักท่องเทีย่ วใหไ้ ด้มาตรฐาน การใชจ้ กั รยาน 4.2.3 โครงการเกบ็ ค่าธรรมเนียมการเข้าบริเวณกรงุ รตั นโกสินทร์ชน้ั นอกด้วย การพฒั นาแหล่งท่ีพกั ยานพาหนะสว่ นบุคคล นกั ทอ่ งเท่ยี วให้ได้มาตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจัดการจราจรในเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกจิ การออกแบบ พฒั นาและ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรงุ ท่าเรือ โครงการที่แรเงา หมายถึง โครงการทไ่ี ม่ได้ดาํ เนนิ การในพ้ืนที่ 9 บริเวณย่านนางเลงิ้ -มหานาค ปรับปรุงจดุ เปลีย่ นถ่ายการสญั จร สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

4-92 แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษแ์ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา 9) รายละเอียด ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณยา่ นนางเลงิ้ -มหานาค ตารางท่ี 4-10 รายละเอยี ด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณยา่ นนางเลง้ิ -มหานาค ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย (ล้านบาท) ปที ี่ ปีท่ี ปที ี่ สาํ คัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ จาํ นวน หน่วย หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบ 1-5 6-10 11-15 2 - กรมศลิ ปากร 6.00 √√√ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 144.00 2 - กรมศลิ ปากร √√√ 1 ดา้ นมรดก บาํ รงุ รกั ษา และคุม้ ครอง 1.1 การคมุ้ ครองและ 1.1.3 โครงการบรู ณปฏสิ ังขรณ์ - สาํ รวจและกาํ หนดลําดับความจาํ เป็นเร่งด่วน 6 แห่ง 1.0 6.0 การดําเนินการ ตอ่ เนอื่ ง วัฒนธรรม แหลง่ มรดกสาํ คัญ และ บรู ณปฏสิ ังขรณ์แหล่ง โบราณสถานในพ้ืนท่ี - บรู ณปฏสิ งั ขรณโ์ บราณสถาน 6 แหง่ 6 แหง่ 24.0 144.0 จัดทาํ มาตรการสนับสนุน มรดก กรุงรัตนโกสนิ ทร์ การฟน้ื ฟแู หลง่ มรดก 1.1.4 โครงการข้นึ ทะเบียนโบราณ - ศกึ ษาและกําหนดลาํ ดับความสาํ คัญ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - สถานท่ยี ังไมไ่ ด้รบั การขนึ้ ทะเบยี น* - ขึน้ ทะเบยี นโบราณสถานท่ยี ังไมไ่ ดข้ นึ้ ทะเบียน แบ่งพน้ื ท่ี แบ่งพน้ื ที่ 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบยี นแหลง่ - ศกึ ษาและกําหนดลําดับความสาํ คญั ไม่มกี าร - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ 1 มรดกท้องถนิ่ และสนับสนุนการ - จัดทาํ เกณฑก์ ารข้นึ ทะเบียนแหล่งมรดก แตง่ ต้ัง แบง่ พนื้ ที่ แบ่งพ้ืนท่ี (สาํ นกั ผงั เมือง) ตอ่ เนือ่ ง 3 2 บูรณปฏิสังขรณ์แหล่งมรดกท้องถ่ิน* คณะกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒพิ ิจารณาการข้ึน 1 ทะเบียนและอนุมัติงบประมาณสนับสนนุ การบรู ณะ ฟน้ื ฟแู หล่งมรดกท้องถิ่น จัดทํามาตรการสนับสนุน 1.2 การสง่ เสรมิ ฟ้ืนฟูวถิ ี 1.2.1 โครงการสบื สานฟน้ื ฟู - กาํ หนดหลักเกณฑ์และจดั ตั้งกรรมการพจิ ารณา ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ √ การฟืน้ ฟูแหลง่ มรดกท่ี วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ สนับสนนุ งบประมาณ แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พื้นท่ี (สํานักวฒั นธรรม กีฬา ต่อเนอื่ ง เปน็ วิถวี ฒั นธรรม เทศกาลท้องถน่ิ * และการทอ่ งเที่ยว) 1.2.2 โครงการฟ้นื ฟภู ูมิปัญญา - กาํ หนดหลกั เกณฑ์และจดั ต้ังกรรมการพจิ ารณา ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ ท้องถ่นิ วฒั นธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ สนับสนนุ งบประมาณ แบ่งพ้ืนที่ แบ่งพน้ื ท่ี (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา ต่อเนือ่ ง และหัตถศลิ ป์* และการท่องเทย่ี ว) 2 ดา้ นการใชท้ ี่ดนิ ควบคุมการใช้ประโยชน์ 2.1 การปรับปรงุ 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ - วางและจดั ทาํ แผนผังและขอ้ กาํ หนดการใช้ ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ ที่ดนิ โดยเครอื่ งมือทางผงั มาตรการควบคุมการใช้ แผนผงั ขอ้ กาํ หนดและมาตรการตาม ประโยชน์ทด่ี ินของผงั เมืองรวมกรงุ เทพมหานคร แบง่ พืน้ ท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานักผังเมอื ง) ต่อเนอ่ื ง เมือง ประโยชน์ทดี่ ินและอาคาร กฎหมายผังเมือง* (ปรับปรงุ ครงั้ ที่ 4) - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บังคบั ผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 4) โดย อาศยั อํานาจแห่งพระราชบญั ญัตกิ ารผังเมอื ง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรับปรุง - แกไ้ ขปรับปรงุ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เพือ่ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 1 ขอ้ บัญญตั กิ รุงเทพมหานครตาม การควบคุมแบบซอ้ นทบั (Overlay Control) โดย แบง่ พื้นที่ แบง่ พื้นท่ี (สาํ นักผงั เมือง) ต่อเนื่อง กฎหมายควบคุมอาคาร* อาศยั อาํ นาจแหง่ กฎหมายควบคมุ อาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการ - จัดทาํ มาตรการคมุ้ ครองส่งิ แวดล้อมศิลปกรรมเพือ่ ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - สํานกั งานนโยบายและ การดาํ เนินการ √ 2 คุม้ ครองสง่ิ แวดล้อมศิลปกรรม* การอนุรักษแ์ ละพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร์ แบง่ พนื้ ที่ แบ่งพนื้ ท่ี แผนทรัพยากรธรรมชาติ ตอ่ เนือ่ ง - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บงั คับ และสง่ิ แวดล้อม มาตรการคมุ้ ครองสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมเพอ่ื การ อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ โดยอาศยั อาํ นาจแหง่ กฎหมายสง่ิ แวดล้อม ดําเนนิ โครงการอนุรักษ์ 2.2 การวาง จดั ทํา และ 2.2.2 โครงการวาง จัดทํา และ - วาง จัดทาํ และดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามผังเมือง 1 พ้ืนท่ี 50.0 50.0 - กรุงเทพมหานคร 50.00 √1 ฟ้นื ฟูเมอื ง ดําเนินการให้เปน็ ไปตาม (สาํ นักผงั เมือง) ผงั เมืองเฉพาะ ดาํ เนนิ การใหเ้ ป็นไปตามผังเมือง เฉพาะ ในพนื้ ท่ีรอบสถานหี ลานหลวง เฉพาะ ในพืน้ ทเี่ ปลีย่ นถา่ ยการสัญจร โดยรอบสถานรี ถไฟฟ้า สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ ักษ์และพัฒนา 4-93 ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดบั ความ หมาย 3 ด้านภมู ิทัศน์ จาํ นวน หน่วย (ลา้ นบาท) ปที ่ี ปีท่ี ปีท่ี สาํ คัญ เหตุ หน่วยละ จํานวนเงนิ - กรุงเทพมหานคร 1-5 6-10 11-15 2 ขับเน้นการรับรโู้ ครงสรา้ ง 3.1 การปรับปรุงภูมทิ ัศน์ 3.1.1 โครงการปรับปรุงภูมิทศั น์ - สํารวจ ออกแบบ และก่อสรา้ งปรับปรงุ ในพื้นทวี่ ัด 6 ไร่ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (สาํ นักผงั เมือง / สํานัก 33.60 รูป เทพศริ นิ ทราวาส รวมพื้นทป่ี ระมาณ 6 ไร่ การโยธา / สาํ นักงาน √ 1 ต.ย.2 5.6 33.6 เขต / สาํ นักการจราจร การดาํ เนินการ หน้า และขนส่ง) ตอ่ เนื่อง √ 1 4-90 ของกรุงรัตนโกสนิ ทร์ เมือง โดยรอบโบราณสถาน - กรงุ เทพมหานคร (สํานักผงั เมอื ง / สาํ นกั การดําเนินการ √ 3 3.1.2 โครงการปรบั ปรุงภมู ิทัศน์ใน - ปรับปรุงภูมิทัศนบ์ ริเวณถนนราชดําเนินนอก ถนน ไม่มีการ - ไม่มีการ - การจราจรและขนสง่ / ต่อเน่อื ง โครงสร้างทศั นภาพ* นครสวรรค์ ถนนหลวง (ช่วงคลองผดุงกรุงเกษมถึง แบง่ พนื้ ท่ี แบง่ พน้ื ที่ สํานกั การโยธา / สํานกั ถนนวรจักร) ความยาวรวมประมาณ 3.3 กม. สิง่ แวดล้อม / สาํ นัก เทศกิจ) 3.1.3 โครงการปรับปรุงภมู ิทัศนใ์ น - สาํ รวจ ออกแบบ และปรบั ปรุงพืน้ ท่ีริมคลองผดุง ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร แนวแม่นาํ้ เจา้ พระยาและแนวคลอง กรงุ เกษม (ช่วงถนนประชาธปิ ไตยถงึ ถนนหลวง) แบ่งพ้ืนท่ี แบ่งพน้ื ท่ี (สํานกั การระบายน้ํา / สาํ คญั * ความยาวประมาณ 2.8 กม. คลองมหานาค (ช่วง แหง่ สํานกั ผงั เมอื ง / สาํ นัก ถนนจกั รพรรดพิ งษ์ถงึ คลองผดงุ กรุงเกษม) ความ 8 กม. การโยธา) 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสวา่ ง ยาวประมาณ 0.9 กม. 17.7 อาคารสําคัญ และพ้ืนท่ีสาธารณะ 3.5 28.0 - กรมการท่องเท่ยี ว 28.00 √ - ติดต้ังระบบและดวงไฟสอ่ งสวา่ งอาคารสาํ คัญ - กรุงเทพมหานคร 270.81 √ อาคารริมถนนราชดําเนนิ นอก 8 อาคาร - ติดตงั้ ไฟส่องสวา่ งสาธารณะ ย่านย่านนางเล้ิง-มหา 15.3 270.81 (สาํ นักการโยธา / สํานัก นาค ตามแนวถนนจักรพรรดิพงษ์ 0.44 กม. ถนนกรุง วัฒนธรรม กีฬา และ เกษม 2.74 กม. ถนนลกู หลวง 2.78 กม. ถนนราช การทอ่ งเทย่ี ว) ดําเนินนอก 1.5 กม. ถนนนครสวรรค์ 1.13 กม. ถนน หลานหลวง 1.56 กม. ถนนบํารงุ เมือง 0.96 กม. ถนน หลวง 1 กม. ถนนวรจกั ร 1.46 กม. ถนนพลบั พลาไชย 0.46 กม. รมิ คลองผดงุ กรงุ เกษม 2.8 กม. รมิ คลองมหา นาค 0.9 กม. ระยะทางรวม 17.7 กม. เสรมิ สร้างส่งิ แวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแล - จดั ตัง้ หนว่ ยงานด้านรุกขกรรมเพ่ือดูแลต้นไม้ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 3 และเพมิ่ ศกั ยภาพของ ภมู ิทัศนเ์ มือง รกั ษาตน้ ไม้ใหญ่* โดยเฉพาะ แบ่งพน้ื ท่ี แบง่ พื้นท่ี (สาํ นกั ส่งิ แวดล้อม) ตอ่ เนือ่ ง ผปู้ ฏบิ ตั ิงานดา้ นภมู ิทัศน์ - จดั ต้งั หนว่ ยงานบริการเพ่ือสนับสนุนการดูแล ตน้ ไมใ้ หญ่ของภาครัฐและภาคเอกชน 4 ดา้ นการจราจร เชื่อมโยงโครงขา่ ยการ 4.1 การเช่ือมโยง 4.1.2 โครงการทดแทนที่จอดรถบน - พฒั นาพ้นื ท่จี อดรถรวมทั้งในพ้นื ทีข่ องรฐั และ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ √ 1 2 สญั จรอย่างเปน็ ระบบ โครงขา่ ยการสัญจร พ้ืนผวิ จราจร* เอกชน แบ่งพ้ืนที่ แบง่ พ้นื ที่ (สํานักการจราจรและ ตอ่ เนื่อง ขนสง่ ) - ผูท้ รงสิทธใิ นพืน้ ท่ี สง่ เสริมการสญั จรที่เปน็ 4.2 การสนับสนุนการเดิน 4.2.2 โครงการสง่ เสริมการใชข้ นส่ง - กําหนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคล้องกบั ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มใน เท้าและการใช้จักรยาน มวลชนเพือ่ ลดการใชย้ านพาหนะ การเชื่อมโยงทัง้ ภายในและภายนอกพ้ืนที่ แบง่ พืน้ ที่ แบง่ พนื้ ที่ (สาํ นกั การจราจรและ ต่อเนื่อง พืน้ ที่กรุงรตั นโกสนิ ทร์ สว่ นบุคคล* - คัดเลือกรปู แบบระบบขนสง่ และยานพาหนะท่ี ขนสง่ ) เหมาะสมกบั ปริมาณผู้โดยสารและบรรยากาศของ พ้ืนท่ี สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

4-94 แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดบั ความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย (ล้านบาท) สําคญั เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ หน่วยละ จาํ นวนเงนิ หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ ปที ี่ ปีที่ ปที ี่ การดําเนนิ การ 1-5 6-10 11-15 2 5 ดา้ น (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร ตอ่ เน่ือง สาธารณูปโภค (สํานกั การระบายนํ้า) √√ ปรับปรงุ สาธารณปู โภค 5.1 การป้องกนั น้าํ ทว่ ม 5.1.2 โครงการฟ้นื ฟูระบบคูคลอง - ฟนื้ ฟูระบบคู คลอง และปรับปรุงคณุ ภาพน้ําคลอง ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - พื้นฐานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และปรบั ปรงุ คุณภาพนํ้า และปรบั ปรุงคุณภาพน้ํา* ผดงุ กรงุ เกษม 2.8 กม. คลองมหานาค 0.9 กม. แบ่งพน้ื ที่ และอเนกประโยชน์ ระยะทางรวม 3.7 กม. แบง่ พ้ืนท่ี ยกระดบั รปู แบบของ 5.2 การปรับปรุง 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา้ และสาย - นาํ สายไฟฟ้าและสายสือ่ สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไม่มีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 2 ระบบสาธารณปู โภคให้ โครงสรา้ งพ้ืนฐานของ สอ่ื สารลงใตด้ นิ * จกั รพรรดิพงษ์ 0.44 กม. ถนนกรุงเกษม 2.74 กม. แบ่งพืน้ ท่ี แบ่งพื้นท่ี (สาํ นักการโยธา) ตอ่ เนอื่ ง สอดคลอ้ งกับพนื้ ที่ ระบบสาธารณปู โภค ถนนลูกหลวง 2.78 กม. ถนนราชดําเนินนอก 1.5 - การไฟฟ้านครหลวง อนุรักษ์ กม. ถนนนครสวรรค์ 1.13 กม. ถนนหลานหลวง - บรษิ ทั ทีโอที จาํ กัด 1.56 กม. ถนนบํารุงเมอื ง 0.96 กม. ถนนหลวง 1 (มหาชน) กม. ถนนวรจกั ร 1.46 กม. ถนนพลับพลาไชย 0.46 - บรษิ ัท กสท กม. ระยะทางรวม 14.0 กม. โทรคมนาคม จํากดั (มหาชน) 6 ด้าน ยกระดบั การใชง้ าน 6.1 การปรับปรงุ การ 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วดั และ - ปรับปรงุ โรงเรียนวัดสิตาราม 3 แห่ง 5.0 15.0 - กรงุ เทพมหานคร 15.00 √ 3 สาธารณปู การ สาธารณูปการให้ ให้บรกิ ารสาธารณูปการ (สาํ นกั พัฒนาสงั คม / สอดคลอ้ งกบั โครงสร้าง โรงเรยี นเปน็ ศูนย์บรกิ ารครบวงจรแก่ โรงเรียนวัดมกุฏกษัตริยาราม โรงเรียนวดั ดิสานุกา สาํ นักการศึกษา / ประชากรและบรบิ ททาง สํานกั งานเขต) สังคมท่เี ปล่ยี นแปลง ผสู้ ูงอายแุ ละผดู้ ้อยโอกาส ราม - วดั 6.1.2 โครงการเพมิ่ ประโยชนก์ ารใช้ - ปรับปรงุ พน้ื ท่ีในโรงเรียนวัดสติ าราม 3 แหง่ 2.0 6.0 - กรงุ เทพมหานคร 6.00 √ 3 สอยโรงเรยี นเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ โรงเรยี นวัดมกฏุ กษัตริยาราม โรงเรยี นวดั ดสิ านุกา (สํานักการศกึ ษา / ศนู ยฝ์ กึ อาชพี และพื้นทีก่ จิ กรรม ราม สาํ นักงานเขต) สนั ทนาการ - สถานศึกษาในสังกัด กรุงเทพมหานคร ปรับปรุงสาธารณูปการ 6.2 การเตรยี มพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรยี น - ปรับปรุงพืน้ ทใ่ี นโรงเรยี นวัดสติ าราม โรงเรียนวดั 3 แห่ง 2.0 6.0 - กรุงเทพมหานคร 6.00 √ √ 3 เพอ่ื รองรับภยั พบิ ัติและ สาธารณูปการเพ่ือรองรบั เปน็ ท่พี กั ยามภัยพิบตั แิ ละภาวะ มกฏุ กษัตริยาราม โรงเรยี นวดั ดิสานกุ าราม 60 แห่ง 0.01 (สาํ นกั การศกึ ษา / 0.60 ภาวะฉกุ เฉิน ยามภัยพบิ ตั แิ ละภาวะ ฉกุ เฉิน - ติดตั้งแผนที่ในชมุ ชน ฉกุ เฉนิ 0.6 สาํ นกั ปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัย / สาํ นกั งานเขต) 6.2.2 โครงการติดตั้งอปุ กรณ์เพอื่ - ติดตั้งหวั จ่ายน้ําดับเพลงิ ในพ้นื ที่วดั โสมนัสวหิ าร 5 แหง่ 0.1 0.5 - กรุงเทพมหานคร 0.50 √ √ 2 ความปลอดภยั ของชุมชน วดั สนุ ทรธรรมทาน วดั ปรินายก วัดสติ าราม มัสยดิ 5 แหง่ 1.0 (สํานกั ปอ้ งกนั และ 5.00 มหานาค บรรเทาสาธารณภัย / - ตดิ ตั้งกล้องวงจรปิด 5.0 สํานักการจราจรและ ขนสง่ / สาํ นกั งานเขต) 7 ด้านกายภาพและ ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.1 โครงการปรบั ปรงุ - ศึกษา วางผงั และออกแบบ 1 พืน้ ท่ี 1.2 1.2 - กรุงเทพมหานคร 1.20 √ 2 28.80 วิถีชมุ ชน ชมุ ชนให้อยู่ร่วมกบั มรดก สภาพแวดลอ้ มชมุ ชน สภาพแวดลอ้ มการอยอู่ าศัยในกลมุ่ - ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ พน้ื ทีก่ ลมุ่ ชมุ ชนย่านนางเลิง้ 1 พน้ื ที่ 28.8 28.8 (สาํ นกั ผังเมอื ง) วฒั นธรรมได้อยา่ ง ชมุ ชนท่สี ําคัญ เหมาะสม และสง่ เสรมิ การเรียนรู้แก่สาธารณะ สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษ์และพฒั นา 4-95 ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปรมิ าณ ราคา หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย หน่วยละ จาํ นวนเงนิ (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร ปที ่ี ปีท่ี ปที ่ี 7 ดา้ นกายภาพและ ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1 การปรับปรุง 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พืน้ ท่ี - จัดกระบวนการมีส่วนร่วม 5 แหง่ (สาํ นกั ผงั เมือง) 1.00 1-5 6-10 11-15 3 วถิ ีชมุ ชน ชุมชนใหอ้ ยู่ร่วมกับมรดก สภาพแวดลอ้ มชุมชน สาธารณะระดบั กลุ่มชุมชนภายใน - ปรบั ปรงุ พ้ืนที่สาธารณะระดับกลุม่ ชมุ ชน วัด 5 แหง่ 0.2 1.0 - ศาสนสถานเจา้ ของ 24.00 (ตอ่ ) วฒั นธรรมได้อย่าง (ตอ่ ) ศาสนสถาน โสมนสั วิหาร วดั สุนทรธรรมทาน วดั ปรินายก 4.8 24.0 พื้นที่ √√√ เหมาะสม และสง่ เสริม วัดสติ าราม มัสยิดมหานาค 8 แห่ง การเรยี นรู้แกส่ าธารณะ 7.2 การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิด - พฒั นาพนื้ ทส่ี าธารณะจากทโี่ ล่งวา่ งในชมุ ชน 3.0 24.0 24.00 (ตอ่ ) เศรษฐกิจชุมชน 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ของ - รับสมัครชุมชนหรือผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชนที่ ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ 3 สง่ เสรมิ การต่อยอดภูมิ ปัญญาและการสรา้ ง ผ้ปู ระกอบการภายในชมุ ชน* สนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แบ่งพื้นท่ี แบ่งพ้นื ท่ี (สํานักพฒั นาสังคม) ตอ่ เนือ่ ง เศรษฐกจิ ชมุ ชน - อบรม และสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการเพอ่ื พัฒนา ผลิตภณั ฑร์ ว่ มกบั ผู้เช่ยี วชาญ 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ให้เกิด - รับสมัครผู้ประกอบการทีม่ ีความพรอ้ มในพ้ืนท่ี ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - สํานักงานส่งเสริม การดาํ เนนิ การ √ √ 3 ผปู้ ระกอบการดิจทิ ัล* เพอื่ รบั การอบรม และใหค้ วามชว่ ยเหลือโดย แบ่งพ้ืนที่ แบง่ พืน้ ที่ เศรษฐกจิ ดิจิทลั ตอ่ เนือ่ ง ผู้เช่ยี วชาญ - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพิ่มทกั ษะของ ผูป้ ระกอบการในการเปน็ ผู้ประกอบการดิจทิ ัล - พฒั นาเว็บทา่ (Portal web) เพื่อสง่ เสรมิ การค้า ดจิ ิทัลในระดับย่านตา่ ง ๆ 8 ด้านการทอ่ งเท่ยี ว เพมิ่ คุณคา่ และความ 8.1 การปรับปรงุ แหลง่ 8.1.1 โครงการปรับปรงุ อุปกรณ์ - ศึกษาและจัดทาํ รายละเอียดข้อมูลแหล่งทอ่ งเทยี่ ว ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ 3 หลากหลายทางการ ท่องเทย่ี ว สอื่ สารข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว* วัดมกฏุ กษตั รยิ าราม ถนนราชดาํ เนินนอก แบง่ พ้นื ท่ี แบ่งพืน้ ท่ี (สาํ นักวฒั นธรรม กีฬา ตอ่ เนื่อง ทอ่ งเท่ียว - ตดิ ตงั้ ป้ายข้อมูล และการทอ่ งเท่ียว) 8.1.2 โครงการพฒั นาแหลง่ ข้อมูล - ออกแบบและพัฒนาขอ้ มูล 1 แห่ง 0.5 0.5 - กรงุ เทพมหานคร 0.50 √ 2 วถิ ชี ุมชน - พัฒนาและใหบ้ รกิ ารศูนยข์ ้อมลู การท่องเท่ียว 1 แห่ง 10.0 10.0 (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา 10.00 ชุมชน และการท่องเทีย่ ว) 8.1.3 โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสริม - สนบั สนุนการประชาสมั พนั ธ์การจดั กิจกรรมการ 15 คร้ัง 0.5 7.5 - การท่องเทย่ี วแหง่ 7.50 √ √ √ 2 รปู การท่องเท่ยี วเชงิ วฒั นธรรม ทอ่ งเทย่ี ว 15 ประเทศไทย 225.00 ต.ย.1 - จดั งานตามเทศกาลประเพณีและเทศกาลพิเศษใน หนา้ พน้ื ท่ยี า่ นนางเลงิ้ -มหานาค ครัง้ 15.0 225.0 - กรงุ เทพมหานคร 4-90 (สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเทย่ี ว) 8.1.4 โครงการจดั ระเบียบพืน้ ที่ - ปรับปรุงและจัดระเบียบพ้ืนท่กี ารคา้ ในพ้นื ทถ่ี นน 1 พน้ื ที่ 10.0 10.0 - กรงุ เทพมหานคร 10.00 √ 2 ทอ่ งเท่ียว ราชดําเนินนอก 1 5.00 - ตดิ ตัง้ อปุ กรณก์ ล้องวงจรปดิ 10 จุดในพ้นื ที่ (สํานกั เทศกจิ / สาํ นกั พื้นท่ี 5.0 5.0 การจราจรและขนสง่ ) พฒั นาระบบการให้ขอ้ มูล 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.1 โครงการปรับปรงุ สถานทีแ่ ละ - ศึกษาและออกแบบจดุ ใหข้ อ้ มูลการท่องเท่ียวและ ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ 3 และเพิม่ สิ่งอํานวยความ การทอ่ งเท่ียว อุปกรณใ์ ห้ขอ้ มูลเส้นทางการ ปา้ ยขอ้ มูลเส้นทางการทอ่ งเท่ยี ว แบ่งพื้นท่ี แบง่ พน้ื ที่ (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา ตอ่ เน่ือง สะดวกนกั ท่องเที่ยว ท่องเท่ยี ว* - ตดิ ต้ังจุดใหข้ ้อมลู การท่องเที่ยวและปา้ ยข้อมูล และการท่องเทย่ี ว) เสน้ ทางทอ่ งเทยี่ ว สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

4-96 แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สําคญั เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ปีที่ ปีท่ี ปที ่ี การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 2 (ล้านบาท) (ล้านบาท) - การท่องเทย่ี วแห่ง ตอ่ เนื่อง ประเทศไทย √ 8 ดา้ นการทอ่ งเท่ียว พฒั นาระบบการให้ข้อมูล 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนท่แี ละ - จัดทาํ แผนท่ีแสดงข้อมูลเสน้ ทางท่องเท่ยี วทส่ี ําคัญ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - (ตอ่ ) และเพิม่ สงิ่ อํานวยความ การทอ่ งเท่ยี ว ระบบออนไลนเ์ พือ่ ให้ขอ้ มลู การ ในกรุงรตั นโกสนิ ทร์และพื้นท่ีตอ่ เนือ่ ง แบง่ พน้ื ที่ สะดวกนักท่องเทยี่ ว (ต่อ) ท่องเที่ยว* - จัดทําระบบออนไลนเ์ พอ่ื ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมลู แบง่ พนื้ ที่ (ตอ่ ) แหล่งท่องเทีย่ วและเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนท่ี พกั - ปรบั ปรุงฐานข้อมูล แผนท่ี ระบบออนไลน์ใหม้ ี ข้อมลู ที่ถกู ต้องและทนั สมยั รวม 902.51 * โครงการทม่ี ีการดําเนินการต่อเน่อื งกนั หลายพนื้ ท่ี ดูรายละเอยี ดในหนา้ 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา 4-97 4.2.10 บริเวณย่านเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคม 1) ขอบเขตพืน้ ที่ จดถนนยมราชสขุ มุ ถนนพลบั พลาไชย ถนนหลวง และแนวคลองผดงุ กรงุ เกษมฝงั่ ตะวันออก ทศิ เหนอื จดแนวคลองผดงุ กรงุ เกษมฝ่งั ตะวนั ออก ถนนพระราม 4 ถนนทรงสวัสด์ิ และแนวกงึ่ กลาง ทศิ ตะวันออก แม่นํ้าเจ้าพระยา จดแนวกงึ่ กลางแม่นํา้ เจา้ พระยา ทิศใต้ จดถนนจกั รวรรดิ และถนนวรจกั ร ทิศตะวนั ตก 2) ความสําคญั ย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมเป็นพ้ืนที่ขนาดใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงประวัติศาสตร์ มีแหล่งมรดก วิถีวัฒนธรรม และชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนกระจายตัวต่อเนื่องทั่วทั้งพ้ืนที่ แม้ว่าบริเวณนี้จะมีโบราณสถานที่ข้ึนทะเบียน และยัง ไม่ได้ข้ึนทะเบียนอยู่ไม่มากนัก แต่กลับมีแหล่งมรดกสําคัญอื่น ๆ เช่น วัด ศาลเจ้า ตึกแถวและอาคารเก่า กระจายตัวอยู่เป็น จํานวนมาก รวมท้ังมีวิถวี ัฒนธรรมทโ่ี ดดเดน่ ของชาวไทยเช้ือสายจนี ชาวจีนอพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานบริเวณตลาดสําเพ็งเป็นจํานวนมากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต่อมารัชกาลที่ 5 ทรงโปรด เกล้าฯ ให้ตัดถนนเยาวราชขน้ึ กลางย่านสําเพ็งเพื่อจัดระเบียบพื้นที่และป้องกันเพลงิ ไหม้ เน่ืองจากสภาพความแออัดของพืน้ ที่ มีการ ตัดถนนเพิ่มอีกหลายสาย ได้แก่ ถนนราชวงศ์เพื่อเชื่อมต่อท่าเรือราชวงศ์กับย่านเยาวราช-ถนนทรงวาด ย่านการค้าของชาวจีนและ ชาวต่างชาตินอกพระนคร ถนนทรงวาดเพื่อเช่ือมท่าเรือและการขนส่งริมแม่น้ําเจ้าพระยา และถนนเจริญกรุงมีความสัมพันธ์กันใน ฐานะเปน็ ย่านการคา้ และย่านโกดังทา่ เรือในพระนครทเ่ี กอ้ื กลู กนั ตั้งแต่ในอดตี วงเวียน 22 กรกฎาคมสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นการพัฒนาท่ีดินหลังจากเกิดเพลิงไหม้คร้ังใหญ่ โดยนํารูปแบบของ การตัดถนนและสร้างวงเวียนตามแบบตะวันตกมาใช้ เพ่ือรําลึกถงึ วันท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ในเหตุการณ์ทหารไทยเข้ารว่ มรบ กับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งท่ี 1 จนได้รับชัยชนะและมีโอกาสในการแก้ไขสัญญาที่ไม่เป็นธรรมต่าง ๆ อันเนื่องมาจาก อิทธิพลของลัทธิล่าอาณานิคมที่เกิดขึ้นในรัชสมัยก่อนหน้า ช่ือถนนในบริเวณน้ีจึงสะท้อนถึงความสัมพันธ์ระดับประเทศในช่วงเวลา ดังกล่าว ได้แก่ ไมตรีจิตต์ มิตรพันธ์ และสันติภาพ พ้ืนท่ีวงเวียน 22 กรกฎาคม มีอาคารเก่าที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์กระจายตัวอยู่ เช่น ตึกแถวบริเวณถนนไมตรีจิตต์ท่ีเช่ือมกับถนนเจริญกรุงบริเวณคลองผดุงกรุงเกษม และถนนพระราม 4 บริเวณหน้าสถานีรถไฟ หัวลําโพง ในปัจจุบันบริเวณหน้าวัดมังกรกมลาวาส ถนนเจริญกรุง มีการก่อสร้างสถานีวัดมังกรบนเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีนํ้าเงินส่วน ต่อขยายจากสถานีหัวลําโพงไปยังบางแค ซึ่งจะส่งผลให้ย่านเยาวราชและพ้ืนที่รอบสถานีดังกล่าวเชื่อมโยงกับย่านต่าง ๆ ของ กรงุ เทพมหานครมีการเติบโตทางเศรษฐกจิ มากย่ิงข้ึนในอนาคต สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

4-98 แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา 3) สรปุ สถานการณป์ จั จุบัน 5) แหลง่ มรดกทีส่ าํ คัญ ยา่ นเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคมมชี ่ือเสียงในดา้ นเป็นแหล่งรวมอาหาร และวฒั นธรรมไทยจีน พืน้ ทีม่ คี วามหนาแนน่ สงู ยา่ นเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมมแี หล่งมรดกทีส่ าํ คัญ ดังแสดงในภาพที่ 4-29 ราคาท่ีดินสูง มีตึกและท่ีดินที่ไม่มีการใช้ประโยชน์ทิ้งร้างมากพอสมควร และอยู่ในช่วงก่อสร้างรถไฟฟ้า สถานการณ์ปัจจุบันใน บริเวณนีจ้ งึ แตกต่างจากพน้ื ที่อนื่ ๆ เนือ่ งจากทด่ี ินมรี าคาสูง ขาดแคลนทดี่ ินแปลงใหญ่ รวมถงึ ประชากรมีการลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง ภาพท่ี 4-29 แหลง่ มรดกทส่ี าํ คญั บริเวณยา่ นเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม องค์ประกอบสําคัญที่ทําให้เห็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและพัฒนาการเชิงพ้ืนท่ีของย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม คือ แหล่งมรดกประเภทวัด ศาลเจ้า ตึกแถวเก่า หรืออาคารเก่าที่มีคุณค่าควรอนุรักษ์อ่ืน ๆ ซึ่งกระจายตัวอยู่ตามแนวถนนเจริญกรุง ถนนเยาวราช ถนนทรงวาด และถนนไมตรีจิตต์ แหล่งมรดกเหล่านี้มีอยู่เป็นจํานวนมากที่เป็นทรัพย์สินของเอกชน หากไม่มีการ สนับสนุนจากภาครัฐให้เจ้าของดําเนินการอนุรักษ์และดูแลรักษาแหล่งมรดกเหล่านี้อย่างเหมาะสม คุณค่าของแหล่งมรดกและ อตั ลกั ษณ์ของย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมโดยรวมก็จะลดความสําคญั ลงไปในอนาคต เนื่องจากประสิทธิภาพในการเข้าถึงพ้ืนท่ีท่ีอยู่ในระดับตํ่า ความแออัดของพื้นที่ และการเปล่ียนแปลงรูปแบบการค้าและ การขนส่งในเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทําให้อาคารหลายแห่งไม่มีการใช้ประโยชน์ ถูกท้ิงร้างหรือมีการใช้งานไม่เต็มประสิทธิภาพ และ ประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง บริเวณถนนทรงวาดเป็นตัวอย่างผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงระบบจราจรและรูปแบบการค้าขาย จากทางนํ้ามาเป็นทางบก ทําให้ย่านการค้าบนถนนทรงวาดลดความสําคัญและซบเซาลงเป็นอย่างมาก ขณะที่กิจกรรมการค้าใน ตลาดสําเพ็งก็มีความคึกคักเฉพาะในเวลากลางวัน มีเพียงกิจกรรมบนถนนเยาวราชที่เป็นพ้ืนท่ีขายอาหารเท่าน้ันที่มีความคึกคักใน เวลากลางคืน การเข้ามาของโครงข่ายรถไฟฟ้าจะทําให้การเข้าถึงพ้ืนท่ีเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมจากส่วนอ่ืน ๆ ของ กรุงเทพมหานครทําได้สะดวกข้ึน และเป็นจุดเริ่มต้นให้เกิดการเปล่ียนแปลงท้ังในแง่บวกและแง่ลบ ท้ังในภาคส่วนที่ต้องการการใช้ ศักยภาพของทดี่ ินใหเ้ หมือนกับพ้ืนท่ีรอบสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางอ่ืน ๆ และภาคส่วนทีต่ ้องการอนุรกั ษม์ รดกวัฒนธรรมในพน้ื ที่และ ต่อยอดใหม้ ากขึ้นไปกว่าเดิม การเข้ามาถงึ ของสถานวี ดั มงั กรจึงเปน็ โอกาสและอุปสรรคในการอนุรกั ษไ์ ปพร้อมกนั 4) ศกั ยภาพพ้นื ที่ ย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมมีจุดแข็งที่สําคัญ คือ วิถีวัฒนธรรมไทยจีนที่ผ่านการผสมผสานกันจนเกิดอัตลักษณ์ท่ี เด่นชัด เช่น การอ้างอิงราคาทอง งานฝีมือเร่ืองทองรูปพรรณ หรืออาหารจีนหลากหลายประเภท ในอนาคตการเปิดให้บริการของ สถานีวัดมังกรจะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงในหลายด้าน เน่ืองจากการเข้าถึงพื้นที่สะดวกมากข้ึน แต่การเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเรว็ อาจสง่ ผลกระทบต่อการอนุรกั ษแ์ ละการต่อยอดมรดกวฒั นธรรมของพนื้ ทไ่ี ดเ้ ช่นเดียวกนั สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรักษแ์ ละพฒั นา 4-99 ภาพท่ี 4-30 แนวคิดในการอนุรกั ษ์และพฒั นาบริเวณยา่ นเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม 6) แนวคดิ ในการอนรุ ักษ์และพฒั นา แนวคิดหลักในการอนุรักษ์และพัฒนาย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม ได้แก่ การส่งเสริมศักยภาพในการเป็นย่าน การค้าต่อเนื่องจากอดีต การข้ึนทะเบียนมรดกท้องถิ่น การใช้มาตรการทางผังเมืองและภาษีเพ่ือกระตุ้นการอนุรักษ์ รวมถึงการใช้ สถานวี ดั มังกรและโครงการสัญจรทางเท้าเพ่ือฟื้นฟยู ่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคมใหค้ งอยแู่ ละมีวถิ ีวฒั นธรรมทโี่ ดดเดน่ ตอ่ ไป 7) การดําเนินการเพื่อการอนรุ ักษ์และพฒั นา การดําเนินการเพื่อการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาพ้นื ท่ีบริเวณนีจ้ งึ แบ่งเปน็ 3 ประเดน็ ดงั นี้ (1) การวางและจดั ทําผงั เมืองเฉพาะใน 2 พน้ื ที่ มีวัตถปุ ระสงคแ์ ละการดําเนนิ การท่แี ตกต่างกนั ได้แก่ - การวางและจัดทําผังเฉพาะเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นท่ีโดยรอบสถานีวัดมังกร ประกอบด้วย การจัดการ ด้านจราจร การควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดินรอบสถานีรถไฟฟ้า การใช้มาตรการการโอนสิทธิการพัฒนา อันเนื่องมาจากการเสียสิทธิในการพฒั นาทด่ี ินทมี่ อี าคารที่ควรคา่ ตอ่ การอนรุ ักษต์ ้ังอยู่ - การจัดทําผังเมืองเฉพาะในพื้นที่อนุรักษ์ ได้แก่ ผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาย่านทรงวาด ประกอบด้วยการฟื้นฟูและการอนุรักษ์อาคารที่ควรค่าต่อการอนุรักษ์ การเพิ่มระดับการเข้าถึงพื้นท่ีทรงวาด ตามแนวเหนือใต้ หรือตามเส้นทางตรอกซอยสายส้ันท่ีเช่ือมจากถนนเจริญกรุงบริเวณสถานีวัดมังกร ผ่านย่าน เยาวราชเข้าสู่พื้นที่ริมนํ้าบริเวณทรงวาด ได้แก่ ถนนมังกร ถนนแปลงนาม ถนนเยาวพานิช และซอยโรงโคม รวมถึงการใช้งบประมาณเพ่ือจัดทําสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนาเฉพาะพื้นท่ี อาทิ การพฒั นาท่าเรอื เพื่อเช่อื มต่อกับส่วนอื่นของเมอื งตามเสน้ ทางริมแม่น้ําเจ้าพระยา (2) การปรับปรุงภูมิทัศน์พ้ืนที่ริมนํ้าและการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและพื้นท่ีเปิดโล่งในชุมชน รวมถึงการจัดต้ังศูนย์บริการด้านสุขภาพชุมชน การใช้อาคารเก่าที่ควรค่าในการอนุรักษ์เป็นศูนย์การเรียนรู้และ พัฒนาแหล่งเรยี นรทู้ างวฒั นธรรม (3) การสร้างมาตรการในการดูแลรักษามรดกทางวัฒนธรรมในพ้ืนที่โดยชุมชน ประกอบด้วย การให้ความรู้และ ปลูกฝังจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์ การดําเนินกิจกรรมเรียนรู้ สร้างสรรค์ และต่อยอดวิถีวัฒนธรรม โดยเฉพาะ การดํารงรกั ษาอตั ลักษณข์ องวฒั นธรรมไทยจนี ในย่านเยาวราช ตลอดจนการสรา้ งองคก์ รชุมชนหรือสนับสนนุ ให้ เกิดกลุ่มทางสงั คมทเ่ี ป็นกลไกและตัวกลางในการจัดกจิ กรรมอนรุ กั ษไ์ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ภาพที่ 4-31 ผังรายละเอียดการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

4-100 แผนผังแม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์และพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบรเิ วณ ย่านเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

แผนผงั แม่บทการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรักษ์และพฒั นา 4-101 ยทุ ธศาสตร์ 1 ดา้ นมรดกวฒั นธรรม อา้ งอิงหนา้ ยทุ ธศาสตร์ 5 ด้านสาธารณปู โภค อ้างอิงหน้า 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคุม้ ครองแมน่ าํ้ เจา้ พระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปอ้ งกนั นํ้าท่วม 3-42 3-8 3-43 การคุม้ ครองและบรู ณปฏิสงั ขรณ์ 1.1.2 โครงการบูรณปฏิสงั ขรณ์แหลง่ มรดกสําคญั 3-9 การป้องกนั นาํ้ ท่วมและปรับปรงุ 5.1.2 โครงการฟน้ื ฟรู ะบบคูคลอง และปรบั ปรงุ คณุ ภาพนํา้ 3-44 3-10 3-45 แหลง่ มรดก 1.1.3 โครงการบูรณปฏสิ งั ขรณโ์ บราณสถานในพ้ืนทก่ี รงุ รตั นโกสนิ ทร์ คณุ ภาพนํ้า 5.1.3 โครงการปรับปรุงระบบการระบายนํ้า 3-11 อ้างอิงหน้า 1.1.4 โครงการข้ึนทะเบยี นโบราณสถานทีย่ งั ไม่ไดร้ ับการข้ึนทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา้ และสายส่ือสารลงใต้ดิน 3-48 1.1.5 โครงการจดั ทาํ ทะเบียนแหล่งมรดกท้องถิ่น และสนับสนุนการบรู ณปฏิสงั ขรณ์ การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน 5.2.2 โครงการจัดตั้งศูนยป์ ระสานงานและขอ้ มลู และพฒั นาเครือขา่ ยระบบ 3-49 แหลง่ มรดกทอ้ งถ่ิน ของระบบสาธารณปู โภค สารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสืบสานฟนื้ ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลท้องถ่ิน 3-51 การส่งเสริมฟนื้ ฟูวิถีวฒั นธรรม 1.2.2 โครงการฟืน้ ฟภู ูมปิ ัญญาท้องถ่ิน วัฒนธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ และหตั ถศิลป์ ยทุ ธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อา้ งองิ หนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วดั และโรงเรยี นเป็นศนู ย์บริการครบวงจรแก่ผ้สู งู อายุและ 3-55 ยทุ ธศาสตร์ 2 ด้านการใช้ทด่ี ิน อา้ งองิ หนา้ การปรับปรุงการให้บรกิ าร ผู้ด้อยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแกไ้ ขปรบั ปรงุ แผนผังข้อกําหนดและมาตรการตามกฎหมายผังเมือง 3-16 สาธารณปู การ 6.1.2 โครงการเพ่ิมประโยชน์การใชส้ อยโรงเรียนเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ ศูนยฝ์ กึ อาชีพ 3-17 อ้างองิ หนา้ การปรบั ปรงุ มาตรการควบคมุ 2.1.2 โครงการแก้ไขปรับปรงุ ข้อบญั ญตั ิกรงุ เทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร 3-18 และพ้นื ท่ีกจิ กรรมสนั ทนาการ 3-61 3-62 การใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินและอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการคุม้ ครองสงิ่ แวดล้อมศิลปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน็ ทพี่ ักยามภัยพบิ ตั แิ ละภาวะฉกุ เฉนิ 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จัดทํา และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ บริเวณรมิ ฝั่ง การเตรยี มพร้อมสาธารณูปการ 3-65 3-66 การวาง จัดทาํ และดําเนินการให้ แม่น้ําเจ้าพระยา เพอ่ื รองรบั ยามภัยพิบัตแิ ละภาวะ 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณเ์ พื่อความปลอดภัยของชุมชน 3-67 เปน็ ไปตามผงั เมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จดั ทาํ และดาํ เนินการให้เปน็ ไปตามผังเมอื งเฉพาะ ในพืน้ ที่ ฉกุ เฉนิ เปลยี่ นถ่ายการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ยทุ ธศาสตร์ 7 ดา้ นกายภาพและวถิ ชี มุ ชน ยุทธศาสตร์ 3 ด้านภูมทิ ัศน์ อา้ งองิ หนา้ แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มการอยู่อาศัยในกลุ่มชุมชนท่ีสาํ คัญ แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรับปรุงภมู ทิ ศั นโ์ ดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ ม 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พ้นื ทส่ี าธารณะระดับกลุ่มชุมชนภายในศาสนสถาน การปรบั ปรงุ ภมู ิทัศนเ์ มอื ง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ในโครงสรา้ งทศั นภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ศั น์ในแนวแมน่ า้ํ เจา้ พระยาและแนวคลองสําคญั 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรบั ปรงุ พนื้ ที่โลง่ สาธารณะ 3-26 การบริหารจัดการภูมทิ ศั น์เมือง 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ่ งสว่างอาคารสําคัญ และพ้นื ทีส่ าธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑข์ องผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาต้นไม้ใหญ่ 3-28 การส่งเสริมเศรษฐกิจชมุ ชน 7.2.2 โครงการสง่ เสริมให้เกดิ ผูป้ ระกอบการดจิ ิทัล ยทุ ธศาสตร์ 8 ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรับปรุงอุปกรณส์ อ่ื สารข้อมลู แหล่งท่องเที่ยว การปรบั ปรงุ แหลง่ ทอ่ งเที่ยว 8.1.2 โครงการพฒั นาแหลง่ ขอ้ มูลวถิ ชี ุมชน ยุทธศาสตร์ 4 ด้านการจราจร อ้างอิงหนา้ 8.1.3 โครงการจัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการส่งเสรมิ การเชอื่ มต่อยานพาหนะต่างประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจดั ระเบียบพ้ืนทท่ี ่องเท่ยี ว 3-34 การเช่ือมโยงโครงข่ายการสญั จร 4.1.2 โครงการทดแทนทีจ่ อดรถบนพน้ื ผิวจราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานท่แี ละอุปกรณใ์ ห้ข้อมูลเสน้ ทางการท่องเทยี่ ว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจํากัดการสญั จรในบรเิ วณกรงุ รตั นโกสินทร์ชน้ั ใน การพัฒนาเส้นทางการท่องเทย่ี ว 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทแี่ ละระบบออนไลน์เพ่ือให้ขอ้ มลู การท่องเท่ียว 3-37 การสนบั สนุนการเดนิ เทา้ และ 4.2.2 โครงการส่งเสรมิ การใชข้ นสง่ มวลชนเพื่อลดการใช้ยานพาหนะสว่ นบุคคล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการส่งเสรมิ การพัฒนาแหลง่ ท่ีพกั นักทอ่ งเที่ยวใหไ้ ด้มาตรฐาน การใช้จกั รยาน 4.2.3 โครงการเกบ็ ค่าธรรมเนียมการเข้าบริเวณกรุงรตั นโกสินทรช์ ้ันนอกดว้ ย การพฒั นาแหล่งท่ีพัก ยานพาหนะส่วนบุคคล นกั ท่องเที่ยวใหไ้ ดม้ าตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจัดการจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกิจ การออกแบบ พฒั นาและ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรบั ปรงุ ท่าเรอื โครงการที่แรเงา หมายถงึ โครงการที่ไม่ได้ดําเนินการในพน้ื ท่ี 10 บรเิ วณยา่ นเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคม ปรับปรุงจุดเปล่ยี นถา่ ยการสัญจร สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

4-102 แผนผังแมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษ์และพฒั นา 9) รายละเอยี ด ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบริเวณย่านเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม ตารางท่ี 4-11 รายละเอียด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบรเิ วณย่านเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคม ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย (ล้านบาท) ปีท่ี ปีที่ ปีท่ี สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ จํานวน หนว่ ย หน่วยละ จํานวนเงิน หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ 1-5 6-10 11-15 2 11.00 √√√ (ล้านบาท) (ล้านบาท) 264.00 2 √√√ 1 ดา้ นมรดก บาํ รุงรักษา และคุ้มครอง 1.1 การคมุ้ ครองและ 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสงั ขรณ์ - สํารวจและกําหนดลาํ ดบั ความจําเป็นเรง่ ดว่ น 11 แห่ง 1.0 11.0 - กรมศิลปากร การดําเนนิ การ ต่อเนื่อง วัฒนธรรม แหลง่ มรดกสําคัญ และ บรู ณปฏิสงั ขรณแ์ หล่ง โบราณสถานในพ้นื ที่ - บูรณปฏสิ ังขรณโ์ บราณสถาน 11 แห่ง 11 แห่ง 24.0 264.0 จดั ทํามาตรการสนับสนนุ มรดก กรงุ รัตนโกสินทร์ การฟนื้ ฟแู หลง่ มรดก 1.1.4 โครงการขึ้นทะเบียนโบราณ - ศึกษาและกาํ หนดลาํ ดับความสาํ คญั ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรมศิลปากร สถานทยี่ ังไมไ่ ดร้ บั การขน้ึ ทะเบียน* - ขน้ึ ทะเบียนโบราณสถานทีย่ งั ไมไ่ ดข้ น้ึ ทะเบียน แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพ้นื ท่ี 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบียนแหลง่ - ศกึ ษาและกําหนดลาํ ดบั ความสาํ คญั ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 1 มรดกทอ้ งถิน่ และสนบั สนุนการ - จดั ทาํ เกณฑก์ ารข้นึ ทะเบียนแหลง่ มรดก แตง่ ตง้ั แบง่ พื้นท่ี แบง่ พ้ืนที่ (สํานกั ผงั เมอื ง) ต่อเนือ่ ง บรู ณปฏิสังขรณ์แหลง่ มรดกท้องถิ่น* คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิพิจารณาการขึน้ ทะเบียนและอนมุ ตั ิงบประมาณสนับสนุนการบรู ณะ ฟ้ืนฟูแหลง่ มรดกท้องถน่ิ จดั ทํามาตรการสนับสนนุ 1.2 การสง่ เสรมิ ฟนื้ ฟูวิถี 1.2.1 โครงการสืบสานฟืน้ ฟู - กาํ หนดหลักเกณฑแ์ ละจัดตั้งกรรมการพิจารณา ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ √ 3 การฟนื้ ฟูแหล่งมรดกท่ี วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณแี ละ เปน็ วถิ วี ัฒนธรรม เทศกาลท้องถิ่น* สนบั สนุนงบประมาณ แบ่งพืน้ ที่ แบง่ พ้ืนท่ี (สํานักวฒั นธรรม กีฬา ต่อเน่ือง และการทอ่ งเท่ียว) 1.2.2 โครงการฟื้นฟูภูมปิ ัญญา - กําหนดหลกั เกณฑ์และจัดตงั้ กรรมการพิจารณา ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 2 ท้องถน่ิ วัฒนธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ สนับสนุนงบประมาณ แบ่งพ้ืนที่ แบ่งพื้นที่ (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา ตอ่ เนื่อง และหัตถศิลป์* และการท่องเที่ยว) 2 ด้านการใชท้ ่ีดนิ ควบคุมการใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรบั ปรุง 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรุง - วางและจดั ทาํ แผนผังและขอ้ กาํ หนดการใช้ ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 1 ทด่ี ินโดยเคร่อื งมือทางผัง มาตรการควบคมุ การใช้ แผนผังข้อกําหนดและมาตรการตาม ประโยชน์ทด่ี นิ ของผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร แบง่ พ้ืนท่ี แบ่งพน้ื ที่ (สํานกั ผังเมือง) ต่อเนือ่ ง เมือง ประโยชนท์ ด่ี ินและอาคาร กฎหมายผังเมอื ง* (ปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 4) - ดาํ เนนิ การประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บังคบั ผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรับปรงุ คร้ังท่ี 4) โดย อาศยั อํานาจแห่งพระราชบัญญตั ิการผังเมอื ง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ - แกไ้ ขปรับปรุงข้อบญั ญตั กิ รงุ เทพมหานคร เพอ่ื ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนินการ √ 1 ข้อบญั ญัตกิ รงุ เทพมหานครตาม การควบคมุ แบบซ้อนทับ (Overlay Control) โดย แบ่งพนื้ ท่ี แบง่ พ้ืนท่ี (สาํ นักผงั เมือง) ตอ่ เนอ่ื ง กฎหมายควบคมุ อาคาร* อาศัยอํานาจแหง่ กฎหมายควบคุมอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการ - จดั ทํามาตรการคุ้มครองสง่ิ แวดล้อมศิลปกรรมเพอื่ ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - สํานกั งานนโยบายและ การดาํ เนินการ √ 2 คุม้ ครองส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม* การอนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ แบง่ พื้นที่ แบง่ พื้นที่ แผนทรัพยากรธรรมชาติ ตอ่ เน่อื ง - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บังคบั และสิ่งแวดล้อม มาตรการค้มุ ครองส่ิงแวดล้อมศิลปกรรมเพ่ือการ อนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ โดยอาศยั อาํ นาจแหง่ กฎหมายส่ิงแวดลอ้ ม สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook