แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา 4-103 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปริมาณ ราคา หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดับความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ 2 ดา้ นการใชท้ ดี่ ิน ดําเนินโครงการอนุรักษ์ 2.2 การวาง จดั ทาํ และ 2.2.1 โครงการวาง จดั ทาํ และ - วาง จัดทํา และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผงั เมือง หน่วยละ จาํ นวนเงนิ - กรงุ เทพมหานคร ปที ่ี ปีท่ี ปีท่ี 1 (ต่อ) ฟนื้ ฟูเมอื ง ดาํ เนินการใหเ้ ป็นไปตาม 1 พืน้ ที่ (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (สํานกั ผังเมือง) 50.00 1-5 6-10 11-15 รปู ผังเมอื งเฉพาะ 1 ต.ย.1 1 พืน้ ที่ 50.0 50.0 √ หน้า 4-100 ดําเนินการให้เปน็ ไปตามผงั เมือง เฉพาะ ย่านเยาวราช-ทรงวาด เฉพาะ บริเวณริมฝ่ังแมน่ ้ําเจา้ พระยา 2.2.2 โครงการวาง จดั ทาํ และ - วาง จดั ทาํ และดําเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามผังเมือง 50.0 50.0 - กรงุ เทพมหานคร 50.00 √ ดาํ เนินการให้เปน็ ไปตามผงั เมอื ง เฉพาะ ในพน้ื ท่รี อบสถานีวัดมังกร (สํานกั ผงั เมอื ง) เฉพาะ ในพ้นื ทเ่ี ปลีย่ นถ่ายการสญั จร โดยรอบสถานีรถไฟฟ้า 3 ดา้ นภมู ทิ ัศน์ ขับเน้นการรบั ร้โู ครงสรา้ ง 3.1 การปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ใน - ปรับปรุงภูมิทศั นบ์ รเิ วณถนนเยาวราช (ชว่ งคลอง ไม่มกี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 1 1 ของกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมอื ง โครงสรา้ งทัศนภาพ* รอบกรงุ ถึงถนนทรงสวัสด์ิ) แบ่งพื้นที่ แบ่งพืน้ ท่ี (สํานักผงั เมือง / สํานัก ตอ่ เนื่อง ความยาวรวมประมาณ 1 กม. การจราจรและขนส่ง / สาํ นักการโยธา / สํานกั สิ่งแวดล้อม / สาํ นัก เทศกิจ) 3.1.3 โครงการปรับปรุงภูมิทัศนใ์ น - สาํ รวจ ออกแบบ และปรบั ปรงุ พน้ื ที่ริมแม่นํ้า ไมม่ ีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ แนวแมน่ ้ําเจ้าพระยาและแนวคลอง เจ้าพระยา (ชว่ งปากคลองรอบกรุงถึงถนนทรง แบ่งพื้นท่ี แบ่งพ้ืนที่ (สาํ นกั การระบายน้ํา / ตอ่ เนอ่ื ง สําคัญ* สวสั ด์ิ) ความยาวประมาณ 1.2 กม. พนื้ ทร่ี มิ คลอง สํานกั ผังเมอื ง / สํานัก ผดงุ กรุงเกษม (ชว่ งถนนหลวงถึงถนนพระราม 4) การโยธา) ความยาวประมาณ 0.8 กม. 3.1.4 โครงการปรับปรงุ พ้นื ท่โี ล่ง - สํารวจ ออกแบบ และปรบั ปรงุ พ้นื ทวี่ งเวียน 22 1 ไร่ 4.5 4.5 - กรงุ เทพมหานคร 4.50 √ 2 สาธารณะ กรกฎาคม พนื้ ท่ปี ระมาณ 1 ไร่ (สํานักผังเมือง / สํานัก การจราจรและขนส่ง / สํานักการโยธา / สํานกั สิ่งแวดล้อม) 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่าง - ติดต้ังไฟส่องสว่างสาธารณะ ย่านเยาวราช-วงเวียน 8.7 กม. 15.3 133.11 - กรมการทอ่ งเทยี่ ว 133.11 √ 3 อาคารสาํ คัญ และพืน้ ทส่ี าธารณะ 22 กรกฎาคม ตามแนวถนนจักรวรรดิ 0.95 กม. - กรุงเทพมหานคร ถนนเจรญิ กรุง 0.92 กม. ถนนเยาวราช 0.93 กม. (สํานักการโยธา / สํานกั ถนนทรงวาด 0.9 ถนนกรุงเกษม 0.83 กม. ถนน วัฒนธรรม กีฬา และ ราชวงศ์ 0.7 กม. ถนนเสือปา่ 0.41 กม. ถนนพลบั การท่องเทย่ี ว) พลาไชย 0.55 กม. ถนนแปลงนาม 0.16 กม. ถนน เยาวพานชิ 0.35 กม. ริมแม่นํ้าเจา้ พระยา 1.2 กม. รมิ คลองผดงุ กรงุ เกษม 0.8 กม. ระยะทางรวม 8.7 กม. เสริมสร้างสงิ่ แวดล้อม 3.2 การบริหารจดั การ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จัดตัง้ หน่วยงานด้านรกุ ขกรรมเพ่ือดูแลต้นไม้ ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 3 และเพ่ิมศักยภาพของ ภมู ทิ ศั น์เมอื ง รกั ษาตน้ ไม้ใหญ*่ โดยเฉพาะ แบง่ พ้นื ท่ี แบ่งพื้นที่ (สํานกั สง่ิ แวดล้อม) ตอ่ เน่อื ง ผ้ปู ฏบิ ัติงานดา้ นภูมทิ ศั น์ - จัดต้งั หน่วยงานบรกิ ารเพื่อสนบั สนุนการดูแล ต้นไม้ใหญ่ของภาครฐั และภาคเอกชน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
4-104 แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ กั ษ์และพฒั นา ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หน่วยละ จาํ นวนเงนิ หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบ ปีที่ ปีท่ี ปีที่ 4 ดา้ นการจราจร การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 1 เชื่อมโยงโครงขา่ ยการ 4.1 การเชื่อมโยง (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) - กรงุ เทพมหานคร ตอ่ เนื่อง สญั จรอยา่ งเป็นระบบ โครงข่ายการสัญจร (สาํ นกั การจราจรและ √√ 4.1.2 โครงการทดแทนท่จี อดรถบน - พัฒนาพนื้ ทจี่ อดรถรวมท้งั ในพน้ื ทีข่ องรฐั และ ไม่มกี าร - ไมม่ กี าร - ขนส่ง) แบง่ พื้นที่ - ผู้ทรงสทิ ธิในพ้ืนที่ พื้นผิวจราจร* เอกชน แบ่งพื้นท่ี ส่งเสรมิ การสัญจรท่ีเปน็ 4.2 การสนบั สนนุ การเดนิ 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใช้ขนส่ง - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคลอ้ งกับ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 2 มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มใน เท้าและการใชจ้ ักรยาน มวลชนเพือ่ ลดการใชย้ านพาหนะ การเช่ือมโยงทง้ั ภายในและภายนอกพื้นที่ แบ่งพ้ืนที่ แบ่งพ้นื ท่ี (สํานักการจราจรและ ตอ่ เนื่อง พ้ืนทีก่ รุงรัตนโกสนิ ทร์ สว่ นบุคคล* - คดั เลอื กรปู แบบระบบขนส่งและยานพาหนะท่ี ขนสง่ ) เหมาะสมกบั ปริมาณผโู้ ดยสารและบรรยากาศของ พ้ืนท่ี พัฒนาจุดเปลย่ี นถ่ายการ 4.3 การออกแบบ พัฒนา 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขต - ศึกษาเพื่อวางแผนการจัดการจราจร และดําเนนิ 1 พ้ืนท่ี 20.0 20.0 - กรุงเทพมหานคร 20.00 √ √ 1 รปู 6.00 √ √ ต.ย.1 สญั จรใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และปรบั ปรุงจุดเปล่ยี น เศรษฐกิจเฉพาะกจิ มาตรการการจดั การจราจรด้วยความร่วมมอื ของ (สํานักการจราจรและ หนา้ 4-100 เชื่อมโยงกับการใช้ ถ่ายการสัญจร ภาคีการพัฒนา ในพนื้ ทถี่ นนเยาวราช ขนส่ง) 2 ประโยชน์ที่ดิน 4.3.2 โครงการพัฒนาและปรบั ปรงุ - ปรบั ปรุงทา่ เรอื โดยสารในแม่น้ําเจ้าพระยา 2 ทา่ 3.0 6.0 - กรมเจ้าท่า ท่าเรือ 5 ด้าน ปรับปรงุ สาธารณปู โภค 5.1 การปอ้ งกนั นํ้าทว่ ม 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปอ้ งกนั นํ้า - ปรบั ปรงุ จดุ เช่อื มตอ่ สาํ คญั ให้เป็นกาํ แพงท่เี ปดิ ได้ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 2 สาธารณูปโภค พนื้ ฐานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ และปรบั ปรงุ คุณภาพน้ํา ท่วม* ในเวลาปกติ และปดิ เพอื่ ป้องกนั น้ําท่วมได้โดยไม่ แบ่งพื้นท่ี แบง่ พื้นท่ี (สํานกั การระบายนํ้า) ตอ่ เนอื่ ง และอเนกประโยชน์ ขดั ขวางทัศนวิสัย และมุมมองระหวา่ งแมน่ า้ํ และ เมือง - ออกแบบแนวกําแพงปอ้ งกนั นาํ้ ท่วม สถานีสูบน้ํา ประตนู าํ้ และบ่อสูบนาํ้ เปน็ พเิ ศษ ใหส้ ามารถปรับใช้ เป็นพื้นท่กี จิ กรรมริมนํา้ ขับเน้นอตั ลกั ษณข์ องพน้ื ท่ี 5.1.2 โครงการฟื้นฟรู ะบบคูคลอง - ฟนื้ ฟูระบบคู คลอง และปรบั ปรงุ คุณภาพนาํ้ คลอง ไม่มกี าร - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 2 และปรับปรงุ คุณภาพน้าํ * ผดุงกรงุ เกษม 0.8 กม. แบ่งพื้นท่ี แบง่ พนื้ ที่ (สาํ นักการระบายนํ้า) ตอ่ เนอ่ื ง 5.1.3 โครงการปรับปรุงระบบการ - ปรบั ปรุงบ่อสบู น้ําสะพานยาว บ่อสูบนาํ้ ราชวงศ์ 4 แหง่ 15.0 60.0 - กรุงเทพมหานคร 60.00 √ 2 ระบายนํา้ บอ่ สูบน้าํ สวัสดีฝั่งตะวันตก บ่อสูบนาํ้ สวัสดีฝั่ง (สาํ นกั การระบายนํ้า) ตะวนั ออก ยกระดับรูปแบบของ 5.2 การปรับปรงุ 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟ้าและสาย - นําสายไฟฟา้ และสายส่ือสารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ 2 ระบบสาธารณูปโภคให้ โครงสรา้ งพ้ืนฐานของ สอ่ื สารลงใต้ดิน* จักรวรรดิ 0.95 กม. ถนนเจริญกรุง 0.92 กม. ถนน แบ่งพนื้ ที่ แบง่ พนื้ ที่ (สํานักการโยธา) ต่อเน่อื ง สอดคล้องกบั พ้นื ท่ี ระบบสาธารณปู โภค เยาวราช 0.93 กม. ถนนทรงวาด 0.9 ถนนกรุง - การไฟฟ้านครหลวง อนรุ ักษ์ เกษม 0.83 กม. ถนนราชวงศ์ 0.7 กม. ถนนเสอื ปา่ - บรษิ ทั ทโี อที จํากัด 0.41 กม. ถนนพลับพลาไชย 0.55 กม. ถนนแปลง (มหาชน) นาม 0.16 กม. ถนนเยาวพานชิ 0.35 กม. - บรษิ ัท กสท ระยะทางรวม 6.7 กม. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
แผนผังแมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพัฒนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรกั ษ์และพัฒนา 4-105 ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ 6 ดา้ น หนว่ ยละ จํานวนเงิน - กรงุ เทพมหานคร ปีที่ ปที ่ี ปีที่ สาธารณปู การ ยกระดับการใช้งาน 6.1 การปรับปรงุ การ 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วัดและ - ปรับปรุงโรงเรียนวัดคณกิ าผล 1 แหง่ (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (สํานักพัฒนาสงั คม / 5.00 1-5 6-10 11-15 3 สาธารณูปการให้ ให้บริการสาธารณูปการ สาํ นกั การศึกษา / สอดคล้องกับโครงสร้าง 5.0 5.0 สํานักงานเขต) √ ประชากรและบรบิ ททาง - วัด สังคมท่เี ปลีย่ นแปลง โรงเรยี นเปน็ ศูนยบ์ รกิ ารครบวงจรแก่ ผู้สูงอายุและผูด้ ้อยโอกาส 6.1.2 โครงการเพม่ิ ประโยชนก์ ารใช้ - ปรับปรงุ พ้นื ที่ในโรงเรยี นวัดคณิกาผล 1 แหง่ 2.0 2.0 - กรงุ เทพมหานคร 2.00 √ 3 สอยโรงเรียนเป็นศูนย์การเรยี นรู้ (สํานักการศึกษา / ศูนย์ฝึกอาชพี และพน้ื ท่กี จิ กรรม สํานกั งานเขต) สนั ทนาการ - สถานศึกษาในสงั กัด กรุงเทพมหานคร ปรบั ปรุงสาธารณปู การ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรียน - ปรับปรุงพนื้ ทใ่ี นโรงเรยี นวดั คณกิ าผล 1 แหง่ 2.0 2.0 - กรงุ เทพมหานคร 2.00 √ √ 3 เพอื่ รองรบั ภัยพิบัติและ สาธารณปู การเพื่อรองรบั เป็นที่พกั ยามภยั พิบตั แิ ละภาวะ - ตดิ ตัง้ แผนที่ในชุมชน 20 แหง่ 0.01 0.2 (สาํ นกั การศกึ ษา / 0.20 ภาวะฉกุ เฉนิ ยามภัยพบิ ัติและภาวะ ฉกุ เฉิน ฉกุ เฉิน สาํ นกั ป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภัย / สาํ นักงานเขต) 6.2.2 โครงการติดตั้งอุปกรณ์เพอ่ื - ติดตั้งหัวจ่ายนาํ้ ดับเพลงิ ในพ้นื ทว่ี ดั จักรวรรดิ 3 แหง่ 0.1 0.3 - กรงุ เทพมหานคร 0.30 √ √ 2 ความปลอดภัยของชมุ ชน ราชาวาส วัดคณิกาผล วดั สมั พันธวงศาราม 3 แห่ง 1.0 3.0 (สํานักปอ้ งกนั และ 3.00 - ตดิ ตั้งกล้องวงจรปิด บรรเทาสาธารณภยั / สํานกั การจราจรและ ขนสง่ / สํานักงานเขต) 7 ดา้ นกายภาพและ ปรับปรงุ สภาพแวดล้อม 7.1 การปรับปรงุ 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พื้นท่ี - จดั กระบวนการมีสว่ นร่วม 3 แหง่ 0.2 0.6 - กรงุ เทพมหานคร 0.60 √ √ √ 3 วถิ ีชมุ ชน ชุมชนให้อยู่ร่วมกบั มรดก สภาพแวดล้อมชมุ ชน สาธารณะระดบั กลุ่มชุมชนภายใน - ปรับปรงุ พ้ืนทส่ี าธารณะระดับกล่มุ ชมุ ชน 3 แหง่ 4.8 14.4 (สํานกั ผงั เมอื ง) 14.40 วัฒนธรรมได้อยา่ ง ศาสนสถาน วัดจกั รวรรดิราชาวาส วัดคณิกาผล เหมาะสม และสง่ เสรมิ วดั สัมพันธวงศาราม - ศาสนสถานเจา้ ของ 12.00 การเรยี นรู้แก่สาธารณะ - พฒั นาพ้นื ที่สาธารณะจากท่ีโล่งว่างในชมุ ชน พนื้ ท่ี 4 แห่ง 3.0 12.0 ส่งเสรมิ การต่อยอดภูมิ 7.2 การสง่ เสริมใหเ้ กิด 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ของ - รบั สมัครชุมชนหรือผูป้ ระกอบการภายในชมุ ชนที่ ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ 3 ปัญญาและการสรา้ ง เศรษฐกจิ ชุมชน ผปู้ ระกอบการภายในชุมชน* สนใจในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ แบ่งพื้นที่ แบ่งพนื้ ท่ี (สํานักพฒั นาสงั คม) ตอ่ เนื่อง เศรษฐกจิ ชุมชน - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ พฒั นา ผลิตภัณฑ์รว่ มกบั ผู้เชย่ี วชาญ 7.2.2 โครงการสง่ เสรมิ ให้เกดิ - รบั สมคั รผปู้ ระกอบการทมี่ ีความพรอ้ มในพืน้ ที่ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - สาํ นกั งานส่งเสรมิ การดาํ เนินการ √ √ 3 ผูป้ ระกอบการดจิ ทิ ัล* เพื่อรบั การอบรม และให้ความช่วยเหลือโดย แบ่งพน้ื ที่ แบง่ พื้นที่ เศรษฐกจิ ดิจิทลั ตอ่ เนอ่ื ง ผูเ้ ช่ยี วชาญ - อบรม และสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการเพิม่ ทักษะของ ผู้ประกอบการในการเปน็ ผู้ประกอบการดิจิทัล - พฒั นาเวบ็ ทา่ (Portal web) เพ่อื สง่ เสริมการค้า ดจิ ิทัลในระดบั ย่านตา่ ง ๆ สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
4-106 แผนผังแมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) ปที ี่ ปีท่ี ปที ่ี สําคัญ เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หน่วยละ จํานวนเงิน หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบ 1-5 6-10 11-15 3 การดาํ เนนิ การ √ 2 รูป 8.1 การปรบั ปรงุ แหล่ง (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) - กรงุ เทพมหานคร ต่อเน่อื ง 2 ต.ย.1 ท่องเทย่ี ว (สาํ นักวัฒนธรรม กีฬา √ หนา้ 8 ดา้ นการท่องเทย่ี ว เพ่ิมคุณคา่ และความ 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อุปกรณ์ - ศกึ ษาและจัดทํารายละเอยี ดขอ้ มลู แหล่งท่องเท่ียว ไม่มีการ - ไม่มีการ - และการท่องเท่ยี ว) 1.00 2 4-100 หลากหลายทางการ ส่ือสารข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว* ถนนทรงวาด ถนนเยาวราช วัดมังกรกมลาวาส แบง่ พืน้ ท่ี - กรงุ เทพมหานคร 20.00 √√√ ทอ่ งเท่ียว - ติดตงั้ ปา้ ยขอ้ มลู แหง่ แบ่งพ้นื ท่ี (สาํ นกั วฒั นธรรม กีฬา 3 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งข้อมลู 2 แหง่ และการทอ่ งเท่ยี ว) 7.50 √ วิถีชุมชน - ออกแบบและพัฒนาขอ้ มูล 2 ครั้ง 0.5 1.0 - การท่องเที่ยวแห่ง - พฒั นาและใหบ้ รกิ ารศูนย์ข้อมูลการท่องเทย่ี ว ครั้ง 10.0 20.0 ประเทศไทย 225.00 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมส่งเสริม ชมุ ชน 15 - กรงุ เทพมหานคร การทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม 0.5 7.5 (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา 20.00 - สนบั สนนุ การประชาสัมพันธก์ ารจดั กิจกรรมการ 15 และการทอ่ งเที่ยว) ทอ่ งเทีย่ ว 15.0 225.0 - กรุงเทพมหานคร 10.00 - จดั งานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพิเศษใน (สํานักเทศกิจ / สํานกั พน้ื ทีย่ ่านเยาวราช-วงเวยี น 22 กรกฎาคม การจราจรและขนส่ง) 8.1.4 โครงการจัดระเบยี บพนื้ ท่ี - ปรับปรุงและจดั ระเบียบพน้ื ท่กี ารคา้ ในพน้ื ที่ถนน 2 พืน้ ท่ี 10.0 20.0 ท่องเที่ยว เยาวราช และถนนทรงวาด 2 พืน้ ที่ 5.0 10.0 - ติดตัง้ อปุ กรณก์ ล้องวงจรปดิ 10 จุดในพ้ืนท่ี พัฒนาระบบการให้ข้อมลู 8.2 การพัฒนาเสน้ ทาง 8.2.1 โครงการปรับปรงุ สถานท่แี ละ - ศึกษาและออกแบบจุดใหข้ อ้ มลู การท่องเท่ยี วและ ไม่มกี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ และเพม่ิ สงิ่ อํานวยความ การท่องเท่ียว อปุ กรณใ์ หข้ อ้ มลู เส้นทางการ ป้ายข้อมูลเส้นทางการทอ่ งเทย่ี ว แบง่ พ้ืนท่ี สะดวกนักท่องเท่ียว ท่องเทย่ี ว* - ตดิ ต้ังจุดใหข้ ้อมูลการท่องเทย่ี วและปา้ ยข้อมูล แบ่งพน้ื ท่ี (สาํ นักวฒั นธรรม กีฬา ต่อเน่ือง เส้นทางทอ่ งเท่ียว และการทอ่ งเที่ยว) 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทีแ่ ละ - จัดทําแผนท่แี สดงข้อมลู เสน้ ทางทอ่ งเท่ียวทส่ี ําคัญ ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - การท่องเท่ียวแห่ง การดําเนินการ √ 2 ระบบออนไลนเ์ พื่อใหข้ ้อมลู การ ในกรงุ รัตนโกสินทร์และพ้นื ที่ตอ่ เนอื่ ง แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พื้นท่ี ประเทศไทย ต่อเนื่อง ทอ่ งเทย่ี ว* - จัดทําระบบออนไลน์เพื่อประชาสมั พันธ์ ใหข้ ้อมลู แหล่งทอ่ งเทีย่ วและเส้นทางทอ่ งเที่ยว ตลอดจนท่ี พกั - ปรับปรุงฐานข้อมลู แผนที่ ระบบออนไลนใ์ ห้มี ข้อมูลท่ถี ูกตอ้ งและทนั สมยั ยกระดบั มาตรฐานแหล่ง 8.3 การพฒั นาแหล่งทพี่ กั 8.3.1 โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นา - ศึกษาและจัดทาํ แนวทางการพัฒนาปรบั ปรงุ แหล่ง 1 พื้นที่ 0.4 0.4 - กรงุ เทพมหานคร 0.40 √ 3 รูป ทีพ่ กั นักท่องเทย่ี ว ทพ่ี ักนักทอ่ งเทีย่ ว 1 พื้นท่ี 9.6 (สาํ นักวฒั นธรรม กีฬา 9.60 ต.ย.2 นักทอ่ งเท่ียวให้ได้ แหล่งท่ีพักนักท่องเที่ยวใหไ้ ด้ - สนับสนนุ การพฒั นาแหลง่ ท่พี ักนกั ท่องเทย่ี ว 931.61 หน้า 9.6 และการท่องเทย่ี ว) 4-100 มาตรฐาน มาตรฐาน รวม * โครงการทม่ี ีการดาํ เนนิ การตอ่ เนอ่ื งกันหลายพืน้ ท่ี ดรู ายละเอียดในหน้า 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา 4-107 4.2.11 บริเวณย่านตลาดนอ้ ย 1) ขอบเขตพืน้ ที่ จดถนนพระรามท่ี 4 ทศิ เหนอื จดแนวคลองผดงุ กรุงเกษมฝ่ังตะวันออก ทิศตะวันออก จดแนวกงึ่ กลางแม่นํ้าเจ้าพระยา ทศิ ใต้ จดถนนทรงสวสั ดิ์ ทิศตะวันตก 2) ความสําคัญ ย่านตลาดน้อยเป็นพ้ืนท่ีชุมชนชาวไทยจีนริมแม่น้ําเจ้าพระยาที่มีอาณาเขตต่อเนื่องจากพื้นท่ีเยาวราชและทรงวาดมาจนถึง แนวคลองผดงุ กรุงเกษม และมีเส้นทางเช่ือมต่อไปยงั พ้นื ที่บางรักผ่านเสน้ ทางถนนเจริญกรงุ พ้ืนท่ีตลาดนอ้ ยเกิดจากการขยายตัวของ การต้ังถิ่นฐานของชุมชนชาวจีนในย่านสําเพ็งมาสู่ริมแม่นํ้าเจ้าพระยาในสมัยรัชกาลท่ี 4 ในสมัยนั้นย่านสําเพ็งถูกเรียกว่าตลาดใหญ่ ทําให้พื้นท่ีชุมชนที่ต่อเน่ืองมายงั ริมแมน่ า้ํ เจา้ พระยาถูกเรียกว่าตลาดน้อย มรดกวัฒนธรรมหลักของพนื้ ทีต่ ลาดนอ้ ย ได้แก่ วัดไตรมติ ร วิทยาราม วัดปทุมคงคา ศาลเจ้าโจวซือกง บ้านโซวเฮงไถ่ ศาลเจ้าโรงเกือก อาคารธนาคารสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ (สาขาตลาดน้อย) วดั อุภัยราชบํารุง ย่านตึกแถวตลาดน้อย และวัดกาลหว่าร์ (วัดแม่พระลูกประคํา) ซึ่งล้วนแล้วแต่เปน็ แหล่งมรดกที่ มีคุณคา่ ทางประวัติศาสตรท์ ่คี วรคา่ แกก่ ารอนุรกั ษ์ สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
4-108 แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 3) สรุปสถานการณ์ปจั จบุ นั 5) แหลง่ มรดกทส่ี ําคัญ ย่านตลาดน้อยเป็นพื้นที่ท่ีควรดําเนินการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมควบคู่กับการพัฒนาชุมชน โดยการส่งเสริมให้ชุมชน บริเวณย่านตลาดนอ้ ยมแี หลง่ มรดกที่สําคญั ดงั แสดงในภาพท่ี 4-32 ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง และร่วมกันบํารุงรักษามรดกทางวฒั นธรรมในชุมชนไปพร้อมกับการปรับปรุง สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของชุมชน ในปัจจุบันได้มีการศึกษาด้านการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นท่ีตามแนวทางดังกล่าวโดยนักวิชาการ ภาพที่ 4-32 แหลง่ มรดกทส่ี ําคัญบริเวณยา่ นตลาดน้อย และมีการรวมกลุ่มกันของผู้คนที่อยู่อาศัยในชุมชนจนเกิดเป็นกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดําเนินการอนุรักษ์มรดก วัฒนธรรมและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเน่ือง แต่ด้วยข้อจํากัดในการเดินทางเข้าถึงพื้นที่ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ และสงั คมในพื้นที่ ทาํ ให้การอนุรักษ์และพฒั นาย่านตลาดนอ้ ยต้องการความชว่ ยเหลือจากภาครฐั ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ พืน้ ทส่ี าธารณะ ประกอบกบั การอนรุ กั ษ์อาคารและสถานท่ที ่ีมีความสาํ คญั ทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมเปน็ กจิ กรรมทจ่ี าํ เป็นต้อง ความรู้เฉพาะทาง และจําเป็นต้องมีงบประมาณในการดําเนินการอย่างต่อเนื่อง ความช่วยเหลือและสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น หนว่ ยงานวชิ าการทง้ั ภาครัฐ เอกชน และองคก์ รทางวชิ าการต่าง ๆ จงึ เปน็ ส่วนสาํ คัญในการสนับสนนุ ให้เกิดการอนรุ กั ษ์และพฒั นาที่ ยงั่ ยืนในพนื้ ท่ีบรเิ วณน้ี 4) ศกั ยภาพพนื้ ท่ี เน่ืองจากท่ีผ่านมาสํานักผังเมือง กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับสถาบันอาศรมศิลป์ในการวางแผนการอนุรักษแ์ ละพัฒนาพื้นท่ี ย่านตลอดน้อยมาอย่างต่อเน่ือง ทําให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของพ้ืนที่ รวมถึงได้มีการ จัดเตรียมองค์กรชุมชนเพ่ือการอนุรักษ์พ้ืนท่ีแห่งน้ี ย่านตลาดน้อยจึงมีศักยภาพเป็นโครงการนําร่องในการใช้กลไกทางสังคมของ ชุมชนในการขับเคลอ่ื นการอนุรักษ์มรดกวฒั นธรรมและการพัฒนาชมุ ชน ซึ่งเป็นวิธีการสําคัญประการหนึ่งในการสรา้ งความย่ังยืนใน การอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนผงั แมบ่ ทการอนุรักษแ์ ละพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพฒั นา 4-109 ภาพท่ี 4-33 แนวคดิ ในการอนรุ ักษ์และพฒั นาบริเวณย่านตลาดน้อย 6) แนวคิดในการอนุรักษ์และพฒั นา แนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนาย่านตลาดน้อยมุ่งเน้นการดําเนินการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในพ้ืนท่ีไปพร้อมกับการ รักษาและพัฒนาวิถชี มุ ชน 7) การดาํ เนินการเพือ่ การอนรุ กั ษ์และพฒั นา จากหลักการที่มุ่งเน้นการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมไปพร้อมกับการพัฒนาชุมชนทําให้การอนุรักษ์และพัฒนาพื้นท่ีย่าน ตลาดน้อยมีการดําเนินการใน 4 ด้าน คือ การปรับปรุงและพัฒนาพ้ืนท่ีริมแม่นํ้าเจ้าพระยา การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และภูมิทัศน์ การปรบั ปรุงพ้ืนฟูภูมทิ ศั นร์ ิมคลองผดงุ กรุงเกษม และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมในชมุ ชน ดงั น้ี (1) การปรับปรุงและพัฒนาพื้นท่ีริมแม่นํ้าเจ้าพระยาในพื้นท่ีย่านตลาดน้อยและพ้ืนท่ีต่อเนื่องกับย่านทรงวาดเป็น โครงการสําคัญในการพัฒนาภูมิทัศน์และการใช้ประโยชน์พื้นที่ริมแม่น้ําเจ้าพระยา การดําเนินการควรมีการ พัฒนาปรับปรุงระบบการขนส่งทางนํ้า การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชนริมแม่น้ํา และการพัฒนาพ้ืนที่ สาธารณะริมน้ําตามแนวทางการอนรุ ักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและวิถชี มุ ชน ท้ังนี้ กรุงเทพมหานครสามารถจดั ทํา ผังเมืองเฉพาะเพื่อผลักดันใหก้ ารอนรุ กั ษ์และพัฒนาพ้นื ท่อี ยา่ งเป็นรูปธรรม (2) การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และภูมิทศั น์ในพ้ืนท่ี มีขอบเขตการดาํ เนินการครอบคลุมถึงการ พัฒนาคุณภาพพ้ืนท่ีเปิดโล่งสาธารณะ เส้นทางสัญจรทางเท้า พ้ืนที่สาธารณูปการสําหรับชุมชน รวมถึงการ ประดบั ตกแตง่ ไฟตามโบราณสถานและอาคารทคี่ วรค่าแกก่ ารอนุรกั ษ์ (3) การปรับปรุงพื้นฟูภูมิทัศน์ริมคลองผดุงกรุงเกษมมุ่งเน้นการฟ้ืนฟูภูมิทัศน์เชิงประวัติศาสตร์ของพ้ืนที่ตามแนว คลอง รวมถึงการพัฒนาพ้ืนที่เปิดโล่งและพ้ืนที่สีเขียวเพื่อเป็นพ้ืนที่นันทนาการของชุมชนและประชาชนท่ีอาศัย อยู่โดยรอบ นอกจากนั้นพ้ืนท่ีริมคลองผดุงกรุงเกษมยังสามารถใช้เป็นพ้ืนที่เพ่ือการสัญจรโดยการเดิน จักรยาน และเป็นพ้ืนทสี่ ําหรบั การปอ้ งกนั อุทกภยั (4) การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมในพน้ื ที่ควรดําเนินการร่วมกบั การสร้างความรู้ความเข้าใจในเร่อื งของการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรมและวิถีชุมชน การดําเนินการสามารถทําได้หลากหลายรูปแบบ เช่น การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่ การจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนเพื่อการผลิตสินค้าและบริการจากภูมิปัญญาของชุมชน การสง่ เสริมการปรบั ปรุงอาคารประวตั ศิ าสตร์ของชมุ ชนเพอื่ รองรับกจิ กรรมสาธารณะของชมุ ชน เป็นต้น ภาพที่ 4-34 ผังรายละเอียดการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาบริเวณย่านตลาดนอ้ ย สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
4-110 แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบรเิ วณ ยา่ นตลาดนอ้ ย สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนผงั แม่บทการอนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ ักษ์และพฒั นา 4-111 ยุทธศาสตร์ 1 ด้านมรดกวัฒนธรรม อา้ งอิงหนา้ ยทุ ธศาสตร์ 5 ด้านสาธารณปู โภค อ้างอิงหน้า 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคุม้ ครองแมน่ ้าํ เจา้ พระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปอ้ งกนั นาํ้ ท่วม 3-42 3-8 3-43 การคุม้ ครองและบูรณปฏสิ ังขรณ์ 1.1.2 โครงการบรู ณปฏสิ งั ขรณ์แหล่งมรดกสําคญั 3-9 การปอ้ งกันนา้ํ ท่วมและปรับปรงุ 5.1.2 โครงการฟืน้ ฟูระบบคูคลอง และปรบั ปรุงคณุ ภาพนํ้า 3-44 3-10 3-45 แหลง่ มรดก 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถานในพืน้ ทกี่ รุงรัตนโกสนิ ทร์ คุณภาพน้ํา 5.1.3 โครงการปรบั ปรุงระบบการระบายนํ้า 3-11 อา้ งอิงหน้า 1.1.4 โครงการขนึ้ ทะเบียนโบราณสถานท่ียังไมไ่ ด้รับการขน้ึ ทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟา้ และสายส่ือสารลงใตด้ ิน 3-48 1.1.5 โครงการจดั ทาํ ทะเบียนแหล่งมรดกทอ้ งถ่ิน และสนบั สนุนการบูรณปฏสิ ังขรณ์ การปรับปรุงโครงสรา้ งพนื้ ฐาน 5.2.2 โครงการจัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานงานและขอ้ มูล และพัฒนาเครอื ขา่ ยระบบ 3-49 แหล่งมรดกท้องถนิ่ ของระบบสาธารณูปโภค สารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสบื สานฟน้ื ฟขู นบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลท้องถ่นิ 3-51 การสง่ เสรมิ ฟน้ื ฟวู ถิ ีวฒั นธรรม 1.2.2 โครงการฟื้นฟภู ูมิปญั ญาท้องถนิ่ วฒั นธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ และหัตถศิลป์ ยุทธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อา้ งอิงหนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วดั และโรงเรยี นเป็นศนู ยบ์ รกิ ารครบวงจรแก่ผสู้ งู อายุและ 3-55 ยทุ ธศาสตร์ 2 ด้านการใชท้ ด่ี ิน อา้ งอิงหน้า การปรับปรุงการใหบ้ ริการ ผ้ดู ้อยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแกไ้ ขปรับปรงุ แผนผังขอ้ กาํ หนดและมาตรการตามกฎหมายผังเมอื ง 3-16 สาธารณปู การ 6.1.2 โครงการเพ่มิ ประโยชน์การใช้สอยโรงเรียนเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชพี 3-17 อา้ งองิ หน้า การปรับปรงุ มาตรการควบคมุ 2.1.2 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ ข้อบัญญัติกรงุ เทพมหานครตามกฎหมายควบคมุ อาคาร 3-18 และพ้นื ทก่ี จิ กรรมสันทนาการ 3-61 3-62 การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินและอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการคมุ้ ครองสิ่งแวดลอ้ มศิลปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน็ ทพี่ กั ยามภัยพบิ ัตแิ ละภาวะฉุกเฉิน 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จัดทาํ และดําเนินการให้เป็นไปตามผงั เมืองเฉพาะ บริเวณริมฝั่ง การเตรยี มพร้อมสาธารณูปการ 3-65 3-66 การวาง จัดทํา และดําเนนิ การให้ แมน่ า้ํ เจ้าพระยา เพ่อื รองรับยามภยั พบิ ตั ิและภาวะ 6.2.2 โครงการตดิ ตงั้ อุปกรณเ์ พื่อความปลอดภัยของชุมชน 3-67 เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จัดทาํ และดําเนนิ การให้เป็นไปตามผงั เมอื งเฉพาะ ในพ้นื ท่ี ฉกุ เฉิน เปลีย่ นถา่ ยการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ยุทธศาสตร์ 7 ด้านกายภาพและวถิ ชี ุมชน ยุทธศาสตร์ 3 ดา้ นภมู ิทัศน์ อ้างองิ หน้า แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมการอยู่อาศยั ในกลุ่มชมุ ชนทีส่ ําคัญ แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั น์โดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรับปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พืน้ ท่ีสาธารณะระดบั กล่มุ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน การปรับปรงุ ภูมิทศั น์เมือง 3.1.2 โครงการปรบั ปรุงภมู ทิ ัศน์ในโครงสรา้ งทศั นภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรบั ปรุงภูมิทัศน์ในแนวแม่นํ้าเจ้าพระยาและแนวคลองสาํ คญั 3-25 ชมุ ชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรับปรุงพื้นทโ่ี ล่งสาธารณะ 3-26 การบริหารจดั การภูมทิ ศั นเ์ มอื ง 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่างอาคารสาํ คัญ และพนื้ ท่สี าธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ของผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาต้นไม้ใหญ่ 3-28 การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ให้เกิดผูป้ ระกอบการดิจิทัล ยุทธศาสตร์ 8 ด้านการท่องเทย่ี ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อปุ กรณ์สอ่ื สารข้อมูลแหล่งท่องเท่ยี ว การปรบั ปรุงแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว 8.1.2 โครงการพฒั นาแหล่งข้อมูลวถิ ชี มุ ชน ยุทธศาสตร์ 4 ดา้ นการจราจร อ้างองิ หน้า 8.1.3 โครงการจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมการท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการส่งเสริมการเชอ่ื มต่อยานพาหนะตา่ งประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจดั ระเบียบพืน้ ที่ท่องเทยี่ ว 3-34 การเชือ่ มโยงโครงข่ายการสญั จร 4.1.2 โครงการทดแทนท่จี อดรถบนพน้ื ผวิ จราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรับปรุงสถานทแ่ี ละอุปกรณ์ให้ข้อมูลเสน้ ทางการท่องเทยี่ ว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจํากัดการสัญจรในบรเิ วณกรุงรตั นโกสนิ ทร์ช้นั ใน การพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ยี ว 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทีแ่ ละระบบออนไลนเ์ พื่อให้ข้อมูลการท่องเท่ยี ว 3-37 การสนับสนุนการเดินเทา้ และ 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใช้ขนสง่ มวลชนเพอ่ื ลดการใช้ยานพาหนะสว่ นบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการสง่ เสริมการพัฒนาแหลง่ ทีพ่ ักนักทอ่ งเที่ยวให้ได้มาตรฐาน การใชจ้ กั รยาน 4.2.3 โครงการเกบ็ คา่ ธรรมเนียมการเข้าบริเวณกรงุ รัตนโกสินทร์ชน้ั นอกดว้ ย การพัฒนาแหล่งที่พกั ยานพาหนะส่วนบคุ คล นักท่องเที่ยวใหไ้ ด้มาตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกิจ การออกแบบ พัฒนาและ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรงุ ท่าเรอื โครงการทแ่ี รเงา หมายถึง โครงการทไ่ี ม่ได้ดาํ เนินการในพื้นท่ี 11 บรเิ วณย่านตลาดน้อย ปรับปรุงจุดเปลีย่ นถ่ายการสัญจร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4-112 แผนผังแมบ่ ทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพฒั นา 9) รายละเอยี ด ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงานและโครงการบรเิ วณยา่ นตลาดนอ้ ย ตารางท่ี 4-12 รายละเอยี ด ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบรเิ วณย่านตลาดนอ้ ย ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดับความ หมาย (ล้านบาท) ปีท่ี ปที ่ี ปีที่ สาํ คัญ เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ จาํ นวน หน่วย หน่วยละ จาํ นวนเงนิ หน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ 1-5 6-10 11-15 2 - กรมศลิ ปากร 2.00 √√√ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 48.00 2 - กรมศลิ ปากร √√√ 1 ด้านมรดก บาํ รงุ รกั ษา และคุ้มครอง 1.1 การคมุ้ ครองและ 1.1.3 โครงการบรู ณปฏิสงั ขรณ์ - สํารวจและกําหนดลําดับความจาํ เป็นเรง่ ดว่ น 2 แหง่ 1.0 2.0 การดาํ เนินการ ต่อเนอื่ ง วฒั นธรรม แหล่งมรดกสําคญั และ บูรณปฏสิ งั ขรณแ์ หลง่ โบราณสถานในพ้ืนท่ี - บูรณปฏสิ งั ขรณโ์ บราณสถาน 2 แหง่ 2 แห่ง 24.0 48.0 จดั ทาํ มาตรการสนับสนุน มรดก กรุงรัตนโกสนิ ทร์ การฟน้ื ฟแู หลง่ มรดก 1.1.4 โครงการขึน้ ทะเบยี นโบราณ - ศึกษาและกําหนดลําดับความสําคญั ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - สถานทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การข้ึนทะเบยี น* - ขึน้ ทะเบยี นโบราณสถานท่ียงั ไม่ไดข้ น้ึ ทะเบียน แบง่ พน้ื ท่ี แบง่ พืน้ ที่ 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบียนแหล่ง - ศกึ ษาและกําหนดลาํ ดับความสาํ คญั ไม่มีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ √ √ 1 3 มรดกทอ้ งถ่นิ และสนบั สนุนการ - จดั ทําเกณฑ์การข้นึ ทะเบียนแหลง่ มรดก แต่งต้ัง แบ่งพ้นื ท่ี แบง่ พ้ืนที่ (สาํ นกั ผงั เมอื ง) ตอ่ เนื่อง บรู ณปฏสิ งั ขรณ์แหล่งมรดกท้องถ่ิน* คณะกรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิพจิ ารณาการข้นึ ทะเบียนและอนุมัติงบประมาณสนับสนนุ การบูรณะ ฟื้นฟแู หล่งมรดกท้องถน่ิ จัดทาํ มาตรการสนับสนุน 1.2 การสง่ เสรมิ ฟืน้ ฟูวถิ ี 1.2.1 โครงการสบื สานฟน้ื ฟู - กําหนดหลักเกณฑ์และจดั ตงั้ กรรมการพิจารณา ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ การฟน้ื ฟแู หล่งมรดกที่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ เปน็ วถิ วี ัฒนธรรม เทศกาลท้องถน่ิ * สนับสนุนงบประมาณ แบ่งพื้นที่ แบง่ พืน้ ที่ (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา ตอ่ เนือ่ ง และการท่องเที่ยว) 2 ดา้ นการใชท้ ี่ดนิ ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรับปรงุ 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ - วางและจัดทําแผนผงั และขอ้ กําหนดการใช้ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ 1 1 ท่ีดนิ โดยเคร่อื งมอื ทางผัง มาตรการควบคมุ การใช้ แผนผังข้อกาํ หนดและมาตรการตาม ประโยชนท์ ี่ดนิ ของผังเมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร แบง่ พืน้ ที่ แบ่งพ้นื ท่ี (สาํ นกั ผังเมือง) ตอ่ เนื่อง เมือง ประโยชน์ท่ีดินและอาคาร กฎหมายผังเมอื ง* (ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 4) - ดาํ เนนิ การประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรับปรุงครง้ั ที่ 4) โดย อาศัยอํานาจแห่งพระราชบญั ญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรับปรุง - แกไ้ ขปรบั ปรงุ ขอ้ บญั ญัติกรงุ เทพมหานคร เพอื่ ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ ข้อบญั ญัติกรงุ เทพมหานครตาม การควบคุมแบบซอ้ นทบั (Overlay Control) โดย แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพ้นื ที่ (สาํ นักผังเมือง) ตอ่ เนือ่ ง กฎหมายควบคุมอาคาร* อาศยั อํานาจแหง่ กฎหมายควบคุมอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการ - จดั ทํามาตรการคุ้มครองสง่ิ แวดล้อมศิลปกรรมเพอื่ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - สํานักงานนโยบายและ การดาํ เนินการ √ 2 คุ้มครองสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม* การอนุรักษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ แบง่ พน้ื ที่ แบง่ พ้นื ที่ แผนทรัพยากรธรรมชาติ ตอ่ เน่อื ง - ดําเนินการประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ และสิง่ แวดล้อม มาตรการคมุ้ ครองส่ิงแวดล้อมศิลปกรรมเพ่อื การ อนุรกั ษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ โดยอาศัย อํานาจแห่งกฎหมายสิง่ แวดล้อม สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ ักษ์และพฒั นา 4-113 ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หน่วย (ลา้ นบาท) สาํ คัญ เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หนว่ ยละ จํานวนเงิน หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ ปที ี่ ปที ่ี ปที ่ี 3 ด้านภูมทิ ศั น์ การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 1 (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) - กรงุ เทพมหานคร ตอ่ เนือ่ ง (สาํ นักผงั เมือง / สาํ นัก √ ขบั เนน้ การรับรูโ้ ครงสร้าง 3.1 การปรับปรงุ ภูมิทัศน์ 3.1.2 โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั น์ใน - ปรับปรงุ ภมู ทิ ศั นบ์ ริเวณถนนเยาวราช (ช่วงถนน ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - การจราจรและขนส่ง / ทรงสวัสดิถ์ ึงวงเวยี นโอเดยี น) ถนนมิตรภาพไทย-จนี แบ่งพื้นท่ี สํานักการโยธา / สํานัก ของกรงุ รัตนโกสินทร์ เมอื ง โครงสรา้ งทัศนภาพ* ความยาวรวมประมาณ 1.3 กม. แบง่ พื้นท่ี สงิ่ แวดล้อม / สํานัก เทศกิจ) 3.1.3 โครงการปรับปรุงภมู ิทศั น์ใน - สาํ รวจ ออกแบบ และปรับปรุงพื้นทีร่ ิมแมน่ ้ํา ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ 1 3 แนวแมน่ ้ําเจ้าพระยาและแนวคลอง เจ้าพระยา (ชว่ งถนนทรงสวสั ด์ิถงึ ปากคลองผดงุ กรงุ แบ่งพ้นื ที่ แบ่งพืน้ ท่ี (สํานกั การระบายน้ํา / ตอ่ เน่อื ง 3 1 สาํ คัญ* เกษม) ความยาวประมาณ 0.8 กม. พืน้ ทร่ี มิ คลอง สํานกั ผังเมอื ง / สํานกั 2 ผดุงกรงุ เกษม (ช่วงถนนพระราม 4 ถึงแมน่ ํา้ การโยธา) เจ้าพระยา) ความยาวประมาณ 1.0 กม. 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่าง - ตดิ ตง้ั ไฟส่องสว่างสาธารณะ ย่านตลาดน้อย ตามแนว 3.7 กม. 15.3 56.61 - กรมการท่องเท่ียว 56.61 √ อาคารสําคญั และพืน้ ทส่ี าธารณะ ถนนพระราม 4 0.53 กม. ถนนเยาวราช 0.35 กม. - กรุงเทพมหานคร ถนนเจริญกรุง 0.67 กม. ถนนทรงวาด 0.3 กม. รมิ (สาํ นักการโยธา / สํานกั แม่นํ้าเจ้าพระยา 1.0 กม. ริมคลองผดงุ กรุงเกษม 0.8 วัฒนธรรม กีฬา และ กม. ระยะทางรวม 3.7 ก.ม. การทอ่ งเทยี่ ว) เสริมสรา้ งสิง่ แวดล้อม 3.2 การบริหารจัดการ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ล - จัดตงั้ หนว่ ยงานด้านรกุ ขกรรมเพื่อดูแลต้นไม้ ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ และเพิ่มศกั ยภาพของ ภูมิทัศน์เมือง รักษาต้นไม้ใหญ่* โดยเฉพาะ แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานกั สง่ิ แวดล้อม) ต่อเนอ่ื ง ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านดา้ นภมู ิทศั น์ - จัดต้ังหนว่ ยงานบริการเพ่ือสนบั สนนุ การดแู ล ต้นไมใ้ หญ่ของภาครัฐและภาคเอกชน 4 ดา้ นการจราจร เชือ่ มโยงโครงขา่ ยการ 4.1 การเชื่อมโยง 4.1.2 โครงการทดแทนท่จี อดรถบน - พัฒนาพน้ื ทจี่ อดรถรวมทงั้ ในพ้นื ทีข่ องรัฐและ ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ สญั จรอย่างเปน็ ระบบ โครงขา่ ยการสญั จร พ้ืนผวิ จราจร* เอกชน แบง่ พนื้ ท่ี แบง่ พน้ื ท่ี (สํานักการจราจรและ ต่อเน่ือง ขนสง่ ) - ผทู้ รงสทิ ธิในพื้นท่ี ส่งเสรมิ การสญั จรที่เปน็ 4.2 การสนบั สนนุ การเดิน 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใชข้ นส่ง - กาํ หนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคล้องกบั ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อมใน เทา้ และการใช้จักรยาน มวลชนเพือ่ ลดการใชย้ านพาหนะ การเช่อื มโยงทัง้ ภายในและภายนอกพ้ืนท่ี แบ่งพ้ืนท่ี แบง่ พ้ืนท่ี (สํานกั การจราจรและ ตอ่ เน่ือง พ้ืนท่ีกรุงรตั นโกสินทร์ สว่ นบุคคล* - คัดเลอื กรูปแบบระบบขนสง่ และยานพาหนะที่ ขนสง่ ) เหมาะสมกบั ปริมาณผู้โดยสารและบรรยากาศของ พ้ืนท่ี พัฒนาจุดเปล่ยี นถา่ ยการ 4.3 การออกแบบ พัฒนา 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรบั ปรงุ - ปรับปรงุ ทา่ เรือโดยสารในแมน่ ํา้ เจา้ พระยา 2 ทา่ 3.0 6.0 - กรมเจ้าทา่ 6.00 √ √ 2 สัญจรใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และปรบั ปรุงจดุ เปลยี่ น ท่าเรอื เชือ่ มโยงกับการใช้ ถา่ ยการสญั จร ประโยชน์ท่ีดนิ สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
4-114 แผนผงั แม่บทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ ักษ์และพฒั นา ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนนิ การ หนว่ ยละ จาํ นวนเงนิ หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ปที ี่ ปที ี่ ปีที่ การดาํ เนินการ 1-5 6-10 11-15 2 5 ดา้ น (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) - กรุงเทพมหานคร ต่อเนอ่ื ง สาธารณูปโภค (สํานักการระบายนํ้า) √ ปรับปรงุ สาธารณูปโภค 5.1 การป้องกนั นา้ํ ท่วม 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวป้องกันนา้ํ - ปรับปรงุ จดุ เชือ่ มต่อสาํ คญั ให้เป็นกาํ แพงท่ีเปดิ ได้ ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - พนื้ ฐานให้มีประสทิ ธิภาพ และปรบั ปรุงคุณภาพน้ํา ท่วม* ในเวลาปกติ และปดิ เพื่อปอ้ งกนั นา้ํ ทว่ มได้โดยไม่ แบง่ พื้นที่ และอเนกประโยชน์ ขดั ขวางทัศนวสิ ยั และมุมมองระหวา่ งแมน่ ํ้าและ แบง่ พื้นท่ี เมือง - ออกแบบแนวกําแพงป้องกนั นํ้าท่วม สถานีสูบน้าํ ประตูน้ํา และบอ่ สูบนํา้ เป็นพเิ ศษ ใหส้ ามารถปรบั ใช้ เป็นพน้ื ทกี่ ิจกรรมริมนํา้ ขับเนน้ อตั ลกั ษณข์ องพ้นื ท่ี 5.1.2 โครงการฟนื้ ฟูระบบคคู ลอง - ฟืน้ ฟูระบบคู คลอง และปรบั ปรุงคณุ ภาพนํ้าคลอง ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 2 และปรับปรุงคณุ ภาพนาํ้ * ผดุงกรงุ เกษม 1.0 กม. แบง่ พน้ื ท่ี แบ่งพื้นที่ (สํานักการระบายน้ํา) ตอ่ เนอื่ ง 5.1.3 โครงการปรับปรงุ ระบบการ - ปรับปรงุ บอ่ สูบน้าํ วัดปทมุ คงคา บอ่ สบู นํ้าท่านาํ้ 3 แหง่ 15.0 45.0 - กรุงเทพมหานคร 45.00 √√ 2 ระบายนาํ้ ภาณรุ ังษี และสร้างบอ่ สูบนํา้ ท่าสวัสดี (ใหม)่ (สาํ นกั การระบายน้ํา) ยกระดับรปู แบบของ 5.2 การปรับปรุง 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา้ และสาย - นาํ สายไฟฟา้ และสายสอื่ สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไมม่ กี าร - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 2 ระบบสาธารณปู โภคให้ โครงสร้างพื้นฐานของ สือ่ สารลงใต้ดนิ * พระราม 4 0.53 กม. ถนนเยาวราช 0.35 กม. แบ่งพื้นที่ แบง่ พ้ืนที่ (สาํ นกั การโยธา) ตอ่ เนอ่ื ง √ 3 √ 3 สอดคล้องกับพ้ืนที่ ระบบสาธารณูปโภค ถนนเจริญกรงุ 0.67 กม. ถนนทรงวาด 0.3 กม. - การไฟฟ้านครหลวง √ 3 อนุรักษ์ ระยะทางรวม 1.9 กม. - บริษัท ทโี อที จาํ กัด (มหาชน) - บริษัท กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) 6 ดา้ น ยกระดบั การใช้งาน 6.1 การปรบั ปรงุ การ 6.1.1 โครงการปรบั ปรุงวัดและ - ปรบั ปรงุ โรงเรยี นวัดปทุมคงคา 1 แห่ง 5.0 5.0 - กรุงเทพมหานคร 5.00 สาธารณปู การ สาธารณูปการให้ ใหบ้ รกิ ารสาธารณูปการ (สํานักพัฒนาสงั คม / สอดคล้องกับโครงสร้าง โรงเรยี นเปน็ ศูนย์บริการครบวงจรแก่ 1 แหง่ 2.0 สาํ นักการศกึ ษา / ประชากรและบริบททาง สํานักงานเขต) สังคมทเ่ี ปลย่ี นแปลง ผสู้ ูงอายแุ ละผู้ด้อยโอกาส 1 แห่ง 2.0 - วดั 20 แห่ง 0.01 6.1.2 โครงการเพิม่ ประโยชนก์ ารใช้ - ปรบั ปรุงพืน้ ทใ่ี นโรงเรียนวดั ปทมุ คงคา 2.0 - กรุงเทพมหานคร 2.00 สอยโรงเรยี นเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ (สํานกั การศึกษา / ศูนยฝ์ กึ อาชีพ และพ้นื ท่กี ิจกรรม สาํ นักงานเขต) 2.00 √ สันทนาการ - สถานศึกษาในสงั กดั 0.20 กรงุ เทพมหานคร ปรับปรุงสาธารณูปการ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรยี น - ปรบั ปรงุ พ้ืนท่ีในโรงเรยี นวัดปทมุ คงคา เพอื่ รองรบั ภัยพิบตั ิและ สาธารณูปการเพือ่ รองรบั เปน็ ท่พี กั ยามภยั พิบตั ิและภาวะ - ติดต้ังแผนท่ีในชมุ ชน 2.0 - กรุงเทพมหานคร ภาวะฉุกเฉนิ ยามภยั พิบัตแิ ละภาวะ ฉกุ เฉนิ 0.2 (สาํ นักการศึกษา / ฉุกเฉนิ สํานกั ปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภยั / สํานักงานเขต) สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
แผนผงั แม่บทการอนุรักษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนรุ กั ษ์และพฒั นา 4-115 ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปริมาณ ราคา หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หนว่ ย หนว่ ยละ จํานวนเงิน (ล้านบาท) สาํ คัญ เหตุ 6 ด้าน (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) - กรงุ เทพมหานคร ปที ี่ ปที ่ี ปีท่ี สาธารณูปการ ปรับปรุงสาธารณูปการ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.2 โครงการติดต้ังอุปกรณ์เพื่อ - ตดิ ตงั้ หวั จา่ ยน้ําดับเพลงิ ในพ้นื ทว่ี ัดปทมุ คงคา 2 แหง่ (สํานกั ปอ้ งกันและ 0.20 1-5 6-10 11-15 2 (ตอ่ ) เพื่อรองรับภัยพบิ ตั ิและ สาธารณปู การเพื่อรองรับ ความปลอดภัยของชุมชน ศาลเจา้ ไทฮ้วั 0.1 0.2 บรรเทาสาธารณภัย / ภาวะฉุกเฉิน ยามภยั พิบัติและภาวะ - ติดต้งั กล้องวงจรปิด 2 แห่ง สํานักการจราจรและ √√ (ต่อ) ฉกุ เฉนิ 1.0 2.0 ขนสง่ / สาํ นกั งานเขต) (ต่อ) 2.00 7 ดา้ นกายภาพและ ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.1 โครงการปรับปรุง - ศกึ ษา วางผงั และออกแบบ 1 พนื้ ท่ี 1.2 1.2 - กรุงเทพมหานคร 1.20 √ √ 2 วถิ ชี มุ ชน ชุมชนให้อยู่รว่ มกบั มรดก สภาพแวดลอ้ มชมุ ชน สภาพแวดลอ้ มการอยู่อาศัยในกลุ่ม - ดาํ เนินการปรบั ปรุงพ้นื ที่กล่มุ ชุมชนย่านตลาดน้อย 1 28.80 วัฒนธรรมได้อยา่ ง ชมุ ชนทส่ี าํ คญั พนื้ ท่ี 28.8 28.8 (สํานกั ผงั เมือง) เหมาะสม และสง่ เสรมิ 2 การเรยี นรู้แก่สาธารณะ 2 4 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พ้ืนที่ - จัดกระบวนการมีส่วนรว่ ม แห่ง 0.2 0.4 - กรุงเทพมหานคร 0.40 √ √ √ 3 รูป สาธารณะระดบั กลุ่มชมุ ชนภายใน - ปรับปรงุ พืน้ ทส่ี าธารณะระดบั กลุม่ ชุมชน แห่ง 4.8 9.6 (สาํ นกั ผังเมอื ง) 9.60 ต.ย.1 ศาสนสถาน วัดปทมุ คงคา ศาลเจา้ ไทฮวั้ หน้า - พัฒนาพ้ืนทสี่ าธารณะจากทีโ่ ลง่ ว่างในชมุ ชน - ศาสนสถานเจา้ ของ 12.00 4-110 แหง่ 3.0 12.0 พ้ืนท่ี ส่งเสริมการต่อยอดภมู ิ 7.2 การส่งเสริมใหเ้ กิด 7.2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ - รับสมัครชุมชนหรือผปู้ ระกอบการภายในชุมชนท่ี ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ √ 3 ปัญญาและการสรา้ ง เศรษฐกิจชุมชน ผู้ประกอบการภายในชมุ ชน* สนใจในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ แบง่ พน้ื ที่ แบง่ พ้นื ที่ (สํานกั พัฒนาสังคม) ตอ่ เน่อื ง เศรษฐกิจชมุ ชน - อบรม และสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ พัฒนา ผลิตภณั ฑร์ ว่ มกับผเู้ ชี่ยวชาญ 7.2.2 โครงการสง่ เสริมใหเ้ กดิ - รับสมัครผู้ประกอบการท่มี คี วามพรอ้ มในพน้ื ท่ี ไม่มกี าร - ไม่มีการ - - สาํ นักงานส่งเสรมิ การดาํ เนนิ การ √ √ 3 ผปู้ ระกอบการดิจิทัล* เพอื่ รบั การอบรม และให้ความช่วยเหลือโดย แบ่งพ้ืนท่ี แบง่ พ้ืนท่ี เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ตอ่ เนอ่ื ง ผเู้ ชี่ยวชาญ - อบรม และสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารเพิ่มทกั ษะของ ผปู้ ระกอบการในการเป็นผ้ปู ระกอบการดจิ ิทัล - พัฒนาเว็บท่า (Portal web) เพือ่ ส่งเสรมิ การคา้ ดจิ ิทลั ในระดับยา่ นตา่ ง ๆ 8 ด้านการทอ่ งเท่ยี ว เพ่ิมคุณค่าและความ 8.1 การปรับปรงุ แหล่ง 8.1.1 โครงการปรับปรุงอุปกรณ์ - ศกึ ษาและจัดทาํ รายละเอยี ดขอ้ มลู แหล่งท่องเทยี่ ว ไม่มีการ - ไม่มีการ - - กรุงเทพมหานคร การดําเนินการ √ 3 หลากหลายทางการ 2 ท่องเทย่ี ว ท่องเทยี่ ว สอ่ื สารขอ้ มูลแหล่งท่องเทีย่ ว* วดั กาลหวา่ ร์ (วัดแมพ่ ระลูกประคาํ ) แบง่ พนื้ ท่ี แบ่งพืน้ ที่ (สํานักวฒั นธรรม กีฬา ตอ่ เนื่อง 2 ศาลเจา้ โจวซือกง และการทอ่ งเท่ียว) - ตดิ ตัง้ ป้ายข้อมูล 8.1.2 โครงการพัฒนาแหลง่ ขอ้ มูล - ออกแบบและพัฒนาขอ้ มูล 1 แห่ง 0.5 0.5 - กรงุ เทพมหานคร 0.50 √ วิถชี มุ ชน - พฒั นาและใหบ้ รกิ ารศนู ย์ขอ้ มลู การท่องเท่ยี ว 1 แห่ง 10.0 10.0 (สาํ นกั วฒั นธรรม กีฬา 10.00 ชุมชน และการทอ่ งเทีย่ ว) 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ - สนบั สนุนการประชาสัมพันธก์ ารจัดกิจกรรมการ 15 ครัง้ 0.5 7.5 - การท่องเท่ยี วแห่ง 7.50 √ √ √ การท่องเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรม ท่องเท่ยี ว ประเทศไทย - จดั งานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพเิ ศษใน 15 คร้ัง 15.0 225.0 - กรงุ เทพมหานคร 225.00 พน้ื ทยี่ า่ นตลาดน้อย (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา และการท่องเทยี่ ว) สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
4-116 แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษแ์ ละพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพัฒนา ปรมิ าณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลําดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สําคัญ เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ หนว่ ยละ จํานวนเงิน หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ ปที ี่ ปที ี่ ปที ี่ 3 การดาํ เนนิ การ 1-5 6-10 11-15 (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) - กรุงเทพมหานคร ต่อเนอ่ื ง 2 (สาํ นักวัฒนธรรม กีฬา √ 8 ด้านการท่องเท่ียว พฒั นาระบบการให้ขอ้ มลู 8.2 การพัฒนาเส้นทาง 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานที่และ - ศกึ ษาและออกแบบจดุ ใหข้ ้อมูลการท่องเทีย่ วและ ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - และการทอ่ งเท่ยี ว) (ต่อ) และเพิม่ ส่ิงอํานวยความ การทอ่ งเทย่ี ว อปุ กรณใ์ หข้ อ้ มูลเส้นทางการ ปา้ ยขอ้ มลู เส้นทางการทอ่ งเท่ียว แบง่ พ้ืนท่ี - สะดวกนักท่องเท่ียว ท่องเท่ียว* - ติดต้ังจดุ ให้ข้อมูลการท่องเทีย่ วและปา้ ยขอ้ มลู แบ่งพืน้ ที่ เสน้ ทางท่องเที่ยว ไมม่ ีการ 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนทแี่ ละ แบง่ พนื้ ท่ี ไม่มกี าร - - การท่องเทยี่ วแห่ง การดําเนินการ √ ระบบออนไลน์เพอ่ื ให้ขอ้ มลู การ - จัดทาํ แผนที่แสดงข้อมลู เส้นทางท่องเทย่ี วท่สี ําคัญ ท่องเทย่ี ว* ในกรุงรัตนโกสนิ ทร์และพ้ืนท่ีต่อเนื่อง แบ่งพน้ื ท่ี ประเทศไทย ต่อเน่ือง - จดั ทําระบบออนไลน์เพ่อื ประชาสมั พันธ์ ให้ขอ้ มลู แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและเส้นทางทอ่ งเท่ียว ตลอดจนท่ี พัก - ปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูล แผนท่ี ระบบออนไลนใ์ หม้ ี ข้อมูลที่ถูกตอ้ งและทันสมยั รวม 464.01 * โครงการทม่ี ีการดาํ เนินการตอ่ เนือ่ งกันหลายพืน้ ท่ี ดูรายละเอียดในหน้า 4-3 - 4-4 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา 4-117 4.2.12 บริเวณย่านกะดีจนี -คลองสาน 1) ขอบเขตพน้ื ท่ี จดแนวกง่ึ กลางคลองบางกอกใหญ่ ทิศเหนอื จดแนวกึ่งกลางแม่นา้ํ เจา้ พระยา ทิศตะวันออก จดแนวถนนเจริญรถั และเสน้ ตรงทลี่ ากต่อไปยงั กงึ่ กลางแมน่ ้ําเจา้ พระยา ทศิ ตะวันใต้ จดแนวถนนอสิ รภาพฝั่งตะวนั ตก ทศิ ตะวนั ตก 2) ความสําคญั ประวัติศาสตร์ของย่านกะดีจีนเร่ิมตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายโดยเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวต่างชาติท่ีเข้ามาพ่ึง พระบรมโพธิสมภาร และเป็นพ้ืนท่ีจัดเก็บภาษีเข้าออกของเรือต่างชาติที่เข้ามาค้าขายในสมัยนั้น จนในสมัยธนบุรีพื้นท่ีย่านกะดีจีน ได้กลายเป็นพื้นที่ตั้งถ่ินฐานของท้ังชาวจีน ชาวโปรตุเกส ชาวจาม และชาวมลายูท่ีอพยพจากกรุงศรีอยุธยา ทําให้พ้ืนที่ย่านกะดีจีน กลายเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม มีท้ังชุมชนชาวพุทธ ชาวคริสต์ และชาวอิสลาม ต่อมาในช่วงต้นของ กรุงรัตนโกสินทร์ พ้ืนท่ีย่านกะดีจีนเปลี่ยนเป็นย่านการค้าสําคัญ เนื่องจากเป็นนิวาสถานของขุนนางระดับสูงที่ทําหน้าที่ดูแลการค้า การคลัง และการท่าระหว่างชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทําให้พื้นที่แห่งน้ีประกอบด้วยศาสนสถานท่ีหลากหลายทั้งวัดของ ชาวไทยพุทธ ศาลเจ้าจีน โบสถข์ องชาวคาทอลกิ และมสั ยดิ ในย่านกะดีจีนมีศาสนสถานท่ีมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมากมาย เช่น วัดกัลยาณมิตร วัดประยุรวงศาวาส วัดบุปผาราม โบสถ์ซางตาครู้ส (วัดกุฎีจีน) ศาลเจ้าเกียนอันเกง และอาคารท่ีมีคุณค่าควรอนุรักษ์ เช่น บ้านวินเซอร์ ศาลาเทศบาล นครธนบุรี (สํานักเทศกิจ) เป็นต้น นอกจากนั้น ย่านกะดีจีนยังเป็นที่ตั้งของชุมชนประวัติศาสตร์หลายแห่ง เช่น ชุมชนกุฎีจีน ชุมชน กุฎีขาว ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนวัดประยุรวงศ์ รวมถึงเป็นแหล่งวิถีวัฒนธรรมท่ีมีอัตลักษณ์ เช่น แหล่งทําขนมฝรั่งกุฎีจีน แหล่ง เทศกาลวนั ตรุษตามศาสนาตา่ ง ๆ เป็นตน้ พ้ืนที่ย่านคลองสาน เดิมมีการต้ังถิ่นฐานต่อเนื่องจากย่านกะดีจีน แต่ถูกแยกออกจากกันด้วยการตัดถนนประชาธิปกเพื่อ รองรับการก่อสร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าในสมัยรัชกาลท่ี 7 ย่านคลองสานเดิมเป็นพ้ืนท่ีสวนผลไม้ท่ีมีคลองสานเดิมเป็นคลอง สําคัญเพื่อนําน้ําเข้าสู่พื้นท่ีเกษตรกรรม ก่อนจะพัฒนาเป็นพ้ืนที่เพ่ือการค้าขายของชุมชนชาวจีนริมแม่น้ําเจ้าพระยา เน่ืองจากอยู่ฝ่ัง ตรงข้ามกับย่านทรงวาดและย่านตลาดน้อยซ่ึงเป็นพื้นท่ีพาณิชยกรรมที่สําคัญ ภายในพ้ืนท่ีย่านคลองสานประกอบด้วยศาสนสถาน บ้านขุนนาง บ้านเจ้าสัว บ้านบุคคลสําคัญ โกดังสินค้า ท่าเรือ และโบราณสถานหลายแห่ง เช่น วัดพิชยญาติการาม วัดอนงคาราม วดั ทองธรรมชาติ วัดทองนพคุณ ป้อมป้องปัจจามิตร เป็นต้น รวมทั้งโบราณสถานท่ีรอการขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากร เช่น มัสยิด กวู ตลิ อิสลาม มสั ยิดเซฟี ศาลเจ้ากวนอู บา้ นหวั่งหลี บา้ นโปษ์ก่ี นอกจากนนั้ ในพื้นทยี่ ังมีกล่มุ อาคารโกดงั คลังสินค้า และโรงงานเก่า จํานวนหน่ึงต้ังอยู่ริมแม่นํ้าเจ้าพระยา เน่ืองจากอิทธิพลของการทําอุตสาหกรรมและการค้าส่งในอดีต กลุ่มอาคารโกดัง คลังสินค้า และโรงงานมักจะปรากฏให้เห็นในบริเวณท่าดินแดง รวมถึงพื้นท่ีต่อเน่ืองริมแม่นํ้าไปจนสุดแขวงคลองสานและบริเวณท่าเรือข้าม ฟากไปยังท่าเรือส่ีพระยา ในสมัยรัชกาลที่ 5 เคย มีแนวคิดในการก่อสร้างให้สถานีรถไฟคลองสานเป็นสถานีต้นทางของรถไฟ สายคลองสาน-มหาชัย เพ่ือเป็นเส้นทางให้พ่อค้าแม่ค้าจากแม่กลองและมหาชัยเดินทางเข้ามาค้าขายในฝ่ังธนบุรีได้โดยสะดวก แต่ได้ ถกู ยกเลิกไปในที่สุด สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
4-118 แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษ์และพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษแ์ ละพฒั นา 3) สรปุ สถานการณป์ ัจจบุ ัน 5) แหล่งมรดกท่สี าํ คัญ ที่ผ่านมาพื้นท่ีย่านกะดีจีน–คลองสานมีโครงการอนุรักษ์และพัฒนาที่ดําเนินการโดยนักวิชาการร่วมกันหน่วยงานภาครัฐ บรเิ วณบริเวณยา่ นกะดีจนี -คลองสานมแี หล่งมรดกที่สาํ คัญ ดังแสดงในภาพท่ี 4-35 ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนในพื้นท่ีอย่างต่อเนื่อง ทําให้ผู้อยู่อาศัยในชุมชนรวมถึงประชาชนทั่วไปมีความเข้าใจถึง คุณค่าและความสําคัญของการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและวิถีชุมชนในพ้ืนที่น้ีเป็นอย่างดี ในปัจจุบันพื้นท่ีย่านกะดีจีน–คลองสาน ภาพท่ี 4-35 แหล่งมรดกท่สี าํ คัญบริเวณยา่ นกะดีจนี -คลองสาน เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมท่ีมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาเย่ียมชมอยู่อย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ัน ผู้ประกอบการหลายรายที่เป็น เจ้าของอาคารโกดังและคลังสินค้าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ได้หันมาบูรณะฟื้นฟูอาคารประวัติศาสตร์ และทําการใช้ประโยชน์ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ท้ังน้ี ใน พ.ศ. 2558 กรุงเทพมหานครไดร้ ่วมกบั สถาบนั การศกึ ษาและประชาชนในพืน้ ท่ี จัดทาํ แผนการอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟูย่านกะดีจีน–คลองสานจนเสร็จส้ิน สามารถใช้เป็นแผนแม่บทในการบูรณะฟ้ืนฟูพ้ืนที่ไปสู่ย่านอนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าภาคส่วนต่าง ๆ จะให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน–คลองสาน แต่จากการสํารวจภาคสนาม พบว่า ในพื้นท่ียังมีมรดกวัฒนธรรมและวิถีชุมชนที่ต้องการการดูแลรักษาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองอีกมาก โดยเฉพาะพื้นท่ีริม แมน่ ้ําเจ้าพระยา ท่ยี ังสามารถปรับปรุงใหม้ ภี มู ทิ ศั น์ท่ีสวยงามและเป็นพ้นื ท่ีสาธารณะท่ีมคี ุณภาพดยี ่งิ ขึ้น 4) ศักยภาพพื้นที่ พื้นที่ย่านกะดีจีน-คลองสานมีศักยภาพเป็นพื้นที่อนุรักษ์และพัฒนาชุมชนประวัติศาสตร์ เน่ืองจากมีอาคารและสถานท่ี ท่ีมีความสําคัญทางประวัติศาสตร์ และมีประวัติศาสตร์การตั้งถ่ินฐานของชุมชนที่ยาวนานมาต้ังแต่สมัยอยุธยา ภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงประชาชนในพ้ืนท่ีมีความเข้าใจในคุณค่าและความสําคัญของการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของพ้ืนที่เป็นอย่างดี รวมถึง ปัจจุบันได้มีการจัดทําแผนงานของภาครัฐและการรวมกลุ่มของประชาชนที่พร้อมต่อการดําเนินการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรม นอกจากน้ัน ในอนาคตอันใกล้จะมีโครงการพัฒนาย่านพาณิชยกรรมขนาดใหญ่บริเวณพ้ืนที่ริมนํ้าใกล้เคียงกับพื้นท่ี และจะมีการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางรางผ่านพื้นท่ีย่านกะดีจีน–คลองสานในอนาคต ทําให้พ้ืนท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาด้าน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และมีความจําเป็นในการวางแผนรองรับการเดินทางเข้ามาสู่พ้ืนที่ของประชาชนและนักท่องเที่ยวใน บริเวณจุดเปลยี่ นถ่ายการสัญจร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา 4-119 6) แนวคิดในการอนรุ ักษ์และพัฒนา ภาพท่ี 4-36 แนวคดิ ในการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาบรเิ วณยา่ นกะดีจนี -คลองสาน แนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนาย่านกะดีจีน-คลองสานมุ่งเน้นสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม และชุมชนในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนประวัติศาสตร์ เพ่ือรักษามรดกทางวัฒนธรรมไปพร้อมกับการพัฒนา สภาพแวดล้อมชุมชน รวมถงึ การอนุรักษ์ฟื้นฟูชมุ ชนเพอ่ื รองรับการท่องเท่ียวเชงิ อนุรักษ์และการพฒั นาระบบคมนาคมขนส่งทางราง ในอนาคต 7) การดําเนนิ การเพอ่ื การอนรุ กั ษ์และพัฒนา การอนุรักษ์และพัฒนาพื้นท่ีย่านกะดีจีน-คลองสานควรดําเนินการใน 4 ประเด็น คือ การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูภูมิทัศน์และการใช้ ประโยชน์ท่ีดินริมแม่น้ําเจ้าพระยา การพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยในชุมชน การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และ วิสาหกิจชมุ ชน และการปรับปรงุ ระบบระบายน้ําและป้องกนั นํ้าทว่ ม ดงั นี้ (1) การอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิทัศน์และพัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะริมแม่นํ้าเจ้าพระยามีความสําคัญต่อการอนุรักษ์ภูมิทัศน์ วัฒนธรรมของกรุงรัตนโกสินทร์ในภาพรวม รวมทั้งการรักษาวิถีชุมชนที่อยู่ริมแม่นํ้าเจ้าพระยา จึงควรมีการ ปรับปรุงพื้นท่ีริมนํ้าให้มีความงดงามสอดคล้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของชุมชน และควรมี การพัฒนาพืน้ ท่สี าธารณะและทางเดนิ รมิ แมน่ ํา้ เจา้ พระยาตลอดแนวพื้นที่ (2) การพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยในชุมชนเป็นสิ่งที่ควรดําเนินการเพ่ือตอบสนองการอยู่อาศัยของ ประชาชน และการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางรางในอนาคต จะทําให้พ้ืนท่ีย่านกะดีจีน-คลองสานมีศกั ยภาพ ในการพฒั นาเปน็ ย่านทพี่ ักอาศัยชั้นดีในเขตเมืองชนั้ ในสําหรับคนทุกกลุ่มสามารถดําเนินการได้โดยการปรับปรุง คุณภาพของสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการสัญจรในพ้ืนที่ให้เชื่อมต่อกับพื้นท่ี สาธารณะของชุมชน เชน่ สวนสาธารณะ พน้ื ที่โล่งในศาสนสถาน นอกจากน้ัน ทางเดนิ เท้าและทางจักรยานควร เชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนท้ังทางบกและทางน้ําได้อย่างมีประสิทธิภาพ และควรออกข้อบัญญัติ กรุงเทพมหานครเพอ่ื ควบคุมรูปแบบและความสูงของอาคารในพื้นท่ีให้สอดคล้องกับทัศนียภาพของแหล่งมรดก ในพน้ื ท่ี (3) การพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์และวิสาหกิจชุมชนเป็นการต่อยอดภูมิปัญญาเดิมของชุมชนในการผลิต สินค้าและการบริการให้สอดคล้องกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซ่ึงดําเนินการได้โดยการ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในชุมชนไปพร้อมกับการพัฒนาเส้นทางเดินและเส้นทางจักรยานให้เหมาะสมกับ บริบทที่แวดล้อม นอกจากน้ัน ควรมีการฟ้ืนฟูอาคารเก่าท่ีมีอยู่เดิมและปรับปรุงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชุมชนของพื้นที่ รวมถึงควรจัดกิจกรรมท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมที่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของคนในชุมชน สําหรับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนควรพัฒนาจากสินค้าและการบริการในชุมชนท่ี เหมาะสมกับการพัฒนาไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนทั่วไปและนักท่องเท่ียว ซ่ึงจะทําใหช้ มุ ชนมชี อ่ งทางในการสร้างประโยชน์จากการทอ่ งเทยี่ วได้มากยงิ่ ขึน้ (4) การปรับปรุงระบบระบายน้ําและป้องกันน้ําท่วมมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงระบบระบายน้ําและเข่ือนป้องกันนํ้า ท่วมที่มีอยู่ในพื้นที่ให้มีรูปแบบกลมกลืนกับวิถีวัฒนธรรมและทัศนียภาพเชิงประวัติศาสตร์ รวมถึงให้สอดคล้อง กับการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินในอนาคต ภาพที่ 4-37 ผงั รายละเอียดการอนุรักษ์และพฒั นาบรเิ วณย่านกะดจี ีน-คลองสาน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4-120 แผนผงั แม่บทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรกั ษ์และพฒั นา 8) แผนงานและโครงการบรเิ วณ ย่านกะดีจนี -คลองสาน สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร์ – ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา 4-121 ยุทธศาสตร์ 1 ดา้ นมรดกวัฒนธรรม อ้างองิ หน้า ยุทธศาสตร์ 5 ด้านสาธารณปู โภค อ้างองิ หนา้ 3-6 3-41 แผนงาน 1.1 1.1.1 โครงการคมุ้ ครองแมน่ ้ําเจ้าพระยา 3-7 แผนงาน 5.1 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปอ้ งกันนา้ํ ท่วม 3-42 3-8 3-43 การคุ้มครองและบรู ณปฏิสังขรณ์ 1.1.2 โครงการบรู ณปฏิสังขรณแ์ หลง่ มรดกสําคัญ 3-9 การป้องกนั น้ําท่วมและปรบั ปรุง 5.1.2 โครงการฟืน้ ฟูระบบคูคลอง และปรับปรงุ คุณภาพน้าํ 3-44 3-10 3-45 แหล่งมรดก 1.1.3 โครงการบูรณปฏสิ ังขรณโ์ บราณสถานในพ้นื ทก่ี รุงรัตนโกสนิ ทร์ คุณภาพนํ้า 5.1.3 โครงการปรับปรงุ ระบบการระบายนา้ํ 3-11 อ้างองิ หน้า 1.1.4 โครงการขน้ึ ทะเบยี นโบราณสถานทีย่ งั ไมไ่ ดร้ บั การข้นึ ทะเบียน 3-12 แผนงาน 5.2 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟา้ และสายสือ่ สารลงใต้ดิน 3-48 1.1.5 โครงการจัดทาํ ทะเบียนแหล่งมรดกท้องถ่ิน และสนับสนนุ การบูรณปฏิสังขรณ์ การปรับปรุงโครงสรา้ งพื้นฐาน 5.2.2 โครงการจัดต้งั ศูนย์ประสานงานและข้อมลู และพัฒนาเครือขา่ ยระบบ 3-49 แหลง่ มรดกทอ้ งถ่นิ ของระบบสาธารณูปโภค สารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ 3-50 แผนงาน 1.2 1.2.1 โครงการสบื สานฟืน้ ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาลท้องถิน่ 3-51 การสง่ เสริมฟื้นฟวู ถิ ีวฒั นธรรม 1.2.2 โครงการฟนื้ ฟูภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ วัฒนธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ และหัตถศิลป์ ยุทธศาสตร์ 6 ดา้ นสาธารณปู การ อ้างองิ หนา้ 3-54 แผนงาน 6.1 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วดั และโรงเรยี นเป็นศูนยบ์ รกิ ารครบวงจรแก่ผู้สงู อายแุ ละ 3-55 ยุทธศาสตร์ 2 ดา้ นการใช้ทด่ี นิ อ้างองิ หน้า การปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ าร ผูด้ ้อยโอกาส 3-56 3-15 3-57 แผนงาน 2.1 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรงุ แผนผงั ขอ้ กาํ หนดและมาตรการตามกฎหมายผงั เมอื ง 3-16 สาธารณูปการ 6.1.2 โครงการเพ่มิ ประโยชนก์ ารใช้สอยโรงเรียนเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ ศนู ย์ฝกึ อาชีพ 3-17 อา้ งอิงหนา้ การปรับปรุงมาตรการควบคุม 2.1.2 โครงการแกไ้ ขปรับปรงุ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร 3-18 และพ้นื ทีก่ จิ กรรมสันทนาการ 3-61 3-62 การใช้ประโยชน์ที่ดนิ และอาคาร 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการคมุ้ ครองส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม 3-19 แผนงาน 6.2 6.2.1 โครงการปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน็ ทพ่ี ักยามภัยพบิ ัติและภาวะฉกุ เฉนิ 3-63 3-64 แผนงาน 2.2 2.2.1 โครงการวาง จัดทํา และดาํ เนินการให้เป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ บรเิ วณริมฝ่ัง การเตรียมพร้อมสาธารณูปการ 3-65 3-66 การวาง จัดทาํ และดาํ เนนิ การให้ แมน่ ้ําเจา้ พระยา เพื่อรองรับยามภัยพบิ ัติและภาวะ 6.2.2 โครงการตดิ ตัง้ อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของชุมชน 3-67 เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ 2.2.2 โครงการวาง จัดทํา และดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามผงั เมอื งเฉพาะ ในพ้ืนที่ ฉุกเฉิน เปล่ยี นถ่ายการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟา้ ยุทธศาสตร์ 7 ด้านกายภาพและวิถชี มุ ชน ยุทธศาสตร์ 3 ดา้ นภูมทิ ศั น์ อา้ งอิงหน้า แผนงาน 7.1 7.1.1 โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยในกลมุ่ ชุมชนทส่ี าํ คญั แผนงาน 3.1 3.1.1 โครงการปรบั ปรุงภมู ิทัศน์โดยรอบโบราณสถาน 3-23 การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พน้ื ท่สี าธารณะระดบั กลุ่มชมุ ชนภายในศาสนสถาน การปรับปรงุ ภูมิทัศนเ์ มอื ง 3.1.2 โครงการปรับปรงุ ภูมิทัศนใ์ นโครงสรา้ งทศั นภาพ 3-24 3.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศนใ์ นแนวแมน่ า้ํ เจา้ พระยาและแนวคลองสําคัญ 3-25 ชุมชน แผนงาน 3.2 3.1.4 โครงการปรับปรงุ พ้นื ท่โี ลง่ สาธารณะ 3-26 การบรหิ ารจดั การภมู ทิ ัศน์เมือง 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสว่างอาคารสําคญั และพนื้ ท่สี าธารณะ 3-27 แผนงาน 7.2 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภัณฑข์ องผปู้ ระกอบการภายในชมุ ชน 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาตน้ ไม้ใหญ่ 3-28 การสง่ เสริมเศรษฐกิจชมุ ชน 7.2.2 โครงการสง่ เสริมให้เกิดผูป้ ระกอบการดจิ ทิ ัล ยทุ ธศาสตร์ 8 ด้านการท่องเท่ยี ว แผนงาน 8.1 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อุปกรณ์สอ่ื สารขอ้ มลู แหล่งท่องเทีย่ ว การปรับปรุงแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว 8.1.2 โครงการพัฒนาแหล่งขอ้ มูลวิถชี ุมชน ยุทธศาสตร์ 4 ด้านการจราจร อา้ งองิ หน้า 8.1.3 โครงการจดั กจิ กรรมเพื่อส่งเสรมิ การทอ่ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม 3-32 แผนงาน 4.1 4.1.1 โครงการสง่ เสริมการเชอ่ื มต่อยานพาหนะต่างประเภท 3-33 8.1.4 โครงการจดั ระเบยี บพน้ื ท่ีท่องเที่ยว 3-34 การเชือ่ มโยงโครงขา่ ยการสญั จร 4.1.2 โครงการทดแทนที่จอดรถบนพน้ื ผวิ จราจร 3-35 แผนงาน 8.2 8.2.1 โครงการปรบั ปรุงสถานที่และอุปกรณ์ให้ขอ้ มูลเสน้ ทางการท่องเทย่ี ว 3-36 แผนงาน 4.2 4.2.1 โครงการจาํ กดั การสัญจรในบริเวณกรงุ รัตนโกสินทรช์ นั้ ใน การพฒั นาเส้นทางการท่องเที่ยว 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนทแ่ี ละระบบออนไลนเ์ พื่อให้ข้อมูลการท่องเทย่ี ว 3-37 การสนับสนุนการเดินเท้าและ 4.2.2 โครงการส่งเสริมการใชข้ นส่งมวลชนเพ่อื ลดการใชย้ านพาหนะส่วนบคุ คล 3-38 แผนงาน 8.3 8.3.1 โครงการสง่ เสริมการพฒั นาแหล่งทีพ่ ักนกั ท่องเที่ยวใหไ้ ด้มาตรฐาน การใช้จกั รยาน 4.2.3 โครงการเก็บค่าธรรมเนียมการเขา้ บรเิ วณกรุงรตั นโกสนิ ทรช์ ้ันนอกด้วย การพฒั นาแหล่งทพ่ี กั ยานพาหนะส่วนบุคคล นกั ทอ่ งเทีย่ วใหไ้ ด้มาตรฐาน แผนงาน 4.3 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกิจ การออกแบบ พัฒนาและ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรุงท่าเรือ โครงการที่แรเงา หมายถึง โครงการท่ีไมไ่ ด้ดําเนินการในพ้ืนท่ี 12 บริเวณย่านกะดีจนี -คลองสาน ปรบั ปรงุ จดุ เปลยี่ นถ่ายการสญั จร สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
4-122 แผนผงั แม่บทการอนรุ กั ษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา 9) รายละเอียด ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงานและโครงการบรเิ วณย่านกะดีจนี -คลองสาน ตารางท่ี 4-13 รายละเอยี ด ยทุ ธศาสตร์ แผนงานและโครงการบรเิ วณยา่ นกะดีจนี -คลองสาน ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดบั ความ หมาย (ล้านบาท) ปที ่ี ปที ่ี ปที ี่ สาํ คัญ เหตุ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ จํานวน หนว่ ย หนว่ ยละ จาํ นวนเงนิ หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ 1-5 6-10 11-15 1 - กรมศลิ ปากร การดําเนนิ การ √ (ล้านบาท) (ล้านบาท) ต่อเน่ือง 2 - กรมศิลปากร √√√ 1 ด้านมรดก บาํ รงุ รักษา และคุ้มครอง 1.1 การคุม้ ครองและ 1.1.1 โครงการค้มุ ครองแม่นํ้า - สาํ รวจและจดั ทําแผนทีเ่ พ่อื กาํ หนดบริเวณทีจ่ ะข้ึน ไมม่ ีการ - ไมม่ ีการ - - กรมศิลปากร 9.00 2 216.00 √√√ วฒั นธรรม แหลง่ มรดกสาํ คัญ และ บูรณปฏิสงั ขรณ์แหลง่ เจ้าพระยา* ทะเบยี นโบราณสถานแมน่ าํ้ เจา้ พระยา โดยเนน้ ช่วง แบง่ พ้นื ที่ แบ่งพน้ื ท่ี การดําเนนิ การ จดั ทาํ มาตรการสนับสนนุ มรดก ระหวา่ งคลองบางกอกนอ้ ยและคลองบางกอกใหญ่ ตอ่ เนือ่ ง การฟื้นฟแู หลง่ มรดก - กําหนดพน้ื ทีแ่ ละประกาศขนึ้ ทะเบียน โบราณสถานแม่น้ําเจา้ พระยา 1.1.3 โครงการบรู ณปฏิสงั ขรณ์ - สํารวจและกําหนดลําดบั ความจาํ เป็นเร่งด่วน 9 แห่ง 1.0 9.0 โบราณสถานในพืน้ ที่ - บูรณปฏสิ ังขรณโ์ บราณสถาน 9 แหง่ 9 แห่ง 24.0 216.0 กรุงรัตนโกสนิ ทร์ 1.1.4 โครงการขึน้ ทะเบียนโบราณ - ศกึ ษาและกําหนดลําดบั ความสําคัญ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - สถานที่ยังไม่ไดร้ ับการขน้ึ ทะเบยี น* - ข้ึนทะเบียนโบราณสถานทย่ี ังไม่ไดข้ นึ้ ทะเบยี น แบง่ พ้ืนท่ี แบง่ พ้นื ที่ 1.1.5 โครงการจัดทําทะเบียนแหลง่ - ศึกษาและกําหนดลาํ ดบั ความสาํ คญั ไม่มีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 1 3 มรดกทอ้ งถน่ิ และสนบั สนุนการ - จดั ทําเกณฑก์ ารขึน้ ทะเบียนแหล่งมรดก แต่งตัง้ แบ่งพ้นื ที่ แบ่งพ้นื ท่ี (สํานักผงั เมอื ง) ต่อเนื่อง บรู ณปฏิสงั ขรณแ์ หล่งมรดกทอ้ งถ่ิน* คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิพจิ ารณาการขึน้ ทะเบยี นและอนมุ ตั ิงบประมาณสนบั สนุนการบูรณะ ฟ้นื ฟูแหล่งมรดกท้องถ่ิน จดั ทํามาตรการสนับสนุน 1.2 การส่งเสรมิ ฟ้ืนฟวู ถิ ี 1.2.1 โครงการสบื สานฟนื้ ฟู - กาํ หนดหลกั เกณฑ์และจดั ต้ังกรรมการพจิ ารณา ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ √ การฟ้ืนฟูแหลง่ มรดกที่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและ สนบั สนนุ งบประมาณ แบง่ พนื้ ท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา ตอ่ เนือ่ ง เป็นวิถวี ัฒนธรรม เทศกาลทอ้ งถิ่น* และการท่องเท่ยี ว) 1.2.2 โครงการฟืน้ ฟภู มู ิปัญญา - กําหนดหลักเกณฑ์และจัดตงั้ กรรมการพิจารณา ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ √ 2 1 ท้องถิ่น วัฒนธรรมอาหาร นาฏศิลป์ สนบั สนนุ งบประมาณ แบง่ พ้ืนท่ี แบ่งพนื้ ท่ี (สํานักวัฒนธรรม กีฬา ต่อเนอ่ื ง 1 และหัตถศลิ ป*์ และการท่องเทย่ี ว) 2 2 ด้านการใช้ทีด่ นิ ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ 2.1 การปรับปรงุ 2.1.1 โครงการแก้ไขปรบั ปรุง - วางและจัดทาํ แผนผงั และขอ้ กาํ หนดการใช้ ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ ทด่ี นิ โดยเคร่อื งมอื ทางผงั มาตรการควบคุมการใช้ แผนผงั ข้อกาํ หนดและมาตรการตาม ประโยชนท์ ด่ี ินของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร แบง่ พ้ืนที่ แบ่งพื้นท่ี (สํานกั ผังเมอื ง) ตอ่ เนอ่ื ง เมอื ง ประโยชน์ทด่ี นิ และอาคาร กฎหมายผงั เมือง* (ปรบั ปรุงคร้ังท่ี 4) - ดาํ เนินการประกาศกฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคบั ผัง เมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 4) โดย อาศยั อํานาจแหง่ พระราชบัญญตั ิการผังเมือง พ.ศ. 2518 2.1.2 โครงการแก้ไขปรับปรงุ - แก้ไขปรับปรงุ ข้อบญั ญตั ิกรุงเทพมหานคร เพอื่ ไมม่ ีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ ขอ้ บัญญัติกรุงเทพมหานครตาม การควบคุมแบบซอ้ นทบั (Overlay Control) โดย แบง่ พ้ืนที่ แบ่งพนื้ ท่ี (สาํ นกั ผังเมอื ง) ตอ่ เนือ่ ง กฎหมายควบคุมอาคาร* อาศยั อาํ นาจแหง่ กฎหมายควบคุมอาคาร 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการ - จัดทาํ มาตรการคมุ้ ครองสิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรมเพื่อ ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - สํานักงานนโยบายและ การดาํ เนนิ การ √ คมุ้ ครองสิง่ แวดล้อมศิลปกรรม* การอนุรกั ษ์และพัฒนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ แบ่งพืน้ ท่ี แบง่ พื้นที่ แผนทรัพยากรธรรมชาติ ต่อเนื่อง - ดาํ เนนิ การประกาศกฎกระทรวงให้ใช้บงั คบั และสงิ่ แวดล้อม มาตรการคมุ้ ครองส่ิงแวดล้อมศลิ ปกรรมเพ่อื การ อนุรกั ษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ โดยอาศัย อํานาจแห่งกฎหมายสิ่งแวดลอ้ ม สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
แผนผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนุรกั ษ์และพฒั นา 4-123 ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการ ปริมาณ ราคา หน่วยงานท่รี ับผิดชอบ งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย (ลา้ นบาท) สําคญั เหตุ หนว่ ยละ จํานวนเงนิ - กรงุ เทพมหานคร ปที ี่ ปที ่ี ปีที่ 2 ด้านการใช้ทีด่ นิ ดําเนินโครงการอนุรกั ษ์ 2.2 การวาง จดั ทํา และ 2.2.2 โครงการวาง จดั ทาํ และ - วาง จดั ทํา และดําเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามผังเมอื ง 1 พนื้ ที่ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (สาํ นกั ผังเมอื ง) 50.00 1-5 6-10 11-15 1 (ต่อ) ฟน้ื ฟูเมือง ดาํ เนนิ การใหเ้ ป็นไปตาม ดาํ เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามผังเมอื ง เฉพาะ ในพืน้ ที่รอบสถานสี ะพานพทุ ธ ผังเมืองเฉพาะ เฉพาะ ในพื้นท่ีเปลี่ยนถา่ ยการสญั จร 50.0 50.0 √ โดยรอบสถานรี ถไฟฟา้ 3 ด้านภมู ิทศั น์ ขับเนน้ การรับรู้โครงสรา้ ง 3.1 การปรับปรงุ ภูมิทัศน์ 3.1.1 โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ - สํารวจ ออกแบบ และก่อสรา้ งปรับปรุงในพน้ื ท่ี 10 ไร่ 5.6 56.0 - กรุงเทพมหานคร 56.00 √2 ของกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมือง โดยรอบโบราณสถาน ลานริมแมน่ ้ําหนา้ สํานักเทศกิจ ลานหน้าโบสถ์ซาง (สํานักผงั เมอื ง / สํานัก ตาครู้ส ลานรมิ แม่นํ้าหน้าวัดกัลยาณมติ ร ลานหน้า การโยธา / สาํ นกั งาน ศาลเจ้าเกียนอนั เกง ลานหนา้ วัดประยรุ วงศาวาส เขต / สาํ นักการจราจร รวมพ้นื ท่ปี ระมาณ 10 ไร่ และขนสง่ ) 3.1.3 โครงการปรับปรุงภูมทิ ศั น์ใน - สาํ รวจ ออกแบบ และปรบั ปรุงพนื้ ทรี่ ิมแมน่ ้าํ ไมม่ ีการ - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนินการ √1 √3 แนวแมน่ ํา้ เจ้าพระยาและแนวคลอง เจา้ พระยา (ช่วงปากคลองบางกอกใหญถ่ ึงถนน แบ่งพืน้ ที่ แบง่ พื้นที่ (สาํ นกั การระบายนํ้า / ต่อเนื่อง สําคัญ* เจรญิ รถั ) ความยาวประมาณ 2.8 กม. พื้นทร่ี มิ สํานกั ผังเมือง / สํานัก คลองบางกอกใหญ่ (ช่วงแมน่ ้ําเจ้าพระยาถึงถนน การโยธา) อสิ รภาพ) ความยาวประมาณ 0.7 กม. 3.1.5 โครงการฉายไฟส่องสวา่ ง - ตดิ ตั้งระบบและดวงไฟสอ่ งสว่างอาคารสาํ คญั วดั 5 แหง่ 3.5 17.5 - กรมการท่องเท่ียว 17.50 อาคารสาํ คัญ และพ้นื ท่ีสาธารณะ กลั ยาณมิตร ศาลเจ้าเกียนอันเกง โบสถซ์ างตาครู้ส - กรุงเทพมหานคร อาคารสาํ นักเทศกจิ วัดประยุรวงศาวาส รวม 5 จุด (สาํ นกั การโยธา / สํานัก - ตดิ ตง้ั ไฟส่องสวา่ งสาธารณะ ย่านกะดจี ีน-คลองสาน 6.4 กม. 15.3 97.92 วัฒนธรรม กีฬา และ 97.92 √ ตามแนวถนนอรุณอมรนิ ทร์ 0.97 กม. ถนนสมเดจ็ การท่องเทีย่ ว) เจา้ พระยา 1 กม. ถนนประชาธิปก 0.9 กม. รมิ แมน่ าํ้ เจา้ พระยา 1.6 กม. รมิ คลองบางกอกใหญ่ 0.7 กม. ระยะทางรวม 6.4 กม. เสริมสรา้ งส่งิ แวดล้อม 3.2 การบริหารจัดการ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแล - จัดตงั้ หนว่ ยงานด้านรกุ ขกรรมเพ่ือดูแลตน้ ไม้ ไมม่ ีการ - ไม่มีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 3 1 และเพม่ิ ศกั ยภาพของ ภูมทิ ศั นเ์ มือง รักษาต้นไม้ใหญ*่ โดยเฉพาะ แบง่ พื้นที่ แบ่งพืน้ ที่ (สาํ นกั สง่ิ แวดล้อม) ตอ่ เนอื่ ง 2 ผปู้ ฏบิ ตั งิ านด้านภูมทิ ัศน์ - จัดต้งั หน่วยงานบรกิ ารเพ่ือสนับสนุนการดแู ล ต้นไม้ใหญ่ของภาครฐั และภาคเอกชน 4 ดา้ นการจราจร เช่ือมโยงโครงขา่ ยการ 4.1 การเช่ือมโยง 4.1.2 โครงการทดแทนท่ีจอดรถบน - พฒั นาพืน้ ที่จอดรถรวมท้ังในพ้นื ทีข่ องรฐั และ ไม่มีการ - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ สญั จรอย่างเปน็ ระบบ โครงขา่ ยการสัญจร พ้ืนผวิ จราจร* เอกชน แบ่งพ้นื ที่ แบง่ พน้ื ที่ (สํานกั การจราจรและ ตอ่ เนื่อง ขนสง่ ) - ผ้ทู รงสทิ ธิในพืน้ ที่ สง่ เสรมิ การสญั จรท่ีเป็น 4.2 การสนับสนนุ การเดิน 4.2.2 โครงการสง่ เสริมการใช้ขนสง่ - กําหนดแนวสายทางและจุดจอดให้สอดคลอ้ งกบั ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ มติ รต่อส่ิงแวดล้อมใน เทา้ และการใชจ้ ักรยาน มวลชนเพ่อื ลดการใช้ยานพาหนะ การเชอ่ื มโยงทัง้ ภายในและภายนอกพื้นท่ี แบง่ พืน้ ที่ แบ่งพนื้ ท่ี (สํานกั การจราจรและ ตอ่ เนือ่ ง พื้นทีก่ รุงรตั นโกสนิ ทร์ ส่วนบุคคล* - คัดเลือกรปู แบบระบบขนส่งและยานพาหนะที่ ขนสง่ ) เหมาะสมกบั ปรมิ าณผูโ้ ดยสารและบรรยากาศของ พ้นื ที่ สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
4-124 แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ ักษ์และพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปริมาณ ราคา งบประมาณ เวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดบั ความ หมาย จาํ นวน หน่วย (ล้านบาท) สาํ คญั เหตุ 5 ด้าน หน่วยละ จาํ นวนเงิน หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ ปีท่ี ปที ี่ ปีที่ สาธารณูปโภค (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) 1-5 6-10 11-15 ปรับปรงุ สาธารณปู โภค 5.1 การปอ้ งกนั นํ้าท่วม 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวป้องกนั น้ํา - ปรบั ปรงุ จดุ เชือ่ มต่อสําคญั ใหเ้ ปน็ กําแพงทเี่ ปดิ ได้ ไม่มีการ - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ 2 พื้นฐานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ และปรบั ปรุงคุณภาพนํา้ ทว่ ม* ในเวลาปกติ และปดิ เพอ่ื ปอ้ งกนั นํ้าท่วมไดโ้ ดยไม่ แบง่ พื้นที่ แบง่ พื้นที่ (สาํ นักการระบายนํ้า) ตอ่ เน่อื ง และอเนกประโยชน์ ขดั ขวางทัศนวสิ ัย และมมุ มองระหวา่ งแม่นํ้าและ เมือง - ออกแบบแนวกําแพงป้องกนั น้าํ ทว่ ม สถานีสบู นาํ้ ประตูนํา้ และบ่อสูบน้ําเปน็ พิเศษ ให้สามารถปรบั ใช้ เป็นพ้นื ทกี่ จิ กรรมริมนาํ้ ขับเนน้ อตั ลักษณข์ องพนื้ ที่ 5.1.2 โครงการฟ้ืนฟูระบบคคู ลอง - ฟ้นื ฟูระบบคู คลอง และปรับปรงุ คุณภาพน้าํ คลอง ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ √ √ 2 และปรบั ปรงุ คุณภาพนาํ้ * บางกอกใหญ่ 0.7 กม. คลองวดั กัลยาณ์ 0.6 กม. แบง่ พื้นท่ี แบ่งพื้นท่ี (สํานกั การระบายน้ํา) ตอ่ เน่ือง คลองกุฎีจีน 0.6 กม. คลองขา้ งวดั อนงคาราม 0.5 กม. คลองสมเดจ็ เจา้ พระยา 2.0 กม. คลองสาน 0.7 กม. ระยะทางรวม 5.1 กม. ยกระดบั รปู แบบของ 5.2 การปรบั ปรุง 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟ้าและสาย - นาํ สายไฟฟา้ และสายสอ่ื สารลงใต้ดนิ ตามแนวถนน ไมม่ กี าร - ไมม่ ีการ - - กรงุ เทพมหานคร การดาํ เนินการ √ √ 2 ระบบสาธารณูปโภคให้ โครงสรา้ งพ้นื ฐานของ ส่ือสารลงใตด้ นิ * อรุณอมรนิ ทร์ 0.97 กม. ถนนสมเด็จเจ้าพระยา 1 แบง่ พ้ืนที่ แบง่ พ้นื ท่ี (สํานกั การโยธา) ตอ่ เน่อื ง √ 3 √ 3 สอดคล้องกบั พืน้ ท่ี ระบบสาธารณปู โภค กม. ถนนประชาธิปก 0.9 กม. - การไฟฟา้ นครหลวง √ 3 อนุรกั ษ์ รวมระยะทาง 2.9 กม. - บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) - บริษทั กสท โทรคมนาคม จาํ กัด (มหาชน) 6 ดา้ น ยกระดบั การใชง้ าน 6.1 การปรับปรงุ การ 6.1.1 โครงการปรับปรงุ วัดและ - ปรับปรงุ โรงเรยี นวดั ประยรุ วงศ์ 3 แห่ง 5.0 15.0 - กรุงเทพมหานคร 15.00 สาธารณปู การ สาธารณูปการให้ ให้บรกิ ารสาธารณูปการ (สํานกั พฒั นาสังคม / 6.00 สอดคลอ้ งกับโครงสร้าง โรงเรียนเป็นศูนยบ์ รกิ ารครบวงจรแก่ โรงเรียนวดั พิชัยญาติ โรงเรียนวัดทองธรรมชาติ สาํ นกั การศึกษา / ประชากรและบริบททาง สาํ นักงานเขต) สังคมทเ่ี ปล่ยี นแปลง ผู้สงู อายุและผ้ดู ้อยโอกาส - วดั 6.1.2 โครงการเพม่ิ ประโยชน์การใช้ - ปรับปรุงพ้นื ทีใ่ นโรงเรียนวัดประยุรวงศ์ 3 แห่ง 2.0 6.0 - กรุงเทพมหานคร สอยโรงเรียนเปน็ ศูนย์การเรียนรู้ โรงเรียนวัดพิชยั ญาติ โรงเรียนวดั ทองธรรมชาติ (สาํ นักการศึกษา / ศนู ยฝ์ กึ อาชีพ และพน้ื ทก่ี จิ กรรม สาํ นกั งานเขต) สนั ทนาการ - สถานศกึ ษาในสังกัด กรุงเทพมหานคร ปรับปรงุ สาธารณูปการ 6.2 การเตรียมพร้อม 6.2.1 โครงการปรับปรงุ อาคารเรยี น - ปรบั ปรงุ พ้นื ท่ีในโรงเรยี นวดั ประยรุ วงศ์ 3 แห่ง 2.0 6.0 - กรงุ เทพมหานคร 6.00 √ เพือ่ รองรับภยั พิบัติและ สาธารณปู การเพอ่ื รองรับ เป็นทพ่ี กั ยามภยั พิบัติและภาวะ โรงเรยี นวดั พิชยั ญาติ โรงเรียนวัดทองธรรมชาติ (สาํ นกั การศึกษา / 0.60 ภาวะฉกุ เฉนิ ยามภัยพิบัตแิ ละภาวะ ฉุกเฉิน - ตดิ ตัง้ แผนท่ีในชุมชน ฉกุ เฉิน 60 แห่ง 0.01 0.6 สํานกั ปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัย / สํานักงานเขต) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
แผนผังแมบ่ ทการอนุรักษแ์ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนรุ กั ษ์และพฒั นา 4-125 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การ ปรมิ าณ ราคา หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดบั ความ หมาย จํานวน หนว่ ย หนว่ ยละ จํานวนเงนิ (ลา้ นบาท) สําคัญ เหตุ 6 ดา้ น - ติดตง้ั หวั จ่ายนํ้าดับเพลิง ในพ้ืนท่วี ัดประยุรวงศา (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) - กรงุ เทพมหานคร ปที ี่ ปที ่ี ปที ี่ สาธารณปู การ ปรับปรงุ สาธารณปู การ 6.2 การเตรยี มพร้อม 6.2.2 โครงการติดตั้งอปุ กรณ์เพือ่ วาส วัดบุปผาราม วัดอนงคาราม วดั ทองธรรมชาติ 5 แห่ง (สํานกั ป้องกนั และ 0.50 1-5 6-10 11-15 2 (ต่อ) เพื่อรองรับภัยพบิ ัติและ สาธารณปู การเพอ่ื รองรับ ความปลอดภยั ของชุมชน วดั ทองนพคณุ 0.1 0.5 บรรเทาสาธารณภยั / ภาวะฉุกเฉิน ยามภัยพิบตั แิ ละภาวะ - ตดิ ตง้ั กล้องวงจรปิด 5 แห่ง สาํ นกั การจราจรและ √√ (ต่อ) ฉกุ เฉิน 1.0 5.0 ขนส่ง / สํานกั งานเขต) (ตอ่ ) 5.00 7 ด้านกายภาพและ ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม 7.1 การปรบั ปรงุ 7.1.1 โครงการปรับปรงุ - ศึกษา วางผัง และออกแบบ 1 พ้นื ท่ี 1.2 1.2 - กรงุ เทพมหานคร 1.20 √ 2 รปู 28.80 ต.ย.1 วถิ ชี มุ ชน ชุมชนให้อยู่รว่ มกับมรดก สภาพแวดล้อมชมุ ชน สภาพแวดลอ้ มการอยู่อาศยั ในกลมุ่ - ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ พนื้ ท่กี ลุม่ ชมุ ชนย่านกะดีจนี 1 พน้ื ท่ี 28.8 28.8 (สาํ นกั ผังเมอื ง) หนา้ 1.00 √ √ √ 4-120 วฒั นธรรมได้อยา่ ง ชมุ ชนที่สําคัญ 24.00 3 เหมาะสม และสง่ เสริม 30.00 การเรยี นรู้แก่สาธารณะ 7.1.2 โครงการปรบั ปรุงพนื้ ที่ - จดั กระบวนการมีส่วนร่วม 5 แห่ง 0.2 1.0 - กรงุ เทพมหานคร สาธารณะระดบั กลุ่มชุมชนภายใน - ปรบั ปรุงพนื้ ท่ีสาธารณะระดบั กลมุ่ ชมุ ชน 5 แหง่ 4.8 24.0 (สาํ นักผงั เมือง) ศาสนสถาน วัดประยุรวงศาวาส วัดบุปผาราม วดั อนงคาราม - ศาสนสถานเจ้าของ วัดทองธรรมชาติ วัดทองนพคณุ พน้ื ท่ี - พัฒนาพืน้ ทส่ี าธารณะจากทโี่ ลง่ วา่ งในชมุ ชน 10 แห่ง 3.0 30.0 สง่ เสริมการต่อยอดภูมิ 7.2 การสง่ เสริมใหเ้ กิด 7.2.1 โครงการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ของ - รบั สมคั รชมุ ชนหรือผูป้ ระกอบการภายในชุมชนที่ ไมม่ กี าร - ไมม่ กี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ √ 3 ปญั ญาและการสร้าง เศรษฐกจิ ชมุ ชน ผ้ปู ระกอบการภายในชุมชน* สนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แบง่ พ้นื ที่ แบ่งพืน้ ที่ (สํานักพฒั นาสังคม) ต่อเนื่อง เศรษฐกิจชุมชน - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการเพ่ือพฒั นา ผลติ ภัณฑ์ร่วมกับผู้เช่ยี วชาญ 7.2.2 โครงการส่งเสรมิ ใหเ้ กิด - รับสมัครผู้ประกอบการท่มี ีความพร้อมในพน้ื ที่ ไม่มีการ - ไม่มีการ - - สาํ นักงานสง่ เสริม การดาํ เนนิ การ √ √ 3 ผ้ปู ระกอบการดิจทิ ัล* เพ่อื รับการอบรม และใหค้ วามชว่ ยเหลือโดย แบง่ พน้ื ที่ แบง่ พืน้ ที่ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล ตอ่ เนอ่ื ง 3 2 ผู้เช่ยี วชาญ - อบรม และสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพม่ิ ทกั ษะของ ผู้ประกอบการในการเป็นผู้ประกอบการดิจทิ ัล - พัฒนาเวบ็ ท่า (Portal web) เพอ่ื ส่งเสรมิ การค้า ดิจทิ ัลในระดับยา่ นตา่ ง ๆ 8 ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว เพ่ิมคณุ ค่าและความ 8.1 การปรบั ปรงุ แหลง่ 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อปุ กรณ์ - ศึกษาและจัดทาํ รายละเอยี ดขอ้ มูลแหล่งทอ่ งเท่ียว ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - กรุงเทพมหานคร การดาํ เนนิ การ √ หลากหลายทางการ ท่องเท่ยี ว ท่องเที่ยว สอ่ื สารขอ้ มูลแหลง่ ท่องเทยี่ ว* วัดกลั ยาณมติ ร วดั ซางตาครูส้ วดั ประยรุ วงศาวาส แบ่งพน้ื ที่ แบ่งพ้ืนท่ี (สํานักวัฒนธรรม กีฬา ตอ่ เน่อื ง ศาลเจา้ เกยี นอนั เกง และการท่องเท่ยี ว) - ติดตั้งปา้ ยข้อมลู 8.1.2 โครงการพัฒนาแหลง่ ข้อมูล - ออกแบบและพัฒนาข้อมลู 1 แหง่ 0.5 0.5 - กรงุ เทพมหานคร 0.50 √ วถิ ชี ุมชน - พัฒนาและใหบ้ รกิ ารศูนยข์ อ้ มูลการท่องเทีย่ ว 1 แหง่ 10.0 10.0 (สํานักวฒั นธรรม กีฬา 10.00 ชมุ ชน และการทอ่ งเท่ียว) สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
4-126 แผนผงั แม่บทการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยุทธศาสตรก์ ารอนุรกั ษแ์ ละพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ การดําเนินการ ปริมาณ ราคา หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบ งบประมาณ เวลาดําเนนิ การ ลําดับความ หมาย จาํ นวน หน่วย หนว่ ยละ จํานวนเงนิ (ล้านบาท) ปที ี่ ปที ่ี ปีท่ี สาํ คญั เหตุ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) - การท่องเท่ยี วแหง่ 1-5 6-10 11-15 2 8 ด้านการทอ่ งเท่ียว เพ่ิมคุณคา่ และความ 8.1 การปรับปรงุ แหล่ง 8.1.3 โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสริม - สนบั สนุนการประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกิจกรรมการ 15 คร้งั ประเทศไทย 7.50 √√√ (ตอ่ ) หลากหลายทางการ ทอ่ งเทยี่ ว การท่องเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม ทอ่ งเท่ียว 15 ครัง้ 0.5 7.5 - กรุงเทพมหานคร 3 ทอ่ งเท่ยี ว (ตอ่ ) - จดั งานตามเทศกาลประเพณแี ละเทศกาลพเิ ศษใน (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา 225.00 √ (ต่อ) พน้ื ทยี่ า่ นกะดีจีน-คลองสาน 15.0 225.0 และการท่องเท่ยี ว) - กรงุ เทพมหานคร การดําเนนิ การ พัฒนาระบบการให้ข้อมลู 8.2 การพฒั นาเส้นทาง 8.2.1 โครงการปรบั ปรุงสถานทีแ่ ละ - ศกึ ษาและออกแบบจุดใหข้ ้อมูลการท่องเที่ยวและ ไมม่ ีการ - ไมม่ กี าร - (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา ตอ่ เนอื่ ง และเพม่ิ สิ่งอํานวยความ การทอ่ งเที่ยว อุปกรณใ์ ห้ข้อมูลเส้นทางการ ปา้ ยขอ้ มูลเสน้ ทางการทอ่ งเท่ยี ว แบ่งพ้ืนที่ แบง่ พ้นื ที่ และการท่องเท่ยี ว) สะดวกนกั ท่องเที่ยว ทอ่ งเทยี่ ว* - ติดตั้งจดุ ให้ข้อมูลการท่องเท่ียวและป้ายขอ้ มลู เสน้ ทางทอ่ งเท่ยี ว 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทแี่ ละ - จัดทาํ แผนที่แสดงขอ้ มลู เส้นทางท่องเที่ยวทสี่ าํ คญั ไมม่ กี าร - ไม่มกี าร - - การท่องเท่ยี วแห่ง การดําเนนิ การ √ 2 3 ระบบออนไลน์เพือ่ ใหข้ อ้ มลู การ ในกรงุ รตั นโกสนิ ทร์และพน้ื ที่ต่อเน่ือง แบ่งพ้ืนท่ี แบ่งพน้ื ที่ ประเทศไทย ตอ่ เนอ่ื ง ท่องเท่ยี ว* - จัดทําระบบออนไลนเ์ พ่ือประชาสมั พันธ์ ให้ข้อมลู แหล่งทอ่ งเท่ียวและเสน้ ทางทอ่ งเท่ยี ว ตลอดจนท่ี พัก - ปรบั ปรงุ ฐานข้อมูล แผนที่ ระบบออนไลนใ์ หม้ ี ข้อมูลที่ถกู ต้องและทันสมัย ยกระดับมาตรฐานแหล่ง 8.3 การพฒั นาแหล่งท่พี ัก 8.3.1 โครงการส่งเสริมการพัฒนา - ศึกษาและจัดทําแนวทางการพัฒนาปรบั ปรงุ แหลง่ 1 พนื้ ที่ 0.4 0.4 - กรุงเทพมหานคร 0.40 √ ท่พี ักนกั ทอ่ งเทยี่ ว นกั ท่องเท่ยี วให้ได้ แหลง่ ทีพ่ กั นักท่องเที่ยวใหไ้ ด้ ท่พี กั นกั ทอ่ งเทีย่ ว (สาํ นักวัฒนธรรม กีฬา มาตรฐาน มาตรฐาน - สนับสนุนการพฒั นาแหล่งที่พักนักท่องเทย่ี ว 1 พน้ื ท่ี 9.6 9.6 และการท่องเทย่ี ว) 9.60 รวม 817.52 * โครงการทมี่ ีการดําเนนิ การต่อเนือ่ งกนั หลายพน้ื ที่ ดูรายละเอียดในหนา้ 4-3 - 4-4 สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ กั ษแ ละพัฒนา 5-1 บทที่ 5 แนวทางการดาํ เนินการ สาระสําคัญในบทนี้เปนการนําเสนอแนวทางสําหรับการนําแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรไปสู การดาํ เนินการ ซง่ึ จาํ เปน ตองอาศยั กลไกและมาตรการตาง ๆ ในการปฏบิ ัตใิ หเกดิ ผลเปนรูปธรรม รวมถึงตองอาศยั ความรวมมอื ของ องคกรท้ังภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการขบั เคลื่อนใหเกิดผลไปในทิศทางเดยี วกัน เพื่อใหบรรลุ วัตถปุ ระสงคของแผนผังแมบ ทฯ สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5-2 แผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ กั ษแ ละพฒั นา 5.1 การดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามแผนผังแมบ ทการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร 3) ขอกําหนดการใชป ระโยชนทด่ี นิ และการควบคุมอาคาร ในการดาํ เนินการใหเปน ไปตามแผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสนิ ทร จําเปน ตอ งมีการดาํ เนนิ การในหลาย การกาํ หนดการใชประโยชนทดี่ นิ และการควบคุมอาคารเปนอีกหน่งึ เครือ่ งมอื ทจี่ ําเปน ตอ งมีการนํามาใชงาน เพ่ือไมใ หเกิด การพัฒนาพ้ืนท่ีที่ขัดแยงกับอตั ลักษณของยานและภาพรวมของการอนุรักษและพัฒนา ขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินและการ รปู แบบ ไดแ ก การอนรุ ักษม รดกวัฒนธรรมที่มคี ุณคา การสงเสริมสภาพแวดลอ มเพื่อธํารงคุณคาของมรดกวฒั นธรรม และการสรา ง ควบคุมอาคารในพ้ืนที่กรุงรัตนโกสินทรไดมีการกําหนดไวในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครและขอบัญญัติกรุงเทพมหานครแลว ความตระหนักรู มรี ายละเอียดดงั ตอไปนี้ หากแตมีความจําเปนตองทบทวนใหมีความเหมาะสมกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป และอาจตองเพ่ิมเติมเนื้อหาใหมีรายละเอียด เพียงพอกับการอนุรักษพ้ืนท่ี เพ่อื ประโยชนในการสงเสรมิ ใหเ กิดการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนของสภาพแวดลอมโดยรอบมรดกวฒั นธรรมให 5.1.1 การอนรุ ักษม รดกวฒั นธรรมทมี่ คี ณุ คา เปนไปในทศิ ทางที่พึงประสงค 1) การดแู ลรกั ษาแหลง มรดก 4) มาตรการเพอ่ื สงเสรมิ การอนรุ กั ษอาคารที่มีคุณคา การอนุรักษอาคารที่มีคุณคา โดยเฉพาะอยางยิ่งอาคารที่อยูในความครอบครองของภาคเอกชน จําเปนตองมีการเพิ่ม แหลงมรดกหรือมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดจาํ เปนอยางย่ิงตอ งมีการดแู ลรักษาทดี่ ี และมีการบํารุงรักษาใหอยใู นสภาพดี มาตรการสง เสริมใหเกิดการดําเนินการ เนื่องจากกลไกสาํ หรับการอนุรักษทมี่ ีอยูใ นปจจบุ นั สวนใหญเปน การควบคมุ ดวยกฎหมาย อยูเสมอจึงจะสามารถคงคณุ คาเอาไวได ดังนั้น จึงตองใหมีการดูแลรักษาแหลงมรดกวัฒนธรรมอยา งเหมาะสม และถูกตองตาม เพื่อไมใหเกดิ การทําลายหรอื เสื่อมคุณคา ของแหลง มรดกเทา นนั้ โดยอาคารท่มี ีคุณคาทอ่ี ยใู นความดูแลของภาคเอกชนอาจไมม ที ุนใน หลักการทางวชิ าการและกระบวนการ โดยหลักการพนื้ ฐานวา การดูแลรกั ษาตองเปน หนาทขี่ องผูทรงสิทธใิ นแหลงมรดกน้ัน หากมี การดูแลรักษาเพียงพอจงึ มักมสี ภาพเสือ่ มโทรม เน่ืองจากการอนุรักษใหอยใู นสภาพดีจําเปนตอ งใชคาใชจายมากกวา การปรบั ปรุง การระบุวาเปนโบราณสถานก็ตองอยูภายใตการกํากบั ดูแลของกรมศิลปากร นอกจากน้ันยังเสนอใหมีการเพิ่มกลไกการกํากับดูแล อาคารตามปกติ จึงตอ งมมี าตรการเพื่อสรางแรงจงู ใจหรอื แบง เบาภาระในการบาํ รุงรักษาอาคารทม่ี คี ณุ คา แหลงมรดกที่ไมไดเ ขาขา ยนิยามโบราณสถานโดยองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ เพื่อใหสามารถดแู ลรักษาไดอ ยา งทั่วถึง และมีความ ยืดหยนุ มากกวา ที่เปนอยใู นปจ จุบัน 5.1.3 การสรางความตระหนกั รู 1) การสรางความเขา ใจระหวางภาคี 2) การสง เสรมิ วถิ ีวัฒนธรรม แผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรจะเปนเครื่องมือในการสรางความเขาใจระหวางภาคีในภาพรวม วิถีวฒั นธรรมหรือมรดกวัฒนธรรมท่จี ับตองไมไดเปนองคความรูและภูมิปญ ญาทีต่ ดิ อยกู ับกลุมบคุ คล จาํ เปน ตองมีการสืบ ทอดจากรนุ สรู นุ จึงควรมกี ารสนับสนนุ และสง เสริมเพอ่ื ใหเกดิ การอนรุ กั ษตอไปในอนาคต การรวบรวมและบันทึกภูมปิ ญ ญาและองค ของการอนุรักษและพัฒนาในอนาคต การประสานการดําเนินงานของภาครัฐใหมีความสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน และการ ความรูท่ีถูกตองมีความสําคัญเชนเดียวกันกับการพัฒนาและตอยอดในเชิงเศรษฐกิจ จึงตองพิจารณาแนวทางการสงเสริมวิถี สื่อสารกับภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาคประชาสงั คม ในการดําเนินกจิ กรรมตางๆ ไดแก การลงทุน การเก็บรวมรวมขอมูล วัฒนธรรมใหครอบคลมุ ทัง้ สองประเด็น เพื่อการศึกษา การสงเสริมการเรียนรู การสรางความรวมมือระหวางองคกร การสรางเสริมความตระหนักรูในสังคม รวมถึงการ พฒั นาการทองเทยี่ ว ดังนนั้ การสรางความเขา ใจรวมระหวา งกนั จงึ เปน ประเด็นสาํ คญั อกี หนง่ึ ประการท่ีตองดําเนนิ การอยา งตอเนอ่ื ง 5.1.2 การสง เสรมิ สภาพแวดลอ มเพื่อธํารงคณุ คา ของมรดกวฒั นธรรม เพอื่ ใหเกดิ ผลอยา งเปน รปู ธรรม 1) การฟนฟูและปรับปรงุ พนื้ ท่ยี ุทธศาสตร การฟนฟูพื้นท่ีเมืองและการปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยรอบอาคารและสิ่งปลกู สรางท่ีมีคุณคาเปนการดําเนินการที่ชว ย สง เสรมิ คณุ คาของมรดกวัฒนธรรมใหโ ดดเดน ยิ่งขึน้ จงึ สมควรใหม กี ารฟน ฟูและปรบั ปรงุ พนื้ ท่ยี ุทธศาสตรสําคัญ เชน พืน้ ทีท่ ่ีมมี รดก วัฒนธรรมรวมตัวอยหู นาแนน พื้นที่ที่มีสถาปตยกรรมท่ีสื่อถึงยุคใดยุคหน่ึงและอยูในสภาพสมบูรณ พื้นที่สาธารณะที่มีการใชงาน เขม ขน พน้ื ที่จดุ เปล่ียนถายการสัญจร เปนตน การปรบั ปรงุ พน้ื ท่ยี ุทธศาสตรนี้ นอกจากจะทําใหมรดกวฒั นธรรมมคี วามโดดเดนแลว ยงั ชว ยสง เสริมคุณภาพชีวิตของผอู ยอู าศยั ในพน้ื ที่ สรางความภาคภมู ใิ จและความตระหนกั รใู นแหลง มรดก รวมถงึ ยงั เปน การสงเสรมิ การทอ งเที่ยวไดอีกดวย 2) การประสานการดําเนินการดา นกายภาพ การดําเนนิ การดา นกายภาพ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในกจิ การสาธารณูปโภค การคมนาคมขนสง และการจดั การพื้นที่สาธารณะ มีความจําเปน อยางยง่ิ ทีต่ อ งมีการประสานกันระหวางหนวยงาน เพ่อื ใหเกิดประสิทธภิ าพในการดาํ เนินงาน ลดความเดอื ดรอนของ ประชาชนในชวงของการกอสรา งและซอ มบาํ รงุ ทาํ ใหเ กิดความสวยงามเชิงภูมทิ ัศนในพ้ืนที่กรงุ รตั นโกสนิ ทรซ ง่ึ มมี รดกวัฒนธรรมอยู เปนจํานวนมาก เพอ่ื ใหสามารถคงคุณคาของมรดกวฒั นธรรมตอไปได ภาพท่ี 5-1 รปู แบบการดาํ เนินการใหเ ปนไปตามแผนผงั แมบ ทการอนรุ กั ษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร ทีม่ า : คณะท่ปี รกึ ษา, 2560 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม
แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา 5-3 5.2 บทบาทของแผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร 5.3 แนวทางการดาํ เนินการตามกลไกทม่ี ีอยใู นปจ จบุ ัน ในการดําเนินการตามรูปแบบท่ีสรปุ ไวใน 5.1 จําเปนตอ งอาศยั การดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐหลายหนวยงาน ทั้ง แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทรมบี ทบาทในการเปน กรอบการประสานแผนงานและโครงการของ หนวยงานภาครัฐท้งั ในระดับสว นกลางและสวนทองถิน่ พรอ มกนั นน้ั ยงั มบี ทบาทในการเปนเคร่ืองมือสรา งความเขาใจและประสาน หนวยงานสวนกลางและสวนทอ งถิ่น รวมถึงตองมีการประสานภาคสวนอื่น ๆ เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายทตี่ ้ังไว โดยทั้งหมดน้ี ความรวมมือกับหนวยงานหรือองคกรซ่ึงอยูนอกจากควบคุมของภาครัฐ ไดแก ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาคประชาสงั คม ตองมีการประสานงานระหวา งกันภายใตก รอบการดาํ เนนิ งานของแผนผังแมบ ทอนุรกั ษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร เพ่อื ใหเ กดิ ความ เพอ่ื ใหเกดิ การดําเนนิ การไปในทิศทางเดียวกนั จะสงผลใหการอนุรักษและพัฒนาพืน้ ทเี่ ปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความสอดคลอ ง สอดคลอ งในการดําเนินงาน และเกิดประสิทธภิ าพ กัน และเกดิ ผลประโยชนสูงสุดแกประชาชน (ภาพท่ี 5-2) 5.3.1 แนวทางการดําเนนิ การเพ่ืออนรุ กั ษม รดกวฒั นธรรมทม่ี คี ุณคา ในการดําเนินการของหนวยงานภาครัฐ นอกจากบทบาทหนาท่ีของหนวยงานท่ีรับผิดชอบอยูแลว ในบางกรณีอาจ มรดกวัฒนธรรมที่มีคุณคาของกรุงรัตนโกสินทรมีท้ังมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดหรือแหลงมรดก และมรดกวัฒนธรรม จําเปนตองอาศยั อาํ นาจกฎหมายในการดําเนนิ การเพอ่ื ใหเ กดิ ผลสําเร็จ หรือตอ งอาศยั การสรา งมาตรการตาง ๆ เพือ่ ใหเกิดแรงกระตนุ และสามารถขับเคลื่อนใหเกิดการอนุรักษและพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพ การดําเนินการในลักษณะดังกลาวนี้จําเปนตองใช ท่ีจับตองไมไดหรือวิถีวัฒนธรรม จําเปนอยางย่ิงที่ตอ งมีการอนุรักษใ หสืบทอดไปยังคนรุนหลัง เพ่ือเปนหลักฐานของพัฒนาการที่ เครือ่ งมือทางกฎหมายและเคร่ืองมอื ทางการเงนิ เขา มาเกย่ี วขอ ง เพอ่ื สรางความเปล่ยี นแปลง โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การดาํ เนนิ โครงการ ยาวนานของกรงุ รัตนโกสนิ ทร สง เสรมิ ใหเ กิดการเรยี นรู และใชป ระโยชนไ ดอ ยางสรา งสรรคต อไป ที่ตองอาศัยความรวมมือของภาคเอกชนและภาคสวนอ่นื ๆ ดังนั้น ภาครัฐจึงจําเปนตองมีเครื่องมือและสามารถนํามาใชไดอ ยา ง ในปจจุบันกรมศลิ ปากรเปนหนวยงานหลักท่ีมีอาํ นาจหนาที่ในการดแู ลโบราณสถานและโบราณวัตถุตามท่ีไดบ ัญญัตไิ วใน เหมาะสม เพื่อสามารถชี้นําใหเกิดการอนุรักษและพัฒนาไดอยางเปนระบบ และเปนกลไกท่ีสามารถชวยประสานใหเกิดการ พระราชบัญญตั โิ บราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ และพพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ พ.ศ.2504 จงึ เปนหนวยงานที่มบี ทบาทสาํ คัญใน ดําเนนิ งานอยา งบรู ณาการ การดูแลรักษามรดกวัฒนธรรมท่ีมีความสําคัญระดับชาติ ในสวนท่ีไดจําแนกเปนโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ไมวาจะอยใู นการ ครอบครองของภาครัฐหรือภาคเอกชนกต็ าม ในการดแู ลรักษาน้นั นอกจากการใชอํานาจทางกฎหมายในการธาํ รงรกั ษาคุณคาไมให ทง้ั น้ี การใหค วามสําคญั กับการดําเนินการใหเ ปนไปตามแผนผังแมบ ทฯ เปน เรือ่ งที่สาํ คัญอยา งยิ่ง เนอื่ งจากแผนผังแมบ ทฯ เกิดการเปล่ียนแปลงแกโบราณสถานและโบราณวัตถุ รวมถึงการจัดสรรงบประมาณประจําปเพ่ือซอมแซมโบราณสถานและ มีหนา ที่ชี้นาํ ใหเ กดิ ภาพรวมของการดําเนินงาน และเปน แนวทางในการประสานการดําเนนิ งานใหเ ปนเอกภาพ โดยองคกรทม่ี อี ํานาจ โบราณวตั ถุใหอ ยใู นสภาพทส่ี มบูรณแลว ยังมกี ารใหค วามรแู ละคําปรกึ ษาจากผูเ ช่ียวชาญของหนว ยงาน เพื่อใหผ คู รอบครองสามารถ และหนา ที่ในการกํากบั ดแู ลภาพรวมเชงิ นโยบายในปจจบุ ัน ไดแ ก คณะกรรมการอนรุ กั ษและพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร และเมืองเกา ดาํ เนนิ การไดอยา งถกู ตองตามหลักวิชาการ ท้งั น้ี ตองอยูภายใตก ารกาํ กับดูแลของกรมศิลปากรอยา งใกลชิด ซง่ึ มีเลขาธกิ ารสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ มเปน เลขานุการ ตองใชแผนผงั แมบทฯ ทไี่ ดจ ัดทาํ ข้ึนน้ี สืบเนือ่ งจากรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2550 และพระราชบญั ญัติกาํ หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอาํ นาจ เปนเครื่องมือการกํากับการดําเนินการของหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ ชวยอํานวยความสะดวกในการประสานกับรัฐบาลเพื่อ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ พ.ศ.2542 มาตรา 16 และมาตรา 17 กําหนดใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น มีหนาท่ีบํารุงรกั ษา จัดสรรงบประมาณ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานอยา งใกลชิด จึงจะสามารถบรรลุเปา หมายของการอนุรักษและพัฒนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาตอิ นั ดงี าม กรมศิลปากรจงึ ปรบั บทบาทการดาํ เนินงานใหส อดคลองกับพระราชบญั ญตั ิดงั กลา ว โดยไดเ ลง็ เหน็ กรงุ รตั นโกสินทรไ ด ถึงความสาํ คัญขององคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ ตอ การมสี วนรวมในการดูแลรักษามรดกวฒั นธรรมของชาติ จึงไดถ ายโอนภารกจิ การ ดูแลบํารุงรักษาโบราณสถานบางสวนใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ทั้งนี้ ในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร หนวยงานท่ีมีหนาท่ี ในระดับปฎบิ ตั กิ าร องคกรท่ีมบี ทบาทสาํ คัญที่สุดคือองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ไดแ ก กรงุ เทพมหานคร จงึ จาํ เปน อยา งยงิ่ รับผิดชอบไดแก สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดรับการถายโอนภารกิจการบํารุงรักษาโบราณสถานและการดูแลรักษา ตอ งใชแ ผนผังแมบทฯ เปน กรอบในการดาํ เนินงานท่เี กีย่ วของกบั การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาพน้ื ที่กรงุ รตั นโกสินทร โดยตองประสานการ โบราณสถานในระดับทองถ่ินมาต้ังแตป พ.ศ.2547 ดังน้ัน การถายทอดองคความรูใหกับเจาหนาท่ีของกรุงเทพมหานครจึงมี ความสาํ คัญเชน เดยี วกัน เพือ่ ใหก ารดูแลบํารงุ รักษาโบราณสถานในระดบั ทองถิ่นดาํ เนินไปไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดําเนินงานท้ังภายในและภายนอกองคกร เพ่ือใหเกิดการบรู ณาการอยางเปน ระบบ และยังมีหนาทร่ี ับผิดชอบในการสอดสองดูแล และบํารุงรกั ษาโครงสรางพนื้ ฐาน และพ้ืนที่สาธารณะตา ง ๆ ภายในพ้ืนที่อีกดวย ในสวนของวิถีวัฒนธรรม หนวยงานที่เก่ียวของโดยตรงคือกรมสงเสริมวัฒนธรรม รวมถึงหนวยงานในระดับทองถ่ิน ประกอบดวย สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ียว กรุงเทพมหานคร มีหนาที่รับผิดชอบในการสงเสริมกิจกรรมของภาค ประชาชนทเ่ี ก่ียวของกับการอนุรกั ษศิลปวัฒนธรรมทองถิน่ จึงตอ งมีการจัดสรรงบประมาณอยา งเพียงพอ เพ่ือใหหนวยงานดงั กลา ว สามารถดาํ เนินการตามภารกจิ เพื่อสงเสริมใหเกดิ การอนุรกั ษวิถีวัฒนธรรมได ภาพที่ 5-2 บทบาทของแผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม ท่มี า : คณะท่ีปรึกษา, 2560
5-4 แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยุทธศาสตรการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา 5.3.2 แนวทางการดาํ เนนิ การเพ่ือสง เสริมสภาพแวดลอมเพอื่ ธํารงคณุ คาของมรดกวฒั นธรรม 5.3.3 แนวทางการดําเนนิ การเพ่อื สรางความตระหนกั รู การสงเสริมสภาพแวดลอมใหมีสภาพดีเปนการดําเนินการสําคญั ทม่ี ีสวนชวยขบั เนนคณุ คา ของมรดกวัฒนธรรมทั้งที่เปน การสรา งความตระหนกั รูใหแ กผ ูเกย่ี วของและสาธารณะเปนการดําเนินการโดยสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ แหลงมรดกและวิถีวฒั นธรรม โดยในการดาํ เนินงานใหเ ปนไปตามแผนผงั แมบทการอนุรักษและพฒั นากรงุ รตั นโกสินทรจะเนนการ และสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดทําแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรควรมีหนาท่ีในการ ประชาสัมพันธแผนผังแมบทฯ การดําเนินโครงการตาง ๆ และการสรางระบบสําหรับใหขอมูลมรดกวัฒนธรรมภายในพ้ืนที่แก ดําเนินงานในสว นที่เปนกายภาพเปน สําคญั สามารถจาํ แนกแนวทางการดําเนินการเพือ่ สงเสรมิ สภาพแวดลอมและธํารงคุณคาของ ประชาชนผูสนใจ เพ่ือประโยชนใ นการตอ ยอดการดาํ เนินการของภาคสวนอ่ืน ๆ อาทิ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน และภาคประชา มรดกวฒั นธรรมได 4 ประการ ไดแ ก การฟน ฟูและปรบั ปรงุ พ้นื ท่ียุทธศาสตร การประสานการดําเนินงานดานกายภาพขอ กาํ หนดการ สงั คม เปนตน ใชป ระโยชนท ด่ี ินและการควบคุมอาคาร และมาตรการเพ่อื สง เสริมการอนรุ ักษอาคารทมี่ ีคุณคา นอกจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมแลว กรมศิลปากร สํานักผังเมือง และ ในการดําเนินการสงเสริมสภาพแวดลอม หนวยงานที่มีบทบาทหนาท่ีสําคัญคือองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร ยังเปนหนวยงานที่สามารถสรางความตระหนักรูดวยการใหขอมูลที่ กรุงเทพมหานคร โดยอาศยั การดําเนินงานของหนวยงานภายใน ประกอบดวย หนวยงานระดับสํานักและสาํ นักงานเขตตาง ๆ ใน เกีย่ วขอ งกบั โบราณสถาน แหลงมรดก และวถิ วี ัฒนธรรมในพ้ืนท่กี รุงรัตนโกสนิ ทรไ ดเชน กนั การดาํ เนนิ การตามขอบเขตอาํ นาจหนา ท่ี สรุปไดดังน้ี 5.3.4 แนวทางการดาํ เนินการอืน่ ๆ - สํานักผังเมือง เปนหนวยงานท่ีมีบทบาทสําคัญในการดําเนินการใหเปนไปตามแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนา เนอื่ งจากแผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทรเปนเครื่องมือสําคัญในการกาํ หนดแนวทางการอนรุ ักษและ กรุงรัตนโกสินทร โดยควรดาํ เนินการแกไขปรบั ปรุงแผนผังขอ กาํ หนดและมาตรการตามกฎหมายผงั เมือง แกไขปรับปรงุ ขอ บัญญตั ิ พัฒนาพืน้ ทกี่ รงุ รัตนโกสินทร การประเมินผลการดาํ เนนิ การ และการทบทวนรายละเอยี ดเพื่อปรบั ปรงุ แกไขแนวทางการดําเนนิ การ กรุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร ดําเนินการโครงการฟนฟูเมืองในพื้นที่ยทุ ธศาสตร โดยสามารถดาํ เนินการไดเ ลยใน จึงจําเปนตองดําเนินการเปนระยะ ๆ โดยเปนหนาที่ของคณะกรรมการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และเมืองเกา กับ พ้ืนท่ีสาธารณะทอ่ี ยใู นการดแู ลของกรุงเทพมหานครเอง แตหากมีความจําเปน ตอ งดาํ เนินโครงการในพื้นทที่ ี่คาบเก่ียวกับการดูแล สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมท่ีตองรับผิดชอบในการประเมินและทบทวนรายละเอยี ดดงั กลาว ของหลายหนวยงาน หรือพื้นท่ีในความครอบครองของภาคเอกชน ตองอาศัยอํานาจของพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 รวมถึงภารกิจในการประสานงานกับรัฐบาลเพอ่ื จัดสรรงบประมาณสมทบใหกบั หนวยงานตา ง ๆ เพอื่ ใหเ กดิ การดําเนินการใหเ ปนไป ตามแผนผังแมบทฯ อีกดวย ในการวาง จัดทํา และดําเนนิ การใหเปน ไปตามผังเมืองเฉพาะ เพื่อใหเกิดการดําเนินงานอยา งมีประสิทธภิ าพในการปรับปรงุ พ้ืนท่ี ที่สําคัญอยา งเปนระบบ นอกจากน้ี การใชท่ีดินของภาครัฐยังเปนปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินการใหเปนไปตามแผนผังแมบทฯ ดังน้ัน หนว ยงานท่รี ับผดิ ชอบพ้ืนท่รี าชพสั ดุ ไดแ ก กรมธนารกั ษ จึงมีบทบาทสําคัญในการกาํ หนดทศิ ทางการพฒั นาพ้ืนท่ี รวมถึงสาํ นักงาน - สํานกั ยทุ ธศาสตรแ ละประเมินผล โดยกองยทุ ธศาสตรส าธารณปู โภคพ้ืนฐาน เปน หนวยงานท่ที าํ หนาที่กาํ หนดนโยบาย ทรพั ยสินสวนพระมหากษัตริยซ่งึ เปนเจาของทดี่ ินหลายแหงในพนื้ ท่ีกรุงรัตนโกสนิ ทรก ม็ ีบทบาทสาํ คญั เชน เดียวกัน สาธารณูปโภคซง่ึ เปนหัวใจสําคัญสําหรับการประสานการดําเนินงานดา นกายภาพของหนวยงานที่เก่ียวของกับสาธารณูปโภค ทั้ง ภายในสังกัดกรุงเทพมหานครและหนว ยงานภายนอก การดําเนนิ การดา นสาธารณูปโภคท่ีสําคญั ตามแผนผังแมบทการอนุรกั ษและ พัฒนากรุงรัตนโกสินทร ไดแก การนําสายไฟฟาและสายส่ือสารลงใตดิน การปรับปรุงคุณภาพนํ้า และการพัฒนาระบบปองกัน นํ้าทวม ซ่ึงตองอาศัยการประสานงานระหวางสํานักการโยธา สํานักการระบายน้ํา สํานักการจราจรและขนสง รวมถึงหนวยงาน สาธารณูปโภคอื่น ๆ เพื่อใหการดําเนินการเปนไปอยางมีเอกภาพ ลดความซาํ้ ซอน และสรางความลาํ บากใหแกประชาชนใหน อ ย ท่ีสุด - สํานักการจราจรและขนสง เปนหนวยงานที่ดูแลงานดานการจราจรของกรุงเทพมหานคร เปนหนวยงานหลักในการ ดําเนินการตามแผนงานโครงการท่ีระบุในยทุ ธศาสตรด า นการจราจร ท้ังการปรับปรุงเชงิ กายภาพ และการบริหารจดั การการสัญจร ภายในพืน้ ที่ - สํานักส่ิงแวดลอม และสํานักเทศกิจ เปนหนวยงานท่ีรบั ผิดชอบในการดูแลรักษาพ้นื ที่สาธารณะ ซ่ึงเปนพื้นที่สําคญั ใน การสงเสริมคุณคาของมรดกวัฒนธรรมใหมีความโดดเดนย่ิงขนึ้ นอกจากนี้ยังมีสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ียว มีหนาที่ รับผิดชอบในการดแู ลรกั ษาสง่ิ อํานวยความสะดวกเพ่อื การทอ งเทย่ี วอกี ดวย สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
แผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนรุ กั ษและพฒั นา 5-5 ตารางที่ 5-1 หนวยงานภาครฐั ท่ีเกยี่ วขอ งกบั การดาํ เนนิ การดา นตา ง ๆ 5.4 กลไกและเครอื่ งมอื การอนรุ กั ษท ่ีสมควรเพ่ิมเตมิ จากการสรุปสถานการณและการดําเนินการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทรในชว งทผี่ านมาพบวา กลไกและเครอื่ งมือ รูปแบบและประเภทการดําเนนิ การ หนว ยงานสวนกลาง หนวยงานสวนทองถ่นิ ทง้ั ในเชิงกฎหมาย เชงิ งบประมาณ และเชงิ องคก ร สาํ หรับการอนรุ กั ษที่มีอยูในปจ จบุ นั ไมเ พียงพอตอ การดําเนินการของภาครัฐใหมี (กรุงเทพมหานคร) ประสิทธิภาพ และยังไมไดมีกลไกมารองรับการอนุรักษและดูแลรักษาแหลงมรดกที่ไมไดถูกพิจารณาเปน โบราณสถาน และการ สนบั สนุนและสรา งแรงจูงใจใหเ กดิ การบูรณปฏสิ งั ขรณแหลงมรดกทอ่ี ยใู นความดแู ลของภาคเอกชน จึงเสนอแนะกลไกและเครื่องมอื การอนุรักษมรดก การอนรุ ักษแ หลงมรดก กรมศิลปากร สํานกั ผังเมือง ท่สี มควรเพ่ิมเติมได ดังตอ ไปน้ี วฒั นธรรมท่มี ี การอนุรักษว ถิ ีวฒั นธรรม กรมสง เสริมวฒั นธรรม สํานักวัฒนธรรม กฬี า และการทอ งเท่ียว 5.4.1 การพฒั นาระบบการใหคณุ คา มรดกวฒั นธรรมที่มีความหลากหลาย ระบบการใหคุณคามรดกวัฒนธรรมในปจจุบันยังคงอางอิงพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและ คณุ คา สาํ นกั พัฒนาสังคม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พ.ศ.2504 เปนสําคัญ ดังนั้น หากมรดกวัฒนธรรมไมไดรับการพิจารณาใหเปนโบราณสถานหรือ สาํ นักการศกึ ษา โบราณวัตถุจะมีความเสย่ี งในการไมไดรับการคุม ครองจากภาครัฐ จึงจาํ เปนตองมีการพัฒนากลไกใหมเพอื่ การอนุรักษขึน้ มาเสริม แหลงมรดกสวนใหญท ่ีไมไดถูกพจิ ารณาเปนโบราณสถาน คือ แหลงมรดกท่มี ีคณุ คา ในระดบั ทอ งถิน่ หรอื ระดับชุมชน ดังนั้น องคกร การสง เสริม การจดั ทําและปรับปรุงแผนผงั สาํ นกั ผงั เมอื ง ปกครองสว นทอ งถน่ิ ในท่นี ้คี อื กรงุ เทพมหานครควรมีบทบาทสาํ คัญในการสง เสริมการอนรุ กั ษแ หลงมรดกดงั กลาวดวย กลาวคอื ควร มีระบบการขึ้นทะเบียนแหลงมรดกทอ งถน่ิ โดยกรุงเทพมหานครสามารถดําเนนิ การไดเอง เพื่อประโยชนในการดูแลบาํ รุงรักษาให สิ่งแวดลอมเพ่อื ขอกาํ หนดตามกฎหมายผัง แหลงมรดกอยูในสภาพดี ไมถูกลดทอนคุณคา แตอาจอนุญาตใหมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชสอยไดอยางยืดหยุนกวา โบราณสถานท่ดี แู ลโดยกรมศลิ ปากร ธาํ รงคณุ คา ของ เมอื ง และขอ บญั ญัติ ทง้ั นี้ ในปจจุบนั ในทางปฏบิ ตั ิยังคงมีปญ หาในเชงิ อาํ นาจหนาที่ของกรุงเทพมหานครในการขึ้นทะเบียนแหลงมรดกทองถิ่น มรดกวฒั นธรรม กรงุ เทพมหานครตามกฎหมาย และท่ีมาในเชิงกฎหมายยังไมมีการระบุไว จึงจําเปนตองพิจารณาการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พ.ศ.2504 ใหมีความทันสมัย และตอบสนองตอการใหคุณคาของแหลงมรดกท่ีมีความ ควบคมุ อาคาร หลากหลายมากข้ึน โดยกําหนดใหมีโบราณสถานหรือแหลงมรดกหลายระดับ และรับผิดชอบโดยหนวยงานท่ีแตกตา งกันออกไป ตามลําดบั ความสาํ คญั การวาง จดั ทาํ และดาํ เนนิ การ สาํ นกั ผงั เมือง นอกเหนือจากแหลง วัฒนธรรมท่ตี องมีการพฒั นาระบบการอนุรักษใหมคี วามหลากหลายย่ิงขึ้นแลว มรดกวฒั นธรรมที่จับ ใหเปนไปตามผังเมอื งเฉพาะใน ตองไมไ ดห รอื วิถวี ฒั นธรรมกย็ ังไมมรี ะบบสาํ หรบั การอนรุ ักษอ ยางเหมาะสม จงึ จาํ เปน ตองพฒั นาระบบการขึน้ ทะเบยี นใหส อดคลอง กับความจําเปนในการอนุรักษท เ่ี ปนองคร วมมากขึ้นตามไปดวย พนื้ ทีย่ ุทธศาสตร การประสานงานดาน การไฟฟา นครหลวง สํานกั ยทุ ธศาสตรแ ละประเมินผล สาธารณปู โภค การประปานครหลวง สาํ นกั การโยธา บรษิ ัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) สาํ นักการระบายนํ้า สํานักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสียง สํานักการจราจรและขนสง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ การจัดระบบจราจร กรมทางหลวง สาํ นกั การจราจรและขนสง กรมทางหลวงชนบท การรถไฟฟา ขนสง มวลชนแหงประเทศไทย กรมการขนสง ทางบก กรมเจาทา องคก ารขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ การดูแลรักษาพนื้ ท่สี าธารณะ สํานักส่ิงแวดลอม สาํ นักเทศกิจ การสง เสริมและจดั การ กรมการทอ งเที่ยว สาํ นักวัฒนธรรม กฬี า และการทอ งเที่ยว การทอ งเทยี่ ว การทอ งเท่ียวแหงประเทศไทย การสรา งความ สาํ นกั งานนโยบายและแผน สํานักผงั เมือง ตระหนักรู ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม สํานักวัฒนธรรม กฬี า และการทองเที่ยว กรมศลิ ปากร อืน่ ๆ การกาํ หนดนโยบายและ คณะกรรมการอนรุ ักษและพฒั นา แผนการอนุรกั ษแ ละพัฒนา กรุงรัตนโกสนิ ทร และเมืองเกา พนื้ ที่ และการประสาน สาํ นักงานนโยบายและแผน งบประมาณ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชท ่ดี นิ ของภาครฐั กรมธนารกั ษ สาํ นักงานทรัพยส นิ สวนพระมหากษตั ริย สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม
5-6 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพัฒนา 5.4.2 การจดั ตั้งหนว ยงานเพ่ือการอนุรกั ษมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร ท้งั นี้ การจัดตั้งเปน หนวยงานเฉพาะในสํานกั ผงั เมืองจะชวยสงเสริมใหก ารอนรุ ักษแ หลง มรดกมีประสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น หากแต การดูแลบํารุงรักษาโบราณสถานที่ไดร ับการถายโอนอาํ นาจจากกรมศิลปากร รวมถึงแหลงมรดกทีม่ ีคณุ คาอ่ืน ๆ ซ่ึงไมได ในสว นท่เี ก่ียวขอ งกบั มรดกวฒั นธรรมท่ีจับตอ งไมไดจะอยนู อกอาํ นาจของสาํ นกั ผังเมอื ง ในสวนนค้ี วรเปน หนาทีข่ องสํานกั วฒั นธรรม กฬี า และการทองเทยี่ ว ที่จะเปนหนว ยงานสําคญั ในการสง เสรมิ วถิ วี ัฒนธรรมภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เปนโบราณสถาน เปนภารกิจท่ีองคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ควรรับผิดชอบ ดังน้ัน กรุงเทพมหานครควรจดั ต้ังหนวยงานข้นึ มาเพอื่ ทาํ งานในดานการอนรุ ักษมรดกวฒั นธรรมเปนการเฉพาะ โดยสามารถพิจารณาการจัดตัง้ หนว ยงานเพื่อการอนรุ กั ษม รดกวัฒนธรรม 3) จดั ตัง้ คณะกรรมการอนุรกั ษมรดกวฒั นธรรมกรุงเทพมหานคร ของกรุงเทพมหานครไดเปน 3 ทางเลือก ดงั น้ี การจัดต้ังคณะกรรมการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร เปนอีกทางเลือกหน่ึงสําหรับการจดั ตั้งหนวยงานเพือ่ รับผิดชอบในงานดานการอนุรักษ โดยคณะกรรมการดังกลาวมีหนาท่ีรับผิดชอบในการดูแลรักษาแหลงมรดกในพื้นท่ี 1) จัดตง้ั เปนหนว ยงานภายในสาํ นักปลัดกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร อยูนอกเหนือความรับผดิ ชอบของกรมศลิ ปากร ท้ังโบราณสถานทไี่ ดรับการถา ยโอนอํานาจมาจากกรมศลิ ปากร ขอดีของการจัดตั้งเปนหนวยงานเฉพาะเพอื่ สงเสรมิ การอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร คือ สามารถขยาย และแหลงมรดกอ่ืน ๆ ทม่ี กี ารสํารวจและประเมนิ คณุ คาเอาไว ทัง้ น้ี กรรมการประกอบดวยผแู ทนสํานกั ตา ง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ขอบเขตงานดา นการอนรุ กั ษไ ดอ ยางทั่วถึงท้งั มรดกวัฒนธรรมทจ่ี บั ตอ งได และมรดกวฒั นธรรมทีจ่ ับตองไมไ ดอ ยางเปน ระบบ รวมถงึ ไดแก สํานักผังเมอื ง สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ยี ว สํานักพัฒนาสังคม สํานักส่ิงแวดลอม สํานักการศึกษา ฯลฯ และมี สามารถประสานการดําเนินงานในสวนของการปรับปรุงสิ่งแวดลอมที่อยูในอํานาจหนาที่ของสํานักตาง ๆ ภายในสังกัด ผูแทนจากหนวยงานภายนอก อาทิ กรมศิลปากร สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ฯลฯ รวมเปน กรุงเทพมหานครไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ ที่ปรกึ ษาอยดู วย หนวยงานที่จัดตั้งขึ้นมาใหมน้ี จําเปนตอ งมีผูเช่ียวชาญที่เก่ียวของกับการอนุรักษมรดกวฒั นธรรมหลากหลายสาขา อาทิ ในตางประเทศ กลไกคณะกรรมการอนุรกั ษใ นระดบั ทองถ่ินมีบทบาทสาํ คญั มากในการกาํ หนดนโยบายและทศิ ทางสําหรับ นักโบราณคดี สถาปนิกผังเมือง ภูมิสถาปนิก สถาปนิกท่ีมีความเช่ียวชาญดานอาคารอนุรักษ นักวิชาการวัฒนธรรม นักพัฒนา การอนรุ กั ษแหลง มรดกในพื้นที่ท่ีรบั ผิดชอบ เชน ในรัฐ Ontario ประเทศแคนาดา กฎหมายของรฐั ไดกําหนดใหแ ตล ะเทศบาล ตอง ชุมชน ฯลฯ ทํางานรวมกัน เพื่อใหเกิดการสรางระบบการอนุรักษแหลงมรดกที่อยูในความดูแลของกรุงเทพมหานครอยางมี จดั ใหม ี Municipal Heritage Committee ที่มีหนา ทใี่ นการใหค าํ ปรกึ ษาแกสภาเทศบาลในการอนุรกั ษแ ละสงเสรมิ การใชง านแหลง ประสิทธิภาพ และตองทํางานรวมกับชุมชนเพ่ือสง เสริมใหเกิดการอนุรักษวิถวี ัฒนธรรมควบคกู ันไป โดยจะทาํ หนาทสี่ ําคัญในการ มรดก เพื่อสรา งอัตลกั ษณแ ละสง เสริมการพัฒนาพ้ืนที่ใหมีความย่ังยืน ในรายละเอียด Committee ดงั กลา วมอี ํานาจหนา ท่ีในการ จัดทําบัญชีมรดกวัฒนธรรม กําหนดนโยบายและแผนเพื่อการอนุรักษ และประสานงานกับสํานักตา ง ๆ ภายในกรุงเทพมหานคร กําหนดหรอื ถอดถอนแหลงมรดกวัฒนธรรมที่มคี ุณคา ในทอ งถ่นิ การจัดซอื้ หรอื เวนคืนแหลงมรดก การใหทุนสนับสนนุ หรอื เงินกูใน รวมถึงหนว ยงานภายนอกที่เกีย่ วขอ ง เพอ่ื ผลกั ดันโครงการตา ง ๆ ใหสัมฤทธผ์ิ ล การบูรณปฏิสังขรณแหลงมรดก รวมถึงการทําสัญญาตาง ๆ กับผูทรงสิทธิ ซึ่งการตัดสินใจของ Committee มีผลตอการจัดสรร งบประมาณของเทศบาล และการปรับปรงุ แผนการพัฒนาเมืองใหส อดคลองกับการอนรุ ักษอกี ดว ย จากตวั อยางดงั กลาวจะเหน็ ไดวา 2) จัดต้ังเปนหนว ยงานภายในสํานกั ผงั เมือง กรุงเทพมหานคร กลไกคณะกรรมการฯ มีความสําคัญ และจําเปนตองเชอื่ มโยงกบั กลไกอน่ื ๆ ทีส่ ามารถผลักดนั ใหเกิดการอนุรักษอ ยา งเปน รูปธรรม การจัดต้ังหนวยงานระดบั กองภายในสาํ นักผังเมอื ง กรุงเทพมหานคร เปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับการจดั ใหมีหนวยงาน ไดท้งั ในเชิงการเงินและเชงิ กฎหมาย เฉพาะเพ่ือทํางานดานการอนุรักษมรดกวัฒนธรรม โดยเฉพาะประเภทท่ีเปนแหลงมรดก หนวยงานที่จัดตั้งข้ึนนี้ตองดําเนินการ สาํ รวจ เก็บขอ มูล และสรางระบบการจดั ทาํ ทะเบยี นแหลง มรดกท่ีมีคุณคาของกรงุ เทพมหานคร รวมถึงการจดั ใหม ีกลไกการควบคุม อาคารที่นอกเหนือจากกลไกการข้ึนทะเบียนโบราณสถานท่ีมีอยูแลว ใหสามารถรักษาคุณคาของอาคารและส่ิงปลูกสรางไวได โดยเฉพาะการสงเสริมใหเกิดการอนุรักษแ ละบํารุงรักษาสวนภายนอกอาคารใหอยูในสภาพดี และมีหนาท่ีจัดทําแผนและดําเนิน โครงการฟน ฟเู มืองสําหรบั ยา นอนรุ กั ษ ตัวอยางขององคก รปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีหนวยงานเฉพาะท่ีทําหนาที่เกี่ยวกับการอนุรักษ ไดแก เทศบาลกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน โดยมีหนวยงานชื่อกองทัศนียภาพเมือง (Toshi Keikanbu) ภายใตสํานักผังเมือง (Toshi Keikakukyoku) ท่ีทําหนาที่ดูแลบํารุงรักษาพื้นท่ีท่ีถูกระบุใหเปนพื้นที่คุมครองทัศนียภาพภายใตก ฎหมายตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ รวมถึงพื้นท่ีอนุรักษ เมืองเกาดว ย หนว ยงานดังกลา วมหี นาท่ใี นการศกึ ษาและดาํ เนินการตามเทศบญั ญตั ทิ ่เี กีย่ วขอ งกับการรกั ษาทัศนียภาพทด่ี ขี องเมือง รวมถงึ การอนุญาตกอสรางอาคารทอ่ี ยูภ ายในพ้ืนท่อี นุรักษดว ย เนื่องจากปจจบุ ัน สาํ นักผังเมือง กรงุ เทพมหานครไมมบี ุคลากรในสาขาทีเ่ กยี่ วขอ งกบั การอนรุ ักษ หากมีการจดั ตั้งหนวยงาน ภายในดังกลา ว มคี วามจําเปนตองเพ่ิมอัตรากําลงั โดยเฉพาะอยางยง่ิ ผูเช่ียวชาญดานการอนุรักษเ มือง นักโบราณคดี และสถาปนิก ผงั เมอื งขน้ึ ภายในหนว ยงาน เพ่อื ใหสามารถรับผดิ ชอบภารกจิ นไ้ี ด สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม
แผนผังแมบทการอนุรักษและพฒั นากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา 5-7 5.4.3 การถา ยโอนสทิ ธกิ ารพฒั นา (TDR) ภาพที่ 5-3 กลไกการถายโอนสิทธิการพฒั นา ในการสนบั สนนุ ใหภาคเอกชนมสี วนรวมในการอนุรกั ษอ าคารท่ีอยใู นความครอบครองน้ัน จําเปน อยา งย่ิงตอ งใชเ ครอื่ งมอื ภาพท่ี 5-4 ตกึ แถวที่ไดร บั การอนรุ กั ษจากกลไกการถา ยโอนสิทธิการพัฒนาในยา น Dihuajie ของกรุง Taipei ทางการเงินเขามาสรา งแรงจงู ใจเพ่ือใหเกิดการดําเนินการ ซึ่งในปจจบุ นั ยงั ไมม ีกลไกใด ๆ ท่ีสงเสริมใหเกิดการอนุรักษแหลงมรดก วฒั นธรรมโดยใชเครอื่ งมอื ดงั กลา ว ที่มา : คณะทีป่ รกึ ษา, 2560 ปจจุบันสํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดดําเนินการศึกษาเก่ียวกับกลไกการถายโอนสิทธิการพัฒนา (Transfer Development Rights; TDR) โดยกลไกดังกลาวจะอนุญาตใหอาคารในพ้ืนที่อนุรักษที่ไมใชสิทธิในการพัฒนาพ้ืนที่อยางเต็ม ศักยภาพ หรือมีขอจาํ กัดจากการเปน อาคารอนุรักษที่ไมสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได สามารถขายสิทธกิ ารพัฒนาไปยังพื้นทีอ่ ่ืน ของเมอื งซึง่ ไดกาํ หนดไวใหเ ปนพื้นท่รี บั สิทธิ โดยมีการจดั การระบบการแลกเปลี่ยนสิทธดิ งั กลาวอยา งเหมาะสม กลไกนี้จะสามารถ ชวยใหผูท่ีขายสทิ ธิสามารถนําเงินที่ไดจ ากการขายสทิ ธิน้ันมาดําเนินการอนุรักษอาคารไดตอไป หากการศึกษาแลว เสร็จและไดร บั ความเห็นชอบ กลไกน้ีจะไดรับการผนวกรวมอยูในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 4) และบังคับใชตอไป (ภาพที่ 5-7) การถายโอนสิทธิการพัฒนาเปนกลไกท่ีใชอยางแพรหลายเพ่ือการอนุรักษเมืองในหลายประเทศ เชน ญี่ปุน ไตหวัน ฯลฯ ในบริเวณยานการคาเครื่องยาจีน Dihuajie ในกรุง Taipei เปนพ้ืนท่ีท่ีอนุญาตใหมีการถายโอนสิทธิการพัฒนาไปยังพ้ืนท่ีอื่น ๆ ภายในเมือง เนอ่ื งจากเปนยา นทตี่ ัง้ อยกู ลางใจเมือง แตมตี ึกแถวทีส่ วยงามเปน เอกลักษณหลงเหลอื อยูเปน จํานวนมาก การพยายาม อนุรักษตึกแถวที่มีความสูง 3-4 ช้ันใหอยูรอดจากการพัฒนาพ้ืนท่ีใหมีความหนาแนนยิ่งข้ึน การถายโอนสิทธิการพัฒนาจึงเปน เครื่องมือทางการเงินท่ีสรางแรงจูงใจใหผูทรงสิทธิเก็บรักษาและบูรณปฏิสังขรณอาคารเดิมใหอยูในสภาพดี แลกเปล่ียนกับ คา ตอบแทนทจี่ ะไดรบั จากการถา ยโอนสทิ ธิการพฒั นาไปยังพืน้ ทอี่ น่ื การถายโอนสิทธิการพัฒนาถือเปน เครื่องมือหนึ่งท่ีใชประโยชนจากกลไกตลาดเขามาสรางความเปนธรรมในการใชทด่ี นิ โดยทผี่ ูถอื ครองอาคารและสิ่งปลกู สรางทีม่ ีคุณคาสามารถไดร ับประโยชนจ ากการไมพัฒนาพ้นื ท่เี ตม็ ศักยภาพ แลกกับผลตอบแทนที่ จะไดจากการถายโอนสิทธไิ ปยงั พนื้ ที่อ่นื จงึ นาจะเปน กลไกทกี่ ระตนุ ใหเกิดการอนุรักษอาคารของภาคเอกชนตอไปในอนาคต 5.4.4 การขดุ คนทางโบราณคดี พื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทรเปนพื้นทท่ี ี่มีประวัติศาสตรการตัง้ ถิ่นฐานมาอยา งยาวนาน ในบางบริเวณสามารถนับยอ นไปไดถ งึ สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา ดังนั้น จึงมีความเปน ไปไดสงู ที่จะมหี ลกั ฐานทางโบราณคดีหลงเหลอื อยใู ตดนิ จงึ ควรมกี ารขุดคนทางโบราณคดที กุ คร้ังท่มี กี ารขอนญุ าตกอ สรางอาคารหรือมกี ารดาํ เนนิ การทางสาธารณปู โภคใตดนิ โดยเฉพาะในบริเวณทมี่ ีการกําหนดมาตรการสําหรับการ อนุรักษเ ขม ขน (บริเวณหมายเลข 1, 2 และ 3 ในแผนที่ 2-1 หนา 2-7) โดยพจิ ารณาเปน ทางเลอื กไดด งั นี้ 1) การปรับปรุงขอบัญญัติกรุงเทพมหานครตามพระราชบัญญตั ิควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 โดยกําหนดใหมีขั้นตอนของ การขดุ คน ทางโบราณคดี หลังจากทม่ี กี ารยนื่ ขออนญุ าตกอสรางอาคาร โดยกรุงเทพมหานครตองประสานงานกับกรม ศิลปากรเพือ่ กาํ กับดแู ลการขุดคน ดงั กลาว 2) การกําหนดใหเปนเขตควบคุมส่ิงแวดลอม โดยกําหนดใหการขุดคนทางโบราณคดีเปนมาตรการ ซึ่งจะมีผลการใช บังคับที่กวางกวาการปรับปรุงขอบัญญัติกรุงเทพมหานครฯ โดยสามารถใชบังคับกับการดําเนินโครงการ สาธารณปู โภคของภาครฐั ที่จําเปน ตอ งเปด หนาดินเพ่อื ดําเนนิ การไดเชนกัน 3) การกําหนดใหเปนเขตโบราณสถานตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน แหงชาติ พ.ศ.2504 โดยเปนอํานาจของอธิบดีกรมศิลปากรในการอนุญาตใหมีการกอสรางหรือปรับปรุงอาคาร หลงั จากดาํ เนินการขดุ คน เสร็จสน้ิ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม
5-8 แผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนุรักษแ ละพัฒนา 5.4.5 กองทนุ เพอื่ การอนรุ ักษแ หลง มรดก ภาพที่ 5-5 สรุปแหลง ที่มาของงบประมาณทใ่ี ชในดําเนนิ การโครงการตามแผนผังแมบทการอนุรกั ษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร กองทนุ เพอ่ื การอนุรกั ษแ หลง มรดกเปน กลไกทางการเงินที่ชวยเหลอื คาใชจ ายทใ่ี ชในการอนุรักษ โดยแบงเปนกองทุนของ ที่มา : คณะทีป่ รกึ ษา, 2560 ภาครัฐทอ่ี าศัยการสนับสนนุ ของรัฐบาลเปน หลกั และกองทุนรูปแบบอื่น ๆ ทไี่ มเกีย่ วขอ งกบั ภาครฐั โดยตรง ซ่งึ จะทาํ หนาท่ชี ว ยเติม เต็มขอจาํ กัดดานงบประมาณของภาครัฐในการดาํ เนินการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมที่ครอบครองโดยภาคเอกชน โดยสวนใหญเ ปน อน่ึง ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ มแหงชาติ พ.ศ.2535 ก็ไดระบุกลไกทางการเงินไว การระดมทุนจากภาคประชาชนโดยวิธอี นื่ ๆ แตกตางกนั ไปตามบรบิ ท โดยจัดใหม ี “กองทุนส่งิ แวดลอม” จัดตั้งขึน้ ในกระทรวงการคลัง โดยตามความในมาตรา 23 สามารถนําเงินกองทนุ มาใช จา ยในกิจการตอไปนี้ ในออสเตรเลียมีกองทุนชื่อ Heritage Assistant Fund เปนกองทุนที่ดําเนินการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือสนบั สนนุ การดําเนินการอนุรักษ บรู ณปฏิสังขรณ และฟน ฟูแหลงมรดกของบุคคล ชมุ ชน หรอื องคกรทส่ี นใจ โดยสนบั สนุนเปน (1) ใหสวนราชการหรือราชการสวนทองถ่ินสําหรับการลงทุนและดําเนินงานระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือระบบ รายโครงการตามท่ีผูประสงคจะใชเงินกองทุนนี้รอ งขอมา แตไมไดส นับสนนุ คาใชจายทจี่ ะเกิดขึน้ ท้งั หมด 100% สวนใหญเปนการ กําจัดของเสียรวม รวมทั้งการจัดหาจัดซ้ือ ท่ีดิน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือและเครื่องใชที่จําเปนสําหรับการ สนับสนุนการซอมแซมอาคารในสวนที่เกิดข้นึ ภายนอกเทานั้น ทั้งนี้ การสนับสนุนจะใหเฉพาะกับอาคารหรือสิ่งปลูกสรางท่ีอยใู น ดาํ เนินงาน และบํารงุ รกั ษาระบบดังกลา วดวย บัญชมี รดกวัฒนธรรมขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ เทา นัน้ (2) ใหร าชการสวนทองถิ่นหรือรฐั วิสาหกิจกูย ืม เพอ่ื จัดใหม ีระบบบําบดั อากาศเสียหรือนาํ้ เสยี ระบบกําจดั ของเสีย ตัวอยา งของกองทุนเพ่ือการอนุรักษแ หลงมรดกท่มี ีการบริหาร ท่ีเปนอิสระจากภาครัฐที่มีช่ือเสยี ง ไดแก National Trust หรืออุปกรณอ ื่นใด สําหรบั ใชเฉพาะในกจิ การของราชการสว นทองถน่ิ หรือรฐั วิสาหกิจน้ัน ของสหราชอาณาจกั ร ซ่ึงเปนกองทุนท่ีเกิดจากการบริจาคและคา บํารงุ ของสมาชิก โดยเงนิ กองทุนจะถูกนําไปใชในการบาํ รุงรกั ษา และบรหิ ารจดั การอาคารที่มีคุณคา ทีอ่ ยูใ นความดแู ลของ National Trust จะเปดใหประชาชนทว่ั ไปเขา ชมโดยเก็บเงินคาผา นประตู (3) ใหเอกชนกยู มื ในกรณีท่บี คุ คลนั้นมหี นาท่ตี ามกฎหมายท่ีจะตองจดั ใหม รี ะบบบาํ บดั อากาศเสยี หรือนํ้าเสีย ระบบ แตหากเปนสมาชิกจะไดรบั การยกเวน กองทนุ ในลกั ษณะนี้จะมคี วามยืดหยุนสูงกวาการดําเนนิ การอนรุ กั ษโ ดยพง่ึ พางบประมาณจาก กาํ จดั ของเสยี หรืออปุ กรณอนื่ ใด เพอ่ื การควบคุมบาํ บัดหรอื ขจดั มลพษิ ทีเ่ กดิ จากกจิ กรรมหรือการดาํ เนินกจิ การ ทางภาครัฐเพียงอยางเดียว เน่อื งจากไมมีขอ จํากัดของการนาํ งบประมาณมาใชกบั การซอมบาํ รุงอาคารทอ่ี ยูในความครอบครองของ ของตนเอง หรือบุคคลนัน้ เปน ผูไ ดรบั ใบอนุญาตใหป ระกอบกิจการเปนผูรับจางใหบ รกิ ารบาํ บัดนํ้าเสยี หรอื กําจัด เอกชน ของเสียตามพระราชบัญญัติน้ี นอกจากน้ี ในสหราชอาณาจักรยังมีกองทุนจากสลากกินแบงรัฐบาลท่ีใชชื่อวา Heritage Lottery Fund เปนกองทุนที่ (4) เปนเงินชวยเหลือและอุดหนุนกิจการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมตามท่ี ตั้งขึ้นต้ังแต ค.ศ.1993 โดยใชสวนแบง (4.66%) จากเงินรายไดข องสลากกินแบงที่โดยหลักการแลวจะถูกจัดสรรปนสวนมาใชใน คณะกรรมการกองทนุ เหน็ สมควร และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งิ แวดลอมแหงชาติ กิจการสงเสริมศิลปวัฒนธรรม การกีฬา การสาธารณสุข และกิจการสาธารณประโยชนอ่ืน ๆ นํามาใชในการอนุรักษแหลงมรดก กองทนุ นจี้ ะถูกใชเ ปน ทุนในการสนับสนนุ การบูรณปฏิสงั ขรณอ าคาร ใชซ ้ือทด่ี นิ และอาคารทีม่ ีคุณคา รวมถงึ การปรับปรงุ การเขาถึง (5) เปนคาใชจายในการบริหารกองทนุ แหลงมรดกใหมีความสะดวกยง่ิ ขึน้ จนถึงปจ จบุ ัน มีการสนับสนุนกิจกรรมโดยกองทุนนี้มากกวา 9,000 โครงการ รวมมูลคากวา 2 การดําเนินการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรใหเปนไปตามแผนผังแมบทฯ สามารถประยุกตใชเงินจากกองทุน พนั ลานปอนด ดังกลา วในกจิ การสงเสริมและรกั ษาสภาพสิ่งแวดลอ มของพ้ืนทีอ่ นุรักษได อาทิ กจิ การดานสาธารณปู โภค และการดําเนินงานดาน จะเห็นไดวา กองทุนเปนเรื่องสําคัญในการอนุรักษและบํารุงรักษาแหลงมรดกใหอยูในสภาพดี เน่ืองจากแหลงมรดก สว นมากตองใชค าใชจ ายในการบูรณปฏสิ งั ขรณ รวมถงึ การบาํ รงุ รักษาทมี่ ากกวาอาคารปกติ เมื่อภาครฐั หรอื องคก รท่ดี แู ลเรือ่ งการ อนรุ กั ษใ หก ารรบั รองวา เปน มรดกวฒั นธรรมถือวา เปนคณุ คาของสาธารณะแลว กจ็ ําเปนท่สี าธารณะตอ งรว มรับผิดชอบในคา ใชจ าย ท่ีจะเกิดข้นึ การสนับสนุนในลักษณะกองทุนนี้จะชวยแบง เบาภาระของผูทรงสิทธิในแหลงมรดก ทําใหเกิดรูสึกหวงแหน และเปน แรงจูงใจใหด แู ลรกั ษาใหอยใู นสภาพทีเ่ หมาะสมตอ ไป หากเปรียบเทียบกับกองทุนที่มีอยูในประเทศไทยแลว พบวา “กองทุนโบราณคดี” เปนกองทุนที่กําหนดใหมีขึ้นใน พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พ.ศ.2504 โดยกาํ หนดวตั ถุประสงคต ามมาตรา 28 วา เพือ่ ใชจ า ยในกจิ การอันเปนประโยชนแกโบราณสถานหรอื การพพิ ธิ ภัณฑ เมื่อพจิ ารณาแลว หากแหลง มรดกน้นั ไมไ ดเ ขา ขายของ การเปนโบราณสถานตามนิยามของกฎหมายก็ไมส ามารถประยกุ ตใชเงินกองทุนน้ีได หากในอนาคตจะสงเสริมใหมีการชวยเหลอื สําหรับมรดกวฒั นธรรมในระดบั อ่ืน ๆ เชน ระดับทองถิ่นหรือระดับชุมชน การจัดใหมีกองทุนอยางในตา งประเทศตามที่ไดส รปุ ไว ขา งตน จะมีประสทิ ธิภาพ เปนประโยชน และมีความยืดหยุน ในการใชง านมากกวา สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม
แผนผงั แมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรการอนรุ ักษและพัฒนา 5-9 ภมู ทิ ัศน ฯลฯ ถึงแมวาจะไมใ ชการใชงานเพือ่ การบรู ณปฏสิ งั ขรณแหลง มรดกทมี่ คี ณุ คาโดยตรง แตก ็ถือเปน การสง เสรมิ สิง่ แวดลอม จะเห็นไดว า กลไกการใหสิทธิประโยชนทางภาษีเปน กลไกสาํ คญั ทจ่ี ะดงึ ดูดและจงู ใจใหภ าคเอกชนและบคุ คลท่ัวไปเขามามี ใหมีความสมบรู ณ มคี วามจาํ เปน ตอการอนุรกั ษใ นเชิงพื้นท่ีอยา งเปนองครวม สวนรวมในการอนรุ ักษ โดยรัฐสามารถประหยัดงบประมาณทตี่ องใชจา ยในการบูรณปฏสิ ังขรณหรือฟนฟูแหลงมรดกดวยการใหผ ู ทรงสทิ ธิรบั ผิดชอบคาใชจา ยดว ยตัวเอง หรือดว ยการระดมทนุ จากคนหมูม าก แลกเปล่ยี นกับสิทธปิ ระโยชนทางภาษีที่บคุ คลหรือนติ ิ 5.4.6 การใหส ทิ ธิประโยชนท างภาษี บุคคลจะไดรบั และยังสามารถกาวขา มขอจํากัดในการใชงบประมาณในทรพั ยสนิ ของภาคเอกชนไดอกี ดว ย หากแตจําเปน ตอ งมีการ เครื่องมือทางการเงินอีกประการที่ควรจะมีการประยุกตใชเพ่ือกระตุนใหเกิดการอนุรักษแหลงมรดกวัฒนธรรมโดย เชื่อมโยงกับระบบการจัดเก็บภาษี ถือวาเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย โดยตองมีการศึกษาความเปนไปไดและประสานการ ดําเนนิ งานรว มกันกบั หนวยงานที่มหี นา ทใ่ี นการจัดเก็บภาษี ไดแ ก องคก รปกครองสว นทอ งถิ่นและกรมสรรพากร ตอไป ภาคเอกชน คือ กลไกการลดหยอนหรือยกเวนภาษี โดยสรางกลไกการยกเวนภาษโี รงเรือนและที่ดิน และภาษีบํารุงทองท่ีสาํ หรบั อาคารทไ่ี ดร ับการประเมินเปน อาคารท่มี คี ุณคา หรอื นําไปผกู โยงกับระบบภาษีเงินไดนติ ิบคุ คลหรือภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา โดยให 5.4.7 การสรา งกลไกใหมส าํ หรบั การอนรุ กั ษยา น นําคาใชจายที่ใชในการอนุรักษมาลดหยอนภาษีดังกลาวได ทั้งนี้ ตองมีการจัดทําฐานขอมูลอยางเปน ระบบเพ่ือจําแนกอาคารทมี่ ี ปญหาสําคัญอีกประการหน่ึงของการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร คือยังขาดการขยายฐานของการอนุรักษจ าก คณุ คา เพื่อใหก ลไกมคี วามชดั เจนและโปรงใส อาคารหรือกลุมอาคารไปสูยาน ระบบของการอนุรักษโดยการประกาศใหเปนโบราณสถานที่ใชอยูน้ัน มีความยากลําบากในการ การใหสิทธปิ ระโยชนท างภาษเี ปนเครื่องมือที่ถูกใชอยา งแพรห ลายในตา งประเทศ เพื่อสงเสรมิ ใหเ กิดการอนุรกั ษอ าคารของ ประกาศเขตโบราณใหม ีขนาดใหญค รอบคลมุ พ้ืนทย่ี าน โดยเฉพาะอยา งยิง่ ในพนื้ ทท่ี ี่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและมกี ารอยอู าศัยของ ภาคเอกชน เชน ในเมือง San Antonio รัฐ Texas สหรัฐอเมริกา มีการใหสิทธิประโยชนสําหรับผูทรงสิทธิในอาคารในการยกเวน ผูคนอยูเปนจํานวนมาก เพราะจะเปนการสรางความยงุ ยากในเชิงปฏิบัติทั้งในมุมของผูที่ใชประโยชนพื้นท่ี และในมุมของหนวย การจัดเก็บภาษีสง่ิ ปลูกสรางสําหรับอาคารท่ีไดรับการบูรณปฏสิ ังขรณหรือฟนฟูใหอยูในสภาพดี โดยอาคารที่เปนการใชงานแบบ ราชการที่บังคับใชก ฎหมาย พาณิชยกรรมจะไดร ับการยกเวนภาษี 100% เปนระยะเวลา 5 ป บวกกับการลดหยอ นภาษี 50% เปนระยะเวลาเพม่ิ เติมอกี 5 ป และสาํ หรบั อาคารท่ใี ชง านแบบทอ่ี ยอู าศัยจะไดรับการยกเวนภาษี 100% เปนระยะเวลา 10 ป ในขณะทีใ่ นรฐั Maine รฐั จะคืนเงิน ดังน้ัน การสรางกลไกใหมสําหรับการอนุรักษยานท่ีมีคุณคาจึงมีความสําคัญ โดยมีหลักการในการนําไปสูการปฏิบัติ 2 ภาษีสิ่งปลูกสรางใหแกผูทรงสิทธิซ่ึงเห็นชอบในการบํารุงรักษาอาคารใหอยูในสภาพดี และทําสัญญากับรัฐ หรือในกรณีของรัฐ ประการ ไดแก Minnesota องคกรปกครองสวนทองถ่ินจะใหสิทธิในการลดหยอนภาษสี ิ่งปลูกสรางกับอาคารท่ีมีคุณคา ข้ึนอยูกับอายุของอาคาร โดยลดหยอนใหบ างสวนสําหรบั อาคารที่อยอู าศัยทีม่ อี ายมุ ากกวา 35 ปขนึ้ ไป และยกเวน ใหเ ต็มจํานวนสาํ หรับอาคารทอี่ ยูอาศัยที่มี 1) การคมุ ครองอาคารและสง่ิ ปลูกสรา งทม่ี คี ุณคา ไมใหเกิดความเปล่ียนแปลง อายุมากกวา 70 ปขน้ึ ไป แตจะจาํ กดั การใหสิทธิประโยชนน กี้ ับอาคารท่ีอยอู าศัยท่มี มี ลู คา ตํ่ากวา 1.5 แสนดอลลารส หรฐั เทา นั้น 2) การปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยรอบใหมีความกลมกลืน และสงเสริมคุณคาของอาคารและส่ิงปลูกสรางท่ีมีคุณคา การลดหยอนภาษเี งนิ ไดส ําหรับเจาของอาคารทมี่ คี าใชจายในการอนรุ ักษอาคารน้นั เปนกลไกที่ใชก ันมากในสหรัฐอเมริกา ภายในพ้นื ท่ี ซงึ่ กลไกการอนุรกั ษในระดบั ยา นเชน นมี้ ีการใชง านในหลายประเทศ โดยประมาณ 18 รัฐมีกลไกการใหสิทธิการลดหยอ นภาษีเงนิ ไดประมาณ 20-50% ของรายจา ยทใ่ี ชไปในการบูรณปฏิสังขรณหรอื ตัวอยางท่ีควรศึกษา ไดแก พื้นท่ีอนุรักษกลุมสถาปตยกรรมที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร (Preservation District for ฟน ฟูอาคารที่ถูกรับรองใหเ ปน มรดก จาํ นวนเงินภาษีทีไ่ ดรับการลดหยอนนี้ ยงั สามารถทดบางสว นไวล ดหยอนในปถ ดั ๆ ไปอีกดว ย Groups of Historic Buildings) ของประเทศญป่ี นุ เปน ระบบที่เกิดจากการขยายฐานของการอนุรกั ษจากอาคารไปสพู ืน้ ท่ยี าน และ หากผูทรงสิทธิในอาคารน้ันมีรายไดไมถงึ เกณฑการเสียภาษีจํานวนมากเทาที่ไดล ดหยอนไป เชนเดียวกับในฝร่ังเศส มีการใหสิทธิ ไดถ กู ผนวกเขากับระบบการคุมครองมรดกวัฒนธรรมใน ค.ศ. 1975 ถือเปน มรดกวัฒนธรรมอีกประเภท ทแ่ี ยกออกจากโบราณสถาน ประโยชนใ นการลดหยอนไปในปท ่ีมกี ารดาํ เนินการภาษีเงินได 50% สาํ หรบั คาใชจ ายในการบูรณปฏิสังขรณอาคาร แตห ากอาคาร หรือสถานที่ท่มี ีคุณคา ซึง่ เปนพ้ืนท่ีท่ถี ูกคุมครองโดยกลไกท่ีมอี ยูเดมิ โดยพ้ืนทอี่ นุรักษก ลมุ สถาปตยกรรมฯ เปนพ้ืนท่ีท่อี าคารแตล ะ นั้นมีการเปด ใหแ กสาธารณะเขา มาใชป ระโยชนต ามเกณฑร ะยะเวลาทกี่ ําหนดไวตอป การลดหยอนจะเพมิ่ ขึน้ เปน 100% ในเยอรมนี หลงั อาจไมจ ําเปนตองมคี ุณคาสงู แตม กี ารรวมกลุมทค่ี อ นขางสมบรู ณ มีอัตลักษณท แี่ สดงถงึ พัฒนาการรวมกันของพื้นทีจ่ ากรูปแบบ และออสเตรียก็มรี ะบบที่คลายคลงึ กัน ของสถาปตยกรรมที่คลายคลึงกัน โดยมากมักเปนพ้ืนทกี่ ลุมอาคารแถวที่เปนยานการคาที่เจริญรุงเรืองแตอดีต และพื้นท่ีหมูบาน ประมงหรือเกษตรกรรมท่ีมเี อกลกั ษณในเชงิ สถาปตยกรรม นอกจากภาษีสิ่งปลูกสรางและภาษีเงินไดท่ผี ูทรงสิทธิในอาคารจะไดรบั สทิ ธิประโยชนดังท่ีไดเสนอในขางตน แลว สําหรับ ส่ิงท่ีนาสนใจสําหรับการกําหนดเขตอนุรักษกลุมสถาปตยกรรมฯ นอกจากอาคารท่ีมีคุณคาสูงจะไดร ับการคุมครองตาม บุคคลท่ัวไปท่ีไมไดเปนเจาของอาคารยังสามารถรับสิทธิประโยชนทางภาษไี ดจากการบริจาคทรัพยส ินหรือเงนิ ใหกับองคกรหรอื กลไกการอนุรกั ษมรดกวฒั นธรรมที่มอี ยูเ ดิมซ่ึงสามารถเทียบเคยี งกับระบบการขน้ึ ทะเบียนโบราณสถานของประเทศไทยแลว อาคาร กองทุนท่ีทําหนาทีใ่ นการอนุรักษห รือบูรณปฏิสงั ขรณแหลงมรดก เชน ในสหราชอาณาจกั ร การบริจาคอสังหารมิ ทรัพยท่ีมคี ณุ คา อนื่ ๆ ท่อี ยใู นพนื้ ที่เขตอนุรกั ษก ลมุ สถาปตยกรรมฯ ยงั ไดร ับการสงเสริมใหมีการปรับภูมทิ ศั นใหก ลมกลืนกับสภาพด้ังเดิมของพ้ืนที่ ใหแกอ งคก ร ไดแ ก National Trust หรอื English Heritage หรอื องคกรไมแสวงหาผลกําไรอ่ืน ๆ จะไดรบั การยกเวนภาษีมรดก ใน ซึ่งในกระบวนการประกาศเขตอนรุ ักษส ถาปตยกรรมฯ ตอ งมกี ารศึกษาอตั ลกั ษณข องพ้ืนที่ และมกี ารจดั ทําแนวทางการปรับภมู ิทศั น สเปน บุคคลธรรมดาสามารถไดรับการลดหยอนภาษมี ลู คา 20% ของมลู คา เงนิ ทไี่ ดบ รจิ าคใหก ับกองทุนหรอื สมาคมทเ่ี กย่ี วของกับ อาคาร (Conservation Guideline) เอาไวเพ่ือเปนบรรทัดฐานสําหรับการปรับปรุงอาคาร โดยอาคารที่ผูทรงสิทธิประสงคจะ การอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ในขณะที่นิติบุคคลจะไดรับการลดหยอนภาษีถึง 100% เต็ม และในสิงคโปร การบริจาคเงินใหกับ ปรบั ปรงุ ใหเ ปน ไปตามแนวทางฯ ที่กําหนดไว จะสามารถของบประมาณสนับสนนุ คาใชจ า ยในการปรบั ภมู ิทศั นเ ฉพาะสวนภายนอก National Heritage Board ก็เปนหน่ึงในสิทธิประโยชนท่ีผูบริจาคจะไดรับในการลดหยอนภาษี และใน ค.ศ. 2002 สิงคโปรยงั ได อาคารจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินได และหากพ้ืนที่เขตอนุรักษกลุมสถาปตยกรรมฯ นั้นไดรับการใหคุณคาเปนพ้ืนท่ีที่มี ขยายฐานการมสี วนรว มของประชาชนในการอนรุ ักษอ อกไป ดว ยการไมไ ดจาํ กัดองคก รรับบรจิ าคไวแค National Heritage Board ความสําคญั ระดับชาติ รฐั บาลกลางจะสมทบคา ใชจ ายใหอ กี สว นหน่ึง แตย ังใหสทิ ธิประโยชนเ ดยี วกันกบั การบรจิ าคใหอ งคก รไมแสวงหากําไรอนื่ ๆ ท่ีไดรบั การรบั รองเอาไวอ กี ดวย สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5-10 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนรุ กั ษและพฒั นา กลไกดงั กลา วทาํ ใหง บประมาณสนบั สนุนสามารถเปนแรงจงู ใจใหอาคารของเอกชนทมี่ สี ภาพไมกลมกลนื กบั พืน้ ที่ไดร ับการ 5.5 การเสริมสรางสมรรถนะของผปู ฏบิ ัตงิ านที่เกีย่ วขอ งกับการอนรุ กั ษ และการเผยแพรอ งคค วามรูแกสาธารณะ ปรับภมู ิทัศน และสามารถสรา งความเปน เอกภาพใหก ับยา นอยา งเปน องคร วมได โดยไมไ ดเปนการบังคบั ซง่ึ ผลการดําเนนิ งานในเขต นอกเหนือจากการใชก ลไกทม่ี อี ยใู นปจ จบุ นั และการเพ่มิ เติมกลไกและเครอ่ื งมอื การอนุรักษแ ลว การเสริมสรางสมรรถนะ อนุรักษกลุมสถาปตยกรรมฯ มีแนวโนมเปน ไปในแนวทางทีต่ ัง้ เอาไว เนื่องจากผูทรงสิทธิในอาคารไดร ับประโยชนในเชิงเศรษฐกิจ หลงั จากการปรับปรุงอาคาร และไดร บั สิทธปิ ระโยชนในการแบง เบาภาระคาใชจา ยที่เพิ่มข้นึ จากการปรับปรงุ อาคารจากงบประมาณ ของผูปฏิบตั ิงานทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การอนรุ กั ษ และการเผยแพรองคค วามรแู กสาธารณะก็เปนเรอื่ งสาํ คญั ทจี่ าํ เปนตอ งดาํ เนินการ เพอ่ื ให สนับสนุนทไ่ี ดร ับจากภาครฐั ถอื เปน การไดป ระโยชนร วมกันของทั้งภาครัฐและเอกชน เกดิ การสรางความเขาใจทถ่ี ูกตอ งรวมกัน และเปน การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของการอนุรักษอ ยางเปนระบบ กลไกทีม่ อี ยใู นประเทศไทยในปจจบุ ัน สว นใหญเปนกลไกในลกั ษณะการใชกฎหมายควบคุมเพอ่ื ไมใ หเ กดิ ความเปล่ยี นแปลง เมือ่ ประมวลจากขอมลู ทีไ่ ดรับจากกระบวนการมีสว นรวมแลว พ้นื ทท่ี ม่ี ปี ญ หามากที่สดุ คอื แหลงมรดกประเภทวดั ท่ีมีอยู กับแหลงมรดก แตย ังขาดกลไกในการสงเสรมิ ใหมีการปรับปรุงส่ิงแวดลอมโดยรอบของแหลง มรดกใหเ ปนไปในทศิ ทางทพี่ งึ ประสงค เปนจํานวนมากในพ้ืนท่ีกรุงรัตนโกสินทร โดยมักเกิดปญหาจากความตองการในการปรับปรุงพ้ืนที่ใหตอบรับกับความตองการใน กลไกใหมสาํ หรับการอนรุ ักษย านดังตวั อยา งท่ีกลาวมา จงึ เปน กลไกท่ีจําเปน ตองมกี ารพิจารณาเพอื่ การอนรุ กั ษแ ละพัฒนาพืน้ ทอ่ี ยา ง ปจจบุ ันขดั แยงกับหลักการของการอนุรักษโ บราณสถานและแหลงมรดกทีไ่ มย อมใหมีการเปล่ียนแปลงองคประกอบภายในบรเิ วณ มปี ระสิทธภิ าพตอ ไป ดังนน้ั การใหค วามรแู ละสรางความเขาใจรวมแกผทู ่ีมอี าํ นาจหนาท่ีในการดูแลบํารงุ รักษาวัด ไดแก เจา อาวาสและพระสงฆ จงึ เปน ทางออกท่ีจะชว ยลดปญ หาความขดั แยง ดังกลา ว โดยหนว ยงานทคี่ วรมหี นา ท่ใี นการจดั การอบรมเพอ่ื เสริมสมรรถนะดา นการอนุรกั ษ ภาพที่ 5-6 อาคารท่ีไดร บั การปรับปรงุ ใหส อดคลองกบั แนวทางการปรบั ภมู ทิ ศั นอาคาร แกพระสงฆ และใหค ําปรึกษาแกว ัดเมื่อมีความประสงคท จี่ ะปรบั ปรุงพ้ืนทภี่ ายในวัด ไดแ ก กรมศลิ ปากร รวมถงึ สาํ นกั งานนโยบาย ในเขตอนุรักษกลมุ สถาปตยกรรมท่ีมีคุณคา ทางประวัติศาสตร และแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม ทีม่ า : คณะท่ีปรกึ ษา, 2560 การสง เสรมิ สง่ิ แวดลอ มเพือ่ ธาํ รงคุณคา ของแหลง มรดก จําเปน ตองมีการเสริมสรางสมรรถนะใหแกเจา หนาท่ีผูปฏิบตั ิงานที่ เก่ียวของกับภูมิทัศนเมือง ทั้งในดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม โดยหนวยงานที่เกย่ี วของโดยตรง ไดแก กรุงเทพมหานคร มีหนวยงานภายในท่ีเกี่ยวของอยูห ลายสวน ประกอบดวย สํานักสิ่งแวดลอม สํานักการโยธา สํานักการ ระบายนา้ํ สาํ นักผังเมือง สํานักเทศกิจ สาํ นักการจราจรและขนสง ฯลฯ กรงุ เทพมหานครควรเปนเจาภาพในการจัดการอบรมเพื่อให ความรูแกผูปฏิบัติงาน รวมถึงจัดใหมีเวทีเพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณและใหมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการอยางสม่ําเสมอ เพื่อหา แนวทางในการประสานการปฏิบัติงานรวมกันสําหรับสงเสริมใหเกิดการปรับปรุงส่ิงแวดลอมในพ้ืนที่กรุงรัตนโกสินทรอยางเปน เอกภาพ โดยอาจประสานกบั หนวยงานสาธารณปู โภคอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม สวนสุดทายเปน การเผยแพรองคความรูแกสาธารณะ หนวยงานท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบหลัก ไดแก สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ซ่ึงเปน หนวยงานท่ีจดั ทําแผนผงั แมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทรและผลักดัน ใหเกิดการนําไปสูการปฏิบัติ การเผยแพรองคความรูสามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน การเผยแพรขอมูลมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ ชองทางออนไลนดวยการจัดทําเว็บไซต การใหความรูแกภาคประชาชนโดยจัดงานเสวนาในพน้ื ท่ยี อยอยา งสมํา่ เสมอ รวมถึงการจดั งานสัมมนาประจาํ ป เพ่ือรวบรวมขอมูลและความคิดเห็นของการนําแผนผงั แมบทฯ ไปสูการปฏิบัติ สามารถนําประเดน็ ที่ไดไปใช ปรบั ปรุงการดาํ เนนิ การ และทบทวนเพ่อื การจัดทาํ แผนผงั แมบ ทฯ ฉบับปรับปรงุ ในครง้ั ตอ ๆ ไป ภาพที่ 5-7 เขตอนรุ กั ษกลุมสถาปตยกรรมทีม่ ีคณุ คาทางประวตั ศิ าสตร Wakimachi ในจังหวัด Tokushima ของประเทศญ่ีปุน ทมี่ า : คณะทป่ี รกึ ษา, 2560 สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม
แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา 5-11 5.6 สรุปแนวทางการดําเนนิ การของภาครฐั และภาคสว นอื่น ๆ 5.6.1 การดาํ เนินการตามแผนงานโครงการทีร่ ะบไุ วใ นแผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทรกําหนดรายละเอียดการดําเนินการไวท ั้งส้ิน 8 ยุทธศาสตร ภายใต ยทุ ธศาสตรจาํ แนกเปน กลยุทธ แผนงาน และโครงการที่สอดคลองกนั ในการดาํ เนนิ การสกู ารปฏบิ ตั ิจะมหี นว ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบหลัก และตอ งอาศัยเครอ่ื งมือตา ง ๆ ในการดําเนินการ (ตารางที่ 5-1) เครื่องมือสําหรบั การดําเนินการสามารถแบงไดเปนเครอื่ งมอื ทางกฎหมาย เคร่อื งมือทางการเงนิ และเครอ่ื งมอื ทางองคก ร โดยแตละเครอ่ื งมือ รายละเอยี ดดังตอ ไปน้ี - เคร่ืองมือทางกฎหมาย แบงเปนการใชอ ํานาจของหนว ยงานตามกฎหมาย และการเพม่ิ เตมิ กลไกทางกฎหมาย โครงการ สวนมากจะเปนการใชอํานาจของหนวยงานตามกฎหมาย มีเพียงบางสวนที่เสนอใหมีการเพิ่มเตมิ กลไกทางกฎหมาย เนื่องจากกลไกที่ใชอ ยใู นปจ จุบันไมเพยี งพอตอการดาํ เนินโครงการอยา งมีประสทิ ธิภาพ - เครื่องมือทางการเงิน แบงเปนการจัดสรรงบประมาณประจําป และการจัดสรรงบประมาณอุดหนุน โดยการจัดสรร งบประมาณประจําป คือ การใชง บประมาณเพื่อการดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีของหนวยงานในจํานวนเงนิ ท่ีใกลเคียง กันทกุ ปเพอ่ื ใหบ รรลภุ ารกจิ นั้น ๆ ในขณะทีก่ ารจดั สรรงบประมาณอดุ หนุน คือ การขออนุมตั ิงบประมาณเพอ่ื อดุ หนนุ การ ดําเนินการเปน คร้ังคราวในโครงการท่ีมจี ุดสิ้นสุดชัดเจน ซ่ึงหนวยงานที่รับผิดชอบหลักในแตละโครงการจาํ เปนตองขอ ความชวยเหลือดานงบประมาณจากรฐั บาล - เคร่ืองมือทางองคกร แบงเปนการจัดต้ังหนวยงานเพื่อรับผิดชอบ การสรางกลไกความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน รวมถึงการสรา งกลไกความรว มมือระหวางหนวยงาน โดยการจดั ตั้งหนว ยงานเพ่อื รบั ผดิ ชอบ คือ การใหม หี นว ยงานใหม ทม่ี หี นาที่รับผดิ ชอบในการดําเนินการตามเนอื้ หาของโครงการน้ันเปนการเฉพาะ การสรา งกลไกความรว มมือระหวางรัฐ และเอกชน คือ การสงเสริมใหเอกชนดําเนินการตามท่ีไดวางแผนไว โดยภาครัฐมีหนาที่สนับสนุน และการสรางกลไก ความรว มมือระหวา งหนว ยงาน คอื การใหภ าครัฐประสานงานกันเพื่อดาํ เนินโครงการ เน่ืองจากบางหนวยงานรับผิดชอบ ในเชิงพื้นท่ีแตไมไดมีหนาที่รับผิดชอบในสาขาท่ีเสนอใหมีการดําเนินการโดยตรง จึงจําเปนตองเนนการประสานงาน เพ่ือใหส ามารถบรรลวุ ัตถุประสงคข องโครงการได สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม
5-12 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา ตารางท่ี 5-2 แผนงานโครงการแจกแจงตามเครอื่ งมอื การดาํ เนนิ การ โครงการ อา งอิง ความ หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบหลัก ลักษณะการดาํ เนนิ การ** ประเภทโครงการ เครอื่ งมอื การดาํ เนนิ การ เคร่อื งมอื ทางองคกร หนา สาํ คญั * เคร่ืองมือทางกฎหมาย เครือ่ งมือทางการเงนิ ยุทธศาสตร 1 ดา นมรดกวฒั นธรรม (H = Hardware การกอ สราง / แผนงาน 1.1 การคมุ ครองและบูรณปฏสิ งั ขรณแ หลงมรดก S = Software การสนบั สนนุ ) 1.1.1 โครงการคุม ครองแมน้าํ เจาพระยา 3-6 1 กรมศลิ ปากร H/S การดําเนินการตามอํานาจ การใชอาํ นาจของ - - 1.1.2 โครงการบรู ณปฏสิ ังขรณแ หลงมรดกสําคัญ 3-7 1 กรมศลิ ปากร หนา ทขี่ องหนวยงาน หนว ยงานตามกฎหมาย 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสังขรณโบราณสถานในพื้นที่กรงุ รัตนโกสินทร 3-8 2 กรมศิลปากร 3-9 2 กรมศิลปากร H การดาํ เนินการตามอาํ นาจ - การจัดสรรงบประมาณ - 1.1.4 โครงการข้ึนทะเบียนโบราณสถานท่ียงั ไมไดร บั การขนึ้ ทะเบียน 3-10 1 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักผงั เมือง) หนา ทีข่ องหนวยงาน ประจาํ ป / 1.1.5 โครงการจัดทาํ ทะเบยี นแหลง มรดกทองถิน่ และสนบั สนุนการ 3-11 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม บรู ณปฏสิ ังขรณแหลงมรดกทอ งถน่ิ กีฬา และการทอ งเทีย่ ว) การจดั สรรงบประมาณ แผนงาน 1.2 การสงเสรมิ ฟนฟวู ถิ ีวฒั นธรรม 3-12 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม อดุ หนุน 1.2.1 โครงการสบื สานฟน ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกาล กีฬา และการทองเที่ยว) ทอ งถ่ิน H การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจดั สรรงบประมาณ - 1.2.2 โครงการฟนฟภู มู ปิ ญ ญาทองถ่ิน วัฒนธรรมอาหาร นาฏศิลป หนาท่ขี องหนวยงาน ประจาํ ป และหตั ถศิลป S การดําเนินการตามอํานาจ การใชอาํ นาจของ - - ยุทธศาสตร 2 ดา นการใชท ่ีดิน หนาท่ีของหนวยงาน หนวยงานตามกฎหมาย แผนงาน 2.1 การปรบั ปรงุ มาตรการควบคุมการใชป ระโยชนท่ดี นิ และ อาคาร H/S การพฒั นากลไกใหม การเพิม่ เตมิ กลไกทาง การจดั สรรงบประมาณ การจดั ตั้งหนวยงานเพ่ือ 2.1.1 โครงการแกไ ขปรับปรุงแผนผงั ขอกําหนดและมาตรการตาม กฎหมาย ประจาํ ป รับผดิ ชอบ กฎหมายผงั เมือง S การสนับสนุนการดําเนินงาน - การจัดสรรงบประมาณ - 2.1.2 โครงการแกไ ขปรบั ปรงุ ขอ บญั ญตั ิกรุงเทพมหานครตามกฎหมาย ควบคมุ อาคาร ของภาคสวนอ่ืน ๆ ประจําป 2.1.3 โครงการจดั ทํามาตรการคมุ ครองสิ่งแวดลอมศิลปกรรม S การสนบั สนุนการดาํ เนินงาน - การจดั สรรงบประมาณ - ของภาคสวนอ่ืน ๆ ประจาํ ป 3-15 1 กรงุ เทพมหานคร (สํานักผังเมือง) H/S การดาํ เนินการตามอาํ นาจ การใชอาํ นาจของ - - - 3-16 1 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผงั เมือง) หนาทข่ี องหนวยงาน / หนวยงานตามกฎหมาย / - 3-17 2 สํานักงานนโยบายและแผน การปรับปรุงขอกฎหมาย / การเพม่ิ เตมิ กลไกทาง ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม การพัฒนากลไกใหม กฎหมาย H/S การดําเนินการตามอํานาจ การใชอํานาจของ - หนา ทข่ี องหนวยงาน / หนวยงานตามกฎหมาย การปรับปรงุ ขอ กฎหมาย H/S การปรับปรงุ ขอกฎหมาย / การใชอํานาจของ - การพัฒนากลไกใหม หนว ยงานตามกฎหมาย / การเพิ่มเตมิ กลไกทาง กฎหมาย สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนุรกั ษแ ละพฒั นา 5-13 โครงการ อางอิง ความ หนว ยงานท่ีรับผดิ ชอบหลกั ลกั ษณะการดาํ เนินการ** ประเภทโครงการ เครือ่ งมือการดาํ เนนิ การ เครื่องมอื ทางองคก ร หนา สาํ คัญ* เครื่องมอื ทางกฎหมาย เคร่ืองมือทางการเงิน (H = Hardware การกอสรา ง / การดําเนินการตามอํานาจ แผนงาน 2.2 การวาง จัดทํา และดําเนินการใหเ ปนไปตามผังเมืองเฉพาะ 3-18 1 กรงุ เทพมหานคร (สํานักผังเมือง) S = Software การสนบั สนนุ ) หนาทีข่ องหนวยงาน การใชอาํ นาจของ การจัดสรรงบประมาณ - 3-19 หนว ยงานตามกฎหมาย อุดหนุน - 2.2.1 โครงการวาง จดั ทํา และดาํ เนินการใหเปน ไปตามผังเมืองเฉพาะ 1 กรุงเทพมหานคร (สํานักผังเมือง) H การดาํ เนินการตามอาํ นาจ บรเิ วณรมิ ฝง แมน า้ํ เจา พระยา 3-23 H หนา ท่ีของหนวยงาน การใชอาํ นาจของ การจัดสรรงบประมาณ 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักผังเมือง / หนวยงานตามกฎหมาย อดุ หนุน 2.2.2 โครงการวาง จัดทํา และดาํ เนนิ การใหเ ปนไปตามผังเมอื งเฉพาะ ใน สาํ นักการโยธา / สํานักงานเขต / H การดําเนินการตามอาํ นาจ พ้ืนทเ่ี ปล่ยี นถายการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟา ฯ สํานักการจราจรและขนสง) H หนาท่ีของหนวยงาน - การจัดสรรงบประมาณ - ยทุ ธศาสตร 3 ดา นภูมทิ ัศน 1 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผงั เมือง / H การดําเนินการตามอาํ นาจ สํานักการจราจรและขนสง / สํานัก H หนาท่ีของหนวยงาน แผนงาน 3.1 การปรับปรุงภมู ิทัศนเมือง การโยธา / สํานักส่งิ แวดลอ ม / สํานกั H เทศกจิ ) การดําเนินการตามอาํ นาจ 3.1.1 โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนโดยรอบโบราณสถาน H/S หนาท่ขี องหนวยงาน 1 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการระบาย นํา้ / สาํ นักผงั เมือง / สาํ นักการโยธา) การดาํ เนินการตามอํานาจ ประจาํ ป หนาท่ีของหนวยงาน 3.1.2 โครงการปรับปรุงภมู ทิ ัศนในโครงสรางทัศนภาพ 3-24 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง / - การจัดสรรงบประมาณ - สํานักการจราจรและขนสง / สาํ นัก การดําเนินการตามอํานาจ การโยธา / สาํ นักส่งิ แวดลอ ม) หนา ท่ขี องหนวยงาน ประจําป 3.1.3 โครงการปรับปรุงภมู ทิ ัศนในแนวแมนํา้ เจาพระยาและแนว 3-25 3 กรมการทอ งเทีย่ ว การพฒั นากลไกใหม - การจดั สรรงบประมาณ - คลองสําคญั 3-26 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการโยธา / สาํ นักวัฒนธรรมกฬี า และการ การดาํ เนินการตามอาํ นาจ อดุ หนนุ 3.1.4 โครงการปรบั ปรงุ พ้นื ท่ีโลงสาธารณะ 3-27 ทองเทย่ี ว) หนาท่ีของหนวยงาน - การจดั สรรงบประมาณ - 3.1.5 โครงการฉายไฟสองสวางอาคารสําคัญ และพื้นท่ีสาธารณะ 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักสิง่ แวดลอ ม) การดาํ เนินการตามอาํ นาจ หนา ที่ของหนวยงาน / ประจําป การสนับสนุนการดําเนินงาน - การจัดสรรงบประมาณ - ของภาคสวนอ่นื ๆ ประจาํ ป แผนงาน 3.2 การบริหารจดั การภมู ิทศั นเมือง 3-28 - การจัดสรรงบประมาณ การจดั ต้ังหนวยงานเพื่อ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดูแลรกั ษาตนไมใหญ ประจาํ ป รับผดิ ชอบ ยุทธศาสตร 4 ดา นการจราจร 3-32 2 การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย H/S - การจัดสรรงบประมาณ - กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง / H แผนงาน 4.1 การเชือ่ มโยงโครงขายการสัญจร สํานักการคลงั ) อุดหนนุ 4.1.1 โครงการสงเสริมการเชื่อมตอยานพาหนะตางประเภท 3-33 1 กรุงเทพมหานคร (สํานักการจราจร - การจดั สรรงบประมาณ การสรางกลไกความ 4.1.2 โครงการทดแทนที่จอดรถบนพ้นื ผิวจราจร และขนสง ) ผูทรงสิทธิในพ้ืนท่ี อดุ หนุน รวมมือระหวางรฐั - เอกชน สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
5-14 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนุรักษแ ละพัฒนา โครงการ อา งอิง ความ หนว ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบหลกั ลกั ษณะการดาํ เนินการ** ประเภทโครงการ เครื่องมอื การดาํ เนินการ เครือ่ งมอื ทางองคกร แผนงาน 4.2 การสนับสนุนการเดนิ เทาและการใชจักรยาน หนา สาํ คญั * เคร่อื งมอื ทางกฎหมาย เครอ่ื งมอื ทางการเงนิ - 4.2.1 โครงการจํากัดการสัญจรในบริเวณกรุงรตั นโกสินทรช้ันใน (H = Hardware การกอ สรา ง / - 4.2.2 โครงการสงเสริมการใชขนสง มวลชนเพ่ือลดการใชย านพาหนะ S = Software การสนบั สนนุ ) สวนบุคคล - 3-34 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการจราจร H / S การดําเนินการตามอาํ นาจ การใชอํานาจของ - หนว ยงานตามกฎหมาย และขนสง) หนา ที่ของหนวยงาน สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ (กองบังคบั การตาํ รวจจราจร) 3-35 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการจราจร H / S การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจดั สรรงบประมาณ ประจําป / และขนสง) หนาท่ขี องหนวยงาน การใชอํานาจของ หนวยงานตามกฎหมาย การจดั สรรงบประมาณ 4.2.3 โครงการเก็บคาธรรมเนยี มการเขาบรเิ วณกรุงรัตนโกสินทรช ้ันนอก 3-36 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการจราจร H / S การดําเนินการตามอาํ นาจ อดุ หนุน ดว ยยานพาหนะสวนบคุ คล และขนสง) หนา ทข่ี องหนวยงาน - แผนงาน 4.3 การออกแบบ พัฒนาและปรบั ปรงุ จุดเปล่ยี นถายการสัญจร 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะ 3-37 1 กรุงเทพมหานคร (สํานักการจราจร H การดําเนินการตามอาํ นาจ - การจดั สรรงบประมาณ - และขนสง ) หนา ท่ขี องหนวยงาน อุดหนนุ 2 กรมเจา ทา 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรงุ ทาเรือ 3-38 H การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจดั สรรงบประมาณ - 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการระบาย นาํ้ ) หนา ทขี่ องหนวยงาน อุดหนุน ยทุ ธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค 3-41 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการระบาย H การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจดั สรรงบประมาณ - นํา้ ) แผนงาน 5.1 การปอ งกนั นํ้าทวมและปรับปรุงคณุ ภาพนํ้า 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปองกันนํ้าทวม 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการระบาย นาํ้ ) หนา ทขี่ องหนวยงาน อุดหนุน 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการโยธา) 5.1.2 โครงการฟนฟูระบบคูคลอง และปรับปรุงคุณภาพนํา้ 3-42 การไฟฟานครหลวง H การดําเนินการตามอาํ นาจ - การจดั สรรงบประมาณ - บรษิ ัท ทโี อที จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จํากดั หนาทขี่ องหนวยงาน ประจาํ ป (มหาชน) 5.1.3 โครงการปรับปรงุ ระบบการระบายนํ้า 3-43 H การดําเนินการตามอาํ นาจ - การจดั สรรงบประมาณ - 3 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการโยธา) หนาท่ขี องหนวยงาน ประจําป แผนงาน 5.2 การปรบั ปรุงโครงสรา งพื้นฐานของระบบสาธารณูปโภค 3-44 H การดําเนินการตามอํานาจ - การจดั สรรงบประมาณ - 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟาและสายส่ือสารลงใตดิน หนาท่ีของหนวยงาน อดุ หนุน 5.2.2 โครงการจัดต้ังศนู ยป ระสานงานและขอมูล และพฒั นาเครือขาย 3-45 H การพฒั นากลไกใหม - การจดั สรรงบประมาณ การจัดตั้งหนวยงานเพอื่ ระบบสารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มิติ ประจําป / รบั ผดิ ชอบ การจดั สรรงบประมาณ อดุ หนุน สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนุรักษแ ละพฒั นา 5-15 โครงการ อางอิง ความ หนว ยงานที่รับผิดชอบหลัก ลักษณะการดาํ เนนิ การ** ประเภทโครงการ เคร่อื งมือการดาํ เนนิ การ เครอื่ งมือทางองคก ร หนา สาํ คญั * การพัฒนากลไกใหม เคร่ืองมอื ทางกฎหมาย เครอื่ งมือทางการเงนิ ยุทธศาสตร 6 ดา นสาธารณปู การ (H = Hardware การกอ สราง / การพัฒนากลไกใหม S = Software การสนบั สนนุ ) แผนงาน 6.1 การปรับปรุงการใหบรกิ ารสาธารณปู การ การพฒั นากลไกใหม 6.1.1 โครงการปรับปรุงวัดและโรงเรียนเปน ศูนยบ รกิ ารครบวงจรแก 3-48 3 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักพัฒนาสังคม H/S - การจดั สรรงบประมาณ การสรา งกลไกความ / สาํ นักการศกึ ษา /สาํ นักงานเขต) H/S ผสู งู อายแุ ละผูดอ ยโอกาส วดั ประจาํ ป / รววมมอื ระหวาง 6.1.2 โครงการเพ่มิ ประโยชนการใชสอยโรงเรียนเปน ศูนยการเรยี นรู 3-49 3 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการศกึ ษา / การจัดสรรงบประมาณ หนวยงาน ศูนยฝ กอาชพี และพื้นที่กิจกรรมสนั ทนาการ สาํ นักงานเขต) สถานศึกษาในสังกัดกรงุ เทพมหานคร อดุ หนุน - การจัดสรรงบประมาณ การสรางกลไกความ ประจําป / รว วมมอื ระหวาง การจดั สรรงบประมาณ หนว ยงาน อุดหนนุ แผนงาน 6.2 การเตรยี มพรอมสาธารณปู การ เพื่อรองรบั ยามภัยพบิ ัติและ 3-50 3 กรุงเทพมหานคร (สํานักการศกึ ษา H - การจดั สรรงบประมาณ การสรา งกลไกความ ภาวะฉุกเฉิน สาํ นักปองกันและบรรเทาสาธารณ ภยั / สํานักงานเขต) อดุ หนุน รววมมอื ระหวาง 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรยี นเปนที่พักยามภยั พิบตั แิ ละ ภาวะฉุกเฉิน หนวยงาน 6.2.2 โครงการตดิ ต้งั อปุ กรณเ พื่อความปลอดภยั ของชุมชน 3-51 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักปอ งกนั และ H การดําเนินการตามอาํ นาจ - การจดั สรรงบประมาณ - บรรเทาสาธารณภยั / สํานกั หนา ท่ีของหนวยงาน อดุ หนนุ การจราจรและขนสง / สํานักงานเขต) ยุทธศาสตร 7 ดา นกายภาพและวิถชี มุ ชน 3-54 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักผังเมือง) H การดาํ เนินการตามอาํ นาจ - การจดั สรรงบประมาณ - แผนงาน 7.1 การปรับปรงุ สภาพแวดลอมชุมชน 7.1.1 โครงการปรับปรุงสภาพแวดลอมการอยูอาศัยในกลมุ ชุมชนทีส่ ําคัญ หนาทข่ี องหนวยงาน อดุ หนุน 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พ้นื ที่สาธารณะระดับกลมุ ชุมชนภายใน 3-55 3 กรุงเทพมหานคร (สํานักผังเมือง) H / S การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจัดสรรงบประมาณ การสรางกลไกความ ศาสนสถาน ศาสนสถานเจา ของพนื้ ท่ี หนา ท่ขี องหนวยงาน / อุดหนุน รว วมมือระหวาง การพัฒนากลไกใหม หนวยงาน แผนงาน 7.2 การสงเสรมิ เศรษฐกิจชุมชน 7.2.1 โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑข องผูประกอบการภายในชมุ ชน 3-56 3 กรุงเทพมหานคร (สํานักพัฒนาสงั คม) S การสนับสนุนการดาํ เนินงาน - การจดั สรรงบประมาณ - ของภาคสวนอ่ืน ๆ ประจาํ ป 7.2.2 โครงการสงเสริมใหเกิดผปู ระกอบการดิจทิ ลั 3-57 3 สาํ นักงานสง เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัล S การสนบั สนุนการดําเนนิ งาน - การจัดสรรงบประมาณ - ของภาคสวนอน่ื ๆ ประจาํ ป สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม
5-16 แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพัฒนา โครงการ อา งอิง ความ หนวยงานท่ีรบั ผดิ ชอบหลัก ลกั ษณะการดําเนนิ การ** ประเภทโครงการ เคร่อื งมือการดาํ เนินการ เคร่ืองมอื ทางองคก ร หนา สาํ คัญ* เครอ่ื งมือทางกฎหมาย เครื่องมือทางการเงิน ยทุ ธศาสตร 8 ดา นการทอ งเท่ยี ว (H = Hardware การกอ สรา ง / แผนงาน 8.1 การปรบั ปรุงแหลงทองเทย่ี ว S = Software การสนบั สนนุ ) 8.1.1 โครงการปรับปรุงอุปกรณส อื่ สารขอ มูลแหลงทองเท่ียว 3-61 3 กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม H การดําเนินการตามอาํ นาจ - การจัดสรรงบประมาณ - 8.1.2 โครงการพฒั นาแหลงขอ มูลวิถชี ุมชน กีฬา และการทองเที่ยว) หนา ท่ีของหนวยงาน อุดหนุน 3-62 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว) H / S การดําเนินการตามอํานาจ - การจัดสรรงบประมาณ การสรา งกลไกความ หนาทีข่ องหนวยงาน อดุ หนุน รวมมือระหวา งรัฐ- เอกชน 8.1.3 โครงการจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสรมิ การทองเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม 3-63 2 การทอ งเทย่ี วแหงประเทศไทย S การสนับสนุนการดาํ เนนิ งาน - การจดั สรรงบประมาณ - กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม กฬี า และการทองเท่ยี ว) ของภาคสวนอ่นื ๆ ประจําป 8.1.4 โครงการจัดระเบยี บพ้ืนที่ทองเทย่ี ว 3-64 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักเทศกิจ / H/S การดําเนินการตามอํานาจ การใชอํานาจของ การจดั สรรงบประมาณ - สํานักการจราจรและขนสง) หนา ที่ของหนวยงาน หนว ยงานตามกฎหมาย อุดหนุน 3 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักวัฒนธรรม แผนงาน 8.2 การพัฒนาเสนทางการทอ งเท่ียว 3-65 กีฬา และการทองเท่ียว) H การดาํ เนินการตามอํานาจ - การจัดสรรงบประมาณ - 8.2.1 โครงการปรับปรงุ สถานท่แี ละอปุ กรณใหขอมูลเสน ทาง 3-66 2 การทองเทยี่ วแหงประเทศไทย หนาท่ีของหนวยงาน อุดหนนุ การทองเท่ยี ว 3-67 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักวฒั นธรรม S การดําเนินการตามอํานาจ - การจัดสรรงบประมาณ - 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนทแี่ ละระบบออนไลนเพื่อใหขอ มลู กีฬา และการทอ งเท่ยี ว) การทองเท่ยี ว หนาที่ของหนวยงาน อดุ หนุน แผนงาน 8.3 การพัฒนาแหลงที่พักนกั ทองเทย่ี วใหไ ดมาตรฐาน H / S การสนบั สนุนการดาํ เนนิ งาน - การจัดสรรงบประมาณ การสรา งกลไกความ 8.3.1 โครงการสงเสรมิ การพัฒนาแหลง ทีพ่ ักนกั ทอ งเท่ียวใหไดมาตรฐาน ของภาคสวนอื่น ๆ ประจําป รว มมือระหวา งรฐั - เอกชน *หมายเหตุ **หมายเหตุ ความสาํ คญั ลาํ ดับ 1 หมายถงึ จําเปน ตอ งดาํ เนินการอยางยงิ่ H = Hardware หมายถงึ มีการดําเนนิ การปรับปรงุ กายภาพเปน หลัก ความสําคญั ลําดับ 2 หมายถงึ จาํ เปน ตอ งดาํ เนินการ S = Software หมายถงึ มีการดาํ เนินกจิ กรรมแสดงมาตรการดา นเศรษฐกจิ -สงั คม และการจดั การความรูความเขาใจ ความสาํ คญั ลําดับ 3 หมายถงึ สมควรดําเนนิ การ H / S หมายถึง มีการดาํ เนนิ การปรับปรงุ กายภาพควบคไู ปกบั มาตรการดา นเศรษฐกจิ -สังคม และการจัดการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
แผนผงั แมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรการอนุรักษแ ละพัฒนา 5-17 5.6.2 การดําเนินการของหนว ยงานภาครฐั 3) กรงุ เทพมหานคร หนวยงานภาครัฐทม่ี ีบทบาทสําคัญในการดาํ เนินการใหเปนไปตามแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร กรุงเทพมหานครเปนหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญในการดําเนินการใหเปนไปตามแผนผังแมบทฯ เนื่องจากเปนองคกร ไดแก สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กรมศิลปากร และกรุงเทพมหานคร สามารถสรุปแนวทาง ปกครองสว นทองถ่ิน จึงมีหนาทรี่ ับผิดชอบในการจัดทําแผนการดาํ เนินการดา นสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การดูแลบํารงุ รกั ษา การดําเนนิ งานของแตล ะหนว ยงานตามกลไกที่มอี ยูใ นปจจุบนั และกลไกทสี่ มควรเพมิ่ เตมิ ไดดงั นี้ พน้ื ทส่ี าธารณะ การตรากฎระเบยี บเพอ่ื ประโยชนใ นการควบคุมการพฒั นาเมอื ง เพอื่ สงเสรมิ คุณคาของมรดกวัฒนธรรม การดาํ เนนิ โครงการปรับปรุงพน้ื ท่ีและปรบั ภมู ทิ ศั นใ นพ้นื ทย่ี ุทธศาสตร การสงเสริมวัฒนธรรมและการเรยี นรู รวมถงึ การสรางเศรษฐกจิ ทอ งถน่ิ 1) สํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม ซงึ่ สามารถแบงการดําเนนิ การไดเ ปนประเดน็ ดังน้ี สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในฐานะหนวยงานที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการ อนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร และเมืองเกา มีหนาที่ในการผลักดันใหเกิดการดําเนินการใหเปนไปตามแผนผงั แมบทฯ ท่ีได ประเด็นการอนรุ กั ษม รดกวฒั นธรรม จัดทําข้ึน ตองดําเนินการดงั ตอไปน้ี (1) จดั ตง้ั หนว ยงานเพือ่ การอนรุ กั ษมรดกวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร (2) รบั ถา ยโอนภารกจิ จากกรมศลิ ปากรในการดูแลบํารุงรกั ษาโบราณสถานบางสวน (1) ประสานแผนงานและการดําเนนิ การโครงการตา ง ๆ ของภาครฐั ท่จี ะเกดิ ข้นึ ในพ้นื ที่กรงุ รัตนโกสนิ ทร ใหเปน ไปใน (3) พฒั นาระบบเพอ่ื ใหม กี ารขุดคนทางโบราณคดกี อ นการพัฒนาพนื้ ทีใ่ นบรเิ วณกรงุ รตั นโกสินทร ทิศทางที่สอดคลองกับแผนผังแมบทฯ โดยใชกลไกการพิจารณาของคณะกรรมการอนุรักษและพัฒนา (4) พัฒนาระบบการข้ึนทะเบยี นมรดกวฒั นธรรมทอ งถน่ิ กรุงรัตนโกสินทร และเมืองเกา (5) ประสานงานระหวางหนว ยงานภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร เพอ่ื การดแู ลรักษามรดกวฒั นธรรมอยาง (2) ติดตาม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา ใหความเห็น และกํากับการดําเนินงานของหนวยงานตาง ๆ ใหเปนไปตาม ท่ัวถงึ และเปนระบบ แผนผงั แมบทฯ ทีไ่ ดจ ดั ทาํ ขนึ้ ประเดน็ การผงั เมือง (3) ประสานกับรัฐบาลเพื่อสนับสนนุ การจัดสรรงบประมาณอดุ หนนุ สาํ หรับหนว ยงานตา ง ๆ เพอ่ื ใหเ กดิ การดาํ เนนิ การ (1) แกไ ขปรบั ปรงุ แผนผงั และขอ กาํ หนดในผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร ใหเปน ไปตามแผนผงั แมบทฯ (2) เพม่ิ เตมิ มาตรการตามกฎหมายผงั เมอื ง เชน การถายโอนสิทธกิ ารพัฒนา เพื่อสง เสริมใหเกดิ การอนุรกั ษอาคารท่มี ี คุณคา (4) ประเมนิ ผล และทบทวนการดําเนนิ การ ทุก ๆ 5 ป รวมถึงดําเนนิ การใหม ีการปรบั ปรงุ แผนผังแมบ ทฯ (3) แกไ ขปรับปรงุ ขอ บญั ญตั กิ รุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคาร2 ใหม ีรายละเอยี ดเพอ่ื การอนรุ ักษพื้นท่ีทม่ี ี (5) เผยแพรอ งคค วามรู สนบั สนุน และประชาสัมพนั ธใ หภาคสว นอ่ืน ๆ นอกเหนอื จากภาครัฐเขา มามีสว นรว มในการ รายละเอียดมากข้ึน (4) ดําเนนิ โครงการฟน ฟเู มอื งในพื้นทยี่ ทุ ธศาสตร อนุรักษแ ละพฒั นาพนื้ ท่ีกรงุ รัตนโกสินทรใ หเ ปนไปในทิศทางเดียวกัน (5) ปรับปรุงพนื้ ท่สี าธารณะในยานชมุ ชนประวตั ศิ าสตรโ ดยกระบวนการมสี ว นรวม (6) กําหนดเขตพ้นื ท่คี มุ ครองสง่ิ แวดลอ ม เพือ่ ใหม ีการใชม าตรการคมุ ครองสง่ิ แวดลอ มศลิ ปกรรม1 ประเดน็ การสง เสริมสงิ่ แวดลอ มทางกายภาพ 2) กรมศิลปากร กรมศลิ ปากรมีหนาทีส่ ําคญั ในการดแู ลบํารงุ รกั ษามรดกวฒั นธรรมในพน้ื ที่ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ โบราณสถานและโบราณวตั ถุ (1) ประสานการดําเนนิ การดา นสาธารณปู โภค เพอื่ สง เสริมคณุ คาแหลงมรดก เพื่อใหแ หลงมรดกในพืน้ ทไ่ี ดรับการดแู ลรักษาอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ตอ งดาํ เนนิ การดงั ตอ ไปน้ี (2) ปรบั ปรงุ ระบบการใหบ รกิ ารสาธารณปู การ เพอื่ ความปลอดภยั และสามารถขบั เนนโครงสรางของชุมชนในอดีต (3) จดั ระบบการจราจรใหเหมาะสมกับการเปนพื้นทป่ี ระวัตศิ าสตรท ่สี ําคญั ระดับชาติ (1) ขนึ้ ทะเบยี นโบราณสถาน อาคาร สงิ่ ปลูกสรา ง และพืน้ ทท่ี ี่เปนแหลงมรดกท่ีมคี วามสําคญั ระดบั ชาติ (4) ดําเนินการปรับปรงุ ภูมทิ ศั นในพื้นท่สี าํ คญั (2) บูรณปฏสิ งั ขรณแหลง มรดกทอี่ ยใู นความรบั ผดิ ชอบใหอ ยใู นสภาพดี และถกู ตอ งตามหลักวิชาการ (5) ดแู ลรักษาพนื้ ทสี่ าธารณะ และองคประกอบทางภูมิทศั นอื่น ๆ ของเมอื ง เชน ตน ไมใหญ ไฟฟาแสงสวาง เพอ่ื (3) ดําเนนิ การปรบั ปรงุ พื้นทโ่ี บราณสถานที่เปน พน้ื ทีย่ ทุ ธศาสตรทีม่ คี วามสาํ คัญระดบั ชาติ (4) ถายโอนภารกจิ การดแู ลบํารงุ รักษาโบราณสถานบางสว นใหแ กกรงุ เทพมหานคร พรอ มทงั้ สนบั สนนุ ความ สง เสริมคณุ คาของเมอื ง ประเดน็ การสง เสรมิ วฒั นธรรม การเรียนรู เศรษฐกิจ และการทอ งเที่ยว ชวยเหลอื ทางวชิ าการ ทงั้ ในดา นการอนุรกั ษแ หลง มรดก และการขดุ คน ทางโบราณคดใี นพ้นื ที่กรงุ รัตนโกสนิ ทร (5) เผยแพรองคค วามรู สนบั สนุน และประชาสัมพนั ธใ หภาคสว นอนื่ ๆ นอกเหนือจากภาครฐั เขามามสี ว นรว มในการ (1) สง เสรมิ การอนุรักษว ถิ วี ัฒนธรรมของชุมชน โดยความรวมมือของภาคสวนตา ง ๆ (2) สง เสริมการเรียนรดู านวฒั นธรรม และสนับสนุนใหเ กดิ การสืบทอดวถิ ีวฒั นธรรมตอ ไปในอนาคต อนรุ ักษมรดกวฒั นธรรม (3) สนบั สนนุ การตอยอดองคค วามรแู ละภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรม เพอ่ื ประโยชนใ นการสรา งสรรคเ ศรษฐกจิ ทอ งถน่ิ (6) พัฒนาระบบการใหคณุ คา มรดกวฒั นธรรมท่ีมคี วามหลากหลาย เพือ่ ใหเกิดการจดั การในหลายระดับ สามารถตอบ (4) จดั ทาํ ระบบการใหข อ มลู เพอ่ื สง เสริมการทอ งเทย่ี ว รบั ความจาํ เปนในการอนรุ ักษไ ดค รอบคลมุ ยงิ่ ขน้ึ (5) จดั ใหมีกิจกรรมเพอ่ื สง เสริมการเรยี นรแู ละการทอ งเที่ยว (7) พัฒนากลไกใหม เพ่ือสง เสริมการปรับปรงุ ภมู ิทศั นข องอาคารทเ่ี ปน องคประกอบทางสง่ิ แวดลอ มของพื้นท่ี ประวตั ิศาสตรส าํ หรบั การอนรุ ักษย า น 1 ดภู าคผนวก ข 2 ดภู าคผนวก ค สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5-18 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพัฒนา การดําเนินการในประเด็นการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมจําเปนตองพิจารณาจัดต้ังหนวยงานข้ึนใหมตามขอเสนอในหัวขอ 4) หนว ยงานภาครัฐอ่นื ๆ 5.4.2 หรือมอบหมายใหหนวยงานท่ีมีอยู เชน สํานักผังเมือง สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว รับผิดชอบและสรางกลไก นอกเหนอื จากสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม กรมศลิ ปากร และกรงุ เทพมหานครแลว ใน ข้ึนมาเพื่อประสานการดาํ เนนิ การ การดาํ เนินการใหเปนไปตามแผนผงั แมบทฯ ยงั ตองอาศยั ความรวมมือของหนวยงานตา ง ๆ อกี เปนจํานวนมาก เพ่อื ใหการอนุรักษ และพัฒนาพื้นทกี่ รุงรัตนโกสนิ ทรประสบผลสําเร็จ จึงจําเปนตอ งมีการประสานแผนงานและบูรณาการเพื่อแบง ภาระหนาที่ในการ การดําเนินการในประเด็นการผังเมืองเปนหนาที่หลักของสํานักผังเมืองในการปรับปรุงแกไขขอกฎหมาย และดําเนิน ดําเนินการใหเหมาะสม โดยหนวยงานที่เกี่ยวของตามแผนงานโครงการ และขอเสนอกลไกและเคร่ืองมือเพ่ือการอนุรักษท่ีควร โครงการในพน้ื ทย่ี ทุ ธศาสตรต า ง ๆ เพิม่ เตมิ สามารถสรปุ และแบง กลุมได ดังตอไปน้ี (1) หนว ยงานที่เกย่ี วขอ งกบั การสง เสรมิ วถิ วี ฒั นธรรม ไดแ ก กรมสง เสรมิ วัฒนธรรม การดําเนนิ การในประเด็นการสงเสริมสง่ิ แวดลอมทางกายภาพเปน หนาที่ของสํานักยุทธศาสตรและประเมินผล สํานกั การ (2) หนว ยงานทีเ่ กีย่ วขอ งกบั การผงั เมอื ง ไดแก กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง โยธา สาํ นกั การระบายน้าํ สาํ นกั การจราจรและขนสง สาํ นักส่งิ แวดลอ ม สาํ นกั ปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย และสํานักเทศกจิ ใน (3) หนวยงานที่เกี่ยวของกับการดําเนินการดานภูมิทัศนและส่ิงแวดลอม ไดแก สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ การดําเนินการ โดยตอ งประสานงานระหวา งกัน รวมถึงประสานการดําเนินงานกับหนวยงานภายในและภายนอกกรงุ เทพมหานคร เพ่อื ใหมีประสิทธิภาพ กรมการศาสนา กรมปา ไม และกรมควบคมุ มลพิษ (4) หนว ยงานท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินการดานการจราจร ไดแ ก สาํ นักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร กรม การดาํ เนนิ การในประเดน็ การสง เสริมวัฒนธรรม การเรียนรู เศรษฐกจิ และการทองเที่ยว เปน หนาทขี่ องสาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ยี ว สาํ นกั พฒั นาสังคม และสาํ นักการศกึ ษา ที่ตอ งรวมมอื กนั สงเสริมกิจกรรมดานวัฒนธรรมของชมุ ชน และการ ทางหลวง กรมทางหลวงชนบท การรถไฟแหงประเทศไทย การรถไฟฟา ขนสง มวลชนแหง ประเทศไทย กรมการขนสง ประยุกตใชองคค วามรูแ ละภูมปิ ญญาทอ งถิ่น เพือ่ สง เสริมการเรยี นรูข องเยาวชน และตอ ยอดในเชิงเศรษฐกจิ ทางบก กรมเจา ทา องคการขนสง มวลชนกรุงเทพมหานคร และสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ (5) หนวยงานที่เกี่ยวของกับการดาํ เนินการดา นสาธารณปู โภค ไดแก สํานักงานคณะกรรมการดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ การไฟฟานครหลวง การประปานครหลวง บรษิ ัทโทรคมนาคมและการสอื่ สาร และกรมชลประทาน (6) หนวยงานท่ีเกยี่ วขอ งกับการพฒั นาสรางสรรคและตอยอดองคค วามรู และภูมิปญ ญาทองถน่ิ ไดแก สาํ นกั งานบริหาร และพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม กรมการพฒั นาชุมชน สาํ นักงานสง เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล และกรมสง เสรมิ ธุรกจิ การคา (7) หนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ งกบั การทอ งเทย่ี ว ไดแก กรมการทองเที่ยว และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (8) หนวยงานทเ่ี ปน เจาของทดี่ นิ ขนาดใหญใ นพ้นื ท่ี ไดแ ก กรมธนารักษ และสํานกั งานทรัพยสินสวนพระมหากษัตรยิ (9) หนวยงานทเ่ี ก่ียวของกบั การเงนิ ไดแ ก สํานักงบประมาณ และกรมสรรพากร หนวยงานตาง ๆ เหลา น้ีจําเปน ตองดาํ เนนิ การตามอํานาจหนา ที่ของแตละหนว ยงาน และไดร ับการประสานโดยสํานักงาน นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม เพือ่ ใหเกดิ การดําเนินงานอยา งบรู ณาการ มีประสทิ ธิภาพ และสอดคลองกบั แผนผังแมบทฯ นอกจากนี้ หนวยงานอืน่ ๆ ทีต่ ัง้ อยภู ายในพื้นทกี่ รุงรัตนโกสินทร ทีไ่ มไ ดม ีหนาท่โี ดยตรงในการอนุรกั ษและพฒั นาใหเปน ไป ตามแผนผังแมบทฯ สามารถมีสวนรวมในการดําเนินการได โดยการจัดสรรพ้ืนที่บางสวนท่ีอยูในความดูแลของหนวยงานเพ่ือ ประโยชนสาธารณะ หรือเพอ่ื สง เสรมิ การเรียนรู เชน การจัดทจี่ อดรถเพอื่ ใหสาธารณะใชป ระโยชนไดเปน บางเวลา หรือการพฒั นา พน้ื ทบี่ างสว นใหเปนพิพิธภณั ฑ ฯลฯ ภาพท่ี 5-8 การดําเนินการของหนวยงานท่ีมบี ทบาทสําคัญ เพ่อื ใหเ ปน ไปตามแผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร ทมี่ า : คณะท่ีปรึกษา, 2560 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพัฒนา 5-19 5.6.3 การดาํ เนินการของภาคสวนอนื่ ๆ การดําเนินการใหเปนไปตามแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทรจําเปนตอ งอาศยั ความรว มมอื ของภาค สวนอืน่ ๆ นอกเหนือจากภาครัฐดว ย ในทนี่ ี้หมายถงึ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาคประชาสังคม ในการปฏิบตั ิตามหนาที่ ท่ี ไดรับผิดชอบ การอนุรักษและพัฒนาพื้นที่กรุงรัตนโกสินทรจึงจะประสบความสําเร็จตามเปาประสงคที่ตั้งไว โดยแนวทาง การดําเนนิ การโดยภาคสวนอน่ื ๆ มดี ังน้ี 1) การใชแ ผนผงั แมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รัตนโกสินทรเ ปนกรอบในการอนรุ ักษแ ละพฒั นา แผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรสามารถเปนกรอบในการอนุรักษสําหรับภาคสวนตาง ๆ ได โดย แนวทางที่ระบุในแผนผงั แมบทนั้นจะเปนการดาํ เนินการของภาครัฐ ซึ่งภาคเอกชนสามารถนําไปใชเปน แนวทางสาํ หรับการพัฒนา พ้ืนท่ีตามความเหมาะสม สวนภาคการศึกษาและภาคประชาสงั คม สามารถใชเปน แนวทางในการสง เสริมใหเกิดการอนุรักษมรดก วัฒนธรรมทั้งท่ีจบั ตอ งไดแ ละจับตอ งไมไ ดใ นแตละพน้ื ท่ี 2) การจดั ทาํ ขอมูลเพอ่ื สงเสริมการอนุรกั ษมรดกวฒั นธรรม ภาคการศึกษามีศักยภาพในการเปน ผนู ําในการจัดทําขอมลู เพื่อสง เสรมิ การอนรุ ักษม รดกวัฒนธรรมในพ้นื ที่ โดยในปจจุบนั มีการศึกษาและจัดทําขอมูลมรดกวัฒนธรรมทองถิ่นในหลายพื้นที่แลว แตยังจําเปนตองมีการศึกษาเพิ่มเติมในอีกหลายพื้นท่ี โดยเฉพาะขอ มูลประวัตศิ าสตรช มุ ชนท่ีไมไ ดม ีการบนั ทึกไวเปนลายลกั ษณอ กั ษร รวมถึงภมู ปิ ญ ญา และองคค วามรตู าง ๆ ของทอ งถนิ่ ที่สมควรมกี ารจัดเกบ็ และจดั การขอมูลอยา งเปน ระบบ 3) การใชกลไกชมุ ชน และองคกรทางวัฒนธรรมทม่ี อี ยใู นการตอ เชื่อมเพอ่ื ขอรับการสนบั สนนุ จากภาครัฐ การดําเนินงานดานวฒั นธรรมโดยเฉพาะอยา งยิง่ การสงเสริมวิถีวัฒนธรรมจําเปน ตองสรางกลไกการมสี วนรวมของชุมชน อยา งแทจรงิ เน่อื งจากผูท ี่จะทําหนา ท่ีสืบทอดวิถีวัฒนธรรมนั้น ๆ ตองเปนสมาชกิ ของชมุ ชน ดงั นนั้ การใชก ลไกในเชงิ องคกรท่ีมีอยู ของชุมชนมาเปน จุดตอเชื่อมกบั ภาครฐั จงึ เปนประเด็นท่ีควรสนับสนุน โดยอาจใชก ลไกของคณะกรรมการชุมชนท่ีมอี ยูต ามระเบียบ กรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ.2555 หรือกลไกของสภาวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ ที่มีอยูตามระเบียบ กระทรวงวฒั นธรรมวา ดวยสภาวฒั นธรรม พ.ศ.2551 เปนองคกรในการสนบั สนุนการขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐในดานตา ง ๆ เชน การของบประมาณการสนับสนุนกิจกรรมสบื สานฟนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีและเทศกาลทองถิ่น กิจกรรมฟนฟูภูมปิ ญญา ทองถนิ่ กิจกรรมพัฒนาผลิตภณั ฑข องผปู ระกอบการภายในชมุ ชน และกิจกรรมเพอื่ สงเสรมิ การทองเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม เปน ตน 4) การสรา งกระบวนการรว มหารอื เพอื่ สรา งแรงจูงใจในการอนุรกั ษใหแกภ าคเอกชน การผลักดันใหเกิดกลไกตาง ๆ ท่ีจะเปนแรงจูงใจในเกิดการอนุรักษ อาจไมจําเปนตองริเร่ิมจากการดําเนินงานของ หนวยงานภาครัฐ แตสามารถเสนอข้ึนมาจากภาคเอกชนหรือภาคประชาสังคมได จึงควรจัดใหมีโอกาสสําหรับการหารืออยูเปน ประจํา เพอ่ื ผลักดนั ใหเ กดิ นโยบายท่ีสนบั สนุนการอนรุ ักษ และไดป ระโยชนร วมกันทกุ ฝาย โดยเครอื ขายการอนรุ ักษโ ดยองคกรภาค ประชาชนอาจเปนเจาภาพ และควรไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐท่ีรับผิดชอบในการอนุรักษและพัฒนาพื้นที่ กรงุ รตั นโกสินทร 5) การจัดทําธรรมนูญชุมชน การจดั ทาํ ธรรมนญู ชุมชนเปน กลไกท่ีชว ยเสรมิ ใหการอนรุ ักษมีความสมบรู ณม ากขน้ึ เน่ืองจากกฎระเบยี บทอี่ อกโดยราชการ อาจมีขอจาํ กดั ในการริดรอนสิทธิ หรืออํานาจหนาท่ีของกฎหมายท่อี าจไมสามารถกาํ หนดรายละเอยี ดที่มากเกินไปได หากมีกลไก การจัดทําธรรมนูญชุมชนท่จี ะเปนขอตกลงรว มกันของแตละพื้นทีย่ า นหรือชุมชนเอง จะชวยสรางความเขาใจและปอ งกนั การพัฒนา ที่ไมพึงประสงคอ นั จะสง ผลลบตอ การอนุรกั ษแ ละพัฒนาพืน้ ทีไ่ ดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพมากกวา เพราะมีความละเอียดในระดับท่ไี ดจ าก การหารือรวมกันของผูมีสวนไดส วนเสยี และทุกฝายรับรูรวมกันต้งั แตข้นั ตอนของการจดั ทาํ ซึ่งปจจบุ ันมีชุมชนที่มีความพรอมอยู หลายพ้ืนที่ จงึ เปน ประเด็นหน่งึ ทค่ี วรสง เสรมิ ใหเ กิดการถายทอดองคค วามรูไปสชู มุ ชนอน่ื ๆ อกี ดวย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม
5-20 แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม
แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรก ารอนุรักษและพฒั นา ก-1 ภาคผนวก ก กรุงรัตนโกสินทร (พ.ศ. 2535) ตามลําดับ โดยมีสาระสําคัญเพื่อควบคุมชนิดหรือประเภทและความสงู ของอาคารในบริเวณพืน้ ที่ การวางและจัดทาํ แผนผงั และขอกาํ หนดการใชประโยชนท ดี่ นิ ของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ดังกลา ว การควบคุมการใชประโยชนที่ดิน (Land Use Control) มีหลักการพื้นฐานเพื่อการปองกันผลกระทบตอสุขลักษณะ อยา งไรก็ตาม เน่ืองจากไดม กี ารใชบ ังคับผังเมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร โดยกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 116 (พ.ศ. 2535) ตอ เน่อื ง (Health) ความปลอดภัยของประชาชน (Safety) และสวัสดภิ าพของสงั คม (Welfare) โดยในเขตของแผนผงั แมบทการอนรุ กั ษและ ดวยกฎกระทรวงฉบับท่ี 414 (พ.ศ. 2542) กฎกระทรวงใหใชบังคบั ผังเมอื งรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 และกฎกระทรวงใหใช พัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทรยอ มหมายรวมถึงการปองกนั ผลกระทบตอโบราณสถานและอาคารท่ีมีคุณคา ตาง ๆ ที่ต้ังอยใู นบริเวณพนื้ ที่ บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ซ่ึงมีแผนผังและขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษเพ่ือสงเสริม ดังกลาว อาจกระทําไดโดยการวางและจัดทําแผนผังและขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินของผังเมืองรวม โดยอาศัยอํานาจแหง เอกลกั ษณศลิ ปวัฒนธรรมไทย (ศ.1 และ ศ.2) ในบริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรช นั้ ใน บริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรช ้ันนอก และบรเิ วณฝง ธนบรุ ี กฎหมายผังเมอื ง1 ตรงขามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร จึงสมควรตอการแกไขปรับปรุงขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เร่ือง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดดั แปลง ใชห รือเปล่ยี นการใชอ าคารบางชนิดหรือบางประเภททใ่ี ชบ ังคบั อยูเดิมในบรเิ วณพื้นท่ดี งั กลา ว ใหมลี ักษณะเปน การควบคุม ท้ังนี้ กฎกระทรวงใหใชบังคับผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานครที่ไดม ีการใชบังคับมาอยางตอ เน่ืองตงั้ แตกฎกระทรวง ฉบับท่ี แบบซอนทับ (Overlay Control) บนแผนผังและขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ท้ังนี้ 116 พ.ศ. 2535 กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 พ.ศ. 2542 กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 และ นอกเหนอื จากการยกเลิกการควบคมุ ชนดิ หรือประเภทอาคารเพอื่ ขจดั ปญ หาการซ้ําซอ นกบั ขอ กาํ หนดการใชประโยชนท ด่ี ินของผัง กฎกระทรวงใหใชบ ังคับผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ที่ใชบ ังคับอยูในปจ จุบัน ไดกาํ หนดบรเิ วณกรุงรตั นโกสินทรชั้นใน เมืองรวมแลว ขอบัญญัติดังกลาวยังจาํ เปนตอการควบคุม “ประเภท ลักษณะ แบบ รูปทรง สัดสวน ขนาด เน้ือท่ี และที่ตั้งของ บรเิ วณกรงุ รัตนโกสินทรช้ันนอก และบรเิ วณฝง ธนบรุ ตี รงขามบรเิ วณกรงุ รตั นโกสนิ ทร เปน การใชป ระโยชนท ่ีดินประเภทอนรุ กั ษเพื่อ อาคาร” และ “ลักษณะ ระดับ ความสูง เน้ือท่ีของที่วางภายนอกอาคาร หรือแนวอาคาร” ตลอดจน “ระยะหรือระดับระหวาง สงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรมไทย (ศ.1 และ ศ.2) และไดกําหนดบริเวณพื้นที่ตอเน่ืองกรุงรัตนโกสินทรช้ันนอก เปนการใช อาคารกับอาคารหรอื เขตทด่ี นิ ของผอู ื่น หรือระหวางอาคารกบั ถนน ตรอก ซอย ทางเทา ทาง หรือที่สาธารณะ” ตามมาตรา 8 (1) ประโยชนทด่ี ินประเภททอ่ี ยูอ าศยั หนาแนนมาก (ย.8) พาณิชยกรรม (พ.3) และสถาบนั ราชการ การสาธารณปู โภคและสาธารณูปการ (7) และ (8) แหง พระราชบัญญตั ิควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ตามลําดับ เพือ่ ใหมีมาตรการควบคุมอาคารทจี่ ําเปนตา ง ๆ ไดแก แนว (ส.) อยางไรก็ตาม การควบคมุ การใชป ระโยชนท่ดี ินในบรเิ วณกรงุ รตั นโกสนิ ทรชน้ั ใน บรเิ วณกรุงรัตนโกสินทรช ั้นนอก และบริเวณฝง อาคาร (Built to Line) รูปดานหนาอาคาร (Façade Control) ฯลฯ ในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นใน บริเวณกรุงรัตนโกสินทร ธนบุรตี รงขา มบรเิ วณกรงุ รัตนโกสินทร ท่ีไดก ําหนดเปน การใชประโยชนท ดี่ ินประเภทอนุรักษเพอ่ื สงเสริมเอกลกั ษณศลิ ปวัฒนธรรม ชั้นนอก และบริเวณฝงธนบุรีตรงขามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร ตลอดจนบริเวณพ้ืนท่ีตอเน่ืองกรุงรัตนโกสินทรช้ันนอกที่มีความ ไทย (ศ.1 และ ศ.2) มีปญ หาในทางปฏิบัตเิ นอื่ งจากไมส ามารถทราบถงึ ประเภทการใชป ระโยชนทีด่ ินท่ีแทจ ริงซึ่งประกอบดว ย การใช เหมาะสมตอ ไป ประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัย พาณิชยกรรม และสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จึงสมควรตอการ ปรับเปล่ียนแผนผงั และขอกําหนดการใชป ระโยชนท ่ดี ินของผงั เมืองรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 4) ซง่ึ กาํ ลังดําเนนิ การโดย การจัดทาํ มาตรการคุมครองสง่ิ แวดลอ มศิลปกรรม สาํ นกั ผังเมือง กรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ในบรเิ วณกรุงรตั นโกสินทรชน้ั ใน บริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรช้ันนอก และบรเิ วณฝง การควบคุมใหเปนไปตามแผนผังและขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม ธนบุรีตรงขามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร ใหมีรายละเอียดการจําแนกประเภทการใชประโยชนท่ีดินที่ตรงตามวัตถุประสงคในการ กรุงเทพมหานคร โดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมายผังเมือง นอกจากจะไมไดใชบังคับกับพ้ืนท่ีที่ไดใชหรือสงวนไวเพ่ือประโยชนใน อนุรักษแ ละพัฒนาบรเิ วณพ้นื ทีด่ งั กลาวตอ ไป ราชการทหาร อกี ท้ังการใชประโยชนท ี่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณปู โภคและสาธารณปู การ (ส.) มีขอ กําหนดเพยี ง “ให ใชประโยชนท่ีดินเพอ่ื สถาบนั ราชการ การศาสนา การศึกษา การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน” และ นอกจากน้ี ผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรับปรุงครัง้ ที่ 4) ทีก่ าํ ลังดําเนินการวาง จดั ทํา และใชบ งั คับเปน กฎกระทรวงโดย “การใชประโยชนเพ่ือวตั ถุประสงคอืน่ ใหใชเฉพาะการดําเนินการที่เก่ียวเนื่องกับวตั ถปุ ระสงคต ามวรรคหน่ึงหรือเพ่ือประโยชนแ ก อาศัยอํานาจแหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 อาจกําหนดใหมีมาตรการโอน (ขาย) สิทธิการพัฒนา (Transfer of กิจการของรัฐ” เทาน้ัน อีกท้ังการใชบังคับขอบญั ญัติกรุงเทพมหานคร เร่ือง ควบคุมอาคาร และเร่ือง กําหนดบริเวณหามกอสรา ง Development Right หรือ TDR) เพือ่ สนับสนุนการอนุรกั ษและพฒั นากรุงรัตนโกสินทร โดยใหเ จาของโบราณสถานหรืออาคารที่มี ดัดแปลง ใชหรือเปล่ียนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท โดยอาศัยอํานาจแหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 คณุ คาในบรเิ วณพนื้ ท่ีดงั กลาวสามารถโอน (ขาย) สิทธิการพัฒนาตามอตั ราสว นพื้นทีอ่ าคารรวมตอพนื้ ทดี่ นิ (Floor Area Ratio หรอื มีกฎกระทรวงตามมาตรา 7 ใหยกเวนสําหรับอาคารของกระทรวง ทบวง กรม อาคารของราชการสวนทองถ่ิน และอาคารของ FAR) ท่ีไมสามารถใชไดตามขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินของผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร ไปยังพื้นท่ีสงเสริมการพัฒนาอืน่ ๆ องคก ารของรัฐท่ีใชใ นราชการ หรอื กิจการขององคก าร หรอื ใชเ พ่อื สาธารณประโยชน โบราณสถาน วดั วาอาราม หรืออาคารตา ง ๆ เชน บรเิ วณพ้ืนที่โดยรอบสถานีรถไฟฟาขนสง มวลชน เปนตน ท่ใี ชเพอ่ื การศาสนา อาคารทท่ี าํ การขององคก ารระหวา งประเทศ หรอื อาคารทีท่ ําการของหนวยงานท่ีต้งั ข้นึ ตามความตกลงระหวาง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลตา งประเทศ อาคารที่ทําการสถานทูตหรือสถานกงสลุ ตางประเทศ ตลอดจนอาคารที่กระทรวง ทบวง กรม การแกไขปรบั ปรงุ ขอบัญญตั ิกรุงเทพมหานคร เรอื่ ง กาํ หนดบริเวณหามกอสรา ง ดัดแปลง ใชหรอื เปลยี่ นการใชอาคาร ราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ องคการของรัฐท่ีจดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายหรือหนวยงานอืน่ ของรัฐ จัดใหมีหรือพัฒนาเพอ่ื เปนท่ีอยู บางชนิดหรอื บางประเภท อาศัยสาํ หรับผมู รี ายไดน อย จึงเปนผลใหการควบคมุ ใหเปนไปตามขอ บญั ญตั กิ รุงเทพมหานครไมสามารถกระทาํ ไดก ับอาคารตา ง ๆ ดังกลาวซ่ึงมีอยูเปนจํานวนมากในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นใน บริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นนอก และบริเวณฝงธนบุรีตรงขาม กรุงเทพมหานครไดออกขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนการใช บริเวณกรงุ รัตนโกสนิ ทร ตลอดจนบริเวณพนื้ ทตี่ อ เนอื่ งบริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรชัน้ นอก อาคารบางชนิดหรือบางประเภท โดยอาศัยอํานาจแหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซ่ึงครอบคลุมพื้นท่ีบริเวณ กรุงรัตนโกสินทรช้ันใน (พ.ศ. 2528) บริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันนอก (พ.ศ. 2530) และบริเวณฝงธนบุรีตรงขามบริเวณ 1 กฎหมายผังเมืองฉบบั ท่ใี ชบังคบั อยใู นปจ จุบนั คือ พระราชบญั ญัตกิ ารผังเมอื ง พ.ศ. 2518 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
ก-2 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร– ยทุ ธศาสตรการอนรุ ักษและพัฒนา ดังน้นั เพื่อใหก ารควบคมุ การใชประโยชนทด่ี ินและอาคารในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นใน บรเิ วณกรงุ รัตนโกสินทรช้นั นอก ดํารงรักษาหรือบูรณะสถานท่ีหรือวัตถุที่มีประโยชนหรือคุณคาในทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตรหรือโบราณคดี” บริเวณฝงธนบุรีตรงขามบริเวณกรุงรัตนโกสินทร และบริเวณพื้นท่ีตอเน่ืองบริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันนอกเปนไปอยางมี ตลอดจน “การดาํ รงรกั ษาท่โี ลง ” และ “การสง เสรมิ หรอื บาํ รุงรักษาตนไมเดี่ยวหรอื ตน ไมหมู” ตามมาตรา 28 (5) (ฉ) (ช) และ (ซ) ประสิทธภิ าพมากขน้ึ จงึ จําเปน ตอ การออกกฎกระทรวงโดยอาศยั อาํ นาจกฎหมายสิง่ แวดลอ ม2 เพื่อการกําหนดการใชป ระโยชนท ่ดี นิ นอกจากนี้ การใชบังคับผังเมืองเฉพาะซึ่งตองตราเปน พระราชบัญญตั ใิ หใชบังคบั ผงั เมอื งเฉพาะจะใหอํานาจในการใหไดมาซ่ึงทด่ี ิน เพ่ือรักษาคุณคาของสงิ่ แวดลอมศิลปกรรม การหามการกระทําหรือกิจกรรมใด ๆ ท่ีอาจเปน อนั ตรายหรือเกิดผลกระทบตอคณุ คา โดยการเวนคืนอสังหาริมทรพั ยเ พ่อื ประโยชนแ กการผงั เมอื ง ตลอดจนการใหอาํ นาจแกค ณะกรรมการบริหารการผังเมืองสวนทองถนิ่ ของสิง่ แวดลอ มศลิ ปกรรม การกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสว นราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนทีจ่ ะทํา ในการสัง่ การใหมีการรอ้ื ยาย หรอื ดดั แปลงอาคารตามท่ผี ังเมอื งเฉพาะกําหนด การกอ สรา งหรือดําเนินการในพืน้ ทนี่ น้ั ใหมหี นาทีต่ องเสนอรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม การกําหนดวิธกี ารโดยเฉพาะ รวมทง้ั การกาํ หนดขอบเขตหนาที่และความรับผดิ ชอบของสว นราชการท่ีเกย่ี วของ เพอื่ ประโยชนในการรวมมือและประสานงานให เกดิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน เพ่อื รกั ษาคุณคาของสงิ่ แวดลอ มศิลปกรรม ตลอดจนมาตรการคุมครองอื่น ๆ ตามทเี่ หน็ สมควร และเหมาะสมแกส ภาพของพื้นทีน่ ัน้ ๆ ทั้งนี้ มาตรการควบคุมสิง่ แวดลอมศลิ ปกรรมในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นใน บริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทรช้ันนอก บริเวณฝง ธนบุรีตรงขามบรเิ วณกรุงรัตนโกสนิ ทร และบริเวณพื้นที่ตอเน่อื งบริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันนอกซ่งึ มีสาระสําคัญประกอบดวยแนว ทางการออกแบบ (Design Guideline) ในดานตา ง ๆ ไดแก ตําแหนงทีต่ ง้ั ขนาดหรือมวลอาคาร รปู แบบทางสถาปตยกรรมและภูมิ สถาปตยกรรม สีและวัสดุ การติดต้ังอุปกรณประกอบอาคาร ฯลฯ จะเปนกรอบกํากับการวางผังและการออกแบบอาคารและ สิ่งกอสรางทั้งของภาคเอกชนและภาครัฐ ทั้งในการควบคุมการใชประโยชนที่ดินและการกระทําหรือกิจกรรมใด ๆ ที่อาจเปน อันตรายหรือเกดิ ผลกระทบตอคณุ คาของสิ่งแวดลอ มศลิ ปกรรม การกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรอื กจิ การทีต่ องจดั ทํา รายงานการวเิ คราะหผลกระทบสิ่งแวดลอ ม ตลอดจนการกาํ หนดขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผดิ ชอบของภาคสวนตาง ๆ ที่เกยี่ วขอ ง กบั การดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามแผนผงั แมบทการอนรุ กั ษและพัฒนากรงุ รัตนโกสนิ ทร การวาง จัดทาํ และดาํ เนินการใหเ ปนไปตามผังเมืองเฉพาะ พระราชบัญญตั กิ ารผงั เมอื ง พ.ศ. 2518 ไดกําหนดในมาตรา 29 วรรค 1 ให “เมือ่ ไดมีกฎกระทรวงใหใชบ งั คบั ผงั เมืองรวม ณ ทองท่ีใดแลว ถาเจาพนักงานทองถน่ิ ของทองที่น้ันเห็นสมควรจะจัดใหมีการวางและจดั ทําผังเมืองเฉพาะขึ้น หรือจะขอใหกรม โยธาธิการและผังเมืองเปนผูวางและจัดทําผังเมืองเฉพาะก็ได ผังเมืองเฉพาะจะตองสอดคลองกับผังเมืองรวม” ดังน้ัน “ผังเมือง เฉพาะ” ซึ่งโดยนิยามตามมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติดังกลา ว หมายถึง “แผนผังและโครงการดาํ เนินการเพ่ือพัฒนาหรือดํารง รกั ษาบรเิ วณเฉพาะแหง หรือกจิ การทเี่ กีย่ วขอ ง ในเมืองและบรเิ วณทีเ่ ก่ยี วของหรือชนบท เพ่อื ประโยชนแ กการผงั เมอื ง” ยอมใชเ ปน เครอ่ื งมือทางกฎหมายทก่ี รงุ เทพมหานครโดยสาํ นักผังเมอื งในฐานะเจา พนักงานทองถิ่นจะวาง จัดทํา และดาํ เนนิ การใหเปนไปตาม ผังเมืองเฉพาะเพ่อื อนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรในบริเวณพ้ืนท่ีตา ง ๆ ไดแก ผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษฟนฟูเมืองและ สงเสริมการทองเที่ยวริมฝงแมน้ําเจาพระยา (Riverfront Development) ยานทาพระจันทร-ทาชาง-ทาเตยี น ยานเยาวราช-ทรง วาด และยานปากคลองตลาด และผังเมืองเฉพาะเพ่ือการพัฒนาพ้ืนท่ีเปลี่ยนถายการสัญจร (Transit Oriented Development หรอื TOD) บริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟาขนสง มวลชนสถานีสนามไชย สถานีรว มวงั บรู พา-สามยอด สถานวี ัดมงั กรกมลาวาส สถานี อสิ รภาพ สถานสี นามหลวง และสถานรี วมผา นฟา -อนุสาวรียประชาธปิ ไตย สถานหี ลานหลวง สถานศี ิรริ าช สถานบี างขุนพรหม และ สถานีสะพานพุทธ เปนตน ทั้งนี้ ผังเมืองเฉพาะจะมีองคป ระกอบสําคัญทั้งที่เปน “แผนผังแสดงบริเวณที่ตั้งของสถานท่ีหรือวัตถทุ ี่มีประโยชน หรือ คุณคาในทางศลิ ปกรรม สถาปต ยกรรม ประวัตศิ าสตรหรอื โบราณคดีที่จะพึงสงเสริมดํารงรกั ษาหรอื บูรณะ” รวมทง้ั “แผนผังแสดง บริเวณท่ีมีทรพั ยากรธรรมชาติหรือภมู ิประเทศที่งดงามหรือมีคณุ คาในทางธรรมชาติ เชน ตนไมเดี่ยวหรือตนไมหมูทจี่ ะพึงสงเสรมิ หรอื บาํ รงุ รักษา” ตามมาตรา 28 (3) (ฉ) และ (ช) ตลอดจนรายการประกอบแผนผังตามมาตรา 28 (4) และขอ กําหนด “การสงเสริม 2 กฎหมายส่งิ แวดลอมฉบบั ทีใ่ ชบ ังคับอยใู นปจ จบุ ันคอื พระราชบัญญัติสง เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอมแหง ชาติ พ.ศ. 2535 สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม
แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร - ยทุ ธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพัฒนา ข-1 ภาคผนวก ข รายการ ขอ กาํ หนดการใชประโยชนทดี่ ิน กฏกระทรวง / ขอ บญั ญัติทอ งถิ่น มาตรการคมุ ครองส่งิ แวดลอม แนวทางการอนุรกั ษเ มือง (Urban Conservation Guideline) และเครอื่ งมือทางกฎหมาย ในผงั เมอื งรวม (ควบคุมอาคาร) (พ้นื ที่คมุ ครองส่ิงแวดลอ ม) การดําเนินการอนุรักษเมืองใหมีประสิทธิภาพจําเปนอยางยิ่งท่ีตองมีการพัฒนาแนวทางการอนุรักษเมือง (Urban - อตั ราสวนพื้นทว่ี างอันปราศจาก - ลกั ษณะ ระดับ เน้อื ที่ของทว่ี าง - กําหนดประเภทและขนาดของ Conservation Guideline) เพื่อเปน เครอ่ื งมือในการกํากบั ภาพรวมของการพัฒนาในบริเวณท่มี ีเอกลกั ษณท างสถาปตยกรรม เชน มี ส่งิ ปกคลุมของแปลงทีด่ ินท่อี าคาร ภายนอกอาคาร หรอื แนวอาคาร โครงการหรอื กิจการของสวน อาคารเการูปแบบเดียวกันอยูเปนจํานวนมาก ตองการท่ีจะรักษาความสมบูรณของการรวมกลุมอาคารเอาไว หรือในบริเวณที่ ตง้ั อยตู อพื้นท่ีใชสอยรวมของ - ระยะหรอื ระดบั ระหวา งอาคารกับ ราชการ รัฐวิสาหกจิ หรอื เอกชน ตองการเนนความโดดเดนของอาคารท่ีเปนภูมิสัญลักษณ (Landmark) ก็สามารถใชเปนเคร่ืองมือเพ่ือกํากับการพัฒนาในบริเวณ อาคาร อาคาร หรอื เขตท่ีดนิ ของผอู นื่ หรือ ทีจ่ ะทําการกอ สรางหรือ โดยรอบไดเ ชน กนั - ระยะถอยรน จากแนวธรรมชาติ ระหวางอาคารกับถนน ตรอก ซอย ดําเนนิ การในพื้นที่นั้น ใหมีหนาที่ ถนน แนวเขตที่ดนิ อาคาร หรือ ทางเทา หรอื ที่สาธารณะ ตองเสนอรายงานการวเิ คราะห ท้ังน้ี แนวทางการอนุรักษเมืองท่ีพัฒนาข้ึนน้ัน มีประโยชนในเชิงการสรางความเขาใจรวมระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย สถานที่อื่น ๆ ทีจ่ าํ เปน - พื้นทห่ี รือสิง่ ทสี่ รางข้ึนเพ่อื ใชเ ปนที่ ผลกระทบสิ่งแวดลอม มากกวา การใชบงั คบั เปน กฎหมาย เนื่องจากในปจ จบุ นั ระบบกฎหมายของประเทศไทยยงั ไมมีชองทางท่จี ะนําแนวทางการอนุรักษ - ขนาดของแปลงท่ีดินทจี่ ะ จอดรถ ที่กลบั รถ และทางเขา ออกของ - กาํ หนดวธิ ีจัดการโดยเฉพาะ เมืองดังกลาวมาบงั คบั ใชโ ดยตรง หากตอ งมีการแปลความจากแนวทางดงั กลาวเพ่อื นําเน้อื หาบางสว นของแนวทางการอนุรักษเมือง อนญุ าตใหสรางอาคาร รถสาํ หรับอาคารบางชนิด หรือบาง สําหรบั พ้ืนทีน่ ั้น รวมทัง้ การ น้ันมาจัดทําเปนขอกฎหมายเพื่อบังคับใชตามกลไกที่มีอยู ซึ่งเมื่อพิจารณาแลวในปจจุบันมีชองทางท่ีสามารถดําเนินการได 3 - ขอกําหนดอ่นื ที่จาํ เปนโดย ประเภท ตลอดจนลกั ษณะและขนาด กําหนดขอบเขตหนา ทแี่ ละความ ชองทางคอื 1) การตราเปน ขอกําหนดการใชประโยชนทดี่ ินในผงั เมืองรวม ตามพระราชบัญญัติการผังเมอื ง พ.ศ.2518 2) การตรา รฐั มนตรปี ระกาศกําหนดตาม ของพ้นื ทห่ี รือสง่ิ ที่สรางขึ้นดังกลา ว รับผิดชอบของสวนราชการท่ี คาํ แนะนําของคณะกรรมการผัง - บรเิ วณหา มกอ สรา ง ดัดแปลง รื้อ เกย่ี วของ เพื่อประโยชนในการ เปนกฎกระทรวงหรือขอบัญญัติทองถ่ิน ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และ 3) การกําหนดเขตพ้ืนที่คุมครอง เมือง ถอน เคลอื่ นยาย และใชหรอื เปลี่ยน รว มมือและประสานงานใหเ กิด สงิ่ แวดลอ มและกาํ หนดมาตรการคุมครองสงิ่ แวดลอม ตามพระราชบญั ญัติสงเสริมและรักษาสง่ิ แวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 ซง่ึ แต การใชอาคารชนิดใดหรือประเภทใด ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน ละชองทางมอี งคประกอบในการควบคุมท่แี ตกตา งกัน ตามที่ระบเุ อาไวใ นกฎหมายดังนี้ - หลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขในการ เพอื่ รักษาสภาพธรรมชาติหรอื กอ สราง ดดั แปลง รอื้ ถอน เคลอ่ื นยาย ระบบนิเวศนตามธรรมชาตหิ รือ รายการ ขอ กาํ หนดการใชป ระโยชนท่ดี ิน กฏกระทรวง / ขอ บัญญัตทิ องถิ่น มาตรการคมุ ครองสิ่งแวดลอ ม ใชหรือเปลยี่ นการใชอาคาร คณุ คา ของสิง่ แวดลอมศิลปกรรม ในผังเมอื งรวม (ควบคุมอาคาร) (พ้นื ท่ีคุมครองส่ิงแวดลอ ม) - หลักเกณฑ วธิ กี ารและเง่ือนไขในการ ในพนื้ ท่ีนั้น องคประกอบใน ขออนุญาต การอนุญาต การตออายุ - กาํ หนดมาตรคมุ ครองอน่ื ๆ การควบคุม (มาตรา 17 พ.ร.บ.การผังเมอื ง (มาตรา 8 พ.ร.บ.ควบคมุ อาคาร (มาตรา 44 พ.ร.บ.สง เสริมและรักษา ใบอนุญาต การออกใบรับรอง และการ ตามที่เห็นสมควรและเหมาะสมแก พ.ศ.2518) พ.ศ.2522) คุณภาพสง่ิ แวดลอม พ.ศ.2535) ออกใบแทนตามพระราชบัญญตั ินี้ สภาพของพื้นท่ีน้ัน - หนา ท่ีและความรับผิดชอบของ (ตวั หนา คือสวนที่ - ประเภทหรอื ขนาดกจิ การท่ีจะ - ลกั ษณะ แบบ รูปทรง สัดสวน เน้อื ที่ - กาํ หนดการใชป ระโยชนใ นทีด่ นิ ผอู อกแบบ ผคู วบคมุ งาน ผดู าํ เนนิ การ ผู มคี วามเกี่ยวของ อนุญาตหรือไมอนุญาตให และที่ตั้งของอาคาร เพื่อรักษาสภาพธรรมชาติ หรอื มิ ครอบครองอาคาร และเจาของอาคาร กบั แนวทางการ ดาํ เนินการ - การรับนาํ้ หนัก ความตานทาน ความ ใหกระทบกระเทือนตอระบบ - คณุ สมบตั เิ ฉพาะและลกั ษณะตองหาม อนุรกั ษเมือง) - ประเภท ชนิด ขนาด ความสงู คงทน ตลอดจนลกั ษณะและคณุ สมบตั ิ นิเวศนตามธรรมชาติ หรอื คุณคา ของผูตรวจสอบ ตลอดจนหลักเกณฑ และลักษณะของอาคารท่จี ะ ของวัสดทุ ใ่ี ช ของส่ิงแวดลอมศิลปกรรม วธิ ีการ และเงอ่ื นไขในการขอข้ึน อนุญาตหรือไมอ นุญาตใหส ราง - การรบั นํา้ หนกั ความตานทาน และ - หามการกระทําหรอื กจิ กรรมใด ๆ ทะเบยี น และการเพกิ ถอนการขึ้น - อัตราสว นพื้นท่ีอาคารรวมกันทกุ ความคงทนของอาคาร หรอื พ้ืนดนิ ท่ี ที่อาจเปน อนั ตราย หรอื กอ ใหเกิด ทะเบยี นเปน ผตู รวจสอบ ชั้นของอาคารทกุ หลังตอพน้ื ที่ รองรับอาคาร ผลกระทบในทางเปล่ยี นแปลง - หลักเกณฑ วธิ ีการ และเงือ่ นไขในการ แปลงท่ดี ินท่ใี ชเ ปนทีต่ ัง้ อาคาร - แบบและวธิ ีการเก่ียวกับการติดต้ัง ระบบนเิ วศนของพืน้ ทนี่ น้ั จาก ตรวจสอบอาคาร ตดิ ต้ังและตรวจสอบ - อตั ราสว นพื้นท่ีอาคารปกคลุมดิน ระบบการประปา ไฟฟา กาซ และการ ลักษณะตามธรรมชาติ หรือ อุปกรณป ระกอบของอาคาร ตอ พน้ื ทีแ่ ปลงทดี่ ินทใ่ี ชเ ปนท่ีตั้ง ปองกันอคั คีภยั เกิดผลกระทบตอคุณคาของ - ชนดิ หรือประเภทของอาคารทเ่ี จาของ อาคาร - แบบและจาํ นวนของหอ งน้ําและหองสวม สง่ิ แวดลอ มศลิ ปกรรม อาคาร หรือผคู รอบครองอาคารตองทาํ - ระบบการจดั แสงสวา ง การระบาย การประกันภัยความรบั ผดิ ตามกฎหมาย อากาศ การระบายนํ้า และการกําจดั ตอชีวิต รา งกาย และทรัพยสินของ ขยะมลู ฝอยและสงิ่ ปฏิกูล บุคคลภายนอก สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
ข-2 แผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร– ยทุ ธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพัฒนา ผังเมืองรวมเปน เครื่องมือทใ่ี ชควบคุมการพัฒนาในภาพรวม การกําหนดขอบเขตของพื้นทคี่ วบคุมจึงมักมีขนาดใหญ และ รายการ กฏกระทรวง / มาตรการคมุ ครองส่ิงแวดลอม จําเปน ตอ งอาศยั หลักการ ความปลอดภัย สาธารณสขุ และสวัสดิภาพของสาธารณะ เปนสําคญั ทําใหไมสามารถกําหนดเปนพื้นที่ กฎหมาย ยอย เชน กลุมตึกแถว ในบางบริเวณได นอกจากนี้การกําหนด ชนิด ขนาด ความสูง และลักษณะของอาคารท่ีจะอนุญาตหรือไม ขอ บญั ญัตทิ องถ่ิน (ควบคุมอาคาร) (พน้ื ท่ีคมุ ครองสิ่งแวดลอม) อนุญาตใหส ราง มกั จะมีขอจาํ กัดในการกําหนดรายละเอยี ด ซึ่งจากการดาํ เนินการวางและจัดทาํ ผงั เมืองรวมท่ีผา นมา ในพ้ืนท่ีที่ถูก หนว ยงานที่รับผดิ ชอบ กําหนดใหเปนพนื้ ทอ่ี นุรกั ษ จะเปนการกําหนดไมใหม กี ารกอสรางอาคารสงู อาคารขนาดใหญ หรือกําหนดความสูงสูงสุดของอาคาร การประกาศขอบเขต พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ.2522 พระราชบญั ญตั ิสงเสริมและรกั ษาคุณภาพ ท่ีอนญุ าตใหกอ สรา งเอาไวเ ทา นน้ั องคประกอบของอาคารทีเ่ ปน รายละเอยี ดในเชิงความงามมักจะไมไดร บั การกําหนดลงไปเนือ่ งจาก ขอ จาํ กัดขา งตน กลา วคอื ผงั เมอื งรวมไมใ ชช องทางทีเ่ หมาะสมในการประยุกตเพ่อื บงั คบั ใชเ นือ้ หาของแนวทางการอนรุ ักษเมืองในเชงิ ส่ิงแวดลอ มแหงชาติ พ.ศ.2535 กฎหมาย กระทรวงมหาดไทย / องคก รปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม กฎกระทรวงและขอบญั ญัตทิ อ งถน่ิ ทอี่ อกตามพระราชบญั ญตั ิควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เปน ชองทางท่ีมีประสทิ ธภิ าพและ ตอบโจทยของการกําหนดพ้ืนท่ีอนุรักษเปนพ้ืนท่ียอยมากกวา เม่ือเปรียบเทียบกับขอกําหนดในผังเมืองรวมในขางตน เน่ืองจาก ตราเปน กฎกระทรวง ตราเปน กฎกระทรวง สามารถกาํ หนดบรเิ วณหา มกอ สราง ดดั แปลง รื้อถอน เคล่ือนยา ย และใชหรอื เปลยี่ นการใชอ าคารชนิดใดหรือประเภทใดในพน้ื ท่ที ี่มี ขนาดเล็กกวา เชน กรณขี องกลุมตึกแถว หรือพน้ื ท่ียา น และสามารถกาํ หนดรายละเอียดในการกอ สรางไดเ ปนลักษณะแบบ รปู ทรง (มาตรา 8 เพอ่ื ประโยชนแ หงความมั่นคงแขง็ แรง (มาตรา 43 ในกรณที ี่ปรากฏวาพ้ืนทใี่ ดมลี ักษณะ สดั สวน เนือ้ ที่ และทตี่ ง้ั ของอาคาร ซงึ่ สามารถประยกุ ตใหเขา กับรายละเอียดของอาคารท่ีตอ งการเก็บรกั ษาไว แตในทางปฏิบตั จิ นถงึ ปจ จุบนั ขอบญั ญตั ิทอ งถ่นิ กรุงเทพมหานครตามกฏหมายควบคมุ อาคารท่ีเก่ยี วขอ งกับประเด็นการอนุรักษ มักเปน การกําหนดการใช ความปลอดภัย การปองกนั อคั คภี ัย การสาธารณสขุ เปนพ้ืนทต่ี นน้าํ ลําธาร หรือมีระบบนิเวศนต าม ประโยชนท่ีดิน (ซ่ึงเปนเนือ้ หาท่ีควรกาํ หนดไวในผังเมอื งรวม) และความสูงสงู สดุ ของอาคารที่อนญุ าตใหกอสรางเอาไวเ ทาน้ัน สว น ใหญไมไดม รี ายละเอยี ดในเชงิ ลกั ษณะ รูปแบบ รูปทรงของอาคารแตอ ยา งใด การรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอม การผงั เมอื ง การ ธรรมชาตทิ แี่ ตกตางจากพน้ื ทอ่ี ่ืนโดยทว่ั ไป หรอื มี สําหรับมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในเขตพ้ืนที่คุมครองสิ่งแวดลอมน้ัน เปนการออกขอกําหนดตามพระราชบัญญัติ สถาปต ยกรรม และการอํานวยความสะดวกแก ระบบนิเวศนต ามธรรมชาติที่อาจถูกทําลาย หรอื สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 ซ่ึงมีการกําหนดองคประกอบไวอยางกวาง ๆ เชน การกําหนดการใช ประโยชนในที่ดิน การหามการกระทําหรือกิจกรรมใด ๆ ซ่ึงในสวนนี้เน้ือหาสวนใหญจะทับซอนกับขอกําหนดในผังเมืองรวม แต การจราจร ตลอดจนการอื่นท่ีจําเปน เพ่ือปฏิบตั ิตาม อาจไดรับผลกระทบกระเทอื นจากกิจกรรมตา ง ๆ สามารถกําหนดรายละเอียดไดอยางอิสระ ไมไดมีขอจํากัดในการกําหนดไดเฉพาะเนื้อหาท่ีกําหนดไวตามกฎหมายอยางใน กฎกระทรวงและขอบัญญตั ิทอ งถ่ินที่ออกตามกฎหมายควบคุมอาคาร เชนในพ้ืนท่ีจังหวัดภูเก็ตมีการกําหนดรอยละของพื้นทวี่ า ง พระราชบญั ญัตนิ ี้ ใหรฐั มนตรีโดยคําแนะนําของ ของมนษุ ยไ ดโ ดยงา ย หรอื เปนพื้นทีท่ ่มี คี ณุ คา ทาง สําหรับอาคารที่เปนไปตามลักษณะสถาปตยกรรมชิโนโปรตุเกสไวแตกตางจากอาคารทั่วไป เพื่อสนับสนุนใหมีการกอสรางและ ปรับปรุงอาคารใหมีรูปแบบที่กลมกลืมกัน นอกจากนั้นยังสามารถกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวน คณะกรรมการควบคุมอาคาร มอี ํานาจออก ธรรมชาตหิ รือศลิ ปกรรมอันควรแกการอนุรักษ และ ราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรือเอกชนท่จี ะทาํ การกอสรา งหรอื ดาํ เนินการในพื้นที่นน้ั ใหมหี นา ทตี่ อ งเสนอรายงานการวิเคราะหผลกระทบ ส่ิงแวดลอมได ซง่ึ สามารถกําหนดเงือ่ นไขของโครงการหรอื กิจการใหล ะเอยี ดเพ่อื ใหห นวยงานทีร่ บั ผิดชอบ ไดแ ก สาํ นกั งานนโยบาย กฎกระทรวงกําหนด..) พน้ื ที่นั้นยังมไิ ดถ ูกประกาศกาํ หนดใหเ ปนเขต และแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอมสามารถพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมของโครงการไดอ กี ดว ย อนุรักษ ใหร ฐั มนตรีโดยคาํ แนะนําของ ดังนั้น ชองทางทเี่ หมาะสมสาํ หรบั การนาํ แนวทางการอนุรกั ษเมืองมาบังคบั ใชใหม ีผลทางกฎหมาย ไดแ ก กฎกระทรวงหรือ ขอบัญญัตทิ องถิน่ ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และการกําหนดเขตพ้ืนที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมตาม ตราเปน ขอ บัญญตั ทิ องถิ่น คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหง ชาตมิ ีอาํ นาจออก พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 ซ่ึงมีรายละเอียดและจุดแข็งจุดออนในการบังคับใชที่ แตกตางกันดังน้ี (มาตรา 9 ในกรณีทไี่ ดม ีการออกกฎกระทรวง กฎกระทรวงกําหนดใหพื้นท่นี ้ันเปนเขตพนื้ ท่ี กาํ หนดเร่อื งใดตามมาตรา 8 แลว ใหราชการสวน คมุ ครองสงิ่ แวดลอ ม) ทองถน่ิ ถือปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวงน้ัน ... ในกรณีทยี่ งั มไิ ดม ีการออกกฎกระทรวงกําหนดเรอ่ื ง ตราเปนประกาศกระทรวง ใดตามมาตรา 8 ใหราชการสว นทองถิ่นมอี ํานาจ (มาตรา 45 ในพน้ื ทีใ่ ดทไ่ี ดมีการกําหนดใหเ ปนเขต ออกขอ บัญญัติทองถิ่นกําหนดเรอื่ งนนั้ ได อนุรักษ เขตผังเมืองรวม เขตผังเมอื งเฉพาะ เขต ในกรณีที่ไดม ีการออกขอบัญญตั ทิ อ งถิ่นกําหนด ควบคมุ อาคาร เขตนคิ มอุตสาหกรรม ตามกฎหมาย เรอ่ื งใดตามวรรคสองแลว ถาตอมามีการออก วาดว ยการนั้น หรอื เขตควบคมุ มลพษิ ตาม กฎกระทรวงกําหนดเรื่องนั้น ใหข อกําหนดของ พระราชบญั ญตั ินไี้ วแลว แตป รากฏวา มีสภาพ ขอบญั ญตั ิทองถิ่นในสวนทข่ี ัดหรอื แยงกบั ปญ หาคุณภาพสง่ิ แวดลอมรุนแรงเขา ข้ันวกิ ฤตซ่งึ กฎกระทรวงเปน อนั ยกเลิก ... จําเปน ตองไดร บั การแกไขโดยทันที และสว น มาตรา 10 ราชการท่เี ก่ียวของไมมีอํานาจตามกฎหมายหรือไม ในกรณีทีไ่ ดมีการออกกฎกระทรวงกําหนดเร่ืองใด สามารถที่จะทําการแกไขปญ หานีไ้ ด ใหร ฐั มนตรี ตามมาตรา 8 แลว ใหร าชการสวนทองถิ่นมีอํานาจ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสงิ่ แวดลอ ม ออกขอ บัญญัตทิ อ งถ่ินในเรอื่ งน้ันไดใ นกรณี แหงชาติ เสนอตอคณะรฐั มนตรขี ออนมุ ัติเขา ดงั ตอ ไปน้ี ดําเนินการเพอื่ ใชมาตรการคุมครองอยา งใดอยาง (1) เปนการออกขอ บัญญัติทอ งถิ่นกําหนด หนึ่งหรอื หลายอยางตามมาตรา 44 ตามความ รายละเอยี ดในเรื่องน้ันเพ่ิมเตมิ จากทีก่ ําหนด จําเปน และเหมาะสม เพอ่ื ควบคุมและแกไขปญหา ไวใ นกฎกระทรวงโดยไมขัดหรือแยงกบั ในพนื้ ที่นั้นได กฎกระทรวงดงั กลา ว สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม
แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร - ยุทธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา ข-3 ชอ งทางทงั้ สองเปน ทางเลือกสาํ หรบั การนําเอาแนวทางการอนุรกั ษเ มืองทสี่ มควรจดั ทําในระดบั ยา นมาใชบ งั คบั ดวยตัวบท รายการ กฏกระทรวง / มาตรการคมุ ครองส่งิ แวดลอม กฎหมาย ซง่ึ พืน้ ทก่ี รงุ รตั นโกสินทรต องการรายละเอียดเพ่มิ เตมิ มากกวา ทมี่ อี ยใู นปจ จบุ นั เชน การควบคมุ ความสงู อาคารในบางพน้ื ที่ การประกาศขอบเขต ขอบญั ญตั ิทองถนิ่ (ควบคุมอาคาร) (พ้นื ที่คุมครองส่ิงแวดลอ ม) อาจจําเปน ตองกําหนดใหการควบคุมมคี วามเขม ขนเพิ่มขึ้น เพ่อื ปอ งกันผลกระทบจากการกอ สรา งดานหลังทีอ่ าจทําใหแ หลงมรดก (2) เปน การออกขอ บัญญตั ทิ อ งถ่ินกําหนดเร่อื ง วัฒนธรรมเส่ือมคุณคาไปได หรอื อาจกาํ หนดใหม รี ายละเอียดเพิม่ เตมิ เชน รปู แบบดานหนาอาคาร รปู แบบชองเปด ของอาคาร เพ่ือให น้ันขดั หรือแยง กบั กฎกระทรวงดังกลาว เมอ่ื ไดรบั อนุมตั ิจากคณะรฐั มนตรีตามวรรคหนึ่ง การกอ สรา งและปรบั ปรุงอาคารมีความกลมกลนื และรกั ษาอัตลักษณข องพน้ื ท่ีเอาไวไ ด ดังเชน ในภาพประกอบ เน่ืองจากมคี วามจําเปน หรอื มีเหตผุ ลพเิ ศษ แลว ใหรฐั มนตรีประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เฉพาะทองถนิ่ กาํ หนดเขตพนื้ ท่รี ายละเอยี ดเกยี่ วกบั มาตรการ ภาพตวั อยางแนวทางการอนุรกั ษเมืองเก่ยี วกบั การกําหนดความสูงเพอ่ื รกั ษาภูมิทศั นของอาคารอนรุ ักษ คุมครองและกําหนดระยะเวลาท่ีจะใชมาตรการ การออกขอบัญญัตทิ องถ่ินตาม (2) ใหมีผลใชบังคับ คุมครองดังกลาวในพ้นื ที่นั้น) ไดเมือ่ ไดร บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ ควบคุมอาคารและไดร ับอนมุ ตั จิ ากรฐั มนตรี) รายละเอยี ด ตายตวั (ระบุไวในมาตรา 8) ไมต ายตัว (กฎหมายเขยี นไวอยางกวา ง ๆ) การใชงานในปจจบุ ัน สวนใหญเปน การควบคมุ ความสูงของการกอ สรา ง การใชป ระโยชนท่ีดิน / สัดสว นของพื้นที่โลง การควบคุมความสูงของการกอสรางและดดั แปลง และดัดแปลงอาคาร อาคาร การควบคุมปาย การควบคมุ ปาย กลไกการพิจารณา พจิ ารณาตามเน้อื หาทร่ี ะบไุ วใ นกฎกระทรวงหรอื กรณีทเ่ี ปนการเสนอรายงานการวิเคราะห ขอบัญญัตทิ องถน่ิ ตามลายลกั ษณอ กั ษร การขออนญุ าตกอสราง ผลกระทบสิ่งแวดลอมเปนการพจิ ารณาโดย อาคาร คณะกรรมการ จดุ แข็ง เปน การควบคุมการกอสรางและปรบั ปรุงอาคาร เนือ้ หาในพระราชบญั ญตั เิ ปนการกาํ หนดกรอบไว จดุ ออน เปนสาํ คัญ สามารถกาํ หนดพื้นท่ี และรายละเอยี ดได กวาง ๆ สามารถสรา งรายละเอียดอยา งอสิ ระ ตามหัวขอทรี่ ะบไุ วใ นพระราชบัญญตั ิ สาํ หรบั การสง เสริมใหม ีการปรบั ปรงุ สิ่งแวดลอมใน แตละพ้นื ทีไ่ ด และมกี ลไกการจดั ทาํ รายงาน วเิ คราะหผ ลกระทบส่ิงแวดลอมเสรมิ ในการ พจิ ารณาความเหมาะสมของโครงการ โดยไม จําเปน ตองกําหนดขอ กําหนดอยางตายตวั เปน การกําหนดมาตรฐานแบบตายตัว ทําใหเจาของ มคี วามยงุ ยากในการสรา งรายละเอียดของมาตรการ อาคารทีไ่ มเปนไปตามมาตรฐานไมสนใจท่จี ะ ใหส ามารถกระตนุ ใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงอยาง กอสรางใหมห รอื ปรับปรุงอาคาร เน่ืองจาก เหมาะสมได ขอกําหนดทเ่ี ขม งวดอาจทาํ ใหพ ้ืนที่ใชสอยลดลงจาก ท่เี ปนอยใู นปจจุบัน ภาพตวั อยางแนวทางการอนุรักษเ มืองเกยี่ วกบั การกําหนดชองเปด ของอาคารในบางบรเิ วณ (ทมี่ า: สํานกั ผังเมอื ง กรุงเทพมหานคร, โครงการจางท่ีปรกึ ษาประจําเพอื่ สํารวจ วางผัง ออกแบบรายละเอยี ด ประเมินราคาสาํ หรับงานผงั เมือง ปงบประมาณ 2558) สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม
ข-4 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร– ยทุ ธศาสตรก ารอนุรักษและพฒั นา ในตา งประเทศมีการนาํ แนวทางการอนุรักษเมอื งมาใชในการพิจารณาเพือ่ การอนญุ าตกอ สรางหรือปรับปรงุ อาคาร โดยใช พ้นื ท่ีท่สี มควรจดั ทาํ แนวทางการอนรุ ักษเมอื ง (Urban Conservation Guideline) เอกสารดังกลา วเปนแนวทางพิจารณาโดยอาํ นาจของคณะกรรมการภูมิทศั นเมือง ซ่ึงมีอํานาจในการใชวิจารณญาณเพอ่ื พิจารณา ความเหมาะสมของโครงการตามท่ีผูดําเนินโครงการย่นื เร่ืองมาเพ่อื พจิ ารณา แนวทางการอนุรักษเ มืองดังกลาวนี้ ไมไดเปนเอกสาร พืน้ ท่ี บริเวณยอ ย ประเด็นการจดั ทาํ แนวทางการอนรุ กั ษเมือง ภายในหนวยงานท่ีมีอํานาจหนาที่ในการพจิ ารณาเทา นั้น แตเปนเอกสารทเ่ี ปด เผยตอสาธารณะ เพ่ือผูดาํ เนินโครงการจะไดใ ชเปน (3) บริเวณถนนราชดาํ เนิน ถนนราชดําเนนิ กลาง - ควบคุมรูปแบบดา นหนาอาคารบรเิ วณกลุม อาคารทม่ี คี ุณคา แนวทางในการวางผงั และออกแบบ เพ่อื เสนอโครงการทม่ี คี ุณภาพและเหมาะสมกบั สภาพแวดลอม และไมทาํ ลายคุณคาของแหลง - ควบคมุ ปา ยโฆษณา มรดก ในอนาคตจึงควรจะมีการพิจารณาใหมีการใชวิจารณญาณในการพิจารณาโครงการที่ดําเนินการในพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทร กลาง-ผานฟา เชนกัน โดยไมแบงแยกโครงการของภาครัฐหรือของภาคเอกชน หากแตตองมีการจัดทําแนวทางการอนุรักษเมืองในระดับยาน ถนนตะนาว - ควบคุมความสูงเพมิ่ เตมิ เพื่อรักษาความตอเนอ่ื งของตึกแถวริมถนน และ มกี ระบวนการแตง ตัง้ คณะกรรมการผูทรงคณุ วฒุ แิ ละกระบวนการพจิ ารณาทีเ่ ปด เผย รวมถึงมีการปรับปรงุ กฎหมายเพ่อื ใหม ีข้ันตอน ดงั กลา วในระบบ ทง้ั นพ้ี ืน้ ที่ยานทสี่ มควรใหมีการจัดทาํ แนวทางการอนุรกั ษเ มอื งในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร สามารถสรปุ ไดด ังน้ี ซอยทสี่ ําคัญ - ควบคมุ รูปแบบดา นหนาอาคารบรเิ วณกลุมอาคารท่ีมีคุณคา - ควบคมุ ปา ยโฆษณา ตึกแถวบรเิ วณแพรง นรา - ควบคุมความสงู เพ่มิ เตมิ เพ่ือรักษาความตอเน่ืองของตึกแถวรมิ ถนน และแพรงภูธร - ควบคมุ รปู แบบดานหนาอาคารบรเิ วณกลุมอาคารทม่ี ีคุณคา - สง เสริมการปรบั ปรงุ อาคารอ่ืน ๆ ใหม ีขนาดและรปู แบบที่สอดคลองกบั พน้ื ท่ที ีส่ มควรจดั ทาํ แนวทางการอนรุ ักษเ มอื ง (Urban Conservation Guideline) บริบทโดยรวมของพน้ื ที่ พื้นท่ี บริเวณยอย ประเดน็ การจัดทาํ แนวทางการอนุรกั ษเ มือง - ควบคุมปา ยโฆษณา กรุงรัตนโกสินทร - - ทบทวนการควบคุมความสูงทุกพืน้ ท่ี (อาจใหเ หลอื ทางเลือกเพยี ง 16 (ภาพรวม) เมตร และ 23 เมตร) ถนนบาํ รงุ เมือง - ควบคุมความสงู เพมิ่ เตมิ เพ่ือรกั ษาความตอ เนื่องของตึกแถวรมิ ถนน - ควบคุมรปู แบบดา นหนาอาคารบรเิ วณกลุมอาคารท่ีมีคุณคา (1) บริเวณ ทาชาง– ทา พระจันทร - ควบคุมความสงู เพิม่ เติม เพื่อรกั ษาความตอเนอ่ื งของตึกแถวริมถนน - สงเสริมการปรบั ปรงุ อาคารอ่นื ๆ ใหมีขนาดและรูปแบบที่สอดคลองกับ - ควบคุมรูปแบบดา นหนาอาคารบริเวณกลมุ อาคารท่ีมีคุณคา พระบรมมหาราชวงั - สง เสรมิ การปรบั ปรงุ อาคารอ่นื ๆ ใหมขี นาดและรูปแบบทีส่ อดคลองกับ บริบทโดยรวมของพ้ืนที่ - ควบคุมปายโฆษณา (กรุงรตั นโกสินทรชนั้ ใน) บรบิ ทโดยรวมของพ้นื ที่ - ควบคมุ ปา ยโฆษณา (4) บรเิ วณยานเสาชิงชา ถนนบํารุงเมอื ง - ควบคุมความสงู เพิ่มเติม เพื่อรักษาความตอ เนื่องของตึกแถวรมิ ถนน - ควบคุมรปู แบบดานหนาอาคารบรเิ วณกลุม อาคารทมี่ คี ณุ คา ทาเตียน - ควบคมุ ความสงู เพม่ิ เติม เพื่อรักษาความตอ เนื่องของตึกแถวรมิ ถนน และ ซอยทีส่ ําคญั - สง เสริมการปรับปรงุ อาคารอ่นื ๆ ใหม ีขนาดและรูปแบบทส่ี อดคลองกับ - ควบคุมรูปแบบดานหนาอาคารบริเวณกลุมอาคารท่ีมีคุณคา บริบทโดยรวมของพื้นท่ี - สง เสริมการปรบั ปรงุ อาคารอื่น ๆ ใหม ีขนาดและรูปแบบท่ีสอดคลองกับ - ควบคมุ ปายโฆษณา บริบทโดยรวมของพ้ืนท่ี ถนนเฟองนคร - ควบคุมความสงู เพ่มิ เตมิ เพื่อรักษาความตอเน่อื งของตึกแถวรมิ ถนน - ควบคมุ ปายโฆษณา - ควบคมุ รูปแบบดา นหนาอาคารบริเวณกลุม อาคารทมี่ ีคุณคา (2) บรเิ วณยานบางลําพู ถนนตะนาว - ควบคุมความสงู เพมิ่ เตมิ เพ่ือรักษาความตอ เน่ืองของตึกแถวริมถนน และ - สงเสรมิ การปรับปรงุ อาคารอืน่ ๆ ใหม ีขนาดและรปู แบบท่สี อดคลองกับ ซอยท่ีสําคัญ บริบทโดยรวมของพื้นท่ี - ควบคมุ รูปแบบดานหนาอาคารบริเวณกลุม อาคารที่มคี ุณคา - ควบคมุ ปา ยโฆษณา - ควบคมุ ปายโฆษณา ถนนเจริญกรงุ - ควบคมุ ความสูงเพิ่มเตมิ เพื่อรกั ษาความตอ เน่ืองของตึกแถวรมิ ถนน - ควบคุมรูปแบบดานหนาอาคารบริเวณกลุมอาคารท่มี คี ณุ คา - สง เสริมการปรบั ปรงุ อาคารอนื่ ๆ ใหมีขนาดและรูปแบบทส่ี อดคลองกับ บรบิ ทโดยรวมของพ้นื ท่ี - ควบคมุ ปา ยโฆษณา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262