Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

Published by oldtown.su.research, 2021-09-28 14:15:59

Description: แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์
เล่ม ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนา

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords: แผนผังแม่บท,การอนุรักษ์และพัฒนา,กรุงรัตนโกสินทร์

Search

Read the Text Version

แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ กั ษแ ละพัฒนา 3-27 โครงการ 3.1.5 โครงการฉายไฟสอ งสวา งอาคารสําคัญ และพืน้ ท่สี าธารณะ ยทุ ธศาสตร 3 ดานภูมทิ ัศน / แผนงาน 3.1 การปรับปรงุ ภมู ทิ ศั นเมอื ง รายละเอียดโครงการ ฉายไฟสอ งโครงสรา งเมืองเกา และแหลงมรดกสําคัญใหดูนาประทับใจเมอ่ื มองจากทางสัญจรสําคัญในยาม ค่าํ คนื กิจกรรมท่สี าํ คัญของ - ออกแบบการจัดฉายไฟสองสวา ง โครงการ - ติดต้ังระบบและดวงไฟสอ งสวา ง ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พื้นท่ี / สถานท่ี ดาํ เนินงาน ระยะท่ี 1 (ปที่ 1-5) ทา นาํ้ ศิรริ าช พิพธิ ภณั ฑศริ ิราชพมิ ุขสถาน ราชนาวิกสภา วัดระฆังโฆสติ าราม ศาลหลักเมือง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ พระนคร กรมแผนท่ีทหาร สถานตี าํ รวจพระราชวัง อาคารโดมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สะพานสมเด็จพระปนเกลา สะพานใน แนวคลองคเู มอื งเดิม วัดสุทศั นเทพวราราม ติดต้ังไฟสอ งสวา งสาธารณะ (ไฟริมถนน แมน ํ้า คลอง) ระยะท่ี 2 (ปที่ 6-10) อนสุ าวรยี ประชาธิปไตย ลานพลบั พลามหาเจษฎาบดินทร ปอ มมหากาฬ วัด ราชนัดดาราม วัดเทพธิดาราม วัดสระเกศ เสาชิงชา อนุสาวรียรัชกาลที่ 1 สะพานพระพุทธยอดฟา ปอมพระสุเมรุ พระที่น่ังสันติชัยปราการ วัดบวร นเิ วศวหิ าร ระยะท่ี 3 (ปท่ี 11-15) สะพานพระราม 8 พระบรมราชานุสาวรียรัชกาลท่ี 8 อาคารริมถนน ราชดําเนินนอก วังบางขุนพรหม วัดกัลยาณมิตร ศาลเจาเกียนอันเกง โบสถซางตาครสู อาคารสํานกั เทศกิจ วัดประยรุ วงศาวาส งบประมาณ ติดต้งั ระบบและดวงไฟสอ งสวา งบริเวณท่ดี าํ เนินการในระยะที่ 1 49.0 ลา นบาท ตดิ ตั้งระบบและดวงไฟสองสวา งบรเิ วณทด่ี ําเนินการในระยะที่ 2 42.0 ลานบาท ตดิ ต้ังระบบและดวงไฟสองสวางบรเิ วณที่ดําเนนิ การในระยะท่ี 3 56.0 ลานบาท ตดิ ตัง้ ไฟสอ งสวา งสาธารณะ (ไฟริมถนน แมน้ํา คลอง) ระยะที่ 1 1,424.43 ลานบาท รวม 1,571.43 ลานบาท แผนท่ี 3-15 พ้ืนที่ฉายไฟสองสวางอาคารสาํ คัญ และพน้ื ที่สาธารณะ แหลง ท่มี าของงบประมาณ กรมการทองเท่ยี ว กรงุ เทพมหานคร หนวยงานท่ีรับผดิ ชอบ กรมการทอ งเที่ยว กรุงเทพมหานคร (สํานักการโยธา / สํานักวฒั นธรรม กีฬา และการทอ งเท่ยี ว) หนวยงานทเี่ กี่ยวขอ ง การไฟฟา นครหลวง การทองเทย่ี วแหง ประเทศไทย กรมศิลปากร ผทู รงสิทธิในแหลง มรดก ผูใ ชง านแหลง มรดก ผลทคี่ าดวา จะไดร บั ไดภ ูมิทศั นเมืองประวัติศาสตรท ่ีนา ประทับใจในยามคํ่าคืน ประเภทโครงการ การดําเนนิ การตามอํานาจหนาทข่ี องหนวยงาน ทีม่ า : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/ ทมี่ า : By Fotograf / Photographer: Heinrich Damm (User:Hdamm, ความสําคญั ความสําคัญลําดับที่ 3 สมควรดําเนินการ commons/4/43/Phra_Sumen_Fort%2C_Bangkok_2.jpg Hdamm at de.wikipedia.org) - งานของตัว, CC BY 2.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=390044 ลกั ษณะการดาํ เนินการ มีการดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ กายภาพเปน หลกั ภาพท่ี 3-20 ตวั อยางการฉายไฟสองสวางอาคารสาํ คัญ สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3-28 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ กั ษและพฒั นา โครงการ 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาตน ไมใหญ รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 3 ดา นภูมิทศั น / แผนงาน 3.2 การบริหารจัดการภูมิทศั นเมอื ง กิจกรรมที่สาํ คัญของ จัดต้ังหนวยงานดานรุกขกรรมโดยเฉพาะหรอื มอบหมายหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพื่อดแู ลตนไมโดยเฉพาะ โครงการ และจดั ทาํ งบประมาณ โครงการ เพอื่ จา งและสรางบุคลากรเพ่ือเปนรุกขกรและคนงานทไี่ ดรับการอบรม ระยะเวลาและสถานท่ี ดาํ เนินงาน เพื่อการดแู ลรักษาตนไมข ้ึนในหนวยงาน มแี ผนจดั การและเพมิ่ พูนความรูค วามเชย่ี วชาญ จัดหาอปุ กรณ งบประมาณ และเคร่ืองมือเพื่อการดูแลตนไมใหญ ติดต้ังซอฟแวรระบบการดูแลรักษาตนไมใหญในเมือง (เชน ArborSoftWorx, ArborPro, TreePro) จัดทําฐานขอมูลตนไมใหญในพ้ืนท่ีเพ่ือใชสําหรับ การตดิ ตามการดแู ลรกั ษา วางแผนการดูแลรักษาตน ไมรายพื้นท่ี รายตน เปนรายป - สรางบุคลากรทีเ่ ปนรุกขกรและคนงานระดบั ตาง ๆ ในปรมิ าณท่ีเหมาะสม - จดั ตั้งหนว ยงานภายในสํานักส่ิงแวดลอมกรุงเทพมหานครเพ่อื ดูแลตนไมใ หญเปนการเฉพาะแยกจาก การดแู ลรกั ษาตน ไมในระดับอ่ืน ๆ และเพอ่ื สนับสนุนการดแู ลตน ไมใหญของภาครัฐและภาคเอกชน จัดหาเครื่องมือ จดั หาบุคลากรท่ีมคี วามรูค วามเชี่ยวชาญในการดแู ลตนไมใหญเ พ่ือใหค วามรแู ละใหบรกิ าร - ติดตง้ั ซอฟแวรเ พอื่ การดูแลรักษาตนไมใ นเมืองเพอื่ ใชป ระกอบกบั ฐานขอมูลตนไมใ หญในระบบ GIS - จัดหาอุปกรณและเคร่อื งมอื เพ่ือการดูแลตน ไมในเมืองท่มี ีความทันสมัยเหมาะสมกบั สภาพเมือง - จัดทาํ ระบบจัดการขยะอินทรียท ไ่ี ดจากการดูแลรักษาตน ไมทีส่ มดุลกับปรมิ าณตนไม ชวงระยะเวลา พื้นที่ / สถานท่ี ระยะท่ี 1 (ปท ี่ 1-5) บริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทรช ั้นใน ระยะที่ 2 (ปท ี่ 6-10) บริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรช ัน้ นอก บริเวณฝง ธนบุรีตรงขา มบริเวณกรงุ รัตนโกสนิ ทร บรเิ วณพืน้ ทต่ี อเน่ืองบรเิ วณกรุงรตั นโกสินทรช ้ันนอก การดําเนินการอบรม จัดตง้ั หนวยงาน ตดิ ต้ังซอฟแวร จัดหาอุปกรณ 40.0 ลา นบาท และจดั ทําระบบจดั การขยะอนิ ทรยี  ระยะที่ 1 การดําเนินการอบรม จัดตั้งหนวยงาน ตดิ ตั้งซอฟแวร จดั หาอปุ กรณ 40.0 ลานบาท และจัดทาํ ระบบจัดการขยะอินทรีย ระยะท่ี 2 รวม 80.0 ลา นบาท แหลง ทมี่ าของงบประมาณ กรุงเทพมหานคร หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานักส่งิ แวดลอ ม) หนว ยงานท่ีเกี่ยวของ กรมปา ไม ภาพที่ 3-21 แนวทางการวางระบบงานดแู ลรักษาตนไมใหญใหเหมาะสมในพื้นทอี่ นรุ กั ษ การไฟฟา นครหลวง ทม่ี า : https://www.facebook.com/thailandurbantreenetwork/ บริษัทโทรคมนาคมและการสอื่ สารท้ังภาครัฐและเอกชน อาทิ บริษทั ทโี อที จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) ฯลฯ ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ ตน ไมใ หญในพื้นท่มี ีความงาม สมบูรณ มนั่ คงแข็งแรง ปลอดภัย ใหรม เงา ใหสภาพอากาศทด่ี ี เสรมิ คณุ คา และสภาพแวดลอมทด่ี ใี หก ับภมู ิทศั นเมืองประวัติศาสตรไ ดอยางเตม็ ที่ ประเภทโครงการ การพฒั นากลไกใหม ความสําคัญ ความสาํ คญั ลาํ ดับท่ี 3 สมควรดาํ เนินการ ลกั ษณะการดาํ เนินการ มีการดาํ เนินการปรบั ปรงุ กายภาพควบคูไปกับมาตรการดา นเศรษฐกิจ-สงั คมและการจดั การ ภาพท่ี 3-22 ภาพกอนการพฒั นาบรเิ วณถนนราชดาํ เนนิ และตัวอยา งการดแู ลรักษาตน ไมใ นกรงุ ปารีส ท่มี า : http://www.th-arbor.com/blog/before-vs-after สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา 3-29 3.4 ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 ดา นการจราจร 3.4.3 กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ยุทธศาสตรดานการจราจรเปน การดาํ เนินการเพ่ือพัฒนาระบบการสญั จรภายในพ้ืนท่ีกรุงรัตนโกสนิ ทรใหมีประสิทธภิ าพ ในการดําเนนิ งานดานการจราจร สามารถจําแนกไดเ ปน กลยทุ ธ 3 ประการ ดงั นี้ 1) กลยทุ ธเชอ่ื มโยงโครงขา ยการสัญจรอยางเปน ระบบ และเปนมติ รกับแหลง มรดกและวถิ ีวฒั นธรรม มีการกําหนดกลยทุ ธใ นการเช่อื มโยงโครงขา ยการสัญจรอยา งเปนระบบ การสง เสริม กรุงรัตนโกสินทรและพื้นที่เก่ียวเนื่องจะมีรถไฟฟา ผาน 3 สาย (สายสีมวง สายสีนํ้าเงิน และสายสีสม) ซึ่งจะมีสถานีและ การสัญจรที่เปนมิตรตอ ส่ิงแวดลอม รวมถึงการพฒั นาจุดเปลี่ยนถายการสญั จรใหมีประสิทธิภาพเช่ือมโยงกบั การใชประโยชนท ีด่ ิน ประกอบดวย 3 แผนงานและโครงการรวมทัง้ ส้นิ 7 โครงการ โดยมีการจัดทาํ แผนผังแมบ ทการอนุรกั ษและพฒั นากรุงรัตนโกสินทร จุดเชื่อมตอสําคัญตาง ๆ ถึง 5 แหงในพ้ืนที่เปาหมาย (สถานีสนามไชย สถานีสนามหลวง สถานีผานฟา-อนุสาวรียประชาธิปไตย ดานการจราจร (แผนท่ี 3-16) มีรายละเอียดดังน้ี สถานีสามยอด-วังบูรพา และสถานีหัวลําโพง) ซ่ึงเปนจุดตัดระหวางรถไฟฟาดวยกันเอง หรือจุดตดั กับยานพาหนะประเภทอ่นื ๆ โดยจะเปนจุดที่เชื่อมโยงระหวางพื้นท่ีวางแผนกับพ้ืนที่ภายนอกไดอยางมีประสิทธิภาพ นําแรงงานและนักทองเที่ยวเขาออกจาก 3.4.1 สถานการณแ ละปญ หา พื้นที่ไปยังสวนอ่นื ๆ ของภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จึงควรมีการวางระบบเชื่อมตอ เพื่อสงถายประชาชนใหเขาและออก สถานการณและปญ หาปจ จบุ ันของประเดน็ ดา นการจราจรในการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร สรุปไดด งั น้ี จากสถานไี ดอ ยางสะดวก ปลอดภยั และไมสง ผลกระทบตอการสัญจรอื่น ๆ - ปญหาปรมิ าณรถยนตห นาแนน - ปญ หาระเบียบการจอดรถยนตส ว นตัว และรถบรกิ ารนักทอ งทย่ี ว ทัง้ น้ี มสี ถานรี ถไฟฟา 2 สถานีท่ถี ูกกําหนดใหมีโครงการทจ่ี อดรถสาธารณะเดิมอยูแลว ไดแ ก สถานีสนามไชย และ สถานี - ปญ หาการเช่ือมตอ การจราจรทเ่ี ปนโครงขา ย ศริ ริ าช โดยทจ่ี อดรถดังกลา วควรไดร ับการใชงานอยางคมุ คา มีการใชง านตลอด 24 ชวั่ โมง เพื่อรองรับธุรกจิ ตาง ๆ ในเวลากลางคืน - ปญ หาการใหบริการรถโดยสารประจําทางประเภทตาง ๆ ยงั ขาดประสทิ ธิภาพ ซง่ึ จะชว ยเพ่มิ สดั สว นการเดินทางดวยระบบขนสง มวลชน ลดปญ หาการจอดรถบนผิวจราจรและการขาดแคลนท่ีจอดรถ - ปญหาเสนทางจักรยานขาดประสิทธิภาพ - ปญ หาการสัญจรทางเรอื และทา เรอื ตา ง ๆ สว นสถานรี ถไฟฟา อน่ื ๆ จะไดรบั การออกแบบตามหลกั Transit Oriented Development (TOD) ท่ีมรี ปู แบบสอดคลอ ง กบั การเปน สถานใี นเขตกรุงรตั นโกสนิ ทร โดยจัดใหมีจุดรบั สง ผโู ดยสารและเปลย่ี นถายไปยงั ยานพาหนะประเภทอ่ืนอยา งสะดวกและ 3.4.2 กรอบแนวคดิ รวดเรว็ ใหสถานที าํ หนาทีเ่ ปนจดุ รวบรวมและกระจายการเดินทางอยางมปี ระสิทธิภาพ กระจายผูโ ดยสารออกไปยงั กจิ กรรมตา ง ๆ กรอบแนวคดิ การพฒั นาระบบการสัญจรภายในพนื้ ที่เปา หมาย คอื แนวคิดเร่ือง Green Historical and Cultural Moves โดยไมสนับสนุนใหเกดิ การกระจกุ ตวั รอบ ๆ สถานี จึงควรจัดใหมีจุดเปลย่ี นถายกบั รถประจําทาง รถรบั จางสาธารณะตาง ๆ รวมถงึ จุดจอดจกั รยานใหเชาและทางเดนิ เทา ออกไปสูจ ดุ หมายสาํ คัญโดยรอบอยางสะดวก เนื่องจากพนื้ ท่ีกรุงรัตนโกสินทรเปนพื้นท่ีทม่ี ีความสําคัญทั้งทางประวัตศิ าสตร วัฒนธรรม การบริหารการปกครอง จึงเปนพ้ืนท่ีตน ทางและปลายทางของการเดินทางจํานวนมาก ทั้งการสัญจรทางบกและการสัญจรทางนํ้า และเปนพ้ืนที่ตั้งอยูใจกลาง แมวาแผนผังการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรจะใหความสําคัญกับการสัญจรดวยยานพาหนะท่ีเปนมิตรกับ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลท่ีจะเปนทางผานไปยงั พื้นทอี่ นื่ ๆ ผนวกกับรูปแบบของเมืองเกาท่มี ีบล็อกถนนขนาดเล็ก จึงมีการ สงิ่ แวดลอ มเปนหลกั แตก ิจกรรมการทองเท่ยี วเชงิ ประวัติศาสตรและวฒั นธรรม รวมถงึ กิจการตา ง ๆ ในพื้นทยี่ งั ตอ งการสัญจรดว ย เขา ถงึ ทส่ี ะดวกท่วั ถงึ และสามารถรองรับทัง้ รถยนตส ว นตวั ขนสง มวลชน การสัญจรทางเทาและทางจกั รยานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ รถยนตสวนตัว รถขนสงสินคา และรถทัวรนักทองเท่ียวอยเู ปน จาํ นวนมาก จึงตอ งการท่จี อดรถทเ่ี หมาะสม ไมก ดี ขวางเสน ทางสัญจร อยางไรก็ตาม การมบี ลอ็ กขนาดเลก็ กท็ ําใหเ กดิ จุดตัดและทางแยกเปนจาํ นวนมากตามไปดวย จงึ มกี ารสญั จรทส่ี ะดวกแตไ มสามารถ ตาง ๆ โดยจะเปลีย่ นจากทจี่ อดรถบนพน้ื ผวิ จราจร (On-street Parking) ไปสูท่ีจอดรถแบบนอกพน้ื ผิวจราจร โดยการใชพ้ืนทจี่ อด สญั จรดวยความเรว็ สงู สง ผลดีและเหมาะกับการตงั้ ถน่ิ ฐาน กิจกรรมทไ่ี มตองการการเขาถึงดวยยานพาหนะขนาดใหญห รือการเขา ถงึ รถเดิมใหมีประสิทธิภาพมากข้ึนหรือปรับเปล่ียนอาคารที่ไมไดใชงานอยางมีประสิทธิภาพมาเปนที่จอดรถยนตและรถบริการ จํานวนมาก อกี ท้ังถนนสว นใหญเปนถนนทมี่ มี าตั้งแตสมัยรตั นโกสนิ ทรต อนตน ซงึ่ มเี ขตทางขนาดเลก็ ทําใหพ ืน้ ท่สี ัญจรทางถนนและ นักทอ งเท่ียว กลยุทธนีน้ าํ มาซงึ่ แผนงานดังตอไปน้ี ทางเทามีขอจํากัดตามไปดวย และการมีตําแหนงท่ีตั้งอยูใจกลางของกรุงเทพมหานครและอยูริมแมนํ้าเจา พระยา จึงมีถนนสาย ประธานผานกลางพื้นที่กรงุ รัตนโกสินทรเพ่ือเชื่อมตอระหวางฝง กรุงเทพมหานครกับฝงธนบุรี อีกท้ังยังมีถนนสายหลักในลักษณะ แผนงาน 4.1 การเชือ่ มโยงโครงขา ยการสัญจร วงแหวนลอมรอบพ้ืนท่ี สงผลใหพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทรและพื้นท่ีเกี่ยวเนื่องมีเสนทางสัญจรสายรัศมีและวงแหวนอยางสมบูรณ วัตถุประสงค : สามารถจัดการจราจรเพื่อรองรับยานพาหนะแบบมีเครื่องยนตทุกประเภทไดอยางสะดวก สวนถนนสายรองเปนถนนที่เขาถึง กิจกรรมตาง ๆ ภายในพื้นที่ มีแนวคิดใหเปนถนนเพ่ือยานพาหนะแบบมีเครื่องยนตขนาดเล็กควบคูไปกับขนสงมวลชนในเมือง - เพอ่ื อํานวยความสะดวกตอการเดินทางเขาและออกจากกรงุ รัตนโกสินทรด ว ยระบบขนสงมวลชน มกี าร การเดินเทาและการขี่จักรยาน ออกแบบใหมีความรมร่ืน มีทางเทากับทางสัญจรแยกออกจากกันอยา งเปนมติ รตอ ประชาชนและ สงถายผูโดยสารระหวางรถไฟฟาซึ่งเปนระบบขนสง มวลชนสายหลัก กับระบบการสัญจรอนื่ ๆ ซ่ึงเปน กิจกรรมโดยรอบ และแยกออกเปนถนนซอยหรือถนนสายทองถ่ินท่ีเขาสูชุมชนและบานเรือน ซ่ึงเปนถนนท่ีมีเขตทางขนาดเลก็ ระบบรองไดอยา งสะดวก ที่ไมสามารถแยกชองทางการสญั จรระหวางยานพาหนะแบบมีเครื่องยนตก ับไมมีเครื่องยนตออกจากกันได จึงตองออกแบบดวย - เพื่อเพิ่มพ้ืนที่จอดรถโดยไมสงผลกระทบตอการสัญจรตามปกติ ดวยการจัดหาพื้นที่สําหรับจอดรถ หลกั การ Traffic Calming ใหยานพาหนะทุกประเภทสญั จรบนชองทางเดียวกันไดอ ยางสะดวก ปลอดภยั และเปนมิตรตอ กันและ ที่สามารถเชื่อมโยงกับพ้ืนที่สําคัญตา ง ๆ ไดอยางสะดวก ตั้งอยูบนถนนสายประธานหรือสายหลักเพื่อ กัน สามารถวนมารบั ผูโดยสารไดอ ยา งสะดวก แนวทางการดาํ เนินงาน : - การสง เสริมการเชื่อมตอ ยานพาหนะตางประเภท - การทดแทนทจ่ี อดรถบนพน้ื ผิวจราจร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม

3-30 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพฒั นา 2) กลยทุ ธสง เสรมิ การสัญจรที่เปนมติ รตอสิง่ แวดลอ มในพ้นื ทีก่ รงุ รัตนโกสนิ ทร 3) กลยทุ ธพ ฒั นาจุดเปลย่ี นถายการสญั จรใหมีประสทิ ธภิ าพเช่อื มโยงกับการใชประโยชนทดี่ นิ บริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันในเปนพนื้ ทีส่ าํ คญั ทางประวตั ิศาสตรแ ละวัฒนธรรม เปน พืน้ ทีป่ ระกอบพระราชพธิ สี าํ คัญตา ง ๆ ในพืน้ ที่กรุงรัตนโกสินทรแ ละพืน้ ทเี่ กีย่ วเน่อื งเปนพืน้ ทที่ ีม่ ีการต้ังถ่ินฐานยาวนาน มเี อกลกั ษณ มีคณุ คาทงั้ ทางประวัตศิ าสตร และเปนแหลงทองเท่ียวทม่ี ชี ่ือเสียงในระดบั สากล จึงมปี รมิ าณการสัญจรหนาแนน แตม พี ืน้ ทร่ี องรบั การสญั จรไมมากนกั พ้นื ท่ีสาํ คญั และเศรษฐกจิ เฉพาะอยูเปน จํานวนมาก เชน ถนนเยาวราช ถนนขาวสาร เวง้ิ นาครเขษม สําเพง็ เปน ตน พ้นื ทีเ่ หลา น้ีตองการจดั การ ตาง ๆ อยูในระยะที่สามารถเดินเทาถึงกันได จึงเสนอมาตรการหามนํารถยนตสวนบุคคลเขาพ้ืนที่กรุงรัตนโกสินทรชั้นใน และ จราจรแบบพเิ ศษเพอ่ื รองรบั ความตองการของกลมุ เปาหมาย และการขนสงสินคา รวมถึงการอยอู าศัยอยา งมีประสทิ ธิภาพ จําเปนตองมรี ะบบขนสงมวลชนเฉพาะพื้นที่เพื่อทดแทนการสญั จรดวยยานพาหนะสวนบคุ คล โดยจัดใหมีรถโดยสารที่มีรูปแบบที่ พื้นทกี่ รุงรตั นโกสินทรมีลกั ษณะภูมปิ ระเทศทม่ี แี มนํ้าไหลผานกลางพ้ืนท่ี อีกท้งั การคมนาคมในอดตี สว นใหญใชแมน้ําและ สอดคลอ งกับบรรยากาศใหบ ริการเวียนอยูในพื้นที่ โดยมจี ดุ จอดทีเ่ หมาะสมกบั การเชื่อมตอ กับพ้ืนท่ภี ายนอกอยา งเหมาะสม ทาํ ให ระบบคลองในการสัญจร ถึงแมวาปจ จบุ นั รูปแบบการคมนาคมมีการเปล่ยี นแปลง มีการใชการคมนาคมทางถนนและทางรางเปน การสัญจรระหวา งแหลงทองเท่ยี วสาํ คัญตา ง ๆ ในพ้ืนทเ่ี ปาหมายเปนไปอยา งสะดวก นอกจากนนั้ เนอื่ งจากพื้นที่เปา หมายเปนพืน้ ที่ หลัก แตการคมนาคมทางนํ้ายงั คงมีการใชงานอยู อาทิ เรือดวนเจาพระยา เช่ือมระหวางจังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร ซ่ึง ศูนยกลางเมืองสงผลใหมีการสัญจรผานระหวางฝงกรุงเทพมหานครกับฝงธนบุรีจํานวนมาก อยางไรก็ตาม รัฐบาลและ ยงั คงมกี ารใชง านอยา งหนาแนน และมีศกั ยภาพเพยี งพอกบั การเชือ่ มตอ เขา กบั ระบบคมนาคมอนื่ ๆ ซง่ึ ปจจบุ ันยงั ขาดการเชอ่ื มตอ กรุงเทพมหานครไดม กี ารกอสรางสะพานขามแมน าํ้ เจา พระยาเพม่ิ ขึน้ อกี หลายแหง แลว ประชาชนจงึ มที างเลือกในการสญั จรระหวา ง ระบบการสญั จรท่ดี ี จึงจาํ เปนตองมีการจัดการจุดเปลยี่ นถายการสญั จรระบบคลอง ระบบถนน และระบบรางใหเ ชือ่ มตอกันอยางมี กรุงเทพมหานครกับธนบุรไี ดโดยไมตองผา นพื้นทเ่ี ปา หมาย ดังนนั้ จงึ ควรจาํ กัดการสญั จรผานพ้ืนที่ดวยมาตรการทางการเงนิ เพื่อให ประสิทธภิ าพ กลยทุ ธน นี้ าํ มาซง่ึ แผนงานดงั ตอไปน้ี มีปรมิ าณการสญั จรที่สอดคลองกบั บรรยากาศของพน้ื ที่ กลยทุ ธนน้ี ํามาซ่ึงแผนงานดังตอไปนี้ แผนงาน 4.3 การออกแบบ พัฒนา และปรบั ปรงุ จุดเปล่ยี นถา ยการสัญจร แผนงาน 4.2 การสนบั สนนุ การเดนิ เทา และการใชจกั รยาน วตั ถุประสงค : วตั ถุประสงค : - เพื่อลดปรมิ าณการสัญจรผานพ้ืนที่เปาหมายดว ยมาตรการทางการเงนิ มีความสะดวกในการสญั จรใน - เพอื่ ลดความแออัด สรา งความปลอดภยั ในการสัญจรทางเทา และสรา งรูปแบบการสญั จรท่เี หมาะสมกับ พน้ื ที่ และมปี รมิ าณการสญั จรทเี่ อื้ออํานวยตอ บรรยากาศของเมืองอนุรกั ษป ระวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรม บรรยากาศของพ้ืนท่ี อยางไรก็ตาม พ้ืนท่ีดงั กลาวยังตอ งการการเขา ถึงดว ยยานพาหนะแบบมีเครื่องยนต - เพ่อื พัฒนาทาเรอื ใหเ ปน จดุ เชอื่ มตอ สญั จรทางน้ําที่ประชาชนไดรับความสะดวก ปลอดภัย และปรบั ปรุง บางประเภท เชน รถประจําทาง รถรับจางสาธารณะ รถบริการตา ง ๆ (รถเก็บขยะมูลฝอย รถดบั เพลิง รปู แบบสถาปตยกรรมใหม ีความสอดคลอ ง เปน อัตลักษณของกรงุ รัตนโกสนิ ทร รถพยาบาล) ทอี่ นุญาตใหเ ขาไปในพนื้ ที่ไดในบางเวลา - เช่ือมตอระบบการทองเท่ียวทั้งสองฝง (ธนบุรีและพระนคร) สรางบรรยากาศทางวัฒนธรรมและ - เพ่ือทําใหเกิดยานพาหนะสนับสนุนเชื่อมโยงกิจกรรมตาง ๆ ในพ้ืนท่ี ทดแทนการใชยานพาหนะสวน ประวัติศาสตร บุคคลที่จะหามสัญจรในพ้ืนที่ โดยมีเสนทางและจุดจอดทม่ี ีความสะดวกตอการเชื่อมตอท้ังภายในและ แนวทางการดาํ เนินงาน : ภายนอกพ้ืนท่ีเปาหมาย โดยมีจุดจอด 8 จุดท่ีสามารถเช่ือมตอกับถนนภายนอกเขตกรุงรัตนโกสินทร - การจัดการจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกิจ ช้ันใน ทาเรือ และสถานีรถไฟฟา ไดอ ยางสะดวก ไดแก ปายหยุดรถประจําทางสนามหลวง (ดานเหนอื ) - การพฒั นาและปรับปรงุ ทาเรอื มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร ทาชาง ทาเตียน ปากคลองตลาด ถนนเจริญกรุง และถนน มหรรณพ โดยบริเวณปายรถประจําทางจะมีท้ังปายหยุดรถ ปายแสดงขอ มูลการเดินทาง และจุดจอด รถจกั รยานใหเ ชา เพื่อเปน จุดเปลยี่ นถา ยที่มีประสิทธิภาพในการสัญจรหลากหลายประเภท - เพ่ือลดปริมาณการสัญจรผา นพืน้ ที่เปา หมายดว ยมาตรการทางการเงนิ เพื่อใหการสัญจรภายในพื้นทม่ี ี ความสะดวกข้ึน และมปี ริมาณการสญั จรท่เี ออ้ื อํานวยตอบรรยากาศของเมอื งอนุรักษประวัตศิ าสตรแ ละ วฒั นธรรม แนวทางการดําเนนิ งาน : - การจาํ กัดการสัญจรในบรเิ วณกรุงรัตนโกสนิ ทรช้นั ใน - การสง เสริมการใชขนสงมวลชนเพอ่ื ลดการใชย านพาหนะสว นบคุ คล - การเก็บคาธรรมเนียมการเขา บริเวณกรงุ รัตนโกสินทรชนั้ นอกสําหรับยานพาหนะสว นบคุ คล สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรกั ษและพัฒนา 3-31 ตารางท่ี 3-4 สรุปยุทธศาสตร กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ดา นการจราจร ยทุ ธศาสตร กลยุทธ แผนงาน โครงการ 4 เช่อื มโยงโครงขายการสัญจร 4.1 4.1.1 โครงการสงเสรมิ การเชอ่ื มตอ ดานการจราจร อยา งเปน ระบบ ยานพาหนะตา งประเภท การเช่อื มโยงโครงขายการ สัญจร 4.1.2 โครงการทดแทนท่ีจอดรถบน พนื้ ผวิ จราจร 4.2.1 โครงการจาํ กัดการสัญจรใน บรเิ วณกรงุ รตั นโกสนิ ทรช้ันใน สงเสรมิ การสัญจรท่เี ปนมิตร 4.2 4.2.2 โครงการสงเสรมิ การใชข นสง ตอ สิ่งแวดลอมในพื้นท่ีกรุง การสนับสนุนการเดนิ เทา มวลชนเพือ่ ลดการใชย านพาหนะ สว นบุคคล รตั นโกสินทร และการใชจ ักรยาน 4.2.3 โครงการเกบ็ คา ธรรมเนยี มการเขา บริเวณกรงุ รัตนโกสินทรช ้ันนอก ดวยยานพาหนะสว นบุคคล พฒั นาจดุ เปลี่ยนถา ยการ 4.3 4.3.1 โครงการจัดการจราจรในเขต สญั จรใหม ีประสทิ ธิภาพ เศรษฐกิจเฉพาะกจิ เชือ่ มโยงกบั การใชประโยชน การออกแบบ พัฒนา และ ปรับปรงุ จุดเปลย่ี นถายการ 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรงุ ที่ดนิ ทา เรอื สญั จร แผนท่ี 3-16 แผนผงั แมบทการอนุรักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร ดานการจราจร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม

3-32 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา โครงการ 4.1.1 โครงการสงเสริมการเชอ่ื มตอยานพาหนะตา งประเภท รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 4 ดา นการจราจร / แผนงาน 4.1 การเชื่อมโยงโครงขา ยการสญั จร กําหนดพ้ืนท่ีท่ีสามารถรองรับการเปลย่ี นยานพาหนะไดอยางสะดวกสบาย สามารถเชื่อมตอเขาสูจุดจอด รวมกัน (Public Parking) เชื่อมโยงเขากับระบบขนสงมวลชนรองภายในพ้ืนท่ีและเช่ือมตอภายนอกพื้นที่ ไดอยางสะดวก และจะตองไมใชเสนทางที่จะรบกวนการสัญจรภายในพ้ืนที่ ซ่ึงระบบการจัดการท่ีจะ สามารถนาํ เขามาใชง านเปนระบบอตั โนมตั ิ มีความเสถียรและความมน่ั คงในการใหบริการตลอด 24 ช่วั โมง กิจกรรมทสี่ ําคญั ของ - กาํ หนดปรมิ าณผูโดยสารและรูปแบบการเชื่อมตอ ทเี่ หมาะสมกับพนื้ ท่ี โครงการ - เช่อื มตอ จากระบบขนสวงมวลชนรองที่จะสงตอ จากจดุ จอดรวมกัน (Park and Ride) กระจายไปยงั พ้ืนที่ ตา ง ๆ เปลีย่ นจากระบบขนสงประเภทหนึง่ ไปยังอีกประเภทหนึ่ง - พฒั นาพ้ืนที่เช่ือมตอ ระบบการเช่ือมตอ และระบบสนับสนุน ระยะเวลาและสถานที่ ชวงระยะเวลา พื้นที่ / สถานที่ ดําเนินงาน ระยะท่ี 1 (ปท่ี 1-5) สถานีศิริราช สถานสี นามหลวง สถานีรวมผานฟา-อนุสาวรียประชาธิปไตย สถานีรวมวังบูรพา-สามยอด สถานีสนามไชย งบประมาณ ปรบั ปรุงพื้นท่ีสถานีรถไฟฟา (สถานีละ 30.0 ลานบาท) 150.0 ลา นบาท รวม 150.0 ลานบาท แหลงทม่ี าของงบประมาณ กรุงเทพมหานครโดยสํานกั การคลังดําเนินการจัดเก็บ Windfall Tax คอื การจดั เก็บรายไดอันเกดิ จาก ผลประโยชนจากการอยูรอบสถานรี ถไฟ จากพ้ืนทโ่ี ดยรอบสถานโี ดยผานการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหง ประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ การรถไฟฟา ขนสงมวลชนแหงประเทศไทย แผนที่ 3-17 พ้ืนที่สงเสรมิ การเช่ือมตอ ยานพาหนะตางประเภท หนว ยงานที่เกี่ยวขอ ง กรุงเทพมหานคร (สํานกั ผงั เมอื ง / สํานกั การคลงั ) ภาพที่ 3-23 ตัวอยางการพฒั นาพ้ืนท่ีสง เสริมการเชอื่ มตอยานพาหนะตา งประเภท สาํ นกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร กรมเจา ทา ทมี่ า : http://www.city.oita.oita.jp/www/contents/1424303211784/index.html กรุงเทพมหานคร (สํานกั การจราจรและขนสง ) ผลทค่ี าดวาจะไดร บั มีระบบขนสงมวลชนท่ีมีประสิทธิภาพสะดวกตอการคมนาคมดวยตนเอง สงถายเช่ือมตอการคมนาคมที่ หลากหลาย ประเภทโครงการ ความสําคัญ การดําเนนิ การตามอํานาจหนาทขี่ องหนวยงาน ลกั ษณะการดาํ เนินการ ความสําคัญลําดับที่ 2 จําเปนตอ งดําเนินการ มกี ารดาํ เนินการปรับปรงุ กายภาพควบคไู ปกับมาตรการดานเศรษฐกิจ-สังคมและการจดั การ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนุรักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพัฒนา 3-33 โครงการ 4.1.2 โครงการทดแทนท่ีจอดรถบนพืน้ ผวิ จราจร รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 4 ดา นการจราจร / แผนงาน 4.1 การเช่ือมโยงโครงขา ยการสัญจร กจิ กรรมท่ีสําคัญของ ศกึ ษาและตรวจสอบพ้นื ทีท่ มี่ ขี อจํากดั ดา นการจอดรถบนพน้ื ผวิ จราจร จัดหาพน้ื ท่สี ําหรบั จอดรถรวมทั้งในพื้นท่ี โครงการ ของรฐั และเอกชน ซึง่ ตาํ แหนง ของพน้ื ท่ีจอดรถรวมจะตอ งสามารถเช่ือมไปภายนอกพนื้ ที่เปา หมายและกระจาย ระยะเวลาและสถานที่ ดาํ เนนิ งาน อยูภายในพน้ื ที่เปา หมายอยางทวั่ ถงึ กําหนดมาตรการทสี่ ามารถสรา งแรงจูงใจใหแกเจา ของพนื้ ทด่ี าํ เนนิ การจัด งบประมาณ พ้ืนท่ีสําหรับจัดเปนท่ีจอดรถรวม และมาตรการดานราคาและอ่ืน ๆ เพื่อสงเสริมใหผูที่จะจอดรถเขามาใช บริการในพ้ืนท่หี รอื อาคารจอดรถรวม - กําหนดพน้ื ทท่ี ่มี ศี กั ยภาพในการเปนท่ีจอดรถยนต ไดแก ทจ่ี อดรถปจจุบนั ของราชตฤณมัยสมาคมแหง ประเทศไทย โรงภาพยนตรแ อมบาสเดอรแ ละโรงภาพยนตรป ารสี สถานีรถไฟหัวลําโพง ใตสะพานพระพทุ ธยอดฟา หา งสรรพสินคาแกว ฟา พลาซา การประปาแมนศรี - พ้ืนทอี่ าคารจอดรถรวม เช่อื มตอ เขา สรู ะบบขนสง มวลชนรูปแบบตาง ๆ ซึง่ ผูจัดทาํ พ้ืนทอี่ าคารจอดรถ รวมควรเปนเจา ของทีด่ ิน โดยไดร บั การสนบั สนุนดานภาษจี ากภาครฐั หรือ ดําเนนิ การเปนทด่ี นิ ของรฐั แลว ใหเ อกชนเขา มาใหก ารบริการโดยมีกรมธนารกั ษเ ปนผดู าํ เนินการ - พืน้ ทขี่ า งโรงพยาบาลศริ ิราช รวมทง้ั หมดแลวจะสามารถรองรบั ยานพาหนะไดไ มนอ ยกวา 6,000 คนั (ถาคิดอัตราหมุนเวียน 3 คนั ตอ วนั จะจอดรถไดไ มน อยกวา 18,000 คนั ตอวนั ) โดยโรงพยาบาลศิริราชจะ ดาํ เนนิ การดว ยงบประมาณของตนเอง - ดําเนินการพฒั นาและปรับปรุงพนื้ ท่เี ปาหมายใหส ามารถเปนพน้ื ทจี่ อดรถไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ชว งระยะเวลา พืน้ ท่ี / สถานที่ ระยะท่ี 1-2 (ปท ่ี 1-10 ) พนื้ ทีท่ ม่ี ศี ักยภาพในการเปน จดุ จอดรถรวมในและโดยรอบกรงุ รัตนโกสินทร ศกึ ษาและออกแบบ ระยะท่ี 1 5.0 ลานบาท พฒั นาพน้ื ทจ่ี อดรถรวมระยะท่ี 1-2 100.0 ลานบาท (ดาํ เนินการความรวมมอื ระหวางภาครฐั และเอกชน หากพ้นื ที่ใดดําเนนิ การจัดอาคารจอดรถรวมไดเ สร็จกอ น ใหพ ื้นทีน่ ้ันเรม่ิ ดําเนนิ โครงการไดในทนั ที โดยจะตอ งอยภู ายในชวงระยะเวลาท่ี 1-2) รวม 105.0 ลานบาท แผนที่ 3-18 พื้นที่ทดแทนท่ีจอดรถบนพื้นผิวจราจร แหลง ท่มี าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานครและผูทรงสทิ ธิในพื้นที่ (เจาของพ้นื ที่แตละแหง รวมลงทนุ จดั จุดจอดรถรวม สนับสนนุ ให ภาพท่ี 3-24 ภาพกอนการพฒั นาและแนวทางการพัฒนาท่ีจอดรถรอบสถานศี ิรริ าช เจาของพ้นื ทจี่ ดั พ้ืนที่จอดรถรวม และเกบ็ คา ที่จอดรถในกรณที ีน่ ํารถยนตสวนบุคคลเขามาจอด) ท่ีมา : คณะท่ปี รกึ ษา, 2560 เอกชนจัดหาพืน้ ท่แี ละดําเนนิ การ ภาครัฐใหการสนบั สนนุ ดานภาษี รฐั จดั หาพนื้ ท่ี ใหส มั ปทานแกเอกชนเขามาดาํ เนนิ การ หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั การจราจรและขนสง ) ผทู รงสิทธใิ นพ้ืนที่ หนว ยงานทเี่ ก่ียวขอ ง ผูทรงสิทธิในพ้ืนที่ (สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย/กรมธนารักษ/การรถไฟแหงประเทศไทย/ ภาคเอกชน) ผลท่คี าดวา จะไดร ับ มีพ้นื ที่จอดรถยนตและรถบริการนกั ทอ งเที่ยวเพิ่มขน้ึ ซึ่งอยใู นจุดที่สะดวกตอการเชอื่ มตอ การสัญจรสาธารณะ ตาง ๆ ประเภทโครงการ การดําเนนิ การตามอํานาจหนาทีข่ องหนวยงาน / การสนบั สนุนการดาํ เนินงานของภาคสว นอ่ืน ๆ ความสาํ คญั ความสําคัญลาํ ดบั ที่ 1 จาํ เปน ตองดําเนินการอยา งย่งิ ลักษณะการดาํ เนินการ มกี ารดําเนนิ การปรับปรุงกายภาพเปน หลกั สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

3-34 แผนผงั แมบทการอนุรักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา โครงการ 4.2.1 โครงการจํากดั การสญั จรในบรเิ วณกรุงรตั นโกสนิ ทรช้นั ใน รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 4 ดานการจราจร / แผนงาน 4.2 การสนบั สนนุ การเดนิ เทาและการใชจกั รยาน บริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันในเปนเขตการทองเท่ียวเชิงประวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรม มีการสัญจรท่ีหนาแนน มาก เหมาะแกการสงเสริมการเดินเทา และระบบขนสงมวลชน เพื่อเปนการประหยัดพ้ืนท่ีการสัญจร สราง มาตรการกําหนดเวลาการเขาออกพื้นที่ และประเภทของยานพาหนะ ตามแตความเหมาะสมในแตละพ้นื ที่ ซง่ึ มขี อกําหนดดังตอ ไปนี้ 1. กาํ หนดชวงเวลา เชน ชวงเวลา 8.00-21.00 น. ในพนื้ ทท่ี ่มี ีนักทอ งเท่ียวหรือผคู นสญั จรดว ยการเดนิ เทาเปนจํานวนมาก กําหนดใหย านพาหนะประเภทรถขนสง มวลชนหรอื ระบบขนสงสาธารณะเขาออกพื้นที่ไดเทา นน้ั ชวงเวลา 21.00–8.00 น. หรอื ชว งเวลากลางคืน สามารถเขา ออกพืน้ ที่ไดท กุ ยานพาหนะ 2. กําหนดประเภทยานพาหนะทส่ี ามารถเขา ออกพื้นท่ีได คือ ยานพาหนะประเภทรถขนสงมวลชนหรอื ระบบขนสง สาธารณะ และผูทอ่ี ยูอ าศยั เดิมในพน้ื ท่ี 3. ยกเวนพนื้ ท่สี ถานสี นามหลวงและสนามไชย ยานพาหนะสวนบคุ คลสามารถเขาถึงไดเ พยี งสถานแี ละ กลับออกไป กิจกรรมที่สําคัญของ - กําหนดบรเิ วณกรงุ รตั นโกสนิ ทรชน้ั ใน เพ่ือใหเปนพื้นทเ่ี ปาหมาย โครงการ - กาํ หนดประเภทยานพาหนะท่ีอนญุ าตและไมอนุญาตเขา พ้ืนที่เปา หมาย ระยะเวลาและสถานท่ี ดําเนนิ งาน - จดั การสัญจรและกําหนดจดุ จอดยานพาหนะทอ่ี นุญาตเขา สูพื้นทีเ่ ปา หมายใหม ีความสะดวก งบประมาณ - ประชาสัมพันธ - ตรวจสอบและติดตามผล ชวงระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานที่ ระยะที่ 2 (ปท ี่ 6-10) บรเิ วณกรุงรัตนโกสนิ ทรช้นั ใน ดาํ เนนิ การโครงการตดิ ตงั้ ระบบกลอ งวงจรปด หรอื ระบบอัตโนมัตติ รวจจบั 10.0 ลานบาท การเขา ออกตรวจสาํ หรับผูฝา ผืนนํารถยนตส วนบุคคลเขามาในพื้นที่โครงการ แผนท่ี 3-19 พ้ืนท่ีจํากัดการสญั จรในบริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทรชั้นใน แหลง ทมี่ าของงบประมาณ รวม 10.0 ลา นบาท หนวยงานที่รับผิดชอบ กรุงเทพมหานคร หนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ ง กรงุ เทพมหานคร (สํานกั การจราจรและขนสง ) ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ (กองบังคับการตาํ รวจจราจร) สาํ นกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร ประเภทโครงการ ความสาํ คัญ บริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันในมีการจราจรเบาบางลง มีความปลอดภัยในการสัญจรทางเทาในระดับได มาตรฐาน มบี รรยากาศท่ดี สี ง เสรมิ อตั ลกั ษณข องพนื้ ท่ี ลักษณะการดาํ เนินการ การดําเนินการตามอํานาจหนา ทีข่ องหนว ยงาน ความสาํ คัญลําดบั ที่ 2 จําเปนตองดาํ เนนิ การ มกี ารดําเนนิ การปรบั ปรงุ กายภาพควบคไู ปกับมาตรการดานเศรษฐกิจ-สงั คมและการจัดการ ภาพที่ 3-25 แนวทางการพัฒนาพื้นทจ่ี ํากดั การสญั จรในบริเวณกรุงรตั นโกสนิ ทรช ้ันใน บรเิ วณขา งวัดมหาธาตุยุวราชรงั สฤษฎิ์ ท่มี า : คณะท่ปี รกึ ษา, 2560 สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพฒั นา 3-35 โครงการ 4.2.2 โครงการสงเสรมิ การใชข นสง มวลชนเพ่ือลดการใชยานพาหนะสวนบุคคล รายละเอียดโครงการ ยทุ ธศาสตร 4 ดา นการจราจร / แผนงาน 4.2 การสนับสนนุ การเดนิ เทา และการใชจ ักรยาน จัดหาระบบขนสงเฉพาะประเภทลอยางในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรช้ันใน เพื่อรองรับการเขาถึงของ ประชาชนและนักทองเท่ียวท่ีจะเดินทางภายในพื้นที่ โดยใหมีจุดจอดบริเวณจุดตัดกับบริเวณ กรุงรัตนโกสินทรช้ันนอก สถานีขนสงมวลชน และอาคารจอดรถรวม ออกแบบเสนทางที่สามารถเช่ือม เขา สูสถานทีท่ องเที่ยวสาํ คัญ ๆ ไดอ ยางสะดวก กจิ กรรมทส่ี ําคญั ของ - กําหนดแนวสายทางและจุดจอดใหส อดคลองกบั การเชื่อมโยงท้งั ภายในและภายนอกพื้นท่ี โครงการ - คาดการณพ ฤตกิ รรมและปริมาณผูโดยสารเพ่ือกําหนดอปุ สงคใ นการเดนิ ทางดว ยยานพาหนะทดแทน - คัดเลอื กรูปแบบระบบขนสงและยานพาหนะทเ่ี หมาะสมกับปรมิ าณผูโดยสารและบรรยากาศของพ้ืนที่ เปา หมายและจัดใหมีการดําเนนิ การ ระยะเวลาและสถานที่ ชวงระยะเวลา พนื้ ที่ / สถานท่ี ดําเนนิ งาน ระยะท่ี 2 (ปท ่ี 6-10) บรเิ วณกรุงรัตนโกสินทร งบประมาณ ศึกษาและออกแบบเสนทาง 10.0 ลานบาท กําหนดแนวสายทางและจุดจอด 10.0 ลานบาท 10.0 ลานบาท ประชาสัมพันธโ ครงการ รวม 30.0 ลา นบาท แหลง ทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนวยงานที่รบั ผิดชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานักการจราจรและขนสง ) หนว ยงานที่เก่ียวของ สาํ นกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร แผนท่ี 3-20 พ้ืนท่ีสง เสรมิ การใชข นสง มวลชนเพอ่ื ลดการใชย านพาหนะสวนบุคคล การรถไฟฟา ขนสง มวลชนแหงประเทศไทย บรษิ ัท ระบบขนสง มวลชนกรงุ เทพ จาํ กัด (มหาชน) องคก ารขนสง มวลชนกรงุ เทพ ผูป ระกอบการขนสงเอกชน ผลทค่ี าดวา จะไดรบั ลดการใชร ถยนตส ว นตวั มีความสะดวกในการสัญจรเชอื่ มตอ ทั้งภายในและภายนอกพ้นื ทโ่ี ครงการ ทั้งทางบกและทางนาํ้ และเปนพ้ืนทีท่ ม่ี ีประสทิ ธิภาพในการเชอ่ื มโยงการสัญจรท่หี ลากหลาย ประเภทโครงการ การดําเนินการตามอํานาจหนาทข่ี องหนวยงาน ภาพท่ี 3-26 แนวทางการพัฒนาพื้นทจี่ ุดจอดขนสง มวลชน ความสําคัญ ความสําคญั ลําดับที่ 2 จําเปน ตอ งดาํ เนินการ มกี ารดําเนนิ กจิ กรรม มาตรการทางเศรษฐกิจ-สังคม และการจดั การความรูความเขาใจ ทมี่ า : คณะทปี่ รกึ ษา, 2560 ลกั ษณะการดาํ เนินการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

3-36 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา โครงการ 4.2.3 โครงการเกบ็ คา ธรรมเนียมการเขา บริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทรช ัน้ นอก ดวยยานพาหนะสวนบคุ คล รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 4 ดานการจราจร / แผนงาน 4.2 การสนับสนนุ การเดินเทาและการใชจักรยาน พืน้ ทที่ ี่จะมกี ารเก็บคาธรรมเนียมการนํายานพาหนะสวนบุคคลเขา ถงึ พื้นทจี่ ดั อยูในบรเิ วณกรุงรตั นโกสินทร ช้ันนอก โดยจํากัดปริมาณยานพาหนะสวนบุคคลท่ีจะเขามายังพ้ืนท่ีพาณิชยกรรมและการบริการ ยานธุรกิจ ดวยการเก็บคาธรรมเนียมในชวงเวลาเรงดวน โดยมีรูปแบบในการจัดเก็บที่ทั่วถึงและมีความ สะดวก เชน ระบบอัตโนมตั ติ รวจจับการเขา ออกพ้ืนที่ การเพิม่ มาตรการยกเวนคา ธรรมเนียมสําหรับขนสง สาธารณะหรอื ผูทมี่ ีท่อี ยูอาศยั และแหลงงานในพ้ืนท่ที จี่ ดั เกบ็ คาธรรมเนียม กจิ กรรมทีส่ ําคัญของ - ศึกษาเพ่ือวางแผนการจดั การจราจรดวยปจจัยดานประเภทยานพาหนะ เวลา และรูปแบบการสญั จร โครงการ - จดั ทําระบบการเขาออก และวิธกี ารจัดการดว ยบัตรจอดรถหรอื สตกิ เกอรติดรถสาํ หรบั ผูทีอ่ าศยั อยู ภายในพนื้ ท่ใี หท าํ การยกเวนการเก็บคา ธรรมเนียมการเขา พืน้ ที่ ระยะเวลาและสถานท่ี ชวงระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะที่ 2-3 (ปท ี่ 6-15) บริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทรช ้ันนอก งบประมาณ ศกึ ษาเพื่อวางแผนการจดั การจราจร 1.5 ลานบาท จัดทําระบบการควบคุมเขา ออก สรา งวิธกี ารจดั การ และการตดิ ต้ังระบบ 28.5 ลานบาท และอุปกรณสนบั สนนุ โดยใหด ําเนนิ การในพื้นท่ีทมี่ ีความพรอมในการดําเนนิ การจัดการระบบ การเขาออกไดก อน รวม 30.0 ลา นบาท แผนที่ 3-21 พื้นท่ีเก็บคา ธรรมเนยี มการเขา บริเวณกรงุ รตั นโกสินทรชน้ั นอกดวยยานพาหนะสวนบคุ คล แหลง ทม่ี าของงบประมาณ กรุงเทพมหานคร หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานักการจราจรและขนสง ) หนว ยงานท่ีเกี่ยวของ สํานกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร ผลทคี่ าดวา จะไดร บั ลดปริมาณการสัญจรผานพื้นที่ดวยมาตรการทางการเงิน เพ่ือใหการสัญจรภายในพ้ืนที่มีความสะดวกขน้ึ และมปี ริมาณการสัญจรท่ีเอ้อื อาํ นวยตอ บรรยากาศของเมอื งอนุรกั ษประวัตศิ าสตรและวฒั นธรรม ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ท่ขี องหนวยงาน ความสาํ คญั ความสําคัญลําดบั ที่ 2 จําเปนตองดําเนินการ ลักษณะการดาํ เนนิ การ มีการดาํ เนินการปรบั ปรุงกายภาพควบคูไปกบั มาตรการดานเศรษฐกิจ-สังคมและการจดั การ ทมี่ า : https://tfl.gov.uk/modes/driving/congestion- ท่ีมา : http://dollarsandsense.sg/how-the-middle-income-in- charge/congestion-charge-zone/road-signs singapore-are-subsidising-the-coes-of-the-rich/ ภาพท่ี 3-27 ภาพตัวอยางการเก็บคาธรรมเนียมเขาพ้ืนท่ีดวยยานพาหนะสว นบคุ คลในประเทศองั กฤษและประเทศสงิ คโปร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนุรักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพฒั นา 3-37 โครงการ 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกิจ รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 4 ดา นการจราจร / แผนงาน 4.3 การออกแบบ พฒั นาและปรับปรุงจุดเปลี่ยนถายการสัญจร พื้นท่ีเขตเศรษฐกิจเฉพาะภายในกรุงรัตนโกสินทร บริเวณโดยรอบสถานีขนสงมวลชนสามารถพัฒนา ดวยหลักการ Transit Oriented Development ซ่ึงมีความแตกตางจากพื้นท่ีอ่ืน ๆ ท่ีสามารถเพิ่มความ หลากหลายของกิจกรรมในแตล ะพื้นท่ีท่ีมีการเขา ออกเพ่ือการทองเที่ยวในยานเมืองเกา จะตองออกแบบ พ้ืนท่ีโดยรอบสถานีเปนศูนยกลางรวบรวมและกระจายการขนสง ไมมีกิจกรรมประเภทพาณิชยกรรม ระบายการเขาออกใหรวดเรว็ ทสี่ ุด กระจายสรู ะบบการขนสงดวยยานพาหนะท่มี ีความหลากหลาย กิจกรรมทสี่ าํ คัญของ - คัดเลือกพน้ื ที่นํารองเพ่ือนํามาเปนตนแบบในการจัดการจราจรในเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ โครงการ - ศกึ ษาเพ่ือวางแผนการจัดการจราจรดวยปจจัยดานประเภทยานพาหนะ เวลา และรปู แบบการสญั จร - ดาํ เนินมาตรการการจดั การจราจรดว ยความรว มมือของภาคกี ารพฒั นา ระยะเวลาและสถานที่ ชวงระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานท่ี ดาํ เนินงาน ระยะที่ 2-3 (ปท่ี 6-15) พื้นทีถ่ นนเยาวราช งบประมาณ ดําเนินมาตรการจัดการจราจร ระยะท่ี 2 10.0 ลา นบาท ดาํ เนินมาตรการจดั การจราจร ระยะท่ี 3 10.0 ลา นบาท (พื้นทที่ ีส่ ามารถดําเนินการจัดการจราจรไดก อน กใ็ หพ้ืนที่น้ันสามารถเรม่ิ ดําเนินโครงการไดเ ลย แตจ ะตองอยภู ายในชวงระยะเวลาที่ 2-3) รวม 20.0 ลานบาท แหลงท่มี าของงบประมาณ การรวมทุนของภาคกี ารพฒั นาในพื้นท่ี หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานกั การจราจรและขนสง ) แผนที่ 3-22 พื้นที่จัดการจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกิจ หนวยงานทีเ่ ก่ียวของ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร ผลทีค่ าดวา จะไดร ับ การสญั จรที่สอดคลอ งและสง เสริมเศรษฐกจิ ประเภทโครงการ การดําเนินการตามอํานาจหนา ที่ของหนวยงาน ความสาํ คญั ความสําคญั ลําดับท่ี 1 จําเปนตองดาํ เนินการอยา งย่งิ ลกั ษณะการดําเนินการ มีการดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ กายภาพเปนหลกั ภาพที่ 3-28 ภาพกอนการพฒั นาและแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกจิ บรเิ วณถนนเยาวราช ท่มี า : คณะท่ีปรึกษา, 2560 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

3-38 แผนผังแมบทการอนุรักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรักษแ ละพฒั นา โครงการ 4.3.2 โครงการพัฒนาและปรบั ปรงุ ทา เรอื รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 4 ดา นการจราจร / แผนงาน 4.3 การออกแบบ พัฒนาและปรับปรุงจุดเปลย่ี นถา ยการสญั จร กจิ กรรมท่ีสาํ คญั ของ การขนสงทางน้ําเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งที่มีความสะดวกรวดเร็ว เน่ืองจากมีทางวิ่งเฉพาะไมปะปนกับ โครงการ ระบบการขนสงประเภทอ่ืน ๆ ซึ่งจะตองคํานึงถึงระดับของนํ้าและการไหลของแมนํ้าเจาพระยา ทาเรือ จะตองมีความยืดหยุน มีความแข็งแรงมั่นคง เขาออกไดสะดวกรวดเร็วและปรบั ปรงุ พื้นที่ดานหนาใหเขา ออกและพ้ืนท่ีสําหรับพักคอย อีกทัง้ เพมิ่ พื้นทีเ่ ชื่อมโยงเขา กับระบบการขนสง ประเภทอื่น ๆ และที่จอดรถ สาธารณะ - กาํ หนดเสนทางการเช่ือมตอ ใหเช่ือมโยงทงั้ เสนทางเรอื ดวนเจาพระยาและเรือโดยสารขามฟากแมนํ้า เจาพระยา - จดั การสญั จรทางนํ้าใหมีประสิทธภิ าพ เพียงพอตอปริมาณความตองการที่สงู ข้ึน เพ่มิ มาตรการดา นความ ปลอดภยั ใหส งู ขึ้น - ปรบั ปรุงทา เรอื ใหเ หมาะสมตอการใชงานและอัตลักษณข องพืน้ ท่ี - จัดการจดุ เปลี่ยนถา ยการสัญจรบนพ้นื ท่ีท่เี ช่ือมตอระบบคลอง ระบบถนน และระบบราง ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พื้นที่ / สถานที่ ดําเนนิ งาน ระยะท่ี 1-2 (ปท่ี 1-10) บรเิ วณกรุงรตั นโกสนิ ทร งบประมาณ ทา เรอื โดยสารในพ้ืนทกี่ รงุ รัตนโกสินทรจํานวน 16 ทา เรอื 48.0 ลานบาท ทา เรอื ละ 3.0 ลานบาท (พื้นที่ทาเรอื ที่สามารถดําเนินการพัฒนาและปรบั ปรงุ ไดก อน ใหพ น้ื ที่นั้น สามารถเรม่ิ ดําเนินโครงการไดใ นทันที โดยจะตองอยูภายในชวง ระยะเวลาท่ี 1-2) รวม 48.0 ลานบาท แหลงท่มี าของงบประมาณ กรมเจาทา หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ กรมเจา ทา แผนท่ี 3-23 พื้นที่พฒั นาและปรับปรงุ ทาเรอื หนว ยงานทเี่ กี่ยวขอ ง สาํ นกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร บริษัท เรอื ดวนเจาพระยา จํากดั กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั การจราจรและขนสง ) ผลทคี่ าดวาจะไดรับ ความสะดวกสบายและความปลอดภัยตอการเดินทางของประชาชนภายในและภายนอกพื้นที่ท่ีมากข้ึน สามารถเช่ือมตอการสัญจรทางระบบนํ้า ระบบถนน และระบบรางไดอยางเหมาะสม สงผลใหประชาชนมี ทางเลอื กในการคมนาคมที่หลากหลาย สามารถพ่งึ พิงระบบขนสงมวลชนและลดการใชร ถยนตสวนบุคคล ไดม ากยิ่งขึ้น ประเภทโครงการ การดาํ เนนิ การตามอํานาจหนา ทข่ี องหนวยงาน ความสาํ คัญ ความสําคัญลําดบั ที่ 2 จาํ เปน ตองดําเนินการ ลักษณะการดําเนนิ การ มีการดําเนินการปรบั ปรุงกายภาพเปนหลัก ภาพที่ 3-29 แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุงทาเรอื เพื่อเช่ือมตอระบบขนสง มวลชนอื่น ๆ ทมี่ า : คณะที่ปรกึ ษา, 2560 สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม

แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา 3-39 3.5 ยุทธศาสตรท ่ี 5 ดา นสาธารณูปโภค 3.5.3 กลยุทธ แผนงานและโครงการ ยุทธศาสตรดานสาธารณูปโภคเปนการดําเนินการเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่อนุรักษใหเกิดเปนรูปธรรมและ ในการดําเนนิ งาน สามารถจาํ แนกไดเ ปนกลยุทธ 2 ประการ ดงั น้ี 1) กลยทุ ธปรบั ปรงุ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานใหมปี ระสิทธิภาพและอเนกประโยชน มีคุณประโยชน เปนการวางโครงสรางพ้ืนฐานเพ่ือคุณภาพชีวิตและความเปนอยูที่ดีของประชาชนควบคูไปกับการจัดการ การพฒั นาการจดั การนํา้ ใหส ามารถใชง านไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและอเนกประโยชน ยงั่ ยืน และยดื หยุน สามารถปรบั ตัว สภาพแวดลอ มทางกายภาพใหเ หมาะสมกบั พืน้ ท่ที ีเ่ ปน แหลงมรดกทางวฒั นธรรม มีการกาํ หนดกลยุทธในการปรับปรงุ สาธารณปู โภค พ้ืนฐานใหมีประสิทธิภาพและอเนกประโยชน รวมถึงการยกระดับรูปแบบของระบบสาธารณูปโภคใหสอดคลอ งกับพื้นท่ีอนรุ กั ษ ใหสอดคลอ งกับความตองการของประชาชน และปญ หาน้ําทวมทวีความรุนแรงมากขึน้ ระบบการจัดการนา้ํ คณุ ภาพน้ํา ควรไดร ับ จึงเปนยุทธศาสตรท่ีใชงบประมาณตอแผนงานและโครงการสูงท่ีสุดเม่ือเทียบกับยุทธศาสตรอ่ืน ประกอบดวย 2 แผนงานและ การออกแบบเปน พิเศษใหสอดคลองกับพื้นท่ีอนุรักษแ ละมีสวนในการขบั เนนอัตลกั ษณของพ้ืนท่ี ไมทําลาย หรือสงผลกระทบตอ โครงการรวมทั้งส้ิน 5 โครงการ โดยมีการจัดทําแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร ดานสาธารณูปโภค ความนาอยอู าศยั และวิถีชีวติ ริมน้าํ กลยทุ ธนน้ี าํ มาซึ่งแผนงานดงั ตอ ไปน้ี (แผนที่ 3-24) มีรายละเอยี ดดังนี้ แผนงาน 5.1 การปองกันนา้ํ ทว มและปรับปรงุ คณุ ภาพนํา้ 3.5.1 สถานการณแ ละปญ หา วัตถปุ ระสงค : สถานการณและปญหาปจจุบนั ของประเด็นดา นสาธารณปู โภคในการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร สรปุ ไดด ังนี้ - ปญหาการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลกสง ผลใหปญหาน้ําทวมมีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงและความถี่เพ่ิมมาก - เพ่ือปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคดานการจัดการน้ําใหมีประสิทธิภาพ สามารถใชงานไดเต็มกําลัง ข้ึน เปนเหตใุ หระบบสาธารณปู โภคทุกดานตองมคี วามยดื หยนุ สูงและเสถยี รมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะการบริหารจัดการน้ํา ศักยภาพในแตล ะดาน - ปญหาผลกระทบตอความปลอดภยั มรดกวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม เชน พื้นที่เส่ือมโทรมริมแมนํ้าเจาพระยาและ - เพ่ือลดผลกระทบอนั เนอื่ งมาจากระบบสาธารณูปโภคตอสิ่งแวดลอ ม การอยูอ าศัย และภมู ทิ ศั นโ บราณ คลองคูเมอื งเดมิ สถานที่มีคณุ คา - ปญหาความเสื่อมโทรมของระบบอุปกรณไมสอดคลองกับรูปแบบวิถีชีวิตและเทคโนโลยีในปจจุบันและในอนาคต - เพ่ือพัฒนาใหระบบสาธารณูปโภคมสี วนชวยขับเนนอัตลักษณของกรุงรัตนโกสินทรโดยเฉพาะวิถีตาม เปน อปุ สรรคตอการใหบรกิ ารอยา งมปี ระสิทธิภาพ ทาํ ใหสูญเสียทรัพยากรและพลงั งาน เกิดผลกระทบตอสงิ่ แวดลอม แนววถิ ีชวี ิตริมนํา้ และแนวแมน าํ้ เจาพระยา คลอง คเู มือง และแนวกาํ แพงเมอื งเดิม - ปญหาดานความยากลําบากในการประสานงานระหวางองคก รที่เก่ยี วขอ ง ในพ้ืนท่ีท่ีมีความสาํ คัญทางประวตั ศิ าสตร - เพือ่ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคมคี วามยืดหยนุ ปรับตัวได สามารถใชเปน พ้ืนทกี่ ิจกรรม สนั ทนาการ หรือ เปนอุปสรรคตอการพฒั นาระบบสาธารณูปโภค เพือ่ การอนรุ ักษแ ละทอ งเที่ยวไดใ นชวงเวลาปกติ และสามารถปรับเพ่อื รองรบั ภยั พบิ ัตเิ มอื งได แนวทางการดําเนนิ งาน : 3.5.2 กรอบแนวคดิ ในการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา - การพฒั นาแนวปอ งกันน้ําทว ม โครงสรางสาธารณูปโภคพ้ืนฐานสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและอเนกประโยชน ย่ังยืน และยืดหยุน สามารถ - การฟน ฟูระบบคคู ลอง และปรบั ปรงุ คุณภาพนาํ้ - การปรับปรงุ ระบบการระบายน้าํ ปรับตัวใหสอดคลองกับความตองการของประชาชน และสภาวะภูมิอากาศโลกทไี่ มแนนอนซึ่งมีแนวโนมจะทําใหปญหาน้ําทว มทวี ความรุนแรงมากขน้ึ ท้ังน้ีในพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทรซ่ึงเปนพื้นที่อนุรักษท ่ีมโี บราณสถาน และประวัติศาสตรท่ีทรงคณุ คา มายาวนาน 2) กลยุทธยกระดบั รปู แบบของระบบสาธารณูปโภคใหส อดคลอ งกับพืน้ ที่อนุรกั ษ ควรไดร บั การออกแบบงานระบบดา นสาธารณูปโภคเปน พเิ ศษ นอกจากทาํ หนาทีห่ ลกั ในดานวศิ วกรรมส่งิ แวดลอมแลว ควรจะมีสว น โครงการนําสายไฟฟา และสายสื่อสารลงใตด นิ เพอื่ ใหเพม่ิ ความปลอดภยั ตอ ชวี ิตและทรพั ยสนิ ของประชาชน และปรับปรุง ในการขับเนนอตั ลกั ษณของพนื้ ท่ีเปาหมาย ไมทําลายหรอื สงผลกระทบตอ ความนา อยอู าศัย และวิถชี ีวิตรมิ น้ํา รวมถึงการทองเทย่ี ว ภูมิทัศนและรกั ษาสิ่งแวดลอมใหสวยงาม เพิ่มศักยภาพในการใหบริการและรองรับความตอ งการไฟฟา และการสอื่ สารท่เี พ่ิมข้ึนใน แนวคิดโครงสรางสาธารณูปโภคอเนกประโยชนจึงถูกนํามาเปนยุทธศาสตรในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคของพ้ืนท่ี อนาคต ทั้งน้ี ปญ หาและอุปสรรคสาํ คญั ทสี่ งผลใหร ะบบสาธารณปู โภคไมสามารถปรบั ปรงุ และพัฒนาไดเตม็ ทมี่ ีสาเหตสุ าํ คัญมาจาก กรงุ รตั นโกสินทร ทง้ั น้ี ความกา วหนาทางเทคโนโลยสี ารสนเทศอาจชวยเพมิ่ ศักยภาพการทํางานและการประสานงานระหวางองคก รได พ้ืนทศี่ ึกษาเปนพืน้ ที่ทมี่ คี วามสําคัญทางประวัตศิ าสตรทาํ ใหก ารทํางานประสานงานในการพฒั นาระบบรวมกันทาํ ไดย าก โดยเฉพาะ การปรับปรุง การร้ือถอน ขุดเจาะ ซอมแซม หรือเปลี่ยนระบบ สงผลใหเกิดการพัฒนาแบบแยกสวน จึงจําเปนตองมีศูนย ประสานงาน ประกอบกับในปจจบุ นั การใชความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการสรางเครือขายระบบสาธาณูโภคภายใน พนื้ ท่กี รุงรตั นโกสินทรจะชวยเพิ่มประสทิ ธิภาพในการใหบ รกิ ารไดในอนาคต กลยุทธน น้ี าํ มาซึ่งแผนงานดังตอไปนี้ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3-40 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา แผนงาน 5.2 การปรบั ปรงุ โครงสรา งพนื้ ฐานของระบบสาธารณปู โภค วัตถุประสงค : - เพ่ือปรบั ปรงุ ระบบไฟฟา ไฟฟา แสงสวา งและการส่ือสารใหม ปี ระสิทธภิ าพและอเนกประโยชน - เพอื่ เพิ่มความปลอดภัย ความสะดวก และความเปนระเบียบเรียบรอย สวยงามบนถนนและทางเทา - เพือ่ ขบั เคลื่อนใหเกดิ การพัฒนาระบบสาธารณปู โภคอเนกประโยชน แนวทางการดําเนนิ งาน : - การนาํ สายไฟฟาและสายสื่อสารลงใตด นิ - การจดั ตัง้ ศนู ยประสานงาน - การพัฒนาเครอื ขายระบบสารสนเทศสาธารณปู โภคสามมติ ิ ตารางที่ 3-5 สรปุ ยทุ ธศาสตร กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ดา นสาธารณูปโภค ยทุ ธศาสตร กลยุทธ แผนงาน โครงการ ปรับปรุงสาธารณูปโภค 5.1 การปอ งกันนาํ้ ทวม 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปองกัน พื้นฐานใหม ปี ระสิทธภิ าพและ และปรับปรงุ คุณภาพนา้ํ น้ําทวม อเนกประโยชน 5.1.2 โครงการฟนฟูระบบคคู ลอง และ ปรบั ปรุงคุณภาพนาํ้ 5 ดา นสาธารณูปโภค 5.1.3 โครงการปรบั ปรุงระบบการระบาย น้าํ 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟา และสาย ยกระดบั รปู แบบของระบบ สอ่ื สารลงใตด ิน สาธารณูปโภคใหส อดคลอ ง 5.2 การปรบั ปรุงโครงสราง 5.2.2 โครงการจัดตั้งศูนยประสานงาน กับพน้ื ท่ีอนุรักษ พน้ื ฐานของระบบสาธารณูปโภค และขอมูล และพฒั นาเครือขาย ระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มิติ แผนท่ี 3-24 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร ดา นสาธารณูปโภค สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

แผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนรุ กั ษและพัฒนา 3-41 โครงการ 5.1.1 โครงการพัฒนาแนวปองกันนา้ํ ทว ม รายละเอียดโครงการ ยทุ ธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค / แผนงาน 5.1 การปองกนั น้ําทวมและปรับปรงุ คณุ ภาพน้าํ พฒั นาศกั ยภาพการปองกันนํ้าทวม ขับเนน อัตลกั ษณของพื้นที่ ใชป ระโยชนจากระบบคคู ลอง แนวปองกัน น้ําทวม ใหหลากหลายและเตม็ ประสทิ ธภิ าพ เพ่ือการระบายนํา้ การสัญจร นนั ทนาการ และการทองเท่ยี ว กิจกรรมทีส่ าํ คัญของ - ปรบั ปรงุ และกอสรา งแนวกําแพงปองกันนา้ํ ทวมริมแมนาํ้ เจาพระยา (บรเิ วณหนา วัดระฆงั โฆสติ าราม) โครงการ - ปรบั ปรงุ จุดเช่อื มตอ สําคญั ใหเปน กาํ แพงทเ่ี ปด ไดในเวลาปกติ และปดเพ่อื ปอ งกันนํ้าทวมไดโดยไม บดบังทศั นวิสยั และมุมมองระหวางแมนํ้าและเมือง - ออกแบบแนวกําแพงปอ งกันน้าํ ทวม สถานสี ูบนา้ํ ประตนู ้าํ และบอ สูบน้ําเปน พิเศษ ใหสามารถปรับใช เปนพ้นื ทีก่ ิจกรรมริมนํ้า ขับเนน อัตลักษณข องพ้ืนที่ ระยะเวลาและสถานท่ี ชว งระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานท่ี ดําเนนิ งาน ระยะที่ 1 (ปท ี่ 1-5) แนวกาํ แพงปองกันนํ้าทว มรมิ สองฝง แมนํ้าเจา พระยา (ระยะทาง 13.5 กม.) แนวเข่ือนริมคลองสําคัญฝงธนบุรี (ระยะทาง 5.6 กม.) งบประมาณ ปรบั ปรุงแนวปองกนั น้าํ ทวมรมิ สองฝงแมน้ําเจาพระยา 2,052.0 ลานบาท (กิโลเมตรละ 152.0 ลา นบาท) ปรบั ปรุงแนวเข่อื นรมิ คลองสาํ คัญฝง ธนบุรี 224.0 ลา นบาท (กโิ ลเมตรละ 40.0 ลานบาท) รวม 2,276.0 ลา นบาท แหลงท่ีมาของงบประมาณ กรุงเทพมหานคร หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการระบายน้าํ ) หนวยงานทเ่ี ก่ียวของ กรงุ เทพมหานคร (สํานักการโยธา / สาํ นักงานเขต) แผนท่ี 3-25 พ้ืนท่ีพฒั นาแนวปองกนั นํา้ ทวม ผลท่ีคาดวาจะไดรับ ระบบปอ งกนั นาํ้ ทวมทถี่ ูกซอนหรือแทรกตัวอยูกับโครงสรางเมืองเกา ไดอยางกลมกลืน และสามารถใชเปน พื้นทีส่ าธารณะเพ่ือนันทนาการและการทอ งเทยี่ วได ประเภทโครงการ การดําเนนิ การตามอํานาจหนา ทข่ี องหนวยงาน ความสําคญั ความสาํ คัญลําดับท่ี 2 จาํ เปน ตอ งดาํ เนินการ ลกั ษณะการดาํ เนนิ การ มีการดาํ เนินการดา นการบรู ณะปรับปรงุ หรอื พฒั นากายภาพเปนหลัก ภาพท่ี 3-30 แนวทางการพฒั นาแนวปองกนั น้ําทวมอเนกประโยชน ในภาวะปกตแิ ละภาวะนาํ้ ทวม ท่ีมา : คณะท่ีปรึกษา, 2560 สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม

3-42 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพัฒนา โครงการ 5.1.2 โครงการฟนฟรู ะบบคูคลอง และปรับปรุงคณุ ภาพนา้ํ รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค / แผนงาน 5.1 การปอ งกันน้ําทว มและปรับปรงุ คุณภาพน้ํา กจิ กรรมท่ีสําคัญของ ฟน ฟรู ะบบคคู ลอง และปรบั ปรุงคณุ ภาพนํ้า เพือ่ การระบายนา้ํ การสัญจร การอนรุ กั ษ นนั ทนาการและการ โครงการ ทองเทย่ี วดว ยการบรหิ ารจดั การดแู ลรักษาคณุ ภาพน้ําและสภาพ คู คลอง อาทิ การขุดลอกและกําจัดขยะ การเปด-ปดประตูระบายน้ําเพื่อใหเ กิดการระบายน้ําตามธรรมชาติ การนําน้ําท่ีบําบัดแลวมาใชประโยชน ระยะเวลาและสถานท่ี การใชประโยชนจากตะกอนน้ําเสียสําหรับงานตนไม และเพิ่มศักยภาพการบําบัดน้ําในคู คลอง ในพ้ืนท่ี ดาํ เนินงาน ตอ เน่อื งฝง ธนบุรี และการสูบน้ําในคลองเขาบําบัดนํ้า และเช่ือมทอระบายนาํ้ เขาสูแนวทอสง เขาโรงควบคุม คณุ ภาพนาํ้ - กอ สรางระบบบาํ บดั นาํ้ เสียขนาดเล็ก - ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพโรงควบคุมนํ้าเสยี กรุงรัตนโกสินทร - ฟนฟูสภาพและคุณภาพนาํ้ ในคลอง ไดแก งานขุดลอกคลอง งานถายเทนา้ํ งานกําจดั ขยะและของเสีย ชว งระยะเวลา พน้ื ท่ี / สถานท่ี ระยะที่ 1 (ปที่ 1-5) ขุดลอกคลอง ถายเทนํ้า และกําจัดขยะและของเสียคลองคูเมืองเดิม คลองรอบ กรงุ คลองหลอดวดั ราชนดั ดา คลองหลอดวดั ราชบพิธ คลองมหานาค คลองบาน ขม้ิน คลองวัดระฆัง คลองวัดอรุณ คลองมอญ คลองบางกอกนอ ย คลองบางย่ขี ัน คลองขนมจีน คลองผดุงกรงุ เกษม คลองบางกอกใหญ คลองวัดกัลยาณ คลองกฎุ ี จีน คลองขางวัดอนงคาราม คลองสมเด็จเจาพระยา คลองสาน (ระยะทางรวม 26.8 กม.) ระยะท่ี 2 (ปท่ี 6-10) กอ สรางโรงควบคุมคุณภาพนํ้าขนาดเล็กคลองบางกอกใหญ 1 แหง ปรบั ปรุงโรงควบคุมคุณภาพนํ้ากรงุ รัตนโกสินทร 1 แหง งบประมาณ ขุดลอกคลอง ถา ยเทน้ํา และกาํ จดั ขยะและของเสยี ระยะที่ 1 214.4 ลา นบาท (กิโลเมตรละ 8.0 ลานบาท) 1,446.0 ลานบาท แผนท่ี 3-26 พ้ืนที่ฟน ฟูระบบคคู ลอง และปรบั ปรุงคุณภาพนํ้า กอสรางโรงควบคมุ คุณภาพนํ้าอเนกประโยชนขนาดเล็ก ระยะท่ี 2 68.2 ลานบาท ปรับปรุงโรงควบคมุ คุณภาพนํา้ กรุงรัตนโกสินทร ระยะที่ 2 รวม 1,728.6 ลานบาท แหลงทม่ี าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนวยงานท่ีรับผดิ ชอบ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการระบายนํา้ ) หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั การโยธา / สาํ นักเทศกิจ / สาํ นกั งานเขต) ผลทีค่ าดวา จะไดร บั แมน ํ้า คู คลอง กลับมามบี ทบาทสําคัญและถกู นาํ มาใชเ พอื่ ประโยชนสาธารณะสูงสุด ประเภทโครงการ การดําเนนิ การตามอํานาจหนา ที่ของหนวยงาน ความสําคัญ ความสําคัญลําดับท่ี 2 จาํ เปนตอ งดําเนินการ ลักษณะการดําเนนิ การ มกี ารดาํ เนินการดานการบรู ณะปรบั ปรงุ หรือพฒั นากายภาพเปนหลัก ทมี่ า : https://kajarp2.wordpress.com/2015/11/29/sapanlek/img-5548/ ทมี่ า : http://www.nationtv.tv/main/content/378479320/ ภาพท่ี 3-31 สภาพปจ จบุ ันบริเวณคลองรอบกรงุ หลังการจดั ระเบยี บ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนุรักษแ ละพฒั นา 3-43 โครงการ 5.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ระบบการระบายนาํ้ รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค / แผนงาน 5.1 การปอ งกนั น้าํ ทว มและปรับปรุงคณุ ภาพนา้ํ กิจกรรมทส่ี ําคัญของ เพ่ิมศักยภาพการระบายน้าํ จากคูคลอง และจากทอ ระบายน้ํา ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นโ ดยรอบใหส อดคลองกับ โครงการ อัตลักษณของพ้ืนที่ - ควบคมุ การไหลยอ นของน้ําเขาคลอง โดยการเปล่ยี นจากการปลอยทิ้งนํ้ามาใชเครอื่ งสบู น้าํ - ออกแบบประตนู า้ํ โรงสบู นํ้า จดุ รวบรวมนาํ้ บอสูบน้ํา และตาํ แหนงเครื่องจักรและเสนทางของทอให สอดคลอ งกบั อตั ลักษณของพน้ื ที่อนรุ ักษ - ปรบั โครงสรา งองคกรการบริหารจดั การใหอ ยูภายใตหนวยงานเดยี ว ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พืน้ ที่ / สถานที่ ดาํ เนินงาน ระยะท่ี 1 (ปท ่ี 1-5) ปรบั ปรุงสถานีสบู นา้ํ พระปนเกลา สถานสี ูบน้าํ ปากคลองตลาด สถานสี ูบน้าํ คลอง โองอา ง รวม 3 แหง ปรบั ปรุงบอสูบน้ําทาพระจันทร บอสบู น้าํ ทาชา ง บอสูบนาํ้ ทา ราชวรดิษฐ บอ สบู นํ้าซอยทา ขาม บอ สบู นํา้ ใตสะพานพระพทุ ธยอดฟา รวม 5 แหง ปรับปรุงประตูระบายนํ้าคลองหลอดวัดราชนัดดา ประตูระบายนํ้าวัดบุรณศิริ มาตยาราม ประตูระบายนํ้าวัดราชบพิธ ประตูระบายนํ้าคลองโองอาง รวม 4 แหง ระยะที่ 2 (ปท่ี 6-10) ปรับปรุงสถานีสูบนํ้าคลองมอญ สถานีสูบน้ําคลองบางกอกใหญ สถานีสูบนํ้า คลองบางย่ีขัน สถานีสูบน้ําเทเวศร รวม 4 แหง ปรับปรุงบอสูบน้ําสะพานยาว บอสูบนํ้าราชวงศ บอสูบน้ําสวัสดีฝงตะวันตก บอ สบู นํ้าสวสั ดีฝง ตะวันออก รวม 4 แหง ปรบั ปรงุ ประตูระบายน้ําบางลาํ พู ประตรู ะบายน้าํ คลองวัดระฆัง ประตูระบายนํา้ คลองวัดอรุณ ประตูระบายนาํ้ เทเวศร รวม 4 แหง ระยะที่ 3 (ปท ี่ 11-15) ปรับปรงุ บอ สบู นํ้าวดั ปทุมคงคา บอสบู น้ําทาน้าํ ภาณุรังษี และสรางบอสบู น้ําทา แผนท่ี 3-27 พ้ืนทปี่ รับปรุงระบบการระบายน้ํา สวสั ดี (ใหม) รวม 3 แหง ภาพท่ี 3-32 ภาพกอนการพฒั นาและแนวทางการพฒั นาประตูระบายน้ํา งบประมาณ การกอสรา งปรับปรงุ สถานสี บู นา้ํ ในระยะท่ี 1 215.0 ลานบาท การกอสรา งปรบั ปรุงบอสูบนํ้าในระยะท่ี 2 220.0 ลา นบาท ทมี่ า : คณะที่ปรึกษา, 2560 45.0 ลา นบาท การกอสรา งปรบั ปรงุ ประตูระบายนํ้าในระยะที่ 3 รวม 480.0 ลานบาท แหลงที่มาของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ กรงุ เทพมหานคร (สํานกั การระบายนํ้า) หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ กรมชลประทาน ผลที่คาดวา จะไดรบั ลดปญหานา้ํ ทว ม และผลกระทบสิง่ แวดลอม ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ทข่ี องหนวยงาน ความสําคญั ความสาํ คญั ลาํ ดบั ท่ี 2 จาํ เปนตอ งดาํ เนินการ ลกั ษณะการดาํ เนนิ การ มกี ารดาํ เนนิ การดา นการบรู ณะปรบั ปรงุ หรอื พฒั นากายภาพเปนหลัก สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3-44 แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรักษและพฒั นา โครงการ 5.2.1 โครงการนาํ สายไฟฟาและสายสอื่ สารลงใตด ิน รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 5 ดานสาธารณูปโภค / แผนงาน 5.2 การปรับปรุงโครงสรา งพืน้ ฐานของระบบสาธารณปู โภค กจิ กรรมท่ีสําคัญของ นําสายไฟฟา และสายส่ือสารลงใตดิน โดยมีหลักเกณฑในกําหนดพ้ืนท่ีโครงการ ไดแก บริเวณแนวถนนสายหลัก โครงการ แนวโครงสรางเมอื งเกา แนวกอ สรางรถไฟฟาและสาธารณูปโภคสาํ คัญ บรเิ วณยานการคา และแหลงโบราณสถาน สําคัญ - วาจางที่ปรึกษา ศึกษาความเปนไปได สํารวจ ประเมนิ ราคา - วา จา งทีป่ รกึ ษาออกแบบ วางแผนกอสรา ง - ร้ือถอนและกอ สรา ง ระยะเวลาและสถานท่ี ชวงระยะเวลา พนื้ ท่ี / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะที่ 1 (ปท ่ี 1-5) ถนนเจาฟา ซอยราชินี ถนนหนาพระธาตุ ถนนหนาพระลาน ถนนหลักเมือง ถนน มหาราช ถนนกัลยาณไมตรี ถนนเจริญกรุง ถนนพระพิพิธ ถนนราชินี ถนนอัษฎางค ถนนพระสุเมรุ ถนนจักรพงษ ถนนดินสอ ถนนประชาธิปไตย ถนนบวรนิเวศ ถนน ตะนาว ถนนราชดําเนินกลาง ถนนมหาไชย ถนนหลานหลวง ถนนบํารุงเมอื ง ถนนราช บพิธ ถนนเจริญกรุง ถนนเฟองนคร ถนนตีทอง ถนนศิริพงษ ถนนบูรพา ถนนหลวง ถนนเยาวราช ซอยพระพิทักษ ถนนพาหุรัด ถนนสะพานพุทธ ถนนบานหมอ ถนนตรี เพชร ถนนจักรเพชร ถนนจกั รวรรดิ ถนนอรุณอมั รินทร ถนนสมเด็จพระปน เกลา (ระยะทางรวม 30.5 กม.) ระยะที่ 2 (ปท่ี 6-10) ถนนสามเสน ถนนพระราม 8 ถนนกรุงเกษม ถนนลูกหลวง ถนนวิสุทธิกษัตริย ถนน ประชาธิปไตย ถนนจักรพรรดิพงษ ถนนราชดําเนินนอก ถนนนครสวรรค ถนนหลาน หลวง ถนนบํารุงเมอื ง ถนนหลวง ถนนวรจกั ร ถนนพลับพลาไชย ถนนจกั รวรรดิ ถนน เจรญิ กรงุ ถนนเยาวราช ถนนทรงวาด ถนนราชวงศ ถนนเสือปา ถนนแปลงนาม ถนน เยาวพานิช ถนนพระราม 4 ถนนอรณุ อัมรนิ ทร ถนนประชาธปิ ก ถนนสมเด็จเจาพระยา (ระยะทางรวม 29.2 กม.) คดิ เปนระยะทางรวมทัง้ สนิ้ 59.7 กม. งบประมาณ การนาํ สายไฟฟาและสายสือ่ สารลงใตด นิ ระยะท่ี 1 2,113.65 ลา นบาท แผนที่ 3-28 พ้ืนที่นําสายไฟฟา และสายสอื่ สารลงใตด นิ (ราคา 69.3 ลานบาท/กม) ภาพท่ี 3-33 ภาพกอนการพัฒนาและแนวทางการนาํ สายไฟฟาและสายสอ่ื สารลงใตด นิ การนําสายไฟฟาและสายสอ่ื สารลงใตด ิน ระยะที่ 2 2,023.56 ลา นบาท ทม่ี า : คณะทีป่ รึกษา, 2560 (ราคา 69.3 ลา นบาท/กม) รวม 4,137.21 ลา นบาท แหลงทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานที่รับผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สาํ นกั การโยธา) การไฟฟานครหลวง บริษทั ทีโอที จาํ กัด (มหาชน) บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จาํ กัด (มหาชน) หนวยงานท่ีเก่ียวขอ ง กรมศิลปากร สาํ นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทัศน และกจิ การโทรคมนาคมแหง ชาติ ผลทคี่ าดวา จะไดรบั ระบบงานสายไฟฟา ไฟฟาแสงสวาง และสายสื่อสารลงใตดิน จะชวยใหเกิดความปลอดภัยตอชวี ิตและทรัพยสิน เพิม่ ผวิ จราจร และภูมิทศั นเ มอื งมีความสวยงามมากยิง่ ขึ้น อกี ทัง้ มคี วามปลอดภยั สูงขน้ึ ในภาวะเกิดภัยพิบัติ ประเภทโครงการ การดําเนนิ การตามอํานาจหนาทข่ี องหนวยงาน ความสาํ คัญ ความสาํ คัญลาํ ดบั ที่ 2 จําเปน ตอ งดําเนนิ การ ลกั ษณะการดําเนนิ การ มีการดําเนนิ การดา นการบูรณะปรับปรงุ หรอื พฒั นากายภาพเปน หลัก สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนรุ ักษและพฒั นา 3-45 โครงการ 5.2.2 โครงการจดั ตง้ั ศูนยป ระสานงานและขอมลู รายละเอยี ดโครงการ และพฒั นาเครือขายระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ กิจกรรมท่ีสําคญั ของ ยุทธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค / แผนงาน 5.2 การปรับปรงุ โครงสรา งพ้ืนฐานของระบบสาธารณูปโภค โครงการ จดั ตัง้ สาํ นกั งานในรปู แบบของศนู ยปฏบิ ัติการดา นสาธารณปู โภคเพ่ือชมุ ชนในกรงุ รัตนโกสนิ ทรเพอื่ รองรบั หนวยงาน ระยะเวลาและสถานท่ี ประสานงานดานสาธารณูโภคในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร และพื้นที่ใหบริการประชาชนในสวนงาน ดาํ เนินงาน ดา นสาธารณูปโภค รวมถึงเปน พืน้ ทีก่ ิจกรรมสนั ทนาการ ทองเทยี่ ว และใหค วามรู พรอ มกับจดั ทาํ แผนทฐี่ านเชงิ เลข งบประมาณ (Digital Map) โครงขายระบบสาธารณูปโภค 3 มิติสามารถเห็นโครงขายของทุกงานระบบ ทอสายไฟฟารวม แหลง ทม่ี าของงบประมาณ ทอประปา ทอระบายนํา้ อุโมงค และระบบอื่นทเ่ี กี่ยวของ และวางโครงขายระบบสาธารณูปโภค โดยใชเ ทคโนโลยี หนวยงานที่รับผิดชอบ สารสนเทศเขา มาชวยในการตรวจจับและตอบสนองความตองการและการเปล่ียนแปลงการใชส าธารณูปโภคระดับ หนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ ง ทองถิ่น รวมถงึ ทาํ หนา ท่ีเปนศนู ยต รวจวัดคณุ ภาพดานพลงั งานและสง่ิ แวดลอ ม ผลท่คี าดวาจะไดร ับ ปรับปรงุ อาคารเปน ศูนยประสานงานและขอมลู - วาจางทปี่ รึกษาออกแบบ จัดต้ังองคกรและความรว มมอื - วา จา งที่ปรึกษาวางแผนกอสรา ง - ร้อื ถอนและกอ สรา ง พฒั นาเครือขา ยระบบสารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ - วาจางท่ีปรึกษาสาํ รวจ ประเมนิ ราคา - วาจางทป่ี รึกษาจดั ทาํ ระบบฐานขอมลู - วา จา งทป่ี รึกษาออกแบบโปรแกรมประยกุ ต (Application) และการนําไปใชงาน ชว งระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานที่ ระยะท่ี 1-3 (ปท ่ี 1-15) สาํ นักงานประปาแมนศรี (เดมิ ) ปรับปรุงอาคารเปน ศูนยป ระสานงานและขอมลู ระยะที่ 1 100.0 ลา นบาท พฒั นาเครอื ขา ยระบบสารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ ระยะท่ี 1 10.0 ลา นบาท พฒั นาเครอื ขายระบบสารสนเทศสาธารณูปโภค 3 มติ ิ ระยะท่ี 2 10.0 ลานบาท พฒั นาเครอื ขายระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มิติ ระยะท่ี 3 10.0 ลา นบาท รวม 130.0 ลานบาท กรงุ เทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (สํานกั การโยธา) แผนท่ี 3-29 พน้ื ท่ีจดั ตง้ั ศนู ยประสานงานและขอมูล และพัฒนาเครือขา ยระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ กรงุ เทพมหานคร (สํานักยุทธศาสตรแ ละประเมินผล / สาํ นักการระบายน้ํา) การไฟฟา นครหลวง การประปานครหลวง สาํ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทศั น และกจิ การโทรคมนาคมแหง ชาติ กรมควบคมุ มลพิษ กรมศลิ ปากร ขบั เคลื่อนการพัฒนาโครงสรางสาธารณปู โภคไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถระบุจดุ ตาํ แหนงทม่ี ีปญหาชัดเจน สามารถดําเนินการไดรวดเรว็ ลดการสญู เสยี คาใชจา ย เวลา และผลกระทบตอ ระบบงานดานอ่ืน ๆ นอกจากน้นั ขอมลู ดงั กลา วสามารถเขา ถึงไดโ ดยประชาชน จะชวยใหไดข อ มูลการแจงปญหาและความตองการทแี่ ตกตา งกันไป ตามพืน้ ที่ ชวงเวลา และลักษณะของกจิ กรรม ประเภทโครงการ การพฒั นากลไกใหม ท่ีมา: http://www.area.co.th/thai/area_announce/ ทีม่ า : คณะท่ีปรกึ ษา, 2560 ความสําคัญ ความสําคัญลาํ ดับท่ี 3 สมควรดําเนนิ การ area press.php?strquey=press announcement1628.htm ลักษณะการดําเนินการ มกี ารดําเนินการดานการบูรณะปรบั ปรุงหรอื พัฒนากายภาพเปนหลัก ภาพที่ 3-34 ภาพกอ นการพฒั นาและแนวทางการพฒั นาพน้ื ท่ีสํานักงานประปาแมนศรี สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

3-46 แผนผงั แมบทการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษและพฒั นา 3.6 ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 ดา นสาธารณูปการ ในการดาํ เนินงานดา นสาธารณูปการ สามารถจาํ แนกไดเ ปน กลยุทธ 2 ประการ ดังนี้ ยุทธศาสตรดานสาธารณูปการเปนการดําเนินการเพ่ือสงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ 1) กลยุทธยกระดบั การใชงานสาธารณูปการใหสอดคลอ งกับโครงสรางประชากรและบริบททางสังคมที่เปล่ยี นแปลง กรุงรัตนโกสินทร รองรับการเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรและรูปแบบของการอยอู าศัยในพ้ืนท่ีอนุรักษซึ่งมีศาสนสถานและ ภาพรวมประชากรในพ้ืนที่กรุงรัตนโกสินทรม ีการลดลงอยา งตอ เน่ือง และสภาวการณใ นอนาคตทสี่ ําคญั คือ การลดลงของ สถานศึกษากระจายตัวอยูเปนจาํ นวนมาก มกี ารกาํ หนดกลยุทธในการยกระดบั การใชงานสาธารณูปการใหส อดคลอ งกับโครงสราง ประชากรเดก็ การเพิ่มขน้ึ ของประชากรผสู ูงอายุและนกั ทองเท่ยี วอยา งมีนัยสาํ คัญ ทั้งน้ี สาธารณูปการทสี่ ําคญั ในการดํารงรักษาอตั - ประชากรและบริบททางสังคมทีเ่ ปลยี่ นแปลง รวมถงึ การปรับปรงุ สาธารณูปการเพอ่ื รองรบั ภัยพบิ ตั แิ ละภาวะฉกุ เฉนิ ประกอบดว ย 2 ลักษณข องทอ งถ่ินประกอบดวยวัดและโรงเรยี นตามแนวคดิ การพัฒนาแบบ “บวร” (บาน วดั โรงเรียน) เพ่อื การพัฒนาชมุ ชนอยาง แผนงานและโครงการรวมทั้งสิ้น 4 โครงการ โดยมีการจัดทําแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร ย่ังยืน โดยสง เสรมิ การพัฒนาพื้นทีส่ าธารณะเพอ่ื เชอื่ มโยงความสมั พันธระหวา งกลุมคนในสังคม ดา นสาธารณูปการ (แผนท่ี 3-30) มรี ายละเอียดดงั นี้ ในปจจุบันอัตราการเกิดของเด็กกําลังลดตํ่าลงอยางตอเน่ือง อีกทั้งพ้ืนที่ในเขตพระนครมีจํานวนโรงเรียนสูงที่สุดใน กรุงเทพมหานคร เนื่องจากเปนโรงเรียนที่อยูกับวัด จึงมีโรงเรียนกระจายตัวอยูท่ัวถึงทั้งพื้นท่ีในรัศมีไมเกิน 1 กิโลเมตร ทําให 3.6.1 สถานการณและปญ หา โรงเรยี นประถมศกึ ษาหลายแหงในพ้นื ที่น้ีมีจาํ นวนนักเรียนต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง ซึ่งกําหนดเกณฑ สถานการณแ ละปญ หาปจจบุ ันของประเดน็ ดา นสาธารณปู การในการอนรุ กั ษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร สรุปไดด งั น้ี จํานวนนกั เรียนขน้ั ตํ่าที่ 200-400 คน และมขี อบเขตการใหบริการในรศั มี 1 กิโลเมตร จงึ เล็งเห็นความสําคญั ในการยกระดับวดั หรอื - มีความพรอ มในดา นการกระจายตวั ของระบบสาธารณูปการครอบคลมุ ท้ังพ้ืนท่ี โรงเรยี นเพือ่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงทางสงั คมดังกลาว โดยสามารถพฒั นาวัดและโรงเรยี นเปน ศนู ยบ ริการครบวงจรสําหรบั ผสู ูงอายุ - มคี วามพรอ มในเชงิ ปริมาณการใหบรกิ าร และผดู อยโอกาสในชุมชน - จําเปน ตอ งพัฒนาในดานคุณภาพเพอ่ื รองรบั การเปล่ียนแปลงเชิงโครงสรางทางสังคมและประชากรในอนาคต การพัฒนาระบบสาธารณูปการอเนกประโยชน (Multi-Functional Public Facilities) ทําหนาท่ีหลักในการใหบริการ คุณภาพสงู เพื่อสง เสรมิ คณุ ภาพชีวิตแกคนในชุมชน และเพิ่มขดี ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตอ งการของคน 3.6.2 กรอบแนวคดิ ในการอนรุ ักษแ ละพฒั นา ทุกกลุม ทั้งคนในชุมชนและนักทองเท่ียวที่เพิ่มข้ึนในอนาคตเน่ืองจากการพัฒนาระบบขนสงมวลชนระบบรางในพ้ืนท่ี เพ่ือเพิ่ม การพัฒนาดานสาธารณูปการในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร อยูภายใตแนวคิดหลักในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพ่ือ คุณภาพการใหบริการแทนการลดหรือเพิ่มจาํ นวนสาธารณูปการตามบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จึงเล็งเห็นความสาํ คญั ของ การมุงเนนการเพ่ิมเตมิ สิง่ อาํ นวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาโรงเรยี นในการทําหนา ท่ใี หบรกิ ารกบั ชมุ ชนทม่ี ีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น รองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม จึงกําหนดแนวคิดการพัฒนาระบบสาธารณูปการอเนกประโยชน (Multi-Functional Public ในอนาคต ท้ังการลดลงของประชากรเดก็ การเพิ่มขึ้นของผูสูงอายุ แรงงานและนักทองเท่ียว ทั้งนี้ สามารถยกระดับการใหบรกิ าร Facilities) ท่ีทําหนาท่ีหลักในการใหบริการคุณภาพสูงเพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิตแกคนในชุมชน และเพ่ิมขีดความสามารถในการ ของโรงเรียน โดยเพ่ิมประโยชนการใชสอยเปนศูนยการเรียนรูการฝกอาชีพเพ่ือรองรับกิจกรรมการทองเที่ยวและกิจกรรม ใหบ ริการเพอ่ื ตอบสนองความตองการของคนทุกกลมุ ทง้ั คนในชุมชนและนกั ทอ งเทยี่ วทเี่ พม่ิ ขน้ึ ในอนาคต สนั ทนาการภายในชมุ ชน กลยุทธนนี้ าํ มาซงึ่ แผนงานดังตอไปนี้ แผนงาน 6.1 การปรับปรุงการใหบริการสาธารณปู การ แนวคิดหนวยชุมชน (Neighborhood Unit) เปนแนวคิดท่จี ะสรางชุมชนที่มีบริการพ้ืนฐานท่ีเหมาะสมกับความตอ งการ วตั ถปุ ระสงค : ของชมุ ชนอยางครบถว น และมีท่ีตั้งอยใู นระยะท่ีประชาชนมีทีพ่ ักอาศยั อยูใ นขอบเขตการใหบ ริการจะสามารถเขาถึงไดอยางสะดวก สามารถนํามาประยุกตใ ชกับชมุ ชนในพ้นื ท่กี รุงรตั นโกสินทรซงึ่ สวนใหญเปน ชมุ ชนเกาแกท มี่ ีอตั ลกั ษณทโี่ ดดเดน โดยเสนอการพัฒนา - เพ่ือพัฒนาคุณภาพการใหบริการของวัดและโรงเรียนในการเปนศูนยกลางการใหบริการครบวงจรแก ระบบสาธารณูปการท่ีมีคุณภาพ นอกจากใหบริการเพ่ือสงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดขี องคนในชุมชน ยังทําหนาท่ีสงเสริมอตั ลักษณให ผูสูงอายแุ ละผูดอยโอกาส ชุมชน เชน การปรับปรุงและยกระดับบทบาทของวัดและโรงเรียนใหเปนศูนยกลางชุมชนในทุกดาน ทั้งดานศูนยการเรียนรู - เพ่อื เพิ่มประโยชนการใชส อยของวัดและโรงเรยี นในการเปนศูนยก ลางการเรยี นรฝู ก อาชีพ และกิจกรรม ศูนยสุขภาพ รวมไปถึงแนวคดิ ในการออกแบบที่รวมโรงเรียนเขากับสาธารณูปการดานนันทนาการ โดยเฉพาะสวนสาธารณะ ซึ่งมี สันทนาการ ประโยชนในการใชพ้ืนที่จํากัดเพ่ือกิจกรรมที่หลากหลาย คาใชจายในการลงทุนสรางและดูแลรักษาที่ถกู กวา แนวคิดนี้ใชไดทั้งใน แนวทางการดําเนนิ งาน : ระดบั ชมุ ชน ยา น และเมอื ง - การปรับปรุงวดั และโรงเรียนเปนศูนยบ ริการครบวงจรแกผ สู ูงอายแุ ละผดู อยโอกาส - การเพมิ่ ประโยชนการใชส อยโรงเรยี นเปนศนู ยการเรยี นรู ศนู ยฝก อาชพี และพ้ืนที่กจิ กรรมสนั ทนาการ ท้ังน้ี สาธารณูปการที่สาํ คัญในการดํารงรกั ษาอัตลักษณของทอ งถ่ินประกอบดว ย วดั และโรงเรียน ตามแนวคิดการพัฒนา แบบ “บวร” (บาน วัด โรงเรยี น) เพ่อื การพฒั นาชมุ ชนอยา งยัง่ ยืน โดยสง เสริมการพฒั นาพน้ื ทีส่ าธารณะเพอ่ื เช่ือมโยงความสมั พันธ ระหวา งกลุมคนในสงั คม จึงกําหนดการใชงานของพ้ืนท่สี าธารณะใหม คี วามอเนกประโยชน ดงั นี้ - เนน บทบาทของวดั ในการเปนศนู ยก ลางของกิจกรรมทางสงั คม และวฒั นธรรมของชมุ ชน - ยกระดับวดั และโรงเรยี นในการเปนศูนยกลางการใหบ ริการผสู ูงอายแุ ละผดู อยโอกาส - เพิ่มประโยชนการใชสอยของโรงเรียนเพ่ือเปนศูนยก ารเรียนรูการฝก อาชีพและกิจกรรมสันทนาการและพกั ยามฉุกเฉิน ของชุมชน - เพมิ่ ประโยชนก ารใชส อยพ้ืนทสี่ าธารณะขนาดเล็กในชุมชนเพือ่ การปองกันอัคคภี ัยในพ้ืนทชี่ มุ ชนเกา 3.6.3 กลยุทธ แผนงานและโครงการ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษและพัฒนา 3-47 2) กลยุทธป รับปรงุ สาธารณปู การเพ่ือรองรับภัยพิบัตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ พ้ืนท่ีกรุงรัตนโกสินทรเปนแหลงรวมมรดกทางวฒั นธรรมอันทรงคุณคาของชาติประกอบดวยอาคารและสถานท่ีมคี ุณคา ควรคาแกการอนุรักษเก็บรักษา รวมถึงชุมชนที่มีอัตลักษณทอ งถน่ิ หลายแหง ดังน้ัน การเตรียมพรอมเพือ่ รองรับกรณเี กิดภัยพิบัติ หรือภาวะฉุกเฉนิ ในพื้นที่จงึ สําคญั มาก ท้ังนี้ ภายในพื้นทช่ี ุมชนนอกจากจะมีวัดและโรงเรียนเปนศูนยก ลางทาํ หนาทเ่ี ปน ศนู ยกลาง การเรียนรู กิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนแลวสถานท่ดี ังกลาวยังสามารถเปน ท่พี ่ึงพาใหกับชุมชนในยามคับขันตาง ๆ ไดอีกดว ย ท้ังน้ี พื้นที่กรุงรัตนโกสินทรเปนแหลงรวมมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคณุ คาของชาติประกอบดวยอาคารและสถานทม่ี ี คณุ คา ควรคาแกก ารอนุรกั ษเก็บรักษา รวมถึงชมุ ชนท่ีมอี ตั ลกั ษณทอ งถน่ิ หลายแหง ในอนาคตปญหาภัยธรรมชาตมิ แี นวโนม รุนแรง ขึ้น การเตรียมพรอมรบั มอื กรณีทเ่ี กิดภยั พบิ ัติหรือภาวะฉุกเฉนิ ในพืน้ ที่จึงจาํ เปนอยา งยงิ่ ตอ งมีการตดิ ตงั้ แผนท่แี สดงเสนทางอพยพใน ภาวะฉุกเฉนิ หรือภยั ธรรมชาตติ ามสถานทส่ี าํ คญั ในชุมชน เพือ่ เคลอ่ื นยา ยคนในชมุ ชน หรือผูที่มาเยอื นทั้งแรงงานและนกั ทองเทยี่ วให สามารถไปอยูในพ้นื ทีป่ ลอดภยั ทจ่ี ดั เตรยี มไวไดเ วลาอนั รวดเร็ว กลยุทธน น้ี าํ มาซงึ่ แผนงานดังตอไปนี้ แผนงาน 6.2 การเตรยี มพรอ มสาธารณปู การเพือ่ รองรบั ยามภัยพบิ ัติและภาวะฉุกเฉิน วัตถุประสงค : - เพอ่ื เพ่มิ ประโยชนก ารใชสอยของโรงเรียนเปนพน้ื ท่ีรองรับภยั พิบัติและท่พี ักยามฉุกเฉินของชุมชน - เพอ่ื เตรยี มความพรอมในการรองรับสถานการณใ นภาวะฉกุ เฉนิ รวมถึงภยั ธรรมชาติ แนวทางการดําเนินงาน : - การปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน ทีพ่ ักยามภยั พิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน - การตดิ ต้ังอปุ กรณเ พือ่ ความปลอดภัยของชมุ ชน ตารางที่ 3-6 สรปุ ยทุ ธศาสตร กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ดา นสาธารณปู การ ยุทธศาสตร กลยทุ ธ แผนงาน โครงการ 6 ยกระดบั การใชง าน 6.1 6.1.1 โครงการปรับปรุงวัดและโรงเรยี น ดานสาธารณปู การ สาธารณปู การ เปนศูนยบ ริการครบวงจรแก การปรบั ปรุง ผสู ูงอายแุ ละผดู อยโอกาส ใหส อดคลอ งกับโครงสราง การใหบ ริการสาธารณูปการ ประชากรและบริบททาง 6.1.2 โครงการเพิม่ ประโยชนการใชสอย โรงเรยี นเปนศนู ยก ารเรียนรู ศนู ย สังคมทีเ่ ปล่ยี นแปลง ฝกอาชพี และพ้ืนที่กจิ กรรม สันทนาการ ปรบั ปรุงสาธารณูปการ 6.2 6.2.1 โครงการปรับปรุงอาคารเรยี นเปน ทพี่ ักยามภยั พิบัตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ เพ่ือรองรบั ภยั พิบตั ิ การเตรยี มพรอ มสาธารณูปการ และภาวะฉกุ เฉนิ เพ่ือรองรับยามภัยพิบตั แิ ละ 6.2.2 โครงการติดตง้ั อุปกรณเพื่อความ ภาวะฉกุ เฉิน ปลอดภัยของชุมชน แผนที่ 3-30 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร ดา นสาธารณปู การ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม

3-48 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนรุ กั ษและพฒั นา โครงการ 6.1.1 โครงการปรบั ปรงุ วดั และโรงเรียนเปน ศนู ยบ รกิ ารครบวงจรแกผูสงู อายแุ ละผดู อ ยโอกาส รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 6 ดานสาธารณปู การ / แผนงาน 6.1 การปรบั ปรงุ การใหบริการสาธารณูปการ ปรบั ปรงุ อาคารของวดั และโรงเรียนใหเ ปนศนู ยบริการดานความรแู ละกิจกรรมทางสังคมใหกบั ผูส ูงอายุและ ผูดอยโอกาส โดยการพัฒนาเปนอาคารสําหรับการพกั ผอนหยอนใจและกิจกรรมนันทนาการ มีการติดตงั้ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุ รวมถึงปรับปรุงโรงเรียนอนุบาลและศูนยเ ด็กเล็กให เปนศูนยดูแลผูสูงอายุในชุมชน เพ่ือผูสูงอายุและผูดอยโอกาสมีกิจกรรมที่เหมาะสมในชีวิตประจําวันและ สามารถดาํ เนนิ ชีวติ ไดอยางมีความสขุ กจิ กรรมทส่ี าํ คัญของ - ศกึ ษาและจดั ทาํ แบบปรบั ปรงุ ลักษณะทางกายภาพของวดั และโรงเรียนเปน แหลง พักผอนหยอนใจและ โครงการ กจิ กรรมนันทนาการ - ศึกษาและจัดทําแบบปรบั ปรุงโรงเรียนอนุบาล/ศนู ยเ ดก็ เล็กเปน ศูนยดแู ลผสู งู อายุในชุมชน - ปรบั ปรงุ อาคารและติดต้ังอปุ กรณแ ละสิง่ อาํ นวยความสะดวกสําหรับผสู งู อายุและผดู อ ยโอกาสในวดั และ โรงเรียน ระยะเวลาและสถานที่ ชวงระยะเวลา พืน้ ท่ี / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะท่ี 1-2 (ปท ่ี 1-10 ) วัดและโรงเรยี นทเ่ี ปนศนู ยก ลางชมุ ชน งบประมาณ ปรบั ปรุงวดั และโรงเรียน ระยะที่ 1 จํานวน 10 แหง 50.0 ลานบาท (แหง ละ 5.0 ลา นบาท) ปรบั ปรงุ วัดและโรงเรียน ระยะท่ี 2 จํานวน 9 แหง 45.0 ลา นบาท (แหง ละ 5.0 ลานบาท) รวม 95.0 ลา นบาท แหลง ที่มาของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ กรงุ เทพมหานคร (สํานกั พัฒนาสังคม / สาํ นกั การศึกษา /สาํ นักงานเขต) แผนท่ี 3-31 พ้ืนที่ปรับปรงุ วดั และโรงเรยี นเปนศูนยบริการครบวงจรแกผ สู ูงอายุและผูดอยโอกาส วดั หนวยงานท่ีเก่ียวของ สถานศึกษาในสงั กดั กรุงเทพมหานคร สํานักงานพระพุทธศาสนาแหง ชาติ ผลทค่ี าดวา จะไดรับ ชวยใหพ้ืนท่ีสามารถลดตนทุนในการพัฒนาระบบสาธารณูปการเพื่อตอบสนองกับความตองการท่ี เปล่ียนแปลงในอนาคต สงเสริมการพัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะเพ่ือเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางกลุมคนใน สังคม (Multi-generation Community) ซึ่งเอ้ือใหชุมชนแตละแหงสามารถพึ่งพาตัวเองได นําไปสูการ พัฒนาชมุ ชนอยางย่ังยนื ตอไป ประเภทโครงการ การพัฒนากลไกใหม ความสาํ คญั ความสาํ คัญลาํ ดับท่ี 3 สมควรดําเนินการ ลักษณะการดําเนินการ มกี ารดําเนินการดานกายภาพควบคไู ปกบั มาตรการทางดานเศรษฐกิจ-สังคมและการจัดการ ทีม่ า : http://www.bangkok.go.th/ ทม่ี า : http://www.volunteerspirit.org/ ภาพท่ี 3-35 ตวั อยา งการปรับปรงุ วดั และโรงเรียนเปน ศูนยบ รกิ ารครบวงจรแกผ ูสูงอายแุ ละผดู อยโอกาส สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรกั ษแ ละพฒั นา 3-49 แผนท่ี 3-32 พ้ืนที่เพ่ิมประโยชนการใชสอยโรงเรยี นเปน ศนู ยก ารเรยี นรู ศูนยฝก อาชีพ และพน้ื ที่กจิ กรรมสันทนาการ โครงการ 6.1.2 โครงการเพมิ่ ประโยชนการใชส อยโรงเรยี น เปนศูนยการเรยี นรู ศูนยฝ กอาชพี และพน้ื ทก่ี ิจกรรมสนั ทนาการ รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 6 ดานสาธารณูปการ / แผนงาน 6.1 การปรับปรงุ การใหบรกิ ารสาธารณูปการ ปรับปรุงอาคารใชสอยของโรงเรียนใหเปนศูนยฝกอบรมอาชีพ ความรูทางภาษาและคอมพิวเตอรแก ผูสูงอายุและผูดอยโอกาส รวมถึงพัฒนาหองสมุดโรงเรียนเปนหอสมุดชุมชน เพ่ือใหโรงเรียนทําหนาท่ีใน การบริการไดสอดคลองกับสภาพของชุมชนที่ประสบกับสถานการณการลดลงของประชากรเด็ก และการ เพ่มิ ขน้ึ ของผูสงู อายแุ ละนกั ทองเทย่ี ว กิจกรรมที่สาํ คญั ของ - ศกึ ษา ออกแบบ และปรับปรุงอาคารใชส อยและหองสมุดโรงเรยี นเปนศนู ยฝกอบรมอาชพี และหอสมุด โครงการ ชมุ ชน - จดั จางบคุ ลากรศูนยฝกอบรมความรูทางภาษาและคอมพิวเตอรแกผูสูงอายุและผูดอยโอกาสในโรงเรียน ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พืน้ ที่ / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะท่ี 1-2 (ปที่ 1-10) โรงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร งบประมาณ ปรับปรุงพ้นื ที่ในโรงเรียน ระยะที่ 1 จาํ นวน 10 แหง 20.0 ลานบาท (แหงละ 2.0 ลานบาท) ปรับปรงุ พื้นท่ีในโรงเรยี น ระยะท่ี 2 จํานวน 9 แหง 18.0 ลา นบาท (แหงละ 2.0 ลานบาท) รวม 38.0 ลานบาท แหลง ทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั การศึกษา / สํานักงานเขต) สถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร หนวยงานที่เกี่ยวขอ ง กรงุ เทพมหานคร (สํานกั พัฒนาสังคม) ผลทค่ี าดวา จะไดร ับ ชวยใหพ้ืนท่ีสามารถลดตนทุนในการพัฒนาระบบสาธารณูปการเพื่อตอบสนองกับความตองการที่ เปล่ียนแปลงในอนาคต สงเสริมการพัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะเพื่อเช่ือมโยงความสัมพันธระหวางกลุมคนใน สังคม (Multi-generation Community) ซึ่งเอ้ือใหชุมชนแตละแหงสามารถพ่ึงพาตัวเองได นําไปสูการ พัฒนาชมุ ชนอยา งยงั่ ยืนตอ ไป ประเภทโครงการ การพฒั นากลไกใหม ความสาํ คัญ ความสาํ คญั ลาํ ดบั ที่ 3 สมควรดําเนินการ ลกั ษณะการดําเนนิ การ มกี ารดาํ เนินการดานกายภาพควบคูไปกับมาตรการทางดานเศรษฐกิจ-สงั คมและการจัดการ ที่มา : pathumthani.mol.go.th/ ที่มา : http://www.thaihealth.or.th/ ภาพท่ี 3-36 ตวั อยา งการเพม่ิ ประโยชนการใชสอยโรงเรยี นเปน ศนู ยการเรยี นรู ศนู ยฝ กอาชพี และพื้นท่ีกิจกรรมสันทนาการ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

3-50 แผนผงั แมบทการอนุรักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรักษและพฒั นา โครงการ 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรยี นเปน ทพี่ กั ยามภัยพิบัตแิ ละภาวะฉุกเฉิน รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 6 ดานสาธารณปู การ / แผนงาน 6.2 การเตรยี มพรอมสาธารณปู การ เพ่ือรองรบั ยามภัยพิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน ปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน ท่พี ักยามฉุกเฉนิ หรอื ภัยพิบตั ิ (Shelter) มกี ารเตรยี มพรอมส่ิงอํานวยความสะดวก พืน้ ฐานทสี่ ามารถเปนทพี่ ่ึงพาใหก บั ชุมชนในยามขับขันตางๆ ไดในระยะเวลาหนงึ่ พรอมตดิ ต้งั แผนทแี่ สดง เสน ทางอพยพ เพื่อเคลอื่ นยา ยคนในชุมชนและนักทองเทีย่ วใหสามารถไปอยใู นพ้ืนท่ีปลอดภัยท่จี ดั เตรียมไว ไดในเวลาอันรวดเร็ว กจิ กรรมท่สี ําคัญของ - ศึกษา ออกแบบ และปรับปรงุ อาคารเรียนเปนทพี่ ักยามฉกุ เฉินหรือภัยพบิ ตั ิ (Shelter) โครงการ - จางออกแบบและตดิ ตัง้ แผนท่แี สดงเสนทางอพยพในภาวะฉุกเฉนิ หรือภัยธรรมชาตติ ามสถานทีส่ ําคญั ในชุมชน ระยะเวลาและสถานท่ี ชว งระยะเวลา พ้ืนท่ี / สถานท่ี ดาํ เนินงาน ระยะท่ี 1-2 (ปที่ 1-10) โรงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ชมุ ชน งบประมาณ ปรบั ปรงุ พ้นื ท่ใี นโรงเรียน (Shelter) ระยะท่ี 1 จํานวน 10 แหง 22.0 ลานบาท (แหง ละ 2.0 ลานบาท) 19.8 ลานบาท รวม 41.8 ลา นบาท ตดิ ต้ังแผนท่ีในชมุ ชน ระยะท่ี 1 จํานวน 200 แหง (แหงละ 10,000 บาท) ปรับปรงุ พนื้ ทใี่ นโรงเรียน (Shelter) ระยะที่ 2 จํานวน 9 แหง (แหงละ 2.0 ลานบาท) ตดิ ต้ังแผนท่ใี นชมุ ชน ระยะที่ 2 จํานวน 180 แหง (แหง ละ 10,000 บาท) แผนที่ 3-33 พื้นท่ีปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเปน ทีพ่ กั ยามภัยพิบตั ิและภาวะฉุกเฉนิ แหลง ทม่ี าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนวยงานท่ีรับผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานกั การศกึ ษา / สาํ นักปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั / สํานักงานเขต) หนวยงานที่เกี่ยวของ กรุงเทพมหานคร (สํานกั พฒั นาสงั คม) ผลท่คี าดวา จะไดร ับ การเตรียมพรอ มรบั มือในสถานการณฉ กุ เฉินหรือภยั พบิ ัติไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ประเภทโครงการ การพัฒนากลไกใหม ทีม่ า : https://www.dulloh.com/diary ทม่ี า : http://www.nippon.co.th ความสําคญั ความสาํ คญั ลําดบั ที่ 3 สมควรดําเนินการ มีการดาํ เนนิ การดานการบรู ณะปรับปรุงหรอื พฒั นากายภาพเปนหลัก ภาพท่ี 3-37 ตวั อยางการปรบั ปรงุ โรงเรยี นเปน สถานท่ีรองรับภยั พิบัติและภาวะฉกุ เฉิน ลกั ษณะการดําเนินการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรกั ษแ ละพฒั นา 3-51 โครงการ 6.2.2 โครงการติดต้ังอุปกรณเพื่อความปลอดภยั ของชมุ ชน รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 6 ดานสาธารณูปการ / แผนงาน 6.2 การเตรยี มพรอมสาธารณูปการ เพอ่ื รองรับยามภยั พิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน ตดิ ตง้ั อปุ กรณเ พือ่ ความปลอดภัยของชุมชน ไดแ ก การตดิ ตัง้ หัวจา ยนํ้าดับเพลิงตามพื้นทีช่ ุมชนเพื่อปองกัน และบรรเทาอคั คภี ยั เนือ่ งจากสภาพพ้นื ทชี่ มุ ชนมีสภาพบานเรอื นที่หนาแนนเปนซอยแคบทีม่ ีการเขา ถึงของ รถดบั เพลงิ คอนขา งยาก นอกจากน้ี ยังมกี ารตดิ ต้ังกลองวงจรปดเพื่อชวยรักษาความสงบเรียบรอยภายใน ชมุ ชนและปองกนั อาชญากรรมท่ีอาจจะเกิดกบั คนในชุมชนและนักทองเท่ยี ว กิจกรรมที่สําคัญของ - จดั จางติดต้งั หัวจา ยน้ําดับเพลงิ เพ่ือปองกันและบรรเทาอคั คีภยั ในพ้นื ทชี่ มุ ชน โครงการ - จัดจางตดิ ต้งั กลองวงจรปด ในพื้นที่ชุมชน ระยะเวลาและสถานท่ี ชวงระยะเวลา พืน้ ที่ / สถานที่ ดําเนินงาน ระยะท่ี 1-2 (ปท ี่ 1-10) พน้ื ที่วางและพื้นที่สีเขยี วในชมุ ชน งบประมาณ ตดิ ตั้งหัวจายน้ําดบั เพลงิ ระยะท่ี 1 จํานวน 17 แหง 1.7 ลานบาท (แหงละ 1.0 แสนบาท) 17.0 ลา นบาท ติดตั้งกลอ งวงจรปด ระยะที่ 1 จาํ นวน 17 แหง (แหงละ 1.0 ลา นบาท) ติดต้งั หวั จา ยน้ําดับเพลิง ระยะท่ี 2 จาํ นวน 17 แหง 1.7 ลานบาท (แหง ละ 1.0 แสนบาท) 17.0 ลา นบาท ตดิ ตงั้ กลอ งวงจรปด ระยะท่ี 2 จาํ นวน 17 แหง (แหงละ 1.0 ลา นบาท) รวม 37.4 ลา นบาท แหลง ทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ กรงุ เทพมหานคร (สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภยั สํานกั การจราจรและขนสง / สาํ นกั งานเขต) แผนท่ี 3-34 พื้นทต่ี ิดตัง้ อุปกรณเ พ่อื ความปลอดภยั ของชุมชน หนวยงานที่เกี่ยวของ กรุงเทพมหานคร (สาํ นกั พฒั นาสังคม) สํานักงานตํารวจแหงชาติ ผลท่คี าดวา จะไดรับ การปอ งกันอัคคีภยั และการรักษาความสงบเรียบรอยในพื้นที่ชุมชนรวมถงึ สถานท่ีสําคญั ในพ้นื ท่ี ท่มี า : http://safetyenvi.blogspot.com/2009/11/ ท่มี า : http://202.129.59.73/tn/watersupply/watersupply2.htm กรงุ รตั นโกสินทรไดอยา งมีประสิทธภิ าพ ประเภทโครงการ ความสาํ คัญ การดาํ เนนิ การตามอํานาจหนา ทขี่ องหนวยงาน ลักษณะการดาํ เนินการ ความสําคัญลําดบั ที่ 2 จาํ เปนตองดาํ เนินการ มีการดาํ เนินการดา นการบูรณะปรบั ปรุงหรอื พฒั นากายภาพเปนหลัก ภาพท่ี 3-38 ตัวอยา งการตดิ ต้งั หวั จายนํ้าดับเพลงิ เพอ่ื บรรเทาอคั คภี ยั ตามจุดที่เหมาะสม สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

3-52 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรักษและพัฒนา 3.7 ยุทธศาสตรท ่ี 7 ดา นกายภาพและวิถีชุมชน 1) กลยุทธปรับปรุงสภาพแวดลอ มชุมชนใหอ ยูร วมกับมรดกวัฒนธรรมไดอ ยางเหมาะสม และสงเสริมการเรยี นรูแก ยุทธศาสตรด านกายภาพและวิถีชุมชนเปน การดําเนินการเพอ่ื เนนความเปน อยทู ่ีดี สงเสริมการพัฒนาดานเศรษฐกจิ และ สาธารณะ สังคม รวมถึงสนับสนุนใหชุมชนสามารถอยูรวมกับพื้นท่ีโบราณสถานไดอยางเก้ือกูลกัน มีการกําหนดกลยุทธในการปรับปรุง ในพืน้ ทก่ี รงุ รัตนโกสนิ ทรม ีชุมชนเปนจํานวนมากท่เี ปนชุมชนทมี่ ีคุณคา ท้ังในแงก ารเปน องคประกอบของการตั้งถ่นิ ฐานใน สภาพแวดลอ มชมุ ชนใหอ ยรู วมกบั มรดกวฒั นธรรมไดอ ยา งเหมาะสม การสงเสรมิ การเรียนรแู กส าธารณะ รวมถงึ การสง เสรมิ การตอ พ้นื ทม่ี าตงั้ แตค รง้ั อดีต และการสืบทอดภมู ิปญญาทองถิน่ และองคค วามรูตาง ๆ โดยมศี ักยภาพสามารถตอ ยอดในเชงิ การทองเที่ยว ยอดภมู ิปญญาและการสรางเศรษฐกิจชุมชน ประกอบดว ย 2 แผนงานและโครงการรวมท้งั สน้ิ 4 โครงการ โดยมีการจัดทาํ แผนผงั และเชิงการเรยี นรู การปรับสภาพแวดลอ มชมุ ชนใหมีความเหมาะสมกบั ความเปลย่ี นแปลงในมติ ติ า ง ๆ ทก่ี าํ ลังเกดิ ขนึ้ และสง เสริม แมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสนิ ทร ดา นกายภาพและวถิ ชี ุมชน (แผนท่ี 3-35) มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ใหเกิดการเรียนรูและตอยอดในเชิงเศรษฐกิจจึงเปนเร่ืองจําเปนท่ีจะตองพิจารณาในการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรใน ภาพรวม กลยทุ ธนนี้ ํามาซึง่ แผนงานดงั ตอไปน้ี 3.7.1 สถานการณแ ละปญ หา สถานการณและปญหาปจจบุ นั ของประเด็นดา นกายภาพและวิถีชุมชนในการอนุรกั ษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร สรุปได แผนงาน 7.1 การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอมชมุ ชน วัตถุประสงค : ดงั น้ี - ปญหาสภาพแวดลอมการอยอู าศยั ไมส ง เสริมคุณคาของชุมชน - เพื่อทําใหเกิดสภาพแวดลอมการอยูอาศัยของชุมชนที่เหมาะสม และชวยสงเสริมคุณคาของมรดก - ปญ หาสภาพแวดลอมควรมคี วามปลอดภยั จากอุบัตภิ ยั และอาชญากรรม วฒั นธรรมในพน้ื ท่ี รวมถงึ เพ่ือใหเ กิดพืน้ ทส่ี าธารณะท่มี ีการใชง านโดยชุมชน และสามารถส่อื สารคุณคา - ปญหาขาดการตอยอดในเชงิ กจิ กรรมการทองเที่ยวและกจิ กรรมสงเสรมิ การเรียนรู ของชุมชนสูผ ูท่สี นใจเขา มาศกึ ษาเรียนรูหรอื ทองเท่ียวได แนวทางการดาํ เนินงาน : 3.7.2 กรอบแนวคดิ ในการอนรุ กั ษแ ละพฒั นา - การปรับปรุงสภาพแวดลอ มการอยูอ าศัยในกลุมชมุ ชนท่สี ําคัญ ชุมชนเปนองคป ระกอบท่ีมีคณุ คาของพนื้ ที่กรุงรัตนโกสนิ ทร เปนสวนชวยขับเนนคุณคา ทางสงั คมของแหลงมรดกในพื้นที่ - การปรับปรงุ พ้ืนท่สี าธารณะระดับกลุมชมุ ชนภายในศาสนสถาน รวมถึงเปนศูนยร วมของภมู ิปญญาทองถิ่น และองคค วามรูตาง ๆ ซ่ึงถือเปนมรดกวัฒนธรรมทจี่ บั ตอ งไมไดทค่ี วรคาแกการสืบสาน 2) กลยุทธสง เสรมิ การตอยอดภมู ปิ ญ ญาและการสรา งเศรษฐกิจชุมชน ตอ ไป ดงั นัน้ จงึ มคี วามจาํ เปนทต่ี อ งมีการปรับปรุงสภาพแวดลอมของชุมชนใหส ามารถอยรู วมกบั มรดกวัฒนธรรมไดอยา งเหมาะสม ในพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทรมีชุมชนจํานวนมากท่ีมีภูมิปญญาและองคความรูในดานตา ง ๆ ท่ีเปนมรดกวัฒนธรรมท่ีจับตอง ปรบั ปรุงพ้นื ทสี่ าธารณะและสาธารณูปการตาง ๆ ใหส อดคลองกบั สภาพสงั คมและการใชงานทเ่ี ปลีย่ นไปตามยุคสมัย และจาํ เปน ตอ ง ไมได ทงั้ ท่เี ปนหัตถศิลป นาฏศลิ ป และอาหาร ท่ีสบื ทอดกันมารนุ ตอรนุ การสง เสริมใหม ีการสบื ทอดมรดกวัฒนธรรมดงั กลา วตอไป สงเสริมการตอยอดภมู ิปญญาทอ งถน่ิ ในเชิงเศรษฐกิจและการเรียนรเู พื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชน และเปนการสงเสรมิ การ ในอนาคตจาํ เปน ตองคํานึงถงึ ปจจัยทางเศรษฐกิจรวมดว ย เพ่ือใหเกิดแรงจูงใจในการพัฒนาและตอยอดภูมิปญ ญาและองคความรู อนุรกั ษม รดกวฒั นธรรมใหดาํ รงอยูอ ยา งยัง่ ยนื ดังกลา วไมใ หสูญสลายไปตามกาลเวลา กลยทุ ธนนี้ ํามาซ่ึงแผนงานดงั ตอ ไปนี้ แผนงาน 7.2 การสง เสริมเศรษฐกิจชมุ ชน 3.7.3 กลยุทธ แผนงานและโครงการ วัตถุประสงค : ในการดําเนินงานดานกายภาพและวถิ ีชุมชน สามารถจาํ แนกไดเ ปนกลยทุ ธ 2 ประการ ดงั นี้ - เพ่ือใหเกิดการตอยอดจากภูมิปญญาและองคความรูของชุมชนในเชิงเศรษฐกิจในหลากหลายมิติ อาทิ การพัฒนาผลิตภัณฑ การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการเรียนรู การใชประโยชนจาก โครงสรา งพ้นื ฐานดจิ ิทัล ฯลฯ แนวทางการดําเนนิ งาน : - การพัฒนาผลติ ภัณฑข องผปู ระกอบการภายในชุมชน - การสง เสรมิ ใหเกดิ ผปู ระกอบการดิจิทัล สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา 3-53 ตารางท่ี 3-7 สรุปยทุ ธศาสตร กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ดา นกายภาพและวถิ ีชมุ ชน ยทุ ธศาสตร กลยทุ ธ แผนงาน โครงการ 7.1.1 โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดลอ ม ปรับปรุงสภาพแวดลอ มชุมชน การอยูอาศัยในกลุมชุมชนท่สี ําคัญ ใหอ ยูร วมกับมรดกวัฒนธรรม 7.1 ไดอ ยา งเหมาะสม การปรับปรุงสภาพแวดลอ ม 7.1.2 โครงการปรบั ปรงุ พื้นท่ีสาธารณะ และสง เสริมการเรยี นรู ชมุ ชน ระดับกลุมชมุ ชนภายใน 7 แกสาธารณะ ศาสนสถาน ดานกายภาพ 7.2.1 โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑข อง และวถิ ชี ุมชน ผูประกอบการภายในชุมชน สง เสริมการตอยอดภมู ิปญ ญา 7.2 7.2.2 โครงการสงเสรมิ ใหเกดิ และการสรา งเศรษฐกจิ ชุมชน การสงเสริมเศรษฐกจิ ชุมชน ผูประกอบการดจิ ทิ ลั แผนท่ี 3-35 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร ดา นกายภาพและวถิ ีชมุ ชน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

3-54 แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพฒั นา โครงการ 7.1.1 โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดลอมการอยอู าศยั ในกลมุ ชุมชนท่สี าํ คัญ ยุทธศาสตร 7 ดานกายภาพและวิถชี มุ ชน / แผนงาน 7.1 การปรับปรงุ สภาพแวดลอ มชมุ ชน รายละเอียดโครงการ ใหม ีการดาํ เนินการปรับปรุงสภาพแวดลอมการอยูอาศัยของกลุม ชุมชนท่ีมีความโดดเดน หรือมศี กั ยภาพใน การสงเสริมการเรยี นรู โดยเนนการปรับปรุงพนื้ ที่สาธารณะ และสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีอยูในความดแู ล ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น อาทิ ถนน ทางเทา ไฟฟา สองสวา ง ฯลฯ ใหสามารถใชงานไดส ะดวกสบาย และมีการออกแบบทสี่ ามารถสอื่ ถงึ อัตลกั ษณของแตละพ้ืนท่ีได กิจกรรมที่สาํ คัญของ - ศึกษา วางผงั และออกแบบการปรับปรุงพ้นื ทส่ี าธารณะและสงิ่ อาํ นวยความสะดวกของกลุมชุมชน โครงการ - ศึกษาและจดั ทําปายขอ มูลสาํ หรับการทอ งเท่ยี วชุมชน ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พ้ืนท่ี / สถานที่ ดาํ เนินงาน ระยะที่ 1 (ปท ่ี 1-5) กลุมชุมชนยานวงั หลัง-วดั ระฆงั โฆสิตาราม กลุมชุมชนยานสามแพรง-เสาชิงชา กลุมชุมชนยานตลาดนอย กลมุ ชุมชนยา นนางเลง้ิ และกลุมชมุ ชนยา นกะดจี ีน (รวม 5 พนื้ ท)่ี ระยะที่ 2 (ปท่ี 6-10) กลมุ ชุมชนยา นผา นฟา -ภูเขาทอง กลมุ ชมุ ชนยา นบานบาตร กลุมชุมชนยานบางลาํ พู กลุมชมุ ชนยานวดั ดุสิดาราม กลุมชุมชนยานวัดโมลีโลกยาราม-วัดหงสร ตั นาราม (รวม 5 พ้ืนท)่ี งบประมาณ ศกึ ษา วางผัง และออกแบบการปรับปรุงพ้ืนที่ 12.0 ลานบาท ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ พืน้ ท่ีกลุมชุมชน ระยะท่ี 1 144.0 ลานบาท (เฉล่ยี พืน้ ทล่ี ะ 28.8 ลานบาท) ดาํ เนนิ การปรบั ปรุงพน้ื ท่ีกลมุ ชุมชน ระยะที่ 2 144.0 ลา นบาท (เฉลย่ี พ้นื ทลี่ ะ 28.8 ลานบาท) รวม 300.0 ลา นบาท แหลง ทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานที่รบั ผิดชอบ กรุงเทพมหานคร (สาํ นกั ผังเมือง) หนวยงานทเ่ี กี่ยวขอ ง กรงุ เทพมหานคร (สํานกั วัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ยี ว / สาํ นกั การโยธา) แผนที่ 3-36 พื้นทปี่ รับปรุงสภาพแวดลอมการอยอู าศยั ในกลมุ ชุมชนท่ีสาํ คัญ กรมการทอ งเท่ยี ว ภาพท่ี 3-39 ภาพกอนการพัฒนาและแนวทางการปรับปรงุ สภาพแวดลอ มการอยูอาศยั กลุมชุมชนวดั ดุสิตาราม การทองเทย่ี วแหงประเทศไทย ทมี่ า : คณะทีป่ รึกษา, 2560 การไฟฟานครหลวง การประปานครหลวง บริษัทโทรคมนาคมและการสอ่ื สารทง้ั ภาครฐั และเอกชน อาทิ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ฯลฯ ชุมชน ผลทีค่ าดวาจะไดร บั พื้นทีส่ าธารณะโดยเฉพาะอยางย่ิงทางสัญจรภายในพ้ืนท่ีกลุมชุมชนไดรับการปรบั ปรุง ชว ยใหผอู ยอู าศัยใน พื้นทีใ่ ชง านไดอ ยา งสะดวกสบาย และเชอื้ เชญิ ใหบ คุ คลภายนอกเขา ไปเรียนรูวิถชี วี ติ และอตั ลักษณข องพ้ืนท่ี รวมถึงเอ้ือใหเกดิ การตอ ยอดในกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมของชมุ ชน ประเภทโครงการ การดําเนินการตามอาํ นาจหนา ที่ของหนวยงาน ความสําคัญ ความสาํ คัญลําดบั ท่ี 2 จําเปนตอ งดําเนนิ การ ลกั ษณะการดําเนินการ มกี ารดาํ เนนิ การดา นการบรู ณะปรับปรงุ หรือพัฒนากายภาพเปนหลัก สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพฒั นา 3-55 โครงการ 7.1.2 โครงการปรบั ปรุงพ้ืนทีส่ าธารณะระดับกลมุ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 7 ดา นกายภาพและวถิ ีชมุ ชน / แผนงาน 7.1 การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ มชมุ ชน กิจกรรมทส่ี ําคัญของ ใหม กี ารดําเนินการปรับปรงุ พื้นทภ่ี ายในกลุมชุมชน โดยเนนการใชงานพื้นที่บางสว นของศาสนสถาน และพน้ื ที่โลง วางใน โครงการ ชุมชน เพื่อใหเปนพ้ืนท่ีสาธารณะท่ีผูอยอู าศัยในพื้นที่สามารถใชประโยชนเพ่ือการพบปะสงั สรรคและสงเสริมสขุ ภาวะ ระยะเวลาและสถานท่ี ดาํ เนนิ งาน และอาจพวงประโยชนสาํ หรบั การใชงานในกรณีฉกุ เฉิน เชน มีการฝงแท็งกน้ําเพ่ือสามารถ ใชงานเมอ่ื เกดิ เหตุอัคคภี ัย งบประมาณ ทั้งนี้ เพื่อมุงเนนการสรางความสัมพันธภายในชุมชนใหเขมแข็ง รวมถึงเปนพื้นท่ีท่ีสามารถส่ือสารความสัมพันธแบบ แหลง ที่มาของงบประมาณ บ.ว.ร. (บาน วัด โรงเรยี น) และแสดงถงึ เอกลักษณของชุมชน หนวยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ หนว ยงานที่เก่ียวขอ ง - หารือรวมกับชมุ ชนและศาสนสถานเพือ่ หาพื้นทแ่ี ละความเปน ไปไดในการดําเนนิ การ และสรา งกระบวนการออกแบบ ผลที่คาดวา จะไดร บั ประเภทโครงการ ปรบั ปรงุ พน้ื ทอ่ี ยา งมสี ว นรว ม และออกแบบกลไกเพ่อื การดแู ลรกั ษาพนื้ ทอี่ ยา งยง่ั ยนื ความสาํ คญั ลกั ษณะการดาํ เนนิ การ - ปรบั ปรุงพ้ืนที่สาธารณะระดับกลุม ชุมชนภายในศาสนสถาน - พัฒนาพื้นทีส่ าธารณะจากที่โลงวางในชุมชน ชว งระยะเวลา พืน้ ท่ี / สถานท่ี ระยะท่ี 1-3 (ปท่ี 1-15) วัดชนะสงคราม วดั บวรนเิ วศวิหาร วดั บุรณศริ มิ าตยาราม วดั มหรรณพาราม วดั สระเกศ วัด ราชนดั ดาราม พ้นื ทบี่ ริเวณขา งวดั สทุ ัศนเทพวราราม วัดพระพเิ รนทร วัดบพิตรพิมุข พ้ืนท่ี บรเิ วณปากคลองบางกอกนอ ย วัดระฆงั โฆสติ าราม วัดเครอื วลั ย วดั หงสร ตั นาราม วดั ดาว ดงึ ษาราม วัดดสุ ิดาราม วัดสามพระยา วดั นรนาถสุนทริการาม วัดอนิ ทรวิหาร วัดใหมอมตรส วัดโสมนัสวหิ าร วัดสนุ ทรธรรมทาน วดั ปรินายก วดั สติ าราม มัสยิดมหานาค วัดจกั รวรรดริ าชาวาส วดั คณิกาผล วดั สัมพันธวงศาราม วัดปทมุ คงคา ศาล เจา ไทฮว้ั วัดประยรุ วงศาวาส วัดบุปผาราม วัดอนงคาราม วัดทองธรรมชาติ วัดทองนพคณุ (รวม 34 พ้นื ท)ี่ พ้นื ทโ่ี ลง วางอ่ืน ๆ ในชุมชน (รวม 58 พ้ืนที่) จดั กระบวนการมสี วนรว มกับชมุ ชนและศาสนสถาน 6.8 ลา นบาท ระยะท่ี 1 (12 พื้นท่ี) ระยะท่ี 2 (11 พนื้ ท่ี) ระยะที่ 3 (11 พืน้ ท)ี่ เฉลยี่ พนื้ ที่ละ 0.2 ลา นบาท ปรบั ปรงุ พน้ื ทสี่ าธารณะระดับกลมุ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน ระยะท่ี 1 57.6 ลา นบาท (12 พืน้ ที่ เฉล่ียพ้ืนทลี่ ะ 4.8 ลา นบาท) พฒั นาพนื้ ทีส่ าธารณะจากท่ีโลง วางในชมุ ชน ระยะท่ี 1 60.0 ลานบาท (20 พืน้ ที่ เฉลย่ี พนื้ ท่ลี ะ 3.0 ลานบาท) ปรบั ปรงุ พ้นื ทีส่ าธารณะระดบั กลมุ ชมุ ชนภายในศาสนสถาน ระยะที่ 2 (11 พืน้ ท)่ี 52.8 ลา นบาท พฒั นาพ้ืนทส่ี าธารณะจากทโี่ ลง วา งในชมุ ชน ระยะที่ 2 (19 พ้นื ท)ี่ 57.0 ลา นบาท แผนท่ี 3-37 พ้ืนท่ีปรับปรุงพน้ื ทส่ี าธารณะระดับกลุมชุมชนภายในศาสนสถาน ปรับปรงุ พ้ืนทส่ี าธารณะระดบั กลุมชุมชนภายในศาสนสถาน ระยะที่ 3 (11 พ้ืนที่) 52.8 ลา นบาท ภาพท่ี 3-40 ภาพกอนการพัฒนาและแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดลอ มการอยูอาศัยระดบั กลุมชุมชนบรเิ วณโดยรอบศาลเจา ไทฮ้วั พฒั นาพน้ื ที่สาธารณะจากท่โี ลง วา งในชุมชน ระยะที่ 3 (19 พื้นที่) 57.0 ลานบาท ที่มา : คณะทป่ี รึกษา, 2560 รวม 344.0 ลานบาท กรงุ เทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง) ศาสนสถานเจา ของพน้ื ท่ี กรุงเทพมหานคร (สาํ นกั พฒั นาสังคม / สํานกั ส่งิ แวดลอ ม) สํานกั งานพระพุทธศาสนาแหง ชาติ กรมการศาสนา กรมศิลปากร ชมุ ชน พื้นท่ีสาธารณะที่มีการใชงานในชวี ติ ประจําวนั โดยผูอยอู าศัยในชุมชน ซึ่งมีการออกแบบท่ีสอดคลองกับความตองการ ของผูอยูอ าศัย สามารถเออ้ื ใหเกิดความสมั พนั ธเ ชงิ สงั คม และมปี ระโยชนเม่อื เกิดเหตฉุ กุ เฉิน การดําเนนิ การตามอํานาจหนา ที่ของหนว ยงาน / การพฒั นากลไกใหม ความสําคัญลาํ ดบั ที่ 3 สมควรดาํ เนนิ การ มกี ารดําเนินการดานกายภาพควบคูไปกับมาตรการทางดา นเศรษฐกจิ -สังคมและการจดั การ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

3-56 แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรักษและพัฒนา โครงการ 7.2.1 โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑข องผปู ระกอบการภายในชุมชน รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 7 ดา นกายภาพและวิถีชุมชน / แผนงาน 7.2 การสง เสริมเศรษฐกจิ ชุมชน สง เสรมิ การพฒั นาผลิตภัณฑท ้ังที่เปนสินคาและการบริการของผูประกอบการภายในชมุ ชน หรือผอู ยูอาศัย ในชุมชนท่ีรวมตัวกัน โดยคัดเลือกจากสินคาและบริการของชุมชนที่เหมาะสมจะเปน วิสาหกิจชุมชน และ ตองเปนการตอยอดจากภูมิปญญาและองคความรูของชุมชน การสนับสนุนดําเนินการโดยการ ใหงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑแกชุมชน และใหการสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑโดย ผเู ช่ยี วชาญ กิจกรรมที่สําคญั ของ - รบั สมคั รชุมชนหรือผปู ระกอบการภายในชมุ ชนท่ีสนใจในการพัฒนาผลติ ภัณฑ โครงการ อบรม และสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพฒั นาผลติ ภณั ฑรวมกับผเู ช่ียวชาญ ระยะเวลาและสถานที่ ดําเนินงาน - พัฒนาผลิตภณั ฑร ว มกับชุมชนทมี่ คี วามพรอ ม งบประมาณ - ติดตามผลสาํ เร็จของการพัฒนาโครงการ ชว งระยะเวลา พนื้ ท่ี / สถานท่ี ระยะท่ี 1-2 (ปท ี่ 1-10) ชมุ ชนและผปู ระกอบการท่มี ีความพรอ มในพืน้ ท่ี พฒั นาผลติ ภัณฑรว มกบั ชุมชนที่มีความพรอมในระยะที่ 1 50.0 ลานบาท (เฉลยี่ ปล ะ 10.0 ลานบาท) 50.0 ลานบาท รวม 100.0 ลานบาท พฒั นาผลิตภณั ฑร วมกับชุมชนท่มี คี วามพรอมในระยะที่ 2 (เฉลี่ยปล ะ 10.0 ลา นบาท) แหลง ทีม่ าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนวยงานที่รับผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สํานกั พฒั นาสงั คม) หนวยงานท่เี กี่ยวขอ ง สาํ นกั งานบริหารและพฒั นาองคความรู (องคการมหาชน) ศนู ยส รางสรรคง านออกแบบ (TCDC) กรุงเทพมหานคร (สํานกั วฒั นธรรม กีฬา และการทองเทยี่ ว) สํานกั งานสง เสริมวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรมการพัฒนาชุมชน สถาบนั การศึกษาที่เกี่ยวขอ ง ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ ตนแบบของสินคาหรือบรกิ ารทส่ี ามารถเปนผลิตภัณฑของชุมชนทเ่ี ปน การตอยอดจากภูมปิ ญญาและองค ประเภทโครงการ ความรู ซึ่งจะชวยใหการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของชุมชนเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ความสําคญั ใหเกิดผลทางเศรษฐกจิ จากกจิ กรรมการทองเทย่ี วทอี่ าจเกดิ ขึ้นตามมาได ลักษณะการดาํ เนนิ การ การสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานของภาคสว นอื่น ๆ ความสําคญั ลําดบั ท่ี 3 สมควรดาํ เนินการ ภาพท่ี 3-41 ตวั อยา งผลิตภัณฑข องผปู ระกอบการภายในชุมชนที่ไดรบั การออกแบบและพฒั นา มกี ารดําเนินกิจกรรม มาตรการทางเศรษฐกิจ-สังคม และการจัดการความรูความเขา ใจ ทม่ี า : โครงการอนสุ รณอ ยุธยา-ธนบรุ ี 250 ป ภายใต มลู นธิ เิ สฐยี รโกเศศ-นาคะประทปี และ กระทรวงวัฒนธรรม ผลงานของ นสิ ติ นักศึกษาทงั้ เกา และปจ จุบัน ของภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย และวิทยาลยั เพาะชา ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนุรักษและพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษและพฒั นา 3-57 โครงการ 7.2.2 โครงการสงเสรมิ ใหเ กดิ ผปู ระกอบการดิจิทลั รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 7 ดา นกายภาพและวิถชี ุมชน / แผนงาน 7.2 การสงเสริมเศรษฐกจิ ชมุ ชน ดําเนินการสงเสริมใหเกิดผูประกอบการดจิ ิทัล เพ่ือตอบสนองนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล ท่ีเปนการสงเสริม การคาและบริการเดิมท่มี ีอยูในพื้นทอ่ี ยแู ลว หรือเปน การพฒั นารวมถงึ การตอยอดจากองคค วามรูทมี่ ีอยูใน พื้นท่ี โดยเนนกิจกรรมการใหองคความรูแกผูประกอบการ เชน การอบรม การใหความชวยเหลือโดย ผูเชย่ี วชาญดานตาง ๆ ท่ีเกย่ี วของ กจิ กรรมทส่ี ําคัญของ - รับสมัครผปู ระกอบการทมี่ คี วามพรอมในพืน้ ที่ เพ่อื รบั การอบรม และใหค วามชวยเหลือโดยผูเชยี่ วชาญ โครงการ - อบรม และสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพิ่มทกั ษะของผปู ระกอบการในการเปนผูป ระกอบการดจิ ิทัล - พัฒนาเว็บทา (Portal web) เพื่อสง เสรมิ การคา ดจิ ิทลั ในระดบั ยา นตาง ๆ - ตดิ ตามผลสาํ เรจ็ ของการพฒั นาโครงการ ระยะเวลาและสถานท่ี ชวงระยะเวลา พืน้ ที่ / สถานท่ี ดาํ เนินงาน ระยะที่ 1-2 (ปที่ 1-10) ชุมชนและผูประกอบการทม่ี คี วามพรอมในพ้ืนท่ี งบประมาณ จัดการอบรมและและพฒั นาเวบ็ ทา 30.0 ลา นบาท ใหก บั ชุมชนทม่ี คี วามพรอมในระยะท่ี 1 จัดการอบรมและและพฒั นาเวบ็ ทา 30.0 ลานบาท ใหกบั ชุมชนที่มีความพรอมในระยะท่ี 2 รวม 60.0 ลานบาท แหลงทีม่ าของงบประมาณ สํานักงานสงเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ สํานักงานสงเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัล หนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ง กรมสงเสรมิ ธรุ กจิ การคา สถาบันการศกึ ษาท่เี ก่ียวของ ภาคเอกชน ผูป ระกอบการในชมุ ชน ผลทค่ี าดวาจะไดรับ พ้ืนท่ีทางเศรษฐกิจเดิมไดรับการฟนฟูและสรางโอกาสและความม่ันคงทางเศรษฐกิจใหกับผูประกอบ ภาพที่ 3-42 ตวั อยา งการพฒั นาเว็บทา (Portal web) เพอื่ สง เสรมิ การคา ดิจทิ ัล การรายใหมในพ้นื ที่กรงุ รตั นโกสินทร ประเภทโครงการ ท่ีมา: https://www.thetrippacker.com/ ความสาํ คญั การสนับสนุนการดาํ เนินงานของภาคสว นอ่ืน ๆ ลักษณะการดําเนินการ ความสาํ คญั ลําดบั ท่ี 3 สมควรดาํ เนนิ การ มกี ารดําเนินกจิ กรรม มาตรการทางเศรษฐกจิ -สงั คม และการจัดการความรคู วามเขา ใจ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

3-58 แผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรักษและพฒั นา 3.8 ยุทธศาสตรท ่ี 8 ดา นการทอ งเท่ยี ว 3.8.3 กลยุทธ แผนงานและโครงการ ยุทธศาสตรดานการทองเทย่ี วเปนการดําเนินการเพื่อตอ ยอดระบบและกิจกรรมทางเศรษฐกิจสําคัญที่มีอยเู ดิมในพ้ืนที่ให ในการดาํ เนินงานดา นการทองเท่ยี ว สามารถจําแนกไดเปน กลยุทธ 3 ประการ ดังนี้ 1) กลยทุ ธเพิม่ คุณคา และความหลากหลายของการทองเท่ียว เกิดความยงั่ ยนื และสอดคลอ งกบั คุณคาของมรดกทางวัฒนธรรม รวมถึงสามารถปรับตัวใหเขากับการพัฒนาดานตาง ๆ ในพ้ืนที่ มี การพัฒนาใหก ารทอ งเทยี่ วในพ้ืนที่กรุงรตั นโกสินทรและพื้นทตี่ อเน่ืองเปนพ้ืนทีท่ องเท่ียวทีม่ ีชวี ิตชีวาดงึ ดดู นกั ทองเทีย่ วทั้ง การกําหนดกลยุทธในการเพม่ิ คุณคาและความหลากหลายของการทอ งเท่ียว การพัฒนาระบบการใหขอ มูลและการเพิ่มส่ิงอาํ นวย ความสะดวกนักทองเที่ยว รวมถึงการยกระดับมาตรฐานแหลงที่พักของนักทอ งเทยี่ ว ประกอบดวย 3 แผนงานและโครงการ รวม ชาวไทยและชาวชาติ และสามารถสงเสริมความรูความเขาใจในประวัติศาสตรศิลปวัฒนธรรมของชาติและชุมชนในพื้นที่ไดนั้น ทั้งสิ้น 7 โครงการ โดยมีการจัดทําแผนผังแมบทการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร ดานการทองเท่ียว (แผนท่ี 3-38) มี จําเปนตองมีการปรบั ปรุงและพัฒนาองคประกอบตาง ๆ ของแหลงทอ งเทย่ี ว ไดแก ปา ยส่ือสารขอมูลแหลงทอ งเทีย่ ว แหลงขอมลู รายละเอียดดังนี้ วิถีชุมชน การจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงการปรับปรุงคุณภาพแหลงทองเท่ียวใหมีความสะดวก ปลอดภัยตามมาตรฐานสากล กลยุทธนน้ี าํ มาซ่งึ แผนงานดังตอไปนี้ 3.8.1 สถานการณและปญ หา สถานการณแ ละปญ หาปจ จุบันของประเดน็ ดา นการทอ งเที่ยวในการอนรุ กั ษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร สรุปไดด ังน้ี แผนงาน 8.1 การปรบั ปรุงแหลง ทองเทยี่ ว - การทองเทยี่ วแนวโนมแบง เปนกลมุ เล็กและเนนการเรยี นรเู ชงิ ลึก วตั ถุประสงค : - กลุม นกั ทองเทยี่ วเดนิ ทางซํา้ (Repeater) จะตอ งการแสวงหาแหลงทอ งเที่ยวใหม - นักทองเท่ียวนิยมโรงแรมท่ีพักขนาดกลางถึงเลก็ ท่ีไดม าตรฐานและมีเอกลักษณมากขึน้ - เพอ่ื ปรับปรุงและพฒั นาองคป ระกอบตาง ๆ ของแหลง ทองเทยี่ วใหส ามารถดงึ ดดู นักทอ งเที่ยวใหเขามา - แหลง ทพ่ี ักในพืน้ ท่ยี ังไมไ ดมาตรฐานทั้งความปลอดภยั และความสวยงาม ทองเท่ียวในพ้ืนที่ตา ง ๆ ทั้งสถานทีส่ ําคัญทางประวัตศิ าสตร ชุมชน และแหลงประเพณีวัฒนธรรมของ - ขาดการพฒั นากจิ กรรมการทอ งเท่ยี วท่สี อดคลอ งกบั พืน้ ทีอ่ นรุ ักษ กรุงรตั นโกสินทรไ ดบอยคร้งั ใชร ะยะเวลาในการทอ งเทย่ี วนานขึ้น สามารถสรางรายไดใ หก ับชุมชนและ - นกั ทองเทยี่ วกระจกุ ตัวเฉพาะในพื้นทีแ่ หลง ทอ งเทย่ี วสาํ คัญ ขาดการกระจายรายไดจ ากการทองเทีย่ วไปสูช มุ ชน การทองเที่ยวในภาพรวม รวมถงึ สามารถสรางความรูความเขาใจตอ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของพ้ืนที่ - สาธารณูปการและการบรกิ ารในบางพน้ื ที่ไมเ พียงพอตอการดงึ ดดู และรองรับการทอ งเทย่ี ว ใหกบั นกั ทอ งเทีย่ วไดอ ยา งถูกตองและลกึ ซงึ้ แนวทางการดําเนนิ งาน : 3.8.2 กรอบแนวคดิ ในการอนรุ กั ษแ ละพัฒนา - การปรับปรงุ อุปกรณสื่อสารขอ มูลแหลง ทอ งเทีย่ ว กรุงรัตนโกสนิ ทรเ ปนพื้นที่ทองเท่ียวทสี่ าํ คญั ทส่ี ดุ ของประเทศไทยจงึ ควรมกี ารพฒั นาและดแู ลรกั ษาใหเ ปนพน้ื ทที่ องเท่ยี วท่ี - การพัฒนาแหลง ขอมูลวิถชี มุ ชน - การจัดกจิ กรรมเพอ่ื สง เสริมการทอ งเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม มีภูมทิ ัศนอนั สงางาม เปน หนาเปน ตาของประเทศ และเปน พน้ื ท่ที องเท่ียวท่มี ีชีวิตชีวาดงึ ดูดนกั ทอ งเทีย่ วท้ังชาวไทยและชาวตา งชาติ - การจัดระเบยี บพ้นื ท่ที องเที่ยว การทองเที่ยวในกรุงรัตนโกสินทรมุงเนนการสรางสรรคก ารทอ งเท่ียวที่สง เสริมความรูความเขาใจในประวัตศิ าสตรศลิ ปวัฒนธรรม ของชาติและชุมชนในพื้นท่ี และตองเปนกลไกในการสง เสริมการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมอยางยง่ั ยืนไปพรอมกับการสรางการ พัฒนาทางเศรษฐกิจใหกับชุมชน การทองเท่ียวในกรุงรัตนโกสินทรจงึ ควรเนน การเดินทางโดยการเดิน จักรยาน และระบบขนสง มวลชนเพื่อลดผลกระทบตอสภาพแวดลอม ลดปญหาการจราจรติดขัด และสงเสริมใหนักทองเท่ียวใชเวลาในการสัมผัส ประวตั ิศาสตรและศลิ ปวฒั นธรรมในพนื้ ทไี่ ดย าวนานข้นึ นอกจากน้นั ตองอาํ นวยความสะดวกสบายและความปลอดภยั ในการพํานกั ในพนื้ ท่ีใหก ับนกั ทอ งเทีย่ ว - ปรับปรุงและพัฒนาแหลงที่พักนักทองเท่ียวที่มีความปลอดภัยและสะดวกสบายตามมาตรฐานสากล รวมถึง มบี รรยากาศท่เี หมาะสมกบั พน้ื ท่ที องเท่ยี วเชงิ อนรุ ักษ - ปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณและวิธีการใหขอมูลเสนทางทองเท่ียวแกนักทองเที่ยวใหสามารถเดินทางไปสูแหลง ทองเท่ียวในพน้ื ทไี่ ดอ ยางสะดวก สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

แผนผงั แมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรักษและพัฒนา 3-59 2) กลยุทธพัฒนาระบบการใหขอ มูลและเพิ่มสงิ่ อํานวยความสะดวกนักทองเทยี่ ว 3) กลยุทธยกระดับมาตรฐานแหลงทพ่ี ักนักทองเที่ยว การพัฒนาสถานที่และอุปกรณแสดงขอมูลเสนทางการทองเที่ยวเพ่ือชวยใหนักทองเท่ียวสามารถเดินทางไปสูแหลง การพัฒนาทีพ่ ักนักทอ งเท่ียวทีไ่ ดมาตรฐานเปนมาตรการทสี่ ําคญั ในการเพ่ิมระยะเวลาทอ งเท่ียวและระยะเวลาพาํ นกั ของ ทอ ง เท่ียวกรุงรัตนโกสินทรและพ้ืนที่ตอเน่ืองไดอยางสะดวกเปนปจจัยสําคัญในการสงเสริ มใหนักทองเท่ียวเดินทางไปสูแหลง นักทอ งเทย่ี วในพน้ื ที่กรงุ รตั นโกสินทรแ ละพื้นท่ตี อเน่อื ง ในปจจบุ นั นักทอ งเทย่ี วจาํ นวนมากนยิ มพักในโรงแรมทมี่ ขี นาดกลางและ ทองเท่ียวตาง ๆ ท้ังโบราณสถานวัตถุและแหลงทองเท่ียวในชุมชนตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง เปนการสรางความรูความเขาใจท่ีลึกซง้ึ ขนาดเล็ก แตม ีความสะดวกสบายและความปลอดภัยท่ไี ดมาตรฐานสากล และมีบรรยากาศที่เปน เอกลกั ษณสะทอ นวฒั นธรรมและ เกี่ยวกบั การศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชวี ิตในพ้ืนที่ และเปนการเพ่ิมระยะเวลาพํานกั และมูลคา การใชจ า ยดา นการทอ งเทีย่ วในพื้นท่ีให วิถีชวี ติ ในพน้ื ที่ นอกจากน้ันยังมนี ักทองเทีย่ วทตี่ องการพาํ นกั ในพื้นท่ีชมุ ชนท้งั ในรูปแบบโฮมสเตยแ ละโรงแรมขนาดเล็กเพอ่ื ซึมซับ มากขึ้น นอกจากนั้น การพัฒนาเสนทางการทองเท่ียวเปนการสงเสริมการเดิน การใชจักรยาน และการใชประโยชนระบบขนสง วถิ ีชวี ติ ของคนในทอ งถนิ่ การสง เสรมิ การพัฒนาแหลงทพ่ี ักนกั ทองเทย่ี วทไ่ี ดม าตรฐานจงึ มงุ เนนการใชป ระโยชนจ ากอาคารทีม่ อี ยใู น มวลชนในการเดนิ ทาง ซึ่งชวยใหเ กดิ การแกไ ขปญ หาดานการจราจรในพื้นทอ่ี กี ดว ย กลยุทธนน้ี าํ มาซง่ึ แผนงานดังตอ ไปน้ี ปจจุบันและการพัฒนาแหลงที่พักนักทองเท่ียวในชุมชนที่มีความพรอม รวมถึงการประชาสัมพันธที่พักที่ไดมาตรฐานใหกับ แผนงาน 8.2 การพฒั นาเสนทางการทอ งเทีย่ ว นกั ทอ งเท่ยี วเพื่อสงเสรมิ ใหเกดิ การพาํ นกั ในพนื้ ทม่ี ากยิ่งขึ้น กลยทุ ธนนี้ าํ มาซ่ึงแผนงานดงั ตอ ไปน้ี วัตถปุ ระสงค : แผนงาน 8.3 การพัฒนาแหลงท่ีพกั นกั ทอ งเทยี่ วใหไดม าตรฐาน วัตถุประสงค : - เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาสถานท่ีและอุปกรณใหขอมูลเสนทางการทองเที่ยว รวมถึงพัฒนาแผนที่และ ระบบออนไลนเพ่ือการใหขอมูลการทองเท่ียว ซ่ึงเปนการสงเสริมใหนักทองเที่ยวเดนิ ทางทองเที่ยวใน - เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาอาคารรูปแบบตาง ๆ ที่มีอยูในพื้นท่ีและการพัฒนาแหลงทพี่ ักนักทองเท่ียวใน กรงุ รตั นโกสนิ ทรไ ดอ ยางสะดวกมากยิง่ ขนึ้ และเปนการชวยกระจายรายไดจากการทองเทย่ี วไปสชู ุมชน ชุมชนที่มีความพรอมใหเปนแหลงที่พักนักทองเที่ยวท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล รวมถึง แนวทางการดําเนนิ งาน : ประชาสมั พนั ธผ านชองทางตา ง ๆ เพือ่ นกั ทอ งเทยี่ วท้งั ชาวไทยและชาวตางประเทศสามารถเขาถงึ แหลง - การปรับปรุงสถานท่ีและอปุ กรณใหข อ มูลเสน ทางการทอ งเทย่ี ว ทพี่ กั ขนาดกลางและเล็กทีม่ ีคณุ ภาพไดมากยง่ิ ขนึ้ - การพัฒนาแผนทแี่ ละระบบออนไลนเ พื่อใหขอมูลการทอ งเทยี่ ว แนวทางการดาํ เนินงาน : - การสง เสริมการพัฒนาแหลง ทีพ่ กั นักทองเท่ยี วใหไดมาตรฐาน สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

3-60 แผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพฒั นา ตารางท่ี 3-8 สรุปยุทธศาสตร กลยทุ ธ แผนงานและโครงการ ดา นการทอ งเทยี่ ว ยุทธศาสตร กลยทุ ธ แผนงาน โครงการ 8 8.1.1 โครงการปรบั ปรุงอุปกรณส ่อื สาร ดานการทอ งเท่ยี ว ขอ มลู แหลงทอ งเท่ียว เพ่ิมคณุ คาและ 8.1 8.1.2 โครงการพัฒนาแหลงขอมูลวถิ ี ความหลากหลาย การปรบั ปรงุ แหลงทองเท่ยี ว ชมุ ชน ของการทอ งเทีย่ ว 8.1.3 โครงการจัดกจิ กรรมเพื่อสงเสริม การทองเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม 8.1.4 โครงการจัดระเบียบพนื้ ท่ี ทองเทยี่ ว พฒั นาระบบการใหขอมูล 8.2.1 โครงการปรบั ปรงุ สถานท่ีและ และเพมิ่ สิง่ อํานวย อุปกรณใหขอมูลเสนทางการ ความสะดวกนกั ทองเทีย่ ว 8.2 ทอ งเท่ียว การพฒั นาเสน ทางการทอ งเท่ียว 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนท่ีและระบบ ออนไลนเ พื่อใหขอมลู การ ทองเท่ยี ว ยกระดับมาตรฐาน 8.3 8.3.1 โครงการสงเสรมิ การพฒั นาแหลง แหลง ที่พักนักทองเท่ียว การพัฒนาแหลง ทพี่ ัก ท่ีพักนักทองเทย่ี วใหไดมาตรฐาน นักทองเทย่ี วใหไดมาตรฐาน แผนท่ี 3-38 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร ดานการทองเทีย่ ว สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนุรักษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ ักษแ ละพฒั นา 3-61 โครงการ 8.1.1 โครงการปรบั ปรงุ อุปกรณส ื่อสารขอ มลู แหลงทอ งเท่ียว รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 8 ดานการทอ งเทย่ี ว / แผนงาน 8.1 การปรบั ปรงุ แหลงทอ งเทยี่ ว ดําเนินการตดิ ต้งั ปา ยขอมลู แหลงทองเท่ียวทสี่ ื่อสารถึงประวตั ศิ าสตรค วามเปนมา ความสาํ คัญ เอกลักษณ รวมถึงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตรกับแหลงทองเท่ียวอื่นของกรุงรัตนโกสินทรในบริเวณแหลง ทองเท่ียวท่ีมีความสําคัญในระดับสูง (แหลงมรดกที่มีความสําคัญลําดับ 1-3) โดยเฉพาะแหลงทองเทยี่ วที่ สําคัญในพน้ื ท่ตี าง ๆ กจิ กรรมที่สาํ คัญของ - ศึกษาและจัดทํารายละเอียดขอ มูลแหลงทองเทย่ี ว โครงการ - ติดต้งั ปายขอ มลู แหลงทองเทีย่ วในบรเิ วณแหลง ทองเท่ียวที่มีความสาํ คัญทางประวตั ิศาสตรใ นระดบั สงู โดยเฉพาะแหลง ทองเที่ยวท่สี ําคัญในพื้นทีต่ าง ๆ ระยะเวลาและสถานท่ี ชว งระยะเวลา พน้ื ที่ / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะท่ี 1 (ปที่ 1-5) พระบรมมหาราชวัง วดั พระศรีรัตนศาสดาราม วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม วัดมหาธาตุยวุ ราชรงั สฤษฎิ์ สนามหลวง พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร วดั ชนะสงคราม ปอมพระสุเมรุ วดั บวรนเิ วศวิหาร วดั บุรณศริ ิมาตยาราม วดั ราชนดั ดาราม วัดเทพธิดาราม วัดมหรรณพาราม เสาชงิ ชา วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม วดั สุทัศนเทพวราราม ศาลาเฉลมิ กรุง อนสุ าวรยี ร ัชกาลที่ 1 วัดราชบุรณะ วดั อรุณราชวราราม พระราชวงั เดมิ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง ชาติ เรอื พระราชพิธี วัดดสุ ดิ าราม วดั มกุฏกษตั ริยาราม ถนนราชดําเนนิ นอก ถนนทรงวาด ถนนเยาวราช วดั มังกรกมลาวาส วัดกาลหวา ร ศาลเจาโจวซือกง วดั กลั ยาณมิตร วดั ซางตาครสู วดั ประยรุ วงศาวาส ศาลเจาเกยี นอนั เกง งบประมาณ ศกึ ษาและจัดทาํ รายละเอียดขอมูลแหลงทอ งเท่ียว 5.0 ลา นบาท ติดตงั้ ปา ยขอมูล (34 แหง แหง ละ 0.3 ลา นบาท) 10.2 ลานบาท รวม 15.2 ลา นบาท แผนท่ี 3-39 พ้ืนที่ปรบั ปรงุ อุปกรณสื่อสารขอมูลแหลงทองเท่ียว แหลง ที่มาของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร ภาพที่ 3-43 แนวทางการพฒั นาปรบั ปรงุ ปายสื่อสารขอมลู แหลงทองเท่ยี ว หนวยงานท่ีรับผดิ ชอบ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั วัฒนธรรม กีฬา และการทอ งเทยี่ ว) ทมี่ า : คณะทปี่ รกึ ษา, 2560 หนวยงานทีเ่ ก่ียวของ การทองเทย่ี วแหง ประเทศไทย ผลท่ีคาดวา จะไดร บั การสง เสริมใหเกดิ การทองเทย่ี วเชิงการเรียนรูเ กี่ยวกบั ศิลปวฒั นธรรมของพ้ืนท่ี รวมถึงประวัติศาสตรค วาม เปนมา ความสําคัญ เอกลักษณ รวมถึงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตรกับแหลงทองเที่ยวตาง ๆ ของ กรุงรัตนโกสินทร ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอํานาจหนาทข่ี องหนวยงาน ความสําคัญ ความสาํ คญั ลาํ ดับท่ี 3 สมควรดาํ เนนิ การ ลักษณะการดําเนินการ มีการดําเนินการดา นการบรู ณะปรับปรุงหรอื พฒั นากายภาพเปนหลัก สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

3-62 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรักษแ ละพฒั นา โครงการ 8.1.2 โครงการพัฒนาแหลง ขอ มลู วถิ ีชุมชน แผนที่ 3-40 พ้ืนทีพ่ ัฒนาแหลงขอมูลวิถีชมุ ชน ภาพที่ 3-44 ตัวอยา งและแนวทางการพัฒนาแหลง ขอมูลวถิ ีชมุ ชน รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 8 ดา นการทอ งเทย่ี ว / แผนงาน 8.1 การปรบั ปรุงแหลงทอ งเท่ยี ว ท่มี า : https://news.thaipbs.or.th/gallery/91 ดาํ เนนิ การพัฒนาศูนยขอมูลรวมถึงสถานท่ีนําเสนอขอมลู วิถชี ุมชนในชุมชนท่ีมีความพรอมพัฒนาไปสูการ เปนแหลงทองเท่ียวชุมชน การพัฒนาศูนยขอมูลวิถีชุมชนสามารถเปนไดทั้งการพัฒนาอาคารหรือพื้นที่ ทม่ี ีอยเู ดิมในชุมชน รวมถึงการพัฒนาอาคารสถานท่ีขึน้ ใหมเพ่ือทําหนา ท่เี ปนพิพธิ ภณั ฑหรือศูนยขอมูลการ ทอ งเท่ยี วชมุ ชนทแี่ สดงถึงประวตั ิความเปน มา ความสาํ คญั และเอกลักษณข องชมุ ชนน้นั กจิ กรรมทีส่ าํ คัญของ - พัฒนาศนู ยขอมลู วถิ ีชุมชนและเปดใหบ ริการในรปู แบบสถานทที่ น่ี ักทองเท่ียวสามารถเขา ไป โครงการ เยยี่ มชมได - ดาํ เนินการใหบรกิ ารขอมูลเพ่ือสง เสริมการทองเทีย่ วชุมชน ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พื้นที่ / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะที่ 1 (ปท่ี 1-5) บรเิ วณพระบรมมหาราชวงั (1 แหง) บริเวณยานบางลําพู (1 แหง) บรเิ วณถนนราชดาํ เนินกลาง-ผา นฟา (2 แหง ) บรเิ วณยานปากคลองตลาด (1 แหง) บรเิ วณวังเดมิ -วงั หลัง (2 แหง ) บรเิ วณยา นนางเล้ิง-มหานาค (1 แหง ) บริเวณยานเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม (2 แหง) บริเวณยา นตลาดนอย (1 แหง ) บริเวณยา นกะดจี ีน-คลองสาน (1 แหง) (รวม 12 แหง ) งบประมาณ ออกแบบและพฒั นาขอ มลู 6.0 ลานบาท พัฒนาและใหบริการศนู ยข อมลู การทอ งเทยี่ วชุมชน (แหงละ 10.0 ลานบาท) 120.0 ลา นบาท รวม 126.0 ลา นบาท แหลงท่ีมาของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานท่ีรับผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สาํ นกั วฒั นธรรม กีฬา และการทอ งเท่ียว) หนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง การทองเทย่ี วแหง ประเทศไทย ชมุ ชน สภาวัฒนธรรมเขต กรมสง เสรมิ วัฒนธรรม ผลท่คี าดวาจะไดร บั การพัฒนาแหลงทองเที่ยวชุมชนเพื่อสรางการทองเที่ยวเชิงการเรียนรูเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมของพ้ืนท่ี รวมถึง ประวัติศาสตรความเปนมา ความสําคัญ และเอกลักษณ ของชุมชนตาง ๆ ของกรุงรัตนโกสินทร เปนการสรางความหลากหลายใหกับการทองเที่ยวเพื่อยืดระยะเวลาการทองเที่ยวและพํานักในพื้นที่ รวมถงึ เปนการสรา งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจใหกับชุมชนและการทองเทย่ี วในภาพรวม ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาทขี่ องหนวยงาน ความสาํ คญั ความสาํ คัญลําดับที่ 2 จาํ เปน ตอ งดําเนินการ ลักษณะการดําเนนิ การ มกี ารดําเนินการดานกายภาพควบคไู ปกับมาตรการทางดานเศรษฐกิจ-สังคมและการจดั การ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรักษแ ละพัฒนา 3-63 โครงการ 8.1.3 โครงการจดั กิจกรรมเพือ่ สงเสรมิ การทอ งเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 8 ดา นการทองเทยี่ ว / แผนงาน 8.1 การปรับปรุงแหลง ทองเท่ียว กจิ กรรมที่สาํ คญั ของ ดําเนินการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวที่สอดคลองกับวิถีวัฒนธรรมและบรรยากาศการทองเที่ยวเชิงอนุรักษใน โครงการ กรงุ รัตนโกสนิ ทร กิจกรรมการทอ งเทีย่ วสามารถเปนไดท้ังการผนวกการทองเทีย่ วเขากับประเพณีวัฒนธรรมและ ระยะเวลาและสถานที่ ดาํ เนินงาน เทศกาลทม่ี ีการจัดอยแู ลว และการจัดกิจกรรมการทอ งเท่ยี วข้ึนใหม เพื่อดึงดูดใหนักทอ งเทย่ี วเขา มาเยย่ี มชม พํานกั งบประมาณ และจบั จายใชส อยในพนื้ ท่กี รุงรัตนโกสินทร แหลง ทมี่ าของงบประมาณ - ประชาสัมพนั ธก ารจดั กจิ กรรมการทองเทยี่ วที่สอดคลองกบั วิถีวฒั นธรรมและบรรยากาศการทอ งเทย่ี วเชงิ หนวยงานท่ีรับผิดชอบ หนว ยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง อนุรกั ษใ นกรงุ รตั นโกสนิ ทร ผลทคี่ าดวา จะไดร ับ - ดําเนินการจัดกจิ กรรมการทอ งเท่ียวอยา งสมํา่ เสมอในแตล ะพน้ื ท่ี ประเภทโครงการ ความสาํ คญั ชวงระยะเวลา พ้ืนที่ / สถานท่ี ลักษณะการดาํ เนินการ ระยะที่ 1-3 (ปท ่ี 1-15) บรเิ วณพระบรมมหาราชวัง บริเวณยา นบางลาํ พู บริเวณถนนราชดาํ เนนิ กลาง-ผา นฟา บรเิ วณยานเสาชงิ ชา บรเิ วณยานปากคลองตลาด บริเวณวงั เดมิ -วังหลัง บรเิ วณวดั ดุสดิ าราม-บางยี่ขัน บริเวณยา นบางขุนพรหม บริเวณยา นนางเลิง้ -มหานาค บริเวณยานเยาวราช-วงเวียน 22 กรกฎาคม บริเวณยา นตลาดนอย บรเิ วณยา นกะดีจีน-คลองสาน สนบั สนนุ การประชาสมั พันธก ารจัดกิจกรรมการทองเท่ยี ว (ปละ 6.0 ลา นบาท) 90.0 ลานบาท ระยะที่ 1-3 ดําเนินการจดั งาน (คร้งั ละ 15.0 ลานบาท) ระยะท่ี 1 900.0 ลานบาท ดาํ เนนิ การจัดงาน (คร้งั ละ 15.0 ลา นบาท) ระยะที่ 2 900.0 ลา นบาท ดําเนนิ การจัดงาน (ครัง้ ละ 15.0 ลานบาท) ระยะท่ี 3 900.0 ลานบาท แผนท่ี 3-41 พื้นท่ีจัดกจิ กรรมเพอื่ สง เสรมิ การทอ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม รวม 2,790.0 ลา นบาท การทองเท่ียวแหง ประเทศไทย กรงุ เทพมหานคร การทอ งเท่ยี วแหง ประเทศไทย กรงุ เทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทอ งเที่ยว) ชุมชน ภาคเอกชน การจัดกจิ กรรมการทอ งเท่ียวที่สอดคลองกับวิถีธรรมเนียมประเพณแี ละบรรยากาศการอนุรกั ษม รดกทางวฒั นธรรม เปนการสรางเสนหใหกับพื้นท่ีกรุงรัตนโกสินทรทั้งในชวงกลางวันและกลางคืน อีกทั้งยังเปนการสรางความ หลากหลายใหก ับการทอ งเท่ยี วเพ่ือยืดระยะเวลาการทองเทย่ี วและพํานักในพ้ืนที่ รวมถงึ เปนการสรา งผลตอบแทน ทางเศรษฐกจิ ใหกับชมุ ชนและการทอ งเท่ยี วในภาพรวม การสนับสนนุ การดําเนนิ งานของภาคสว นอ่ืนๆ ท่ีมา : http://thailandtourism.saenson.com ทมี่ า : http://www.uddc.net/en ความสําคัญลาํ ดบั ที่ 2 จําเปนตองดําเนินการ ภาพที่ 3-45 ตัวอยา งการจดั กจิ กรรมสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวฒั นธรรม มกี ารดาํ เนินกิจกรรม มาตรการทางเศรษฐกิจ-สังคม และการจัดการความรูความเขา ใจ สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

3-64 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรการอนุรกั ษและพัฒนา โครงการ 8.1.4 โครงการจดั ระเบยี บพืน้ ที่ทอ งเท่ยี ว แผนที่ 3-42 พื้นที่จดั ระเบยี บพ้นื ทท่ี องเทยี่ ว ภาพท่ี 3-46 สภาพปจ จุบันบริเวณถนนเยาวราช รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 8 ดานการทองเทย่ี ว / แผนงาน 8.1 การปรบั ปรุงแหลง ทอ งเท่ยี ว ท่ีมา : https://www.bangkokpost.com ดําเนินการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพเปนแหลงทองเที่ยวใหมีความสวยงาม สะอาด ปลอดภัย และ สะดวกสบายในระดับสากล เพ่ือดึงดูดใหนักทองเท่ียวเขามาเย่ียมชม พํานัก และจับจายใชสอยในพ้ืนที่ กรุงรัตนโกสินทรมากย่ิงข้ึน ทั้งน้ี การปรับปรุงคุณภาพแหลงทองเที่ยวมีการดําเนินการทั้งในพ้ืนท่ีท่ีเปน แหลงทองเทยี่ วอยูแลว และในพ้ืนที่ท่ีตอ งการสง เสรมิ การทอ งเทยี่ วในอนาคต กิจกรรมที่สําคัญของ - ปรับปรุงและจัดระเบยี บตําแหนง ท่ตี ้งั ลกั ษณะการจดั วาง และรปู แบบการคาขายในพ้ืนที่ โครงการ จดั ใหมอี ุปกรณดูแลและปองกันภยั จากอุบัตเิ หตแุ ละอาชญากรรม ระยะเวลาและสถานท่ี ชวงระยะเวลา พื้นที่ / สถานท่ี ดาํ เนนิ งาน ระยะที่ 1 (ปที่ 1-5) ถนนขาวสาร งบประมาณ ถนนราชดาํ เนนิ นอก ถนนเยาวราช ถนนทรงวาด ปรับปรุงและจัดระเบยี บพนื้ ท่กี ารคา (พน้ื ท่ีละ 10.0 ลานบาท) 40.0 ลานบาท ตดิ ต้ังอปุ กรณก ลองวงจรปด (พื้นทลี่ ะ 10 จุด) 20.0 ลานบาท รวม60.0 ลานบาท แหลงทม่ี าของงบประมาณ กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั เทศกิจ / สํานกั การจราจรและขนสง ) หนว ยงานท่ีเกี่ยวของ กรุงเทพมหานคร (สํานักผังเมือง / สํานักการโยธา / สํานักอนามัย / สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการ ทอ งเท่ียว) สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ ผลที่คาดวาจะไดรบั การปรบั ปรุงและพฒั นาแหลงทอ งเท่ยี วสวยงาม สะอาด ปลอดภัย และสะดวกสบายตามมาตรฐานสากล ซ่ึงชว ยสรางความหลากหลายใหก บั การทอ งเทีย่ วของกรุงรตั นโกสินทร และชว ยยืดระยะเวลาการทอ งเที่ยว และพํานักในพ้ืนท่ีของนักทองเทยี่ ว ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ทข่ี องหนวยงาน ความสาํ คัญ ความสาํ คญั ลําดบั ที่ 2 จาํ เปนตองดําเนนิ การ ลักษณะการดําเนนิ การ มีการดาํ เนินการดา นกายภาพควบคไู ปกับมาตรการทางดานเศรษฐกจิ -สังคมและการจัดการ สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษและพฒั นา 3-65 โครงการ 8.2.1 โครงการปรบั ปรุงสถานทแ่ี ละอปุ กรณใหข อมลู เสน ทางการทองเทย่ี ว รายละเอียดโครงการ ยุทธศาสตร 8 ดา นการทอ งเทย่ี ว / แผนงาน 8.2 การพฒั นาเสน ทางการทองเทย่ี ว กจิ กรรมที่สาํ คัญของ ดาํ เนนิ การตดิ ตั้งจุดใหขอ มูลการทองเที่ยวและปายขอมูลเสน ทางทองเที่ยวทีร่ ะบุถึงตําแหนงปจจุบัน เสน ทาง โครงการ และทิศทางการเดินทางไปสูแหลงทองเที่ยวในบริเวณใกลเคียง โดยจุดติดต้ังเปนจุดที่สําคัญบนเสนทาง ระยะเวลาและสถานท่ี ดําเนนิ งาน ทอ งเท่ียวทั้ง 7 เสนทาง เชน บริเวณจุดเปลี่ยนถายการสัญจร บรเิ วณทางแยก บริเวณใกลสถานที่ทองเท่ียว เปนตน - ตดิ ตง้ั จดุ ใหขอ มูลการทองเทีย่ วและปา ยขอมูลเสนทางทอ งเท่ยี วตามเสนทางทอ งเทย่ี วที่สําคญั ใน กรุงรัตนโกสินทร - ดูแลรักษาสภาพจดุ ใหข อ มูลการทอ งเทีย่ วและปา ยขอ มลู เสน ทางทองเที่ยวใหมีคณุ ภาพดี ชว งระยะเวลา พื้นท่ี / สถานที่ ระยะที่ 1 (ปท ่ี 1-5) เสน ทางทอ งเท่ยี วหลัก เสน ทางทองเทย่ี วยา นนางเล้ิง หลานหลวง เสน ทางทองเท่ยี ววถิ ชี ุมชนกะดีจีน เสนทางทอ งเทย่ี ววิถชี ีวิตยานบางลาํ พู ขาวสาร เสนทางทอ งเทย่ี ววิถีชุมชนแพงภธู ร เสนทางทองเทยี่ ววิถชี าวจนี ระยะท่ี 2 (ปที่ 6-10) พน้ื ทจี่ ดุ เปล่ียนถายการสัญจรสถานศี ริ ิราช พนื้ ทจ่ี ุดเปล่ียนถายการสัญจรยา นบางขุนพรหม งบประมาณ ศึกษาและออกแบบจดุ ตดิ ตั้ง ระยะที่ 1 0.6 ลานบาท แหลงทม่ี าของงบประมาณ ติดต้ังจดุ ใหขอ มูลการทอ งเที่ยวและปายขอ มูลเสน ทางทองเทยี่ ว ระยะท่ี 1 14.4 ลา นบาท หนว ยงานที่รับผดิ ชอบ หนวยงานท่ีเก่ยี วขอ ง 6 เสนทาง (เสน ทางละ 2.4 ลานบาท) ผลท่ีคาดวา จะไดรับ ศึกษาและออกแบบจุดติดตั้ง ระยะท่ี 2 0.2 ลานบาท แผนที่ 3-43 พ้ืนท่ีปรับปรงุ สถานทแี่ ละอุปกรณใหขอมูลเสนทางการทอ งเท่ยี ว ประเภทโครงการ ภาพที่ 3-47 ตวั อยา งการปรับปรงุ สถานที่และอปุ กรณใ หข อ มูลเสน ทางการทองเท่ยี ว ความสาํ คญั ติดตัง้ จุดใหข อมูลการทอ งเทย่ี วและปายขอมูลเสนทางทอ งเทยี่ ว ระยะท่ี 2 4.8 ลานบาท ลกั ษณะการดําเนินการ 2 พนื้ ท่ี (พื้นทลี่ ะ 2.4 ลานบาท) รวม 20.0 ลานบาท กรงุ เทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (สาํ นักวฒั นธรรม กฬี า และการทอ งเที่ยว) การทองเทย่ี วแหงประเทศไทย นกั ทองเทีย่ วสามารถเดินทางไปสูแหลงทองเทีย่ วตาง ๆ ไดอ ยา งสะดวก เกดิ การสรางความรคู วามเขา ใจที่ลกึ ซ้งึ เก่ยี วกบั ศลิ ปวฒั นธรรมและวถิ ีชีวิตในพื้นท่ี และระยะเวลาพํานักรวมถึงมลู คา ทางเศรษฐกิจดา นการทองเทยี่ ว ในพ้ืนท่เี พมิ่ สูงขนึ้ นักทอ งเทย่ี วในพ้นื ทีใ่ ชก ารเดิน จักรยาน และระบบขนสงมวลชนเปนวิธีการหลกั ในการ เดนิ ทาง การดาํ เนนิ การตามอํานาจหนาที่ของหนวยงาน ความสาํ คญั ลาํ ดบั ที่ 3 สมควรดําเนนิ การ มีการดาํ เนินการดา นการบูรณะปรับปรงุ หรือพฒั นากายภาพเปนหลกั สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3-66 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนุรักษและพฒั นา โครงการ 8.2.2 โครงการพัฒนาแผนที่และระบบออนไลนเพ่อื ใหขอ มูลการทองเท่ียว รายละเอยี ดโครงการ ยุทธศาสตร 8 ดานการทองเทยี่ ว / แผนงาน 8.2 การพฒั นาเสน ทางการทอ งเทย่ี ว ดําเนินการจัดทําแผนที่และระบบออนไลนเพื่อประชาสัมพันธ ใหขอมูลแหลงทองเท่ียวและเสนทาง ทองเที่ยว ตลอดจนที่พักในกรุงรัตนโกสินทรและพ้ืนท่ีตอเนื่องเพื่ออํานวยความสะดวกแกนักทองเท่ียว แผนท่ีแสดงเสนทางทองเท่ียวสามารถใชเผยแพรท ้ังรปู แบบเอกสารแจกตามจุดใหข อมูลนักทองเท่ียวและ เผยแพรในรปู แบบขอมูลดจิ ิทลั ผา นระบบออนไลน ในขณะเดยี วกันควรมกี ารจัดทําเว็บไซตและโปรมแกรม ประยุกต (Application) ท่ีแสดงขอมูลเสนทางและแหลงทองเที่ยวในพ้ืนท่ีเพือ่ ใหนักทองเที่ยวสามารถใช ประโยชนอปุ กรณโทรคมนาคมสารสนเทศในการเดินทางไดอยางสะดวก ทงั้ นี้ แผนที่และระบบออนไลนท่ี จัดทาํ ขึ้นควรมเี นือ้ หาและการออกแบบทสี่ อดคลองกับสถานท่ีและอปุ กรณใหขอมลู เสนทางการทองเที่ยวที่ ตดิ ตัง้ อยูในพื้นที่ กจิ กรรมทส่ี าํ คัญของ - จัดทาํ แผนทแี่ สดงขอ มลู เสนทางทองเท่ียวทีส่ ําคัญในกรุงรตั นโกสนิ ทรแ ละพื้นทตี่ อ เน่ือง โครงการ - จดั ทําระบบออนไลนเพอ่ื ประชาสัมพันธ ใหขอ มูลแหลงทองเทย่ี วและเสนทางทองเทยี่ ว ตลอดจนทพ่ี ัก - ปรับปรงุ ฐานขอ มูล แผนท่ี และระบบออนไลนใ หมขี อมลู ท่ีถูกตองและทนั สมัยอยูเสมอ ระยะเวลาและสถานที่ ชวงระยะเวลา พื้นท่ี / สถานที่ ดําเนินงาน ระยะที่ 1 (ปท่ี 1-5) พ้ืนที่กรงุ รตั นโกสนิ ทร งบประมาณ จัดทาํ ฐานขอมลู และแผนทแ่ี สดงขอ มลู เสนทางทองเทย่ี ว 20.0 ลา นบาท และทีพ่ ักนักทองเที่ยว จดั ทาํ ระบบออนไลนแสดงฐานขอมลู และแผนทแี่ สดงขอมลู 40.0 ลา นบาท เสน ทางทองเทยี่ วและทพี่ ักนักทองเท่ียว รวม 60.0 ลา นบาท แหลงที่มาของงบประมาณ การทอ งเทย่ี วแหง ประเทศไทย หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ การทอ งเที่ยวแหง ประเทศไทย หนว ยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง กรงุ เทพมหานคร (สาํ นกั วัฒนธรรม กฬี า และการทองเที่ยว) ผลที่คาดวา จะไดรบั นกั ทองเทีย่ วสามารถเดนิ ทางไปสูแหลง ทองเทีย่ วตาง ๆ ไดอยางสะดวก เกดิ การสรางความรูความเขาใจท่ี ถอ งแทเ กยี่ วกบั ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชีวติ ในพ้ืนที่ และระยะเวลาพาํ นักรวมถึงมลู คาทางเศรษฐกิจดานการ ทองเท่ยี วในพน้ื ท่ีเพิ่มสูงขึ้น นักทอ งเทีย่ วในพน้ื ท่ีใชการเดิน จักรยาน และระบบขนสง มวลชนเปนวิธกี าร หลักในการเดินทาง ประเภทโครงการ การดาํ เนินการตามอํานาจหนาท่ีของหนวยงาน ความสาํ คญั ความสาํ คญั ลาํ ดบั ที่ 2 จาํ เปนตอ งดาํ เนินการ ลักษณะการดําเนนิ การ มีการดําเนินกจิ กรรม มาตรการทางเศรษฐกิจ-สังคม และการจัดการความรูความเขา ใจ ภาพท่ี 3-48 แนวทางการพัฒนาระบบออนไลนเพอื่ ใหข อมลู การทองเทย่ี ว ทีม่ า : https://itmoomoo.wordpress.com สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม

แผนผังแมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ กั ษและพัฒนา 3-67 โครงการ 8.3.1 โครงการสงเสรมิ การพฒั นาแหลง ที่พกั นักทอ งเทยี่ วทีไ่ ดมาตรฐาน รายละเอยี ดโครงการ ยทุ ธศาสตร 8 ดา นการทองเทย่ี ว / แผนงาน 8.3 การพฒั นาแหลงทีพ่ ักนกั ทอ งเท่ียวใหไ ดมาตรฐาน สงเสริมใหเ กดิ การปรับปรงุ และดัดแปลงอาคารรูปแบบตาง ๆ ท่มี อี ยูในชมุ ชน รวมถงึ พัฒนาอาคารใหเปน ท่ีพักท่ีไดมาตรฐานสําหรับนักทองเท่ียว โดยการใหคําแนะนํารวมถึงใหการชวยเหลือเชิงเทคนิคในการ วางแผนและออกแบบ และสนับสนุนงบประมาณบางสวนในการปรับปรุงและกอสรางอาคารในพื้นท่ีตาง ๆ ท่ีมีทําเลเหมาะสมหรืออยูในชุมชนที่มีความพรอม ใหสามารถใหบริการเปนที่พักนักทองเที่ยวที่มีความ ปลอดภัย สะอาด และสะดวกสบายตามมาตรฐานสากล กิจกรรมที่สําคัญของ - จดั ทาํ แนวทางการพฒั นาปรับปรงุ ที่พักนกั ทองเท่ยี วใหไ ดม าตรฐานตามสากล โครงการ - สงเสรมิ และใหค ําแนะนาํ แกผูป ระกอบการปรบั ปรุงและดัดแปลงอาคารที่มอี ยูในชุมชนใหเ ปน ท่พี ักทไ่ี ด มาตรฐานสําหรบั นักทองเทย่ี ว - สงเสรมิ และใหค าํ แนะนําแกผ ูป ระกอบการพฒั นาอาคารใหเปน ที่พักที่ไดมาตรฐานสาํ หรบั นักทอ งเท่ียว ระยะเวลาและสถานที่ ชว งระยะเวลา พื้นท่ี / สถานที่ ดาํ เนนิ งาน ระยะท่ี 1 (ปท ี่ 1-5) ชมุ ชนรอบวดั อรณุ ราชวราราม ชมุ ชนทาเตียน – ทา ชา ง – ทาพระจันทร อาคารรมิ ถนนราชดาํ เนนิ กลางและชุมชนโดยรอบ พื้นท่ีวงเวียน 22 กรกฎาคม ชมุ ชนยานกะดจี นี งบประมาณ ศกึ ษาและจัดทําแนวทางการพฒั นาปรบั ปรงุ ที่พกั นักทองเท่ยี ว 2.0 ลานบาท สนับสนุนการพัฒนาแหลงทพี่ ักนักทองเทีย่ ว 48.0 ลา นบาท รวม 50.0 ลา นบาท แผนท่ี 3-44 พื้นท่สี งเสริมการพฒั นาแหลงที่พักนักทองเทีย่ วท่ีไดมาตรฐาน แหลง ทม่ี าของงบประมาณ กรุงเทพมหานคร หนว ยงานที่รับผดิ ชอบ กรุงเทพมหานคร (สาํ นักวัฒนธรรม กีฬา และการทอ งเที่ยว) หนว ยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักผงั เมือง / สาํ นกั การโยธา) กรมการทอ งเที่ยว ผลท่ีคาดวา จะไดรับ การพฒั นาแหลง ท่พี ักนักทอ งเทย่ี วทมี่ ีเอกลักษณ มีการบรกิ ารทไี่ ดมาตรฐาน และมสี ว นชวยในการสรา ง รายไดใ หก ับชุมชนโดยรอบ ประเภทโครงการ การสนับสนุนการดาํ เนนิ งานของภาคสวนอื่น ๆ ความสาํ คัญ ความสําคัญลําดับท่ี 3 สมควรดําเนนิ การ ลักษณะการดําเนินการ มีการดาํ เนนิ การดา นกายภาพควบคไู ปกับมาตรการทางดานเศรษฐกิจ-สังคมและการจดั การ ท่ีมา : http://travel.trueid.net/detail/100375 ทีม่ า : http://travel.trueid.net/detail/100375 ภาพท่ี 3-49 ตวั อยา งการปรบั ปรุงแหลงที่พักนักทองเทย่ี ว สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม

3-68 แผนผงั แมบทการอนุรักษและพัฒนากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรักษและพฒั นา แผนท่ี 3-45 แผนผงั แมบทการอนุรักษแ ละพัฒนากรุงรตั นโกสินทร รายสาขา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

แผนผงั แมบ ทการอนุรักษแ ละพัฒนากรงุ รัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนรุ ักษและพัฒนา 3-69 ตารางที่ 3-9 สรุปแผนงานและงบประมาณโครงการ โครงการ ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 รวมงบประมาณ ความ หนวยงานท่ีรับผิดชอบ ลกั ษณะการดําเนินการ** ประเภทโครงการ ลา นบาท สําคญั * ยุทธศาสตร 1 ดา นมรดกวัฒนธรรม (ปท ี่ 1-5) (ปท ี่ 6-10) (ปท ี่ 11-15) กรมศลิ ปากร (H = Hardware / รวม ลานบาท ลานบาท ลานบาท กรมศิลปากร กรมศิลปากร S = Software) แผนงาน 1.1 การคมุ ครองและบรู ณปฏิสงั ขรณแหลงมรดก กรมศลิ ปากร 1,632.00 1,275.00 1,275.00 4,182.00 กรุงเทพมหานคร (สํานักผงั เมือง) 1.1.1 โครงการคมุ ครองแมน้ําเจาพระยา 10.00 - - 10.00 1 กรงุ เทพมหานคร (สํานักวฒั นธรรม H / S การดําเนินการตามอาํ นาจหนา ท่ี 1.1.2 โครงการบรู ณปฏสิ ังขรณแหลง มรดกสําคัญ 324.00 - - 324.00 1 กีฬา และการทองเทย่ี ว) ของหนวยงาน 1,025.00 1,025.00 1,025.00 3,075.00 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม 1.1.3 โครงการบูรณปฏิสงั ขรณโ บราณสถานในพื้นที่ กฬี า และการทองเทย่ี ว) H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ที่ กรุงรัตนโกสินทร 53.00 50.00 50.00 153.00 2 ของหนวยงาน กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง) 1.1.4 โครงการข้ึนทะเบียนโบราณสถานท่ยี ังไมไดร บั การ 70.00 50.00 50.00 170.00 1 H การดําเนินการตามอาํ นาจหนาท่ี ขน้ึ ทะเบยี น ของหนวยงาน 75.00 75.00 75.00 225.00 3 1.1.5 โครงการจดั ทําทะเบยี นแหลง มรดกทองถิน่ และสนับสนุน 75.00 75.00 75.00 S การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ที่ การบูรณปฏิสังขรณแหลง มรดกทองถ่ิน 225.00 2 ของหนวยงาน แผนงาน 1.2 การสง เสริมฟนฟวู ิถีวฒั นธรรม H / S การพฒั นากลไกใหม 1.2.1 โครงการสืบสานฟน ฟูขนบธรรมเนยี มประเพณี และ S การสนบั สนุนการดาํ เนินงานของ เทศกาลทองถ่นิ ภาคสว นอ่ืน ๆ 1.2.2 โครงการฟนฟภู มู ปิ ญญาทองถิน่ วฒั นธรรมอาหาร S การสนับสนุนการดําเนินงานของ นาฏศิลป และหัตถศลิ ป ภาคสวนอื่น ๆ ยุทธศาสตร 2 ดา นการใชทดี่ ิน 350.00 210.00 200.00 760.00 H / S การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ที่ รวม 50.00 - - 50.00 1 ของหนวยงาน / แผนงาน 2.1 การปรบั ปรุงมาตรการควบคุมการใชป ระโยชน การปรับปรงุ ขอ กฎหมาย / ทด่ี ินและอาคาร การพัฒนากลไกใหม 2.1.1 โครงการแกไ ขปรบั ปรุงแผนผังขอ กาํ หนดและมาตรการ ตามกฎหมายผงั เมอื ง สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3-70 แผนผังแมบ ทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนุรกั ษแ ละพัฒนา โครงการ ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 รวมงบประมาณ ความ หนวยงานที่รับผิดชอบ ลกั ษณะการดาํ เนินการ** ประเภทโครงการ ลา นบาท สําคัญ* กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง) 2.1.2 โครงการแกไ ขปรับปรุงขอบัญญตั กิ รงุ เทพมหานครตาม (ปท ่ี 1-5) (ปท่ี 6-10) (ปท่ี 11-15) 40.00 (H = Hardware / การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ท่ี กฎหมายควบคมุ อาคาร ลานบาท ลานบาท ลา นบาท 1 S = Software) ของหนวยงาน / 2.1.3 โครงการจัดทํามาตรการคมุ ครองสิ่งแวดลอมศิลปกรรม 30.00 10.00 - H/S การปรับปรุงขอกฎหมาย การปรบั ปรุงขอกฎหมาย / 20.00 - - 20.00 2 สาํ นักงานนโยบายและแผน H/S ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม การพฒั นากลไกใหม แผนงาน 2.2 การวาง จัดทํา และดาํ เนินการใหเ ปนไปตามผัง 100.00 50.00 - 150.00 1 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง) H การดําเนินการตามอํานาจหนา ท่ี เมืองเฉพาะ 150.00 150.00 200.00 500.00 1 กรุงเทพมหานคร (สํานักผงั เมือง) ของหนวยงาน 2.2.1 โครงการวาง จัดทํา และดาํ เนินการใหเ ปน ไปตามผังเมอื ง H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ท่ี เฉพาะ บรเิ วณรมิ ฝงแมนาํ้ เจาพระยา ของหนวยงาน 2.2.2 โครงการวาง จัดทํา และดาํ เนินการใหเปนไปตามผังเมือง เฉพาะ ในพื้นทเี่ ปลี่ยนถายการสัญจรโดยรอบสถานี รถไฟฟา ยุทธศาสตร 3 ดา นภมู ิทศั น รวม 2,627.63 597.40 572.80 3,797.83 308.00 แผนงาน 3.1 การปรบั ปรุงภมู ทิ ัศนเ มือง 204.00 3.1.1 โครงการปรับปรุงภมู ทิ ศั นโ ดยรอบโบราณสถาน 269.20 168.00 89.60 565.60 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง / H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาที่ 333.00 127.20 79.20 สํานักการโยธา / สํานักงานเขต / H ของหนวยงาน 3.1.2 โครงการปรบั ปรงุ ภมู ิทัศนในโครงสรางทศั นภาพ 1,473.43 สํานักการจราจรและขนสง ) H การดําเนินการตามอาํ นาจหนาท่ี 3.1.3 โครงการปรบั ปรงุ ภูมิทศั นในแนวแมน้าํ เจาพระยาและ 175.20 348.00 410.40 1 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง / H ของหนวยงาน แนวคลองสาํ คัญ สาํ นักการจราจรและขนสง / สํานักการ H โยธา / สํานกั สิ่งแวดลอม / สํานัก การดําเนินการตามอํานาจหนาที่ 3.1.4 โครงการปรับปรงุ พน้ื ท่โี ลง สาธารณะ เทศกจิ ) ของหนวยงาน 3.1.5 โครงการฉายไฟสองสวางอาคารสําคญั และพน้ื ที่ 792.40 1 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการระบายน้ํา การดาํ เนินการตามอํานาจหนาท่ี สาธารณะ / สาํ นักผังเมือง / สํานักการโยธา) ของหนวยงาน 45.00 - 378.00 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผังเมือง / การดําเนินการตามอํานาจหนา ที่ สํานักการจราจรและขนสง / สาํ นักการ ของหนวยงาน โยธา / สาํ นักส่ิงแวดลอม) 42.00 56.00 1,571.43 3 กรมการทองเที่ยว กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการโยธา / สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว) สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

แผนผังแมบทการอนรุ ักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร – ยทุ ธศาสตรการอนรุ ักษแ ละพัฒนา 3-71 โครงการ ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3 รวมงบประมาณ ความ หนวยงานท่ีรบั ผิดชอบ ลกั ษณะการดําเนนิ การ** ประเภทโครงการ ลา นบาท สาํ คัญ* (ปท ี่ 1-5) (ปท่ี 6-10) (ปท ่ี 11-15) (H = Hardware / ลา นบาท ลานบาท ลานบาท 3 S = Software) 2 แผนงาน 3.2 การบริหารจดั การภูมทิ ัศนเมือง 1 3.2.1 โครงการวางระบบงานดแู ลรกั ษาตนไมใหญ 40.00 40.00 - 80.00 กรงุ เทพมหานคร (สํานักสง่ิ แวดลอ ม) H/S การพฒั นากลไกใหม ยุทธศาสตร 4 ดา นการจราจร รวม 229.00 139.00 25.00 393.00 150.00 - - 150.00 แผนงาน 4.1 การเชอ่ื มโยงโครงขายการสัญจร 4.1.1 โครงการสงเสรมิ การเชือ่ มตอยานพาหนะตางประเภท การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหง ประเทศ H / S การดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ไทย ของหนวยงาน กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผงั เมอื ง / สาํ นกั การคลัง) 4.1.2 โครงการทดแทนทจ่ี อดรถบนพืน้ ผิวจราจร 55.00 50.00 - 105.00 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการจราจรและ H การดาํ เนินการตามอํานาจหนาที่ ขนสง ) ของหนวยงาน / ผูท รงสิทธใิ นพ้ืนท่ี การสนบั สนุนการดําเนินงานของ ภาคสวนอน่ื ๆ แผนงาน 4.2 การสนับสนุนการเดนิ เทาและการใชจักรยาน 4.2.1 โครงการจํากัดการสัญจรในบริเวณกรงุ รตั นโกสินทรชัน้ ใน - 10.00 - 10.00 2 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการจราจรและ H/S การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ที่ ขนสง) ของหนวยงาน สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ (กองบงั คบั การตํารวจจราจร) 4.2.2 โครงการสงเสริมการใชขนสง มวลชนเพ่ือลดการใช - 30.00 - 30.00 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการจราจรและ S การดําเนินการตามอํานาจหนา ท่ี ยานพาหนะสวนบคุ คล ขนสง ) ของหนวยงาน 4.2.3 โครงการเกบ็ คาธรรมเนียมการเขาบริเวณ - 15.00 15.00 30.00 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักการจราจรและ H/S การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ที่ กรุงรตั นโกสินทรช ั้นนอกดวยยานพาหนะสวนบคุ คล ขนสง ) ของหนวยงาน สาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม

3-72 แผนผงั แมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรุงรตั นโกสินทร – ยทุ ธศาสตรก ารอนรุ กั ษแ ละพัฒนา โครงการ ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 รวมงบประมาณ ความ หนวยงานที่รบั ผิดชอบ ลกั ษณะการดําเนินการ** ประเภทโครงการ ลา นบาท สาํ คัญ* แผนงาน 4.3 การออกแบบ พัฒนาและปรบั ปรุงจุดเปล่ยี นถาย (ปท่ี 1-5) (ปท่ี 6-10) (ปท ่ี 11-15) (H = Hardware / การสัญจร ลานบาท ลานบาท ลานบาท S = Software) 4.3.1 โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจเฉพาะกจิ - 10.00 10.00 20.00 1 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการจราจรและ H การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ท่ี 4.3.2 โครงการพฒั นาและปรับปรุงทาเรือ ขนสง) H ของหนวยงาน 24.00 24.00 - ยุทธศาสตร 5 ดา นสาธารณปู โภค 48.00 2 กรมเจาทา การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ที่ รวม ของหนวยงาน แผนงาน 5.1 การปองกนั นาํ้ ทวมและปรบั ปรงุ คณุ ภาพนํ้า 4,929.05 3,767.76 55.00 8,751.81 5.1.1 โครงการพฒั นาแนวปองกันน้ําทวม 2,276.00 - - 2,276.00 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการระบายนา้ํ ) H การดาํ เนินการตามอํานาจหนาที่ 5.1.2 โครงการฟนฟรู ะบบคูคลอง และปรับปรุงคณุ ภาพนา้ํ ของหนวยงาน 5.1.3 โครงการปรบั ปรุงระบบการระบายนํ้า 214.40 1,514.20 - 1,728.60 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการระบายนํา้ ) H การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ที่ แผนงาน 5.2 การปรับปรุงโครงสรา งพนื้ ฐานของระบบ ของหนวยงาน สาธารณปู โภค 215.00 220.00 45.00 480.00 2 กรุงเทพมหานคร (สํานักการระบายนาํ้ ) H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาที่ 5.2.1 โครงการนําสายไฟฟาและสายส่ือสารลงใตดิน ของหนวยงาน 5.2.2 โครงการจดั ต้งั ศูนยป ระสานงานและขอ มูล และพัฒนา เครอื ขา ยระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค 3 มติ ิ 2,113.65 2,023.56 - 4,137.21 2 กรุงเทพมหานคร (สาํ นักการโยธา) H การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ท่ี ของหนวยงาน ยทุ ธศาสตร 6 ดา นสาธารณปู การ การไฟฟานครหลวง รวม H การพฒั นากลไกใหม บริษัท ทโี อที จํากดั (มหาชน) แผนงาน 6.1 การปรบั ปรุงการใหบ รกิ ารสาธารณปู การ บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จํากัด 6.1.1 โครงการปรบั ปรุงวดั และโรงเรยี นเปนศูนยบ รกิ ารครบ วงจรแกผ ูสูงอายแุ ละผูดอยโอกาส (มหาชน) 6.1.2 โครงการเพ่มิ ประโยชนการใชสอยโรงเรียนเปน ศนู ยการ 110.00 10.00 10.00 130.00 3 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักการโยธา) เรียนรู ศนู ยฝก อาชีพ และพื้นที่กิจกรรมสันทนาการ 110.70 101.50 0.00 212.20 50.00 20.00 45.00 - 95.00 3 กรุงเทพมหานคร (สํานักพฒั นาสังคม / H/S การพฒั นากลไกใหม สาํ นักการศกึ ษา / สํานักงานเขต) H/S การพฒั นากลไกใหม วัด 18.00 - 38.00 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการศกึ ษา / สาํ นักงานเขต) สถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

แผนผงั แมบทการอนรุ ักษและพฒั นากรงุ รตั นโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรกั ษและพฒั นา 3-73 โครงการ ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3 รวมงบประมาณ ความ หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ ลกั ษณะการดาํ เนินการ** ประเภทโครงการ ลา นบาท สาํ คัญ* แผนงาน 6.2 การเตรยี มพรอมสาธารณปู การ เพอื่ รองรับยามภยั (ปท่ี 1-5) (ปท ี่ 6-10) (ปที่ 11-15) (H = Hardware / พิบตั แิ ละภาวะฉกุ เฉิน ลา นบาท ลา นบาท ลา นบาท 3 2 S = Software) 6.2.1 โครงการปรบั ปรุงอาคารเรียนเปน ที่พักยามภยั พิบตั แิ ละ ภาวะฉุกเฉิน 22.00 19.80 - 41.80 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักการศึกษา / H การพฒั นากลไกใหม 3 สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย / H 6.2.2 โครงการติดต้ังอปุ กรณเ พ่ือความปลอดภัยของชุมชน 18.70 18.70 - 37.40 สํานักงานเขต) การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ที่ 3 ของหนวยงาน 3 กรงุ เทพมหานคร (สาํ นักปอ งกันและ บรรเทาสาธารณภัย / สาํ นักการจราจร 3 และขนสง / สาํ นักงานเขต) ยทุ ธศาสตร 7 ดา นกายภาพและวถิ ีชมุ ชน รวม 356.00 336.00 112.00 804.00 156.00 144.00 - 300.00 แผนงาน 7.1 การปรบั ปรุงสภาพแวดลอมชมุ ชน 120.00 112.00 344.00 112.00 7.1.1 โครงการปรับปรงุ สภาพแวดลอ มการอยูอาศยั ในกลมุ กรุงเทพมหานคร (สํานักผงั เมือง) H การดาํ เนินการตามอํานาจหนาที่ ชมุ ชนที่สาํ คัญ กรุงเทพมหานคร (สาํ นักผงั เมือง) ของหนวยงาน ศาสนสถานเจา ของพื้นที่ 7.1.2 โครงการปรับปรงุ พน้ื ท่ีสาธารณะระดับกลมุ ชมุ ชน H / S การดําเนินการตามอาํ นาจหนา ที่ ภายในศาสนสถาน กรุงเทพมหานคร (สาํ นักพัฒนาสังคม) ของหนวยงาน / สํานักงานสง เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั แผนงาน 7.2 การสง เสรมิ เศรษฐกิจชุมชน 50.00 50.00 - 100.00 การพัฒนากลไกใหม 7.2.1 โครงการพัฒนาผลติ ภณั ฑข องผูประกอบการภายในชุมชน 30.00 30.00 - 60.00 S การสนบั สนุนการดําเนินงานของ 7.2.2 โครงการสงเสรมิ ใหเกิดผูป ระกอบการดิจทิ ัล ภาคสวนอ่นื ๆ S การสนับสนุนการดาํ เนินงานของ ภาคสวนอนื่ ๆ ยุทธศาสตร 8 ดา นการทอ งเท่ียว รวม 1,256.20 935.00 930.00 3,121.20 15.20 - - 15.20 แผนงาน 8.1 การปรับปรุงแหลง ทอ งเที่ยว 8.1.1 โครงการปรับปรุงอุปกรณสอ่ื สารขอมูลแหลง ทองเท่ยี ว กรงุ เทพมหานคร (สํานักวฒั นธรรม H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ที่ กฬี า และการทองเที่ยว) ของหนวยงาน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3-74 แผนผังแมบทการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรัตนโกสินทร – ยุทธศาสตรก ารอนุรกั ษแ ละพฒั นา โครงการ ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 รวมงบประมาณ ความ หนว ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ลกั ษณะการดาํ เนินการ** ประเภทโครงการ ลานบาท สําคัญ* 8.1.2 โครงการพัฒนาแหลงขอ มูลวถิ ชี ุมชน (ปท ่ี 1-5) (ปที่ 6-10) (ปท่ี 11-15) 126.00 กรุงเทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม (H = Hardware / การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาที่ ลา นบาท ลา นบาท ลานบาท 2 กีฬา และการทอ งเทย่ี ว) S = Software) ของหนวยงาน 8.1.3 โครงการจัดกิจกรรมเพ่อื สงเสรมิ การทองเทยี่ วเชิง 2 การทองเทย่ี วแหงประเทศไทย วัฒนธรรม 126.00 2 กรงุ เทพมหานคร (สํานักวัฒนธรรม H/S การสนบั สนุนการดําเนนิ งานของ กีฬา และการทอ งเที่ยว) ภาคสวนอ่ืนๆ 8.1.4 โครงการจัดระเบยี บพื้นท่ีทอ งเทีย่ ว 930.00 930.00 930.00 2,790.00 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักเทศกจิ / S 2 สํานักการจราจรและขนสง ) แผนงาน 8.2 การพัฒนาเสนทางการทอ งเที่ยว 60.00 60.00 H / S การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ท่ี 3 กรงุ เทพมหานคร (สํานักวฒั นธรรม ของหนวยงาน 8.2.1 โครงการปรบั ปรุงสถานที่และอปุ กรณใ หขอมูลเสนทาง กฬี า และการทอ งเทีย่ ว) การทองเที่ยว 15.00 5.00 20.00 H การดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาท่ี 60.00 60.00 การทอ งเทยี่ วแหงประเทศไทย ของหนวยงาน 8.2.2 โครงการพฒั นาแผนที่และระบบออนไลนเพื่อใหขอ มลู การ ทอ งเท่ยี ว กรุงเทพมหานคร (สาํ นักวฒั นธรรม S การดาํ เนินการตามอํานาจหนา ท่ี กีฬา และการทอ งเท่ยี ว) ของหนวยงาน แผนงาน 8.3 การพัฒนาแหลงทีพ่ กั นกั ทองเที่ยวใหไ ดม าตรฐาน 50.00 50.00 H / S การสนับสนุนการดาํ เนนิ งานของ 8.3.1 โครงการสงเสรมิ การพัฒนาแหลงท่ีพักนักทองเท่ียวใหไ ด ภาคสว นอนื่ ๆ มาตรฐาน รวมยทุ ธศาสตร 8 ดา น 11,490.58 7,361.66 3,169.80 22,022.04 *หมายเหตุ ความสําคัญ ลาํ ดบั 1 หมายถงึ จําเปน ตอ งดําเนินการอยา งยงิ่ ความสําคัญ ลาํ ดับ 2 หมายถงึ จําเปนตอ งดาํ เนนิ การ ความสําคญั ลาํ ดบั 3 หมายถงึ สมควรดาํ เนินการ **หมายเหตุ H = Hardware หมายถงึ มีการดําเนินการปรับปรงุ กายภาพเปน หลัก S = Software หมายถงึ มีการดาํ เนนิ กจิ กรรม มาตรการทางเศรษฐกจิ -สังคม และการจัดการความรคู วามเขา ใจ H / S หมายถึง มีการดาํ เนนิ การปรับปรงุ กายภาพควบคูไปกบั มาตรการดา นเศรษฐกจิ -สังคม และการจดั การ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

แผนผงั แมบ่ ทการอนรุ กั ษ์และพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ – ยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา 4-1 บทที่ 4 ยุทธศาสตร์การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ รายพื้นที่ การจัดทํายุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายพ้ืนท่ี มีวัตถุประสงค์เพื่อทําให้ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และ พัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ รายสาขา มีการดําเนินการเป็นรูปธรรมในเชิงพ้ืนที่ รวมถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบในแต่ละพ้ืนท่ีสามารถบูรณาการ การดําเนินการเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ร่วมกันได้ ทั้งน้ี แผนงานและโครงการรายสาขาทั้งหมด ดังท่ีกล่าวมา แล้วในบทท่ี 3 จะมีรูปแบบการดําเนินการใน 2 ลักษณะ คือ การดําเนินการต่อเนื่องกันหลายพื้นที่ และดําเนินการรายพ้ืนที่ ใน 12 พื้นท่ี จึงกําหนดพื้นท่ีเป้าหมายโดยพิจารณาจากลําดับวิวัฒนาการของการต้ังถ่ินฐานและประวัติศาสตร์ของ กรุงรัตนโกสินทร์ รวมถึงความหนาแน่นและความสําคัญของแหล่งมรดกและวิถีทางวัฒนธรรม ร่วมกับการพิจารณาสภาพปัจจุบันและ ศักยภาพในการพัฒนาเชิงพืน้ ท่ี ประกอบด้วยการใช้ประโยชน์ที่ดนิ การจราจร การทอ่ งเทีย่ ว ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใน พน้ื ที่ ดังท่กี ลา่ วมาแลว้ ในบทที่ 2 (แผนที่ 2-3) รายละเอยี ดการดําเนินการมดี งั ต่อไปนี้ 4.1 แผนงานและโครงการทีม่ ีการดาํ เนนิ การตอ่ เนื่องกนั หลายพนื้ ท่ี แผนงานและโครงการท่ีมีการดําเนินการต่อเนื่องกนั หลายพ้ืนท่ีจะมีลักษณะเป็นโครงข่ายเช่ือมโยงการดําเนินการรายพื้นท่ีเข้า ไว้ด้วยกัน เช่น โครงการปรับปรุงและก่อสร้างแนวกําแพงป้องกันนํ้าท่วมริมแม่นํ้าเจ้าพระยา โครงการฟ้ืนฟูระบบคูคลองและปรับปรุง คุณภาพน้ํา โครงการกําหนดแนวสายทางและจุดจอดขนส่งมวลชน เป็นต้น ในขณะท่ีบางโครงการมีความจําเป็นต้องดําเนินการ ครอบคลุมพื้นที่ท้ังหมดของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น โครงการวางและจัดทําแผนผังและข้อกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมืองรวม โครงการแก้ไขปรับปรุงข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร โครงการจัดทําแผนท่ีแสดงข้อมูลเส้นทางท่องเท่ียวท่ีสําคัญ ในระบบออนไลน์ เปน็ ต้น โครงการที่มกี ารดําเนนิ การตอ่ เนอื่ งกนั หลายพ้ืนท่ีมที ้งั สน้ิ 14 โครงการ ดังน้ี (แผนที่ 4-1) สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

4-2 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพฒั นากรงุ รัตนโกสินทร์ – ยทุ ธศาสตร์การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา 1) แผนงานและโครงการท่ีมีการดําเนินการต่อเนอ่ื งกนั หลายพืน้ ที่ แผนที่ 4-1 แผนงานและโครงการท่มี กี ารดาํ เนนิ การต่อเน่อื งกนั หลายพื้นที่ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook