Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยานิพนธ์ อภิกช ศิริสุทธิ์ (1)

วิทยานิพนธ์ อภิกช ศิริสุทธิ์ (1)

Published by Admin Life, 2020-01-06 02:34:58

Description: วิทยานิพนธ์ อภิกช ศิริสุทธิ์ (1)

Search

Read the Text Version

การจัดการขยะเพอ่ื ชุมชนน่าอย่ใู นหมู่บ้านศิริการ์เด้น 2 ตาบลบ้านเป็ ด อาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น อภิกช ศิริสุทธ์ิ วิทยานิพนธ์นี้ เป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการพฒั นาท้องถน่ิ แบบบูรณาการ บัณฑิตศึกษา สถาบนั การเรียนรู้เพอ่ื ปวงชน 2558 ลขิ สิทธ์ขิ องสถาบนั การเรียนรู้เพือ่ ปวงชน

ข การจัดการขยะเพอื่ ชุมชนน่าอยู่ในหม่บู ้านศิริการ์เด้น 2 ตาบลบ้านเป็ ด อาเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น อภิกช ศิริสุทธ์ิ วิทยานิพนธ์นี้ เป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาท้องถน่ิ แบบบรู ณาการ บัณฑิตศึกษา สถาบันการเรียนรู้เพอ่ื ปวงชน 2558

ค THE GARBAGE MANAGEMENT FOR LIVABLE COMMUNITY OF SIRI GARDEN VILLAGE 2nd MUANG DISTRICT, KHONKAEN PROVINCE BY APIKOD SIRISUTH THE THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE DEGREE OF MASTER OF ARTS IN THE PROGRAM OF INTEGRATED LOCAL DEVELOPMENT FACULTY OF GRADUATE STUDY LEARNING INSTITUTE FOR EVERYONE (LIFE) 2015

ง วิทยานิพนธ์เรื่อง (Title) การจดั การขยะเพื่อชุมชนน่าอยใู่ นหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ผวู้ ิจยั อภิกช ศิริสุทธ์ิ สาขาวิชา การพฒั นาทอ้ งถิ่นแบบบรู ณาการ อาจารยท์ ปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั ดร.เฉลิมเกยี รติ สุวรรณวฒั นะ อาจารยท์ ่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม ผศ.ดร.พรพมิ ล เฉลิมมีประเสริฐ คณะกรรมการการสอบวทิ ยานิพนธ์ ลงช่ือ ประธานกรรมการ ([ช่ือประธานกรรมการ]) ลงช่ือ กรรมการ (ผทู้ รงคุณวฒุ )ิ ([ชื่อผทู้ รงคุณวฒุ ]ิ ) ลงชื่อ กรรมการ (อาจารยท์ ป่ี รึกษาหลกั ) (ดร.เฉลิมเกยี รติ สุวรรณวฒั นะ) ลงชื่อ กรรมการ (อาจารยท์ ่ปี รึกษาร่วม) (ผศ.ดร.พรพมิ ล เฉลิมมีประเสริฐ) ลงช่ือ กรรมการ (ผแู้ ทนบณั ฑิตศึกษา) ([ช่ือผแู้ ทนบณั ฑิตศึกษา]) ลงชื่อ กรรมการ (ผแู้ ทนบณั ฑิตศึกษา) ([ช่ือผแู้ ทนบณั ฑิตศึกษา]) ลงช่ือ เลขานุการ ([ช่ือเลขานุการ]) บณั ฑิตศึกษา สถาบนั การเรียนรู้เพ่ือปวงชน อนุมตั ิให้วิทยานิพนธ์น้ีเป็ นส่วนหน่ึงของ การศึกษาตามหลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการพฒั นาทอ้ งถิ่นแบบบรู ณาการ

ก บทคดั ย่อ วทิ ยานิพนธเ์ รื่อง การจดั การขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ในหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ชื่อผเู้ ขยี น อภิกช ศิริสุทธ์ิ ช่ือปริญญา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า การพฒั นาทอ้ งถ่ินแบบบูรณาการ ปี การศึกษา 2558 อาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานิพนธห์ ลกั ดร.เฉลิมเกยี รติ สุวรรณวฒั นะ อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ผศ.ดร.พรพมิ ล เฉลิมมีประเสริฐ การวิจัยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1) ศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนของประชาชน หมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจดั การขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริ การเดน้ 2 3) คน้ หาแนวทางในการจดั ต้งั กองทุนขยะหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม กจิ กรรม การส่งเสริมการจดั การขยะในชุมชนโดยมีกลุ่มตวั อยา่ ง 30 ครัวเรือน ผลการวิจัย พบว่า การจดั การขยะเพ่ือชุมชนน่าอยู่ในหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ได้จาแนก ประเภทมูลฝอยในครวั เรือน ระดับมาก ไดแ้ ก่ ถุงพลาสติกที่ใชใ้ ส่ของ รองลงมาคือ กง่ิ ไม้ ใบไม้ และอนั ดบั สุดทา้ ยคือ มูลฝอยประเภท ขวดบรรจุเครื่องดื่ม ขวดเคร่ืองปรุงอาหาร แต่ลักษณะการ เกบ็ รวบรวมมูลฝอยของประชาชนมีลกั ษณะการเกบ็ รวบกนั ไม่ได้แยกประเภท ความรู้ความเขา้ ใจ ในการจดั การขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนขาดจิตสานึกความตระหนกั และวินยั ในการรักษา ความสะอาดและส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั ต้งั กองทุนขยะ มีความเขา้ ใจการ จดั ต้งั กองทนุ ขยะหมู่บา้ น การจัดต้งั กองทุนพฒั นาหมู่บา้ น รูปแบบการดาเนินของกองทุนพฒั นา หมู่บา้ นตอ้ งเป็นไปในรูปแบบคณะกรรมการ การมีส่วนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูล ฝอยประชาชนในเขตชุมชนจดั การขยะมูลฝอยดว้ ยตนเอง

ข ขอ้ เสนอแนะ ควรมีการปรับเปล่ียนรูปใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการณ์ในปัจจุบนั โดย รณรงคแ์ ละประชาสมั พนั ธใ์ นเร่ืองการลดปริมาณขยะดว้ ยการคดั แยกประเภทขยะจากแหล่งกาเนิด เพ่ือจะนาบางส่วนกลับมาใช้ใหม่และการนาขยะสดมาใช้ทาป๋ ุยหมกั และควรจะมีการรณรงค์ ประชาสัมพนั ธ์อย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองซ่ึงเป็ นการกระตุน้ ให้ประชนสนใจและปฏิบตั ิตาม เนื่องจากปัญหาขยะเป็นปัญหาท่ไี ม่มีทางกาจดั ใหห้ มดส้ินไปโดยงา่ ย

ค Abstract Thesis Title Solid Waste Management for Livable Community in Siri Garden Village 2, Ban Pet Subdistrict, Mueang Researcher District, Khon Kaen Province Degree Apikoch Sirisuth In the Program of Master of Arts Year Integrated Local Development Principal Thesis Advisor 2015 Associate Thesis Advisor Dr. Chalermkiat Suwanwattana Assistant Professor Dr. Pornpimol Chalermmeeprasert The purpose of this were : 1) To study solid waste management in the community of Siri Garden Village 2, 2) To study solid waste management in the community of people in Siri Garden Village 2, and 3) To search guidelines in establishing Solid Waste Fund of Siri Garden Village 2. The instruments used for collecting data were questionnaires, interviews, observation without participation, activities for promoting solid waste management in the community. The samples consisted of 30 households. The study result found that solid waste management for livable community in Siri Garden Village 2 has classified the type of solid waste in the household at the high level, including plastic bags used for putting things, followed by leaves and branches, and the final ranking was beverage bottles, condiment bottles. But the people like to collect many types of solid waste together, the solid wastes were not classified. The knowledge and understanding for solid waste management in the household found that the people lack the awareness,consciousness, and discipline in maintaining the cleanliness and environment, including the understanding on the establishment of Solid Waste Fund. It was found that operating model of village development

ง funds must be in the form of a committee. For the participation of the people in solid waste management, it was found that the people in the communities managed solid waste by themselves. The study suggest It should have modified the format to suit the current situation by campaigning and publicizing to reduce the amount of solid waste: Sorting out the type of solid waste from the source to bring some parts to recycle, and bringing fresh garbage to make compost manure, and it should campaign and publicize regularly and continuously which encourages the people to interest and follow because the garbage problem is a problem that cannot be easily eradicated.

จ กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานวทิ ยานิพนธฉ์ บบั น้ีสาเร็จลงไดด้ ว้ ยดีเพราะความอนุเคราะห์จากสถาบนั การเรียนรู้ เพอื่ ปวงชนและคณาจารย์ เจา้ หนา้ ทท่ี กุ ทา่ นทไี่ ดป้ ระสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ตลอดจนใหค้ าแนะนา เป็นอยา่ งดีมาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ ดร. เฉลิมเกยี รติ สุวรรณวฒั นะ อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ ผศ. ดร.พรพมิ ล เฉลิมมีประเสริฐ อาจารยท์ ป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม ที่ไดก้ รุณาใหค้ วามรู้คาแนะนาและ ขอ้ คดิ เห็นในการวจิ ยั ตลอดจนแกไ้ ขปรับปรุงทาให้วิทยานิพนธ์ฉบบั น้ีสาเร็จและมีความสมบูรณ์ ผวู้ ิจยั ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ขอขอบพระคุณผู้ที่เกยี่ วข้องได้แก่ ผู้นาชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน เจ้าหน้าท่ี สิ่งแวดลอ้ มภาคที่ 10 เทศบาลตาบลบา้ นเป็ ด และประชาชนหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ท่ีอนุเคราะห์ ขอ้ มูลรวมถึงความร่วมมือในการประชุมสนทนาร่วมพฒั นาหมู่บา้ นเพ่ือการจัดการขยะในชุมชน กรุณาใหข้ อ้ มูลและเขา้ ร่วมกจิ กรรมอนั เป็นประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ในการวจิ ยั อภกิ ช ศิริสุทธ์ิ

ฉ สารบญั บทคดั ยอ่ ภาษาไทย………………………………………………………………… หนา้ บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ………………………………………………………...…... ก กติ ติกรรมประกาศ……………………………………………………………....… ค สารบญั ……………………………………………………………………....……. จ สารบญั ตาราง ……………………………………………………...…………..….. ฉ สารบญั ภาพ ………………………………………………………………….….… ซ บทที่ หนา้ ฌ 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา…………………………... 1 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ………………………………………….. 1 1.3 ขอบเขตหรือสถานการณ์ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชื่อเร่ือง…………………... 3 1.4 กลุ่มประชากร/กลุ่มตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจยั ………………………. 4 1.5 คาถามสาคญั ในการวิจยั …………………………………………... 4 1.6 คาสาคญั และนิยามศพั ทเ์ ฉพาะ…………………………………….. 5 1.7 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ………………………………………... 6 2 ทฤษฏีและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 2.1 แนวคดิ ทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ ง…………………………………………... 33 2.2 บริบทของหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 34 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ …………………….…. 36 2.3 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง………………………………………………..... 2.4 กรอบความคิดในการวิจยั …………………………………………... 37 37 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 37 38 3.1 รูปแบบในการวิจยั ………………………………………….……... 39 3.2 ประชากรและวิธีการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งและขนาด ………………… 3.3 เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล …………………………... 3.4 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูล …………………………… 3.5 สถานทใี่ นการวิจยั ………………………………………………....

ช สารบญั (ต่อ) หนา้ 3.6 ระยะเวลาการดาเนินการวจิ ยั ……………………………………... 39 3.7 ปฏทิ ินการปฏบิ ตั งิ าน ……………………………………………... 39 4 ผลการวิจยั 42 4.1 ผลการวจิ ยั ………………………………………………………... 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 54 57 5.1 สรุปผล ……………………………………………………………. 59 5.2 อภิปรายผล ………………………………………………………... 61 5.3 ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………….…... บรรณานุกรม………………………………………………...…………... 65 ภาคผนวก 67 ภาคผนวก ก รายช่ือผเู้ ขา้ ร่วมโครงการการจดั การขยะ 70 เพอ่ื ชุมชนน่าอย…ู่ ……………………………...… 72 79 ภาคผนวก ข การจดั การขยะเพ่ือชุมชนน่าอยู่ …………….….…. 85 ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณ์การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจดั การขยะมูลฝอย ………………….……… ภาคผนวก ง กจิ กรรมการส่งเสริมและการดาเนินโครงการ……… ภาคผนวก จ ภาพกจิ กรรม……………………………….….…... ประวตั ิผวู้ จิ ยั ………………………………………………….…...…….....

ซ สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 4.1.1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของกลุ่มเป้ าหมาย………………………………….……. 41 4.1.2 ความรูค้ วามเขา้ ใจในการจดั การขยะมูลฝอย ในครัวเรือนของประชาชน ………………………………………..… 44 4.1.3 ความคดิ เห็นเกยี่ วกบั การจดั ต้งั กองทนุ ขยะ …………….……...……. 46

ฌ สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา้ 2.4.1 กรอบความคดิ ในการวจิ ยั ………………………………………….….. 36 ภาพการทากจิ กรรม 79 ภาพท่ี 79 1. แสดงการลงประชามติการลดและแยกขยะ……………………………... 80 2. แสดงขยะภายในบริเวณหมู่บา้ นทีย่ งั ไม่มีท่ีจดั เกบ็ 80 81 และยงั ไม่ไดค้ ดั แยก…………………………………………………….. 81 3. แสดงการสมั ภาษณ์สมาชิกในหมู่บา้ นและการตอบแบบสอบถาม……... 82 4. แสดงการจดั กจิ กรรมทาบุญตกั บาตรในวนั ข้ึนปี ใหม่……………….….. 5. แสดงกจิ กรรมการฝึ กอบรมกจิ กรรม 3R……………………………….. 82 6. แสดงจุดรับบริจาคขยะรีไซเคิล…………………………………………. 83 7. แสดงการแยกขยะรีไซเคลิ ………………………………………….….. 83 8. แสดงรถกบ็ ขยะของเทศบาบตาบลบา้ นเป็ด 84 เขา้ เกบ็ ขยะทุกเชา้ วนั จนั ทร์…………………………………………….. 84 9. แสดงการไปศึกษาดูงานท่ี ทต.พระลบั อ.เมือง จ0 ขอนแกน่ ……….…. 10. แสดงทะเบียนสร้างงานสร้างรายไดจ้ ากการจดั การขยะ………………... 11. แสดงการจดั อบรมโดยวิทยากรสิ่งแวดลอ้ ม ภาค 10………………….... 12. แสดงการอาสาทาดี 1 วนั กบั กจิ กรรม Big cleaning Day ณ หมู่บา้ นศิริการ์เดน้ ………………………………………………..…

1 บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา ประเทศไทยมีการพฒั นาในดา้ นต่างๆมากมาย วิทยาการกา้ วหน้า จานวนประชากรเพิ่ม อย่างรวดเร็ว ทาใหอ้ ัตราการใช้ท่ีดินเพ่ือผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคที่อยอู่ าศยั เพิ่มข้ึน มีส่ิงของ อานวยความสะดวกอยา่ งหลากหลาย เป็นเหตุให้เศษสิ่งเหลือใชม้ ีปริมาณมากข้ึน กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหา ของขยะข้ึนในที่สุด ทาใหส้ ิ่งแวดลอ้ มเสื่อมโทรมซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและด้วย การดารงชีวิตของมนุษยน์ ้นั มีกจิ กรรมตา่ งๆ เกดิ ข้นึ มากมาย โดยกจิ กรรมส่วนใหญ่เกยี่ วขอ้ งกบั การ อุปโภคบริโภคที่มีของเหลือและถูกทิง้ ในรูปของขยะมูลฝอย ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะเป็นเศษอาหารท่ีเหลือ จากการเตรียมการปรุงและการบริโภครวมท้งั เศษกระดาษ พลาสติกและของท่ีไม่ใชแ้ ล้ว ขยะมูล ฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรมกม็ ีลกั ษณะต่างๆแปรเปล่ียนตามประเภทอุตสาหกรรมน้ันๆ ขยะมูล ฝอยทีถ่ ูกทงิ้ อยตู่ ามถนน แม่นา้ ลาคลองหรือท่สี าธารณะตา่ งๆ ส่วนใหญ่จะเป็ นใบไม้ เศษกระดาษ ถุงพลาสตกิ ของเหลือใชร้ วมท้งั เศษดิน หิน เป็นตน้ ซ่ึงขยะมูลฝอยท่ีเกดิ ข้ึนเหล่าน้ีหากปล่อยปละ ละเลยไม่ดาเนินการเกบ็ รวบรวมนาไปกาจัดอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม นอกจากจะทาให้ชุมชนขาด ความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่ารังเกยี จแลว้ ยงั ส่งผลกอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ต่อส่ิงแวดลอ้ มอย่าง มาก ปัญหาขยะมูลฝอยทเ่ี กดิ ข้นึ จากหลายฝ่ ายที่เกย่ี วขอ้ งพยายามหามาตรการเพ่ือแกไ้ ขปัญหาให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมและสถานการณ์ของปัญหาท่เี ปลี่ยนแปลงไป แต่ที่ผา่ นมาปรากฏวา่ ชุมชน ไม่สามารถแกไ้ ขไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีสาเหตุมาจากความเจริญทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม อยา่ งตอ่ เน่ือง การมีผลผลิตทางเทคโนโลยใี หม่ๆ มาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ทาให้เกดิ ค่านิยมในการ บริโภคสินคา้ ท่ีสูงข้นึ สรา้ งปัญหาขยะมูลฝอยมากข้ึนดว้ ย (จันเพญ็ มีนคร, 2554 หนา้ 1) ปัจจุบนั การทาแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตหิ ลายฉบบั มาใชใ้ นการพฒั นาประเทศทาใหม้ ีการใช้ ทรพั ยากรตา่ งๆ มากมาย เพื่อการผลิตสินคา้ และบริการในการเสริมสร้างเศรษฐกจิ ของประเทศ แต่ ผลที่เกดิ ตามมา คือ ความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรและสภาพแวดลอ้ ม รวมท้งั กอ่ ใหเ้ กดิ มลภาวะ และเกดิ ปัญหาสังคม ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มตามมา การจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทยยงั เน้นที่ “การกาจัด” เป็ นหลกั ภายใตแ้ นวความคิดที่เห็นขยะมูลฝอยเป็ นเพียงสิ่งไร้ค่าที่จะตอ้ งถูกทาให้ หายไปหรือเกบ็ กกั ไวเ้ ป็นทีเ่ ป็นทาง ขณะเดียวกนั กจ็ านนต่อปริมาณทีม่ ีแต่จะเพ่ิมข้นึ ตามการเติบโต ของการบริโภคและวถิ ีทนั สมยั

2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เป็ นตาบลที่อยู่ติดกบั อาเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่ เป็ นตาบลท่ีมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ มีความเจริญของเมืองมากข้ึน การเจริญน้ี กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มโดยเฉพาะปัญหาขยะ ซ่ึงไดป้ ระสบปัญหาการจดั การขยะอยา่ งต่อเน่ือง และปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนเกดิ จากการจดั การขยะไม่ถูกวิธี ทาใหเ้ กดิ ปัญหามลพิษจากการเผาขยะ เกดิ กลิ่น เน่าเสียจากการไม่คดั แยกขยะ ปัญหาขยะเป็นปัญหาท่ใี กลต้ วั เรามาก เน่ืองจากมีผูผ้ ลิตขยะข้ึนทุกๆ วนั หลายหน่วยงานต่างกต็ ระหนกั และใหค้ วามสาคญั กบั เร่ืองการจัดการขยะให้มีประสิทธิภาพ สูงสุดดว้ ยกลไกลตา่ งๆ หมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 เป็นโครงการบา้ นจดั สรรที่อยใู่ นบา้ นเป็ ด หมู่ที่ 17 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ มีเน้ือทีป่ ระมาณ 612 ไร่ ประกอบดว้ ย 98 ครัวเรือน ปัจจุบนั หมู่บา้ น ศิริการ์เดน้ 2 มีท้งั ชุมชนเดิมและชุมชนใหม่เขา้ มาอยอู่ าศยั เป็นอีกหน่ึงหมู่บา้ นทีม่ ีปัญหาการจดั การ ปัญหาขยะในหมู่บา้ น ท่ีมีผูน้ าขยะไปทง้ิ ในท่สี าธารณะ ส่งกล่ินเหมน็ เป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์เช้ือโรค ท่ีสาคญั มีการลักลอบเผาขยะทาให้เกดิ มลพิษทางอากาศเป็ นจานวนมาก ดว้ ยปัญหาดังกล่าวมา ขา้ งต้นมีสาเหตุหลักมาจากการจัดการขยะมูลฝอยไม่ถูกหลักสุขาภิบาลและถูกสุขลักษณะ ประชาชนในหมู่บา้ นขาดจิตสานึก ความรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนกั และวินัยในการรักษาความ สะอาด รักษาสภาพแวดลอ้ มรวมถึงภายในครัวเรือน ประชาชนในหมู่บา้ นขาดการบริหารจดั การ เกย่ี วกบั ขยะมูลฝอยและกระบวนการจัดการที่ถูกตอ้ ง ความสาคัญและความจาเป็ นของปัญหา ดงั กล่าวเป็นเหตใุ หผ้ วู้ ิจยั มีความสนใจที่จะศึกษาแนวทางทีท่ าใหห้ มู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 มีการจัดการ ขยะมูลฝอยของหมู่บา้ นโดยประชาชนมีส่วนร่วมในการจดั การขยะมูลฝอย รวมท้งั ศึกษาการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการจดั การขยะมูลฝอยของหมู่บา้ นศิริกาเด้น 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลนามาใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การขยะมูลฝอยของหมู่บา้ น และ นาไปสู่การจดั ต้งั กองทนุ ขยะเพอื่ การบริหารจดั การของหมู่บา้ นต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1.2.1 ศึกษาการจดั การขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ 1.2.3 ศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริการเดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ 1.2.3 คน้ หาแนวทางในการจดั ต้งั กองทุนขยะหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอ เมือง จงั หวดั ขอนแกน่

3 1.3 ขอบเขต หรือสถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกบั ช่ือเร่ือง 1.3.1 ขอบเขตด้านเนอื้ หา การวจิ ยั คร้ังน้ีผูว้ ิจัยได้กาหนดขอบเขตเน้ือหาครอบคลุมในประเด็นที่เกย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 1.3.1.1 วธิ ีการจดั การขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอ เมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ซ่ึงการจดั การขยะมูลฝอยประกอบดว้ ยข้นั ตอนต่อไปน้ี 1.3.1.1.1 การรวบรวมขยะมูลฝอย 1.3.1.1.2 การคดั แยกขยะมูลฝอย 1.3.1.1.3 การขนส่งขยะมูลฝอย 1.3.1.1.4 การกาจดั หรือการทาลายขยะมูลฝอย 1.3.1.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจดั การขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริการ์ เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ประกอบดว้ ยข้นั ตอนต่อไปน้ี 1.3.1.2.1 รับรู้ปัญหาขยะมูลฝอย 1.3.1.2.2 วางแผนการกาจดั ขยะมูลฝอย 1.3.1.2.3 แสดงความคดิ เห็นในการแกไ้ ขปัญหาขยะมูลฝอย 1.3.1.2.4 เสนอวธี ีการจดั การขยะมูลฝอย 1.3.1.2.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมเกยี่ วกบั การลดปริมาณขยะมูลฝอย 1.3.2 ขอบเขตด้านพนื้ ท่ี การวิจยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั มุ่งเนน้ ศึกษาถึงการจดั การขยะมูลฝอยและการจดั ต้งั กองทุน ขยะของประชาชนหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ 1.4 กล่มุ ประชากร/กล่มุ ตวั อย่างท่ีใช้ในการวจิ ัย ประชากรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คอื ประชาชนทอี่ าศยั อยใู่ นหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ จานวน 98 ครัวเรือน กลุ่มตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจยั คอื ประชาชนท่อี าศยั อยู่ในหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ น เป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ จานวน 30 ครัวเรือน โดยเป็นสมาชิกในหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 และ เป็นหวั หนา้ ครวั เรือนท่สี มคั รใจเขา้ ร่วมโครงการ

4 1.5 คาถามสาคัญในการวจิ ยั มีแนวทางในการจดั การขยะและการจดั ต้งั กองทุนขยะในหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ น เป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เพ่อื จะไดเ้ ป็นชุมชนน่าอยไู่ ดอ้ ยา่ งไร 1.6 คานิยามศัพท์เฉพาะ ขยะ หมายถึง ของท่ไี ม่ใชห้ รือไม่ตอ้ งการแลว้ และตอ้ งกาจัดออกไป ขยะเป็ นศัพท์ที่คน ส่วนใหญไ่ ม่วา่ จะเป็นนกั วชิ าการหรือประชาชนทว่ั ไปคุน้ เคยและนามาใช้อยา่ งแพร่หลาย เช่น เขต ปลอดขยะ รถขยะ ฯลฯ แต่สาหรบั คาว่ามูลฝอย มกั นามาใช้เป็ นคาค่อนขา้ งสุภาพและเป็ นทางการ มากกวา่ ขยะมูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผา้ เศษอาหาร เศษวตั ถุ ถุงพลาสติกภาชนะที่ใส่ อาหาร เถา้ มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือส่ิงอ่ืนใดที่เกบ็ กวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว์หรือที่อ่ืน และ หมายความรวมถึงขยะมูลฝอยติดเช้ือ มูลฝอยท่ีเป็ นพิษ หรืออนั ตรายจากชุมชนหรือครัวเรือน ยกเวน้ วสั ดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ของโรงงานซ่ึงมีลักษณะและคุณสมบตั ิที่กาหนดไว้ ตามกฎหมายว่าด้วย โรงงาน การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง การดาเนินงานท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การควบคุม การท้ิงขยะมูล ฝอย การเกบ็ ขยะช่ัวคราวไวใ้ นภาชนะ การรวบรวมขยะมูลฝอย การขนถ่าย และการขนส่ง การ แปลงรูปของขยะมูลฝอย โดยมีมาตรการป้ องกนั ไม่ใหข้ ยะมูลฝอยเป็นสาเหตุของสภาพรกรุงรังจน กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาเหตุราคาญ อุบตั ิภยั เป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์สัตวแ์ ละแมลงนาเช้ือโรค หรือกอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษทางดิน น้า อากาศ ซ่ึงการศึกษาในคร้งั น้ีประชาชนในพ้นื ท่ีเป็ นผูป้ ระเมินการจดั การขยะมูล ฝอยดว้ ยตนเอง การมสี ่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การท่ปี ระชาชนที่อาศยั อยใู่ นหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ มีบทบาทและร่วมมือกนั ในการดาเนินการเกยี่ วกบั การ จดั การขยะมูลฝอยในชุมชนทกุ ข้นั ตอน ต้งั แตก่ ารมีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนร่วมในการ ดาเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดาเนินงาน เพื่อให้เกดิ แนวทางที่เกดิ ข้ึนจาก ความตอ้ งการของประชาชนส่วนใหญอ่ ยา่ งแทจ้ ริง กองทุนขยะชุมชน หมายถึง กองทุนขยะชุมชนหมู่บ้านศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ซ่ึงมีกจิ กรรมการบริจากขยะรีไซเคิลในชุมชนโดยรายได้ท่ีเกดิ ข้ึนจะ

5 ถูกบนั ทึกลงในสมุดคูฝ่ ากของสมาชิก สามารถฝากหรือถอนไดใ้ นลักษณะธนาคารพาณิชย์ โดยจะ เกบ็ ไวเ้ ป็นคา่ บริหารจดั การส่วนกลางในหมู่บา้ น เช่น ค่าเกบ็ ขนขยะของเทศบาลตาบลบา้ นเป็ด 1.7 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ 1.7.1 สมาชิกไดแ้ นวทางและกระบวนการจดั ต้งั กองทนุ ขยะชุมชนหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ 1.7.2. สมาชิกเกดิ ความสามัคคี ความร่วมมือ เกดิ การช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั เกดิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดีตอ่ กนั ของสมาชิกในหมู่บา้ นท่ีเป็ นสังคมเมือง และมีการบริหารจัดการชุมชน ของตนเองร่วมกนั

6 บทท่ี 2 ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง การวิจยั การจดั การขยะเพ่ือชุมชนน่าอยู่ยงั่ ยืนในหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ งเพื่อให้ ครอบคลุมวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ดงั น้ี 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2.1.1 แนวคิดเกย่ี วกบั การกาจดั ขยะมูลฝอย 2.1.2 แนวคิดการบริหารจดั การขยะและกองทุนขยะในชุมชน 2.1.3 แนวคิดและทฤษฎีเกย่ี วกบั การการมีส่วนร่วม 2.2 บริบทของหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ 2.3 งานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 2.4 กรอบความคิดในการวจิ ยั 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วข้อง 2.1.1. แนวคดิ เกยี่ วกบั การกาจัดขยะมูลฝอย 2.1.1.1 ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั ขยะมูลฝอย การจดั การขยะที่ผ่านมาเป็ นปัญหาท่ี หลายหน่วยงานพยายามแกไ้ ขปัญหามาต้งั แต่ในอดีต แต่จนถึงปัจจุบนั กย็ งั ไม่สามารถจะแกไ้ ข ปัญหาได้ เทคโนโลยีไม่ใช่คาตอบเพียงคาตอบเดียวของการแกป้ ัญหา แต่เป็ นเพียงการเปล่ียน รูปแบบหรือเคลื่อนยา้ ยปัญหาหน่ึงสู่อีกปัญหาหน่ึงเท่าน้นั การฝังกลบยงั ไม่ปรากฏว่าจะมีที่ฝังกลบ ใดที่ปราศจากปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม แม้แต่ที่ฝังกลบท่ีมีประสิทธิภาพสู งสุดกย็ งั หลีกเลี่ยงปัญหาไม่ได้ มีการใชเ้ ตาเผาขยะที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลิตทางเคมีท่ีเกดิ ข้นึ มาโดยไม่ไดต้ ้งั ใจผลิต การทาป๋ ยุ หมกั อาจกอ่ ให้เกดิ โลหะหนกั ตกคา้ งในขยะอาจมีปัญหาเร่ือง กล่ินเหมน็ รบกวนเป็นแหล่งเพาะเช้ือโรคและสตั ว์ท่ีเป็ นพาหะนาโรค แหล่งมลพิษท่ีสามารถแพร่ การชะลา้ งดว้ ยน้าฝนและน้าผิวดิน (สุพจน์ นิตริ ัฐกลุ , 2555, หนา้ บทคดั ยอ่ ) ขยะ หมายถึง ของท่ีไม่ใชห้ รือไม่ตอ้ งการแลว้ และตอ้ งกาจัดออกไป ขยะ เป็ นศพั ทท์ ี่คนส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็ นนกั วิชาการหรือประชาชนทว่ั ไปคุน้ เคย และนามาใช้อยา่ ง แพร่หลาย เช่น เขตปลอดขยะ รถขยะ ฯลฯ แต่สาหรับคาว่ามูลฝอย มกั นามาใชเ้ ป็ นคาค่อนขา้ ง สุภาพและเป็นทางการมากกว่า (โพยม รุจิรสั สวรวงศ,์ 2543, หนา้ 6)

7 ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสิ่งของท่ีไม่ตอ้ งการใชแ้ ลว้ ซ่ึงทงิ้ จากบา้ นเรือน ท่ีพกั อาศยั สถานทต่ี ่างๆ รวมถึงท่ีสาธารณะ ตลาด และโรงงานอุตสาหกรรม อาจจะเป็นส่ิงเน่าเปื่ อย ที่ยอ่ ยสลายได้ หรือยอ่ ยสลายไม่ไดก้ ต็ าม และเป็นซากที่ตอ้ งมีการจดั เกบ็ และจากดั ดว้ ยวิธีการต่างๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ขยะแตล่ ะประเภท (อาบสั หะมิมะดิง, 2553, หนา้ 4) ขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งของเคร่ืองใชต้ ่างๆที่ไม่ตอ้ งการใชแ้ ล้วส่วนใหญ่ เป็นของแขง็ ท้งั ท่ีเน่าเปื่ อยและไม่เน่าเป่ื อย รวมท้งั ข้เี ถา้ ซากสัตว์ มูลสัตว์ ฝ่ ุนละออง และเศษวตั ถุ ตา่ งๆทท่ี ้ิงจากสถานทตี่ า่ งๆท้งั สถานทีส่ าธารณะ ถนน อาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม (ดวงพร โส ตถิ ิมานนท,์ 2545, หนา้ 31) ขยะ เป็ นเศษวสั ดุท่ีไม่มีผูใ้ ดตอ้ งการ เช่น เศษอาหาร เศษกระดาษ เศษ พลาสตกิ เคร่ืองใชท้ ่ีชารุด เศษวสั ดุจากการเกษตร อุตสาหกรรม การกอ่ สร้าง ตลอดจนใบไมใ้ บ หญา้ หรือซากสัตว์ ขยะบางอยา่ งยงั มีคุณค่าในตวั เองและอาจเป็นท่ีตอ้ งการของบุคคลอีกกลุ่ม (กรม ควบคุมมลพษิ , 2547, หนา้ 2) ขยะมูลฝอย หมายถึง เศษส่ิงของใดๆท่ี เหลือจากการอุปโภค บริโภค ท่ี เกดิ ข้ึนในครัวเรือนและชุมชุน ซ่ึงแบ่งเป็ นขยะสด ไดแ้ ก่ เศษเน้ือ เศษผกั เศษอาหารได้แก่ เศษ กระดาษ เศษผา้ เศษไม้ แกว้ ยาง กระเบ้ืองเศษโลหะต่างๆของใชช้ ารุด ซากยานพาหนะ(ศักด์ิชัย เหมือนวิหาร,2553,หนา้ 4 ) สรุปไดว้ ่า ขยะมูลฝอย คอื เศษสิ่งของที่เหลือจากการใชใ้ นชีวิตประจาวนั ท้งั การ บริโภค และอุปโภค และไม่มีความตอ้ งการใช้สิ่งของเหล่าน้ันอีกต่อไป จึงทาให้ตอ้ งมีการกาจดั ออกไป 2.1.1.2 ประเภทของขยะมูลฝอย ขยะหรือขยะมูลฝอย ( Refuse or Solid Waste) หมายถึง ของเสียทอี่ ยใู่ นรูปของแขง็ ซ่ึงอาจจะมีความช้ืนปะปนมาดว้ ยจานวนหน่ึง ขยะท่ีเกดิ ข้ึน จากอาคารท่ีพกั อาศัย สถานที่ทาการโรงงานอุตสาหกรรม หรือตลาดสดกต็ ามจะมีปริมาณและ ลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป โดยปกติแลว้ วตั ถุต่างๆที่ถูกทงิ้ มาในรูปของขยะน้นั จะมีท้งั อินทรียส์ าร และอนินทรียส์ าร สารวัตถุต่างๆเหล่าน้ีบางชนิดกส็ ามารถยอ่ ยสลายได้ด้วยจุลินทรีย์ในเวลา อนั รวดเร็ว โดยเฉพาะพวกเศษอาหาร เศษพืชผกั แต่บางชนิดกไ็ ม่อาจจะย่อยสลายได้เลย เช่น พลาสติก เศษแกว้ เป็นตน้ ประเภทของขยะมูลฝอย 2.1.1.2.1 จาแนกตามพิษภัยท่ีเกดิ ข้ึนกบั มนุษยแ์ ละส่ิงแวดล้อม มี 2 ประเภท คือ

8 (1) ขยะทวั่ ไป (General waste) หมายถึง ขยะมูลฝอยที่มี อนั ตรายนอ้ ย ไดแ้ ก่ พวกเศษอาหารเศษกระดาษ เศษผา้ พลาสตกิ เศษหญา้ และใบไม้ ฯลฯ (2) ขยะอนั ตราย (Hazardous waste) เป็ นขยะท่ีมีภยั ต่อคน และสิ่งแวดลอ้ ม อาจมีสารพิษ ติดไฟหรือระเบิดง่ายปนเป้ื อนเช้ือโรค เช่น ไฟแช็คแกส็ กระป๋ อง สเปรย์ ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี หรืออาจเป็นพวกสาลีและผา้ พนั แผลจากสถานพยาบาลทมี่ ีเช้ือโรค 2.1.1.2.2 จาแนกตามลกั ษณะของขยะ มี 2 ประเภท คือ (1) ขยะเปี ยกหรือขยะสด (Garbage) มีความช้ืนปนอยู่มากกว่า ร้อยละ 50 จึงตดิ ไฟไดย้ ากส่วนใหญ่ไดแ้ ก่เศษอาหาร เศษเน้ือ เศษผกั และผกั ผลไมจ้ ากบา้ นเรือน รา้ นจาหน่ายอาหารและตลาดสด รวมท้งั ซากพืชและสัตว์ท่ียงั ไม่เน่าเปื่ อย ขยะประเภทน้ีจะทาให้ เกดิ กล่ินเน่าเหม็นเนื่องจากแบคทีเรียยอ่ ยสลายอินทรียส์ าร นอกจากน้ี ยงั เป็นแหล่งเพาะเช้ือโรคโดย ตดิ ไปกบั แมลง หนู และสัตวอ์ ื่นที่มาตอมหรือกนิ เป็นอาหาร (2) ขยะแหง้ (Rubbish)คือ สิ่งเหลือใชท้ ่ีมีความช้ืนอย่นู อ้ ยจึง ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ กลิ่นเหมน็ จาแนกได้ 2 ชนิด คือ - ขยะทเี่ ป็นเช้ือเพลิง เป็นพวกท่ตี ิดไฟไดเ้ ช่นเศษผา้ เศษ กระดาษหญา้ ใบไม้ กงิ่ ไมแ้ หง้ - ขยะท่ีไม่เป็ นเช้ือเพลิง ไดแ้ ก่ เศษโลหะ เศษแกว้ และ เศษกอ้ นอิฐ 2.1.1.2.3 แหล่งกาเนิดและประเภทขยะมูลฝอยจากกจิ กรรมต่างๆ ขยะ เป็นส่ิงท่ีเหลือใช้ หรือส่ิงที่ไม่ตอ้ งการอีกต่อไป สามารถแบ่งตามแหล่งกาเนิดไดด้ งั น้ี (1) ของเสียจากอุตสาหกรรม ของเสียอนั ตรายทว่ั ประเทศไทย 73% มาจากระบบอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ยงั ไม่มีการจดั การท่ีเหมาะสมโดยท้ิงกระจายอยู่ตาม สิ่งแวดลอ้ มและทง้ิ ร่วมกบั มูลฝอย รฐั บาลไดก้ อ่ ต้งั ศูนยก์ าจัดกากอุตสาหกรรมข้ึนแห่งแรกที่แขวง แสมดา เขตบางขนุ เทียน เร่ิมเปิ ดบริการต้งั แต่ 2531 ซ่ึงกเ็พียงสามารถกาจดั ของเสียไดบ้ างส่วน (2) ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจยั ของเสีย จากโรงพยาบาลเป็ นของเสียอนั ตรายอย่างย่ิงเช่น ขยะติดเช้ือ เศษอวยั วะจากผูป้ ่ วย และการ รกั ษาพยาบาล รวมท้งั ของเสียที่ปนเป้ื อนสารกมั มนั ตรังสี สารเคมี ไดท้ ิ้งสู่สิ่งแวดลอ้ มโดยปะปน กบั มูลฝอย ส่ิงปฏกิ ูลเป็นการเพม่ิ ความเสี่ยงในการแพร่กระจายของเช้ือโรคและสารอนั ตราย (3) ของเสียจากภาคเกษตรกรรม เช่น ยาฆ่าแมลง ป๋ ุย มูลสัตว์ น้าท้ิงจากการทาปศุสตั ว์ ฯลฯ

9 (4) ของเสี ยจากบ้านเรือนแหล่งชุมชน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี แกว้ เศษอาหาร พลาสติก โลหะ หินไม้ กระเบ้อื ง หนงั ยาง ฯลฯ (5) ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เช่น ภตั ตาคาร ตลาดสด วดั สถานเริงรมย์ ปริมาณมูลฝอยท่ีเกดิ จากการดารงชีพหรือมูลฝอยชุมชนน้นั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ดงั ตอ่ ไปน้ี - ท่ีต้งั ทางภูมิศาสตร์ - ฤดูกาล - รายได้ - โครงสรา้ งของครอบครวั - อุปนิสัยในการซ้ือสินคา้ - พฤตกิ รรมในการบริโภคอาหาร - รูปแบบของการดารงชีวติ - ทศั นคตใิ นการดารงชีวิต - กฎหมายขอ้ บงั คบั 2.1.1.2.4 สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ ปัญหาขยะมูลฝอย (1) ความมักง่ายและขาดความสานึกถึงผลเสียท่ีจะเกดิ ข้ึน เป็นสาเหตุที่พบบอ่ ยมาก ซ่ึงจะเหน็ ได้จากการท้ิงขยะลงตามพ้ืนหรือแหล่งน้า โดยไม่ท้ิงลงในถัง รองรบั ท่จี ดั ไวใ้ หแ้ ละโรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งลกั ลอบนาส่ิงปฏกิ ลู ไปท้งิ ตามทีว่ า่ งเปล่า (2) การผลิตหรือใชส้ ่ิงของมากเกนิ ความจาเป็ น เช่น การผลิต สินคา้ ท่มี ีกระดาษหรือพลาสติกหุม้ หลายช้นั และการซ้ือสินคา้ โดยห่อแยกหรือใส่ถุงพลาสติกหลาย ถุงทาใหม้ ีขยะปริมาณมาก (3) การเกบ็ และทาลายหรื อนาขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มี ประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกคา้ งกองหมักหมมและส่งกลิ่นเหม็นไปทว่ั บริเวณจนกอ่ ปัญหามลพิษ ใหก้ บั ส่ิงแวดลอ้ ม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2547, หนา้ 4) ไดแ้ บ่งขยะออกเป็ น 4 ประเภท ตามความอยากงา่ ยของการยอ่ ยสลายหรือการเน่าเป่ื อยและความเป็นพิษ ดงั น้ี ประเภททีห่ น่ึง คือ ขยะทยี่ อ่ ยสลายไดง้ า่ ย เป็นขยะมูลฝอยทีเ่ ป็นสารอนินทรียม์ ี สภาพนามาหมกั เป็นป๋ ยุ ยอ่ ยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ เช่น เศษอาหาร เศษวชั พืช เศษผลไมแ้ ละ ซากสตั วเ์ ป็นตน้

10 ประเภทท่ีสอง คือ ขยะมูลฝอยทว่ั ไปเป็ นขยะมูลฝอยที่เป็ นสารอนินทรียย์ ่อย สลายไม่ได้ ไม่เป็นขยะมูลฝอยอนั ตรายและรีไซเคิลยากหรือไม่คุม้ ค่าการนาไปรีไซเคิล เช่น วสั ดุ กอ่ สร้าง เถา้ ฝ่ นุ ละอองจากถนนและถุงพลาสติก โฟม ฟอยด์ ทป่ี นเป้ื อนอาหาร เป็นตน้ ประเภทที่สาม คอื ขยะมูลฝอยท่ีนากลบั มาใชไ้ ดใ้ หม่หรือขยะมูลฝอยมีค่าหรือ ขยะมูลฝอยรีไซเคิล เป็ นขยะมูลฝอยท่ีสามารถนามาขายหรือเพ่ือผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น เศษโลหะ ถุงพลาสติก กล่องกระดาษและกระดาษหนงั สือพิมพ์ เป็นตน้ ประเภทที่สี่ คือ ขยะมูลฝอยอันตรายที่มีอนั ตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะมูลฝอยปนเป้ื อนกมั มนั ตรงั สี สารเคมีทง้ิ แลว้ ยาเส่ือมสภาพ ของมีคม ขยะมูลฝอยติดเช้ือ เป็ นตน้ สานกั งานคณะกรรมกรรมส่ิงแวดลอ้ มแห่งชาติ ได้ให้ความหมายของคาต่าง ๆ ที่ เกย่ี วขอ้ งกบั มูลฝอยไว้ ดงั น้ี ขยะเปี ยก หมายความถึง ขยะพวกเศษอาหารพืชผกั เศษ เน้ือสัตว์ และเศษ สิ่งของส่วนใหญท่ ไี่ ดจ้ ากการประกอบอาหารจากตลาด หรือเศษท่ีเหลือจากการรับประทานอาหาร ขยะเปี ยกส่วนมากประกอบดว้ ย อินทรียวตั ถุ ซ่ึงมกั จะเป็นพวกท่สี ลายตวั ไดง้ ่าย ดงั น้ันถา้ ขยะเปี ยก ถูกปล่อยท้งิ ไวน้ านเกนิ ควรจะเกดิ การเน่าเสียและเกดิ กลิ่นเหม็นรวบกวนไดง้ ่าย โดยปกติแล้วขยะ เปี ยกจะมีปริมาณความช้ืนประมาณ 40 –70%ของขยะท้งั หมด ขยะแหง้ หมายความถึงขยะมูลฝอยที่มีลกั ษณะไม่เกดิ การบูดเน่าไดง้ ่ายท้งั ท่ีติด ไฟไดแ้ ละไม่ตดิ ไฟ เช่น เศษกระดาษ เศษผา้ เศษแกว้ กระป๋ อง ขวด ไม้ โลหะตา่ ง ๆ กง่ิ ไม้ รวมท้งั ผงและฝ่ นุ ละอองต่าง ๆ ขยะมูลฝอยที่ยอ่ ยสลายได้ หมายความถึง สารอินทรียใ์ นขยะมูลฝอยที่สามารถ ยอ่ ยสลายไดด้ ว้ ยจุลินทรียโ์ ดยใชป้ ฏิกริ ิยาชีวเิ คมี เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ ฯลฯ ขยะมูลฝอยท่ยี อ่ ยสลายไม่ได้ หมายถึง สารอินทรีย์ หรือสารอินทรียท์ ี่ย่อยสลาย ไดย้ ากในขยะมูลฝอย ท่ีไม่สามารถยอ่ ยสลายไดด้ ว้ ยจุลินทรีย์ โดยใชป้ ฏิกริ ิยาชีวเคมี เช่น เศษโลหะ เศษกระดาษ ถุงพลาสตกิ ฯลฯ ขยะมูลฝอยที่เผาไหมไ้ ม่ได้ หมายความถึง ขยะมูลฝอยท่ีไม่สามารถลุกไหมไ้ ด้ เช่น เศษโลหะ เศษแกว้ ฯลฯ (วจินี จงจิตร,2553, หนา้ 3) โดยทว่ั ไปแลว้ มูลฝอยประเภทน้ีมกั จะมีสารทีเ่ ป็นอนั ตราย ไดแ้ บ่งขยะมูลฝอยตาม ลกั ษณะทางกายภาพไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั น้ี 1) ขยะมูลฝอยเปี ยก หรือท่ีเรียกว่าขยะมูลฝอยที่เน่าเป่ื อยไดง้ ่าย หมายถึงส่ิง ปฏิกูลที่ได้จากการเตรียมอาหารหรือเศษวสั ดุต่างๆท่ีเหลือจากการประกอบอาหาร ห้องครัว

11 ร้านอาหาร ตลาดสด ขยะประเภทน้ีส่วนใหญ่เป็นพวกอินทรียม์ ีน้าหรือมีความช้ืนสูงกว่าร้อยละ 50 จึงทาใหเ้ กดิ การเน่าเปื่ อยไดร้ วดเร็วมีกลิ่นเหมน็ และเป็ นแหล่งเพาะเช้ือโรค รวมท้งั การคุย้ เข่ียของ สตั ว์ ขยะจาพวกน้ีไดแ้ ก่ เศษอาหารต่างๆเศษผกั ผลไม้ ฯลฯ 2) ขยะมูลฝอยแหง้ หรือขยะมูลฝอยที่เน่าเปื่ อยยาก (Rubbish) หมายถึง เศษวสั ดุ ตา่ งๆ ท่ีเหลือใชท้ ว่ั ไป ซ่ึงโดยปกติแลว้ มูลฝอยแหง้ จะมีความช้ืน และน้าหนักนอ้ ยกว่ามูลฝอยเปี ยก หรือมูลฝอยท่ีเน่าเปื่ อยไดง้ ่าย ซ่ึงสามารถจาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1) ขยะแห้งท่ีเป็ นเช้ือเพลิง ได้ (Combustible Rubbish ) ไดแ้ ก่ เศษไม้ เศษหญา้ กระดาษ ลงั กระดาษ ลังไม้ เป็ นตน้ และ 2) ขยะท่ีเผาไหมไ้ ม่ได้ (Noncombustible Rubbish)ไดแ้ ก่เศษแกว้ เศษโลหะต่างๆ ขวด กระป๋ อง เป็ น ตน้ 3) ข้เี ถา้ (Ashes) หมายถึง ส่ิงของทม่ี ีเหลือจากการเผาไหม้ เช่น ข้ีเถ้าจากถ่าน และวสั ดุต่างๆ ทเ่ี หลือจากการหุงตม้ การเผาน้ามันที่ใช้ในการอุตสาหกรรม และการเผาไหม้ของ เช้ือเพลิงพวกไม้ ถ่านหิน ซ่ึงในแถบประเทศทีม่ ีอากาศร้อนจะมีปริมาณนอ้ ยมากไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหา มากเท่ากบั แถบประเทศที่มีอากาศหนาวที่ต้องใช้ความร้อนช่วยในการให้ความอบอุ่น ซ่ึงใช้ เช้ือเพลิงมากทาใหเ้ กดิ ขยะประเภทน้ีเป็นปัญหาต่อการเกบ็ ขน นอกจากน้ีถ้าการเกบ็ รวบรวมไม่ดี แลว้ ทาใหฟ้ ้ ุงกระจายเกดิ ปัญหาตามมาอีกมาก กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม (2547: 14)ไดก้ ล่าววา่ การจดั การขยะหากจะใหม้ ี ประสิทธิภาพสูงสุดแล้ว จาเป็ นอย่างยิ่งท่ีจะตอ้ งพิจารณาแหล่งกาเนิดของขยะเพื่อใหส้ ามารถ วางแผนและควบคุมปริมาณขยะจากแหล่งกาเนิดน้นั ๆโดยทว่ั ไปแลว้ แบง่ ออกเป็น 3 แหล่งดงั น้ี 1) ชุมชน เป็ นแหล่งกาเนิดขยะที่ใหญ่ที่สุดโดยเฉพาะอาคารบา้ นเรือนท่ีพกั อาศยั จะมีปริมาณมากกวา่ แหล่งอ่ืนๆ 2) โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานทว่ั ไปมักจะกอ่ ให้เกดิ ปัญหาส่ิงแวดล้อม เฉพาะจุดเท่าน้ัน เม่ือได้รับการจัดการแล้วปัญหาจะหมดไป จึงเป็ นแหล่งท่ีสร้างปัญหาต่อ ส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยกว่าแหล่งชุมชน 3) เกษตรกรรม เป็นแหล่งที่ไม่สรา้ งปัญหามากหนัก เน่ืองจากเกษตรกรมกั จะ กาจดั ขยะไดเ้ อง ซ่ึงถือวา่ สร้างปัญหาต่อส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยกว่าแหล่งอื่นๆมาก ขยะ หมายความรวมวา่ เศษสิ่งของตา่ งๆ ท่ีเหลือใชจ้ ากกจิ กรรมท่ีสามารถนามาใช้ เป็นประโยชนต์ ่อไปไดแ้ ละไม่สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) ขยะมูลฝอย (General Waste) เกดิ จากมีกจิ กรรมต่างๆท้งั การดารงชีพและ กจิ กรรมในส่วนของการดาเนินธุรกจิ มูลฝอยเหล่าน้ีเกดิ จากบา้ นเรือนที่พกั อาศัย ร้านอาหาร ตลาด อาคารพาณิชย์ โรงพยาบาล โรงแรม สถานที่ทางาน สถานทสี่ าธารณะ เช่น สถานที่พกั ผ่อนหย่อน

12 ใจ ถนน ตรอก ซอย และอ่ืนๆ ประกอบด้วยมูลฝอยที่เหลือจากการบริโภค เช่นเศษอาหาร ผัก ผลไม้ และจากการอุปโภค เช่น กระดาษ พลาสติก ผา้ โลหะ แกว้ ไม้ หนงั กรวด ทราย เป็นตน้ 2) ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Waste) ขยะมูลฝอยเหล่าน้ี จะมีลักษณะที่แตกต่างกนั ออกไปแต่ละประเภทของอุตสาหกรรม องค์ประกอบสาคญั ท่ีเป็ น ตวั กาหนดลกั ษณะและองคป์ ระกอบของมูลฝอยประเภทน้ีไดแ้ ก่วตั ถุดิบ กรรมวิธีการผลิต ผลผลิต ผลพลอยไดจ้ ากการผลิต (ดวงพร โสตถิ ิมานนท,์ 2545, หนา้ 7) ดังน้ัน ประเภทของมูลฝอยสรุปได้ว่า คือขยะมูลฝอยท่ีท้ิงจากครัวเรือนและ โรงงานอุตสาหกรรม แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 1) ขยะที่สามรถนากบั มาใชไ้ ดอ้ ีก 2) ขยะที่ไม่สามารถนากลบั มาใชไ้ ดอ้ ีก 2.1.2 แนวคดิ การบริหารจดั การขยะและกองทุนขยะในชุมชน 2.1.2.1 การจดั การขยะมูลฝอย กรมควบคุมมลพิษ (2547, หน้า 14) กล่าวถึงการ จดั การขยะมูลฝอยไวว้ า่ การใชเ้ ทคโนโลยีกาจดั มูลฝอยข้ึนอยกู่ บั การทิ้งและการเกบ็ ขยะมูลฝอย จากแหล่งกาเนิด ตลอดจนเทคโนโลยกี ารเกบ็ รวบรวมขยะมูลฝอย ดังน้นั เทคโนโลยที ี่ใช้ในการ กาจดั ขยะมูลฝอยทผี่ ่านการพสิ ูจนจ์ นเป็นทยี่ อมรบั กนั มีอยอู่ ยา่ งแพร่หลาย เน่ืองจากป้ องกนั ไม่ให้ เกดิ ปัญหาสุขภาพและส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดลอ้ มไดเ้ ป็ นอย่างดี ได้แก่ การฝังกลบอย่างถูก หลักสุขาภิบาล (Sanitag Landfill) การเผา (Incineration) และการหมักทาป๋ ุย (Composting) นอกจากน้ีมีการนาขยะกลบั มาใชป้ ระโยชนด์ ว้ ยการกลน่ั ทาลาย การหมกั แบบซิมโบเทอร์มิก การ หมกั แกส๊ ชีวภาพเป็นตน้ การจดั การมูลฝอยมีการกระทากจิ กรรม แบง่ ออกได้ 6 ส่วนใหญ่ๆดงั น้ี 1) การทง้ิ มูลฝอย 2) การจดั การมูลฝอย 3) การรวบรวมขนมูลฝอย 4) การขนถ่ายและการขนส่ง 5) การนาส่วนของขยะมูลฝอยทีย่ งั ใชไ้ ดอ้ ยนู่ ามาใชใ้ หม่ 6) การกาจดั ข้นั สุดทา้ ย โดยส่วนใหญแ่ ลว้ ระบบการจดั การมูลฝอยสาหรับชุมชนทว่ั ๆไปจะประกอบด้วย 4 ส่วนดงั น้ี(พชั รี หอวจิ ิตร, 2538, หนา้ 56) 1) การท้ิงขยะมูลฝอย เกดิ ข้ึนจากการที่ผูท้ ้ิงเห็นว่าวัสดุน้ันๆ ไม่ สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ีกแลว้ จึงท้ิงหรือรวบรวมไวเ้ พือ่ กาจดั ต่อไป การทง้ิ ขยะเป็ นกจิ กรรม ท่จี ะเกดิ ข้ึนหรือไม่ข้ึนอยูก่ บั บุคคลผูใ้ ช้วสั ดุน้นั ๆ ว่าจะยงั ใชป้ ระโยชน์จากวสั ดุน้นั หรือไม่ ซ่ึง

13 กจิ กรรมน้ีนบั เป็นส่วนสาคญั ยง่ิ ของระบบการจดั การขยะมูลฝอย เพราะปริมาณของขยะมูลฝอยท่ี ตอ้ งการกาจัดอันรวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยน้ัน จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กบั ความสามารถในการควบคุมกจิ กรรมน้นั 2) การจดั การมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิด ในส่วนทีม่ ุ่งสนใจขยะมูลฝอย ทม่ี าจากชุมชนมากกวา่ แหล่งอ่ืนๆ เพราะขยะชุมชนมีส่วนประกอบหลากหลาย และเกดิ ข้นึ ในแหล่ง ท่อี ยอู่ าศยั ของคน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเขตท่มี ีผูค้ นอยกู่ นั อยา่ งแออดั ไม่มีพ้นื ที่เพยี งพอท่จี ะเกบ็ ขยะ ที่เกดิ ข้ึนได้และถึงจะมีพ้ืนท่ีเพียงพอจะเกบ็ กต็ อ้ งมีการเกบ็ ขนยา้ ยหรือกาจัดไปในเวลาอันควร มิฉะน้นั จะเกดิ การเน่าเหม็นทไ่ี ม่หนา้ ดูและอาจมีผลต่อสุขภาพอนามยั ของประชาชนได้ ดงั น้นั ตอ้ ง มีการออกแบบถงั ขยะใหม้ ีขนาดและรูปแบบท่เี หมาะสมในการดาเนินงานจะเชื่อมโยงกบั ส่วนอื่นๆ ของการจดั การขยะมูลฝอย 3) การรวบรวมขน หมายถึง กจิ กรรมต้งั แต่การขนถ่ายขยะมูลฝอย จากถังขยะไปจนถึงการขนยา้ ยขยะไปถ่ายจุดหมายปลายทางการจัดระบบการรวบรวมขนที่ เหมาะสมสาหรบั เมืองใหญ่จะมีความยงุ่ ยาก เช่น การเลือกชนิดรถขยะ เส้นทางเดินรถ การพิจารณา ความเหมาะสมในการจดั ต้งั สถานีขนถ่ายมูลฝอย 4) การกาจัดข้ันสุดท้าย เป็ นท่ีนิยมมากเพราะมีต้นทุนในการ ดาเนินการนอ้ ยทส่ี ุด ไดแ้ ก่ วิธีฝังกลบอยา่ งถูกสุขลกั ษณะวิธีน้ีสามารถกาจดั ขยะมูลฝอยได้ 100% และสามารถรองรับของเหลือจากการกาจัดด้วยวิธีอ่ืนใด แต่วิธีน้ีมีข้อเสีย คือ เน้ือท่ีในการ ดาเนินงานมากอาจถูกต่อตา้ นจากประชาชนท่ีอาศัยอยูใ่ กล้เคียงกบั บริเวณหลุมฝังกลบ และถ้า ดาเนินการไม่ดีอาจส่งผลกระทบต่อมลพิษทางดิน ทางน้า จากการร่ัวซึมของขยะและถา้ กลบหน้า ดินไม่ดีอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหากล่ินเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพนั ธุข์ องสัตวน์ าโรคได้ 5) แนวทางการจดั การขยะมูลฝอยชุมชน ตามท่ไี ดก้ ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ว่า ปัญหาการจดั การขยะชุมชนมีแนวโนม้ ท่ีจะรุนแรงข้ึน เนื่องจาดปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มข้ึนอยา่ ง ตอ่ เนื่อง แต่หน่วยงานที่รับผิดชอบไม่สามารถหาที่ดินเพ่ือกาจัดขยะในระยะยาวได้ รวมท้งั ขาด แคลนเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการรวบรวมและกาจดั ขยะให้ถูกสุขลักษณะทาใหม้ ีขยะตกคา้ งโดยมี สาเหตุมาจากการมีงบประมาณจากดั ขาดการวางแผนร่วมกบั ชุมชน ขาดระเบียบแนวทางปฏิบตั ิท่ี ชดั เจน บุคลากรขาดความชานาญ การนาขยะกลบั มาใชใ้ หม่ ความร่วมมือของประชาชน เป็นตน้ กรมควบคุมมลพิษ (2547, หนา้ 4) ไดก้ าหนดแนมทางการจดั การมูลฝอยชุมชนไว้ 4 ดา้ น มีสาระสาคญั ดงั น้ี 1) ดา้ นการจดั การ

14 (1) ใชห้ ลกั การ ผกู้ อ่ มลพิษเป็นผจู้ ่าย กบั ประชาชนและหน่วยงาน ของรัฐท่ีเป็ นผูผ้ ลิตขยะมูลฝอยหรือดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยไม่เหมาะสม กอ่ ให้เกดิ ความ เสียหายตอ่ สุขภาพอนามยั ของประชาชนและสิ่งแวดลอ้ ม (2) ใหม้ ีการจดั ทาแผนหลกั ในระดับจังหวดั และแผนปฏิบตั ิการ จดั การมูลฝอยระดบั จงั หวดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนจดั การคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มในระดบั ชาติ (3) กาหนดมาตรฐานหลกั เกณฑ์การปฏิบตั ิการจดั การมูลฝอยท่ี เหมาะสมต้งั แตก่ ารเกบ็ ขน การขนส่งและการกาจดั เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางปฏบิ ตั ิ (4) กาหนดประเภทผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ที่ผูผ้ ลิตตอ้ งนา กลบั คนื เพือ่ การลดปริมาณขยะมูลฝอย (5) ติดตามตรวจสอบและประเมินสภาพปัญหา จากการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชนและแหล่งกาเนิดต่างไอยา่ งต่อเนื่อง (6) ใหม้ ีการจดั เตรียมท่ีดินที่เหมาะสมสาหรับการใช้กาจดั ขยะ มูลฝอยในระยะยาวรวมท้งั มีการกาหนด สงวนไวเ้ พอื่ การกาจดั ขยะมูลฝอยในผงั เมืองดว้ ย (7) จดั ทาแผนและพฒั นาระบบขอ้ มูลที่เกยี่ วขอ้ งกบั การจัดการ ขยะมูลฝอยใหเ้ ป็นพ้ืนฐานเดียวกนั สามารถเปรียบเทียบหรือปรบั ใหท้ นั สมยั ไดต้ ลอดเวลา (8) กาหนดองค์กรและหน้าท่ีในการควบคุม กากบั ดูแล การ จดั การขยะมูลฝอยของหน่วยงานต่างๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชนมิใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม 2) ดา้ นการลงทนุ (1) จดั หาภาชนะรองรับขยะมูลฝอยให้แกช่ ุมชนในอตั รา 150 ลิตรต่อประชากร 350 คน และรถเกบ็ ขนขยะมูลฝอยขนาด 10 ลูกบาศกเ์มตรต่อประชากร 5,000 คน (2) มีการลงทุนการกอ่ สร้างสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยถูก สุขลกั ษณะ และมีการใชเ้ คร่ืองจกั รท่เี หมาะสมกบั ลกั ษณะการใชง้ านในพ้ืนท่ี โดยรัฐลงทุนร่วมกบั ภาคเอกชนหรือรัฐสนับสนุนงบประมาณท้งั หมดหรือสมทบบางส่วนใหแ้ กร่ าชการส่วนทอ้ งถิ่น เป็นผดู้ าเนินการ (3) การปรับปรุงและฟ้ื นฟสู ถานทก่ี าจดั ขยะเดิมท่ีดาเนินการท่ีไม่ ถูกสุขลกั ษณะ (4) ใหม้ ีการจดั ต้งั ศูนยก์ าจดั ขยะมูลฝอยเป็นส่วนกลางซ่ึงสามารถ ใชร้ ่วมกนั ไดร้ ะหวา่ งชุมชนหลายแห่งทอี่ ยใู่ กลเ้ คยี งกนั ท้งั มีการนาเอาระบบการจดั การขยะมูลฝอย แบบผสมผสานมาประยกุ ตใ์ ช้

15 (5) สนบั สนุนใหม้ ีการคดั แยกขยะท่แี หล่งกาเนิดในชุมชนได้แก่ ทอี่ ยอู่ าศยั สถานประกอบการ สถาบนั ตา่ งๆ โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อนากลับมาใชแ้ ระโยชน์ใหม่ โดยอาศัยกลยุทธ์ของการคดั แยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ซ่ึงจะสอดคล้องกนั กบั วิธีการเกบ็ รวบรวมและขนส่ง รวมท้งั วธิ ีการกาจดั ที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (6) ส่งเสริมการลงทุนแกเ่ อกชน ที่ดาเนินธุรกจิ เกย่ี วกบั การ จดั การขยะมูลฝอยรวมท้งั ธุรกจิ เกยี่ วกบั การนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์โดยไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหา สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั จดั ใหม้ ีศูนยป์ ระสานขอ้ มูล การนาขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ (7) สนับสนุนงบประมาณ ให้มีสิ่งจูงใจ ความช่วยเหลือด้าน วชิ าการรวมท้งั อานวยความสะดวกตา่ งๆใหแ้ กเ่ อกชนท่ีเขา้ มาดาเนินธุรกจิ ดา้ นการจดั การขยะมูล ฝอย หรือองคก์ รสาธารณประโยชนท์ ที่ างานช่วยเหลือการแกไ้ ขปัญหาขยะมูลฝอย เช่น มีการสร้าง แรงจูงใจทางด้านเศรษฐกจิ การปรับปรุงราคาสินคา้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ราคาตน้ ทุนจริง มีการปรับ โครงสร้างของการเกบ็ ภาษีสินคา้ ทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ มลพิษ 3) ดา้ นกฎหมาย (1) ปรับปรุงกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกบั อัตราค่าธรรมเนียม จดั การ มูลฝอยใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาวะปัจจุบนั (2) กาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากสถานทีก่ าจดั ขยะมูลฝอย เช่น กาหนดมาตรฐานน้าทงิ้ มาตรฐานการระบายอากาศเสียจากปล่องเตาเผาขยะมูลฝอย (3) กาหนดใหส้ ถานที่กาจดั ขยะมูลฝอย ให้เป็ นแหล่งกาเนิ ด มลพษิ ที่จะตอ้ งถูกควบคุมการระบายของเสียใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด (4) กาหนดระเบียบขอ้ บงั คบั มาตรฐานและกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง เพอ่ื สร้างกลไกการเรียกคนื จากผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ และท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การใช้ประโยชน์จาก ขยะมูลฝอยและการลดปริมาณขยะมูลฝอย (5) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั อัตรา คา่ ธรรมเนียมการลดและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย โดยกาหนดค่าธรรมเนียมในอัตราสูง บงั คบั สาหรับผผู้ ลิตสินคา้ ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ขยะมูลฝอยมีปริมาณมาก หรือกอ่ ใหเ้ กดิ ของเสียที่ยากแกก่ าร เกบ็ รวบรวม การขนส่งการบาบดั และการนากลบั มาใชป้ ระโยชน์ (6) กาหนดระเบียบขอ้ บงั คบั ใหส้ ถานีขนส่ง รถไฟ รถโดยสาร มี การกาจดั ขยะมูลฝอยทีเ่ หมาะสม (7) กาหนดระเบยี บขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การจัดการขยะมูลฝอยจาก การกอ่ สรา้ ง

16 (8)กาหนดให้มีกรชารติดตามตรวจสอบบนั ทึกมลพิษจาก แหล่งกาเนิดมลพิษ พรอ้ มท้งั ส่งเสริมใหภ้ าคเอกชนมีบทบาทในการตรวจสอบมากข้นึ 4) ดา้ นการสนบั สนุน (1) สนบั สนุนใหเ้ อกชนดาเนินธุรกจิ การบริการด้านการเกบ็ ขน ขนส่งและกาจดั ขยะมูลฝอยในรูปของการว่าจา้ ง การร่วมทุน หรือการใหส้ ัมปทานหรือรับจ้าง ควบคุมระบบกาจดั ขยะมูลฝอย (2) สนบั สนุนใหม้ ีกจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝังทศั นคติและสร้างค่านิยม ใหแ้ กเ่ ยาวชนและประชาชนทวั่ ไป ในการรักษาความสะอาดของบา้ นเมืองและในการกาจดั ขยะมูล ฝอยทถี่ ูกตอ้ ง (3) ให้มีการฝึ กอบรมเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ด้าน วิชาการ และใหม้ ีการบริหารจดั การแกเ่ จา้ หนา้ ทขี่ องรัฐและภาคเอกชนท่ีเกยี่ วขอ้ งการจดั การขยะมูล ฝอย (4) สนบั สนุนให้มีการศึกษาวิจัย พฒั นาเทคโนโลยที ี่เหมาะสม เพอื่ นามาใชแ้ กป้ ัญหาและเพ่ิมประสิทธิภาพในการจดั การขยะมูลฝอย จากที่กล่าวมาขา้ งตน้ เห็นได้ว่าแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยของ ชุมชนสามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ ซ่ึงจะต้องมีการผสมผสานกนั ระหว่างบุคลากร งบประมาณเทคโนโลยี องคก์ รและประชาชนอยา่ งบูรณาการซ่ึงกค็ ือ มีการใหค้ วามร่วมมือกนั เอง นนั่ เองจึงจะสามารถจดั การขยะมูลฝอยของชุมชนได้ กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม(2547, หนา้ 18) กล่าวถึงวิธีการลดปริมาณขยะท่ี จะท้งิ ลดลง อาจโดยการนามาใชใ้ หม่ใหเ้ ป็นประโยชน์ หรือทง้ิ เท่าท่ีจาเป็น อยา่ สรา้ งมูลฝอยข้ึนเกนิ ความจาเป็น การทาใหข้ ยะมูลฝอยเกดิ ข้นึ นอ้ ยท่สี ุด ขบวนการจดั การขยะมูลฝอยท่ีมีประสิทธิภาพ และสามารถกระทาไดด้ งั น้ี 1) การลดการใช้ (Reduce) โดยเป็ นการลดขยะจากแหล่งกาเนิดท่ีเกดิ จาก การท้ิงบรรจุภณั ฑก์ ารใชส้ ินคา้ ชนิดเดิม เช่น ผงซักฟอก น้ายาล้างจาน น้ายาทาความสะอาด และ ถ่านไฟฉายชนิดชาร์จใหม่ 2) การนากลับมาใช้ซ้ า (Reuse) เป็ นการยืดอายุการใช้งาสนหรือใช้ ประโยชน์ใหม้ ากข้ึน โดยการใชซ้ ้าอีกหลายๆคร้งั ในรูปแบบเดิม หรือนาไปใช้ในรูปแบบอ่ืนขยะท่ี สามารถนากลบั มาใชซ้ ้ากจ็ ะถูกนากลบั ไปใชใ้ นลักษณะต่างๆ เช่น การนาแกว้ ไปบรรจุภัณฑ์ใหม่ โดยผ่านการทาความสะอาดและฆ่าเช้ือโรค

17 3) การนากลบั มาใชใ้ หม่ (Recycle) เป็นการแยกวสั ดุทีไ่ ม่สามารถนากลบั มา ใชซ้ ้าไดอ้ ีก นาขยะที่คงรูปยอ่ ยสลายไดย้ าก เช่น กระดาษ เศษผา้ แกว้ นากลับมาใช้ประโยชน์จาก วตั ถุดิบหรือวสั ดุอ่ืนปะปนอยใู่ นวตั ถุดิบเหล่าน้นั แลว้ ผา่ นกระบวนการผลิต การนาพลาสติกกลบั มา หลอมใหม่และผลิตเป็นเครื่องใชต้ า่ งๆไดอ้ ีก เป็นตน้ 4) การซ่อมแซมนากลบั มาใช้ใหม่ (Repair) เป็ นการนาเอาวสั ดุที่ใชแ้ ล้ว ชารุดเสียหาย ซ่ึงจะท้ิงเป็นมูลฝอยมาซ่อมแซมใหใ้ หม่เพ่อื ใหใ้ ชง้ านไดห้ ลายคร้งั เช่น ซ่อมแซมวิทยุ อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ชารุด การปะยางรถยนต์ เป็นตน้ การแกไ้ ขปัญหาเกยี่ วกบั ขยะมูลฝอยน้นั ขอ้ ปฏบิ ตั มิ ี 4 ประการ ในการลดปริมาณ ขยะมูลฝอยคือ 1A 3R โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1) งด-เลิก (Avoid) คือ การงดและหลีกเล่ียงการใช้และการบริโภคที่เป็ น อนั ตรายต่อผู้บริโภคโดยตรง เป็ นอันตรายต่อผูอ้ ื่ นและเป็ นอันตรายต่อระบบนิเวศน์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้แล้วทิ้ง เช่นโฟมบรรจุอาหาร ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็ นอันตรายต่อผูอ้ ่ืน เช่น ยากนั ยุง ผลิตภณั ฑ์ท่ีเป็ นอันตรายต่อระบบนิเวศน์ เช่น สเปรยท์ ุกชนิด ป๋ ุยเคมี และกจิ กรรมที่ทาให้เกดิ อนั ตรายต่อสภาพแวดลอ้ ม เช่น การเทขยะลงในแม่น้า 2) ลด (Reduce) คอื การลดปริมาณการใช้ และการบริโภคบางชนิด เมื่อไม่ สามารถลดและหลีกเลี่ยงได้ เพอ่ื ชะลอการร่อยหรอของทรพั ยากรท่ีมีอย่อู ยา่ งจากดั และยดื อายุการ ใชง้ านอนั ได้แก่ ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป เช่น พลังงาน แร่ธาตุ ทรัพยากรที่ ทดแทนใหม่ได้ เช่น ไม้ พนั ธุ์พืช ผลิตภณั ฑ์ ที่เมื่อนามาใช้จะทาให้เกดิ ความเสียหายต่อระบบ นิเวศน์ ยากต่อการทาลาย มีการใชอ้ ยา่ งแพร่หลายและยงั ไม่อาจงดหรือเลิกไดท้ นั ที่ เช่น ขวดแชมพู ขวดน้าดื่ม ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากขบวนการผลิตทตี่ อ้ งใชพ้ ลงั งานมาก และนากลบั มาใชใ้ หม่ได้หลาย คร้งั เช่น กระดาษทกุ ชนิด 3) ใชแ้ ลว้ ใชอ้ ีก (Reuse) เป็นวิธีนาทรัพยากรและผลิตภณั ฑ์ต่างๆ กลบั มาใช้ ใหม่ในลักษณะเดิมไม่มีการแปรรูปทรงด้วยการหลอม บด แยกใดๆ เพ่ือหลีกเล้ียงการสูญเสีย พลงั งานทตี่ อ้ งใชใ้ นกระบวนการผลิตใหไ้ ดม้ าซ่ึงผลิตภณั ฑ์เหล่าน้นั รวมท้งั พลงั งานและทรัพยากร ทต่ี อ้ งใชใ้ นกระบวนการจดั จาหน่ายทกุ ข้นั ตอนกอ่ นถึงมือผบู้ ริโภค ไดแ้ ก่ เส้ือผา้ ทกุ ชนิด ซ่ึงลดการ ท้ิงด้วยการจาหน่ายเป็ นของใชแ้ ลว้ หรือบริจาคให้แกผ่ ูข้ าดแคลน หรือนาไปใช้ประโยชน์ใน ลกั ษณะอื่นๆ ภาชนะบรรจุทท่ี าดว้ ยแกว้ หรือวตั ถุดิบอื่นๆ 4) การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)เป็ นการหมุนเวียนทรัพยากร กลบั มาใชใ้ หม่ โดยผ่านกระบวนการหลอมละลาย บด อดั ท้งั น้ีเพ่อื ลดการขดุ คน้ ทรพั ยากรมาใชล้ ด

18 ปริมาณของเสียที่จะถ่ายเทสู่สิ่งแวดล้อม ผลิตภณั ฑ์ท่ีสามารถนามาหมุนเวียนกลับมาใชใ้ หม่ได้มี ดงั น้ีคอื แกว้ กระดาษ โลหะ พลาสติก กระบวนการจดั การมูลฝอยตามแนวคดิ สมยั ใหม่มี 5 ข้นั ตอน คือ ข้นั ตอนที่หน่ึง การลดการกอ่ เกดิ มูลฝอย (Reduce) หรือการลดมูลฝอยจาก แหล่งท่เี กดิ มีแนวคดิ ว่าเม่ือมูลฝอยไม่เกดิ ข้นึ หรือเกดิ ข้ึนนอ้ ยกไ็ ม่ตอ้ งกาจดั หรือกาจดั น้อย เป็ นการ ป้ องกนั ในเบ้ืองต้น กระบวนการผลิต หรือการใช้วัตถุดิบทดแทนให้เหมาะสม เป็ นการลด ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละพลังงานที่ใช้ ตลอดจนลดปริมาณมูลฝอยลง ซ่ึงประหยดั งบประมาณใน การกาจดั มูลฝอยท่ีเกดิ ข้นึ ไดส้ ่วนหน่ึง ข้นั ตอนท่สี อง การนาผลิตภณั ฑ์มาใชซ้ ้า (Reuse) คือ การนาวสั ดุเดิมมาใช้ซ้ า อีกคร้ังหน่ึงในรูปแบบเดิม หรืออาจนามาซ่อมแซมเพ่ือใช้ประโยชน์อ่ืนๆ แกบ่ ุคคลอื่น อาจ ดาเนินการไดใ้ น 2 ช่วงคอื 1)ช่วงการผลิต เพ่ือให้เหลือเศษหรือของเสียจากวสั ดุนอ้ ยที่สุด หาก หลีกเล่ียงไม่ไดก้ อ็ าจนาเศษหรือของเสียจากวัสดุน้นั กลบั เขา้ สู่การผลิตใหม่ซ่ึงง่ายได้วตั ถุดิบที่ ปราศจากส่ิงปนเป้ื อน และประหยดั งบประมาณการผลิต 2) ช่วงการนากลบั มาใชซ้ ้า เพ่ือยดื อายกุ าร ใชง้ านหรือใชป้ ระโยชน์สูงสุดกอ่ นท้ิง เช่น นาขวดแกว้ หรือพลาสติกมาบรรจุภณั ฑ์ใหม่หรือนา กระดาษมาใช้สองหน้า เป็ นตน้ เป็ นการประหยดั ทรัพยากรธรรมชาติและพลงั งานในการผลิต รวมถึงลดการกอ่ เกดิ มูลฝอยลงบางส่วน ข้นั ตอนท่ีสาม การหมุนเวียนกลบั มาใช้ใหม่ (Recycling) ตอ้ งแยกวัสดุท่ีมา สามารถนากลบั มาใชซ้ ้าตามข้นั ตอนที่ 2 ไดอ้ อกจากมูลฝอย แลว้ รวบรวมหรือยอ่ ยสลายวสั ดุน้ันมา ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตใหม่ต่อไป คล้ายกบั การนามาใช้ซ้ า แต่ต้องนาวัสดุน้ันไปผ่าน กระบวนการยอ่ ยสลายวสั ดุผสมกบั วตั ถุดิบ แลว้ ผา่ นกระบวนการผลิตออกมาเป็นผลิตภณั ฑ์ชิ้นใหม่ เช่น นาขวดหรือเศษแกว้ มาหลอมและผ่านเครื่องตามกระบวนการผลิตออกมาเป็ นขวดแกว้ ใน ลกั ษณะหรือรูปแบบใหม่ เป็ นการหมุนเวียนกลับมาผลิตใหม่ในลกั ษณะของการย่อยสลายตาม กระบวนการธรรมชาติ ข้นั ตอนที่สี่ การฟ้ื นฟปู ระโยชนจ์ ากมูลฝอย (Recovery) เป็นการดึงเอาพลงั งาน จากมูลฝอยมาใชป้ ระโยชน์ โดยใชเ้ ป็นเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟ้ าจากเตาเผามูลฝอย และเอากา๊ ซท่ี เกดิ ข้นึ จากการหมกั หมมของมูลฝอยในหลุมมาใชป้ ระโยชน์ การเผามูลฝอยน้ีจะกอ่ ใหเ้ กดิ มลภาวะ ทางอากาศได้ และการสรา้ งเตาเผาท่ีมีคุณภาพและประสิทธ์ิภาพสูงสุดน้นั ตอ้ งใชง้ บประมาณสูง มากและไม่สามารถทาใหม้ ลภาวะหมดไปได้ ข้นั ตอนทห่ี า้ การกาจดั มูลฝอย (Residue Disposal) เป็นข้นั ตอนสุดทา้ ย เพราะ มูลฝอยทเ่ี หลือจากการผา่ นข้นั ตอนท้งั ส่ีแลว้ จะถูกกาจดั อยา่ งถูกวธิ ีใหห้ มดไป โดยทว่ั ไปจะใช้วิธีฝัง

19 กลบซ่ึงตอ้ งเป็นไปตามหลกั การและถูกสุขลกั ษณะเพอ่ื ป้ องกนั การแพร่กระจายของสารพษิ หรือสาร ปนเป้ื อนไม่ใหไ้ ปสู่สิ่งแวดลอ้ มได้ สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (2538) ได้อธิบายการจดั การขยะ มูลฝอยวา่ มี 4 ข้นั ตอน ซ่ึงมีความครอบคลุมและเป็นระบบ ดงั น้ี ข้นั ตอนทห่ี น่ึง การเกบ็ รวบรวม เป็นการนาขยะที่เหลือทิ้งจากกจิ กรรมต่างๆ มา เกบ็ รวบรวมไว้ เพ่อื นาไปกาจดั หรือรอท่ีจะลาเลียงนาไปกาจัดเริ่มต้งั แต่การเกบ็ ขยะมูลฝอยใส่ไว้ ในภาชนะไปจนถึงการรวบรวมขยะมูลฝอยจากแหล่งต่างๆแล้วนาไปใส่ไวใ้ นยานพาหนะเพ่ือขน ถ่ายไปยงั แหล่งกาจัดหรือทาประโยชน์ต่างๆ แล้วแต่กรณีการเกบ็ รวบรวมขยะในชุมชนเมืองจะ แตกต่างจากชนบทในชุมชนเมืองจะมีหน่วยงานรับผิดชอบการกาจัดขยะจึงมีการสร้างที่เกบ็ รวบรวมขยะ เช่น ถังขยะไวต้ ามจุดต่างๆ ส่วนชนบทเป็ นหนา้ ที่ของแต่ละครัวเรือนในการเกบ็ รวบรวมใส่ถงั ขยะประจาบา้ นไวเ้ พื่อรวบรวมนาไปกาจัดต่อไปซ่ึงระบบการเกบ็ รวบรวมขยะ โดยทว่ั ไปมี 3 ระบบ คอื 1) ระบบถงั เดียว หมายถึง การรวบรวมขยะทุกประเภทใส่ไวใ้ นถังใบ เดียวกนั 2) ระบบ 2 ถงั หมายถึง การรวบรวมขยะคดั แยกเป็น 2 ประเภท ใส่อย่าง ละถงั คือ ขยะเปี ยกใส่ไวถ้ งั หน่ึง และขยะแหง้ ใส่อีกถงั หน่ึง 3) ระบบ 3 ถงั หมายถึง การรวบรวมขยะคดั แยกเป็ น 3 ประเภท คือแยก ออกเป็นขยะเปี ยก ขยะแห้ง และขยะอนั ตรายหรือขยะติดเช้ือใส่แยกอยา่ งละถังแล้วนาไปกาจดั เฉพาะวิธีตามความเหมาะสม ข้นั ตอนท่ีสอง การขนลาเลียง (Transportation) เป็ นการนาขยะมาใส่ไวท้ ่ีถัง หนา้ บา้ น หรือท่พี นกั งานทาความสะอาดนามารวบรวมไวเ้ พ่ือนาไปกาจดั ต่อไป การขนลาเลียงขยะ ไปกาจดั มีหลายวธิ ีคอื 1) การใชแ้ รงงานคน เป็นวิธีที่ใชต้ ามชนบทท่ีไม่มีหน่วยงาน ทาหนา้ ที่ รบั ผิดชอบจดั การขยะโดยมากเป็นหนา้ ท่ขี องบคุ คลในบา้ น 2) การใชร้ ถขนขยะ เหมาะสาหรบั ชุมชนเมืองท่ีมีคนอาศยั อยหู่ นาแน่น ลกั ษณะการลาเลียงขยะในชุมชนเมืองจะมีความยงุ่ ยากซบั ซอ้ นมากกว่าชนบท ข้นั ตอนทส่ี าม การแปรสภาพ ( Processing ) เป็ นวิธีการที่ทาใหส้ ะดวกในการ เกบ็ ขยะมูลฝอยไปใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งอ่ืน การแปรสภาพน้นั อาจทาใหเ้ กดิ การบดอดั ใหเ้ ป็ นกอ้ นหรือ คดั แยกเอาส่วนท่ีใชป้ ระโยชนไ์ ดน้ าไปใชท้ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม

20 ข้นั ตอนทสี่ ่ี การกาจดั ขยะ ( Disposal ) เป็นข้นั ตอนสุดทา้ ยท่ีทาใหข้ ยะหมดไป โดยไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาตอ่ มลภาวะและสุขภาพของประชาชนต่อไป รวมท้งั สามารถนาผลพลอยได้ จากการกาจดั ขยะมาใชป้ ระโยชนต์ ่อไป การกาจดั ขยะมีหลายวิธี ซ่ึงแต่ละวิธีมีขอ้ ดีขอ้ เสียแตกต่าง กนั ไป ดงั น้ี 1) การเทท้งิ มี 2 วิธี คือ (1) การเททิง้ บนผิวดิน (Dumping on land) ตามที่ลุ่มเพ่อื ปล่อยใหเ้ กดิ การยอ่ ยสลายเองตามธรรมชาติเป็นวธิ ีท่งี ่าย ไม่ตอ้ งใชเ้ ทคนิคหรือวชิ าการ กาจดั ไดท้ ุกชนิด ช่วยถม ที่ลุ่มทาใหบ้ ริเวณน้นั อุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีป๋ ุยที่เกดิ จากการยอ่ ยสลายของขยะแต่มีขอ้ เสียคอื ตอ้ ง ใชพ้ ้นื ท่มี าก หมดความสวยงาม มีปัญหาดา้ นกล่ิน เป็นแหล่งเพาะพนั ธข์ องแมลงวนั และสัตว์ท่ีเป็ น พาหะนาโรค ไม่เหมาะสาหรบั พ้ืนที่ท่นี ้าท่วมถึงเพราะทาใหน้ ้าผวิ ดิน หรือน้าใตด้ ินสกปรกได้ (2) การเททิ้งลงทะเล (Dumping to Sea ) เป็ นการขนลาเลียงขยะ ดว้ ยเรือนาไปเทท้งิ ลงทะเล เหมาะสาหรับชุมชนที่อยใู่ กลท้ ะเล เป็นวิธีการทง่ี า่ ย ตน้ ทุนต่า กาจัดขยะ ไดท้ กุ ประเภท ไม่มีปัญหาเรื่องกล่ิน ปัจจุบนั ไม่นิยมใชเ้ นื่องจากทาใหร้ ะบบนิเวศน์ในทะเลเสียหาย เกดิ อนั ตรายต่อส่ิงมีชีวติ ในน้า โดยเฉพาะขยะทเี่ ป็ นกากน้ามัน กากของเสียอันตราย ทาลายความ สวยงามของแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางทะเล นอกจากน้ีขยะอาจกลบั มาสู่ฝั่งเนื่องจากคล่ืนและลมพดั มา 2) การฝังในดิน มี 2 วิธี คือ (1) การฝังทวั่ ไป เป็ นการนาขยะไปฝังในหลุมท่ีขุดไวแ้ ลว้ อดั ให้ แน่นหรือจุดไปเผา เม่ือขยะเตม็ หลุมใหใ้ ชด้ ินกลบและกระทงุ้ ใหแ้ น่นใชก้ บั ขยะทุกชนิดโดยเฉพาะ ขยะอนั ตรายขอ้ จากดั คือต้องใชพ้ ้ืนที่มากและใช้กบั บริเวณน้ าท่วมไม่ถึง หากฝังไม่ดีสัตว์บาง ประเภทอาจคุย้ เขย่ี ข้ึนมาทาใหเ้ กดิ ความสกปรกได้ (2) การฝังกลบอยา่ งถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ลกั ษณะ คลา้ ยกบั การเททิ้งหรือการฝังทว่ั ไป แต่ถูกสุขลกั ษณะมากกว่าเพราะมีการจดั เตรียมพ้ืนท่ีไว้ โดย อาจขุดเป็นหลุมหรือไม่กไ็ ดแ้ ลว้ นาขยะมาเทกองไวใ้ นพ้ืนทีน่ ้นั ใชเ้ ครื่องจกั รเกล่ียแล้วบดใหย้ ุบตวั และแน่น จากน้นั ใช้ดินบดอดั ใหแ้ น่น วนั ต่อมากน็ าขยะมาบดอัดและใชด้ ินกลบอีก ทาเป็ นช้ัน สลบั กนั ไปเพอื่ ป้ องกนั กล่ิน สัตวน์ าโรค การชะลา้ งของน้า เหตุราคาญอ่ืนๆ ตลอดจนการยบุ ตวั ของ ดิน ขยะจะถูกยอ่ ยสลายโดยจุลินทรียต์ ามธรรมชาติ กระบวนการยอ่ ยสลายน้ีไม่ใช้อากาศจึงตอ้ งทา ทอ่ ระบายแกส๊ ไวด้ ว้ ย การกาจดั ขยะโดยวิธีน้ีสามารถกาจดั ขยะไดท้ ุกชนิด ไม่มีปัญหาเหตุราคาญ สามารถนาพ้นื ทภี่ ายหลงั จากที่ฝังเตม็ มาแลว้ มาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น สวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น แต่วธิ ีน้ีมีขอ้ เสียคอื ลงทนุ สูง และใชพ้ ้นื ท่มี าก หรืออาจทาให้ เกดิ ความปนเป้ื อนของมลพาสู่น้าใต้ ดินใต้ ปัจจุบนั มีบางแห่งไดก้ รุดว้ ยผา้ พลาสติกเพ่ือกนั น้าเน่าซึมลงรูตาน้าใตด้ ิน

21 3) การเล้ียงสัตว์ (Hog Feeding) เป็ นการนาขยะเปี ยกบางประเภท เช่น เศษอาหาร เศษพืช ผกั ซากสตั ว์ ไปใชเ้ ล้ียงสัตว์ เป็ นวิธีท่ีไม่ยุ่งยาก แต่เหมาะสาหรับขยะ บาง ประเภทเท่าน้นั นอกจากน้ีส่วนท่เี หลือจากสัตวก์ นิ จะทาใหเ้ กดิ ความสกปรกมีกลิ่นเหม็นและเป็ น แหล่งเพาะพนั ธุ์ของแมลงซ่ึงเป็นพาหะนาโรคได้ 4) การเผา มี 2 วธิ ี คือ (1) การเผากลางแจ้ง (Open Burning) เป็ นการนาขยะมาเผาบริเวณ ผิวดิน กลางแจง้ เป็นวธิ ีที่นิยมกนั ทวั่ ไปไปตามชนบท เหมาะสาหรับขยะแห้งและไหม้ไฟได้ แต่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ กล่ินหรือควนั การฟ้ ุงกระจายของเถา้ ถ่านและเกดิ อุบตั เิ หตไุ ด้ (2) การเผาในเตาเผา (Incineration) เป็นการนาขยะมาเผาในเตาท่ีทา ข้นึ พเิ ศษสาหรบั เผาขยะโดยเฉพาะ การใช้น้ามัน ไม้หรือถ่านเป็ นเช้ือเพลิงช่วยในการเผา โดยใช้ ความร้อนสูงทาใหเ้ กดิ เผาไหม้ที่สมบูรณ์ (complete Combustion)โดยผลที่ได้รับจากการเผา นอกจากจะเหลือเถา้ ถ่านซ่ึงมีปริมาณนอ้ ยแล้วยงั เกดิ กา๊ ชคาร์บอนไดออกไซค์ น้า และกา๊ ชอ่ืน ๆ ปะปนออกมากบั อากาศเสีย ซ่ึงท้งั น้ีข้ึนกบั ชนิดของขยะท่ีนาเขา้ มาเผา เหมาะสาหรับ ขยะแห้งท่ี ไหม้ไฟไดแ้ ละสถานที่ท่ีไม่มีพ้ืนท่ีกาจดั ขยะสามารถนาความร้อนท่ีได้จากกการเผาไหมไ้ ปใช้ ประโยชนไ์ ดส้ ามารถฆ่าเช้ือโรคหรือสิ่งมีชีวิตในขยะได้ เถา้ ถ่านทไ่ี ดส้ ามารถนาไปถมที่หรือทาป๋ ุย ได้ แต่เป็นการลงทุนและค่าใชจ้ ่ายในการปฏิบตั ิงานสูง กลิ่นและควนั ทาใหเ้ กดิ ความราคาญได้ ปัจจุบนั มีการผลิตเตาเผาขยะสาเร็จรูปที่มีขนาดพอเหมาะ มีประสิทธิภาพในการเผาขยะเกอื บทุก ชนิดได้ แตเ่ นื่องจากตน้ ทุนสูงจึงเหมาะสาหรับกาจดั ขยะติดเช้ือและขยะอนั ตราย 5) การสกดั (Extract) เป็ นการนาขยะเปี ยกมาสกดั เพ่ือเอาไขหรือ โปรตีน โดยใชค้ วามร้อนความดนั และตวั ทาละลายเขา้ ช่วย วิธีน้ีเหมาะสาหรับการกาจดั ซากสัตว์ ประโยชนท์ ไี่ ดค้ ือ ไขและโปรตีนท่สี ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ แตค่ ่าใชจ้ ่ายคอ่ นขา้ งสูง 6) การบด (Grind) เป็นการนามาบดใหล้ ะเอียด แลว้ ปล่อยลงไปกบั น้าโสโครกชา้ สาหรบั ขยะเปี ยกเทา่ น้นั เหมาะสาหรับพ้ืนที่ท่ีมีระบบบาบดั น้าเสีย แต่ตอ้ งมี เคร่ือง บดขยะประจาบา้ นซ่ึงมีราคาแพง 7) การหมักทาป๋ ุย (Composting) เป็ นการนาขยะที่ยอ่ ยสลายได้ไป กาจดั โดยใชแ้ บคทีเรียที่มีอยใู่ นธรรมชาติมายอ่ ยสลายขยะ ทาใหข้ ยะถูกเปล่ียนจากอินทรียส์ ารมา เป็ นอนินทรียส์ าร ซ่ึงมีคุณสมบตั ิท่ีดีในการทาป๋ ุยเป็ นวิธีท่ีแพร่หลายมาก โดยเฉพาะประเทศท่ี ตอ้ งการใชป้ ๋ ยุ เพ่อื การเกษตรกรรม ในทางปฏบิ ตั นิ ้นั ใชม้ ูลสตั วห์ รือกากของเหลือจากส่ิงปฏิกูลหรือ ป๋ ยุ เคมี ผสมกบั ขยะเพื่อเป็นตวั เร่งปฏิกริ ิยา และอาจมีการพลิกขยะกลับบ่อย ๆเพ่ือให้ออกซิเจนแก่ แบคทีเรียเพื่อนาไปใช้ในการยอ่ ยสลายซ่ึงอาจเกดิ การย่อยสลายไดเ้ ร็วข้ึนและสมบูรณ์เป็ นป๋ ุยท่ี

22 สามารถนาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป วิธีน้ีเหมาะกบั การกาจัดขยะที่สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ ท่าน้ัน และ อาจมีกล่ินจากการหมักได้ การหมักทาป๋ ุยเป็ นการย่อยสลายอินทรียส์ ารโดยอาศัยขบวนการทาง ชีววิทยาของจุลินทรียย์ ่อยสลายอินทรียส์ ารให้ได้แร่ธาตุท่ีค่อนขา้ งคงรูปซ่ึงมีคุณค่าใช้ในการ ปรบั ปรุงคุณภาพดินการหมกั ทาป๋ ยุ สามารถทาได้ 2 วธิ ีคอื (1)การหมกั แบบใช้ออกซิเจน(Aerobic Decomposition) ผลผลิต ของขบวนการน้ีจะไดก้ า๊ ซคาร์บอนไดออกไซคแ์ ละน้า (2) การหมกั แบบไม่ใชอ้ อกซิเจน(Anaerobic Decomposition) ผลผลิตของขบวนการน้ีจะได้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซค์ กา๊ ซมีเทน แอมโมเนีย และกา๊ ซไข่เน่า ข้นั ตอนในการหมกั ป๋ ุย ตอ้ งมีการคดั แยกมูลฝอยท่ีย่อยสลายไม่ไดอ้ อกกอ่ น จากน้ันทาการบดให้ ขนาดของมูลฝอยเล็กลง แลว้ จึงลาเลียงเขา้ สู่ขบวนการหมกั 8) การหมกั ทาแกส๊ ชีวภาพ (Biogas) เป็ นการนาขยะจากมูลสัตว์เศษ อาหาร เศษวชั พชื บางชนิดที่มีอินทรียส์ ูงและย่อยสลายง่ายมาหมักในสภาวะท่ีไม่มีอากาศจนเกดิ กา๊ ชมีเทนข้ึน สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในการหุงตม้ อาหารใหแ้ สงสว่าง ส่วนกากที่ย่อยสลายแล้ว สามารถตากแหง้ และนามาใช้ทาป๋ ุยพืชได้ ขอ้ เสียของวิธีน้ี คือ ตอ้ งมีทุนในการกอ่ สร้างบ่อหมกั และมีความรูใ้ นการดูแล 9) การนาขยะมาใชใ้ หม่ (Recycle) เป็ นวิธีการนาเอาของเสียท่ีผ่าน การใช้แลว้ กลบั มาใชใ้ หม่อาจเหมือนเดิมหรือไม่เหมือนเดิมกไ็ ด้ เป็ นที่นิยมกนั มากในปัจจุบัน เน่ืองจากทรพั ยากรธรรมชาตหิ ายากข้นึ ดงั น้นั ขยะบางชนิดนากลบั ไปใชป้ ระโยชน์อย่างอื่นได้ เช่น ของใชแ้ ล้วจากภาคอุตสาหกรรมแปรรูปนากลบั มาใช้ใหม่เป็ นหน่ึงในวิธีการลดขยะ ลดมลพิษ ใหก้ บั สภาพแวดล้อม ลดการใชพ้ ลงั งานและลดการใชท้ รัพยากรธรรมชาติของโลก ไม่ให้ถูก นามาใชส้ ินเปลืองมากเกนิ ไป วธิ ีน้ีเป็นการเสริมให้การกาจัดขยะโดยวิธีอื่นมีประสิทธิภาพย่งิ ข้ึน ยกเวน้ ขยะอันตรายที่ไม่ควรนามาใช้กบั วิธีน้ี การแปรรูปของใช้แลว้ กลบั มาใช้ใหม่มี 4 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ การเกบ็ รวบรวม การแยกประเภทวสั ดุแต่ละชนิดออกจากกนั การผลิตหรือปรับปรุง และ สุดทา้ ยคือการนามาใช้ประโยชน์ ในข้นั ตอนการผลิตหรือปรับปรุงน้ัน วสั ดุที่ต่างชนิดกนั จะมี กรรมวธิ ีในการผลิต แตกต่างกนั เช่น ขวด แกว้ ที่ต่างสี พลาสติกที่ต่างชนิด หรือกระดาษท่ีเน้ือ กระดาษและสีท่ีต่างกนั ตอ้ งแยกประเภทออกจากกนั เมื่อผ่านข้นั ตอนในการนามาใช้ประโยชน์ ผลิตภณั ฑร์ ีไซเคลิ จึงสามารถสงั เกตไดจ้ ากเครื่องหมายท่ปี ระทบั ไวบ้ นผลิตภณั ฑท์ ผี่ ลิตทุกคร้ัง สรุปไดว้ า่ ในการบริหารจดั การขยะมูลฝอยจากแนวความคิดและเทคนิคขา้ งตน้ วิธี ทนี่ ่าจะใชไ้ ดผ้ ลดีและส่ิงผลต่อประสิทธิผลของงานคือกระบวนการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็ น

23 ระบบและครบวงจรโดยการลดการกอ่ เกดิ มูลฝอยการนาผลิตภณั ฑ์มาใชซ้ ้ า การหมุนเวียนกลบั มา ใชใ้ หม่การฟ้ื นฟูประโยชนจ์ ากมูลฝอยและการกาจดั มูลฝอยทถ่ี ูกวธิ ี 2.1.2.2 ผลเสียทเ่ี กดิ จากขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยกอ่ ให้เกดิ ปัญหาต่อมนุษยแ์ ละ สิ่งแวดลอ้ มหลายประการ คือ 2.1.2.2.1 ทาใหเ้ กดิ ทศั นะอุจาด คือ แลดูสกปรก ขาดความเป็ นระเบียบ เรียบรอ้ ยเป็นท่ีน่ารังเกยี จแกผ่ ูอ้ ยอู่ าศยั ในบริเวณใกลเ้ คยี งรวมท้งั ผูพ้ บเห็น โดยเฉพาะนกั ท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ 2.1.2.2.2 เป็ นแหล่งเพาะและแพร่เช้ือโรคโดยเฉพาะขยะติดเช้ือจาก สถานพยาบาล และขยะเปี ยกที่แบคทีเรียทาหนา้ ทีย่ อ่ ยสลาย เช้ือโรคตามขยะจะแพร่ไปกบั น้าแมลง หนู และสุนขั ทีม่ าตอมหรือคุย้ เขยี่ เช่น เช้ือทีท่ าใหเ้ กดิ โรคอหิวาต์ ไทฟอยดแ์ ละโรคบิด 2.1.2.2.3 ทาใหด้ ินเสื่อม และเกดิ มลพิษ เพราะจะทาให้พ้ืนดินสกปรก ดินมีสภาพเป็นเกลือ ด่างหรือกรด หรือมีสารพิษท่ีเป็ นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตในดิน ตลอดจนทาให้ สมบตั ิทางกายภาพของดินเปล่ียนแปลงไป เช่น โซเดียมทาใหเ้ น้ือดินแตกร่วน 2.1.2.2.4 ทาลายแหล่งน้า 1) ขยะท่ีตกในแหล่งน้าลาคลอง และท่อระบายน้าจะทาให้ แหล่งน้าต้ืนเขินการไหลของน้าไม่สะดวกจึงเกดิ สภาวะน้าท่วมไดง้ ่าย 2) ทาใหเ้ กดิ มลพิษทางน้าในลกั ษณะต่างๆ เช่นทาใหน้ ้าเน่า น้าเป็นพิษ น้าท่มี ีเช้ือโรคและน้าที่มีคราบน้ามัน ซ่ึงไม่เหมาะกบั การใชอ้ ุปโภคบริโภคสิ้นเปลือง คา่ ใชจ้ ่ายในการปรบั ปรุงคุณภาพเป็นอนั ตรายตอ่ ส่ิงมีชีวติ โดยเฉพาะพืชและสตั วน์ ้า 3) ทาใหเ้ กดิ มลพิษทางอากาศ เพราะการเผาขยะทาใหเ้ กดิ ควนั และข้ีเถา้ การหมกั หมมและเน่าสลายของขยะจะกอ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซพษิ และกล่ินเหมน็ 4) กอ่ ความราคาญและบนั่ ทอนสุขภาพของมนุษย์ เป็ นผลจาก การเกดิ ทศั นะอุจาด กา๊ ซพิษ กลิ่นเหม็นเป็นแหล่งเพาะเช้ือโรคตลอดจนการเกดิ มลพิษทางน้าและ อากาศ 5) ทาใหเ้ กดิ อัคคีภัย เน่ืองจากขยะหลายชนิดติดไฟได้ง่าย โดยเฉพาะเม่ือแหง้ 2.1.2.3 ปัญหาจากสภาพส่ิงแวดลอ้ มขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยเป็ นตวั การสาคญั ประการหน่ึงท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม เม่ือมีขยะมูลฝอยจานวนมากแต่ชุมชนไม่สามารถเกบ็ ขนและกาจดั ขยะมูลฝอยไดอ้ ยา่ งหมดจดหรือจดั การขยะมูลฝอยอยา่ งไม่ถูกสุขลกั ษณะ ดังน้นั ขยะ มูลฝอยจึงเป็นสาเหตุใหเ้ กดิ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ดงั น้ี คือ

24 2.1.2.3.1 อากาศเสียเกดิ จากการเผาขยะมูลฝอยกลางแจง้ กอ่ ใหเ้ กดิ ควนั และ สารพษิ ทางอากาศทาใหค้ ุณภาพอากาศเสื่อมโทรม 2.1.2.3.2 น้าเสีย เกดิ จากกองขยะมูลฝอยบนพ้ืนเมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ มูลฝอยจะเกดิ นา้ เสีย มีความสกปรกมาก ซ่ึงจะไหลลงสู่แหล่งน้าทาใหเ้ กดิ ภาวะมลพิษของแหล่งน้า 2.1.2.3.3 แหล่งพาหะนาโรค เกดิ จากการกองขยะมูลฝอยบนพ้ืนเป็ นแหล่ง เพาะพนั ธุ์ของหนู และแมลงวนั เป็ นตน้ ซ่ึงเป็ นพาหะนาโรคติดต่อทาใหม้ ีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามยั ของประชาชน 2.1.2.3.4 เหตุราคาญและความไม่น่าดู เกดิ จากการเกบ็ ขนขยะมูลฝอยไม่ หมด รวมท้ังการกองขยะมูลฝอยบนพ้ืนซ่ึงจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกดิ ภาพไม่ สวยงามไม่เป็ นสุนทรียภาพ จากที่กล่าวมาน้นั การจัดการขยะมูลฝอยท่ีผ่านมาเป็ นปัญหาท่ีหลายหน่วยงาน พยายามแกไ้ ขปัญหามาต้งั แต่ในอดีต แต่จนถึงปัจจุบนั ไม่สามารถจะแกไ้ ขปัญหาได้ เทคโนโลยี ไม่ใช่คาตอบเพียงคาตอบเดียวของการแกไ้ ขปัญหา แตเ่ ป็นเพียงตอบเดียวของการแกป้ ัญหา แต่เป็ น การเปลี่ยนรูปแบบหรื อเคล่ือนยา้ ยปัญหา หน่ึงไปสู่ อีกปัญหาหน่ึงเท่าน้ันการฝังกลบที่มี ประสิทธิภาพยงั ไม่ปรากฏวา่ จะมีทีฝ่ ังกลบใดที่ปราศจากปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดลอ้ ม แม้แต่มี ท่ีฝังกลบที่มีประสิทธิภาพสูงสุดกย็ งั หลีกเลี่ยงปัญหาไม่ได้ มีการใชเ้ ตาขยะท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลิตทางเคมีที่เกดิ ข้นึ มาโดยไม่ไดต้ ้งั ใจผลิต การทาป๋ ุยหมกั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหา อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาหนกั ทต่ี กคา้ งในขยะอาจมีปัญหาเรื่องกล่ินเหม็นรบกวนเป็นแหล่งเพาะเช้ือโรค และสัตวท์ ีเ่ ป็นพาหะนาโรค แหล่งมลพิษทีส่ ามารถแพร่การชะลา้ งดว้ ยน้าฝนและน้าผวิ ดิน 2.1.2.4 กฎหมายเกยี่ วกบั การการบริหารจดั การขยะ กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ขยะดัง มีรายละเอียด ดงั น้ี พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ.2535โดยกฎหมายฉบบั น้ีได้กาหนดให้ เป็นอานาจหนา้ ทข่ี องทางราชการส่วนทอ้ งถิ่น ในการกาจดั ขยะมูลฝอยในเขตราชการส่วนทอ้ งถิ่น น้นั และในกรณีท่ีมีเหตุอนั สมควรราชการทอ้ งถ่ินในการกาจัดมูลฝอยในเขตราชการส่วนทอ้ งถ่ิน และในกรณีท่มี ีเหตุอนั สมควรราชการส่วนทอ้ งถ่ินอาจมอบหมายใหบ้ ุคคลใดดาเนินการกาจัดขยะ มูลฝอยแทนกไ็ ด้ (มาตรา 108) แตส่ าหรบั เอกชนท่จี ะรบั ดาเนินการได้ (มาตรา 19 มาตรา 16) การ กาจดั มูลฝอยสิ่งปฏิกลู และสิ่งเปรอะเป้ื อนในเขตที่ทอ้ งถิ่นใดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ี ทอ้ งถ่ินแตฝ่ ่ ายเดียว เจา้ หนา้ ทจ่ี ะทอ้ งถ่ินอาจจะอนุญาตใหบ้ ุคคลใดทาในความควบคุมของตนกไ็ ด้ เช่นกนั และเพ่ือการดาเนินการตามาตราน้ีใหเ้ จ้าหน้าท่ีทอ้ งถ่ินมีอานาจออกเทศบญั ญัติหรือ ขอ้ บงั คบั ทอ้ งถ่ินแลว้ แต่กรณี ดงั ต่อไปน้ี

25 1) ใหม้ ีท่ีรองรับมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลตามทส่ี าธารณะและสถานท่ีเอกชน 2) วางระเบยี บการเกบ็ รวบรวมและขนมูลฝอยและสิ่งปฏกิ ลู 3) กาหนดอตั ราค่าธรรมเนียมการเกบ็ รวบรวม การขนมูลฝอยและส่ิง ปฏกิ ูล 4) หา้ มการถ่ายเทท้ิงหรือให้มีข้ึนในถนนสาธารณและท่ีสาธารณะมูล ฝอยและส่ิงปฏิกูลและสิ่งเปรอะเป้ื อนอาจเป็นเหตุใหเ้ สื่อมสุขภาพหรือความสะอาดหมดจด 5) จดั การอ่ืนใดท่ีเห็นวา่ จาเป็นตอ้ งใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ การจดั การขยะมูลฝอยน้ี กฎหมายฉบบั น้ีไดก้ าหนดอานาจและหนา้ ที่ใหแ้ กร่ าชการ ส่วนทอ้ งถ่ินในการออกขอ้ กาหนดของทอ้ งถิ่น เพ่ือใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย ดงั น้ี (มาตรา 20) - หา้ มการถ่ายเททง้ิ หรือทาใหม้ ีข้ึนในทีหรือทางสาธารณมีส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอยนอกจากในท่ีมีราชการส่วนทอ้ งถ่ินจดั ไวใ้ ห้ - กาหนดใหม้ ีที่รองรับสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามทห่ี รือทางสาธารณะ และสถานทเ่ี อกชน - กาหนดวิธีการเกบ็ ขนและกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยหรือให้ เจา้ ของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานที่ใดๆปฏิบตั ิใหถ้ ูกหรือมูลฝอยหรือใหเ้ จา้ ของหรือผู้ ครอบครองอาคารหรือสถานท่ีใดๆปฏบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ งดว้ ยสุขลกั ษณะตามสถานทหี่ รือลักษณะการใช้ อาคารหรือสถานที่น้นั ๆ - กาหนดอตั ราค่าธรรมเนียมการใหบ้ ริการของราชการส่วนทอ้ งถ่ิน ในการเกบ็ ขนสิ่งปฏกิ ูลหรือมูลฝอยไม่เกนิ อตั ราตามที่กาหนดในกฎกระทรวง - กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเง่ือนไขในการเกบ็ ขนหรือกาจัดสิ่ง ปฏกิ ลู หรือมูลฝอย เพอื่ ไม่ใหผ้ ทู้ ีไ่ ดร้ ับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบตั ิ ตลอดจนมีการกาหนดอัตรา ค่าบริการข้นั สูงตามลกั ษณะการใหบ้ ริการท่ผี ไู้ ดร้ ับใบอนุญาตตามมาตรา 19 พงึ เรียกเกบ็ ได้ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ได้ บญั ญตั ใิ หก้ ารเกบ็ รวบรวม การขนส่งและการจดั การดว้ ยประการใด ๆ เพ่ือบาบดั และกาจัดขยะมูล ฝอยใหเ้ ป็นตามกฎหมาย (มาตรา 78) หมายถึง พระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ.2535 และกรณี ทร่ี าชการ ทอ้ งถ่ินจดั ใหม้ ีระบบกาจดั ขยะมูลฝอยรวมโดยใชเ้ งนิ งบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ ของราชการส่วนทอ้ งถ่ินและเป็นกองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม ราชการส่วนทอ้ งถ่ินน้นั ๆจะดาเนินการจดั การ เอง หรือจะจา้ งผทู้ ีไ่ ดร้ ับใบอนุญาตรบั จา้ งใหบ้ ริการกาจดั มูลฝอย เป็ นผูด้ าเนินการและควบคุมการ ทางานระบบการกาจดั ขยะมูลฝอยกไ็ ด้ (มาตรา 77)

26 ในกรณีเช่นน้ี ราชการส่วนทอ้ งถิ่นตอ้ งมีอานาจในการเกบ็ ค่าบริการสาหรับการ กาจัดขยะมูลฝอยได้ตามอัตราที่คณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการควบคุมมลพษิ พิจาณากาหนดให้ (มาตรา 88) การกาจดั ขยะมูลฝอยของอาคารสูงหรือ อาคารใหญพ่ ิเศษน้นั พระราชบญั ญตั คิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 กาหนดใหร้ ัฐมนตรีโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดระบบการกาจดั ขยะมูลฝอย โดย มีกฎกระทรวงฉบบั ที่ 33 พ.ศ.2535 กาหนดให้การกาจัดขยะมูลฝอย (มาตรา 78) จดั ให้มีท่ีพกั ขยะ มูลฝอยที่มีขนาดไม่นอ้ ยกวา่ สามเทา่ ของประมาณขยะมูลฝอย เขา้ สู่ระบบบาบดั น้าเสียและตอ้ งห่าง จากอาคารทีท่ าประกอบการไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตร เวน้ ทีพ่ กั ขยะมูลฝอยทมี่ ีขนาดเกนิ 3 ลูกบาศกเ์ มตร ตอ้ งห่างจากอาคารดงั กล่าวไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร นอกจากน้ียงั มีกฎหมายอีกหลายฉบบั ท่ีกาหนดถึงขอ้ หา้ มในการทงิ้ มูลฝอยลงในที่ สาธารณะ ดงั น้ี 1) พระราชบญั ญตั ิรักษาคลองรัตนโกสินทร์ศก 121 ถ้าหากสามารถทาได้ อยา่ งอื่นแลว้ หา้ มมิใหเ้ อาหยากเยอื่ ฝ่ ุนฝอย หรือส่ิงโสโครกเทท้ิงในคลอง ทางน้า ลาคู ซ่ึงเล่ือน ไหลมาลงคลองได้ (มาตรา 6) 2) พระราชบญั ญตั ิการชลประทานหลวง พ.ศ.2485 หา้ ท้ิงมูลฝอยซากสัตว์ ซากพชื เถา้ ถ่านหรือส่ิงปฏกิ ูลลงในทางน้าชลประทานหรือทาให้น้าเป็ นอันตรายต่อการเพาะปลูก หรือการบริโภค (มาตรา 28 วรรคแรก) 3) พระราชบญั ญตั กิ ารเดินเรือในน่านน้าไทย พ.ศ.2456 ฉบบั ปรับปรุงแกไ้ ข พ.ศ.2535 หา้ มเทท้ิงหรือทาดว้ ยประการใด ๆ ใหห้ ิน กรวด ดิน โคลน อันเป็ นสิ่งของหรือสิ่งปฏิกูล ใด ๆ ลงในแม่น้าลาคลอง บึง อ่างเกบ็ น้าหรือทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรือ ประชาชนใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั หรือทะเล ภายในน่านน้าไทยจนเป็ นเหตุให้เกดิ การต้ืนเขิน จาก ตะกอนหรือส่ิงสกปรก (มาตรรา 15) 4) พระราชบญั ญตั ริ กั ษาคลองประชา พ.ศ. 2526 ไดก้ าหนดหา้ มทิ้งซากสัตว์ ขยะมูลฝอย หา้ มมิใหผ้ ูใ้ ดทาใหเ้ กดิ ปฏิกลู แกน่ ้าในบ่อ สระ หรือที่ขงั น้า มีไวส้ าหรับประชาชนใช้ สอยผใู้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หน่ึงเดือนหรือปรับไม่เกนิ หน่ึงพนั บาทห้ามผู้ใดทิ้งซาก สัตวซ์ ่ึงอาจเน่าเหม็นในหรือริมทางสาธารณะ ผูใ้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ ห้าร้อยบาท (มาตร 38) 5) ประมวลกฎหมายอาญา กาหนดควบคุมมิใหก้ ระทาผิดต่าง ๆสาระสาคญั เกยี่ วกบั มูลฝอย หา้ มมิใหผ้ ใู้ ดทาใหเ้ กดิ ปฏิกูลแกน่ ้าในบอ่ สระ หรือทขี่ งั น้า มีไวส้ าหรับประชาชน ใชส้ อยผูใ้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หน่ึงเดือนหรือปรับไม่เกนิ หน่ึงพนั บาทห้ามผูใ้ ดทิ้ง

27 ซากสตั ว์ ซ่ึงอาจเน่าเหม็นหรือริมทางสาธารณะ ผใู้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ หา้ ร้อยบาท (มาตรา 38) 6) พระราชบญั ญตั ิอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ไดก้ าหนดการคุม้ ครองรักษา ทรัพยากร ธรรมชาติท่มี ีอยใู่ หค้ งในสภาพธรรมชาติหา้ มมิให้บุคคลใดท้ิงขยะมูลฝอยหรือส่ิงต่างๆ ในที่ท่มี ิไดจ้ ดั ไวเ้ พือ่ การน้นั กาหนดโทษผใู้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ หา้ รอ้ ยบาทถว้ น 7) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ.2513ได้กาหนดควบคุม การประกอบการอุตสาหกรรม ใหม้ ีความสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั การพฒั นาอุตสาหกรรมของ ประเทศ กาหนดใหม้ ีหนา้ ท่ขี องผรู้ ับไดใ้ บอนุญาตประกอบกจิ การโรงงานทุกประเภทหรือชนิดใน ดา้ นต่างๆ เช่น การกาจดั ส่ิงปฏกิ ูล การระบายน้าทิง้ และหนา้ ทีอ่ ่ืน ๆ ผใู้ ดฝ่ าฝื นตอ้ งระวางโทษจาคุก ไม่เกนิ หน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกนิ หน่ึงหม่ืนบาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ 2.1.2.5 การจดั ต้งั กองทนุ ขยะ ความหมาย เพื่อส่งเสริมการจดั การขยะมูลฝอย สมาชิกคดั แยกขยะรีไซเคิล และคิด มูลค่าของขยะมูลฝอยที่คดั แยก เป็ นจานวนเงิน บนั ทึกเป็ นยอดเงินฝากของสมาชิก โดยสมาชิก สามารถเบิก ถอน ไดใ้ นวนั ทเี่ ปิ ดทาการ ธนาคารขยะรีไซเคิลจ่างจากธนาคารทว่ั ไป คือ สมาชิกไม่ ตอ้ งนาเงนิ มาทธ่ี นาคาร แตเ่ อาขยะรีไซเคิลท่ีจะทงิ้ เขา้ มาแลกเปลี่ยนเป็นจานวนเงินฝากในบญั ชี กองทุนขยะชุมชน หมายถึง องคก์ รอยา่ งไม่เป็นทางการที่จัดต้งั ข้ึนโดยกลุ่ม บุคคลในชุมชนเพ่ือทาหน้าที่รับซ้ือ รวบรวม คดั แยก เกบ็ รักษาและขายขยะที่ยงั สามารถใช้ ประโยชนอ์ ่ืนได้ เพ่อื ส่งเสริมการคดั แยกขยะโดยเริ่มตน้ ทเ่ี ยาวชนและชุมชนเป็ นหลัก หลักการของ กองทนุ ขยะคือ ใหส้ มาชิกเป็นสมาชิกของกองทุนขยะ และนาขยะรีไซเคิลมาฝากหรือขาย โดยมี เจา้ หน้าที่ทาการคดั แยก ชัง่ น้าหนัก คานวณเป็ นเงินและบนั ทึกลงสมุดคู่ฝากโดยใช้ราคาที่ทาง กองทุนขยะประสานกบั รา้ นรับซ้ือของเกา่ เป็นเกณฑ์ในการกาหนดราคารบั ซ้ือและราคาขาย รายได้ ของกองทุนขยะหรือกาไร มาจากผลต่างของราคาท่คี ณะทางานกาหนดกบั ราคาที่สามารถขายใหก้ บั ร้านรับซ้ือของเกา่ ได้ การจัดต้งั กองทุนขยะชุมชน มีข้นั ตอนดาเนินงานเร่ิมต้งั แต่การจัดต้งั คณะทางาน การกาหนดนโยบายแผนงาน ระเบียบหลักเกณฑ์ การจัดเตรียมอาคารสถานที่ ดาเนินงาน การประชาสมั พนั ธ์ การดาเนินงานและการประเมินผล ซ่ึงกองทุนขยะชุมชนน้ีเป็ นของ ทุกคนในชุมชน เปิ ดรับซ้ือขยะรีไซเคลิ ในราคายตุ ิธรรมไม่จากดั จานวน จ่ายเป็ นเงินสด เปิ ดสมุดคู่ ฝากคลา้ ยไปฝากเงนิ ท่ีธนาคาร กรณีที่ผนู้ ามาขายไดเ้ งินเลก็ นอ้ ยสามารถรวมฝากไวใ้ นบญั ชีและเมื่อ ขายไดเ้ งนิ มาจานวนหน่ึงแลว้ สามารถถอนเงินออกไปใช้ลูกคา้ ของกองทุนขยะส่วนใหญ่จะเป็ น

28 เด็กและเยาวชนในชุมชนน้นั ๆ การจัดต้งั กองทุนขยะข้ึนเพื่อเป็ นท่ีเรียนรู้ประสบการณ์โดยตรง เกย่ี วกบั การจดั การขยะ 2.1.3 แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกบั การการมีส่วนร่วม แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยทั่วไปจะมีความหมายกวา้ ง คือ การที่ ประชาชนพัฒนาขีดความสามา รถของตนในการจัดการควบคุมการใช้ และกระจาย ทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนปัจจยั การผลิตทม่ี ีอยใู่ นสงั คม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ทางเศรษฐกจิ และสงั คม การมีส่วนร่วมในความหมายน้ี จึงเป็ นการมีส่วนร่วมของประชาชนตาม แนวทางการปกครองระบบประชาธิปไตย ซ่ึงเปิ ดโอกาสให้ประชาชนพฒั นาการรับรู้ สติปัญญา และความสามารถในการตดั สินใจ กาหนดชีวิตด้วยตนเอง ดังน้นั การมีส่วนร่วมของประชาชนจึง เป็นท้งั วธิ ีการ (Means) และเป้ าหมาย (Ends) ในเวลาเดียวกนั การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกระแสทไ่ี ดร้ บั ความสนใจในปัจจุบนั เน่ืองจากตาม บทบญั ญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 หมวดท่ี 5 ว่าด้วยแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐ มาตรา 76 กาหนดใหร้ ฐั ตอ้ งส่งเสริมและสนบั สนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกาหนดนโยบาย การ ตดั สินใจทางการเมือง การวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ สังคมและการเมืองรวมท้งั ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐทุกระดับ ตลอดจนแผนพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองรวมท้งั ตรวจสอบการใช้ อานาจรฐั ทกุ ระดบั ตลอดจนแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 8-9 มุ่งเน้นการพฒั นา แบบองคก์ ารรวมโดยใหป้ ระชาชน ชุมชน และองคก์ รชุมชน เป็นแกนกลางในการพฒั นา รัฐบาลได้ ใหค้ วามสาคญั กบั การมีส่วนร่วมของชุมชนของประชาชน ดงั น้นั ประชาชนจึงเป็ นกลไกสาคญั ใน การนานโยบายไปปฏบิ ตั ใิ หบ้ รรลุเป้ าหมาย ปัจจุบนั แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในดา้ นการพฒั นา (People Participation for Development) ไดร้ บั การยอมรบั และใชเ้ ป็นแนวทางปฏบิ ตั ใิ นงานพฒั นากระบวนการของการมี ส่วนร่วมน้นั มิไดข้ ้ึนอยกู่ บั การริเริ่ม หรือการวางแผนโดยรัฐ แต่ความสาเร็จน้นั อยู่ท่ีประชาชนใน ชุมชนตอ้ งเขา้ มามีส่วนร่วมในกระบวนการอยา่ งเป็ นอิสระ เน้นการทางานในรูปกลุ่มหรือองค์กร ชุมชนทีม่ ีวตั ถุประสงคใ์ นการเขา้ ร่วมอยา่ งชดั เจน พลงั กลุ่มจะเป็นปัจจยั สาคญั ทาใหง้ านพฒั นาด้าน ตา่ ง ๆ บรรลุผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย นอกจากน้ีการพฒั นาจาเป็นตอ้ งมีการรวมพลังในลักษณะ เบญจภาคี ไดแ้ ก่ ภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รพฒั นาเอกชน นกั วิชาการ และประชาชนเพ่ือร่วมกนั แกไ้ ขปัญหาของทอ้ งถ่ิน 2.1.3.1 ปรชั ญาพ้ืนฐานในการพฒั นาท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน พรสันต์ เลิศวิทยาวิวฒั น์ (2544, หนา้ 56) การส่งเสริมและสนบั สนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน

29 ในการพฒั นานกั พฒั นาตอ้ งอยบู่ น รากฐานอนั มนั่ คงแห่งศรทั ธาในตวั ประชาชน รวมท้งั มีความเชื่อ ในคุณค่าและศกั ยภาพของมนุษย์ ดงั น้ี 2.1.3.1.1 บุคคลแต่ละคนมีความสาคญั และมีความเป็ นเอกลกั ษณ์ที่ไม่ เหมือนกนั จึงมีสิทธิอนั พึงไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความยตุ ธิ รรม และอยอู่ ย่างบุคคลมีเกยี รติในฐานะท่ี เป็นมนุษย์ ปถุ ุชนผหู้ น่ึง 2.1.3.1.2 บุคคลแต่ละคนมีสิทธิ และความสามารถกาหนดวิถีการ ดารงชีวิตของตนในทศิ ทางท่ีตนตอ้ งการ 2.1.3.1.3 บคุ คลแต่ละคนถ้าหากมีโอกาสแลว้ ย่อมมีความสามารถท่ีจะ เรียนรู้เปล่ียนแปลงทศั นคติและพฤติกรรม และพฒั นาขีดความสามารถใหม้ ีความรับผิดชอบต่อ สังคมสูงข้ึนไป 2.1.3.1.4 มนุษยท์ กุ คนมีพลงั ที่จะสร้างสรรคค์ วามคิดริเร่ิม ความเป็นผนู้ า และความคดิ ใหม่ ๆ ทีซ่ ่อนเรน้ อยู่ และพลงั ความสามารถเหล่าน้ีสามารถเจริญเตบิ โตและนาออกมา ใชถ้ า้ ไดร้ บั การพฒั นา 2.1.3.1.5 การพฒั นาพลงั และขดี ความสามารถของชุมชน ในทุกดา้ นเป็ น สิ่งทพี่ งึ ปรารถนาและมีความสาคญั ยงิ่ ตอ่ ชีวติ ของบคุ คล ชุมชน และรฐั กล่าวไดว้ ่าปรัชญาการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนน้นั ต้งั อยู่บนรากฐาน อันม่ันคงแห่งความศรัทธาในตวั ตน ว่าเป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญท่ีสุด มนุษย์ทุกคนมี ความสามารถทจ่ี ะพฒั นาตนเองใหด้ ีข้ึนถา้ มีโอกาส การพฒั นาท้งั หลายจะไม่เป็ นผล ถ้ามองขา้ ม การส่งเสริ มให้บุคคลมีทักษะที่ถูกทางและมีขีดความสามารถสูงข้ึน และเข้าร่วมในการ กระบวนการพฒั นาในการพฒั นาตอ้ งมุ่งขจดั ความขดั แยง้ และความเหลื่อมล้าต่าสูงในหมู่มวลชนให้ เกดิ ความยตุ ธิ รรมในสงั คม ความไม่รู้ ความด้ือดึง และการใชก้ าลงั บงั คบั เป็ นอุปสรรคท์ ่ีสาคญั ยิง่ ตอ่ ความสาเร็จของการพฒั นาและความเจริญรุดหนา้ ซ่ึงจะเกดิ ข้ึนได้กด็ ้วยวิธีการให้การศึกษา เทา่ น้นั การศึกษาและการใหโ้ อกาสจะช่วยดึงพลงั ซ่อนเร้นในตวั ตนออกมาใช้ ใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนร่วมและการพฒั นา จะมีประสิทธิภาพได้ตอ้ งยึดหลกั การรวมกลุ่มและการทางานกบั กลุ่ม เพราะมนุษย์เราเป็ นสัตว์สังคม การอยู่รวมกนั และทางานร่วมกนั เป็ นกลุ่มจะช่วยให้คนได้ เจริญเตบิ โตเร็วทส่ี ุด ดงั ที่ (ปาริชาติ วลยั เสถียร,2543, หนา้ 138-139) ใหค้ วามหมายของการมีส่วน ร่วม 3 ลกั ษณะ คอื 1) การมีส่วนร่วมในลักษณะท่ีเป็ นกระบวนการของการพฒั นา โดยให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการพฒั นาต้งั แต่ เร่ิมตน้ จนสิ้นสุดโครงการ ได้แก่ การร่วมกนั คน้ หาปัญหา การวางแผน การตดั สินใจ การระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีทอ้ งถิ่นการบริการ

30 จดั การ การติดตามประเมินผล รวมท้งั การรับผลประโยชน์ที่เกดิ ข้ึนจากโครงการโดยโครงการ พฒั นา ดงั กล่าวจะตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวติ และวฒั นธรรมของชุมชน 2) การมีส่วนร่วมทางการเมือง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ การส่งเสริม สิทธิและพลงั อานาจของพลเมืองโดยประชาชนหรือชุมชนพฒั นาขีดความสามารถของตนในการ จดั การเพือ่ 3) การเปลี่ยนแปลงกลไกลการพฒั นาโดยรฐั มาเป็ นการพฒั นาที่ประชาชน มีทบบาทหลกั โดยการกระจายอานาจในการวางแผนจากส่วนกลางมาเป็ นส่วนภูมิภาค เพื่อให้ ภูมิภาคมีลกั ษณะมาตรฐานเดียวกนั โดยประชาชนสามารถตรวจสอบได้ อาจกล่าวเป็ นการคืน อานาจในการพฒั นาใหแ้ กป่ ระชาชน ใหม้ ีส่วนร่วมในการกาหนดอนาคตของตนเอง โดยสรุปความหมายของการมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคลต่าง ๆในทอ้ งถิ่นหรือชุมชนไดร้ ่วมกนั คิด ร่วมกนั ทา เพอ่ื ใหเ้ กดิ กจิ กรรมท่จี ะแกไ้ ขปัญหา พฒั นาและปรับปรุงในสิ่งต่าง ๆซ่ึงจะนาไปสู่ ความสาเร็จและเกดิ ประโยชน์ร่วมกนั ของทอ้ งถ่ิน 2.1.3.2 การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatiory Action Research = PAR) เป็นการสืบหาขอ้ เทจ็ จริงท่ีเกย่ี วกบั ชุมชน อุตสาหกรรม บริษทั และองคก์ รอ่ืน ๆในทางการศึกษากเ็ ช่นเดียวกนั มีลักษณะที่เป็ นไปเพ่ือการศึกษา การ เปล่ียนแปลงของชุมชนและชุมชนและสังคม มีลักษณะในเชิงปฏิบตั ิการเพื่อสืบหาขอ้ เทจ็ จริง ซ่ึง เป็น การรวบรวมขอ้ มูลท้งั ทางดา้ นปริมาณและคุณภาพ การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วมคือเพ่ือ การปรับปรุงคุณภาพของคนในองค์กรชุมชนและชีวิตความเป็ นอยู่ของครอบครัว แมว้ ่าหลาย ประเด็นจะเหมือนกบั การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการของครูหรือสถานศึกษา แต่ประเด็นท่ีแตกต่างกนั ออกไปกค็ อื การมีส่วนกนั บคุ คลตา่ ง ๆทีเ่ กย่ี วขอ้ งในการพยายามปรับปรุงพฒั นา การศึกษาประเด็น ปัญหาท่ีอยใู่ นความสนใจเป็นการจุดประกายทส่ี ร้างสรรค์เพื่อใหห้ ลุดออกจากอุปสรรคของความ ไม่สมเหตุสมผล การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วมตอ้ งการกระบวนการทม่ี ีพ้ืนฐานบนความเสมอ ภาค และมีหลกั การรับฟังความเห็นของกนั และกนั เปิ ดรับฟังความคิดเห็นของทุกคนทุกฝ่ ายท่ี เกย่ี วขอ้ งเพ่ือการพฒั นาความเป็นอยขู่ องทกุ ฝ่ ายใหด้ ีข้ึน 2.1.3.3 ความหมายของกระบวนการมีส่วนร่วม จากการศึกษาของผูว้ ิจยั พบว่า แนวคิดเกย่ี วกบั การมีส่วนร่วมเป็นแนวคดิ ที่มีขอบเขตกวา้ งขวาง มีผูใ้ หค้ วามหมายไวจ้ านวนมาก และยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความเชื่อของบุคคลทหี่ ลากหลายกนั ไปซ่ึงไดร้ วบรวมไว้ ดงั น้ี แกว้ สรร อติโพธิ (2540, หนา้ 16) กล่าวถึง การมีส่วนร่วมของประชาชนว่า จะตอ้ งมีกระบวนการท่ีให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการตดั สินใจทางปกครองของรัฐ ต้ังแต่

31 ระดบั ชาติถึงระดบั ทอ้ งถิ่นท่ี 17 สามารถยอมรบั สิทธิตามกฎหมายในกระบวนการไตส่ วนสาธารณะ มีการรบั รูข้ อ้ มูลข่าวสารและตอ้ งมีการกระจายอานาจในการจดั การทรพั ยากร ทะนงศกั ด์ิ คุม้ ไข่น้า (2540, หนา้ 5) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการพฒั นาน้นั ครอบคลุมต้งั แต่เริ่มตน้ ของการวางแผนไปจนถึงการลงมือปฏิบตั ิ ตามแผนและการประเมิน การวางโครงการใดๆ กต็ ามจะตอ้ งเริ่มตน้ ด้วยการปรึกษาหารือร่วมกนั เพื่อวิเคราะห์หรือช้ีชัดตัวปัญหาให้ได้ และประชาชนจะมาช่วยกนั เพ่ือวิเคราะห์จัดลาดับ ความสาคญั ของปัญหา วิธีการแกไ้ ขปัญหาทพ่ี วกเขาเหน็ ว่าเป็นไปไดไ้ ปจนถึงการลงมือปฏิบตั ิและ ร่วมการประเมินผลแลว้ กเ็ริ่มช้ีชดั ปัญหาและโครงการใหม่เป็นวงจรเช่นน้ีไปเร่ือยๆ การมีส่วนร่วม ของประชาชนไม่ใช่เป็นเพยี งการใหข้ อ้ มูลข่าวสารเพื่อประกอบการวางแผนหรือตดั สินใจเท่าน้นั การเปิ ดโอกาสใหช้ าวบา้ นเพียงแต่เขา้ ไปเป็ นสมาชิกร่วมเสียสละแรงงาน เงินวสั ดุ ร่วมพิจารณา หรือร่วมลงมือปฏิบตั ใิ นสิ่งที่เริ่มกาหนดมาจากทางราชการหรือที่ อ่ืนน้ัน ไม่สมควรที่จะได้รับการ ขนานนามวาเป็ นการมีส่วนร่วมแต่ประการใด แสวง รัตนมงคลมาศ (2541, หนา้ 14) ไดใ้ หค้ วามหมายของการมีส่วนร่วม หมายถึง กระบวนการซ่ึงประชาชนเขา้ มามีส่วนเกย่ี วขอ้ งในข้นั ตอนต่างๆของกจิ กรรมของสังคม และประชาชนทเี่ ขา้ ร่วมไดใ้ ชค้ วามพยายามบางอยา่ งส่วนตวั เช่น ความคิด ความรู้ ความสามารถ แรงงาน ตลอดจนทรัพยากรของตน ในการแสดงความคดิ เห็นตดั สินใจ กาหนดนโยบาย หรือด้าน การดาเนินงานตามนโยบายในการร่วมกาหนดเป้ าหมายและแผนการดาเนินการและการท่ี ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมมีเหตุผล 3 ประการดว้ ยกนั คอื 1) มีจุดร่วมในอุดมการณ์เดียวกนั (Common Ideology) 2) มีจุดร่วมในผลประโยชน์ (Common Interest) 3) บคุ ลิกภาพส่วนบคุ คล (Personality) ปาริชาติ วลยั เสถียร (2543, หนา้ 138-139) ไดใ้ หค้ วามหมายของการมีส่วน ร่วมใน 2 ลกั ษณะกล่าวคอื 1) การมีส่วนร่วมในลกั ษณะที่เป็ นกระบวนการของการพฒั นาโดยให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการพฒั นาต้งั แต่ตน้ จนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนั คน้ หา ปัญหา การวางแผนการตดั สินใจ การระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีทอ้ งถิ่น การบริหารจัดการ การติดตามประเมินผล รวมถึงการรับผลประโยชน์ท่ีเกดิ ข้ึนจากโครงการโดยที่โครงการพฒั นา ดงั กล่าวจะตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวิตและวฒั นธรรมของชุมชน 2) การมีส่วนร่วมทางการเมือง ซ่ึงสามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคอื

32 (1) การส่งเสริมสิทธิและพลงั อานาจของพลเมือง โดยประชาชนหรือ ชุมชนเพอื่ พฒั นาขดี ความสามารถในการจดั การเพื่อรกั ษาผลประโยชนข์ องกลุ่ม ควบคุมการใชแ้ ละ การกระจายทรัพยากรของชุมชน อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการและโครงสร้างที่ประชาชนในชนบท สามารถแสดงออกซ่ึงความสามารถของตนและไดร้ ับผลประโยชน์จากการพฒั นา (2) การเปล่ียนแปลงกลไกการพัฒนาโดยรัฐมาเป็ นการพฒั นาท่ี ประชาชนมีบทบาทหลกั โดยการกระจายอานาจในการวางแผนจากส่วนกลางมาสู่ส่วนภูมิภาคซ่ึง อาจกล่าวไดว้ ่าเป็นการคืนอานาจในการพฒั นาให้แกป่ ระชาชนเพ่ือใหม้ ีส่วนร่วมในการกาหนด อนาคตของตนเอง วันชัย วัฒนศัพท์(2543, หน้า 1)การมีส่ วนร่ วมของประชาชน คือ กระบวนการซ่ึงนาเอาความห่วงกงั วล ความตอ้ งการ และความเชื่อหรือค่านิยมของสาธารณชนเขา้ มาประกอบการตดั สินใจของรฐั บาล การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกระบวนการส่ือสารสองทาง โดยมีเป้ าหมายสาคญั เพื่อใหเ้ กดิ การตดั สินใจท่ดี ีข้นึ และไดร้ ับการสนบั สนุนจากสาธารณชน อรทัย กก๊ ผล (2549, หน้า 11)ให้ความหมายของการมีส่วนร่ วมของ ประชาชน หมายถึง การท่ีประชาชนเขา้ ไปร่วมกจิ กรรมอย่างใดอย่างหน่ึงเพื่อผลประโยชน์ของ ประชาชนโดยส่วนรวมอยา่ งแท้จริง ท้งั น้ีตอ้ งอยบู่ นพ้ืนฐานของการท่ีประชาชนจะตอ้ งมีอิสระ ในทางความคิด มีความรูค้ วามสามารถในการกระทาและมีความเตม็ ใจที่จะเขา้ ร่วมต่อกจิ กรรมน้นั ๆ โดยที่การมีส่วนร่วมของประชาชนจะตอ้ งมีลักษณะการเขา้ ร่วมอยา่ งครบวงจรต้งั แต่ตน้ จนถึง สิ้นสุด กล่าวคอื 1) เร่ิมต้งั แตก่ ารเกดิ จิตสานึกในตนเองและถือเป็นภาระหนา้ ท่ีของตนใน ฐานะที่เป็ นส่วนหน่ึงของสังคมหรือชุมชนที่ตนเองอยู่ 2) ร่วมคิดดว้ ยกนั วา่ อะไรทเี่ ป็นปัญหาของชุมชน มีสาเหตุอย่างไร และ จะจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาเป้ าหมายอยา่ งไรและควรทีจ่ ะจดั การปัญหาใดกอ่ นหลงั 3) ร่วมกนั วางแผนงานการดาเนินการว่าจะจดั กจิ กรรมหรือโครงการ อะไรจะแบ่งงานอยา่ งไร ใชง้ บประมาณมากนอ้ ยเพียงใด จะจดั หางบประมาณมาจากที่ใดและใคร จะเป็นผดู้ ูแลรักษา 4) ร่วมดาเนินงาน ประชาชนจะตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมดว้ ยความเต็มใจ เตม็ กาลงั ความรูค้ วามสามารถของตนเอง 5) ร่วมกนั ติดตามประเมินผล ตลอดเวลาท่ีทางานร่วมกนั ประชาชน จะตอ้ งมีส่วนร่วมในการตรวจสอบถึงปัญหาอุปสรรคและร่วมกนในการหาทางแกไ้ ขปัญหาเพื่อให้ งานหรือภารกจิ ดงั กล่าวสามารถสาเร็จลุล่วงตามเป้ าหมาย

33 6) ร่วมรับผลประโยชนป์ ระชาชนทีเ่ ขา้ มามีส่วนร่วมกจิ กรรมของชุมชน แลว้ ยอมท่ีจะไดร้ บั ผลประโยชนร์ ่วมกนั ซ่ึงอาจจะไม่จาเป็ นที่จะตอ้ งอยู่ในรูปของเงินวตั ถุสิ่งของ แตอ่ าจเป็นความสุขความพอใจในสภาพของความเป็นอยทู่ ี่ดีข้นึ กไ็ ด้ สรุปไดว้ ่า การเปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ปัญหาร่วมตดั สินใจ ในการวางแนวทางแกไ้ ขปัญหาของชุมชนทุกข้นั ตอนจะช่วยให้ผูม้ ีส่วนร่วมหรือผูม้ ีส่วนได้ส่วน เสียในกจิ กรรมน้นั ๆ เกดิ ความรู้สึกถึงความเป็นเจา้ ของรวมถึงตกลงยอมรับและยนิ ยอมปฏิบตั ิตาม แนวทางท่ีร่วมกนั วางไวด้ ว้ ยความสมคั รใจ เตม็ ใจ และสบายใจจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คใี นกลุ่มซ่ึง จะส่งผลใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการพฒั นาชุมชน โดยชุมชนสามารถดาเนินงานได้ด้วยตวั เองมี ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองอนั จะนาไปสู่การพฒั นาท่ียง่ั ยนื และมนั่ คงถาวร 2.2 บริบทของหมู่บ้านศิริการ์เด้น 2 ตาบลบ้านเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น 2.2.1 สภาพท่ัวไปและข้อมูลพนื้ ฐาน 2.2.1.1 ประวตั ิความเป็ นมา หมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 เป็ นโครงการบา้ นจดั สรร โครงการหน่ึงอยใู่ น ตาบลบา้ นเป็ด แยกออกจากตาบลเมืองเกา่ อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ กอ่ ต้งั โครงการระยะแรกจานวน 30 ครวั เรือน เม่ือปี พ.ศ. 2540 ต้งั อยู่ท่ีบา้ นเป็ ด หมู่ท่ี 17 หลังจากน้ันได้ ขยายโครงการเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ จนปัจจุบนั มีจานวน 98 ครัวเรือน เป็ นหมู่บา้ นท่ีต้งั อยู่ในเขตการ ปกครองของอาเภอเมือง 2.2.1.2 ทตี่ ้งั หมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ต้งั อยใู่ นเขต อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ อยู่ ห่างจากจงั หวดั ขอนแกน่ โดยทางรถยนต์ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (สายขอนแกน่ - ชุม แพ) ระยะทาง 12 กโิ ลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั ตาบลแดงใหญ่ ตาบลศิลา และเทศบาลนครขอนแกน่ ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั เทศบาลนครขอนแกน่ ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลเมืองเกา่ ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั ตาบลบา้ นหวา้ และตาบลบา้ นทุ่ม 2.2.1.3 เน้ือที่ หมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 มีเน้ือท่ี 612 ไร่ อยใู่ นพ้ืนที่อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ มีจานวน 98 ครวั เรือน 2.2.1.4 ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทว่ั ไปเป็ นท่ีราบสูงมีพ้ืนท่ีทางทิศ เหนือบริเวณพ้นื ทม่ี หาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ลาดเทไปทางดา้ ยทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่ึงเป็ นบริเวณท่ีลุ่ม

34 มีแหล่งน้าขนาดใหญท่ ่สี าคญั คือ บึงหนองโคตร บึงกี และแกง่ น้าตอ้ น ซ่ึงอย่ตู อนล่างสุดพ้ืนที่สูง กว่าระดบั น้าทะเลปานกลางโดยเฉลี่ย 153-203 เมตร 2.2.1.5 สภาพทางเศรษฐกจิ ประชากรประกอบอาชีพหลายอย่าง เช่น คา้ ขาย รับ ราชการ ทาการเกษตร และอาชีพอื่น ๆ เนื่องจากมีพ้ืนที่ตดิ ต่อเขตเทศบาลนครขอนแกน่ ประชากร ส่วนใหญ่มีอาชีพรับราชการและพนกั งานบริษทั 2.2.1.6 การคมนาคมทางบก นบั ว่ามีความสะดวกในการเดินทางเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากมีถนนสายสาคญั ตดั ผา่ น ถนนภายในหมู่บา้ นโดยทวั่ ไปอยใู่ นสภาพใช้การไดด้ ี ส่วนมาก เป็ นถนนคอนกรี ต ถนนทางหลวงท่ีพาดผ่านเขตเทศบาลตาบลบ้านเป็ ด ได้แก่ ทางหลวง หมายเลข 12 (ขอนแกน่ - ชุมแพ) ส่วนถนนสายสาคญั ของหมู่บา้ นจะเชื่อมต่อระหวา่ งหมู่บา้ นและมี รถยนตโ์ ดยสารประจาทางอยหู่ ลายสาย 2.2.1.7 การคมนาคมทางอากาศ ทา่ อากาศยานขอนแกน่ หรือ สนามบินนานาชาติ ขอนแกน่ ( Khonkaen International Airport ) สนามบนิ นานาชาตขิ อนแกน่ ต้งั อยใู่ นเขตพ้ืนทีต่ าบล บา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ปัจจุบนั ทา่ อากาศยานขอนแกน่ เป็นศูนยก์ ลางการบินพาณิชย์ ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลาง 2.3 งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง ศรีสุรางค์ เคหะนาคม (2542, บทคดั ยอ่ ) ศึกษาเร่ือง การจดั การมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลตาม พระราชบญั ญตั สิ าธารณสุข พ.ศ. 2535 ขององคก์ ารบริหารส่วนตาบลในเขตจงั หวดั สุพรรณบุรีได้ กล่าวถึง การขนลาเลียง หรือการขนถ่ายและการขนส่งวา่ มีวธิ ีการดาเนินงาน 2 ข้นั ตอน คือการขน ถ่ายขยะมูลฝอยออกจากพาหนะขนาดเล็กเขา้ สู่พาหนะขนส่งขนาดใหญ่ และการขนส่งขยะมูลฝอย โดยพาหนะขนส่งไปยงั สถานที่กาจดั ขยะมูลฝอย นอกจากน้ันลกั ษณะการลาเลียงขยะในชุมชน เมืองมกั จะมีความยงุ่ ยากซบั ซ้อนมากกว่าชนบท เน่ืองจากปัจจยั หลายอยา่ งท่มี ีผลตอ่ การเกบ็ ขนขยะ ได้แก่ ความหนาแน่นของที่อยู่อาศยั เส้นทางลาเลียง ปริมาณขยะและประเภทของขยะ วสั ดุ อุปกรณ์ในการขนลาเลียงและสถานทใ่ี นการกาจดั พโยม รุจิรสั สวรวงศ์ (2543, หน้า 71) ศึกษาเรื่อง ปัญหาและทางออกการจดั เกบ็ ขยะใน เขตชุมชนเมือง กรณี ศึกษาเทศบาลตาบลบ้านสวน พบว่า เทศบาลกบั ประชาชนขาดการ ประสานงานกนั การปฎิบตั งิ านส่วนมากมาจากสาเหตกุ ารปฏิบตั ิงานของคน ขาดอุปกรณ์การจัดเกบ็ ขยะขาดรถยนต์เกบ็ ขนขยะ ขาดงบประมาณในการจัดซ้ื ออุปกรณ์จัดเกบ็ ขยะและรถยนต์

35 พฤติกรรมประชาชนไม่มีการคดั แยกและและการลดปริมาณขยะมูลฝอยเพราะไม่มีการสนบั สนุน จากเทศบาลบา้ นสวน วโิ รจน์ ตนั ติธรรม (2543, หนา้ 29) ศึกษาเร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการกาจัด ขยะศึกษากรณีองคก์ รบริหารส่วนตาบลเสมด็ อาเภอเมือง จงั หวดั ชลบุรี พบว่า ภาพรวมการมีส่วน ร่วมของประชาชนอยใู่ นระดบั ต่า การรบั รูข้ อ้ มูลข่าวสารจากส่วนราชการในระดับปานกลาง ปัจจัย การมีส่วนร่วมไม่มีความแตกตา่ งกนั ตามเพศ การศึกษา อาชีพ และรายได้ แต่แตกต่างกนั ตามอายุ และระยะเวลาทอ่ี าศยั อยใู่ นพ้ืนที่ สุดธิดา สุวรรณะ (2545, บทคดั ยอ่ ) ศึกษาเร่ือง รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การคดั แยกมูลฝอยในชุมชุนรตั นวิบลู ยแ์ ละชุมชนไทยโฮเตล็ ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อาเภอ หาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา พบวา่ กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่มีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองมูลฝอยและคดั แยกมูลฝอยในระดบั ดี สามารถแยกประเภทมูลฝอยไดถ้ ูกตอ้ ง กมลศกั ด์ิ ธรรมมาวุธ (2545, บทคดั ยอ่ ) ศึกษาเร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ คดั แยกขยะมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา พบว่า คณะกรรมการชุมชนมีความรู้ ในการคดั แยกมูลฝอย และมีส่วนร่วมช่วยเทศบาลในการรณรงค์ การประชาสัมพนั ธ์ และการให้ ความรู้ในเร่ืองการคดั แยกมูลฝอยแกป่ ระชาชน และ พบวา่ กจิ กรรมการคดั แยกมูลฝอยในครัวเรือน ท่ที ากนั เป็นส่วนใหญ่ คือ การคดั แยกมูลฝอยเพอื่ นาไปขาย นาไปใชป้ ระโยชน์อย่างอื่น และนาไป เล้ียงสัตว์ ปัญหาในการคดั แยกมูลฝอยเพราะประชาชนมองว่าปัญหามูลฝอยเป็ นปัญหาไม่สาคญั ใน ชุมชน ชูชีพ ศิริ (2549, บทคดั ย่อ) ศึกษาเรื่อง การจัดการขยะในเขตเทศบาลตาบลบ้านกาด พบวา่ ปริมาณประชาชนมีการคดั แยกขยะภายในครัวเรือนกอ่ นทิ้ง โดยแบ่งขยะเป็ น 2 ประเภท คือ ขยะเปี ยก ขยะแหง้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการคดั แยกประเภทขยะอยใู่ นระดบั น้อย ซ่ึงทา ให้สภาพการณ์ขยะโดยรวมยงั ไม่สามารถลดปริมาณลงได้ จึงตอ้ งมีการรณรงค์ให้ความรู้แก่ ประชาชนในการจัดการขยะเพื่อเป็ นพ้ืนฐานของการแกไ้ ขปัญหาขยะหรือลดปริมาณขยะท่ีมี ประสิทธิภาพ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง สรุปได้ว่า ปัญหาการจัดการขยะของ ประชาชนเบ้ืองตน้ กอ่ ให้เกดิ ขอ้ เสนอโครงการแกไ้ ขปัญหามูลฝอยตามบริบทและศกั ยภาพของ ชุมชน และนาไปสู่การดาเนินโครงการจัดการมูลฝอยอยา่ งเป็ นรูปธรรมโดยชุมชนเป็ นผูจ้ ดั ทา ชุมชนมีความสะอาดเรียบร้อยข้ึนประชาชนบางส่วนเริ่มมีการคดั แยกมูลฝอยเพื่อจาหน่าย นอกจากน้ี ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรียนรูข้ องชุมชนดา้ นการจดั การขยะมูลฝอย ท้งั จากการปฏิบตั ิ

36 จริง จากประสบการณ์ใหผ้ รู้ ่วมวิจยั มีการพฒั นาความรู้ ปรับเปล่ียนทศั นคติและพฤติกรรมดา้ นการ จดั การขยะมูลฝอยอยา่ งเหมาะสม 2.4 กรอบความคิดในการวจิ ยั จากการศึกษาเอกสาร ทฤษฎี ขอ้ มูลบริบทพ้นื ฐานและงานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งผูว้ ิจัยสามารถ สรา้ งกรอบความคดิ ในการวิจยั ได้ ดงั น้ี 1. 1. ความตอ้ งการต่อการพฒั นาการจดั การตามวธิ ีการของ การจดั ต้งั กองทนุ ขยะ 2. 2. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในหมู่บา้ นการจดั การขยะ 3. 3. การเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ในการจดั การขยะดว้ ย ตนเอง มี 3 กจิ กรรม 4. 3.1 กจิ กรรมการคดั แยกขยะ การจดั การขยะมูลฝอย 5. 3.2 กจิ กรรมการทาน้าหมกั จุลินทรีย์ ในหมู่บา้ นจดั สรร 6. 3.3 กจิ กรรมการหมกั ป๋ ยุ อินทรีย์ 7. 3.4 กจิ กรรมการจดั ต้งั กองทนุ ขยะ เพื่อใหเ้ กดิ ชุมชนที่ยงั่ ยนื 4. ปัจจยั นาไปสู่ความสาเร็จของการจดั ต้งั กองทนุ ขยะใน หมู่บา้ น 4.1 ดา้ นร่วมคดิ วางแผน 4.2 ดา้ นร่วมทากจิ กรรม 4.3 ดา้ นร่วมรับผลประโยชน์ 4.4 ดา้ นร่วมประเมิน เกดิ วิธีการการจดั การขยะมูลฝอยและ การจดั ต้งั กองทนุ ขยะในหมู่บา้ นจดั สรร ภาพที่ 2.4.1 กรอบความคิดในการวจิ ยั

37 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวิจยั การวจิ ยั เร่ืองการจดั การขยะเพื่อชุมชนน่าอยยู่ งั่ ยืนในหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ น เป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาวธิ ีการจดั การขยะมูลฝอยในชุมชนของ ประชาชนหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เพ่ือศึกษาการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ และเพ่อื คน้ หาแนวทางในการจดั ต้งั กองทุนขยะหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ น เป็ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ โดยมีระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1 รูปแบบในการวจิ ยั วธิ ีการและเทคนคิ ท่ีใช้ในการวจิ ัย การวิจัยเร่ือง การจัดการขยะเพ่ือชุมชนน่าอยูใ่ นหมู่บา้ นศิริการ์เดน้ 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เป็นวจิ ยั เชิงคุณภาพ สรุปผลการวิจยั ดว้ ยการพรรณนา 3.2 ประชากรเป้ าหมาย วธิ ีการเลอื กกล่มุ ตวั อย่างและขนาดตัวอย่าง 3.2.1 ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ประชาชนที่อาศยั อยใู่ นหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ในหมู่บา้ นท้งั หมดจานวน 98 ครัวเรือน 3.2.2 กล่มุ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวจิ ัย ประชาชนท่ีอาศยั อยใู่ นหมู่บา้ นศิริการ์เด้น 2 ตาบลบา้ นเป็ ด อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ จานวน 30 คน เลือกมาจากครัวเรือนละ 1 คน โดยสมาชิกในหมู่บา้ นสมคั รใจที่จะเขา้ ร่วม โครงการ 3.3 เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.3.1 ผู้วจิ ัยได้ใช้แบบสอบถามโดยแบ่งเป็ น 3 ส่วน ดงั นี้ ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ขอ้ มูลพ้ืนฐานทว่ั ไป ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายไดข้ องครอบครวั ต่อเดือน มูลฝอยประเภทใดในครัวเรือนมีมากท่ีสุด ลักษณะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook