Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คณะที่ 7 กระบวนงานการขอใช้ที่ ส.ป.ก.

คณะที่ 7 กระบวนงานการขอใช้ที่ ส.ป.ก.

Published by folderforqr, 2019-05-09 22:44:42

Description: ปี 2561

Search

Read the Text Version

คูมอื การปฏิบัติงาน (Work Manual) กระบวนงานการขอใชท# ี่ ส.ป.ก. สวนกรรมสิทธ์ิที่ดนิ สงิ หาคม ๒๕๖๑ สาํ นักกฎหมายและทดี่ ิน กรมชลประทาน

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) กระบวนงานการขอใช#ที่ ส.ป.ก. รหสั คูมือ สมด./สกส.๔/256๑ หนวยงานทจี่ ัดทํา ฝายทะเบยี นที่ดนิ และแกไขปญหากรรมสทิ ธิ์ทีด่ นิ สว& นกรรมสทิ ธท์ิ ่ีดนิ สาํ นักกฎหมายและท่ีดนิ ท่ีปรกึ ษา นายสเุ ทพ ลาภเหลอื พิมพค: รั้งท่ี ๑ จาํ นวน ๕ เลม& เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 256๑ ๒



คมู ือการปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) กระบวนงานการขอใช#ที่ ส.ป.ก. จัดทําโดย ๑. นายสุเทพ ลาภเหลอื ที่ปรกึ ษาคณะทาํ งาน สงั กดั สวนกรรมสิทธท์ิ ด่ี นิ สาํ นักกฎหมายและทดี่ ิน ๒. นายณฐั นยั คล#าผง้ึ สงั กดั สวนกรรมสทิ ธทิ์ ่ดี ิน สํานักกฎหมายและที่ดิน ประธานคณะทาํ งาน ๓. นางณฤดี ศรีผดงุ สังกดั สวนกรรมสิทธ์ิที่ดนิ สํานกั กฎหมายและทดี่ ิน คณะทํางาน ๔. นางสาวทิฐิพร วฒั นเวศสมบูรณ: คณะทาํ งานและเลขานกุ าร สงั กดั สวนกรรมสทิ ธิ์ทดี่ ิน สํานกั กฎหมายและท่ดี นิ ๕. นางสาวศรัณยา อทิ ธิพลู คณะทํางานและผ#ูชวยเลขานุการ สงั กดั สวนกรรมสิทธ์ิทีด่ นิ สํานักกฎหมายและท่ีดิน สามารถติดตอสอบถามรายละเอียด/ข#อมูลเพิ่มเตมิ ไดท# ่ี ฝLายทะเบยี นที่ดินและแกไ# ขปญM หากรรมสิทธทิ์ ดี่ ิน สวนกรรมสิทธ์ิทด่ี ิน สํานกั กฎหมายและทด่ี ิน โทร. ๐๒๖๖๙๓๕๕๖ ๔

คาํ นาํ การจัดหาท่ีดินเพื่อใหไดมาซึ่งท่ีดินสําหรับใชในการก&อสรางเพื่อการชลประทาน จะมีทั้งที่ดิน ท่ีเป<นของเอกชนและที่ดินของรัฐ ซึ่งที่ดินของเอกชนหากจําเป<นจะตองดําเนินการเพ่ือใหไดมาสําหรับใชในการ กอ& สรางเพ่อื การชลประทาน จะอาศยั ดาํ เนนิ การตามพระราชบัญญัติว&าดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย> พ.ศ. ๒๕๓๐ หรือการเจรจาตกลงซื้อขายตามประมวลกฎหมายแพ&งและพาณิชย>โดยคณะกรรมการจัดซื้อและกําหนด ค&าทดแทนทรัพย>สินเพ่ือการชลประทาน (ตามคําสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ> ที่ ๔๒๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐) แต&หากเปน< ท่ดี นิ ของรัฐ มีหลายประเภทแตกตา& งกนั ไป ตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด ที่ดินในเขตปฏริ ูปทด่ี นิ หรือท่ี ส.ป.ก. ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ มีคณะกรรมการปฏริ ปู ท่ีดนิ เพ่ือเกษตรกรรม ออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ>แนวทางการปฏิบัติในการใช ทด่ี นิ ในเขตปฏิรปู ท่ีดนิ ดังน้นั การขอใชพน้ื ท่ี ส.ป.ก. จงึ ตองดําเนินการตามระเบียบหลักเกณฑ>ของคณะกรรมการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยตามคําสั่งกรมชลประทาน ที่ ๑๕๑/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ> ๒๕๕๕ มอบอํานาจใหผูอํานวยการสํานักงานชลประทานที่ ๑-๑๗ หรือผูอํานวยการสํานักพัฒนาแหล&งน้ําขนาดใหญ& หรือผูอํานวยการกองพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดกลาง เป<นผูดําเนินการขออนุญาตใชที่ดินของรัฐทุกประเภท ต&อหนว& ยงานราชการอ่ืนของรฐั พรอมทงั้ มอี าํ นาจมอบหมายผูแทน เพ่ือตดิ ตามและประสานงานในการตรวจสอบ พื้นท่ี รวมท้ังปฏิบัติการอ่ืนตามระเบียบของส&วนราชการที่เกี่ยวของแทนอธิบดีกรมชลประทาน ซึ่งในทางปฏิบัติ ผูแทนของกรมชลประทาน จะยื่นคําขออนุญาตใชที่ดิน ต&อสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดทองที่ ที่ที่ดินต้ังอย&ู และกระบวนการพิจารณาอนุญาตจะอยู&ในความรับผิดชอบของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จนถึงขั้นตอนการออกหนังสืออนุญาต โดยสํานักกฎหมายและที่ดิน มิไดมีส&วนเกี่ยวของในกระบวนการ แต&ในฐานะส&วนราชการผูดําเนินการเกี่ยวกับการจัดกรรมสิทธ์ิท่ีดินเพื่อการชลประทาน และมีหนาที่ศึกษา วิเคราะห> เสนอแนะแนวทางการพิจารณาเรื่องต&างๆ ที่เก่ียวกับกฎหมาย ระเบียบ และคําส่ังท่ีเกี่ยวของกับการ จดั หาท่ีดนิ และประสานงานการขอใชพื้นท่ีท่ีอยู&ในความควบคุมดูแลของส&วนราชการอ่ืน เพื่อเป<นประโยชน>และ เกดิ ความรว& มมือในการดาํ เนนิ งานร&วมกัน จงึ ไดศึกษา วเิ คราะห> และประมวลการจัดทาํ คม&ู อื ฉบบั นี้ ท้ังนี้เพ่ือใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานโดยตรงและผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของไดเขาใจขั้นตอนการ ปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั การขอใชที่ ส.ป.ก. เพ่ือเสริมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเดิมและ เพ่ิมทักษะการเรียนรูสําหรับผูที่เขามาปฏิบัติงานใหม&ใหสามารถขับเคล่ือนกระบวนการทํางานไดอย&างต&อเน่ือง และมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะทํางานจัดทําคู&มือการปฏิบัติงาน หวังเป<นอย&างยิ่งว&าคู&มือฉบับน้ี จะเป<นประโยชน>ต&อ เจาหนาท่ผี ูปฏิบัตงิ าน และผูปฏิบตั งิ านที่เกยี่ วของใหมีความเขาใจในกระบวนการขอใชที่ ส.ป.ก. และสามารถใช เป<นแนวทางในการปฏิบัติงานไดอย&างมีประสิทธิภาพและสนับสนุนภารกิจหลักของกรมชลประทานใหบรรลุผล สําเร็จไดตามเปTาหมายที่กําหนดไว คณะทาํ งานจดั ทําคู&มือการปฏบิ ัตงิ าน คณะท่ี ๗ สาํ นักกฎหมายและท่ดี ิน กรมชลประทาน ๕

สารบญั หนา ๑. วัตถปุ ระสงค> ๑ ๒. ขอบเขตของงาน ๑ ๓. คาํ จํากดั ความ ๑ ๔. หนาท่คี วามรบั ผิดชอบ ๒ ๓ สรุปกระบวนการ ๘ Work Flow กระบวนการ ๙ ๕. Work Flow ๑๓ ๖. ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน ๒๐ ๗. ระบบติดตามประเมินผล ๒๒ ๘. เอกสารอางอิง ๒๒ ๙. แบบฟอร>มท่ีใช ๒๓ ภาคผนวก ๒๔ 1) ตัวอยา& งแบบฟอรม> กระบวนการขอใชทีป่ า ๒๕ 2) กฎหมาย ระเบียบ คาํ สัง่ ประกาศ แนวทางปฏิบัติ ๒๖ 3) รายชอ่ื ผจู ดั ทํา ๖

คูมือการปฏิบัตงิ าน กระบวนงานการขอใช#ท่ี ส.ป.ก. ๑. วตั ถปุ ระสงค: การจัดทําคู&มือการปฏิบัติงานกระบวนงานการขอใชท่ี ส.ป.ก. ฉบับน้ี เป<นการปรับปรุงคู&มือ การปฏิบัติงานใหสอดคลองกับการปฏิบัติงานของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม ตามกฎหมาย ระเบียบและคําส่ัง ท่ีมีการปรับปรุงแกไขเพื่อใหเจาหนาท่ีและบุคคลากรที่เก่ียวของไดรับทราบถึงรายละเอียด ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน ใหเป<นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และคําส่ัง สามารถนําไปใชประโยชน>ในการปฏิบัติงาน รบั รเู ขาใจถงึ ขั้นตอนของการดําเนนิ งานเพื่อใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการเป<นไปในแนวทางเดียวกัน สราง มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีม&ุงไปส&ูผลสัมฤทธิ์ไดอย&างมีประสิทธิภาพสามารถถ&ายทอดสอนงานใหเจาหนาท่ีหรือ พนักงานทเ่ี ขามาปฏบิ ัติงานใหม&ไดเรียนรูและเพม่ิ ทักษะการปฏิบัตงิ านไดอย&างรวดเร็วสามารถทํางานแทนกันได อย&างมีประสิทธภิ าพและสามารถพัฒนาการทํางานอย&างมีคุณภาพนําไปสู&ความเช่ียวชาญในการทํางาน และใช ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรต&อไป และผูบริหารสามารถติดตามงานไดทุกข้ันตอน อัน เปน< พืน้ ฐานในการควบคมุ กระบวนการทาํ งานและการบริหารงานขององค>กรใหบรรลผุ ลสัมฤทธ์ิตามเปTาหมาย ๒. ขอบเขตของงาน กระบวนงานการขอใชท่ี ส.ป.ก. เป<นการจดั ทําค&มู อื การปฏิบัตงิ านตามกฎหมาย ระเบียบ และ คําสง่ั ของสาํ นกั งานการปฏิรปู ท่ดี ินเพอ่ื เกษตรกรรม เรือ่ งการกาํ หนดแบบและข้ันตอนแนวทางการปฏิบัติในการ พิจารณาคําขออนุญาตใชที่ดินเพ่ือกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอ่ืนๆ ในเขตปฏิรูปที่ดินซึ่งไดกําหนดแบบ และข้ันตอนแนวทางการปฏิบัติไว ส&วนราชการผูขออนุญาต จึงมีหนาที่จัดทําคําขออนุญาตและเอกสาร หลักฐานประกอบ ย่ืนตอ& สํานักงานการปฏิรปู ทด่ี ินจงั หวัด สว& นการพิจารณาคาํ ขออนญุ าตใชทด่ี ินเป<นหนาที่ของ สาํ นกั งานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดและคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินจังหวัด ดังนั้นการจัดทําคู&มือจึงเป<นไปตามแบบ และข้ันตอนแนวทางการปฏิบัติของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เพ่ือสรางความเขาใจใน กระบวนการปฏิบัติงานท้ังระบบ และสามารถนําความรูไปใชในการประสานงานอย&างมีประสิทธิภาพและ บรรลุผลสัมฤทธ์ไิ ดตามเปTาหมาย ๓. คําจํากัดความ “ส.ป.ก.” หมายถึงสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมตามมาตรา ๖ แห&ง พระราชบญั ญตั ิการปฏิรูปท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ “เลขาธิการ ส.ป.ก.” หมายถงึ เลขาธกิ ารสํานกั งานการปฏริ ูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม “คปก.” หมายถึงคณะกรรมการปฏริ ูปทด่ี ินเพื่อเกษตรกรรม “คปจ.” หมายถงึ คณะกรรมการปฏริ ปู ท่ีดนิ จังหวดั “ส.ป.ก.จงั หวัด” หมายถึง สาํ นกั งานการปฏริ ูปทด่ี ินจังหวดั “สกม.” หมายถึง สํานักกฎหมายสาํ นกั งานการปฏริ ปู ทดี่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม “สผส.” หมายถึง สํานักจัดการแผนที่และสารบบท่ีดิน สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ เกษตรกรรม “สพป.” หมายถงึ สํานักพฒั นาพื้นทีป่ ฏิรูปทดี่ ิน สํานกั งานการปฏริ ูปที่ดินเพ่อื เกษตรกรรม “สบท.” หมายถึงสาํ นักบรหิ ารกองทนุ สาํ นักงานการปฏริ ปู ทีด่ ินเพื่อเกษตรกรรม ๑

“ระเบยี บฯ” หมายถงึ ระเบยี บคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ว&าดวยการ มอบหมายใหเลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมพิจารณาอนุญาตการใชที่ดินเพื่อกิจการ สาธารณูปโภคและกจิ การอนื่ ๆ ในเขตปฏิรูปที่ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๖ “ผูขออนญุ าต” หมายถงึ สว& นราชการ รฐั วิสาหกิจ หน&วยงานของรัฐ หรือเอกชนที่ดําเนินการ โดยไม&หวังผลกําไรกรณีผูขออนุญาตท่ีมิไดมีฐานะเป<นนิติบุคคล เช&น สํานักสงฆ> อําเภอ การขออนุญาตตอง ไดรับมอบอํานาจจาก ผูมีอํานาจตามกฎหมายซึ่งมีหนาที่กํากับดูแลรับผิดชอบในกิจการที่ขออนุญาตดวย และ ในค&ูมือนี้หมายถึง สํานักงานชลประทานที่ 1-17 หรือสํานักพัฒนาแหล&งนา้ํ ขนาดใหญ& หรือกองพัฒนาแหล&งนํ้า ขนาดกลาง ๔. หน#าที่ความรับผิดชอบ ๔.๑ เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม เก่ียวของกับกระบวนการในฐานะ ผบู ังคับบญั ชาหรือหรือหัวหนาหนว& ยงาน ๔.๒ คณะกรรมการปฏริ ูปท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม เกย่ี วของกับกระบวนการในฐานะ ผูพิจารณา เรื่องการขออนุญาตใชที่ดิน ๔.๓ คณะกรรมการปฏิรปู ท่ดี ินจังหวัด เกีย่ วของกบั กระบวนการในฐานะ ผูพิจารณาเรื่องการ ขออนุญาตใชที่ดิน ๔.๔ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด เก่ียวของกับกระบวนการในฐานะ ผูรับคําขออนุญาตใชท่ีดิน และตรวจสอบหลกั ฐานคําขออนุญาตใชที่ดนิ ใหถกู ตองครบถวน ๔.๕ ผูอํานวยการสํานักงานชลประทานท่ี 1-17 เก่ียวของกับกระบวนการในฐานะส&วน ราชการผขู ออนญุ าต ๔.๖ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาแหล&งน้ําขนาดใหญ&เก่ียวของกับกระบวนการในฐานะส&วน ราชการผขู ออนญุ าต ๔.๗ ผูอํานวยการกองพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดกลาง เก่ียวของกับกระบวนการในฐานะส&วน ราชการผขู ออนญุ าต ๔.๘ ผูอํานวยการสํานักกฎหมายและท่ีดิน เกี่ยวของกับกระบวนการในฐานะส&วนราชการ ผูดําเนินการเก่ียวกับการจัดกรรมสิทธ์ิที่ดินเพ่ือการชลประทาน ตามกฎกระทรวงแบ&งส&วนราชการ กรม ชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ> พ.ศ. ๒๕๕๗ ๔.๙ ผูอํานวยการส&วนกรรมสิทธ์ิที่ดิน สํานักกฎหมายและท่ีดินเกี่ยวของกับกระบวนการใน ฐานะ เป<นผูมีหนาที่ศึกษา วิเคราะห> เสนอแนะแนวทางการพิจารณาเร่ืองต&างๆ ที่เก่ียวกับกฎหมาย ระเบียบ และคําสั่งท่ีเก่ียวของกับการจัดหาท่ีดิน และประสานงานการขอใชพ้ืนที่ที่อย&ูในความควบคุมดูแลของส&วน ราชการอ่ืน เพ่ือเป<นประโยชน>และเกิดความร&วมมือในการดําเนินงานร&วมกัน ตามคําส่ังกรมชลประทานท่ี ๖๐/ 255๘ ลงวันท่ี ๗ เมษายน 255๘ เรื่อง การแบ&งงานและการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของหน&วยงาน ภายในสํานักและกอง ๔.๑๐ หวั หนาฝายฝายทะเบยี นทด่ี ินและแกไขปญหากรรมสิทธิ์ที่ดนิ ส&วนกรรมสิทธิ์ที่ดิน สํานัก กฎหมายและที่ดินเก่ียวของกับกระบวนการในฐานะผูมีหนาที่ศึกษา วิเคราะห> เสนอแนะแนวทางการพิจารณา เรื่องต&างๆ ทเี่ กย่ี วกับกฎหมาย ระเบยี บ และคาํ ส่งั ที่เก่ียวของกบั การจัดหาทดี่ ิน และประสานงานการขอใชพ้ืนที่ ท่อี ยู&ในความควบคุมดูแลของส&วนราชการอื่น เพ่ือเป<นประโยชน>และเกิดความร&วมมือในการดําเนินงานร&วมกัน ตามคําสั่งกรมชลประทานท่ี ๘๖/255๘ ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม 255๘ เรื่อง การแบ&งงานและการกําหนด หนาทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของสํานักกฎหมายและทด่ี นิ ๒

สรปุ กระบวนการ ๑. สํานักงานชลประทานที่ 1-17 หรือสํานักพัฒนาแหลงนํ้าขนาดใหญ หรือกองพัฒนา แหลงนํ้าขนาดกลาง มีความจําเป<นตองใชท่ีดินในเขตปฏิรูปที่ดินเพ่ือก&อสรางโครงการชลประทาน จะตอง ดําเนินการจัดทําคําขออนุญาตใชท่ีดินเพ่ือกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอ่ืนๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามคําส่ัง สํานกั งานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมที่ ๘๕๕/๒๕61 ลงวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 โดยใชเอกสาร หลักฐานตามหลักเกณฑ> ขั้นตอน และแนวทางปฏิบัติ ประกอบการยื่นคําขอต&อสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัด (ส.ป.ก.จงั หวดั ) ดังน้ี ๑.๑ การยน่ื คําขออนุญาต ๑) คําขออนุญาตใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป ท่ีดิน ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. จํานวน ๑ ฉบับ ๒) บันทึกรับรองการปฏิบัติตามเงื่อนไขการไดรับอนุญาตใหใชที่ดิน ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. จาํ นวน ๓ ฉบับ ๓) แผนทีภ่ มู ปิ ระเทศแสดงจดุ ทตี่ ัง้ ท่ีดินแปลงท่ยี นื่ คาํ ขออนุญาตฯ โดยใชระวางแผนที่ทหาร มาตราส&วน ๑:๕๐,๐๐๐ ระบุทิศ ค&าพิกัด สัญลักษณ>และสถานท่ีขางเคียงใหถูกตองครบถวน โดยใหแสดง ตําแหน&งแนวเขตบริเวณที่ขอใชดวยปากกาเขียนแผนที่ใหชัดเจน กรณีที่ผูยื่นคําขอไม&สามารถจัดทําได ให ส.ป.ก.จังหวดั อํานวยความสะดวกให ๔) แผนผังแสดงบริเวณและสิ่งก&อสรางในที่ดิน ซึ่งผูขออนุญาตลงนามกํากับ ขนาด เอ ๓ หรอื เอ ๔ จํานวน ๓ ฉบับ ๕) คําขอสละสิทธิที่ดิน คืน ส.ป.ก. ของบุคคลที่ไดรับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดิน เพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.๔-๕๒ ก) กรณีมีการจัดที่ดินแลว รวมทั้งหลักฐานการเพิกถอน หรือแกไขหนังสือ อนญุ าตใหเขาทาํ ประโยชนใ> นเขตปฏิรูปทดี่ ิน (ส.ป.ก.๔-๐๑) ๖) หนงั สอื ยนิ ยอมของผูถือครองทดี่ นิ กรณที ่ีดินยงั ไมไ& ดจัด ๗) หลกั ฐานอน่ื ทจ่ี ําเป<น เช&น หนังสือมอบอํานาจ หนังสือจดทะเบียนมูลนิธิ นิติบุคคล ฯลฯ กรณีนี้ใชคําสั่งกรมชลประทาน ที่ ข ๑5๑/255๕ เรื่องมอบอํานาจดําเนินการขอใชที่ดินของรัฐทุกประเภท ลงวันท่ี ๖ กมุ ภาพนั ธ> 255๕ ๘) ภาพถา& ยสภาพทดี่ ินปจจุบนั และภาพถ&ายสง่ิ ก&อสราง ๙) รายงานขอใชที่ดินของทางราชการเพ่ือสรางวัด ๑๐) โครงการขอใชท่ีดนิ ของทางราชการ 1.๒ เรือ่ งการขออนญุ าตโดยท่วั ไปตองมีความเห็นของผูปกครองทองท่ี แต&หากเป<นกิจการ ที่เห็นว&า อาจจะมีผลกระทบต&อสิ่งแวดลอม ตองผ&านความเห็นชอบจากชุมชนทองถิ่นว&าไม&มีผลกระทบ ต&อส่งิ แวดลอม ทงั้ น้ี กิจการใดหากมีกฎหมายระบุวา& ตองผ&านการพิจารณาของหน&วยงานอ่ืนจะตองมีความเห็น ของหนว& ยงานนั้นๆ ดวย กรณีเรื่องผลกระทบต&อสิ่งแวดลอม สําหรับกิจการที่อย&ูในอํานาจพิจารณาของ คณะอนุกรรมการพิจารณาใหความยินยอมฯ หรือ คปก. โดยใหที่ประชุมของชุมชนหรือทองถิ่นมีมติ ตรวจสอบและรับรองว&าไม&มผี ลกระทบต&อสงิ่ แวดลอม โดยพจิ ารณาตามหลักเกณฑ> ดังน้ี 1) ผลกระทบทางเสยี ง เช&น เสยี งดังรบกวนการใชชวี ติ ประจําวนั 2) ผลกระทบทางดนิ เช&น ดินเสอื่ มโทรม พังทลาย 3) ผลกระทบทางนา้ํ เช&น นํา้ เสีย หรือมสี ารพษิ เจอื ปน 4) ผลกระทบทางอากาศ เชน& มีฝุนละออง หรือส&งกลิ่นรบกวนการใชชีวิตประจาํ วัน ๓

๑.๓ การใชทีด่ นิ เพือ่ ก&อสรางหรอื ปรบั ปรงุ แหลง& นา้ํ เพ่ือการประกอบเกษตรกรรม เช&น ขุดคู คลอง สระเกบ็ นา้ํ ฝาย อา& งเก็บนา้ํ เป<นตน ใหใชไดตามจํานวนเนอื้ ทีท่ จี่ าํ เปน< แกก& ารนัน้ ตามระเบยี บฯ ขอ ๑๑ 1.๔ กรณีขออนุญาตใชที่ดินเกินกว&าจํานวนที่กําหนดไวในระเบียบฯ หรือขออนุญาต ใชท่ดี นิ เพ่ือกิจการอ่นื ท่ีไมไ& ดกําหนดไวในระเบยี บฯ ใชหลกั ฐานเพิม่ เติม ดงั น้ี 1) พนื้ ที่ท่ีขอใชต้งั อย&ูในเขตปฏิรปู ท่ีดนิ โครงการใด 2) ถาที่ดินดังกล&าวอย&ูในพื้นท่ีปาสงวนแห&งชาติที่กรมปาไมมอบให ส.ป.ก. เพื่อนําไป ปฏิรูปที่ดินใหจัดส&งสําเนาบันทึกตรวจสอบและแผนท่ีการกันพ้ืนท่ีปาสงวนแห&งชาติออกจากเขตท่ีจะทําการ ปฏริ ปู ท่ดี ิน โดยใหแสดงตาํ แหน&งแนวเขตบรเิ วณทข่ี อใชดวยปากกาเขียนแผนท่ีใหชัดเจนดวย 3) ผูขอใชทดี่ ินไดครอบครองท่ดี ินมาต้งั แต&เมือ่ ใด โดยวิธีใด 4) รายละเอียดแผนงานโครงการ งบประมาณ ทไ่ี ดรบั อนมุ ัตจิ ากผมู ีอํานาจตามกฎหมาย 5) รายละเอยี ดสงิ่ ก&อสรางโดยระบจุ ํานวนเนือ้ ทแ่ี ต&ละสว& น เหตผุ ลความจําเป<นในการ ใชพื้นที่และกิจกรรมบริเวณพื้นที่ส&วนที่ทําใหเกิดรายได ใหระบุจํานวนเนื้อที่ พรอมระบุรายละเอียด การดาํ เนินการหรอื กจิ กรรมท่ที ําใหเกิดรายได 6) ในพนื้ ทีข่ อใชมีไมหวงหามประเภทใด หรือไม& 7) คําขอใชที่ดินตองมีความเห็นชุมชน เห็นชอบและรับรองว&ากิจการที่ขอใช ไม&มีผลกระทบต&อส่ิงแวดลอม โดยใหผ&านท่ีประชุมสภาองค>การบริหารส&วนตําบลหรือที่ประชุมของหน&วยงาน ส&วนทองถ่ินทเ่ี ปน< ผูรับผิดชอบพืน้ ที่ที่ขอใช 8) การขอใชท่ีดินเพื่อก&อสรางวัดใหมีความเห็นของเจาคณะอําเภอ เจาคณะจังหวัด นายอาํ เภอ และผูว&าราชการจังหวัด (ซึง่ ความเหน็ ดังกล&าว ปรากฏในแบบรายงานการขอใชท่ีดินเพื่อก&อสรางวัด ท่ีสาํ นักงานพระพทุ ธศาสนาแหง& ชาติกาํ หนด) ๒. สํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด (ส.ป.ก.จังหวัด) รับคําขออนุญาตใชที่ดิน และ ตรวจสอบหลกั ฐานคําขออนญุ าตใชที่ดินใหถกู ตองครบถวนรวมทั้งดาํ เนนิ การตรวจสอบขอเทจ็ จริง ดงั ต&อไปนี้ ๒.๑ กรณีที่ดินท่ีขอใชไดดําเนินการจัดท่ีดินแลว ใหแจงผูขออนุญาตว&าไม&อนุญาต เวนแต& กิจการท่ีขออนญุ าตเปน< กิจการ ดังต&อไปน้ี ๑) กิจการเกีย่ วกับความมน่ั คงของประเทศ ๒) กจิ การเพื่อสาธารณประโยชน> ๓) กจิ การซึ่งผขู ออนญุ าตไดหาทดี่ ินแปลงอน่ื ทดแทนใหแลว โดยใหดาํ เนินการตามขน้ั ตอนการสละสิทธิ ตามระเบียบ คปก.ว&าดวยการใหเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรผูไดรับท่ีดินจากการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมปฏิบัติเกี่ยวกับการเขาทําประโยชน>ในที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ และระเบยี บอื่นๆ ทีเ่ กยี่ วของ ๒.๒ กรณีท่ีดินท่ีขอใชยังไม&ไดดําเนินการจัดที่ดิน แต&มีผูครอบครอง ใหจัดทําหนังสือ ยนิ ยอมของผคู รอบครองที่ดิน พรอมเหตุผลทีไ่ ม&ดาํ เนนิ การจดั ที่ดนิ 2.3 ตรวจสอบว&าท่ีดินแปลงขางเคียงโดยรอบที่ขออนุญาตใช ผูใดครอบครอง ไดรับการ จัดท่ีดินแลวหรือไม&อย&างไร พรอมระบุประเภทการทําประโยชน> หากปรากฏว&าผูขออนุญาตเป<นผูครอบครอง ใหรวมเนื้อที่ทัง้ หมดแลวยืน่ คําขอใชท่ีดนิ มาในคราวเดียวกนั 2.4 กรณมี ีลกั ษณะการใชทดี่ นิ เหนอื พน้ื ดนิ หรอื ใตพืน้ ดนิ เช&นการวางทอ& ส&งนํา้ เพือ่ การประปา หรือการชลประทาน หรืออ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะทาํ นองนี้ หากเกษตรกรผูไดรับการจัดที่ดินยังสามารถใชประโยชน> ในท่ีดินบริเวณที่ขอใชได และการใชท่ีดินของผูขอใชเป<นเพียงการรอนสิทธิบางส&วน ใหจัดทําเป<นหนังสือ ๔

ยินยอมจากเกษตรกรผูไดรับการจัดที่ดินโดยไม&ตองสละสิทธิเพ่ือมิใหเกษตรกรตองส้ินสิทธิ หากไม&สามารถ ใชประโยชน>ในทดี่ ินบริเวณที่ขอใชไดตองดาํ เนนิ การตามขั้นตอนการสละสิทธิ เช&นเดยี วกับขอ ๒.๑ 2.5 กรณีขอใชที่ดินลักษณะเป<นการช่ัวคราวและมีกําหนดระยะเวลาไม&เกิน ๕ ปh และมี การใชท่ีดินเนอื้ ท่ไี ม&มาก หากพิจารณาเห็นว&าเนื้อที่ที่ขอใชไม&กระทบต&อการประกอบเกษตรกรรมของเกษตรกร ผูไดรับการจัดท่ีดิน ใหจัดทําเป<นหนังสือยินยอมจากเกษตรกรผูไดรับการจัดท่ีดินโดยไม&ตองสละสิทธิเพื่อมิให เกษตรกรตองส้ินสิทธิ โดยใหนําเสนอคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด (คปจ.) พิจารณาและเห็นชอบเป<น หลักการว&า เม่ือผูรับอนุญาตสง& มอบท่ีดินคืน ส.ป.ก. แลว ใหเกษตรกรดังกล&าวสามารถกลับเขาทําประโยชน>ใน ทีด่ นิ ไดทนั ที โดยไมต& องเสนอ คปจ. อีก ๒.๖ กรณีผูขออนุญาตเขาไปใชประโยชน>อยู&ก&อนพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปที่ดิน ใหตรวจสอบหลักฐานการเขาใชประโยชน> วา& ไดรับอนุญาตจากหนว& ยราชการหรือไม& และเขาใชประโยชนต> ้งั แต&เม่อื ใด 2.7 เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (เลขาธิการ ส.ป.ก.) มีอํานาจ เรยี กเก็บค&าตอบแทนการใชประโยชนจ> ากการขอใชทีด่ นิ เพ่อื กจิ การสาธารณูปโภคและกจิ การอ่นื ๆ ดังน้ี 1) ใหเรียกเก็บค&าตอบแทนการใชประโยชน>ในที่ดินตามราคาประเมินของกรมธนารักษ> หรือราคาท่ี ส.ป.ก. ไดจ&ายชาํ ระคา& ท่ดี ินอนั มรี าคาสูงกว&าราคาประเมินของกรมธนารักษใ> นปทh ไ่ี ดรับอนุญาตใหใชท่ีดิน 2) การขอใชประโยชน>ในทีด่ ิน กรณีหน&วยงานท่ีขอใชท่ีดินกําหนดใหมีคณะกรรมการ กําหนดราคาค&าทดแทนทรัพย>สิน โดยมีผูแทนของ ส.ป.ก. เป<นกรรมการร&วมดวย ใหเรียกเก็บค&าตอบแทนการ ใชประโยชน>ในที่ดินตามท่ีคณะกรรมการของหน&วยงานนั้นกําหนด หรือกรณีไม&มีผูแทนของ ส.ป.ก. เป<น กรรมการ และคณะกรรมการไดกําหนดคา& ทดแทนฯ ไวไมน& อยกวา& ขอ 1) 3) ให เลขาธิการ ส.ป.ก. มีอํานาจยกเวนการเรียกเก็บค&าตอบแทนการใชประโยชน> ในท่ดี นิ เมื่อมขี อเท็จจริงปรากฏทั้ง 3 กรณี ดงั นี้ 3.1) หน&วยงานของรัฐ หรือเอกชนที่ดําเนินการโดยไม&แสวงหากําไร ท่ีขอใชท่ีดิน เพื่อกจิ การสาธารณูปโภค ไมม& กี ารเรยี กเก็บค&าบรกิ ารหรือค&าใชจา& ยใด ๆ จากผูใชบรกิ าร 3.2) มีการแสดงเหตุผลท่ีชัดเจนว&า การใชที่ดินบริเวณที่ขออนุญาตจะเป<น ประโยชนแ> ก&เกษตรกร และต&อชุมชนในทองถิ่นตามเจตนารมณ>ของการปฏิรูปท่ีดิน หรือเป<นที่เหมาะสมในการ รักษาความม่ันคงของประเทศ 3.3) การใชประโยชน>ในพื้นท่ีมีการใชสอยพ้ืนที่ตามขนาดเน้ือท่ีท่ีจําเป<นแก&การน้ัน และกระทบตอ& พน้ื ท่ีแปลงเกษตรกรรมนอยท่ีสุด และผ&านความเห็นชอบจากชุมชนทองถิ่นว&าไม&มีผลกระทบต&อ สิ่งแวดลอม 4) กรณอี ยใู& นหลกั เกณฑ>ตองชําระคา& ตอบแทนฯ - ตองมหี นงั สือยืนยันจากผูขอใช หรือระบุใน ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. ขอ ๒ ต&อทายขอความ เหตุผลและความจาํ เป<นในการขอใชทด่ี ิน โดยระบุวา& ยนิ ยอมชาํ ระคา& ตอบแทนฯ ตามอัตราที่ คปก. กาํ หนด - ใหแจงราคาประเมินทุนทรัพย>เพื่อเรียกเก็บค&าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมเพ่ือเรยี กเก็บค&าตอบแทนฯ สาํ หรับทด่ี นิ แปลงที่ขอใช 5) กรณอี ย&ูในหลกั เกณฑ>ท่ีเลขาธิการ ส.ป.ก. มอี ํานาจยกเวนการเรยี กเก็บคา& ตอบแทนฯ - ตองมีขอเท็จจริงหรือหลักฐานเพ่ือแสดงว&าเป<นไปตามหลักเกณฑ> ๓ ประการ ตามมติ คปก. คร้ังท่ี ๑/๒๕๔๖ เม่ือวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๖ และคร้ังที่ ๒/๒๕๔๗ เมื่อวันท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๗ เชน& มีหนงั สอื ยืนยนั วา& ไมม& ีการเรียกเกบ็ คา& บรกิ าร หรือคา& ใชจา& ยใดๆ จากผใู ชบริการ ๕

๒.๘ สํานักจัดการแผนที่และสารบบที่ดิน (สผส.) ตรวจรูปแผนท่ี รายการรังวัดคํานวณ ท่ีดินท่ีขออนุญาตอยู&ในเขตดําเนินการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พรอมหมายเหตุในหลักฐาน ลงรูปแผนที่ใน แบบ ส.ป.ก.4-31 ก. โดย ส.ป.ก.จังหวัด เป<นผูส&งเอกสารให สผส. ตรวจสอบหลักฐานประกอบการพิจารณา เสนอ คปจ. ดงั น้ี กรณที ี่ ๑ การขอใชทดี่ นิ เตม็ แปลง (ก) ท่ีดิน ส.ป.ก. ที่มีตําแหน&งท่ีดินตามระเบียบ ส.ป.ก. ว&าดวยการควบคุมตําแหน&งท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๓๓ และ ระเบียบ ส.ป.ก. วา& ดวยมาตรฐานระวางแผนที่และแผนที่รูปแปลงที่ดินในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. 2557 ให ส.ป.ก.จังหวดั จัดสง& เอกสาร ดงั นี้ ๑. หลักฐานแสดงรายการรงั วดั ๒. รายการคาํ นวณ (ส.ป.ก./สร.๙) ๓. แผนทีต่ นร&าง (ส.ป.ก./สร.๒๒) ๔. แผนท่แี ปลงท่ดี ิน (ส.ป.ก./สร.๕ ก. ตัวจริง) จาํ นวน ๑ ฉบบั ๕. สําเนาบนั ทกึ การนาํ รงั วดั (ส.ป.ก./สร.๑ ข.) ๖. แผนที่โครงการปฏิรูปทด่ี ิน มาตราสว& น ๑: ๕๐,๐๐๐ 7. เอกสารอืน่ ๆ ตามท่ี สผส. กําหนดเพิม่ เติม (ข) ทีด่ นิ ส.ป.ก. ที่มีหนงั สอื สาํ คญั สําหรับท่ีดนิ ใหจดั ส&งสําเนาหนงั สอื สําคัญสําหรับท่ีดิน กรณีท่ี ๒ การขอใชทดี่ นิ ไมเ& ตม็ แปลง ทดี่ นิ ส.ป.ก. ท่มี ีหนังสอื สาํ คญั สําหรบั ที่ดนิ หรือที่ดินท่ีมีตําแหน&งท่ีดินตามระเบียบ ส.ป.ก. วา& ดวยการควบคุมตําแหนง& ท่ดี นิ พ.ศ. ๒๕๓๓ และ ระเบยี บ ส.ป.ก. วา& ดวยมาตรฐานระวางแผนทแ่ี ละแผนที่รูป แปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2557 ใหดําเนินการรังวัดแบ&งแยกเพ่ือใหไดรูปแผนท่ี และเน้ือที่ท้ังแปลงท่ีขอ ใชและแปลงคงเหลือ แลวนาํ ส&งหลกั ฐานแผนท่ี เชน& เดยี วกับกรณที ่ี ๑ (ก.) กรณีท่ี ๓ การขอใชที่ดินในพ้ืนท่ีโครงการส&วนที่ยังไม&ไดทําการรังวัดให ส.ป.ก.จังหวัด ดําเนนิ การรังวัดเพ่ือใหไดรูปแผนท่ีและเนื้อที่ตามมาตรฐานการรังวัด และระบบงานประจําโครงการนั้นๆ แลว นําส&งหลกั ฐานแผนทเ่ี ช&นเดียวกบั กรณที ่ี ๑ กรณีที่ ๔ การขอใชที่ดินต&อเน่ืองจํานวนรายแปลงเช&น การขุดคลอง การสรางอ&างเก็บน้ํา ฝายหรอื กอ& สรางถนน ฯลฯ ดาํ เนินการตามกรณที ี่ ๑-๓ เวนแตไ& ม&สามารถดําเนินการได ใหกาํ หนดเพียงลงรูปใน แผนท่โี ครงการปฏิรปู ทด่ี ิน มาตราสว& น ๑:๕๐,๐๐๐ พรอมคํานวณเนอื้ ทโ่ี ดยประมาณ กรณีที่ ๕ กรณขี อใชท่ีดนิ ตามขอ ๒.๔ ใหทาํ การรงั วัดรูปแผนทเี่ ฉพาะส&วนท่ีขอใชที่ดินและ แสดงตําแหน&งรูปแผนที่ส&วนที่ขอใชพรอมสัญลักษณ>แผนท่ีลงในรูปแผนท่ีเดิม และคํานวณเน้ือท่ีโดยวิธี คณติ ศาสตรส> ําหรบั ใชในการคํานวณเงนิ ในการเรียกเก็บค&าตอบแทนการใชประโยชน>ในที่ดิน (ถามี) โดยไม&ตอง แกไข ส.ป.ก.๔-๐๑ และเม่ือพนระยะเวลาท่ีอนุญาตแลว ใหตรวจสอบว&าผูรับอนุญาต ไดรื้อถอนส่ิงก&อสราง พรอมทงั้ ปรบั สภาพทด่ี ินใหคนื สภาพเดิมแลวหรือไม& หากยังไม&ดําเนินการใหแจงผูรับอนุญาตดําเนินการใหแลว เสร็จโดยเร็ว หากยังเพิกเฉยไม&ดําเนินการให ส.ป.ก.จังหวัด ดําเนินการรื้อถอนส่ิงก&อสราง พรอมท้ังปรับสภาพ ที่ดินใหคืนสภาพเดิม โดยผูรับอนุญาตตองเป<นผูเสียค&าใชจ&าย เมื่อดําเนินการแลวใหแจงเกษตรกรเขาทํา ประโยชนต> อ& ไป ๒.๙ สํานักพัฒนาพ้ืนที่ปฏิรูปท่ีดิน (สพป.) ตรวจสอบพื้นท่ีและความเหมาะสมทางดาน วิศวกรรม รวมท้ังพิจารณาการขอใชที่ดินว&า เป<นอุปสรรคขัดขวางงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมหรือไม& โดย ส.ป.ก.จงั หวัด เปน< ผสู &งเอกสารให สพป. ตรวจสอบในสว& นท่เี ก่ียวของโดยตรง (โดยใชเอกสารประกอบการ พจิ ารณาตามที่ สพป. กาํ หนด) ก&อนนาํ เสนอ คปจ. พิจารณาใหความเหน็ ชอบ ๖

๓. คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด (คปจ.) พิจารณาเรื่องการขออนุญาตใชที่ดินฯ ประกอบกับความเห็นของ ส.ป.ก.จังหวัด โดยใหบันทึกขอมูลรายละเอียดต&างๆ ท่ี คปจ. ใชพิจารณาในการ ประชุมเร่ืองดังกล&าวใหปรากฏในรายงานการประชุมโดยละเอียด เพ่ือเป<นขอมูลในการนําเสนอผูมีอํานาจ พจิ ารณาอนญุ าตใหใชทีด่ ิน กรณี คปจ. มีความเห็นใหเรียกเก็บค&าตอบแทนฯ ส.ป.ก.จังหวัด ตองมีหนังสือแจงผลการ พจิ ารณาใหผขู อใชทราบ พรอมทงั้ สอบถามว&ายังคงมีความประสงค>ท่ีจะใชที่ดินและยินยอมชําระค&าตอบแทนฯ หรือไม& ภายใน ๑๕ วัน นับแต&วันที่ คปจ. มีมติ และใหผูขอใชแจงให ส.ป.ก.จังหวัด ทราบภายใน ๑ เดือนนับ จากวันทไ่ี ดรับหนังสือแจงผลการพิจารณา หากผูขอใชไม&แจงภายในเวลาที่กําหนด ถือว&าผูขอใชที่ดินไม&ประสงค>ที่จะใชที่ดินต&อไป ให ส.ป.ก.จังหวัดรายงานให คปจ. ทราบ หากผูขอใชมีหนังสือยืนยันว&าประสงค>จะใชที่ดินและยินยอมชําระค&าตอบแทนฯ ใหรวบรวม รายละเอียดพรอมหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา จัดส&งให ส.ป.ก. ดาํ เนินการตอ& ไป หากผูขอใชประสงค>ท่ีจะขอยกเวนการชําระค&าตอบแทนฯ ตองแจงความประสงค>ให ส.ป.ก. จังหวดั ทราบภายในระยะเวลาดังกลา& ว และให ส.ป.ก.จงั หวดั นาํ เสนอ คปจ. พจิ ารณาอกี ครง้ั หาก คปจ. ยืนยันใหเรียกเก็บค&าตอบแทนฯ ใหแจงผูขอใชทราบภายใน ๑๕ วัน นับแต&วันท่ี คปจ. มีมติ และใหผูขอใชมีหนังสือยืนยันว&ายังคงประสงค>จะใชที่ดินและยินยอมชําระค&าตอบแทนฯ ภายใน กาํ หนด ๑ เดอื น นบั จากวันทีไ่ ดรบั หนงั สอื แจง และให ส.ป.ก.จังหวัด ส&งเร่ืองให ส.ป.ก. ดําเนินการต&อ หากไม& ยืนยันภายในกาํ หนดดังกล&าว ใหยุติการดาํ เนินการ โดยให ส.ป.ก.จังหวัด แจงใหผูขอใชทราบ ทั้งน้ี ไม&ตัดสิทธิ ผขู อใชทีจ่ ะยน่ื คาํ ขอใหม& กรณี คปจ. มีมติเห็นควรใหยกเวนการเรียกเก็บค&าตอบแทนฯ แต&หากการพิจารณาอนุญาต ใหใชท่ีดินอยู&ในอาํ นาจของเลขาธิการ ส.ป.ก. หรือ คปก. ผูมีอํานาจพิจารณาอนุญาตดังกล&าว ยังคงมีอาํ นาจ ทจ่ี ะพิจารณาเรียกเก็บค&าตอบแทนฯ จากผูขอใช ๔. สาํ นักกฎหมาย (สกม.) รวบรวมหลักฐาน พจิ ารณาเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา อนญุ าต ๕. เลขาธิการ ส.ป.ก. พิจารณาอนุญาต กรณีขอใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคตาม ประเภทกจิ การและจาํ นวนเนือ้ ที่ตามระเบยี บฯ ในขอ ๖ ถงึ ขอ ๑๖ ๘. คปก. พจิ ารณาอนุญาตกรณีขอใชท่ดี ินเพื่อกจิ การอ่ืนนอกจากขอ 6 ถึงขอ 16 หรือการขอ ใชทีด่ ินเกินจาํ นวนท่ีกําหนดไว ๙. คณะอนุกรรมการพิจารณาการใหความยินยอมหรืออนุญาตการใชประโยชน>ท่ีดินในเขต ปฏิรูปท่ีดินตามท่ี คปก. จะกาํ หนดใหเป<นผูพจิ ารณาอนุญาตแลวรายงานให คปก. ทราบ ๖. ออกหนังสืออนุญาต เมื่อเลขาธิการ ส.ป.ก. คณะอนุกรรมการพิจารณาการใหความ ยินยอมหรอื อนญุ าตการใชประโยชน>ทีด่ ินในเขตปฏิรปู ที่ดนิ หรอื คปก. พจิ ารณาอนุญาตใหใชที่ดินแลว ให สกม. แจงผลการพิจารณาให ส.ป.ก.จังหวัดทราบ จัดทํา ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. นําเสนอเลขาธิการ ส.ป.ก. ลงนาม และ จัดสง& ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. พรอม ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. ให ส.ป.ก.จงั หวดั เพ่อื มอบตนฉบบั ใหแก&ผูรับอนุญาต ค&ูฉบับเก็บ รกั ษาไว ณ ส.ป.ก.จงั หวดั และ สกม. ๗. สํานักงานชลประทานท่ี 1-17 หรือสํานักพัฒนาแหลงนํ้าขนาดใหญ หรือกองพัฒนา แหลงน้าํ ขนาดกลาง ไดรบั อนุญาตใหใชที่ดิน เพือ่ ก&อสรางโครงการชลประทาน ๗

Work Flow ขน้ั ตอนการอนุญาตใหใ# ชท# ่ีดินเพ่อื กิจการสาธารณูปโภคฯ และกจิ การอื่นๆ ในเขตปฏิรูปทด่ี นิ (ส.ป.ก.) ลําดบั ท่ี ผงั กระบวนการ เวลา ๑. สํานกั งานชลประทานที่ 1-17 ตามมาตรฐานของ หรือสํานักพฒั นาแหลงนํา้ ขนาดใหญ แต&ละหน&วยงาน หรือกองพัฒนาแหลงน้ําขนาดกลาง ทกุ ขนั้ ตอน ๒., ส.ป.ก. จังหวัด ๓. คปจ. พิจารณา ใหเหน็ ชอบ ๔. สาํ นักกฎหมาย (สกม.) ๕. เลขาธิการ ส.ป.ก. พจิ ารณาอนุญาต ๖. ออกหนังสอื อนญุ าต เลขาธกิ าร ส.ป.ก. ลงนาม สาํ นกั งานชลประทานที่ 1-17 ๗. หรอื สาํ นกั พฒั นาแหลงน้ําขนาดใหญ หรอื กองพัฒนาแหลงน้าํ ขนาดกลาง ๘

๕. Work Flow ชอื่ กระบวนการ : กระบวนงานการขอใชที่ ส.ป.ก. ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ:กระบวนการจดั ทาํ คมู ือการปฏิบตั ิงาน : ขนั้ ตอนการขอใชท่ี ส.ป.ก. และระดับความรวดเรว็ ในการดาํ เนินการ ลาํ ดบั ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผรู# บั ผิดชอบ ๑. - ตาม - จัดทําคําขออนุญาตใชท่ีดินเพื่อกิจการ - คําขออนุญาตใชที่ ส.ป.ก.ตามแบบ - ผส.ชป.๑-๑๗ สํานักงานชลประทานท่ี ๑–๑๗ มาตรฐาน สาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขต ส . ป . ก . ๔ -๒ ๙ ก พ ร อ ม เ อ ก ส า ร - ผส.พญ. สํานักพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดใหญ& ของแต&ละ ปฏิรูปท่ีดิน เพื่อก&อสรางโครงการ ประกอบถูกตองครบถวนตามคําสั่ง - ผอ.พก. หน&วยงาน ชลประทาน ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. ส.ป.ก. ท่ี ๘๕๕/๒๕61 ลงวันที่ ๑๓ หรอื กองพัฒนาแหลง& นํา้ ขนาดกลาง และเอกสารประกอบตามคําส่ังส.ป.ก. ที่ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ๘๕๕/๒๕61 ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ๒. สาํ นกั งานการปฏิรูปท่ีดินจงั หวดั - ตาม - รับคาํ ขออนุญาตใชทด่ี นิ เอกสารประกอบถูกตองครบถวน - ส.ป.ก.จังหวัด (ส.ป.ก.จงั หวดั ) มาตรฐาน - ตรวจสอบหลักฐานคําขออนุญาตใช ตามคําสั่งส.ป.ก. ท่ี ๘๕๕/๒๕61 ลง ของแต&ละ ทดี่ นิ ใหถกู ตองครบถวน วนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 หนว& ยงาน - สํานักจัดการแผนท่ีและสารบบท่ีดิน . (สผส.) ตรวจรปู แผนที่ รายการรงั วัดคํานวณ ทีด่ นิ ท่ขี ออนุญาตอยูใ& นเขตดําเนนิ การปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พรอมหมายเหตุใน หลกั ฐาน ลงรปู แผนที่ในแบบ ส.ป.ก.4-31 ก. โดย ส.ป.ก.จังหวัด เป<นผสู &งเอกสารให สผส. ๙

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอยี ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผร#ู บั ผดิ ชอบ - สาํ นักพัฒนาพืน้ ทีป่ ฏิรูปท่ีดิน (สพป.) ต ร ว จ ส อ บ พื้ น ที่ แ ล ะ ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ทางดานวิศวกรรม รวมทั้งพิจารณาการ ขอใชที่ดินว&า เป<นอุปสรรคขัดขวางงาน การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือไม& โดย ส.ป.ก.จังหวัด เป<นผูส&งเอกสารให สพป. ตรวจสอบในส&วนที่เก่ียวของ โดยตรง (โดยใชเอกสารประกอบการ พจิ ารณาตามที่ สพป. กําหนด) ๓. คปจ. พิจารณา - ตาม พิจารณาเรื่องการขออนุญาตใชที่ดินฯ - ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - คปจ. ใหความเห็นชอบ มาตรฐาน ประกอบกับความเห็นของ ส.ป.ก. - ส.ป.ก.จังหวัด ของแต&ละ จังหวัด โดยใหบันทึกขอมูลรายละเอียด หน&วยงาน ต&างๆ ท่ี คปจ. ใชพิจารณาในการประชุม เรื่องดังกล&าวใหปรากฏในรายงานการ ประชมุ โดยละเอยี ด เพ่ือเป<นขอมูลในการ นาํ เสนอผมู อี ํานาจพิจารณาอนญุ าตใหใชท่ดี ิน ๔. สํานักกฎหมาย (สกม.) รวบรวมหลกั ฐาน พิจารณาเสนอ - ตามมาตรฐานของแต&ละหน&วยงาน - สกม. ความเหน็ ประกอบการพจิ ารณาอนญุ าต ๑๐

ลําดับ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผ#รู บั ผดิ ชอบ ๕. -ตาม - พิจารณาอนุญาตกรณีขอใชที่ดินเพื่อ -ตามมาตรฐานของแตล& ะหนว& ยงาน - เลขาธกิ าร ส.ป.ก. มาตรฐาน กจิ การสาธารณปู โภคตามประเภทกิจการ - สกม. เลขาธิการ ส.ป.ก. ของแตล& ะ และจํานวนเน้ือที่ตามระเบียบฯ ในขอ ๖ - คปก. พจิ ารณาอนุญาต หน&วยงาน ถงึ ขอ ๑๖ - สกม. - คปก. พิจารณาอนุญาตกรณีขอใชที่ดิน เพื่อกิจการอื่นนอกจากขอ 6 ถึงขอ 16 หรือการขอใชท่ีดนิ เกินจาํ นวนทกี่ ําหนดไว - คณะอนุกรรมการพิจารณาการใหความ ยินยอมหรอื อนุญาตการใชประโยชน>ท่ีดิน ในเขตปฏิรูปท่ีดินตามท่ี คปก. จะ กําหนดใหเป<นผูพิจารณาอนุญาตแลว รายงานให คปก. ทราบ ๖. -ตาม เมื่อเลขาธิการ ส.ป.ก. คณะอนุกรรมการ -ตามมาตรฐานของแต&ละหน&วยงาน - เลขาธิการ ส.ป.ก. ออกหนงั สอื อนญุ าต มาตรฐาน พิจารณาการใหความยินยอมหรือ - ส.ป.ก.จังหวัด เลขาธกิ าร ส.ป.ก. ลงนาม ของแต&ละ อนุญาตการใชประโยชน>ท่ีดินในเขต หนว& ยงาน ปฏิรูปที่ดินหรือ คปก. พิจารณาอนุญาต ใหใชที่ดินแลว ใหสกม. แจงผลการ พิจารณาให ส.ป.ก.จังหวัดทราบ จัดทํา ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. นําเสนอเลขาธิการ ส.ป.ก. ลงนาม และจดั สง& ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. ๑๑

ลําดบั ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอยี ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผู#รับผดิ ชอบ -ตาม พรอม ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. ให ส.ป.ก.จังหวัด -ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - ส.ป.ก. จงั หวัด มาตรฐาน เพื่อมอบตนฉบับใหแก&ผูรับอนุญาต คู& - เลขาธิการ ส.ป.ก. ของแตล& ะ ฉบับเก็บรักษาไว ณ ส.ป.ก.จังหวัด และ หน&วยงาน สกม. ๗. -ตาม สํานักงานชลประทานที่ 1-17 หรือ -ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - ผส.ชป.๑-๑๗ สาํ นักงานชลประทานท่ี ๑–๑๗ มาตรฐาน สาํ นักพฒั นาแหล&งน้ําขนาดใหญ& หรือกอง - ผส.พญ. หรอื สํานักพฒั นาแหล&งนํา้ ขนาดใหญ& ของแตล& ะ พฒั นาแหล&งนํ้าขนาดกลาง ไดรับอนุญาต - ผอ.พก. หรือกองพัฒนาแหลง& น้าํ ขนาดกลาง หน&วยงาน ใหใชท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน เพื่อก&อสราง โครงการชลประทาน ๑๒

๖. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน รายละเอียดของข้นั ตอน ระเบยี บ เอกสาร บันทึก ผู#รบั ผดิ ชอบ เง่อื นไขการปฏบิ ัตงิ าน แนวทางแบบฟอร:มทใ่ี ช# ประเภทข้ันตอน - คําขออนุญาตใชท่ี ส.ป.ก. ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ก ๑. สํานักงานชลประทานที่ ๑–๑๗ ๑.๑ การยืน่ คําขออนญุ าต - พระราชบัญญัติการปฏิรปู - ผส.ชป.๑-๑๗ พรอมเอกสารประกอบ ถูกตองครบถวนตามคําส่ัง หรือสํานักพฒั นาแหล&งนํ้าขนาดใหญ& ๑ ) คํ า ข อ อ นุ ญ า ต ใ ช ท่ี ดิ น เ พื่ อ กิ จ ก า ร ท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. - ผส.พญ. ส.ป.ก. ที่ ๘๕๕/๒๕61 ลง วันท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. หรือกองพัฒนาแหล&งน้ําขนาดกลาง สาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปท่ีดิน ๒๕๑๘ - ผอ.พก. 2561 จัดทําคําขออนุญาตใชท่ีดินในเขต ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. จํานวน ๑ ฉบบั - ระเบียบคณะกรรมการ ปฏิรูปที่ดิน เพ่ือก&อสรางโครงการ ๒)บันทกึ รบั รองการปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขการไดรับอนุญาต ปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม ชลประทาน ใหใชทดี่ ินตามแบบส.ป.ก.๔-๓๐ก. จํานวน๓ฉบบั (คปก.) ว&าดวยการมอบหมาย ๓) แผนที่ภูมิประเทศแสดงจุดท่ีต้ังที่ดินแปลงท่ีย่ืน ใหเลขาธิการสํานักงานการ คําขออนุญาตฯ โดยใชระวางแผนท่ีทหาร มาตราส&วน ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ๑:๕๐,๐๐๐ ระบุทิศ ค&าพิกัด สัญลักษณ>และสถานที่ พิจารณาอนุญาตการใชท่ีดิน ขางเคียงใหถูกตองครบถวน โดยใหแสดงตําแหน&ง เพอ่ื กิจการสาธารณูปโภคและ แนวเขตบริเวณที่ขอใชดวยปากกาเขียนแผนที่ให กิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป ชัดเจน กรณีที่ผูย่ืนคําขอไม&สามารถจัดทําได ให ทด่ี ิน พ.ศ. ๒๕๓๖ ส.ป.ก.จังหวดั อํานวยความสะดวกให - คาํ ส่งั ส.ป.ก.ที่ ๘๕๕/๒๕61 ๔) แผนผังแสดงบริเวณและสิ่งก&อสรางในท่ีดิน ซึ่งผูขอ ลงวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม อนุญาตลงนามกํากับขนาดเอ๓หรือเอ๔จาํ นวน๓ ฉบบั พ.ศ. 2561 ๕) คําขอสละสิทธิที่ดิน คืน ส.ป.ก. ของบุคคลที่ - แบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. ไดรับสิทธิโดยการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม - แบบ ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. (ส.ป.ก.๔-๕๒ ก) กรณีมีการจัดท่ีดินแลว รวมทั้ง - แบบ ส.ป.ก.๔-๕๒ ก. หลักฐานการเพิกถอน หรือแกไขหนังสืออนุญาตให - คําส่ังกรมชลประทาน เขาทําประโยชนใ> นเขตปฏิรูปท่ดี ิน (ส.ป.ก.๔-๐๑) ที่ ข ๑5๑/255๕ 13

ประเภทข้ันตอน รายละเอยี ดของขนั้ ตอน ระเบยี บ เอกสาร บันทึก ผรู# ับผดิ ชอบ เงอ่ื นไขการปฏบิ ตั ิงาน แนวทางแบบฟอรม: ทีใ่ ช# ๖) หนงั สอื ยินยอมของผูถือครองที่ดินกรณีท่ีดินยัง ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ> 255๕ ไม&ไดจัด เรื่องมอบอํานาจดําเนินการ ๗) หลักฐานอ่ืนท่ีจําเป<น เช&น หนังสือมอบอํานาจ ขอใชที่ดินของรัฐทุกประเภท หนังสือจดทะเบียนมูลนิธิ นิติบุคคล ฯลฯ กรณีนี้ใช คําสั่งกรมชลประทาน ที่ ข ๑5๑/255๕ เรื่อง ม อ บ อํ า น า จ ดํ า เ น ิน ก า ร ข อ ใ ช ที ่ด ิน ข อ ง ร ัฐ ท ุก ประเภท ลงวันท่ี ๖ กมุ ภาพันธ> 255๕ ๘) ภาพถ&ายสภาพท่ีดินปจจุบัน และภาพถ&าย ส่ิงก&อสราง ๙) โครงการขอใชทดี่ ินของทางราชการ ๑.๒ เรื่องการขออนุญาตกรณีมีผลกระทบต&อ สิ่งแวดลอมตองผ&านความเห็นชอบจากชุมชน ทองถ่ินหรือกิจการใดหากมีกฎหมายระบุว&า ตอง ผ& า น ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง ห น& ว ย ง า น อ่ื น จ ะ ต อ ง มี ความเหน็ ของหนว& ยงานนนั้ ๆ ดวย ๑.๓ การใชท่ีดินเพื่อก&อสรางหรือปรับปรุงแหล&ง นํ้าเพื่อการประกอบเกษตรกรรม เช&น ขุดคู คลอง สระเก็บน้ํา ฝาย อ&างเก็บนํ้า เป<นตน ใหใชไดตาม จาํ นวนเนื้อทที่ ่จี ําเป<นแกก& ารนนั้ 14

ประเภทขั้นตอน รายละเอียดของข้นั ตอน ระเบยี บ เอกสาร บนั ทกึ ผ#รู ับผดิ ชอบ เงอื่ นไขการปฏิบตั งิ าน แนวทางแบบฟอรม: ทใี่ ช# ๒. สาํ นกั งานการปฏริ ปู ทดี่ นิ จังหวดั ๒. รบั คําขออนุญาตใชท่ีดิน และตรวจสอบหลักฐาน - พระราชบญั ญัติการปฏริ ูป - ส.ป.ก.จังหวัด (ส.ป.ก.จังหวดั ) คําขออนุญาตใชท่ีดินใหถูกตองครบถวนรวมท้ัง ท่ีดนิ เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ดาํ เนนิ การตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ ดงั ต&อไปน้ี ๒๕๑๘ ๒.๑ กรณีท่ีดินที่ขอใชไดดําเนินการจัดที่ดินแลว - ระเบียบคณะกรรมการ ใหแจงผูขออนุญาตว&าไม&อนุญาต เวนแต& กิจการที่ ปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม ขออนุญาตเป<นกิจการ เกี่ยวกับความม่ันคงของ (คปก.) ว&าดวยการมอบหมาย ประเทศเพื่อสาธารณประโยชน>หรือกิจการซ่ึงผูขอ ใหเลขาธิการสํานักงานการ อนุญาตไดหาท่ีดินแปลงอ่ืนทดแทนใหแลว ให ปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม ดาํ เนินการตามขั้นตอนการสละสทิ ธิ พิจารณาอนุญาตการใชท่ีดิน ๒.๒ กรณีท่ีดินที่ขอใชยังไม&ไดดําเนินการจัดท่ีดิน เพือ่ กจิ การสาธารณูปโภคและ แต&มีผูครอบครอง ใหจัดทําหนังสือยินยอมของผู กิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป ครอบครองทีด่ ิน ท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๓๖ 2.3 ตรวจสอบที่ดินแปลงขางเคียงโดยรอบที่ขอ -คาํ สั่ง ส.ป.ก. ท่ี ๘๕๕/๒๕61 อนุญาตใช ผูใดครอบครอง ไดรับการจัดที่ดินแลว ลงวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม หรือไมอ& ยา& งไร พรอมระบปุ ระเภทการทาํ ประโยชน> พ.ศ. 2561 หากปรากฏว&าผูขออนุญาตเป<นผูครอบครองใหรวม - ระเบียบ คปก.ว&าดวยการให เน้ือที่ท้ังหมดแลวย่ืนคําขอใชท่ีดิน มาในคราว เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู เดียวกนั ไดรับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดิน 2.4 กรณีมีลักษณะการใชที่ดินเหนือพื้นดิน เพื่อเกษตรกรรมปฏิบัติเก่ียวกับ หรือใตพ้ืนดิน เช&นการวางท&อส&งนํ้าเพ่ือการประปา การเขาทําประโยชนใ> นทด่ี ิน พ.ศ. หรือการชลประทาน หากเกษตรกรยังสามารถใช ๒๕๓๕(ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๔๐ 15

ประเภทข้ันตอน รายละเอยี ดของขัน้ ตอน ระเบียบ เอกสาร บนั ทึก ผู#รับผิดชอบ เง่ือนไขการปฏบิ ัติงาน แนวทางแบบฟอรม: ท่ีใช# ประโยชนใ> นทีด่ นิ บริเวณที่ขอใชได และการใชท่ีดิน เป<นเพียงการรอนสิทธิบางส&วน ใหจัดทําเป<น หนังสือยินยอมจากเกษตรกรโดยไม&ตองสละสิทธิ เพ่ือมิใหเกษตรกรตองส้ินสิทธิ หากไม&สามารถใช ประโยชน>ในที่ดินบริเวณท่ีขอใชไดตองดําเนินการ ตามขนั้ ตอนการสละสทิ ธิ เช&นเดียวกับขอ ๒.๑ 2.5 กรณีขอใชท่ีดินลักษณะเป<นการช่ัวคราวและมี กําหนดระยะเวลาไม&เกิน ๕ ปh และมีการใชที่ดินเน้ือ ท่ีไม&มาก หากไม&กระทบต&อการประกอบเกษตรกรรม ของเกษตรกร ใหจัดทําเป<นหนังสือยินยอมจาก เกษตรกรโดยไม&ตองสละสิทธิเพื่อมิใหเกษตรกรตอง สิ้นสิทธิ โดยใหนําเสนอคณะกรรมการปฏิรูปที่ดิน จงั หวัด (คปจ.) พิจารณาและเห็นชอบเป<นหลักการว&า เมื่อผูรับอนุญาตส&งมอบท่ีดินคืน ส.ป.ก. แลว ให เกษตรกรดังกล&าวสามารถกลับเขาทําประโยชน>ใน ทด่ี ินไดทันที โดยไมต& องเสนอ คปจ. อีก ๒.๖ กรณีผูขออนุญาตเขาไปใชประโยชน>อย&ูก&อน พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปท่ีดิน ให ตรวจสอบหลักฐานการเขาใชประโยชน> ว&าไดรับ อนุญาตจากหน&วยราชการหรือไม& และเขาใช ประโยชน>ตงั้ แตเ& มอื่ ใด 16

ประเภทขน้ั ตอน รายละเอียดของขนั้ ตอน ระเบยี บ เอกสาร บันทึก ผู#รบั ผิดชอบ เงอื่ นไขการปฏิบตั งิ าน แนวทางแบบฟอร:มท่ใี ช# 2.7 เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อ - สผส. เกษตรกรรม (เลขาธิการ ส.ป.ก.) มีอํานาจเรียกเก็บ - สพป. ค&าตอบแทนการใชประโยชน> ๒.๘ สํานักจัดการแผนท่ีและสารบบที่ดิน (สผส.) - ระเบียบ ส.ป.ก. วา& ดวย ตรวจรูปแผนท่ี รายการรังวัดคํานวณ ท่ีดินที่ขอ การควบคุมตําแหนง& ท่ีดิน อนุญาตอย&ูในเขตดําเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ เกษตรกรรม พรอมหมายเหตุในหลักฐาน ลงรูป แผนท่ีในแบบ ส.ป.ก.4-31 ก. โดย ส.ป.ก.จังหวัด เป<นผูส&งเอกสารให สผส. ก&อนนําเสนอ คปจ. พิจารณาใหความเหน็ ชอบ ๒.๙ สํานักพัฒนาพื้นที่ปฏิรูปท่ีดิน (สพป.) - ระเบยี บ ส.ป.ก. ว&าดวย ตรวจสอบพื้นที่และความเหมาะสมทางดาน มาตรฐานระวางแผนท่ีและ วิศวกรรม รวมท้ังพิจารณาการขอใชที่ดินว&า เป<น แผนทร่ี ปู แปลงทีด่ นิ ในท่ดี ิน อุป ส ร ร ค ขั ด ข ว า ง ง า น ก า ร ป ฏิ รู ป ท่ี ดิ น เ พื่ อ ของรฐั พ.ศ. 2557 เกษตรกรรมหรือไม&โดย ส.ป.ก.จังหวัด เป<นผูส&ง - ตามแบบที่ สพป. กาํ หนด เอกสารให สพป. ตรวจสอบในส&วนที่เกี่ยวของ โดยตรง (โดยใชเอกสารประกอบการพิจารณา ตามท่ี สพป. กําหนด) ก&อนนําเสนอ คปจ. พจิ ารณาใหความเห็นชอบ 17

ประเภทข้ันตอน รายละเอียดของขัน้ ตอน ระเบียบ เอกสาร บันทกึ ผู#รับผดิ ชอบ เงือ่ นไขการปฏบิ ตั งิ าน ๓. คปจ. พิจารณาใหความ แนวทางแบบฟอรม: ทใ่ี ช# เห็นชอบ - พิจารณาใหความเห็นชอบเรื่องการขออนุญาตใช - พระราชบญั ญตั ิการปฏิรปู - คปจ. ๔. สํานักกฎหมาย (สกม.) ๕. เลขาธิการ ส.ป.ก. ท่ีดินฯประกอบกับความเห็นของ ส.ป.ก.จังหวัด ทีด่ ินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. - ส.ป.ก.จังหวัด พิจารณาอนญุ าต โดยใหบันทึกขอมูลรายละเอียดต&างๆ ท่ี คปจ. ใช ๒๕๑๘ พิจารณาในการประชุมเรื่องดังกล&าวใหปรากฏใน - ระเบียบคณะกรรมการ รายงานการประชุมโดยละเอียด เพื่อเป<นขอมูลใน ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การนาํ เสนอผูมอี ํานาจพจิ ารณาอนญุ าตใหใชทด่ี นิ (คปก.) ว&าดวยการมอบหมาย ใหเลขาธิการสํานักงานการ - รวบรวมหลักฐาน พจิ ารณาเสนอ ปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม - สกม. ความเห็นประกอบการพจิ ารณาอนญุ าต พิจารณาอนุญาตการใชที่ดิน เพ่อื กจิ การสาธารณูปโภคและ - พิจารณาอนุญาต กรณีขอใชที่ดินเพ่ือกิจการ กิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป - สกม. สาธารณูปโภคตามประเภทกิจการและจํานวนเนื้อ ทดี่ นิ พ.ศ. ๒๕๓๖ - ส.ป.ก.จังหวัด ทต่ี ามระเบยี บฯ ในขอ ๖ ถงึ ขอ ๑๖ -คําส่ัง ส.ป.ก. ที่ ๘๕๕/๒๕61 - คปก. พิจารณาอนุญาต กรณีขอใชท่ีดินเพื่อ ลงวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม กิจการอื่นนอกจากขอ 6 ถึงขอ 16 หรือการขอใช พ.ศ. 2561 ที่ดนิ เกินจาํ นวนท่กี ําหนดไว - คณะอนุกรรมการพิจารณา การใหความยินยอม หรอื อนญุ าตการใชประโยชน>ท่ดี ินในเขตปฏิรปู ที่ดิน ตามที่ คปก. จะกําหนดใหเป<นผูพิจารณาอนุญาต แลวรายงานให คปก. ทราบ 18

ประเภทข้นั ตอน รายละเอียดของข้ันตอน ระเบียบ เอกสาร บันทกึ ผู#รบั ผดิ ชอบ เงอื่ นไขการปฏิบัติงาน แนวทางแบบฟอรม: ทใี่ ช# ๖. ออกหนงั สืออนญุ าต - เม่ือเลขาธิการ ส.ป.ก. คณะอนุกรรมการพิจารณา - ตนฉบับ ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. - เลขาธกิ ารส.ป.ก. การใหความยินยอมหรืออนุญาตการใชประโยชน> - คฉู& บบั ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. - ส.ป.ก.จงั หวัด ท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดินหรือ คปก. พิจารณาอนุญาต - สผส. ใหใชที่ดินแลว ให สกม. แจงผลการพิจารณาให ส.ป.ก.จังหวัดทราบ จัดทํา ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. นาํ เสนอเลขาธิการส.ป.ก. ลงนาม และจัดส&ง ส.ป.ก. ๔-๓๑ ก. พรอม ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. ให ส.ป.ก.จังหวัด เพื่อมอบตนฉบับใหแก&ผูรับอนุญาต ค&ูฉบับเก็บ รักษาไว ณ ส.ป.ก.จงั หวดั และ สกม. ๗. สาํ นักงานชลประทานที่ ๑–๑๗ - สํานักงานชลประทานที่ 1-17 หรือสํานักพัฒนา - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว&า - ผส.ชป.๑-๑๗ หรอื สํานักพฒั นาแหล&งน้ําขนาดใหญ& แหล&งนํ้าขนาดใหญ& หรือกองพัฒนาแหล&งนํ้าขนาด ดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ - ผส.พญ. หรือกองพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดกลาง กลาง ไดรับอนุญาตใหใชที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน และทีแ่ กไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. - ผอ.พก. ไดรับหนังสืออนุญาตใหใชที่ดินใน (ส.ป.ก.) เพ่ือกอ& สรางโครงการชลประทาน ๒๕๔๘ เขตปฏริ ปู ทดี่ นิ (ส.ป.ก.) 19

๗. ระบบตดิ ตามประเมินผล มาตรฐาน/คณุ ภาพงาน วิธีการติดตามประเมนิ ผล ผ#ูตดิ ตาม/ ขอ# เสนอแนะ ประเมินผล กระบวนการ ๑. สํานักงานชลประทานที่ ๑–๑๗ - ตามแบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก. และเอกสาร - ประสานติดตามทางหนังสือโทรศัพท> - ผส.ชป.๑-๑๗ หรือสํานักพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดใหญ& ประกอบตามคาํ ส่ังส.ป.ก. ที่ ๘๕๕/๒๕61 โทรสารฯ เป<นตน - ผส.พญ. หรือกองพัฒนาแหล&งน้ําขนาดกลาง ลงวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 - ผอ.พก. จัดทําคําขออนุญาตใชท่ีดินในเขต ปฏิรูปท่ีดิน เพื่อก&อสรางโครงการ ชลประทาน ๒. สํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด - ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - ประสานติดตาม - ผส.ชป.๑-๑๗ (ส.ป.ก.จังหวัด) รับคําขออนุญาตใช - ผส.พญ. ที่ดิน และตรวจสอบหลักฐานคําขอ - ผอ.พก. อนญุ าตใชท่ีดินใหถูกตองครบถวน ๓. คปจ. พิจารณาใหความเห็นชอบ - ตามมาตรฐานของแต&ละหน&วยงาน - ประสานติดตาม - ผส.ชป.๑-๑๗ เร่ืองการขออนุญาต ประกอบกับ - ผส.พญ. ความเห็นของ ส.ป.ก.จังหวัด - ผอ.พก. ๔. สํานักกฎหมาย (สกม.) รวบรวม - ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - ประสานติดตาม - ผส.ชป.๑-๑๗ หลักฐาน พิจารณาเสนอความเห็น - ผส.พญ. ประกอบการพิจารณาอนุญาต - ผอ.พก. 20

กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล ผู#ตดิ ตาม/ ขอ# เสนอแนะ ประเมินผล ๕. เลขาธิการ ส.ป.ก.พิจารณาอนุญาต - ตามมาตรฐานของแตล& ะหนว& ยงาน - ประสานตดิ ตาม - ผส.ชป.๑-๑๗ กรณีขอใชท่ีดนิ เพ่ือกจิ การสาธารณปู โภค - ผส.พญ. ตามประเภทกิจการและจํานวนเน้ือที่ - ผอ.พก. ตามระเบียบฯ ในขอ ๖ ถึงขอ ๑๖ - ผส.ชป.๑-๑๗ ๖. ออกหนังสืออนุญาต - เม่ือเลขาธิการ - ตามมาตรฐานของแตล& ะหน&วยงาน - ประสานตดิ ตาม - ผส.พญ. ส.ป.ก. หรอื คปก. หรือคณะอนุกรรมการ - ผอ.พก. พจิ ารณาอนญุ าตใหใชท่ดี ินแลว ใหสกม. แจงผลการพิจารณาให ส.ป.ก.จังหวัด - ผส.ชป.๑-๑๗ ทราบ จดั ทํา ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. นาํ เสนอ - ผส.พญ. เลขาธิการ ส.ป.ก. ลงนาม และจดั สง& - ผอ.พก. ส.ป.ก.๔-๓๑ ก. พรอม ส.ป.ก.๔-๓๐ ก. ให ส.ป.ก.จังหวดั เพ่ือมอบตนฉบบั ใหแกผ& รู บั อนุญาต คฉ&ู บบั เก็บรกั ษาไว ณ ส.ป.ก.จงั หวัด และ สกม. ๗. สํานักงานชลประทานที่ 1-17 - หนงั สอื ภายนอก - ประสานตดิ ตาม หรือสํานักพัฒนาแหล&งนํ้าขนาดใหญ& - ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วา& ดวยงานสาร หรือกองพัฒนาแหล&งน้ําขนาดกลาง บรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และท่ีแกไขเพิ่มเติมฉบบั ท่ี ๒ ไดรับอนุญาตใหใชท่ีดินในเขตปฏิรูป พ.ศ.๒๕๔๘ ทดี่ นิ (ส.ป.ก.) 21

๘. เอกสารอ#างอิง ๘.๑ กฎหมาย มตคิ ณะรัฐมนตรี ระเบียบ คําสัง่ ประกาศ ๑. พระราชบญั ญตั ิการปฏริ ูปทีด่ นิ เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ๒. กฎกระทรวงแบ&งส&วนราชการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ> พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ระเบียบคณะกรรมการปฏริ ูปท่ดี ินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) วา& ดวยการมอบหมายใหเลขาธิการ สาํ นกั งานการปฏริ ูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมพิจารณาอนุญาตการใชที่ดินเพ่ือกจิ การสาธารณูปโภค และกจิ การอน่ื ๆ ในเขตปฏริ ูปท่ีดนิ พ.ศ. ๒๕๓๖ ๔. ระเบยี บคณะกรรมการปฏริ ูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ว&าดวยการใหเกษตรและสถาบัน เกษตรกรผูไดรับทีด่ ินจากการปฏิรูปที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรมปฏิบัติเก่ียวกับการเขาทาํ ประโยชน>ใน ทด่ี ิน พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ ๕. คําสงั่ สาํ นกั งานการปฏิรูปทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม ท่ี ๘๕๕/๒๕61 ลงวนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เรื่อง การกําหนดแบบและข้ันตอนแนวทางปฏบิ ัติในการพิจารณาคาํ ขออนุญาตใชทด่ี ิน เพือ่ กจิ การสาธารณูปโภคและกจิ การอื่น ๆ ในเขตปฏริ ูปทด่ี ิน ๖. คาํ สัง่ กรมชลประทานที่ ข ๑5๑/255๕ ลงวนั ที่ ๖ กมุ ภาพนั ธ> 255๕ เรอื่ ง มอบอํานาจใน การดาํ เนนิ การขอใชทด่ี ินของรฐั ทุกชนดิ ๗. คาํ สั่งกรมชลประทานที่ ๖๐/255๘ ลงวันท่ี ๗ เมษายน 255๘ เรอ่ื ง การแบง& งานและการ กําหนดหนาที่ความรับผดิ ชอบของหนว& ยงานภายในสํานักและกอง ๘. คําส่งั กรมชลประทานท่ี ๘๖/255๘ ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม 255๘ เรือ่ ง การแบ&งงานและ การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของสาํ นักกฎหมายและทีด่ ิน รายละเอยี ดตามเอกสารภาคผนวกท่ีแนบ 9. แบบฟอรม: ทใ่ี ช# ๑. แบบ คําขออนุญาตใชท่ีดินเพ่ือกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน (แบบ ส.ป.ก.๔-๒๙ ก.) ๒. บันทึกรับรองการปฏิบัติตามเง่ือนไขการไดรับอนุญาตใหใชท่ีดิน (แบบ ส.ป.ก.๔-๓๐ ก.) ๓. คาํ ขอสละสทิ ธทิ ่ดี นิ ของบุคคลท่ีไดรับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.๔-๕๒ ก) ๔. หนังสอื อนุญาตใหใชท่ีดนิ เพ่อื กิจการสาธารณปู โภคและกิจการอืน่ ๆ ในเขตปฏริ ูปทีด่ ิน (แบบ ส.ป.ก.๔-๓๑ ก.) รายละเอยี ดตามเอกสารภาคผนวกทีแ่ นบ ๒๒

ภาคผนวก ภาคผนวก ๑ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ คําสัง่ ประกาศ ภาคผนวก ๒ ตวั อยางแบบฟอร:มกระบวนงานการขอใชท# ี่ ส.ป.ก. ภาคผนวก ๓ รายชือ่ ผ#จู ดั ทาํ ๒๓

ภาคผนวก ๑ กฎหมาย มติคณะรฐั มนตรี ระเบยี บ คาํ สั่ง ประกาศ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ คําสั่ง ประกาศ ๑. พระราชบญั ญัติการปฏิรปู ทีด่ ินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ๒. กฎกระทรวงแบ&งสว& นราชการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ+ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ระเบียบคณะกรรมการปฏริ ปู ทด่ี ินเพ่ือเกษตรกรรม (คปก.) ว&าด2วยการมอบหมายใหเ2 ลขาธิการ สํานักงานการปฏริ ูปท่ีดนิ เพ่ือเกษตรกรรมพิจารณาอนุญาตการใช2ทดี่ ินเพ่ือกจิ การสาธารณปู โภค และกจิ การอ่นื ๆ ในเขตปฏิรูปท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๓๖ ๔. ระเบยี บคณะกรรมการปฏริ ูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (คปก.) วา& ดว2 ยการใหเ2 กษตรและสถาบัน เกษตรกรผู2ไดร2 บั ท่ีดินจากการปฏริ ูปทด่ี ินเพ่ือเกษตรกรรมปฏิบัตเิ ก่ียวกับการเข2าทําประโยชน+ใน ทีด่ ิน พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ ๕. คาํ สัง่ สาํ นกั งานการปฏิรูปทดี่ ินเพ่ือเกษตรกรรม ที่ ๘๕๕/๒๕61 ลงวนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เรอ่ื ง การกําหนดแบบและขั้นตอนแนวทางปฏบิ ัตใิ นการพจิ ารณาคําขออนญุ าตใชท2 ด่ี ิน เพอื่ กจิ การสาธารณูปโภคและกิจการอ่ืน ๆ ในเขตปฏริ ปู ทด่ี ิน ๖. คาํ ส่ังกรมชลประทานที่ ข ๑5๑/255๕ ลงวนั ที่ ๖ กมุ ภาพนั ธ+ 255๕ เรือ่ ง มอบอาํ นาจใน การดําเนินการขอใช2ที่ดินของรัฐทกุ ชนดิ ๗. คาํ สง่ั กรมชลประทานที่ ๖๐/255๘ ลงวนั ท่ี ๗ เมษายน 255๘ เรื่อง การแบง& งานและการ กําหนดหนา2 ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของหนว& ยงานภายในสํานักและกอง ๘. คาํ สั่งกรมชลประทานท่ี ๘๖/255๘ ลงวนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม 255๘ เรือ่ ง การแบ&งงานและ การกาํ หนดหนา2 ทค่ี วามรับผิดชอบของสาํ นักกฎหมายและทีด่ นิ รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกทแ่ี นบ 24

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานพครณะระกาชรรบมญั กญารตักิฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า การปฏริ ูปท่ีดนิ เพ่อื เกษตรกรรม สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาพ.ศ. ๒๕๑๘สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. สาํ นักงานคณะกรใรหม้ไกวา้ รณกฤวษันฎทกี ี่ า๑๔ กุมภาพันสธํา์ นพัก.ศงา.น๒ค๕ณ๑ะก๘รรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สเปําน็นักปงีทานี่ ๓คณ๐ะใกนรรรมชั กกาารลกปฤจั ษจฎบุ ีกันา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นพักงราะนบคาณทะสกมรเรดม็จกพารรกะฤปษรฎมกีินาทรมหาภูมิพลสอํานดักุลงยาเนดคชณมะกีพรรระมบกรารมกรฤาษชฎโอีกงาการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศวา่ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า โดยท่เี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยการปฏริ ูปท่ีดนิ เพ่ือเกษตรกรรม สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิข้นึ ไวโ้ ดยคาํ แนะนําและยินยอม สํานกั งานขคอณงสะภกรารนมิตกบิ าญัรกญฤษตั ฎิแีกหา่งชาติทําหนา้ ทสํา่ีรนัฐักสงภาานคดณังตะกอ่ รไรปมนก้ี ารกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นมักงาาตนรคาณะ๑กรรพมกราะรรกาฤชษบฎกีัญาญัติน้ีเรียกวส่าําน“กั พงารนะครณาะชกรบรัญมกญารัตกิกฤาษรฎปกี าฏิรูปท่ีดินเพ่ือ สํานักงานเกคษณตะรกกรรรมรมกาพรก.ศฤ.ษ๒ฎ๕กี า๑๘” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นมกั างาตนรคาณ๒ะก๑ รรพมรกะารรกาชฤษบฎัญกี ญา ัตินี้ให้ใช้บังคสําับนตัก้ังงแานตค่วณันะถกัดรจรามกกวารันกปฤรษะฎกกี าาศในราชกิจจา นเุ บกษาเปน็ ต้นไป สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎและข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วใน พระราชบญั ญสัตําินนี้ ักหงราือนซคึง่ณขะดั กหรรรมอื กแายรง้ กกฤบั ษบฎทีกแา หง่ พระราชบสญั ํานญักัตงาินนี้ คใหณ้ใะชกพ้ รรรมะรกาารชกบฤัญษญฎีกัตาินแี้ ทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษมฎาตีการา ๔ ในพระสรําานชกั บงัญานญคัตณินะกี้ รรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า “การปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายความว่า การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และ การถือครองในสทํานี่ดักินงเาพน่ือคณเกะษกตรรรมกกรารรมกฤรษวฎมกีตาลอดถึงการจัดสําทน่ีอักยงู่อานาคศณัยใะนกรทรี่ดมินกเาพรกื่อฤเกษษฎกีตารกรรมน้ัน โดย สาํ นกั งานรัฐคนณําะทก่ีดรรินมขกอางรรกัฐฤษหฎรกี อื าที่ดินที่รฐั จดั ซสื้อําหนกัรืองาเนวคนณคืนะกจรารกมเกจา้ารขกอฤงษทฎี่ดีกินา ซ่ึงมิได้ทําปรสะํานโยักชงานน์ใคนณทะี่ดกินรนรมั้นกดา้วรยกฤษฎกี า ตนเอง หรือมีที่ดินเกินสิทธิตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือจัดให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีท่ีดินของตนเองหรือ เกษตรกรที่มีทสี่ดาํ นินักเลงา็กนนค้อณยะไกมร่เรพมียกงาพรกอฤแษกฎ่กกี าารครองชีพแลสะําสนถักางาบนันคเณกะษกตรรรกมรกไาดรก้เชฤ่าษซฎื้อกี าเช่าหรือเข้าทํา ประโยชน์โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุงทรัพยากรและปัจจัย สาํ นักงานกคารณผะลกติรรตมลกอารดกจฤนษกฎาีกราผลิตและการสจําาํ นหักนง่าานยคใหณเ้ ะกกิดรผรลมดกียารงิ่ กขฤึน้ ษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “เขตปฏริ ูปที่ดนิ ” หมายความว่า เขตท่ีดินท่ีพระราชกฤษฎีกากําหนดเป็นเขตปฏิรูป ทดี่ ินเพอื่ เกษตสราํกนรกั รงมานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๑ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๙๒/ตอนท่ี ๕๔/ฉบบั พิเศษ หนา้ ๑๐/๕ มีนาคม ๒๕๑๘

- ๒ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ท่ีดินของรัฐ” หมายความว่า บรรดาที่ดินทั้งหลายอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน สาํ นกั หงรานือคสณาะธการรรณมกสามรบกฤัตษิขฎอกี งาแผ่นดินตามปสํารนะักมงวานลคกณฎะหกมรรามยกแาพรก่งฤแษลฎะกีพาาณิชย์ และทส่ีดาํ นินักใงนาเนขคตณปะ่ากสรรงมวกนารกฤษฎกี า แห่งชาติ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อนุมัติให้บุคคลเข้าอยู่อาศัยหรือทํา ประโยชน์ ตามกฎสหาํ นมกั างยาวนา่ คดณว้ ะยกปรา่รสมงกวานรกแฤหษง่ ฎชกีาาติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “เจา้ ของที่ดนิ ” หมายความว่า ผูม้ ีสิทธิในท่ีดนิ ตามประมวลกฎหมายทด่ี ิน สํานกั งานคณะกรรมการก“ฤเกษษฎตีกรากรรม” หมาสยําคนวักางมาวน่าคณกาะกรทรรํามนกาารทกําฤไษรฎ่ ทีกําาสวน เล้ียงสัตสวํา์ นเลัก้ียงางนสคัตณว์นะกํ้ารรแมลกะารกฤษฎีกา กนิจุเบกกาษราอ่ืนตามทส่ีราํ ัฐนมักนงาตนรคีวณ่าะกการรรมกกราะรทกฤรษวงฎเกี กาษตรและสหสกํารนณักง์กาํานหคณนะดกรโรดมยกปารรกะฤกษาฎศีกใานราชกิจจา สาํ นกั งานคณะกรรมการก“ฤเกษฎษีกตารกร”๒ หมาสยําคนวักางามนวค่าณะผกู้ปรรรมะกกาอรกบฤอษาฎชีกีพา เกษตรกรรมสําเนปัก็นงหานลคักณะแกลรระมใกหา้ รกฤษฎกี า หมายความรวมถึงบุคคลผู้ยากจนหรือผู้จบการศึกษาทางเกษตรกรรม หรือผู้เป็นบุตรของเกษตรกร บรรดาซ่ึงไม่มีที่ดสินํานเพักื่องาเนกคษณตะรกกรรรรมมกเาปรก็นฤขษอฎงีกตานเองและปรสะําสนงักคง์จานะคปณระะกกรอรบมอกาารชกีพฤเษกฎษกี ตารกรรมเป็น หลัก ตามหลกั เกณฑ์และเงือ่ นไขทีก่ ําหนดในพระราชกฤษฎกี าดว้ ย สํานักงานคณะกรรมการก“ฤสษถฎากี บาันเกษตรกร”สําหนกัมงาายนคคณวาะมกรวร่ามกกาลรุ่มกฤเกษษฎีกตารกร สหกรณส์กํานารักเงกานษคตณระกชรุมรนมกุมารกฤษฎีกา สหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าดว้ ยสหกรณ์ ส“าํ กนากั รงเาชน่าคทณี่ดะินกรเรพม่ือกเากรษกฤตษรฎกีกรราม” หมายควสาํามนกัวง่าานกคาณรเะชก่ารหรมรืกอากรากรฤเษชฎ่าีกชา่วงโดยได้รับ ความยินยอมจากผู้ให้เช่าซ่ึงท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม ไม่ว่าการเช่าหรือเช่าช่วงนั้นจะมีหลักฐานเป็น สํานกั หงนานังคสณือะหกรรือรไมมก่การ็ตกาฤมษแฎลีกาะหมายความสรําวนมักถงึงากนาครณยะินกยรรอมมกใาหร้ใกชฤ้ทษ่ีดฎินกี าเพ่ือเกษตรกรสราํมนักโดงายนไคดณ้รับะกคร่ารเมชก่าารกฤษฎกี า ท่ีดนิ และการทํานสาํิตนิกักรงรามนอคื่นณใะดกเรพร่ือมเกปารน็ กกฤาษรฎอกีําาพรางการเชา่ ดสงัํากนลัก่างาวนคณะกรรมการกฤษฎีกา “ค่าเช่าที่ดิน” หมายความว่า ผลิตผลเกษตรกรรม เงิน หรือทรัพย์สินอื่นใด ซึ่งเป็น สํานกั คง่าานตคอณบะแกทรนรมกกาารรเกชฤ่าษทฎี่ดีกินา และหมายคสวําานมกั รงวามนคถณึงปะกระรรโมยกชานร์อกื่นฤษใดฎอีกันา อาจคํานวณสเปําน็นักเงงาินนไคดณ้ทะี่ผกู้ใรหร้เมชก่าารกฤษฎีกา ท่ีดินหรือบคุ คลอน่ื ได้รบั เพ่ือตอบแทนการให้เช่าท่ีดินท้ังโดยทางตรงหรือทางอ้อม ส“ําเนจกั ้างขาอนงคทณ่ีดะินกรผรู้ปมรกะากรกอฤบษเฎกีกษาตรกรรมด้วยสตํานนเกัองงา”นคหณมะากยรครมวากมารวก่าฤเษจฎ้าีกขาองท่ีดินผู้ซึ่ง ดําเนินการผลิตด้านเกษตรกรรม โดยเป็นผู้ลงทุนและได้ผลประโยชน์จากการผลิตนั้นโดยตรง และไม่ สาํ นกั เงปา็นนผคู้ใณหะ้เกชร่ารทม่ีดกนิ ารนกนั้ ฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า “บุคคลในครอบครัวเดียวกัน” หมายความว่า คู่สมรส และผู้สืบสันดานท่ียังไม่บรรลุ นติ ภิ าวะ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ปฏิบัติการตาม สํานกั พงรานะคราณชะบกญัรรญมกตั าินรี้กฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ส“ําคนณกั งะากนรครณมะกการรร”มกหามรกาฤยษคฎวาีกมาวา่ คณะกรรสมํากนากั รงปานฏคริ ณปู ะทกด่ี รินรมเพก่ือารเกกษฤษตฎรกีการรม “คณะกรรมการปฏิรูปที่ดนิ จังหวดั ”๓ (ยกเลกิ ) สํานกั งานคณะกรรมการก“ฤรษัฐมฎนีกาตร”ี หมายควสาํามนวกั ่างารนัฐคมณนะตกรรผี รู้รมักกษารากกฤาษรฎตีกาามพระราชบัญญสําัตนินักี้งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมําานตักรงาาน๕คณ๔ ะใกหรร้รมัฐกมานรกตฤรษีว่ฎากีกาารกระทรวงกสาํารนคักลงาังนรคัฐณมะนกรตรรมีวก่าากรากรฤกษรฎะกี ทา รวงเกษตร และสหกรณ์ และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย รกั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๒ มาตรา ๔ นิยามคําว่า “เกษตรกร” แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ เกษตรกรรม (ฉบบั ทสี่ ํา๓น)ักพง.าศน.ค๒ณ๕ะ๓ก๒รรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓ มาตรา ๔ นิยามคําว่า “คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด” ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการ สํานักปงฏานิรปูคทณ่ดี ะินกเรพร่ือมเกกษารตกรฤกษรรฎมีกา(ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศส. ํา๒น๕กั ๓ง๒านคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๓ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ในส่วนท่ีเก่ียวกับ สาํ นกั องําานนคาจณหะนกร้ารทมข่ี กอางรแกฤตษ่ลฎะกีการะทรวง สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กฎกระทรวงนั้น เมอื่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คับได้ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า หมวด ๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งาสนํากนากั รงปานฏคิรณปู ทะก่ีดรนิ รเมพก่ือารเกกษฤษตฎรกีกรารม สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรากี า๖ ให้จัดตั้งสสําํานนักักงงาานนคกณาระปกรฏริรมูปกทาร่ีดกินฤเษพฎ่ือีกเกา ษตรกรรมขึ้นสใํานนกักรงาะนทครณวะงกเกรษรมตกรารกฤษฎกี า และสหกรณ์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ เรียก โดยย่อวา่ ส.ป.ก.สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรีกาา๗ ให้ ส.ป.กส.ํานเปักง็นาทนคบณวงะกกรารรมเมกาือรงกฤมษีฐฎากีนาะเทียบเท่ากรสมาํ นโักดงยานมคีเลณขะการธริกมากรารกฤษฎีกา สํานักงานการปฏิรปู ทีด่ นิ เปน็ หวั หนา้ สํานกั งาน สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๘ ให้ ส.ป.ก. มีอํานาจหน้าท่ีดําเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม สาํ นกั พงรานะคราณชะบกญัรรญมกตั านิ ร้ีกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๙ ให้จัดต้ังกองทุนข้ึนกองทุนหนึ่ง เรียกว่า กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อ สาํ นักเงกาษนคตณรกะกรรรรมมกใานรกกฤรษะฎทีกราวงการคลัง ปสํารนะกั กงอานบคดณ้วะยกเรงรินมแกลาระกทฤรษัพฎีกยา์สินตามมาตรสาาํ น๑ัก๐งานเพคณื่อะเปกร็นรทมุกนารกฤษฎกี า หมนุ เวียนและใชจ้ า่ ยเพอ่ื การปฏริ ปู ท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม สรําานยกั ไงดา้ทนค่ี สณ.ปะก.กรร. มไดกา้รรับกจฤาษกฎกกี าารปฏิรูปที่ดินสเพําน่ือักเกงาษนตครณกะรกรรมรใมหก้นารํากสฤ่งษเขฎ้ากี บาัญชีกองทุน การปฏริ ูปทีด่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม โดยไมต่ ้องนําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน สํานักงานคณะกรรมการกกฤาษรใฎชีก้จา่ายเงินของกสอํางนทกั ุนงากนาครณปะฏกิรรูปรมทก่ีดาินรกเพฤษื่อฎเกีกษาตรกรรมให้กสราํ ะนทักํางาไนดค้เฉณพะกาะรรกมากรารกฤษฎกี า ปฏิรูปท่ดี ินเพ่ือเกษตรกรรมตามระเบยี บท่รี ัฐมนตรีกาํ หนดโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลงั สใําหน้กักรงะานทครณวงะกการรรมคกลาังรเกกฤ็บษรฎักกี ษาาเงินของกองสทํานุนักกงาารนปคฏณิระูปกทรรี่ดมินกเาพรกื่อฤเกษษฎตีการกรรม และ เบิกจา่ ยเงนิ จากกองทนุ การปฏริ ปู ทด่ี ินเพ่อื เกษตรกรรมเพือ่ ใช้จา่ ยตามพระราชบญั ญตั ิน้ี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมาํ านตกั รงาาน๑ค๐ณะกกรอรงมทกนุ ารกกาฤรษปฎฏกี ริ าปู ที่ดินเพอื่ เกษสําตนรกักงรารนมคปณระะกกรอรมบกดาว้ รยกฤษฎีกา (๑) เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากงบประมาณแผ่นดิน สาํ นกั งานคณะกรรมการก(๒ฤ)ษฎเงีกินาหรือทรัพย์สสินําอนื่นกั งทาี่ไนดค้รณับะจการกรมรักฐาบรากลฤหษรฎือกี จา ากแหล่งต่างสาํๆนักภงาายนใคนณปะรกะรรเทมกศารกฤษฎกี า หรอื ตา่ งประเทศ หรอื องคก์ ารระหว่างประเทศหรอื บุคคลอืน่ ส(ํา๓น)กั งเงานินคทณ่ีไะดก้รรับรมจกาากรกกฤอษงฎทกี ุนาสงเคราะห์เสกําษนักตงรากนรคณตะากมรรกมฎกหารมกาฤยษวฎ่ากี ดา้วยกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร สํานกั งานคณะกรรมการก(๔ฤ)ษเฎงกีินา ดอกผลหรอื ผสําลนปกั รงะาโนยคชณนะ์ใกดรรๆมกทา่ี รสก.ปฤษ.กฎ.ีกไาด้รบั เก่ียวกับกสาํารนดักาํ งเานนนิ คกณาะรกปรฏรมิรกูปารกฤษฎีกา ทดี่ นิ เพ่ือเกษตรกรรม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๔ มาตรา ๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. สํานัก๒ง๕าน๑ค๙ณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๔ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกีาา๑๑ เมื่อได้มสําีพนรักะงรานาชคกณฤะกษรฎรีกมกาากรํากหฤนษดฎเกี ขาตปฏิรูปท่ีดินสตาํ านมักมงาานตครณาะ๒กร๕รมใกชา้ รกฤษฎีกา บังคับในท้องที่จังหวัดใดแล้ว ให้จัดต้ังสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดข้ึนสังกัดสํานักงานการปฏิรูป ที่ดินเพ่ือเกษตรกสราํ นรกัมงาโนดคยณใหะก้มรีอรํามนกาารจกหฤนษ้าฎทีกี่าในการดําเนินสกํานาักรปงาฏนิรคูปณทะกี่ดรินรมเพก่ือารเกกฤษษตฎรกี การรม ตามที่ คณะกรรมการและคณะกรรมการปฏริ ูปทดี่ ินจงั หวัดกําหนด สาํ นกั งานคณะกรรมการกในฤกษรฎณกี าีที่ได้กําหนดเขสตํานปกั ฏงิราูนปคทณี่ดะินกเรขรตมหกนาร่ึงกเขฤตษใฎดกี คาลุมที่ดินในเขตสําขนอักงงสาอนงคจณังะหกวรัดรมขก้ึนารกฤษฎกี า ทไปี่ดินคณเพะื่อกเรกรษมตกรากรสจรํานระมักมงตอาบลนอหคดณมเาะขยกตใรหรปม้สฏกําิรานูปรักกทงฤ่ีดาษนินฎกนีกาั้านรกป็ไฏดิร้ ูปไมท่วี่ด่าินจจสะังํามนหีสักวํางัดานในดักคมงณาีอะนํากนกราารจรมปหกานฏร้าิรกทูปฤ่ีดทษําฎี่ดเกีินนาินในกจาังรหปวฏัดิรูทปี่ สํานกั เงกาย่ี นวคขณอ้ ะงกนรั้นรมหกราอื รไกมฤ่ ษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ให้สํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมตามมาตรา ๖ ทําหน้าท่ีสํานักงานการ ปฏริ ปู ทดี่ ินกรงุ เทสพํามนหักงาานนคครณดะว้ กยรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานหคมณวะดกร๒รมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า คณะกรรมการปฏิรปู ทดี่ ินเพ่ือเกษตรกรรมและคณะกรรมการปฏริ ูปท่ีดนิ จงั หวัด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกี าา ๑๒๕ ให้มีคสําณนะกั งการนรคมณกะการรรปมฏกาิรรูปกทฤษี่ดฎินกี เาพื่อเกษตรกรสราํ นมักงปารนะคกณอะกบรดรม้วกยารกฤษฎีกา รัฐมนตรีว่าการกรสะาํ นทักรงวางนเกคษณตะกรรแรลมะกสาหรกกฤรษณฎ์เีกปา็นประธานกรสรํามนกักางรานปคลณัดะกกรระรทมกราวรงกเกฤษษฎตีกรแา ละสหกรณ์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม อธิบดีกรมชลประทาน สํานกั องธานิบคดณีกะรกมรปรมศกุสาัตรกวฤ์ อษธฎิบีกาดีกรมป่าไม้ อสําธนิบกั ดงีากนรคมณปะรกะรมรมงกอารธกิบฤดษีกฎรีกมาพัฒนาท่ีดินสอาํ นธิบักงดาีกนครมณสะก่งรเสรมรกิมารกฤษฎีกา การเกษตร อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร อธิบดีกรมการ ปกครอง อธิบดีกสราํ มนกกั างรานพคัฒณนะากชรรุมมชกนารอกธฤิบษดฎีกกี ารมที่ดิน อธิบสดําีกนรักมงพานัฒคนณาะสกังรครมมกแาลระกฤสษวัสฎดีกาิการ* อธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม อธิบดีกรมธนารักษ์ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ สาํ นักผงู้จานัดคกณาระธกนรรามคกาารรเกพฤ่ือษกฎาีกราเกษตรและสสหํากนรักณงา์กนาครณเะกกษรตรมรกปารรกะฤธษาฎนีกคาณะกรรมการสกําลนาักงงกาลนุ่มคณเกะษกตรรรมกกรารกฤษฎกี า แห่งประเทศไทย ประธานชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย และอธิบดีกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝ่ัง*สาํ เนปกั ็นงกานรรคมณกะากรรแรมลกะากรรกรฤมษกฎาีกราอ่ืนอีกไม่เกินสเกํา้านคักนงานซค่ึงณคณะกะรรรัฐมมกนารตกรฤีแษตฎ่งีกตา้ังจากผู้แทน เกษตรกรหกคนและผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสามคน ให้เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ สาํ นกั เงกาษนตครณกะรกรรมรเมปกน็ ารกกรฤรษมฎกกีาารและเลขานกุ สาํารนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สเํามน่ือักไงดา้มนีพคณระะรการรชมกกฤาษรกฎฤีกษาฎกกี ําาหนดเขตปฏิรสูปําทนกัี่ดงินาตนาคมณมะกาตรรรมาก๒าร๕กฤใษชฎ้บีกังาคับในท้องท่ี กรุงเทพมหานครแล้ว ให้คณะกรรมการทําหน้าที่คณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดสําหรับ สํานกั กงรางุนเคทณพะมกหรรามนกคารรดก้วฤยษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมําานตักรงาาน๑ค๓ณ๖ะกภรรามยกใาตร้บกังฤคษับฎมกี าาตรา ๑๒ วรสรําคนสักองงานเคมณ่ือไะดก้มรรีพมรกะารรากชฤกษฤฎษีกาฎีกากําหนด เขตปฏิรูปที่ดินตามมาตรา ๒๕ ใช้บังคับในเขตอําเภอหน่ึงอําเภอใดในจังหวัดใดแล้ว ให้มี สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๕ มาตรา ๑๒ แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖ มาตรา ๑๓ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. สํานัก๒ง๕าน๓ค๒ณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๕ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมประจําจังหวัดข้ึนคณะหนึ่งในจังหวัดน้ัน เรียกว่า สาํ นัก“งคานณคะณกะรกรรมรกมการารปกฏฤิรษูปฎทกี ่ีดา ินจังหวัด” ปสรํานะกกั งอาบนดค้วณยะผกู้วรร่ามรากชารกกาฤรษจฎังกีหาวัดเป็นประธาสนํานกักรงรามนกคาณระเกกรษรมตกรารกฤษฎีกา จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ป่าไม้จังหวัด ประมงจังหวัด ผู้แทนกรมชลประทาน ผู้แทนกรมพัฒนาที่ดิน สหกรณ์จังหวัด พสาํานณกั ิชงายน์จคังณหะวกัดรรเจม้ากพารนกักฤงษาฎนกี ทา่ีดินจังหวัด นสาํานยกัองําาเนภคอณแะกลระรปมลกัดารอกําฤเษภฎอีกผาู้เป็นหัวหน้า ประจํากิ่งอําเภอในท้องท่ีที่มีการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พัฒนาการจังหวัด ผู้แทนกรมพัฒนา สาํ นักสงงัาคนมคแณละะกสรรวมัสกดากิ รากรฤ*ษฎรากี ชาพสั ดุจงั หวัด สอําตุ นสกั างหานกครณรมะกจรังรหมวกัดารผกู้แฤทษนฎธกี นาาคารเพ่ือการสเํากนษักตงารนแคลณะสะกหรกรรมณกา์ รกฤษฎกี า กทาะรเลเกแษละตชราผยู้ฝแัง่ท*สนําเเปนกัก็นษงกตารนรรคกมณรกใะานกรรจรแังมหลกะวาปัดรกฏนฤริั้นษูปอฎทีกีกี่ดสานิ ่ีคจนังซหึ่งวรัดัฐเมปนน็ สตกํารรนรีแักมตงก่งาาตนรค้ังแณและะลกเะรลผรขมู้แากทนานุกรกากรฤรษมฎทีกราัพยากรทาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๔ ให้กรรมการซ่ึงได้รับแต่งต้ังตามมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มีวาระอยู่ ในตําแหนง่ คราวลสะาํ นสักองงาปนี คณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังกรรมการในระหว่างท่ีกรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ สาํ นกั ใงนาตนาํคแณหะนก่งรรใมหก้ผาไู้รดก้รฤับษแฎตีกง่าต้งั ซอ่ มนัน้ อยสู่ใํานนตกั งําาแนหคนณ่งะเกทร่ารกมับกวารากรฤะษทฎี่เหีกลาืออยู่ของกรรสมํากนาักรงซานึ่งไคดณ้แะตก่งรตรั้งมไกวา้ รกฤษฎกี า แล้วน้นั สกาํ รนรักมงกานาครซณงึ่ ะพกน้รรจมากกาตราํกแฤหษนฎีก่งอาาจได้รับแตง่ สตํา้งั นเปักงน็ ากนรครณมะกการรรอมีกกไาดร้กฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรากี า๑๕ กรรมกาสรํานซัก่ึงไงดาน้รคับณแะตก่งรตรั้งมตก้อางรไกมฤ่เษปฎ็นีกผาู้มีส่วนได้เสียใสนํานสักัญงญานาคกณับะกสร.ปรม.กก.ารกฤษฎีกา หรือในกิจการท่กี สราํะนทกั ํางใาหน้แคกณ่ ะสก.ปรร.กม.กาทรก้งั นฤษ้ี ไฎมีก่วาา่ โดยทางตรงสหํารนือกั ทงาานงอค้อณมะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกีาา๑๖ นอกจาสกํานกักางราพนค้นณจะากกรตรํมาแกาหรนกฤ่งตษฎามกี าวาระตามมาตสราํ นาัก๑งา๔นควณระรกครหรมนก่ึงารกฤษฎีกา กรรมการซ่งึ ไดร้ บั แต่งต้งั พน้ จากตาํ แหนง่ เม่ือ ส(๑าํ น)ักตงาานยคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ลาออก สํานกั งานคณะกรรมการก(๓ฤ)ษคฎณีกาะรัฐมนตรหี รสอื ํารนัฐกัมงนานตครีทณีม่ะกอี ราํ รนมากจาแรกตฤ่งตษั้งฎีกแาลว้ แตก่ รณี ใหสอ้ ําอนกักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๔) มีลกั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๗ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่ง สาํ นกั จงําานนวคนณขะอกรงรกมรกรามรกกาฤรษทฎ้งั ีกหามด จึงจะเป็นสอํางนคักป์งารนะคชณุมะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สถํา้านปกั รงะานธคาณนกะกรรรรมมกกาารรไกมฤ่อษยฎู่ใีกนาท่ีประชุม หรสือําไนมัก่สงาามนคารณถะปกฏรริบมัตกิหารนก้าฤทษ่ีไฎดกี ้ าให้กรรมการ ทีม่ าประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน็ ประธานในทีป่ ระชมุ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๑๘ การวนิ ิจฉัยช้ีขาดของท่ีประชมุ ใหถ้ อื เสยี งข้างมาก สกาํ รนรักมงกานาครคณนะกหรนรึ่งมใกหา้มรกีเสฤียษงฎหีกนา่ึงในการลงคสะําแนนกั นงาถน้าคคณะะแกนรรนมเกสาียรงกเฤทษ่าฎกกีันาให้ประธาน ในท่ปี ระชุมออกเสียงเพ่มิ ขึ้นอกี เสียงหนง่ึ เปน็ เสียงช้ขี าด สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการกําหนด นโยบาย มาตรกาสราํ นขัก้องบาังนคคบัณหะกรือรรรมะกเบารยี กบฤเษกฎี่ยีกวากับการปฏิบัตสิงําานนกั กงาานรปคณฏิระกูปรทรี่ดมินกาขรอกงฤษสฎ.ปกี .าก. ตลอดจน สาํ นกั กงาารนคควณบะคกมุรรกมากราบรรกิหฤาษรฎงกี าานของ ส.ป.ก.สรําวนมกั ทงาั้งนอคาํ ณนะากจรหรนม้ากทารีแ่ กลฤะษคฎวกี าามรบั ผิดชอบ ดสงัําตนอ่ักงไปานนคี้ ณะกรรมการกฤษฎีกา

- ๖ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) จดั หาท่ดี ินของรฐั เพื่อนาํ มาใช้ในการปฏิรูปท่ีดนิ เพ่ือเกษตรกรรม สาํ นกั งานคณะกรรมการก(๒ฤ)ษพฎกีิจาารณากําหนดสเขํานตกั ปงฏานิรคูปณทะี่ดกินรตรมามกามรากตฤรษาฎ๒กี า๕ การจัดซื้อหสราํ ืนอักเวงนานคคืนณทะี่ดกินรรตมากมารกฤษฎกี า มาตรา ๒๙ และการกําหนดเน้ือที่ที่ดินที่จะให้เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรเช่าระยะยาว หรือเช่า ซ้ือตามมาตรา ๓๐สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๓) พจิ ารณาการกําหนดแผนผงั และการจดั แบ่งแปลงท่ดี นิ ในเขตปฏริ ูปท่ดี นิ สาํ นักงานคณะกรรมการก(๔ฤ)ษพฎีกิจาารณาอนุมัติแสผํานนงกั างนานแคลณะะโคกรรรงมกกาารรกกาฤรษปฎฏีกิราูปท่ีดินเพ่ือเกษสําตนรักกงรารนมคณตะลกอรดรมจกนารกฤษฎีกา งบค่าใช้จ่ายของ สส(๕ํา.ปน)กั.กพง.าจิ นเาสครนณณอะารกกฐั ราํมรหมนนกตดารรแี กผฤนษกฎากี ราผลติ และการสจําํานหกั นง่าานยคผณลิตะกผรลรเมกกษาตรกรกฤษรรฎมกี ใานเขตปฏิรูป สํานักทง่ีดานนิ คเณพะื่อกยรกรมรกะาดรบั กรฤาษยฎไีกดา้ และคมุ้ ครองสผําลนปกั งราะนโคยณชนะกข์ รอรงมเกกาษรตกรฤกษรฎกีหารือสถาบนั เกษสตาํ นรกักรงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) พิจารณากําหนดแผนการส่งเสริม และบํารุงเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน รวมถึงการจัดรูปสําทน่ีดกั ินงาเนพค่ือณเกะกษรตรมรกการรรกมฤษปฎรีกับา ปรุงประสิทสธําินภกั างพานในคณกาะกรรผรลมิตกแารลกะฤคษุณฎกี ภาาพผลิตผล เกษตรกรรม ตลอดจนสวัสดิการ การสาธารณูปโภค การศกึ ษาและการสาธารณสขุ ของเกษตรกร สํานกั งานคณะกรรมการก(๗ฤษ) ฎกกีําาหนดหลักเกณสําฑน์ ักวงิธาีนกคารณแะลกระรเมงื่อกานรไกขฤใษนฎกกี าารคัดเลือกเกษสําตนรักกงรานแคลณะะสกถรารบมกันารกฤษฎีกา เกษตรกร ซ่งึ จะมีสิทธไิ ดร้ บั ทด่ี ินจากการปฏิรูปทด่ี ินเพื่อเกษตรกรรม ตลอดจนแบบสัญญาเช่าและเช่า ซ้ือทีจ่ ะทํากบั เกษสตํารนกักรงาหนรคอืณสะถการบรมันกเการษกตฤรษกฎรีกผาู้ได้รับทด่ี ิน สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๘) กําหนดระเบียบการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ผู้ได้รับท่ีดินจากการ สาํ นักปงฏานิรคูปณทะี่ดกินรรเพมก่ือาเรกกษฤตษรฎกีกรารมปฏิบัติเกี่ยสวํากนับักงกาานรคเณข้าะทกรํารปมรกะาโรยกชฤนษฎ์ในกี ทา ี่ดินและปฏิบสัตําิตนาักมงาแนผคนณกะากรรผรมลกิตารกฤษฎีกา และการจาํ หนา่ ยสผาํลนิตกั ผงลานเกคษณตะรกกรรรมรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรใน สาํ นกั เงขาตนปคฏณริ ะปู กทรรี่ดมินกการู้ยกมื ฤจษาฎกีกสา.ป.ก. ตลอดจสนํานเงกั อื่ งนานไคขณขอะกงกรรามรกกายู้ รืมกโฤดษยฎอีกนาุมัติรัฐมนตรี สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๐) กําหนดระเบียบเก่ียวกับการจัดการทรัพย์สินและหน้ีสินของเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรสผําู้ไนดกั ้รงับานทคี่ดณินะจการกรกมากราปรกฏฤิรษูปฎทีก่ีดาินเพื่อเกษตรสกํารนรกั มงตานลคอณดจะกนรกรามรกคาวรกบฤคษุมฎดกี ูแาลกิจการอ่ืน ๆ ภายในเขตปฏริ ปู ท่ดี ิน สาํ นักงานคณะกรรมการก(๑ฤ๑ษฎ) กีตาิดตามการปฏสิบําัตนิงกั างนานขคอณง ะสก.รปร.มกก. าใรหก้เฤปษ็นฎไีกปาตามแผนงานแสลํานะักโคงารนงคกณาระทกรี่ไดรม้รกับารกฤษฎีกา อนุมตั ิ ตลอดจนกาํ หนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ที่เกดิ ขึ้นจากการปฏบิ ัติงาน ส(๑าํ น๒ัก)งากนาํ คหณนะดกกรจิรกมการารแกลฤะษรฎะีกเบาียบการอ่นื ๆสทํานี่เกกั งยี่ าวนขคอ้ ณงะกกับรกรามรกปารฏกิบฤัตษิงฎาีกนาของ ส.ป.ก. หรอื สนับสนุนหรอื เก่ียวเนอ่ื งกับวัตถปุ ระสงค์ของการปฏิรปู ทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรม สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมําานตักรงาาน๒ค๐ณะกใหรร้คมณกะารกกรฤรษมฎกกีาารปฏิรปู ทด่ี ินจสังําหนวักัดงมานอี คาํ ณนะากจรหรนมา้กทาร่แี กลฤะษคฎวกี าามรับผดิ ชอบ ในการกําหนดมาตรการและวิธีปฏิบัติงานของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด และให้มีอํานาจหน้าท่ี สาํ นกั แงลานะคคณวาะมกรรบัรมผกดิ าชรอกฤบษดฎังีกตาอ่ ไปนี้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการและค่าใช้จ่ายของสํานักงานการ ปฏริ ปู ท่ีดินจงั หวัดสําเนพกั อื่ งเาสนนคอณคะณกระรกมรกรามรกกฤาษรฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๒) ติดตามการปฏิบัติงานของสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัด ให้เป็นไปตาม สํานักแงผานนคงณาะนกแรลรมะกโาครรกงฤกษาฎรีกทา่ีได้รับอนุมัตสิ ําตนลักองาดนจคนณดะํการเนรมินกการากรฤแษกฎ้ไกีขาปัญหาต่าง ๆสาํ ทนี่เักกงิดานขค้ึนณจะากกรรกมากรารกฤษฎกี า ปฏบิ ตั งิ าน ส(๓าํ น)กั พงาิจนาครณณะากผรลรกมการารปกฏฤิบษัตฎิงกี าาน เพื่อปรับปสรําุงนแักผงนานงาคนณะโกครรรงมกกาารรกงฤบษคฎ่ากีใชา้จ่ายและวิธี สาํ นักปงฏานบิ คตั ณงิ ะากนรขรอมงกสาาํรนกฤกั ษงาฎนีกกาารปฏิรปู ทดี่ นิสําจนังกัหงวาัดนคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๗ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๔) จัดทํางบประมาณค่าใช้จ่ายตามโครงการการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมแต่ละ สาํ นกั โงคารนงคกณาระกเพรรอ่ื มเสกนารอกตฤ่อษคฎณีกาะกรรมการ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๕) ดําเนินการเก่ียวกับการเงินและกิจการอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ เกษตรกรรมตามรสะําเนบกั ยี งบานหครณือะขก้อรบรมงั คกับารหกรฤือษมฎตีกิขาองคณะกรรมสกํานารกั หงารนอื คตณาะมกทรค่ีรมณกะากรกรรฤมษกฎาีกรามอบหมาย (๖) วางระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการปฏิบัติงานของสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน สํานักจงังาหนวคัดณเะทก่ารทรมไ่ี มก่ขารดั กหฤรษือฎแีกยา้งกับระเบยี บหสํารนอื ักขง้อาบนคังคณบั ะหกรรรอื มมกตาิขรกอฤงษคฎณกี ะากรรมการ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมาํ านตกั รงาาน๒ค๑ณะกใหรร้คมณกาะรกกรฤรษมฎกีกาารหรือคณะกรสรํามนกักางารนปคฏณิระูปกทรี่ดรมินกจาังรหกวฤัดษมฎีอกี ําานาจแต่งตั้ง สาํ นกั องนานุกครณรมะกกรารรมคกณาระกหฤนษง่ึ ฎหีกราือหลายคณะเสพําอ่ืนพักงิจาานรคณณาะเกรื่อรรงมตกา่ างรๆกฤหษรฎอื กี ปาฏิบัติงานอย่าสงําหนนัก่ึงงอานยค่าณงใะดกตรารมมกทา่ี รกฤษฎีกา คณะกรรมการหรือคณะกรรมการปฏริ ปู ท่ดี นิ จงั หวัดมอบหมาย สกาํ านรักปงรานะคชณมุ ขะกอรงรอมนกุการรรกมฤษกฎารกี าให้นาํ ความในสมําานตักรงาาน๑ค๗ณะมการใรชม้บกงัาครกบั ฤโษดฎยีกอานุโลม สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกีาา๒๒ ภายในสกําํานหกั นงาดนค๙ณ๐ะกวรันรมนกับารแกตฤ่วษันฎสีก้ิานปีงบประมาสณาํ นทักุกงปานี ใคหณ้ระัฐกมรนรมตกราี รกฤษฎีกา ประกาศรายงานรับจ่ายเงนิ ของ ส.ป.ก. ในราชกจิ จานุเบกษา สราํ านยักงงาานนคกณาะรกรรับรมจก่าายรเกงฤินษตฎาีกมาวรรคหน่ึง เสมํา่ืนอักคงณานะคกณระรกมรรกมากราตรกรฤวษจฎเงกี ินาแผ่นดินได้ ตรวจสอบแล้ว ให้ทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอคณะรฐั มนตรีเพ่อื เสนอรฐั สภาทราบ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมํานาตกั งราานค๒ณ๓ะกรใรหมก้พานรกักฤงษาฎนกี เาจ้าหน้าท่ีมีอสําํานนกั างจานเขค้ณาไะปกรตรรมวกาจรสกอฤษบฎกกี าารประกอบ เกษตรกรรม หรือการทําประโยชน์หรือกิจการอ่ืน ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ในที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน สํานกั ใงนารนะคหณวะ่การงรเวมลกาารพกรฤะษอฎากี ทาิตย์ขึ้นถึงพรสะําอนาักทงาิตนยค์ตณกะกแรลรมะกใาหร้แกสฤษดฎงบีกาัตรประจําตัวตสํา่อนผักู้ทงา่ีเนกค่ียณวขะก้อรงรมใกหา้ รกฤษฎีกา เจ้าของหรอื ผ้คู รอบครองทด่ี นิ หรอื ผู้ท่เี กีย่ วขอ้ งอํานวยความสะดวกตามสมควร สบําันตกัรงปานระคณจําะกตรัวรใมหก้เาปรก็นฤไษปฎตีกาามแบบที่รัฐมสนํานตักรงีกานําคหณนะดกโรดรมยกปารระกฤกษาฎศีกใานราชกิจจา นุเบกษา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๒๔ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ อนุกรรมการ เลขาธิการสํานักงานการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกสษาํ นตักรงกานรรคมณะรกอรงรเมลกขาารธกิกฤษารฎสกี ําานักงานการปสฏํานิรักูปงทาน่ีดคินณเพะก่ือรเรกมษกตารรกกฤรษรฎมกีแาละพนักงาน เจา้ หนา้ ที่ เปน็ เจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การดาํ เนนิ การปฏิรูปท่ดี นิ เพื่อเกษตรกรรม สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมําานตักรงาาน๒คณ๕ะกกรารรมกกําารหกนฤดษเฎขกี ตาที่ดินในท้องทส่ีใําดนใกั หงา้เปนค็นณเขะตกปรรฏมิรกูปารทก่ีดฤินษใฎหกี ้ตาราเป็นพระ ราชกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกในฤษพฎรกีะาราชกฤษฎีกาสตําานมักวงรานรคคณหนะก่ึงรรใหมก้มาีแรผกนฤษทฎ่ีแีกสาดงเขตและระสบาํ นุทัก้องงาทนี่ทคณี่อยะกู่ในรรเมขกตารกฤษฎีกา ปฏริ ปู ทด่ี ินแนบท้ายพระราชกฤษฎกี านั้นด้วย แผนทีด่ งั กล่าวใหถ้ ือเปน็ ส่วนหนึง่ แหง่ พระราชกฤษฎีกา สกําานรกั กงําานหคนณดะเขกตรรทม่ีดกินารใหกฤ้เปษ็นฎเกี ขาตปฏิรูปท่ีดินสตําานมักวงรารนคคหณนะึ่งกรใรหม้กกําาหรกนฤดษเฎฉกีพาาะที่ดินที่จะ สํานกั ดงําานเนคินณกะากรรรปมฏกิราูปรกทฤี่ดษินฎเีกพา่ือเกษตรกรรสมํานเวกั ้นงาแนตค่ใณนะกกรรณรมีทกี่จารํากเปฤษ็นฎจีกะาถือเขตของตําสบํานลักหงราืนอคอณําเะภกอรรเปมก็นารกฤษฎกี า

- ๘ - สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักกไ็ ด้ โดยใหด้ าํ เนินการกําหนดเขตปฏิรูปท่ีดินในเขตท้องที่อําเภอที่มีเกษตรกรผู้ไม่มีท่ีดินประกอบ สาํ นักเงกาษนตครณกะรกรรมรเมปกน็ ารขกอฤงษตฎนีกเอา ง หรือมีท่ีดินสเําลน็กักนงา้อนยคไณม่เะพกียรรงมพกอาแรกกฤ่กษาฎรคกี ราองชีพ หรือตส้อํางนเชัก่างาทน่ีดคินณขะอกงรผรมู้อกื่นารกฤษฎีกา ประกอบเกษตรกรรมอยู่เป็นจํานวนมาก ตลอดจนท่ีมีผลผลิตต่อไร่ต่ําเป็นเกณฑ์ในการจัดอันดับ ความสําคัญในกาสรํากนํากั หงานนดคเณขตะกกร่อรนมหกาลรังกฤในษกฎรกี ณา ีที่ถือเขตขอสงําตนําักบงลานหครณืออะกํารเภรมอกเปาร็นกเฤขษตฎปกี ฏาิรูปที่ดินนั้น ให้หมายถึงเฉพาะท่ีต้งั อยนู่ อกเขตเทศบาลและสขุ าภิบาล๗ สาํ นกั งานคณะกรรมการกใหฤ้ษดํฎาเกี นาินการปฏิรูปทส่ีดํานินักเพงาื่อนเคกณษะตกรรกรมรรกมารโกดฤยษมฎิชีกักาช้า และให้ดําสเนาํ นินักกงาารนสคําณระวกจรทรมี่ดกินารกฤษฎีกา รเพาช่ืออเกาษณตารจกกั รรรใมหสเ้แําสลนรักะ็จงวภาานางยคโคใณนระสงกการมารปมรเกีนพาับื่รอแกดฤตําษ่วเนันฎินกีทาก่ีพารระปราฏชิรบูปัญทญ่ีดสินตัําเนินพักใ้ี ่ือชงาเบ้ นกังคษคณตบั ะรกกรรรรมมกใานรทกฤ้อษงฎทกีี่ทาุกจังหวัดท่ัว สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๒๕ ทวิ๘ ถ้าท่ีดินที่ ส.ป.ก. ได้มาเป็นแปลงเล็กแปลงน้อยและมิได้อยู่ในเขต ปฏิรูปที่ดิน ให้ สส.ปาํ น.กัก.งามนีอคําณนะากจรจรัมดกทา่ีดรินกฤนษั้นฎใีกหา้กับเกษตรกรสหํารนือักสงถานาคบณันะเกกรษรตมรกการรกไดฤษ้ ตฎากี มามาตรา ๓๐ เสมือนว่าเป็นที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน โดยไม่ต้องดําเนินการกําหนดเขตท่ีดินในท้องท่ีน้ันให้เป็นเขต สํานักปงฏานริ คูปณทะี่ดกินรตรมามกามรากตฤรษาฎ๒ีกา๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมําานตกั รงาาน๒คณ๖๙ะกรเมรม่ือกไดาร้มกีพฤษระฎรกี าาชกฤษฎีกากําสหํานนักดงเาขนตคปณฏะกิรรูปรทมี่ดกิานรใกชฤ้บษังฎคีกับาในท้องท่ีใด แล้ว สํานกั งานคณะกรรมการก(๑ฤ)ษถฎ้าีกใานเขตปฏิรูปทส่ีดําินนนกั งนั้ ามนีทค่ีดณนิะกอรันรเมปก็นาสรกาฤธาษรฎณีกาสมบัติของแผ่นสดํานินักสงําาหนครับณพะกลรเรมมือกงารกฤษฎีกา ใช้ร่วมกัน แต่พลสเาํ มนือกั งงาเนลคิกณใชะ้กปรรระมโกยาชรกนฤ์ใษนฎทกี ี่ดาินนั้น หรือไดส้เําปนักลง่ียานนคสณภะากพรจรมากกากรากรฤเษปฎ็นกี ทาี่ดินสําหรับ พลเมืองใช้ร่วมกันก็ดี หรือพลเมืองยังใช้ประโยชน์ในที่ดินน้ันอยู่ หรือยังไม่เปล่ียนสภาพจากการเป็น สํานักทง่ีดานินคสณําะหกรรับรมพกลาเรมกือฤงษใฎชีก้ร่าวมกัน เม่ือไดส้จําัดนทกั ี่ดงาินนแคปณละงกอรื่นรมใหกา้พรลกเฤมษือฎงกี ใาช้ร่วมกันแทนสโําดนยักคงาณนคะณกระรกมรรกมากรารกฤษฎีกา ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วก็ดี ให้พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปท่ีดินน้ันมีผลเป็นการถอน สภาพการเป็นสาสธําานรักณงาสนมคบณัตะกิขรอรงมแกผา่รนกดฤินษสฎํากี หารับที่ดินดังกสลํา่านวักโงดายนมคิณต้อะกงรดรํามเนกาินรกกฤารษถฎอกี นา สภาพตาม ประมวลกฎหมายทดี่ นิ และให้ ส.ป.ก. มีอาํ นาจนาํ ที่ดินนนั้ มาใช้ในการปฏิรูปท่ีดินเพือ่ เกษตรกรรมได้ สาํ นักงานคณะกรรมการก(๒ฤ)ษฎถ้าีกใานเขตปฏิรูปทส่ีดํานินักนงั้นานมคีทณี่ดะินกอรัรนมเปกา็นรสกาฤธษาฎรีกณาสมบัติของแผส่นาํ นดักินงสานําคหณรับะกใชรร้เพมก่ือารกฤษฎกี า ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ หรือท่ีดินท่ีได้สงวนหรือหวงห้ามไว้ตามความต้องการของทาง ราชการ เม่อื กระทสํารนวกังกงาานรคคณละังกไดรรใ้ หมก้คาวรากมฤยษนิ ฎยกี อามแลว้ ให้พระสรํานาชกั กงาฤนษคฎณีกะากกรราํ มหกนาดรเกขฤตษปฎฏกี ิราูปที่ดินนั้นมี ผลเป็นการถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสําหรับท่ีดินดังกล่าว โดยมิต้องดําเนินการ สาํ นักถงอานนคสณภะากพรตรามมกการฎกหฤมษาฎยกี วา่าด้วยที่ราชพสัสําดนุกั แงลานะคใหณ้ ะสก.รปร.มกก. ามรีอกําฤนษาฎจกี นาําที่ดินนั้นมาใสชํา้ในนักกงาานรคปณฏะิรกูปรทรมี่ดกินารกฤษฎกี า เพ่ือเกษตรกรรมไสดํา้ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ถ้าในเขตปฏิรูปที่ดินน้ันมีท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งเป็นท่ีดินรก สํานกั รง้าางนวค่าณงะเปกรลร่ามกหารรือกฤทษี่ดฎินีกซาึ่งมีผู้เวนคืนหสรําืนอักทงอานดคทณิ้งะหกรรรือมกกลาับรกมฤาษเฎปีก็นาของแผ่นดินโสดาํ ยนปักงราะนกคาณระอก่ืนรตรมากมารกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๗ มาตรา ๒๕ วรรคสาม แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับ สาํ นกั ทงี่า๓น)คพณ.ศะ.ก๒รร๕ม๓ก๒ารกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๘ มาตรา ๒๕ ทวิ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙ มาตรา ๒๖ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. สํานัก๒ง๕าน๓ค๒ณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๙ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กฎหมายท่ีดิน และท่ีดินนั้นอยู่นอกเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ให้ ส.ป.ก. มีอํานาจนําท่ีดิน สํานักนง้นัานมคาณใชะใ้กนรกรมารกปารฏกริ ฤปู ษทฎดี่ีกนิา เพอ่ื เกษตรกสรํารนมกั ไงดา้นคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๔) ถ้าเป็นที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เม่ือคณะรัฐมนตรีมีมติให้ดําเนินการปฏิรูป ท่ีดินเพื่อเกษตรกสราํ รนมักใงนาทนค่ีดณินะเขกตรรปม่ากสางรวกนฤแษหฎีก่งชาาติส่วนใดแลส้วํานเมกั งื่อานสค.ปณ.ะกก.รจระมนกาํารทก่ีดฤินษแฎปีกาลงใดในส่วน น้ันไปดําเนินการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม ให้พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปที่ดินมีผลเป็นการ สาํ นักเงพากินถคอณนะปกรา่ รสมงกวานรแกหฤษ่งชฎากี ตาใิ นทด่ี นิ แปลงสนํานน้ั ักแงาลนะคใหณ้ะสก.รปร.มกก. ามรีอกฤํานษาฎจกี นา ําที่ดินน้ันมาใสชํา้ในนักกงาานรคปณฏะิรกูปรทรมี่ดกินารกฤษฎีกา เพ่อื เกษตรกรรมไสดเาํพโ้ นดื่อกั ยปงไารมนะ่ตคโอ้ ณยงชะดกนําร์ใเรนนมินกกกาารารกรดเฤําพษเิกนฎถินกี อากนาตราปมฏกิรฎูปหทมี่ดสาินยํานเปพักา่ ่ืองสาเงนกวคษนณตแะรหกก่งรรชรรมามตกิตารากมฤษ(๔ฎีก) าให้พนักงาน สํานักเงจา้านหคนณ้าะทก่ีตรรามมกพารรกะฤรษาชฎบีกาัญญัติน้ีเป็นพสนําักนงักางนานเจค้าณหะนกร้ารทมี่ตกาามรกพฤรษะฎรกี าาชบัญญัติป่าสสงวาํ นนักแงหาน่งชคณาตะิกแรลรมะกมาี รกฤษฎีกา อํานาจในการให้เช่าที่ดินอันเป็นป่าสงวนแห่งชาติดังกล่าวได้ และให้ค่าเช่าท่ีได้มาตกเป็นของกองทุน การปฏิรูปทดี่ นิ เพสอ่ื าํ เนกักษงตานรคกณรระมกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกีาา๒๗ เม่ือได้มสีพํานรักะงราานชคกณฤะษกรฎรีกมากการํากหฤนษดฎเีกขาตปฏิรูปท่ีดินใสชาํ ้นบักังงคาับนใคนณทะ้อกรงรทม่ีใกดารกฤษฎีกา แล้ว ภายในเขตปฏิรูปที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ซ่ึงปฏิบัติงานร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่มี อํานาจ ดงั ตอ่ ไปนสี้ าํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) เข้าไปทําการอันจําเป็นเพื่อการสํารวจรังวัดได้ แต่ต้องแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ สํานกั คงราอนบคณคระอกรงรทมดี่ กนิ าทรกรฤาษบฎเสีกียากอ่ น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส(ํา๒น)ักทงาํานเคครณ่ือะงกหรรมมากยาขรอกบฤษเขฎตีกหารือแนวเขตโสดํายนปกั ักงาหนลคักณหะรกือรขรมุดกรา่อรงกแฤนษวฎีกในา กรณีที่ต้อง สร้างหมดุ หลกั ฐานการแผนทใ่ี นท่ดี นิ ของผู้ใด กใ็ หม้ ีอํานาจสรา้ งหมดุ หลักฐานลงได้ตามความจาํ เปน็ สํานกั งานคณะกรรมการกเมฤ่ือษมฎีคกี าวามจําเป็นแลสะํานโดักยงาสนมคคณวะรกรพรนมักกางรากนฤเษจฎ้าหีกาน้าท่ีมีอํานาจสขําุดนดักินงานตคัดณราะนกรกริ่งมไกมา้ รกฤษฎกี า และกระทําการอย่างอ่ืนแก่สิ่งท่ีกีดขวางการสํารวจรังวัดได้เท่าที่จําเป็น ท้ังนี้ ให้คํานึงถึงการที่จะให้ เจ้าของหรือผคู้ รอสบํานคกัรงอางนอคสณงั หะการรรมิ มทกราัพรกยฤ์ไษดฎร้ บักี าความเสยี หายสนําอ้นยกั ทงาส่ี นุดคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้เจา้ ของหรอื ผูค้ รอบครองท่ดี นิ และผู้ทีเ่ กีย่ วขอ้ งอาํ นวยความสะดวกตามสมควร สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๒๘ ภายในระยะเวลาสามปี นับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูป ท่ีดนิ ตามมาตรา ๒สํา๕นักใชงา้บนังคคณบั ะกหร้ารมมมกใิาหรกผ้ ฤู้ใดษจฎาํีกหานา่ ยด้วยประสกําานรกั ใงดานๆคณหะรกือรกร่อมใกหา้เรกกิดฤภษฎารีกะาติดพันใด ๆ ซึ่งที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากคณะกรรมการหรือผู้ซ่ึงคณะกรรมการ สํานักมงอานบคหณมะากยรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สใํานนกักรงณานีทค่ีณสะ.ปกร.กรม. กจาัดรซกื้อฤษหฎรือกี าดําเนินการเวสนําคนืนกั ทงา่ีดนินคนณั้นะกถร้รามมกีกาารรกกฤรษะฎทกี ําาอันเป็นการ ฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง และเป็นทรัพย์สินหรือสิ่งท่ีก่อให้เกิดความเสียหายหรือกีดขวางการปฏิรูป สํานกั ทงี่ดานินคเณพื่อะกเกรรษมตกรากรกรฤรษมฎใกี หา้คณะกรรมกาสรํานหักรงือาผนู้ซค่ึงณไะดก้รรับรมมกอาบรหกฤมษาฎยกีจาากคณะกรรมสกาํ านรักมงีอานําคนณาจะสกรั่งรเปมก็นารกฤษฎีกา หนังสือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองท่ีดินทําการร้ือถอนเสียได้ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด ถ้าเจ้าของ หรือผู้ครอบครองสทํานี่ดักินงไามน่ปคณฏะิบกัตริตรมากมารใกหฤ้คษณฎะีกการรมการหรือสผํานู้ซักึ่งงคาณนคะณกะรกรรมรกมากรามรกอฤบษหฎมีกาาย มีอํานาจ ดําเนินการรื้อถอนโดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองท่ีดินดังกล่าวจะเรียกร้องค่าเสียหายมิได้ และต้องเป็น สาํ นกั ผงู้เาสนียคคณ่าะใกชร้จร่ามยกใานรกกาฤรษรฎอ้ื ีกถาอนน้นั ดว้ ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๑๐ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๒๙ ในเขตปฏิรูปท่ีดิน เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเห็นว่า ที่ดินบริเวณใด สาํ นกั สงมานคควณรดะํากเรนรินมกกาารรกปฤฏษริ ฎูปกี ทาี่ดินเพือ่ เกษตสรํากนรักรงมานใคหณ้ สะ.กปร.รกม.กมาีอรกาํ ฤนษาฎจจีกดัา ซื้อหรอื ดําเนสินํากนาักรงเาวนนคคณืนะทก่ีดรรนิ มไกดา้ รกฤษฎีกา ดังตอ่ ไปนี้ ส(ํา๑น)กั ทงา่ีดนินคแณปะกลรงรเมดกียาวรหกฤรืษอฎหกีลาายแปลงมีเนสื้อําทนี่รกั วงามนกคันณเะกกินรกรมวก่าาหร้ากสฤิบษฎไรีก่ าซ่ึงบุคคลใน ครอบครวั เดียวกันไม่วา่ คนหน่ึงหรอื หลายคนเปน็ เจ้าของทด่ี ินผ้ปู ระกอบเกษตรกรรมดว้ ยตนเอง ให้ ส. สาํ นกั ปง.ากน.คมณอี ะํากนรารมจจกาดั รซกื้อฤหษรฎอื ีกดาําเนนิ การเวนสคํานืนักทง่ีดาินนสคว่ณนะทกรี่เกรมนิ กกาวรา่กหฤ้าษสฎิบกี ไาร่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ประกอบเกษตรกส(ราํ๒รน)มักดถงา้้วานทยคต่ีดณนินะเดกอังรงกรใมชลก้เ่าพาวรื่อใกนกฤาษ(ร๑ฎเล)กี ้ียามงีเสนัต้ือวท์จ่ีรําวพมวกกสันสําเนัตกกัวินง์ใกาหนวญค่า่ตหณานะมก่ึงรทรร้อ่ีรมัฐยกมไารนร่กตแฤรลษีปะฎรเกีจะา้ากขาอศงกทําหี่ดินนดผู้ สาํ นกั ชงนานิดคจณําะนกวรรนมแกาลระกเฤงษ่ือฎนกีไขาในราชกิจจาสนําุเนบักกงษานาคใณหะ้ กสร.ปรม.กก.ารมกีอฤําษนฎากี จาจัดซ้ือหรือดําสเนาํ นินักกงาารนเควณนคะกืนรทรม่ีดกินารกฤษฎกี า ส่วนท่เี กินกวา่ หนง่ึ รอ้ ยไร่ สาํ นกั ถงา้านเจค้าณขะอกรงรทม่ีดกินารรกาฤยษใดฎีกมาีความประสงสคํา์จนะักปงารนะคกณอะบกเรกรษมกตารรกกรฤรษมฎดกี ้วายตนเองใน ท่ีดินเกินกว่าตามท่ีกล่าวไว้ใน (๑) หรือ (๒) และแสดงได้ว่าตนได้ประกอบเกษตรกรรมในท่ีดินด้วย สาํ นกั ตงนานเอคงณเกะกินรกรวม่ากทาร่ีกกลฤ่าษวฎไีกว้าใน (๑) หรือ (ส๒ําน) กัองยาู่แนลค้วณไะมก่ตร่ํารมกกว่าารหกนฤ่ึงษปฎีกกี ่อานวันท่ีพระราสชาํ นบักัญงญานัตคินณี้ใะชก้บรังรคมกับารกฤษฎกี า และแสดงได้ว่าตนมีความสามารถและมีปัจจัยที่จะทําที่ดินน้ันให้เป็นประโยชน์ทางเกษตรกรรมได้ ทั้ง ตนจะเป็นผู้ประกสอาํ นบกัเกงาษนตครณกะรกรรมรมในกทารี่ดกินฤนษั้ฎนีกดา้วยตนเอง ใหส้ยํา่ืนนคกั ํางราน้อคงณต่อะกพรนรักมงกาารนกเฤจษ้าหฎกีนา้าที่พร้อมท้ัง แสดงหลักฐานอ้างอิงประกอบคําร้อง เม่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้สอบสวนแล้ว ให้รายงานต่อ สํานกั คงณานะคกณระรกมรกรามรกาถรา้ กคฤณษฎะกกี ารรมการเห็นสสมําคนวกั รงอานนคุญณาะตกรกร็ใมหก้กาํารหกฤนษดฎเงีก่ือานไขในการอนสุญํานาักตงเาสนนคอณระัฐกมรนรมตกราี รกฤษฎกี า พิจารณา หากรัฐสมาํ นนตักรงาีเหนค็นณชอะกบรกร็ใมหก้อารนกุญฤาษตฎใกี หา้ผู้ร้องขอน้ันมสีสํานิทักธงิใานนทคี่ดณินะนกร้ันรตม่อกไาปรกแฤษต่ฎต้กีอางไม่เกินหน่ึง พันไร่ ในกรณีท่ีผู้ร้องขอได้รับสิทธิในที่ดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ให้ ส. สํานกั ปงา.กน.คณมีะอกํารนรามจกาจรัดกซฤื้อษฎหีกราือดําเนินการสเําวนนักคงืนานทคี่ดณินะกทร่ีไรดม้รกับารเพกฤ่ิมษขฎ้ึนีกนาั้นเพื่อใช้ในกสาาํ นรปักงฏาินรูคปณทะ่ีดกินรรเพมก่ือารกฤษฎกี า เกษตรกรรมต่อไป สํานักใงนานกครณณะีทกี่เรจร้ามขกอารงกทฤ่ีดษินฎรีกาายใดได้แสดงวส่าําตนนักไงดาน้ปครณะะกกอรบรมเกกษารตกรฤกษรฎรกีมาในที่ดินด้วย ตนเองเกินกว่าหนึ่งพันไร่อยู่แล้วไม่ต่ํากว่าหนึ่งปีก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ และมีความ สํานกั ปงารนะคสณงะคก์จระรมปกราะรกกฤอษบฎเกีกาษตรกรรมด้วสํายนตักนงาเนอคงณในะทกร่ีดรินมกนาั้นรกตฤ่อษไฎปีกาให้คณะกรรมสกาํ นาักรงพาินจคาณรณะการตรมากมารกฤษฎีกา หลกั เกณฑ์ตอ่ ไปนี้ สํานักกงา.นไคดณ้ละงกทรุนรมในกากริจกกฤรษรฎมีกกาารเกษตรในสทําี่ดนิกันงนา้ันนคไปณแะกลร้วรเมปก็นาจรกําฤนษวฎนกี มาากและการ ลงทุนนน้ั ไดก้ ระทาํ ไปดว้ ยการสง่ เสรมิ ของรฐั สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎขกี. าเป็นการประกสอํานบกั กงาานรเคพณ่ือะพกรัฒรนมกาวาริทกยฤาษกฎาีกราเกษตรแผนใหสมาํ น่ หักงราือนทค่ียณังะมกีครรวมากมารกฤษฎีกา ต้องการอยูม่ ากภสายํานในักงปารนะคเณทะศกหรรรือมเกพา่ือรกกฤาษรสฎ่งีกอาอก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. ในการที่จะประกอบกิจการได้ต่อไปนั้นจะต้องมีลักษณะที่ช่วยพัฒนาการ สํานักเงกาษนตครณะแกลระรชม่วกยาเรหกลฤือษเฎกกี ษาตรกรในดา้ นสปําจั นจักัยงกานาครผณละติกรเรพมื่อกสารง่ กเสฤรษมิ ฎผีกลาผลิตการเกษตสาํรนแักลงะาอนุตคสณาะหกกรรรมรกมารกฤษฎีกา การเกษตรได้อย่างกว้างขวางในเรื่องการสาธิต และเป็นตลาดรับซ้ือผลิตผลเกษตรกรรมจากเกษตรกร โดยตรง สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. เม่ือพ้นสิบห้าปี หากสถาบันเกษตรกรมีความต้องการและสามารถที่จะเป็นผู้ สาํ นกั ถงือานหคุน้ ณในะกกรจิ รกมากรานรกนั้ ฤเษจฎา้ กีขาองท่ดี นิ ต้องยินสํายนอกั มงใาหน้สคถณาะบกันรรเมกกษาตรรกกฤรษถฎอื ีกหา้นุ ในกิจการนส้ันําไนมักน่ ง้อานยคกณว่าะรกอ้ รรยมลกะารกฤษฎกี า หกสิบของจํานวนหนุ้ ทงั้ หมด ทงั้ นี้ ใหเ้ ป็นไปตามวธิ ีการและรายละเอียดที่คณะกรรมการกาํ หนด สํานักถงา้านคคณณะะกกรรรรมมกการากรฤพษิจฎาีกราณาเห็นสมคสวํารนอักงนาุญนคาณตะกกร็ใรหม้กกําารหกนฤดษเฎงกี ื่อานไขในการ สาํ นกั องนานุญคาณตะกเสรรนมอกราัฐรกมฤนษตฎรีกีพาิจารณา หากสรําัฐนมักนงาตนรคีเหณ็นะกชรอรบมกกา็ใรหก้อฤนษุญฎกีาาตให้ผู้ร้องขอนสั้นาํ นมักีสงิทานธคิในณทะก่ีดรินรนมกั้นารกฤษฎีกา

- ๑๑ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ต่อไป ในกรณที ีผ่ ูร้ อ้ งขอได้รบั สิทธใิ นที่ดินดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขที่คณะกรรมการกําหนด ให้ ส. สาํ นักปง.ากน.คณมีอะกํารนรามจกจารัดกซฤ้ือษฎหกี ราือดําเนินการสเําวนนกั คงืานนทค่ีดณินะทกร่ีไรดม้รกับารเพกฤิ่มษขฎ้ึนกี นา้ัน เพ่ือใช้ในกสําานรักปงฏานิรคูปณทะี่ดกินรรเพมกื่อารกฤษฎกี า เกษตรกรรมต่อไป ส(ํา๓น)ักทงาี่ดนินคแณปะลกงรใรดมถก้าารเจก้ฤาขษอฎงกี ไาม่ได้ใช้ท่ีดินปสรําะนกักองาบนเคกณษะตกรรกรรมรกมารดก้วฤยษตฎนกี เาอง หรือมิได้ ใชป้ ระกอบเกษตรกรรมอยา่ งใดหรือประกอบเกษตรกรรมเลก็ น้อย หรือประกอบเกษตรกรรมบางส่วน สาํ นกั เงพาียนงคเณปะ็นกกรารรมแกสารดกงฤสษิทฎธีกิใานที่ดิน ให้ ส.สปํา.นกกั. งมาีอนํคานณาะจกจรรัดมซกื้อาหรกรฤือษดฎํากีเนาินการเวนคืนสทาํ ี่ดนินักงนาั้นนไคดณ้ใะนกสร่วรนมกทา่ี รกฤษฎีกา เกนิ กว่ายสี่ ิบไร่ สถาํ ้านเกั จง้าาขนอคงณทะ่ีดกรินรตมากมาร(ก๓ฤ)ษฎมีกีคาวามประสงคส์จําะนปกั รงะานกคอณบะเกกรษรตมกรการรกรฤมษดฎ้วกี ยาตนเองและ สํานกั แงสานดคงไณดะ้วก่ารตรมนกมาีครวกาฤมษสฎากี มาารถและมีปัจสจํานัยักทงี่จาะนทคณําทะกี่ดรินรนม้ันกาใรหก้เฤปษ็นฎปกี ราะโยชน์ทางเกสษําตนรักกงารนรคมณไดะ้กทร้ัรงมตกนารกฤษฎกี า จะเป็นผู้ประกอบเกษตรกรรมในท่ดี นิ นนั้ ดว้ ยตนเอง ให้ยื่นคําร้องต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีพร้อมท้ังแสดง หลักฐานอ้างอิงปสราํะนกักองบานคคําณร้อะกงรเรมมื่อกพารนกักฤงษาฎนีกเาจ้าหน้าท่ีได้สอสําบนสกั วงนานแคลณ้วะใกหร้รรามยกงาารกนฤตษ่อฎคีกณาะกรรมการ หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายเพื่อพิจารณาอนุญาตให้ผู้ร้องขอนั้นมีสิทธิในท่ีดินต่อไป ตามขนาด สาํ นกั ใงนาน(๑คณ) หะกรรอื รม(๒กา)รแกลฤ้วษแฎตีกก่ ารณี และใหค้ สณํานะกักงรารนมคกณาะรกกราํ รหมนกดารเงกื่อฤนษไฎขกี ใานการอนุญาตสใํานนกักงราณนีผคู้ไณดะ้รกับรสรมิทกธาิ รกฤษฎีกา ในท่ีดินดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไข ให้ ส.ป.ก. มีอํานาจจัดซ้ือหรือดําเนินการเวนคืนที่ดินน้ันเพื่อใช้ ในการปฏิรปู ที่ดินสเําพน่อื กั เงกาษนตครณกะรกรรมรมตกอ่ าไรปกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า บทบัญญัติในมาตราน้ี มใิ ห้ใชบ้ งั คับแก่ที่ดินบรรดาที่เปน็ ของทบวงการเมือง องค์การ สํานกั ขงอานงรคัฐณระกฐั รวริสมากหากริจกฤสษถฎาีกบาันเกษตรกร หสรํานอื ักทงดี่ านินตคาณมะทกรกี่ ราํ มหกนาดรกในฤษกฎฎกีการะทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สใํานนกักางารนจคัดณซะ้ือกทรรี่ดมินกตารากมฤมษาฎตีกราาน้ี ถ้าเจ้าขสอํางนทักี่ดงาินนปคณระะกสรงรคม์จกะารขกาฤยษทฎ่ีดกี ินา ของตนให้ ทัง้ หมด ก็ให้ ส.ป.ก. มีอํานาจจัดซ้อื ได้๑๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๐๑๑ บรรดาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ ส.ป.ก. ได้มา ให้ ส.ป.ก. มีอํานาจ จัดให้เกษตรกรหสราํือนสกั ถงาานบคันณเกะษกรตรรมกกราไรดก้ตฤษามฎหีกาลักเกณฑ์ วิธีกสําานรกั แงาลนะคเงณื่อะนกไรขรมทกี่คาณรกะฤกษรฎรกี มาการกําหนด ท้ังนี้ ตามขนาดการถือครองในที่ดนิ ดงั กล่าวต่อไปนี้ สํานกั งานคณะกรรมการก(๑ฤ)ษจฎํากี นาวนทดี่ ินไม่เกสนิ ําหน้าักสงาบิ นไครณ่ สะาํ กหรรรับมกเการษกตฤรษกฎรีกแาละบคุ คลในครสอํานบักคงราวันเคดณียะวกกรันรมซก่ึงารกฤษฎกี า ประกอบเกษตรกรรมอย่างอน่ื นอกจากเกษตรกรรมเลย้ี งสัตวใ์ หญ่ตาม (๒) ส(๒าํ น)ักจงําานนควณนทะก่ีดรินรมไมก่เากรินกฤหษนฎ่ึงกีรา้อยไร่ สําหรับสเกํานษกัตงรากนรคแณละะกบรรุคมคกลาใรนกคฤรษอฎบกี คา รัวเดียวกัน ซึ่งใช้ประกอบเกษตรกรรมเล้ียงสัตว์ใหญ่ตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศ สํานกั กงาําหนคนณดะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส(ํา๓น)กั จงาํานนควณนะทกี่ดรรินมทก่ีคารณกะฤษกฎรรกี มา การเห็นสมคสําวนรกั สงําาหนครัณบสะกถรารบมันกาเกรกษฤตษรฎกกี รา ท้ังน้ี โดย คาํ นงึ ถงึ ประเภทและลกั ษณะการดําเนนิ งานของสถาบันเกษตรกรนัน้ ๆ สาํ นักงานคณะกรรมการกในฤษกฎาีกราดําเนินการตสาํามนักวงรารนคคหณนะกึ่งรรถม้ากเาปร็กนฤกษาฎรีกจาัดให้เกษตรกสราํ นแักลงาะนเคปณ็นะทกร่ีดรินมกทาี่ รกฤษฎกี า คณะกรรมการกําหนดมิให้มีการโอนสิทธิในที่ดินก็ให้จัดให้เกษตรกรเช่า ในกรณีอื่นให้จัดให้เกษตรกร เช่าหรือเช่าซ้ือตาสมาํ นทัก่ีเงกาษนตครณกะรกแรรสมดกงาครวกาฤมษจฎําีกนา ง ถ้าเป็นกาสรําจนัดกั ใงหาน้สคถณาบะกันรเรกมษกตารรกกฤรษใฎหกี้จาัดให้สถาบัน เกษตรกรเช่า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๑๐ มาตรา ๒๙ วรรคสาม เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๑ มาตรา ๓๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) สาํ นักพง.าศน.ค๒ณ๕ะ๓ก๒รรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๑๒ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บรรดาท่ีดินท่ี ส.ป.ก. ได้มา ถ้าเป็นท่ีดินของรัฐและมีเกษตรกรถือครองอยู่แล้วเกิน สาํ นักจงําานนควนณทะก่ีกรํารหมนกาดรใกนฤวษรฎรีกคาหน่ึงก่อนเวลาสทําน่ีคักณงาะนกครณระมกกรารรมกกําาหรกนฤดษฎเมีกื่อาเกษตรกรดังสกาํลน่าักวงยา่ืนนคคณําระ้อกงรแรมลกะารกฤษฎกี า ยินยอมชําระค่าเช่า หรือค่าชดเชยที่ดินในอัตราหรือจํานวนที่เพิ่มข้ึนตามที่คณะกรรมการกําหนด สําหรับที่ดินส่วนทสําี่เกนินกั งตาานมควณระรกครหรมนก่ึงใาหรก้คฤณษะฎกีกรารมการจัดท่ีดสินํานใหัก้เงกานษคตณรกะกรรเชรม่าหการรือกจฤัดษใฎหีก้ าแล้วแต่กรณี ตามจาํ นวนท่เี กษตรกรถอื ครองได้ แตเ่ มอ่ื รวมกันแลว้ ต้องไม่เกินหนงึ่ รอ้ ยไร่ ในการกาํ หนดอตั ราค่าเช่า สาํ นักหงรานอื คคณ่าชะดกรเชรมยกทาีด่ รินกดฤษังกฎลีก่าาว ตอ้ งคาํ นงึ ถสงึ ํารนะักยงะานเวคลณาะแกลระรวมิธกีการากรฤทษ่ีเกฎษกี ตา รกรได้ที่ดินนสั้นาํ นมักางคานวคามณสะกามรรามรกถารกฤษฎีกา ในการทําประโยชสในาํน์นปกกั รางะารนเจภคัดทณทขะี่ดอกิงนรเรใกมหษก้เตากรรษกกฤตรษรรฎมกีกรแาตลาะมกวารรทรคาํ ปสราสะมําโนยถักช้งานาเนท์กค่ไีษดณต้ทะรกาํ กไรวรรแ้มไลดกว้า้เรขใกน้าฤทคษีด่รฎนิอีกนบา้นั ครองที่ดิน สํานักดงังานกคลณ่าวะกกร่อรนมกพาร.ศก.ฤษ๒ฎ๕กี ๑า๐ ให้เรียกเกส็บํานเฉักพงาานะคคณ่าะธกรรรรมมกเนารียกมฤใษนฎกีกาารโอนและรังวสัดาํ นแักลงาะนคค่าณปะรกับรรปมรกุงารกฤษฎกี า พฒั นาท่ีดินที่ ส.ป.ก. ดาํ เนนิ การใหต้ ามจํานวนทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด เฉพาะส่วนท่ีไมเ่ กินหา้ สบิ ไร่ สนาํ อนกักงจาานกคกณาะรกจรัดรทม่ีดกิานรใกหฤ้แษกฎ่บกี ุคาคลตาม (๑) ส(๒ําน)กั แงลานะค(ณ๓ะ)กใรหร้มสก.ปาร.กกฤ. ษมฎีอีกําานาจจัดท่ีดิน หรืออสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลใดเช่า เช่าซื้อ ซื้อ หรือเข้าทําประโยชน์ เพื่อใช้สําหรับกิจการอื่นท่ี สํานกั เงปาน็นกคาณระสกนรับรมสกนาุนรกหฤรษือฎเกีก่ียาวเน่ืองกับกาสรําปนฏักิรงูปานทคี่ดณินะตการมรมทกี่ราัฐรมกนฤษตฎรีวกี ่าาการกระทรวงสเํากนษักตงารนแคลณะสะกหรกรรมณกา์ รกฤษฎกี า ประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษาได้ ทั้งน้ี ตามขนาดการถือครองในท่ีดินที่คณะกรรมการ เห็นสมควร ซึ่งต้อสํางนไมัก่เงกานินคหณ้าะสกิบรไรรม่ กสา่วรนกหฤษลฎักกีเกาณฑ์ วิธีการ สแําลนะกั เงงาื่อนนคณไขะกใรนรกมากราอรกนฤุญษาฎตีกหารือการให้ผู้ ได้รบั อนญุ าตถอื ปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี สํานักงานคณะกรรมการกกฤาษรจฎัดีกทา ี่ดินให้เช่าหรสือําเนชัก่างซาื้อนตคณามะมกรารตมรกาานร้ีไกมฤ่อษยฎู่ภีกาายใต้บังคับแหส่งํากนฎักหงามนาคยณเะกก่ียรวรมกกับารกฤษฎีกา การควบคุมการเชสาํ่านหักรงือาเนชค่าณซะ้ือกรแรลมะกสาริทกธฤิกษาฎรกีเชา่าหรือเช่าซื้อสดําังนกกั ลงา่านวคจณะโะอกนรรแมกก่กาันรกไฤดษ้หฎรีกือาตกทอดทาง มรดกได้เฉพาะตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการกําหนด สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๓๑ ถ้าเกษตรกรผู้ใดต้องการมีสิทธิในที่ดินหรือขอเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม เกินกว่าท่ีกําหนดสไาํวน้ตกั างมามนคาตณระากร๓ร๐มก(า๑รก) ฤหษรฎือกี (า๒) และแสดงสไําดน้วัก่างตานนคมณีคะวการมรสมากมารากรฤถษแฎลกีะามีปัจจัยท่ีจะ ทําที่ดินท่ีขอเพิ่มนั้นให้เป็นประโยชน์ในทางเกษตรกรรมได้ ท้ังตนจะเป็นผู้ประกอบเกษตรกรรมใน สาํ นกั ทง่ีดานินคนณ้ันะดก้วรยรมตกนาเรอกงฤษใหฎ้ทกี าําคําร้องย่ืนต่อสพํานนกั ักงงานานคณเจะ้ากหรนรม้ากทาี่พรกรฤ้อษมฎทีก้ังาแสดงหลักฐานสําอน้าักงงอาิงนปครณะะกกอรบรมคกําารกฤษฎีกา รอ้ ง สเํามนือ่ ักพงนานักคงณานะกเจรา้รหมกนาา้ รทก่ีสฤอษบฎสกี วานแล้ว ให้เสนสอํานคักํางรา้อนงคพณระ้อกมรดรม้วกยาบรันกทฤษึกฎรีกายางานผลการ สอบสวนต่อคณะกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกคฤณษะฎกกี รารมการมีอํานสาจํานพกั จิ งาารนณคณาอะนกรุญรามตกใาหรก้ผฤ้ยู ษน่ื ฎคีกาํ ารอ้ งมสี ิทธิในทส่ดี ํานนิ ักหงารนอื คไดณ้เะชก่ารทรมี่ดกินารกฤษฎีกา ไดต้ ามท่ีเหน็ สมคสวํารนแกั ตงา่ตน้อคงณไมะ่เกกรินรมหกนาึ่งรเกทฤ่าษขฎอกี งาจํานวนเนื้อทส่ีทําี่ดนินักทงา่ีกนําคหณนะดกไรวร้ตมากมารมกาฤตษรฎาีก๓า๐ (๑) หรือ (๒) ทง้ั นี้ โดยกําหนดเงอ่ื นไขก็ได้ ในกรณีท่ีผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไข คณะกรรมการมีอํานาจ สาํ นกั สงง่ัาเนพคกิ ณถะอกนรกรมากรอารนกญุ ฤษาตฎเีกสายี ไดแ้ ละจัดซส้ือําหนรักืองดานําคเนณินะกการรรมเวกนารคกืนฤทษ่ีดฎินีกหา รือส่ังเลิกการสเาํ ชน่าักทง่ีดานินคดณังกะกลร่ารวมไกดา้ รกฤษฎกี า ท้ังหมดหรือแต่บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร และนําท่ีดินน้ันไปใช้เพ่ือการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ เกษตรกรรมตอ่ ไปสํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ๑๓ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๒๑๒ ถา้ ส.ป.ก. ไดท้ ดี่ ินแปลงใดมาโดยการจัดซ้ือหรือเวนคืนหรือได้มาตาม สาํ นักมงาานตคราณะ๒ก๕รรทมกวาิ รเพกฤื่อษใชฎ้ใกี นาการปฏิรูปท่ีดสําินนเักพง่ือาเนกคษณตะรกกรรรมรมการใหกฤ้สษิทฎธีกิขาองผู้เช่าที่ดินแสปํานลักงงนาั้นนคตณามะสกรัญรญมกาารกฤษฎีกา เชา่ หรือตามกฎหมายว่าด้วยการเช่าท่ีดินเพอ่ื เกษตรกรรมเป็นอนั ส้ินสดุ ลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๓ เม่ือได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตปฏิรูปท่ีดินใช้บังคับในท้องท่ีใด สํานักแงลาน้วคใณหะ้พกนรรักมงกาานรเกจฤ้าษหฎนีก้าาที่แจ้งให้บรรดสําานเจกั ้างาขนอคงณทะี่ดกินรทรม่ีมกีทา่ีดรกินฤเพษฎ่ือีกเกาษตรกรรมที่อสยาํ ู่นในักเงขาตนคปณฏะิรกูปรทรมี่ดกินารกฤษฎกี า แเปจ็น้งจเจํา้านขวอนงแทปุกลแงสปทําลนี่ดงักินตง่อาขนพนคนาณักดะงขกาอรนรงเมทจกี่ด้าาินหรกแนฤต้าษ่ลทฎะ่ีภกี แาาปยลในงเกท้า่ีตสั้งิบขวอันสงทํานตี่ดกัาินงมาแแนบลคบะณกแะากลรระรทวมําิธกปีการาระรกทโฤยษี่รชัฎฐนมีก์ใานนตทรี่ดีกินําทห่ีนตนด สาํ นักโงดายนปครณะะกการศรมในกรารากชฤกษิจฎจกีานา ุเบกษา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมาํ านตกั งราานค๓ณ๔ะกรใรนมกกาารรกเฤวษนฎคีกืนาท่ีดินหรืออสสัํางนหกั างราินมคทณระัพกยร์รเพมกื่อากรกาฤรษปฎฏีกิราูปท่ีดินเพื่อ เกษตรกรรมตามพระราชบัญญัติน้ี ให้นํากฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มาใช้บังคับโดย สาํ นกั องนานโุ ลคมณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สําหรับท่ีดินที่เวนคืนตามวรรคหน่ึง ให้ ส.ป.ก. หรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจาก ส.ป.ก. มีอํานาจเข้าครอบสคํานรกัองงาทนี่ดคินณดะงั กกรลรมา่ วกเาพรกอ่ื ฤดษาํ ฎเนีกนิ าการปฏิรูปท่ีดสนิํานเพกั ง่อื าเนกคษณตะรกกรรรรมมกไาดรท้กฤันษทฎี ีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกมฤาษตฎรากี า๓๕๑๓ การชาํ สรําะนรกั างคานาทคณ่ดี ินะกหรรรือมอกสารังกหฤาษริมฎกีทารพั ยท์ ่ีจัดซือ้ ตสาาํมนพักรงะารนาคชณบะญักรญรมตั กินา้ี รกฤษฎีกา ใหจ้ า่ ยเปน็ เงินสดสหํานรกัืองเางนนิ คสณดะแกลระรพมันกาธรบกตัฤรษขฎอีกงารัฐบาล ตามหสลํานกั ักเกงาณนฑคณแ์ ละกะรวริธมกี กาารรทกกี่ฤําษหฎนกี ดา ในพระราช กฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกกฤาษรชฎําีกราะค่าทดแทนทสีด่ํานินกั หงรานือคอณสังะหกรารรมิมกทารรัพกฤยษ์ทฎ่ีเวกี นาคืนตามพระรสาําชนบักัญงาญนคัตณินะี้ กใหรร้จม่ากยารกฤษฎีกา เป็นเงินสดส่วนหนึ่ง และส่วนที่เหลือให้จ่ายเป็นพันธบัตรของรัฐบาล ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการท่ี กาํ หนดในพระราสชํากนฤักษงฎานีกคาณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้กระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี มีอํานาจออกพันธบัตร เพ่ือชําระราคา สาํ นกั หงรานือคคณ่าทะกดรแรมทกนาตรากมฤษวรฎรกี คาหนึ่งและวรรสคํานสักองงานแคลณะะมกีอรํารมนกาาจรกกําฤหษนฎีกดาอัตราดอกเบี้ยสาํ รนะักยงาะนเวคลณาะไกถร่ถรมอกนารกฤษฎกี า เงือ่ นไข และวิธีการในการออกพันธบัตร ทั้งน้ี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา สพาํ ันนกัธงบาัตนรคตณาะมกวรรรรมคกสารากมฤเษมฎื่อีกคารบกําหนดชําสรําะนใักหง้ชานํารคะณจะากกรเรงมินกขารอกงฤกษอฎงทีกาุนการปฏิรูป ท่ีดินเพือ่ เกษตรกรรม สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมําานตักรงาาน๓คณ๖ะกใรหร้คมณกาะรกกฤรษรมฎกกี าารกําหนดเงินสคําน่าักทงดาแนทคณนะโดกรยรคมํากนาึรงกถฤึงษกฎารีกไาด้มา สภาพ ความอุดมสมบูรณ์ และทําเลที่ต้ังของที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ ประกอบกับมูลค่าของผลิตผล สํานักเงกาษนตคณรกะรกรรรมมหกลาัรกกทฤ่ีสษาฎมีกาารถผลิตได้จาสกําทน่ีดกั งินาในนคทณ้อะงกทรรี่นมั้นการทกั้งฤนษ้ีฎเีกพา่ือให้เกิดความสเําปน็นักงธารนรคมณแะกก่สรังรมคกมารกฤษฎกี า และแก่บรรดาเกษตรกรผู้ทจ่ี ะตอ้ งรับภาระจา่ ยค่าทดี่ ิน หรืออสงั หารมิ ทรัพย์แก่ ส.ป.ก. ตอ่ ไปด้วย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๒ มาตรา ๓๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๓ มาตรา ๓๕ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒) สาํ นักพง.าศน.ค๒ณ๕ะ๑ก๙รรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๑๔ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหนังสือแจ้งจํานวนเงินค่าทดแทนให้เจ้าของท่ีดินหรือผู้มีสิทธิ สาํ นกั ไงดา้รนับคเณงินะกคร่ารทมดกแารทกนฤทษฎราีกบา ถ้าเจ้าของทสี่ดํานินักหงราืนอคผณู้มีสะกิทรธริไมดก้ราับรกเงฤินษคฎ่าีกทาดแทนไม่เห็นสชําอนบักดงา้วนยคกณับะจกํารนรมวกนารกฤษฎกี า เงนิ คา่ ทดแทนดังกลา่ ว มสี ทิ ธอิ ุทธรณ์ไดต้ ามมาตรา ๔๐ สวาํ รนรักคงสานามค๑ณ๔ะ(กยรกรเมลกกิ า)รกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรกี าา ๓๖ ทวิ๑๕ บสํารนรกั ดงาานทคี่ดณินะหกรรืรอมอกสาังรกหฤาษรฎิมีกทารัพย์ใด ๆ ทส่ี าํสน.ปักง.ากน.คไณดะ้มการตรมากมารกฤษฎกี า เพกรษะตรรากชรบรัญม ญไมัต่ใินหส้ีาํถ้ หนอื ักรวงือ่าาเไนปดคน็้มณทาะ่ีรโกดารชยรพปมสักราดะรุกกแาฤลรษะอฎใื่นหีกทา้ ส่ีม.ปีว.ัตกถ. ุปเปร็นะผสสถู้งําอืคนก์เักพรงราื่อนมปคสรณิทะะธโกเิ์ยพรชร่อื นมใก์ชในา้ใรนกกกาฤารษรปฎปฏกี ฏิราริ ูปปู ทท่ีดี่ดินนิ เเพพื่ือ่อ สาํ นักเงกาษนตครณกะรกรรมรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายท่ีดินมีอํานาจออกหนังสือแสดงสิทธิใน ท่ีดนิ เก่ียวกับท่ดี ินสขํานอกังงสาน.ปค.ณก.ะกตรารมมวกรารรคกหฤนษฎงึ่ กี ทา ้ังน้ี ตามท่ี สส.ปําน.กกั .งรานอ้ คงขณอะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรีกาา๓๗ ห้ามมิใสหํา้ยนกักงอาานยคุคณวะากมรครมรกอาบรกคฤรษอฎงขีกา้ึนเป็นข้อต่อสสู้กาํ ับนักสง.าปน.คกณ. ะใกนรเรรมื่อกงารกฤษฎีกา ทดี่ ินหรอื อสังหารมิ ทรัพย์ท่ี ส.ป.ก. ได้มาตามพระราชบัญญัติน้ี สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๘ ถ้า ส.ป.ก. เกี่ยวข้องในกิจการใดที่กฎหมายกําหนดให้จดทะเบียนใน สาํ นักองสานังหคณาระิมกทรรรมัพกยาร์หกรฤือษทฎรีกัพายสิทธิอันเก่ียสวํากนับักงอาสนังคหณาะรกิมรทรมรัพกายร์ใกนฤกษาฎรีกปาฏิรูปท่ีดินเพ่ือสเาํ กนษักตงารนกครณรมะกใรหรม้ สก.ารกฤษฎีกา ป.ก. ไดร้ ับการยกสเาํวน้นักคงา่ าธนรครณมะเกนรียรมมใกนากรการฤจษดฎทกี ะา เบียนน้นั สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกมฤาษตฎรีกาา๓๙ ท่ีดินที่บสุําคนคกั ลงไาดน้รคับณสะิทกรธริโมดกยากรากรฤปษฎฏกีิราูปท่ีดินเพ่ือเกษสาํตนรักกงรารนมคจณะะทกรํารกมากรารกฤษฎกี า แบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถสาําบนันักเงกาษนคตณรกะกรรหรมรกือารสก.ปฤษ.กฎ.ีกเาพ่ือประโยชนส์ในํานกกั างราปนฏคณิรูปะกทรี่ดรินมกเพาร่ือกเฤกษษฎตกี รากรรม ท้ังน้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเง่ือนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๔ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาอุทธรณ์ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมําานตักรงาาน๔คณ๐ะกถร้ารเมจก้าาขรกอฤงษทฎ่ีดีกินาหรืออสังหารสิมําทนักรังพายน์หคณรือะผกรู้มรีสมิทกธาริไกดฤ้รษับฎเงีกินา ค่าทดแทน ผู้ใดประสงค์จะอุทธรณ์ ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ สํานักหงนานงั คสณือแะกจรง้ รตมากมามรากตฤรษาฎีก๓า๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมาํ านตักงราานค๔ณ๑ะกใรหรม้มกีคาณรกะฤกษรฎรีกมา การอุทธรณส์คํานณกั ะงหานนคึ่งณปะกรระรกมอกาบรดก้ฤวษยฎปกีลาัดกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิทางกฎหมายหนึ่งคน ผู้ทรงคุณวุฒิทางดินหนึ่งคน สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๔ มาตรา ๓๖ วรรคสาม ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๑๕ มาตรา ๓๖ ทวิ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. สาํ นกั ๒ง๕าน๓ค๒ณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ๑๕ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้ทรงคุณวุฒิทางเศรษฐกิจการเกษตรหน่ึงคน ผู้ทรงคุณวุฒิทางพืชพรรณหน่ึงคน เป็นกรรมการ ให้ สํานกั ปงรานะคธาณนะกกรรรรมมกกาารรกแฤตษ่งฎตีก้ังากรรมการหรือสบํานุคักคงลาในดคเณปน็ะกเลรรขมากนาุกรากรฤคษณฎีกะากรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ให้คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการอุทธรณ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะ เป็นกรรมการหรือสอํานนักุกงรารนมคกณาะรกใรนรคมณกาะรกกรฤรษมฎกกี าารหรือคณะกรสรํามนกักางรานปคฏณิรูปะกทรดี่รมนิ กจางั รหกวฤดั ษมฎไิ ีกดา้ สํานักงานคณะกรรมการกมฤาษตฎราีกา๔๒ ให้คณะสกํารนรักมงากนาครณอุทะกธรรรณมก์มาีอรํากนฤาษจฎหีกนา ้าท่ีพิจารณาสวาํินนิจักฉงัยานคคําณอุทะกธรรรณมก์ทาี่ รกฤษฎีกา สยื่ิบนวตนั่อนคบัณแะตก่วรนั รทมสี่ไกดาํ าน้รรับักองคุทาาํนธอครทุ ณณธะ์รกใณหรร้ค์ มณกะารกกรฤรษมฎกกี าารอุทธรณ์วินิจสฉํานัยกัองุทาธนรคณณ์ใะหกร้เสรมร็กจาสริ้นกภฤษายฎใกี นากําหนดเก้า สํานักงานคณะกรรมการกหฤาษกฎผกี ู้อาุทธรณ์ไม่พอสใจํานในกั งคาํานวคินณิจะฉกัรยรอมุทกธารรกณฤ์ษใฎหีก้ยาื่นฟ้องต่อศาลสปาํ นกักคงรานอคงไณดะ้ภการรยมใกนารกฤษฎกี า กําหนดหน่ึงเดือน ในกรณีท่ียังมิได้มีการตั้งศาลปกครองตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มิให้นํา ขอ้ ความดงั กล่าวนสํา้มี นากั ใชงาบ้ นงั คคณับะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกมฤาษตฎรีกาา๔๓ ให้คณะสกํานรกัรงมากนาครณอะุทกรธรรมณก์มารีอกําฤนษาฎจีกแาต่งต้ังคณะอนสาํุกนรักรงมานกคาณรขะึ้นกรครณมกะารกฤษฎกี า หนึ่งหรือหลายคณะ เพ่ือกระทําการท่ีอยู่ในอํานาจของคณะกรรมการอุทธรณ์หรือให้ช่วยเหลือในการ ดําเนินการอยา่ งหสนาํ นงึ่ อกั ยงา่านงคใดณตะากมรทรมไ่ี ดกา้รรบั กมฤอษบฎหีกามาย ท้ังน้ี เว้นสําแนตกั ่กงาานรวคินณิจะฉกัยรรอมุทกธารรณกฤ์ ษแฎลีกะาให้นํามาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๘ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สมาํ านตักรงาาน๔ค๔ณะกใหรร้กมรกรามรกกฤาษรอฎุทกี าธรณ์ซึ่งคณะรสัฐํามนนักตงารนีแคตณ่งะตก้ังรมรีวมากราะรอกยฤษู่ในฎตกี ําาแหน่งคราว ละสองปี กรรมการซงึ่ พ้นจากตําแหนง่ ตามวาระอาจไดร้ ับแต่งตงั้ เปน็ กรรมการอีกได้ สํานักงานคณะกรรมการกในฤกษรฎณีกาีท่มี กี ารแต่งต้งัสกํานรรกั มงากนาครณอทุะกธรรรณมกร์ ะารหกวฤ่าษงฎทีกก่ี ารรมการซงึ่ แตสง่ ําตน้ังักไวงา้แนลค้วณยะังกมรีวรามรกะารกฤษฎีกา อยู่ในตําแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งต้ังซ่อมน้ันอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการอุทธรณ์ซึ่ง ได้แต่งตงั้ ไวแ้ ล้วนสน้ั ํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกมฤาษตฎราีกา๔๕ ให้นํามาสตํานรกัาง๑าน๖คณมะากตรรรามก๑า๗รกแฤลษะฎมกี าาตรา ๑๘ มาใสชํา้แนกัก่คงาณนคะณกระรกมรรกมากรารกฤษฎกี า อุทธรณโ์ ดยอนุโลม สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๔๖ หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นอุทธรณ์และวิธีพิจารณาในการวินิจฉัย สาํ นักคงาําอนุทคณธระณกร์ รใมหกก้ าํารหกนฤดษโฎดกี ยากฎกระทรวงสํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๕ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักบงาทนกคาํ ณหะนกดรรโทมกษารกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๔๗ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม สํานักมงาานตคราณะ๒ก๓รรหมกรือารมกาฤตษรฎากี ๒า ๗ ต้องระวาสงําโนทกั ษงจานําคคณุกไะมก่เรกรินมกหานร่ึงกเฤดษือฎนกี าหรือปรับไม่เกสินาํ หนักนงึ่งาพนันคบณาะทกรหรมรกือารกฤษฎีกา ทั้งจาํ ทงั้ ปรับ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ๑๖ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๔๘ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีซึ่งออกตามมาตรา สาํ นกั ๓ง๓านคตณ้องะรกะรวรมางกโาทรษกฤปษรฎับีกไามเ่ กินหน่ึงพนั บสําานทกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกสรัญรญมกาารธกรฤรษมฎศีกกั าด์ิ นายกรสฐั ํามนนักตงารนี คณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๑๗ - สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ประเทศไทยเป็นประเทศ สํานักเงกาษนคตณรกะกรรรรมมกปารระกฤชษาฎกกีราส่วนใหญ่มีอาสชํานีพักใงนากนคารณเะกกษรรตมรกาทรี่ดกินฤษจฎึงเีกปา็นปัจจัยสําคสัญาํ นแักลงะาเนปค็นณระากกรฐรมากนารกฤษฎกี า เบ้ืองต้นของการผลิตทางเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันปรากฏว่าเกษตรกรกําลังประสบความเดือดร้อน เนื่องจากต้องสูญสเสาํ นียักสงิทานธคิในณทะกี่ดรินรแมลกะารกกลฤาษยฎเปกี า็นผู้เช่าที่ดิน ตส้อํานงกัเสงียานคค่าณเชะ่ากทรร่ีดมินกใานรอกฤัตษรฎาสีกูงาเกินสมควร ท่ีดินขาดการบํารุงรักษา จึงทําให้อัตราผลิตทางเกษตรกรรมอยู่ในระดับต่ํา เกษตรกรไม่ได้รับความ สํานักเงปา็นนคธรณระมกแรรลมะกเาสรียกเฤปษรฎียกี บาจากระบบกสาํารนเชกั ่างาทน่ีดคินณแะลกระรกมากราจรํากหฤษนฎ่าีกยาผลิตผลตลอดสมาํ นาักซงึ่งานสค่งผณละกใหรร้เมกกิดารกฤษฎกี า เภปา็นวะคคววามามจยําุ่งเปย็านกสอทํายน้ัง่าักใงนงยาทิ่งนาทคงี่รณเัฐศะจรกะษรรตฐม้อกกงิจาดรสํากังเฤนคษิมนฎกกีกาาารรแปกก้ไคขรปอัญงแหลสาะดํานกังกักางรลาเ่านมวคือโณงดขะยอกดรง่วรปนมรกทะาี่เสรทุดกศฤเโษปดฎ็นยีกวอาิธยีก่าางมรปากฏิรจูปึง สาํ นักทงี่าดนินคณเพะื่กอรชร่วมยกใาหรก้เกฤษษฎตีกรากรมีท่ีดินทํากสําินนกั แงลานะคใหณ้กะการรรใมชก้ทา่ีดรกินฤเษกิฎดกีปาระโยชน์มากสทาํ ่ีสนุดักงพานรค้อณมะกกับรรกมากรารกฤษฎีกา จดั ระบบการผลติ และจาํ หนา่ ยผลิตผลเกษตรกรรม เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่เกษตรกร ท้ังนี้ เพ่ือเป็น การสนองแนวนโสยาํบนาักยงแานหค่งณรัฐะใกนรกรมากรลารดกคฤวษาฎมีกเาหลื่อมลํ้าในฐาสนํานะักขงอางนบคุคณคะกลรใรนมทกาางรเกศฤรษษฎฐีกกาิจและสังคม ตามท่ไี ดก้ ําหนดไว้ในรฐั ธรรมนูญ จึงจาํ เป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ีขึน้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัตกิ ารปฏริ ูปทีด่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๙๑๖ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติการปฏิรูป สํานกั ทงี่ดานินคเณพื่อะกเกรรษมตกรากรกรฤรมษฎพีก.าศ. ๒๕๑๘ ยังสมํานีบักทงบานัญคญณัตะกิไมรร่รมัดกกาุมรแกฤลษะฎเหกี มาาะสม ทําให้เสปาํ น็นักองุปานสครรณคะตก่อรรกมากรารกฤษฎีกา ดําเนินการปฏิรูปสทาํ นี่ดกัินงอานยคู่หณละากยรปรรมะกการากรฤแษลฎะกี มา ีบางประการสไําดน้แักกงา่เนรค่ือณง ะกการรรอมอกากรพกันฤษธฎบีกัตาร การชําระ ราคาหรือค่าทดแทนท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมเสียใหม่โดยรีบด่วน เพื่อให้การ สํานกั ปงฏานิบคัตณิตะากมรกรมฎกหามรกาฤยษเกฎิดีกคาวามคล่องตัวสแํานลักะงสานนอคงณนะโกยรบรมากยากรากรฤปษฏฎิรกี ูปา ท่ีดินของรัฐบสาํานลักไดงา้รนวคดณเระ็วกยรร่ิงมขก้ึนารกฤษฎกี า จึงจําเปน็ ต้องตราพระราชบัญญัตินขี้ ้นึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒๑๗ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๔ ท่ีราชพัสดุที่กระทรวงการคลังได้มาเน่ืองจากการจัดซื้อของ ส.ป.ก. หรอื มผี ู้ยกใหแ้ ก่ สสาํ.ปน.ักกง.านเพคือ่ ณดะาํ กเรนรินมกกาารรกปฤฏษริ ฎูปีกทา่ดี นิ เพื่อเกษตสรํากนรักรงมาซนึ่งคมณีอะยกู่ใรนรมวกันาทรี่พกฤรษะรฎากี ชาบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ให้กระทรวงการคลังดําเนินการโอนท่ีราชพัสดุดังกล่าวให้เป็นกรรมสิทธ์ิของ ส.ป.ก. เพื่อใช้ใน สาํ นักกงาานรปคณฏะิรกูปรทรม่ีดกินาเรพกื่อฤเษกฎษกี ตารกรรมตามพสํารนะกั รงาาชนบคณัญะญกัตรรินม้ี กกาารรกโฤอษนฎทกี ่ีราาชพัสดุดังกลส่าํานวักมงิใาหน้นคําณคะวการรมมใกนารกฤษฎีกา มาตรา ๘ และมาสตํานรากั ง๙านแคหณ่งะพกรรระมรกาาชรบกัญฤษญฎัตีกิทา่ีราชพัสดุ พ.สศํา.น๒กั ๕งา๑น๘คณมะากใรชร้บมังกคารับกฤแษลฎะกีใหา ้ดําเนินการ โอนตามประมวลกฎหมายท่ีดิน สํานกั งานคณะกรรมการกบฤรษรดฎากี นา ิติกรรมใด ๆสทํานไ่ี ดัก้กงารนะคทณาํ เะกก่ยีรรวมกกบั าทรกด่ี ฤนิ ษตฎาีกมาวรรคหนง่ึ ให้คสงาํ นมักีผงลาในชคไ้ ณดต้ะกอ่ รไรปมการกฤษฎีกา หมายเหตุ :- เหตสุผํานลกัในงากนาครณปะรกะรกรมาศกาใรชก้พฤรษะฎรกี าาชบัญญัติฉบับสนํานี้ คักงือานปครณะะเกทรศรไมทกยารไดกฤ้จษัดฎใหกี า้มีการปฏิรูป ที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมมาระยะหน่ึงแล้ว แต่การดําเนินการยังมีอุปสรรคทําให้การงานไม่อาจดําเนินไป สํานกั โงดายนเคหณมะากะรสรมมตกาารมกคฤวษรฎสีกมาควรขยายขอสบํานเขักตงกานาครจณัดะทกรี่ดรินมใกนากรกาฤรษปฎฏกีิราูปท่ีดินให้กว้างสขําวนาักงงขานึ้นคใหณ้สะกามรรามรกถารกฤษฎกี า ช่วยเหลือผู้ที่ประสงค์จะเป็นเกษตรกรได้และอาจจัดท่ีดินให้แก่ผู้ประกอบกิจการสนับสนุนและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๖ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๙๓/ตอนท่ี ๑๔๔/ฉบบั พิเศษ หนา้ ๔๗/๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ สํานักงานคณะกรรมการก๑๗ฤษราฎชกี กาจิ จานุเบกษา เลสม่ ําน๑ัก๐ง๖าน/ตคอณนะทกี่ ร๑ร๔ม๙ก/าฉรบกบั ฤพษเิ ฎศีกษาหน้า ๑๒/๘ กนั สยาํ านยักนงา๒น๕ค๓ณ๒ะกรรมการกฤษฎีกา

- ๑๘ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ตอ่ เน่อื งกับการปฏริ ปู ท่ีดินไดด้ ้วย เพื่อใหง้ านดาํ เนนิ ไปครบวงจรของภาคเกษตรกรรม นอกจากน้ัน ใน สาํ นกั กงาานรจคัดณหะการทรี่ดมินกามรากดฤําษเฎนกี ินาการปฏิรูปทส่ีดําินนไกั ดง้มานีปคัญณหะการวร่ามจกะาจรัดกฤซษ้ือฎทกี ี่ดาินจากผู้ท่ีสมัคสํารนใจักขงาานยคไณดะ้หกมรดรมทกั้งารกฤษฎกี า แปลงหรือไม่ และการนําท่ีดินของรัฐมาใช้จัดที่ดินมีปัญหาว่า ยังไม่มีแนวทางที่แน่ชัดระหว่าง หน่วยงานที่รับผิดสชาํ นอักบงาเนกคิดณปะัญกรหรามวก่าารสก.ฤปษ.กฎ.กี สามควรจะนําทสี่ําดนินกั สง่วานนคใดณมะกาใรชรม้จกัดาไรดก้เฤมษ่ือฎใดกี าและเพียงใด ทั้งยังมีข้อจํากัดที่ ส.ป.ก. จะเข้าดําเนินการในท่ีดินที่มีผู้ประสงค์บริจาค เพราะที่ดินน้ันต้องกลายเป็น สาํ นกั ทง่รีานาชคพณัสะกดรแุ รลมะกทารดี่ กินฤอษาฎจีกมาีขนาดไม่กวา้ งสมํานากกั งซานง่ึ ไคมณเ่ หะกมราระมสกมารทกีจ่ ฤะษกฎาํ ีกหานดเป็นเขตปฏสิราํ นูปักทง่ีดานินคเลณ็กะกๆรรโมดกยารกฤษฎกี า พแตรกะรตา่าชงกระฤหษวฎ่าีกงาทสหาํี่ดนลินักาทงยี่าเฉปนบ็นคับณขอะสกง่วรรนรัฐมใมนกาขาแรั้นตกน่เฤดําษิมทฎกี่ดีกับินาทม่ีดาิจนัดทใี่ไหด้แ้มกา่โปสดํารยนะกักชงาาารชนจนคัดนณซั้นะื้อกหกรรรฎือมหเกวมานรากยคฤปืนษัจทฎจีกําุบาใันหไ้ไดม้แ่อยากจขจ้ัดอ สํานักสงิทานธคิในณทะกดี่ รนิ รใมหก้แากรกป่ ฤรษะฎชกีาชานให้สอดคล้อสงํานกกัันงาสนมคคณวะรกแรกรไ้ มขกโาดรยกคฤําษนฎึงีกถางึ เปา้ หมายแลสะําคนวักางมานตค้อณงกะการรรขมอกงารกฤษฎกี า ผู้ขอรับการจัดที่ดินเป็นสําคัญ เพื่อให้สิทธิในที่ดินมีส่วนเกื้อหนุนสภาพความเป็นอยู่ในภาค เกษตรกรรมตามคสําวนาักมงเาปน็นคจณระิงกอรรนม่ึงกอารงกคฤ์ปษรฎะีกกาอบของคณะกสรํานรมักงกาานรคปณฏะิรกูปรทรมี่ดกินาเรพก่ือฤษเกฎษีกตารกรรมและ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด และแนวทางในการกําหนดเขตปฏิรูปท่ีดินยังไม่เหมาะสม สมควร สาํ นกั แงกานไ้ ขคเณพะิ่มกเรตริมมกกฎารหกมฤาษยฎปกี ัจาจบุ นั เสียใหมส่ ําจนงึ กั จงาํ าเนปคน็ ณตะอ้ กงรตรรมากพารรกะฤรษาชฎบีกาญั ญัติน้ี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา *พระราชกฤษฎีกสาาํ แนกกั ง้ไาขนบคทณบะัญกรญรมัตกิใหาร้สกอฤดษคฎลกี า้องกับการโอนสอํานําักนงาาจนหคนณ้าะทกร่ีขรอมงกสา่วรกนฤรษาฎชกีกาารให้เป็นไป ตามพระราชบัญญตั ปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕๑๘ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สมาํ านตักรงาาน๒ค๒ณะกในรรพมรกะารรากชฤบษญัฎีกญาัตกิ ารปฏิรูปทส่ีดํานินกัเพงาอื่ นเคกณษะตกรรกรรมรกมารพก.ฤศษ.ฎ๒กี ๕า๑๘ (๑) ให้แก้ไขคาํ วา่ “อธบิ ดกี รมประชาสงเคราะห์” เป็น “อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและ สาํ นักสงวานัสดคณิกาะรก”รรแมลกะารคกาํ ฤวษา่ ฎ“กี ปาระชาสงเคราสะําหน์จักงังหานวคดั ณ”ะเกปรน็ รม“กผาูแ้รกทฤนษกฎรีกมาพัฒนาสังคมแสลําะนสักวงาัสนดคกิ ณาะรก”รรมการกฤษฎกี า (๒) ให้เพ่ิม “อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง” เป็นกรรมการใน คณะกรรมการปสฏาํ ิรนูปกั ทงาี่ดนินคเณพะ่ือกเรกรษมตการรกกรฤรษมฎกีแาละเพ่ิม “ผู้แทสํานนกกั รงามนทครณัพะยการกรมรกทาารงกทฤะษเฎลีกแาละชายฝั่ง” เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด เพ่ือให้สอดคล้องกับการโอนอํานาจหน้าที่ของกรม สาํ นักพงัาฒนนคาณทะี่ดกิรนรมในกาสร่วกนฤทษ่ีเฎกีก่ียาวกับการวางสแําผนนกั กงาานรคใชณ้ทะี่ดกรินรชมากยาทรกะฤเษลฎมีกาาเป็นของกรมสทํารนัพักยงาานกครณทะากงรทระมเกลารกฤษฎกี า และชายฝ่ัง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติปรับปรุง สํานกั กงรานะคทณรวะงกรทรมบกวางรกกฤรษมฎพกี า.ศ. ๒๕๔๕ ไดสํา้บนัญักงญาันตคิใหณ้จะัดกรตรั้งมสก่วานรกรฤาชษกฎาีกราข้ึนใหม่โดยมสีภํานารักกงาิจนใคหณมะ่ กซร่ึงรไมดก้มาี รกฤษฎกี า การตราพระราชสกาํ นฤกั ษงาฎนีกคาณโะอกนรกรมิจกกาารกรฤบษรฎิหกี าารและอํานาจสําหนนัก้างาทนี่ขคอณงะสก่วรรนมรกาาชรกกฤาษรฎใหีกา้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ สํานักบงัญานญคณัติใะหกร้โอรมนกอาํารนกฤาษจฎหกีนา้าที่ของส่วนรสาําชนกกั างารนรคัฐณมะนกรตรรมีผกู้ดาํารกรงฤตษําฎแกี หา น่งหรือผู้ซ่ึงปสําฏนิบักัตงาิหนนค้าณทะ่ีใกนรสรม่วกนารกฤษฎกี า ราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอํานาจ หน้าที่ที่โอนไปด้วสยาํ นฉกั ะงนาน้ันคณเพะื่อกอรรนมุวกัตาิใรหก้เฤปษ็นฎไกี ปาตามหลักการสทํานี่ปักรงาากนฏคใณนะพกรระรมรกาชารบกัญฤษญฎัตีกิแาละพระราช กฤษฎกี าดงั กล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบญั ญตั ิของกฎหมายใหส้ อดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ สาํ นกั ผงู้เากนี่ยควณขะ้อกงรมรมีคกวาารมกชฤัดษเฎจีกนาในการใช้กฎสหํามนากั ยงโาดนยคไณมะ่ตก้อรรงมไปกาคร้นกหฤษาใฎนกี กาฎหมายโอนอสําาํ นนักางจาหนนค้าณทะ่ีวก่ารตรมากมารกฤษฎีกา กฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการก๑๘ฤษราฎชกี กาจิ จานุเบกษา เลส่มําน๑กั ๑ง๙าน/ตคอณนะทกี่ ร๑ร๐ม๒กากร/กหฤนษ้าฎ๖กี ๖า/๘ ตลุ าคม ๒๕ส๔ํา๕นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ๑๙ - สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา หน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปล่ียนช่ือส่วนราชการ รัฐมนตรี สาํ นกั ผงู้ดานําครงณตะํากแรหรมนก่งาหรรกือฤผษู้ซฎ่ึงกี ปาฏิบัติหน้าท่ีขสอํางนสัก่วงนานรคาชณกะการรรใหมก้ตารรงกกฤับษกฎากี ราโอนอํานาจหนสาํ้านทัก่ี แงาลนะคเณพะ่ิมกผรู้แรทมกนารกฤษฎีกา ส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจท่ีมีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วน ราชการใหม่ รวมสทํา้ังนตักัดงสานว่ นคณราะชกกรรามรเกดามิรกทฤม่ี ษีกฎากี รายุบเลกิ แล้ว ซสงึ่ ําเนปกั็นงกาานรคแณกะ้ไกขรใรหม้ตกรางรตกาฤมษพฎรีกะาราชบัญญัติ และพระราชกฤษฎกี าดงั กล่าว จึงจาํ เปน็ ตอ้ งตราพระราชกฤษฎีกาน้ี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษสฎงิ ภหกี รีาาภคทัมร๒/ต๕ร๕ว๔จ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

- ๒๐ - สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook