Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน บริหารจัดการขยะ

หนังสือเรียน บริหารจัดการขยะ

Published by l3y_tj, 2020-04-20 09:36:39

Description: หนังสือเรียน บริหารจัดการขยะ

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรยี น รายวิชาเลือก หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั พืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การอบยร่าิหงามรคีจัดณุ กคา่ารขยะ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย รหัสวิชา ทช33065 สํานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ลพบรุ ี สํานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ นํา สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลพบุรี และสถานศึกษาในสังกัด ได้ดาํ เนินการจดั ทาํ เอกสาร ประกอบการเรียนรู้ รายวิชาการบริหารจัดการขยะอย่างมีคุณค่า รหัสรายวิชา ทช33065 เพือสาํ หรับใช้ ในการเรียนการสอนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั พืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีวตั ถุประสงค์เพือ ตอ้ งการพฒั นาผูเ้ รียน ให้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม และมีศกั ยภาพในการ ประกอบอาชีพ สามารถดาํ เนินชีวิตอย่ใู นครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติไดเ้ ป็ นอยา่ งดียิง โดย ผเู้ รียนสามารถนาํ เอกสารประกอบการเรียนรู้ไปศึกษาคน้ ควา้ ไดด้ ว้ ยตนเอง ทาํ ความเขา้ ใจในเนือหาสาระ ของแต่ละบทเรียน สามารถนาํ ความรู้ทีไดร้ ับนีไปแลกเปลียนเรียนรู้ และนาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้ ในการดาํ เนินการจดั ทาํ เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาการบริหารจดั การขยะอยา่ งมี คุณค่า รหัสรายวิชา ทช33065 ได้เรี ยบเรี ยงและค้นคว้าเนือหาสาระจากสือต่าง ๆ อาทิ สือหนังสือ สืออนิ เตอร์เน็ต เพอื ใหไ้ ดเ้ นือหาสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและเป็นประโยชนต์ ่อผเู้ รียนอยา่ งแทจ้ ริง สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลพบุรี ขอขอบคุณผูเ้ รียบเรียงและคณะผจู้ ดั ทาํ ทุกท่านทีได้ให้ ความร่วมมือเป็ นอย่างดี และหวงั เป็ นอยา่ งยิงว่าเอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนีจะเป็ นประโยชน์ในการ จดั การเรียนรู้ของคณะครู และผเู้ รียนต่อไป สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั ลพบุรี

สารบญั หน้า เรือง 1 คาํ นาํ / สารบญั / คาํ แนะนาํ การใชห้ นงั สือเรียน 2 คาํ อธิบายรายวิชา 4 รายละเอยี ดคาํ อธิบายรายวิชา แบบทดสอบก่อนเรียน 10 บทที 1 ความรู้เบืองต้นเกยี วกบั ขยะมูลฝอย 11 13 ความหมายของขยะมลู ฝอย 15 ประเภทของขยะมลู ฝอย 16 แหล่งกาํ เนิดของขยะมลู ฝอย 19 องคป์ ระกอบทีมีผลต่อการเปลียนแปลงของขยะมลู ฝอย ผลกระทบของขยะมลู ฝอย 22 ใบงาน 26 บทที 2 แนวทางการลดปริมาณขยะ 28 ระดบั ครัวเรือน ระดบั ชุมชน 29 ใบงาน 30 บทที 3 การคดั แยกขยะมูลฝอย 32 มาตรฐานการคดั แยกขยะมลู ฝอย 33 หลกั เกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมลู ฝอย 38 แนวทางการบริหารจดั การขยะโดยวธิ ีการ5R 41 ประเภทของขยะรีไซเคิล การคดั แยกขยะมลู ฝอย ใบงาน

สารบัญ หน้า เรือง 44 บทที 4 การมสี ่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย 46 48 กระบวนการมสี ่วนร่วมของประชาชนและชุมชนต่อการกาํ จดั ขยะมลู ฝอยหรือสิงปฏกิ ลู 50 การเสริมสร้างศกั ยภาพของประชาชนในการจดั การขยะมลู ฝอยและสิงปฏกิ ลู 52 การรณรงคก์ ารลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยจากครัวเรือน 55 การรณรงคข์ จดั ของเสียอนั ตรายอยา่ งถกู วิธี การสร้างจิตสาํ นึกของคนในชุมชนในการบริหารจดั การขยะ 57 ใบงาน 57 บทที 5 การกาํ จดั ขยะมูลฝอยทถี ูกวธิ ี 59 การกาํ จดั ขยะมลู ฝอย 60 การกาํ จดั ขยะมลู ฝอยดว้ ยวธิ ีการฝังกลบ 62 การทาํ ป๋ ุย การกาํ จดั ขยะมลู ฝอยโยใชเ้ ตาเผาขยะ 63 ใบงาน 64 บทที 6 การใช้ประโยชน์และการเพมิ รายได้จากขยะมูลฝอย 65 การนาํ ขยะมลู ฝอยมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ 66 ขยะเปลียนเป็นพลงั งาน 68 ป๋ ุยอินทรียจ์ ากขยะ 70 สิงประดิษฐไ์ ซเคิล ใบงาน แบบทดสอบหลงั เรียน บรรณานุกรม คณะผ้จู ดั ทาํ

คาํ แนะนําการใช้หนังสือเรียน หนังสือเรียนรายวิชา การบริหารจดั การขยะอย่างมีคุณค่า รหัสรายวิชา ทช33065 เป็ น หนงั สือเรียนทีจดั ทาํ ขึนสาํ หรับผเู้ รียนนอกระบบ ในการศกึ ษาหนงั สือเรียนวิชาเลือก ผเู้ รียนควรปฏิบตั ิดงั นี 1. ศึกษาโครงสร้างรายวิชาใหเ้ ขา้ ใจในหวั ขอ้ และสาระสาํ คญั ผลการเรียนรู้ทีคาดหวงั และ ขอบข่ายเนือหาของรายวชิ านนั ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนือหาของแต่ละบทอย่างละเอียดและทาํ กิจกรรมทีกาํ หนด แลว้ ทาํ ความเขา้ ใจก่อนทีจะศึกษา 3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมทา้ ยเรืองของแต่ละเรือง เพอื ใชใ้ นการสรุปความรู้ ความเขา้ ใจของเนือหา ในเรืองนนั ๆ อกี ครัง และการปฏบิ ตั ิกิจกรรมแต่ละเนือหา แต่ละเรืองผเู้ รียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครู และเพือน ๆ ทีร่วมเรียนในรายวิชาและระดบั เดียวกนั ได้ 4. หนงั สือเรียนนีมี 6 บท บทที 1 ความรู้เบืองตน้ เกียวกบั ขยะมลู ฝอย บทที 2 แนวทางการลดปริมาณขยะ บทที 3 การคดั แยกขยะมลู ฝอย บทที 4 การมสี ่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจดั การขยะมลู ฝอย บทที 5 การกาํ จดั ขยะมลู ฝอยทีถกู วิธี บทที 6 การใชป้ ระโยชนแ์ ละการเพิมรายไดจ้ ากขยะมลู ฝอย

1 รหสั วิชา ทช 33065 คาํ อธิบายรายวชิ า จาํ นวน 3 หน่วยกติ ชือวชิ า การบริหารจดั การขยะอยา่ งมคี ุณค่า ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ เขา้ ใจ ตระหนกั และเห็นคุณค่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยอมรับประยุกตใ์ ชใ้ น ชุมชนและมีภูมิคุม้ กนั ในการดาํ เนินชีวิตและการอย่รู ่วมกนั ในครอบครัว ชุมชน และสงั คม อย่างสันติสุข สร้างความร่วมมอื ในการพฒั นาชุมชน ทอ้ งถินและมีความรู้ เขา้ ใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม เจตคติทีดี มีทกั ษะ ในการดูแลและสร้างเสริ มการมีพฤติกรรมสุขภาพทีดี ปฏิบัติเป็ นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดาํ รงสุขภาพของตนเองและครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ พลานามยั และพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทีดี ศึกษาและฝึ กทักษะ ความหมาย ประเภท แหล่งกาํ เนิด ผลกระทบของขยะมลู ฝอย แนวทางการลดปริมาณขยะ มลู ฝอยในครัวเรือนและชุมชน การคดั แยกขยะมลู ฝอย การมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยใน ชุมชน การกาํ จดั ขยะมลู ฝอย การใชป้ ระโยชนแ์ ละการเพิมรายไดจ้ ากขยะมลู ฝอย การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ผรู้ ู้ ภมู ิปัญญา เอกสาร ตาํ รา การสืบคน้ จากอนิ เตอร์เน็ตและสือต่าง ๆ การทาํ โครงงาน รวมทงั แลกเปลียนเรียนรู้ซึงกนั และกนั สรุปเป็นองคค์ วามรู้ การวดั และประเมนิ ผล ตรวจสอบดว้ ยวิธีการทีเหมาะสมและแสดงใหเ้ ห็นวา่ นาํ ไปใชใ้ นการดาํ เนินชีวติ ไดจ้ ริง จาก วิธีการสงั เกต ทดสอบ และประเมนิ โครงงาน

2 รหสั วิชา ทช 33065 รายละเอียดคาํ อธิบายรายวชิ า จาํ นวน 3 หน่วยกิต ชือวิชา การบริหารจดั การขยะอยา่ งมีคุณค่า ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มคี วามรู้ เขา้ ใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยอมรับประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชุมชนและมภี ูมิคุม้ กนั ในการดาํ เนินชีวิตและการอย่รู ่วมกนั ในครอบครัว ชุมชน และสงั คม อย่างสนั ติสุข สร้างความร่วมมือในการพฒั นาชุมชน ทอ้ งถินและมคี วามรู้ เขา้ ใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติทีดี มีทกั ษะ ในการดูแลและสร้างเสริ มการมีพฤติกรรมสุขภาพทีดี ปฏิบัติเป็ นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดาํ รงสุขภาพของตนเองและครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ พลานามยั และพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทีดี ที หวั เรือง ตวั ชีวดั เนือหา จาํ นวน ชวั โมง 1. ความหมายและ -อธิบายความหมายและ -ความหมายของขยะ 2ชวั โมง ประเภทของขยะ ประเภทของขยะได้ -ประเภทของขยะมลู ฝอย มลู ฝอย 2 แหลง่ กาํ เนิดและ -อธิบายแหลง่ กาํ เนิดและ -แหล่งกาํ เนิดของขยะ 5ชวั โมง ผลกระทบของขยะ ผลกระทบของขยะมลู ฝอย -ผลกระทบของขยะมลู ฝอย มลู ฝอย ส่งผลต่อชุมชนได้ 3 แนวทางการลด -อธิบายแนวทางการลด -แนวทางการลดปริมาณขยะ 3ชวั โมง ปริมาณขยะมลู ฝอย ปริมาณขยะมลู ฝอยใน มลู ฝอยในครอบครัว ครอบครัวและ และชุมชน -ชุมชนได้ 4 การคดั แยกขยะ อธิบายและสามารถคดั แยก -ความสาํ คญั ของการคดั แยก 40ชวั โมง มลู ฝอย ขยะมลู ฝอยไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ขยะมลู ฝอย เหมาะสม -หลกั เกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมลู ฝอย -การคดั แยกขยะโดยวิธกี าร 5R -ประเภทของขยะรีไซเคิล -การคดั แยกขยะมลู ฝอย

3 ที หวั เรือง ตวั ชีวดั เนือหา จาํ นวน ชวั โมง 5 การมสี ่วนร่วมใน อธิบายและบอกวธิ ีการมี -กระบวนการมสี ่วนร่วมของ 30ชวั โมง การบริหารจดั การ ส่วนร่วมในการบริหารจดั การ ประชาชนและชุมชนต่อการ ขยะมลู ฝอยกบั มลู ฝอยชุมชนของตนเองได้ กาํ จดั ขยะมลู ฝอยและ ชุมชน สิงปฏกิ ลู -การเสริมสร้างศกั ยภาพของ ประชาชนในการจดั การขยะ มลู ฝอยและสิงปฏกิ ลู -การรณรงคก์ ารลดและ คดั แยกขยะมลู ฝอย -การสร้างจิตสาํ นึกของ ชุมชนในการบริหารจดั การขยะ 6 วิธีการกาํ จดั ขยะ อธิบายวธิ ีการกาํ จดั ขยะมลู -การฝังกลบ 10ชวั โมง มลู ฝอย ฝอยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม -การหมกั ทาํ ป๋ ุย -ระบบเผาทาํ ลายดว้ ย ความร้อน -แหล่งเรียนรู้ในการกาํ จดั ขยะมลู ฝอยในชุมชน 7 การใชป้ ระโยชน์ ยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์ การใชป้ ระโยชนแ์ ละการเพิม 30ชวั โมง และการเพิมรายได้ และวิธีการเพิมรายไดจ้ าก รายไดจ้ ากขยะมลู ฝอย จากขยะมลู ฝอย ขยะมลู ฝอยได้ -ขยะเปลยี นเป็นพลงั งาน -ป๋ ุยอินทรียท์ ีไดจ้ ากขยะ -สิงประดิษฐร์ ีไซเคิล

4 แบบทดสอบก่อนเรียน คาํ สงั จงเลอื กคาํ ตอบทีถกู ตอ้ งทีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ขยะมลู ฝอย ก. เศษอาหาร กระป๋ องนาํ อดั ลม ข. ถงุ พลาสติก เศษกระดาษ ค. มลู สตั ว์ ซากสตั ว์ ง. ผกั ผลไม้ 2. ขยะมลู ฝอยแบ่งไดก้ ีประเภท อะไรบา้ ง ก. 3 ประเภท ขยะเปี ยก ขยะแหง้ ขยะรีไซเคิล ข. 3 ประเภท ขยะเปี ยก ขยะอนั ตราย ขยะรีไซเคิล ค. 3 ประเภท ขยะเปี ยก ขยะแหง้ ขยะอนั ตราย ง. 3 ประเภท ขยะเปี ยก ขยะอนั ตราย ขยะรีไซเคิล 3. ขอ้ ใดคือ ขยะเปี ยก ก. ขวดนาํ ข. ถุงพลาสติกใส่นาํ จิม ค. กล่องโฟม ง. เศษไม้ 4. ขวดนาํ ยาลา้ งหอ้ งนาํ เป็นขยะประเภทใด ก. ขยะเปี ยก ข. ขยะแหง้ ค. ขยะรีไซเคิล ง. ขยะอนั ตราย 5. ขอ้ ใด ไม่จดั อยใู่ นประเภทขยะอนั ตราย ก. เศษแกว้ ข. แบตเตอรีโทรศพั ทม์ อื ถอื ค. ขวดนาํ ยาลา้ งหอ้ งนาํ ง. หลอดไฟ

5 6. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบของขยะมลู ฝอยต่อสภาพแวดลอ้ ม ก. มลพิษทางดนิ นาํ และอากาศ ข. ก่อใหเ้ กิดโรคระบาด ค. เสียค่าใชจ้ ่ายในการกาํ จดั ง. แหล่งอาศยั ของสตั วม์ ีพษิ 7. ขอ้ ใดเป็นตน้ เหตุทาํ ใหเ้ กิดปัญหาขยะมลู ฝอย ก. มนุษย์ ข. สตั ว์ ค. จุลนิ ทรีย์ ง. ถกู ทุกขอ้ 8. ขอ้ ใดเป็นการคดั แยกขยะมาใชป้ ระโยชน์ใหม่ ก. Reduce ข. Reuse ค. Recycle ง. Reject 9. สมศรีใชป้ ิ นโตใส่อาหารไปทานมือกลางวนั เป็นวิธีการลดปริมาณขยะ แบบใด ก. Reduce ข. Reuse ค. Recycle ง. Reject 10. ขอ้ ใดเป็นการลดปริมาณขยะโดยใชห้ ลกั Reuse ก. สมชายใชถ้ งุ ผา้ ใส่ของเวลาไปตลาด ข. สมศกั ดคิ ดั แยกขวดไปขาย ค. สมหญิงใชย้ างรถยนตเ์ ก่ามาทาํ เกา้ อี ง. สมทรงตรวจเอกสารก่อนพิมพจ์ ากหนา้ คอมพิวเตอร์ก่อนพมิ พท์ ุกครัง

6 11. จากรูปภาพ เป็นถงั ขยะทีใชใ้ ส่ขยะประเภทใด ก. เศษผกั ผลไม้ ข. ขวดนาํ ค. กระดาษ ง. หลอดไฟ 12. ถา้ ตอ้ งการทิงหลอดไฟ ควรทิงในถงั ขยะสีอะไร ก. สีเขียว ข. สีสม้ ค. สีฟ้ า ง. สีเหลือง 13. ถงั ขยะสีเหลอื งมีไวใ้ ส่ขยะประเภทใด ก. ขยะเปี ยก ข. ขยะแหง้ ค. ขยะอนั ตราย ง. ขยะรีไซเคิล 14. แนวทางบริหารจดั การขยะ 5R มอี ะไรบา้ ง ก. Reduce Reuse Recycle Repair Reject ข. Reduce Reuse Recycle Repair Refill ค. Reduce Reuse Repair Reject Refill ง. Reduce Recycle Repair Reject Refill 15. Repair หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ลดการใช้ ข. นาํ กลบั มาใชใ้ หม่ ค. การซ่อมแซม แลว้ นาํ มาใชป้ ระโยชน์ ง. การปฏิเสธ

7 16. สญั ลกั ษณ์นีจะพบในผลติ ภณั ฑพ์ ลาสติกแบบใด ก. ขวดนาํ อดั ลม ข. ขวดยา ค. ขวดแชมพู ง. ขวดนาํ ยาซกั แหง้ 17. ขอ้ ใดเป็นขยะมลู ฝอยทีใชเ้ วลาในการยอ่ ยสลายนานทสี ุด ก. โฟม ข. มลู สตั ว์ ค. ซากพืช/สตั ว์ ง. เศษอาหาร 18. ขอ้ ใดทีท่านคิดว่าเป็นปัญหาเกยี วกบั ขยะมลู ฝอยมากทสี ุด ก. สมบตั ิ ไมท่ ิงขยะมลู ฝอยลงถงั รองรับขยะมลู ฝอย ข. สมชาย ไม่ไดค้ ดั แยกขยะมลู ฝอยก่อนทิง ค. สมหมาย ซือผลิตภณั ฑท์ ีมีบรรจุภณั ฑท์ ีทนั สมยั ง. สมศรี ไปซือของทีตลาดโดยนาํ ถงุ ผา้ ใสของดว้ ยทกุ ครัง 19. ขอ้ ใดเป็นการคดั แยกขยะมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ ก. Reduce ข. Reuse ค. Recycle ง. Reject 20. ขอ้ ใดเป็นพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะของชุมชน ก. นกคดั แยกขยะในครอบครัวของตนเองแลว้ นาํ ขวดไปขายร้านของเก่า ข. ไก่ไปจ่ายตลาดโดยใชต้ ะกร้าทุกครัง ค. ปลาเขา้ ร่วมกิจกรรมรณรงคแ์ ละธนาคารขยะ ง. ถกู ทุกขอ้

8 21. การคดั แยกขยะควรเริมกระทาํ จากบุคคลกลุ่มใด ก. ตวั เรา ข. โรงเรียน ค. บริษทั เอกชน ง. รัฐบาล 22. หากเราทุกคนช่วยกนั คดั แยกขยะ จะก่อใหเ้ กิดสิงใด ก. ปริมาณขยะลดลง ข. ช่วยลดมลภาวะ ค. ลดภาวะโลกร้อน ง. ถกู ทุกขอ้ 23. Reject คืออะไร ก. การหลกี เลียงใชส้ ิงทีก่อใหเ้ กิดมลพิษ ข. การซ่อมแซมแกไ้ ขสิงของต่างๆ ใหส้ ามารถใชง้ านต่อได.้ ค. การลดปริมาณขยะ ง. ถกู ทุกขอ้ 24. ขอ้ ใดเป็นกิจกรรมการบริหารจดั การขยะแบบมสี ่วนร่วมของชุมชน ก. ธนาคารขยะ ข. การคดั แยกขยะทีตน้ ทาง ค. กิจกรรมขยะแลกไข่ ง. ถกู ทุกขอ้ 25. ขอ้ ใดเป็นการกาํ จดั ขยะมลู ฝอยทีถกู วธิ ี ก. ปลาเผาขยะมลู ฝอยทุกวนั ข. กุง้ แยกขยะแลว้ นาํ ขยะเปี ยกไปทาํ ป๋ ุยหมกั ค. ปแู ยกขยะแลว้ นาํ ขยะอนั ตรายไปเผา ง. กงั แยกขยะแลว้ นาํ ขยะอนั ตรายไปฝังใกลแ้ มน่ าํ

9 26. ขอ้ ใด ไม่ใช่ การนาํ ขยะมาใชป้ ระโยชน์ ก. การนาํ ขวดซุปไก่สกดั ใส่เครืองเทศ เครืองปรุง ข. การนาํ ผกั มาปรุงอาหาร ค. การนาํ ขวดยาคูลทม์ าทาํ เกา้ อีนงั ง. การนาํ แกนกระดาษชาํ ระ ใชเ้ ก็บถงุ เทา้ เนกไท หรือชุดชนั ในใหเ้ ป็นระเบียบ 27. ขอ้ ใด ไม่ใช่ กิจกรรมทีส่งเสริมการคดั แยกขยะ ก. ขยะแลกไข่ ข. ศนู ยข์ ยะรีไซเคิล ค. ธนาคารขยะ ง. การดาํ นาํ เก็บขยะ 28. บุคคลใดมจี ิตสาํ นึกในการอนุรักษส์ ิงแวดลอ้ ม ก. สมใจ สงสารคนเก็บขยะมลู ฝอยจึงไปช่วยเก็บขยะมลู ฝอยดว้ ย ข. สมศกั ดิ ทิงขยะมลู ฝอยลงถงั เสมอ ค. สมพงษ์ เห็นขยะมลู ฝอยตกอยแู่ ลว้ บอกคนเกบ็ ขยะมลู ฝอยใหม้ าเกบ็ ไปทิง ง. สมหวงั เห็นขยะมลู ฝอยตกลงพนื แลว้ รีบไปเก็บขยะมลู ฝอยโดยแยกขยะมลู ฝอย ก่อนทิง 29. ขอ้ ใดเป็นแนวทางทีช่วยแกป้ ัญหาทีดีทีสุดในเรืองการสร้างจิตสาํ นึกในการคดั แยกขยะมลู ฝอย ก. แจกถงั รองรับขยะมลู ฝอยเพอื ไวส้ าํ หรับการคดั แยกขยะมลู ฝอย ข. สาธิตวธิ ีการคดั แยกขยะมลู ฝอยแกช่ าวบา้ นทกุ หลงั คาเรือน ค. รัฐบาลออกกฎหมายใหท้ ุกบา้ นมกี ารคดั แยกขยะมลู ฝอยทุกหลงั คาเรือน ง. การอบรมเรืองการคดั แยกขยะมลู ฝอยโดยใชก้ ระบวนการสิงแวดลอ้ มศกึ ษา 30. การกาํ จดั ขยะมี กวี ธิ ี ก. 2 วธิ ี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วธิ ี

10 บทที 1 ความรู้เบืองต้นเกียวกบั ขยะมูลฝอย ความหมายของขยะมูลฝอย ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตสถานฉบบั พ.ศ.2525 กล่าวว่า มูลฝอย หมายถึง เศษสิงของทีทิงแลว้ หยากเยอื ขยะ หมายถึง หยากเยอื มลู ฝอย พระราชบญั ญตั ิสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ใหค้ าํ จาํ กดั ความ มลู ฝอย หมายถงึ สิงต่าง ๆ ทีเราไมต่ อ้ งการ ทีเป็นของแขง็ หรืออ่อน มี ความชืน ไดแ้ ก่ เศษกระดาษ เศษผา้ เศษ อาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะกล่องใส่อาหาร เถา้ มูลสตั ว์ หรือซากสตั วร์ วมตลอดถงึ วตั ถุอืน สิงใดทเี กบ็ กวาดไดจ้ ากถนน ตลาด ทีเลยี งสตั ว์ หรือทีอืน ตามพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 ใหค้ าํ จาํ กดั ความของคาํ ว่า ของเสีย หมายความว่า ขยะมูลฝอย สิ งปฏิกูล นําเสีย อากาศเสีย มลสารหรื อวตั ถุ อนั ตรายอืนใด ซึงถูกปล่อยทิ งหรือมีทีมาจากแหล่งกาํ เนิด มลพิษ รวมทังกากตะกอนหรือสิงตกค้างจากสิ งเหล่านัน ทีอยใู่ นสภาพของแข็ง ของเหลวหรือกา๊ ซในทางวชิ าการจะใช้ คาํ ว่า ขยะมูลฝอย ซึงหมายถึง บรรดาสิงของทีไม่ต้องการ ใชแ้ ลว้ ซึงส่วนใหญ่จะเป็นของแขง็ จะเน่าเปื อยหรือไมก่ ต็ าม รวมตลอดถงึ เถา้ ซากสตั ว์ มลู สตั ว์ ฝ่ ุนละออง และเศษวตั ถทุ ีทิงแลว้ จากบา้ นเรือน ทีพกั อาศยั สถานทีต่าง ๆ รวมถึงสถานทีสาธารณะ ตลาดและโรงงาน อตุ สาหกรรม ยกเวน้ อจุ จาระ และปัสสาวะของมนุษย์ ซึงเป็นสิงปฏกิ ูล วิธีจดั เก็บและกาํ จดั แตกต่างไปจาก วิธีการจดั ขยะมลู ฝอย ปัจจุบนั วิทยาการกา้ วหน้า ประชากรเพิมอย่างรวดเร็ว อตั ราการใชท้ ีดินเพิมขึน เพือผลิตเครืองอุปโภค บริโภค อาหาร ทีอยอู่ าศยั เป็ นเหตุให้เศษสิงเหลือใชม้ ีปริมาณมากขึน ก่อให้เกิด ปัญหาของขยะมลู ฝอย

11 ขยะ หรือ มลู ฝอย หรือ ของเสีย เป็นเหตุสาํ คญั ประการหนึงทีก่อใหเ้ กิดปัญหาสิงแวดลอ้ ม และมีผลต่อสุขภาพอนามยั มลู ฝอยหรือของเสียกาํ ลงั มีปริมาณเพิมมากขึนทกุ ปี เพราะสาเหตุจากการเพิม ของประชากร การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และทางอตุ สาหกรรม นบั เป็นปัญหาทีสาํ คญั ของชุมชนซึงตอ้ ง จดั การและแกไ้ ข ปริมาณกากของเสียและสารอนั ตราย ไดแ้ ก่ ขยะมลู ฝอย สิงปฏกิ ลู และสารพษิ ทีปนเปือน อยใู่ นแหล่งนาํ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกคา้ งอยใู่ นอาหาร ทาํ ใหป้ ระชาชนทวั ไปเสียงต่ออนั ตราย จากการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง และ โรคผดิ ปกติทางพนั ธุกรรม เป็นตน้ ประเภทของขยะมลู ฝอย ขยะมูลฝอยสามารถจาํ แนกประเภทได้ดงั นี 1. การแบ่งตามแหล่งกาํ เนิดของขยะมลู ฝอย - ขยะมลู ฝอยจากชุมชน เช่น ธุรกิจการ พาณิชยกรรม ทีพกั อาศยั สถานทีสาธารณะ สถานทีราชการ และระบบสาธารณูปโภค เป็นตน้ ซึงมีขยะมลู ฝอยแหง้ เช่น แกว้ พลาสติก โลหะ กระดาษ และขยะสด/ขยะมลู ฝอยเปี ยก เช่น เศษผกั ผลไม้ เศษอาหาร และสิงขบั ถ่ายของมนุษย์ - ขยะมลู ฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม มี ขยะทีเป็นของเสียทีไม่เป็นอนั ตราย และขยะที เป็นของเสีย เป็นอนั ตรายต่อชีวติ และสิงแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ ขยะมลู ฝอยทวั ไป (General wastes) กบั ขยะมลู ฝอย อนั ตราย (Hazardous wastes) เช่น ซากรถยนต์ ของเสียทีเป็นพษิ ของเสียติดไฟ ของเสียทีมีฤทธิกดั กร่อน ส่วนกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิน กลา่ วว่า ขยะจากอตุ สาหกรรม (Industrial Waste) เป็นเศษวสั ดุทีเกิด จากการผลติ ของโรงงานอุตสาหกรรม อาจเป็นสารอนิ ทรียท์ ีเน่าเปื อย ขึนอยกู่ บั ชนิดของอุตสาหกรรม ซาก และส่วนประกอบของยานพาหนะทีหมดสภาพการใชง้ านหรือใชง้ านไมไ่ ดแ้ ลว้ เช่น ยาง แบตเตอรี เป็นตน้ ควรแยกชินส่วนทีสามารถนาํ มาใชไ้ ดก้ ่อนนาํ ไปกาํ จดั และขยะมลู ฝอยจากการเกษตรกรรม มีขยะมลู ฝอย เปี ยก เช่น ชานออ้ ย ซงั ขา้ วโพด ซากพชื ซากสตั ว์ มลู สตั ว์ เถา้ ถา่ น และขยะทีเป็นอนั ตราย เช่น สารเคมี ภาชนะบรรจุ ยาฆ่าแมลงหรือยาปราบศตั รูพชื 2. การแบ่งตามลกั ษณะสมบตั ิของขยะมลู ฝอย - ขยะมลู ฝอยแหง้ (Refuse) เช่น กระดาษ พลาสติก แกว้ ผา้ โลหะ เป็นขยะทีไม่สามารถ นาํ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ีก หรือถา้ นาํ กลบั มาใชจ้ ะไดป้ ระโยชนไ์ มค่ ุม้ ค่า ไดแ้ ก่ กล่องนม เศษกระดาษ กระดาษชาํ ระ ถุงพลาสติก ไมเ้ สียบลกู ชินและไมจ้ ิมขนมและขยะแหง้ ทาํ ลายความสง่างามของสถานที ถา้ มี จาํ นวนมากจะเป็นทีอยอู่ าศยั ของสตั วม์ พี ษิ และสตั วท์ ีเป็นพาหะนาํ โรค

12 - ขยะมลู ฝอยเปี ยก (Garbage) เช่น เศษผกั ผลไม้ เศษอาหาร ขยะมลู ฝอยทีเผาไหมไ้ ด้ (Combustible waste) เช่น กระดาษ ผา้ หรือสิงทอ ผกั ผลไม้ เศษอาหาร หญา้ และไม้ ขยะมลู ฝอยที เผาไหมไ้ มไ่ ด้ (Non-combustible waste) เช่น เหลก็ หรือโลหะอืน แกว้ หิน กระเบือง เปลือกหอย - ขยะมลู ฝอย/ของเสียอนั ตราย/ขยะ มีพษิ (Hazardous waste) ไดแ้ ก่ ผา้ อนามยั หลอดไฟ แบตเตอรีแหง้ กระป๋ องสี ขวดนาํ ยาลา้ งหอ้ งนาํ หลอดหมึกคอมพวิ เตอร์ บรรจุภณั ฑส์ าํ หรับใส่ป๋ ุย/ ใส่ยาปราบศตั รูพืช และใส่ยาฆ่าแมลง ขยะติดเชือและ ขยะอนั ตราย (Hazardous Waste) เป็นขยะจากสถานพยาบาล หรือสถานทีอืนๆ ทีตอ้ งใชก้ รรมวิธีทาํ ลาย เป็นพิเศษ ไดแ้ ก่ แบตเตอรี กระป๋ องสี พลาสติก ถ่านไฟฉาย ฟิ ลม์ ถ่ายรูป วสั ดุทีผา่ นการใชใ้ นโรงพยาบาล เป็นตน้ การกาํ จดั ขยะติดเชือจากโรงพยาบาลจะทาํ ลายโดยการเผาในเตาเผา ส่วนขยะอนั ตรายอืนๆ ตอ้ งดาํ เนินการอยา่ งระมดั ระวงั 3. แบ่งตามลกั ษณะของส่วนประกอบของขยะมลู ฝอย - กระดาษ ถงุ กระดาษ กลอ่ ง ลงั เศษกระดาษจากสาํ นกั งาน - พลาสติก มคี วาม ทนทานต่อการทาํ ลายไดส้ ูง วสั ดุ หรือ ผลติ ภณั ฑท์ ีทาํ จากพลาสติก เช่น ถุง ภาชนะ ของเดก็ เล่น ของใช้ - แกว้ วสั ดุหรือ ผลิตภณั ฑท์ ีทาํ จากแกว้ เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ - เศษอาหาร ผกั ผลไม้ ซึงเป็นสารประกอบอนิ ทรีย์ ยอ่ ยสลายไดง้ ่าย เป็นส่วนประกอบ สาํ คญั ทีทาํ ใหข้ ยะเกิดกลินเหมน็ ส่งกลินรบกวนหากไม่มกี ารเก็บ ขนออกจากแหลง่ ทิงทุกวนั - ผา้ สิงทอต่าง ๆ ทีทาํ มาจากเสน้ ใยธรรมชาติ และใยสงั เคราะห์ เช่น ผา้ ไนลอ่ น ขนสตั ว์ ลนิ ิน ฝ้ าย

13 - ยางและหนงั เช่น รองเทา้ กระเป๋ า - ไม้ เศษเฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เกา้ อี ฯลฯ - หิน กระเบือง กระดกู และเปลือกหอย พวกนีไมเ่ น่าเปื อย พบมากในแหลง่ ก่อสร้างตึกที ทุบทิ ง - โลหะต่าง ๆ เช่น กระป๋ อง ลวด สายไฟ ตะปู จะเห็นไดว้ ่าประเภทขยะสามารถแบ่งหลายรูปแบบตามวธิ ีการแบ่งตามลกั ษณะส่วนประกอบ แหล่งกาํ เนิด หรือแมก้ ระทงั สมบตั ิของขยะมลู ฝอย ซึงโดยสรุปสามารถแยกประเภทของขยะมลู ฝอยไดต้ าม หลกั ใหญ่ๆ ดงั นี ประเภทของขยะมลู ฝอย มี 3 ประเภทใหญ่ คอื 1. มลู ฝอยเปี ยก ไดแ้ ก่ พวกเศษอาหาร เศษพชื ผกั เปลือกผลไม้ อนิ ทรียว์ ตั ถทุ ีสามารถยอ่ ยสลายเน่าเปื อย ง่าย มีความชืนสูงและส่งกลินเหมน็ ได้ รวดเร็ว 2. มลู ฝอยแหง้ ไดแ้ ก่ พวกเศษกระดาษ เศษผา้ แกว้ โลหะ ไม้ พลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมลู ฝอย ชนิดนีจะ มที งั ทีเผาไหมไ้ ดแ้ ละเผาไหมไ้ ม่ได้ ขยะแห้งเป็ นขยะมูลฝอยทีสามารถเลือก วสั ดุทียงั มปี ระโยชน์ กลบั มาใชไ้ ดอ้ ีก โดยการทาํ คดั แยกมลู ฝอยก่อนนาํ ทิงซึงจะช่วยให้สามารถลดปริมาณ มลู ฝอยทีจะตอ้ งนาํ ไปทาํ ลาย ลงได้ และถา้ นาํ ส่วนทีใชป้ ระโยชน์ได้นีไปขายก็จะทาํ รายได้กลับคืนมา 3. ขยะมลู ฝอยอนั ตราย ไดแ้ ก่ ของเสียทีเป็นพิษ มฤี ทธิกดั กร่อนและระเบิดไดง้ ่าย ตอ้ งใช้ กรรมวิธีในการทาํ ลายเป็นพิเศษ เนืองจากเป็นวสั ดุทีมอี นั ตราย เช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี รถยนต์ หลอดไฟ สเปรยฉ์ ีดผม ฯล แหล่งกาํ เนิดของขยะมูลฝอย แหล่งกาํ เนิดของขยะมลู ฝอยมดี งั นี 1. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียอนั ตรายทวั ประเทศไทย 73 % มาจากระบบ อตุ สาหกรรม ส่วนใหญ่ยงั ไม่มกี ารจดั การทีเหมาะสมโดยทิงกระจายอยตู่ ามสิงแวดลอ้ มและทิงร่วมกบั มลู ฝอย รัฐบาลได้ ก่อตงั ศนู ยก์ าํ จดั กากอตุ สาหกรรมขนึ แห่งแรกทีแขวงแสมดาํ เขตบางขนุ เทียน เริมเปิ ด บริการตงั แต่ 2531 ซึงก็เพียงสามารถกาํ จดั ของเสียไดบ้ างส่วน 2. โรงพยาบาลและสถานทีศกึ ษาวจิ ยั ของเสียจากโรงพยาบาลเป็นของเสียอนั ตรายอยา่ งยงิ

14 เช่น ขยะตดิ เชือ เศษอวยั วะจากผปู้ ่ วย และการรักษาพยาบาล รวมทงั ของเสียทีปนเปือนสารกมั มนั ตรังสี สารเคมี ไดท้ ิงสู่สิงแวดลอ้ มโดยปะปนกบั มลู ฝอยสิงปฏิกลู เป็นการเพิมความเสียงในการแพร่กระจายของ เชือโรคและสารอนั ตราย 3. ภาคเกษตรกรรม เช่น ยาฆ่าแมลง ป๋ ุย มลู สตั ว์ นาํ ทิงจากการทาํ ปศสุ ตั ว์ ฯลฯ 4. บา้ นเรือนแหลง่ ชุมชน เช่น หลอดไฟ ถา่ นไฟฉาย แบตเตอรี แกว้ เศษอาหาร พลาสติก โลหะ หินไม้ กระเบือง หนงั ยาง ฯลฯ 5. สถานประกอบการในเมอื ง เช่น ภตั ตาคาร ตลาดสด วดั สถานเริงรมย์ แหลง่ ชุมชน กิจกรรมอตุ สาหกรรม และกิจกรรมเกษตร จดั ไดว้ า่ เป็นแหล่งกาํ เนิดของขยะมูลฝอยทีสาํ คญั เมือประชากร เพิมขึนขยะมลู ฝอยกจ็ ะเพิมขึนเป็นเงาตามตวั ประกอบกบั มกี ารพฒั นาอตุ สาหกรรมอยา่ งรวดเร็ว กย็ งิ ทาํ ใหม้ ี ขยะมลู ฝอยใหม่ ๆ เกิดขึนมากมาย ขยะมลู ฝอยเหล่านีมีทงั ขยะมลู ฝอยทัวไปและของเสียอนั ตราย แต่ละ ประเภทมลี กั ษณะแตกต่างกนั

15 แผนผงั แหล่งกาํ เนดิ และประเภทขยะมูลฝอย องค์ประกอบทมี ผี ลต่อการเปลยี นแปลงขยะมูลฝอย ปริมาณและลกั ษณะของขยะมลู ฝอยขึนอยกู่ บั ปัจจยั ต่อไปนี 1. ลกั ษณะชุมชนหรือทีตงั ของทอ้ งถิน ชุมชนการคา้ ( ตลาด ศนู ยก์ ารคา้ ) จะมปี ริมาณ ขยะมลู ฝอยมากกว่าชุมชนทีอยอู่ าศยั ส่วนบริเวณเกษตรกรรม จะมีปริมาณขยะมลู ฝอยอีกรูปแบบหนึง 2. ความหนาแน่นของประชากรในชุมชน บริเวณทีอยอู่ าศยั หนาแน่นปริมาณขยะเก็บ มากกวา่ บริเวณทีมีประชากรอาศยั อยนู่ อ้ ย เช่น บริเวณ แฟลต คอนโดมเิ นียม ทาวนเ์ ฮาส์ ซึงมผี อู้ ยอู่ าศยั หลาย ครอบครัว ปริมาณขยะมมี าก 3. ฤดูกาล มีผลต่อการเปลยี นปลงของปริมาณขยะเป็นอยา่ งมาก เช่น ฤดูทีผลไมม้ าก ปริมาณขยะมลู ฝอยจาํ พวกเปลอื ก เมด็ ของผลไมจ้ ะมีมาก เพราะเหลอื จากการบริโภคของประชาชน ถา้ ผลไม้ ยงิ ออกสู่ตลาดเป็นจาํ นวนมาก ยงิ ทาํ ใหม้ ีเปลอื กและเศษผลไมท้ ิงมากในปี นนั 4. สภาวะเศรษฐกิจ ชุมชนทีมีฐานะดี ยอ่ มมีกาํ ลงั ซือสินคา้ สูงกวา่ ชุมชนทีมีฐานะเศรษฐกิจ ตาํ จึงมีขยะมลู ฝอยมากตามไปดว้ ย ชุมชนทีมีฐานะเศรษฐกิจดี จะมขี ยะมลู ฝอยจากบรรจุภณั ฑ์ เช่น กลอ่ ง กระป๋ อง โฟม ถงุ พลาสติก ส่วนพวกฐานะทีไม่ดีมกั เป็นเศษอาหาร เศษผกั 5. อุปนิสยั ของประชาชนในชุมชน ประชาชนทีมีอุปนิสยั รักษาความสะอาด เป็ นระเบียบ เรียบร้อยจะมีปริมาณขยะมลู ฝอยในการเก็บขนมากกว่าประชาชนทีมีอุปนิสยั มกั ง่ายและไม่เป็ นระเบียบ

16 ซึงจะทิงขยะมลู ฝอยกระจดั กระจาย ไม่รวบรวมเป็นทีเป็นทาง ปริมาณขยะมลู ฝอยทีจะเก็บขนจึงนอ้ ยลง แต่ ไปมากอยตู่ ามลาํ คลอง ถนนสาธารณะ ถนน ทีสาธารณะ เป็ นตน้ ตวั แปรอีกตัวหนึงคือ พฤติกรรมการ บริโภคและค่านิยมของคนแต่ละกลมุ่ มผี ลต่อลกั ษณะของขยะมลู ฝอย เช่น กลุ่มวยั รุ่นนิยมอาหารกระป๋ อง นาํ ขวด อาหารใส่โฟม พลาสติก กล่องกระดาษ 6. การจดั การบริการเก็บขยะมลู ฝอย องคป์ ระกอบนีก็เป็นผลอยา่ งมากต่อการเปลียนแปลง ปริมาณขยะมลู ฝอย ถา้ บริการเก็บขยะมลู ฝอยไมส่ มาํ เสมอประชาชนก็ไมก่ ลา้ นาํ ขยะมลู ฝอยออกมา ความ ไมส่ ะดวกในการจดั เกบ็ ขยะมลู ฝอย เพราะรถขนขยะมลู ฝอยไม่สามารถเขา้ ชุมชนได้ เนืองจากถนนหรือ ตรอก ซอยแคบมาก ตอ้ งใชภ้ าชนะขนถ่ายอกี ทอดหนึง กท็ าํ ใหป้ ริมาณขยะมลู ฝอยเหลอื จากการเกบ็ อกี มาก 7. ความเจริญของ อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี เนืองจากคน บริโภคอาหารสาํ เร็จรูปกนั มากขึน ทงั ภาชนะ ฟ่ มุ เฟื อย ขวด กระป๋ อง กล่อง ถุงพลาสติก ฯลฯ กนั มาก ผลกระทบของขยะมูลฝอย ขยะ เศษวสั ดุ ของเสีย มี ปริมาณเพิมมากขึน เนืองจากการขยายตวั ของ เมืองการพฒั นาเทคโนโลยเี พอื อาํ นวยความ สะดวกสบาย การอยอู่ าศยั อยา่ งหนาแน่น หาก ใชว้ ิธีกาํ จดั ทีไม่ถกู ตอ้ งเหมาะสม ก่อใหเ้ กิด ปัญหาตามมา นาํ เสียจากกองขยะ(Leachate ) มคี วามสกปรกสูง มีสภาพเป็นกรด มเี ชือโรค หากนาํ จากขยะรัว ไหลปนเปือนสู่สิงแวดลอ้ ม เป็นผลใหเ้ กิดอนั ตรายและเกิดมลพิษในบริเวณ ทีปนเปือนดงั ในแหลง่ ทิงขยะของเทศบาลต่าง ๆ ทีเอาขยะไปเทกองไวเ้ ป็นภเู ขาขยะ นาํ จากขยะจะไหลซึมออกทางบริเวณขา้ งกอง ส่วนหนึงกซ็ ึมลงสู่ใตด้ ิน ในทีสุดก็ไปปนเปือนกบั นาํ ใตด้ ินเกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามยั ของชาวบา้ นทีบริโภคนาํ ถา้ นาํ จากกองขยะ ไหลซึมลงสู่แหลง่ นาํ ในบริเวณใกลเ้ คียง ก็จะทาํ ใหน้ าํ ในแหลง่ นาํ นนั เน่าเสีย ถา้ ปนเปือนมากถึงขนาดก็จะ ทาํ ใหส้ ตั วน์ าํ ต่าง ๆ เช่น กุง้ หอย ปู ปลา กบ เขียด พชื นาํ ตายได้ เพราะขาดออกซิเจน และขาดแสงแดดทีจะ ส่งผา่ นนาํ เนืองจากนาํ มสี ีดาํ หากนาํ ขยะมีการปนเปือนลงในแหลง่ นาํ ทีใชเ้ พือการอปุ โภคบริโภคของชุมชน กจ็ ะตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการปรับปรุงคุณภาพนาํ มากขึน

17 ขยะมลู ฝอยทีทาํ ใหเ้ กิดมลพษิ ในอากาศ กองขยะมลู ฝอยขนาดมหึมาของเทศบาล จะเกดิ การหมกั โดยจุลินทรียใ์ นกองขยะจะเกิดก๊าซต่าง ๆ เป็นอนั ตรายต่อสิงแวดลอ้ ม หากไมม่ กี ารกาํ จดั ก๊าซ เหลา่ นีอยา่ งเหมาะสม ก๊าซทีเกิดขึนไดแ้ ก่ มเี ทน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ( ก๊าซไข่เน่า ) เป็นตน้ และยงั มฝี ่ นุ ละอองจากกองขยะ ก่อใหเ้ กิดปัญหากบั ระบบทางเดินหายใจ โรคผวิ หนงั แก่ประชาชน ทีอยใู่ นบริเวณใกลเ้ คียง ขยะมูลฝอยก่อให้เกดิ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ ดงั นี 1. เป็นแหล่งเพาะพนั ธุข์ องแมลง และพาหะของโรค เนืองจากเชือจุลินทรียท์ ีปนเปือนมา กบั ขยะมลู ฝอยมีโอกาสทีจะขยายพนั ธุเ์ พิม จาํ นวนมากยงิ ขึนได้ เพราะขยะมลู ฝอยมีทงั ความชืนและสารอินทรียท์ จี ุลินทรียใ์ ชเ้ ป็น อาหาร ขยะพวกอนิ ทรียส์ ารทีทิงคา้ งไว้ จะเกิด การเน่าเปื อยกลายเป็นแหลง่ เพาะพนั ธุข์ อง แมลงวนั นอกจากนนั พวกขยะทีปลอ่ ยทิงไว้ จะเป็นทีอยอู่ าศยั ของหนู โดยหนูจะเขา้ มาทาํ รังขยายพนั ธุ์ เพราะมที งั อาหารและทีหลบ ซ่อน ดงั นนั ขยะทีขาดการเก็บรวบรวม และ การกาํ จดั จึงทาํ ใหเ้ กดิ เป็นแหล่งเพาะพนั ธุท์ ีสาํ คญั ของเชือโรค แมลงวนั หนู แมลงสาบ ซึงเป็นหาหะนาํ โรค มาสู่คน 2. เป็นบ่อเกิดของโรค เนืองจากการเก็บรวบรวมและการกาํ จดั ขยะมลู ฝอยไมด่ ี หรือปลอ่ ย ปละละเลยทาํ ใหม้ ขี ยะมลู ฝอยเหลือทิงคา้ งไวใ้ นชุมชน จะเป็นบ่อเกิดของเชือโรคต่าง ๆ เช่น ตบั อกั เสบ เชือไทฟอยด์ เชือโรคเอดส์ ฯลฯ เป็นแหล่งกาํ เนิดและอาหารของสตั วต์ ่าง ๆ ทีเป็นพาหะนาํ โรคมาสู่คน เช่น แมลงวนั แมลงสาบ และหนู เป็นตน้ 3. ก่อใหเ้ กิดความรําคาญ ขยะมลู ฝอย การเก็บรวบรวมไดไ้ มห่ มดกจ็ ะเกิดเป็นกลินรบกวน กระจายอยทู่ วั ไปในชุมชน นอกจากนนั ฝ่นุ ละอองทีเกิดจากการเกบ็ รวบรวมการขนถ่าย และการกาํ จดั ขยะ กย็ งั คงเป็นเหตรุ ําคาญทีมกั จะไดร้ ับการร้องเรียนจากประชาชนในชุมชน 4. ก่อใหเ้ กิดมลพิษต่อสิงแวดลอ้ ม ขยะมลู ฝอยเป็นสาเหตุสาํ คญั ทีทาํ ใหเ้ กิดมลพษิ ของนาํ มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนืองจากขยะส่วนทีขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นาํ มากาํ จดั ใหถ้ กู วิธี ปลอ่ ยทิงคา้ งไวใ้ นพืนทีของชุมชน เมอื มีฝนตกลงมาจะไหลชะนาํ ความสกปรก เชือโรค สารพษิ จากขยะ ไหลลงสู่แหล่งนาํ ทาํ ใหแ้ หลง่ นาํ เกิดเน่าเสียได้ และนอกจากนีขยะมลู ฝอยยงั ส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพดิน ซึงจะมมี ากหรือนอ้ ยขึนอยกู่ บั คุณลกั ษณะของขยะมลู ฝอย ถา้ ขยะมซี ากถา่ นไฟฉาย ซากแบตเตอรี ซากหลอด ฟลอู อเรสเซนตม์ าก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนกั พวกปรอท แคดเมยี ม ตะกวั ในดนิ มาก ซึงจะส่งผลเสีย

18 ต่อระบบนิเวศในดิน และสารอินทรียใ์ นขยะมลู ฝอยเมือมกี ารยอ่ ยสลาย จะทาํ ให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน และเมือฝนตกมาชะกองขยะมลู ฝอยจะทาํ ให้นาํ เสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปื อนดินบริเวณรอบ ๆ ทาํ ใหเ้ กิดมลพษิ ของดนิ ได้ การปนเปือนของดนิ ยงั เกิดจากการนาํ มลู ฝอยไปฝังกลบ หรือการยกั ยอกนาํ ไปทิง ทาํ ใหข้ องเสียอนั ตรายปนเปื อนในดิน ถา้ มีการเผาขยะมลู ฝอยกลางแจง้ ทาํ ใหเ้ กิดควนั มีสารพิษทาํ ใหค้ ุณภาพ ของอากาศเสีย ส่วนมลพษิ ทางอากาศจากขยะมลู ฝอยนนั อาจเกิดขึนไดท้ งั จากมลสารทีมีอยใู่ นขยะและพวก แก๊สหรือไอระเหย ทีสาํ คญั ก็คือ กลินเหมน็ ทีเกดิ จากการเน่าเปื อย และสลายตวั ของอนิ ทรียส์ ารเป็นส่วนใหญ่ 5. ทาํ ให้เกิดการเสียงต่อสุขภาพ ขยะมลู ฝอยทีทิงและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ขยะมลู ฝอยพวกของเสียอนั ตราย ถา้ ขาดการจดั การทีเหมาะสม ยอ่ มก่อใหเ้ กิดผลกระทบ ต่อสุขภาพของประชาชนไดง้ ่าย เช่น โรคทางเดนิ อาหารทีเกิดจากเชือแบคทีเรียทีมแี มลงวนั เป็นพาหะ หรือ ไดร้ ับสารพษิ ทีมากบั ของเสียอนั ตราย 6. เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมลู ฝอยปริมาณมาก ๆ ยอ่ มตอ้ งสินเปลืองงบประมาณ ในการจดั การเพือใหไ้ ดป้ ระสิทธิภาพ นอกจากนีผลกระทบจากขยะมูลฝอยไมว่ ่าจะเป็นนาํ เสีย อากาศเสีย ดินปนเปือนเหล่านียอ่ มส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ 7. ทาํ ใหข้ าดความสง่างาม การเก็บขนและกาํ จดั ทีดจี ะช่วยใหช้ ุมชนเกิดความสวยงาม มคี วามเป็นระเบียบเรียบร้อยอนั ส่อแสดงถงึ ความเจริญและวฒั นธรรมของชุมชน ฉะนนั หากเก็บขนไมด่ ี ไม่หมด กาํ จดั ไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไมน่ ่าดู ขาดความสวยงาม บา้ นเมืองสกปรก และความไม่เป็ น ระเบียบส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเทียว

19 ใบงานที 1 ความหมายและประเภทของขยะมูลฝอย 1. จงอธิบายความหมายของขยะมลู ฝอยมาพอสงั เขป ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายประเภทของขยะมลู ฝอยพร้อมยกตวั อยา่ ง ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………

20 ใบงานที 2 แหล่งกาํ หนดและผลกระทบของขยะมูลฝอย 1. จงบอกแหล่งกาํ เนิดของขยะมลู ฝอย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายผลกระทบของขยะมลู ฝอยพร้อมวธิ ีการแกป้ ัญหา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

21 ใบงานที 3 ผลกระทบของขยะมูลฝอยในชุมชน 1. ใหน้ กั ศกึ ษา ศึกษาผลกระทบทีเกิดจากขยะมลู ฝอยทีเกิดขึนในชุมชนของตนเองพร้อมทงั เสนอ วธิ ีการแกป้ ัญหา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

22 บทที 2 แนวทางการลดปริมาณขยะ การป้ องกนั และควบคุมการเพิมขึนของปริมาณขยะทีสาํ คญั ตอ้ งอาศยั กระบวนการ ปรับเปลียนพฤติกรรมในชีวิตประจาํ วนั โดยทวั ไปแลว้ หน่วยงาน ประชาชน องคก์ รและชุมชน สามารถ ลดปริมาณขยะทีจะเกิดขึนได้ โดยใชห้ ลกั การดงั นี 1. ระดบั ครัวเรือน - ลดการใช้ (Reduce) 1) ลดการขนขยะเขา้ บา้ น ไมว่ ่าจะเป็นถงุ พลาสติก ถงุ กระดาษ กระดาษห่อของ โฟม หรือหนงั สือพมิ พ์ เป็นตน้ 2) ใชผ้ ลติ ภณั ฑช์ นิดเตมิ เช่น นาํ ยาลา้ งจาน นาํ ยาปรับผา้ นุ่ม เครืองสาํ อาง ถา่ นชนิดชาร์จไดส้ บ่เู หลว นาํ ยารีดผา้ นาํ ยาทาํ ความสะอาด ฯลฯ 3) ลดปริมาณขยะมลู ฝอยอนั ตรายในบา้ น หลกี เลียงการใชส้ ารเคมีภายในบา้ น เช่น ยากาํ จดั แมลงหรือนาํ ยาทาํ ความสะอาดต่างๆ ควรจะหนั ไปใชว้ ิธีการทางธรรมชาติจะดีกว่า อาทิ ใชเ้ ปลอื ก สม้ แหง้ นาํ มาเผาไล่ยงุ หรือ ใชผ้ ลมะนาวเพือดบั กลนิ ภายในหอ้ งนาํ 4) พยายามหลีกเลียงการใชโ้ ฟมและพลาสติกซึงกาํ จดั ยาก โดยใชถ้ งุ ผา้ หรือตะกร้า ในการจบั จ่ายซือของ ใชป้ ิ นโตใส่อาหาร

23 - ใชซ้ าํ (Reuse) 1) นาํ สิงของทีใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ เช่น ถุงพลาสติกทีไม่เปรอะเปือนใหเ้ กบ็ ไว้ ใชใ้ ส่ของอกี ครังหนึง หรือใชเ้ ป็นถงุ ใส่ขยะในบา้ น 2) นาํ สิงของมาดดั แปลงใหใ้ ชป้ ระโยชน์ไดอ้ กี เช่น การนาํ ยางรถยนตม์ าทาํ เกา้ อี การนาํ ขวดพลาสติกกส็ ามารถนาํ มาดดั แปลงเป็นทีใส่ของ แจกนั การนาํ เศษผา้ ทาํ เปล เป็นตน้ 3) ใชก้ ระดาษทงั สองหนา้ - การรีไซเคิล (Recycle) เป็นการนาํ วสั ดุทีสามารถนาํ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ เช่น กระดาษ แกว้ พลาสติก เหลก็ อะลมู เิ นียม มาแปรรูปโดยกรรมวธิ ีต่าง ๆ นอกจากจะเป็นการลดปริมาณขยะมลู ฝอยแลว้ ยงั เป็นการลดการใชพ้ ลงั งานและลดมลพิษทีเกิดกบั สิงแวดลอ้ ม ซึงเราสามารถทาํ ไดโ้ ดย 1) คดั แยกขยะรีไซเคิล แต่ละประเภท ไดแ้ ก่ แกว้ กระดาษ พลาสติกโลหะ/อโลหะ 2) นาํ ไปขาย/บริจาค/ นาํ เขา้ ธนาคารขยะ/กิจกรรมขยะแลกไข่ 3) ขยะเหล่านีกจ็ ะเขา้ สู่กระบวนการรีไซเคิล การลดปริมาณขยะมลู ฝอยใหไ้ ดผ้ ลดีตอ้ งเริมตน้ ทกี ารคดั แยกขยะมลู ฝอยก่อนทิง เพอื ไม่ให้ เกิดการปนเปื อน ทาํ ให้ไดว้ สั ดุเหลือใชท้ ีมีคุณภาพสูง สามารถนําไป Reused-Recycle ได้ง่าย รวมทัง ปริมาณขยะ มลู ฝอยทีจะตอ้ งนาํ ไปกาํ จดั มีปริมาณนอ้ ยลงดว้ ย ซึงการคดั แยกขยะมลู ฝอย ณ แหล่งกาํ เนิด นนั ตอ้ งคาํ นึงถึงความเหมาะสมของแต่ละชุมชน เช่น ครัวเรือน ร้านคา้ หา้ งสรรพสินคา้ สาํ นักงาน บริษทั สถานทีราชการต่าง ๆ เป็ นต้น รวมทังปริมาณ และลกั ษณะสมบตั ิขยะมูลฝอยทีแตกต่างกนั ด้วย ทังนี การคดั แยกขยะมลู ฝอยสามารถดาํ เนินการได้ 4 ทางเลอื ก คือ

24 ทางเลอื กที 1 การคดั แยกขยะมลู ฝอยทุกประเภทและทกุ ชนิด ทางเลอื กที 2 การคดั แยกขยะมลู ฝอย 4 ประเภท (Four cans) ทางเลอื กที 3 การคดั แยกขยะสด ขยะแหง้ และขยะอนั ตราย (Three cans) ทางเลือกที 4 การคดั แยกขยะสดและขยะแหง้ (Two cans) ตารางเปรียบเทียบขอ้ ดขี อ้ เสียของแต่ละทางเลือก ทางเลอื ก รูปแบบ ภาชนะรองรับ ขอ้ ดี ขอ้ เสีย สรุปผลงาน ที ขยะมลู ฝอย 1 แยกขยะมลู ฝอยที แบ่งตามประเภท วสั ดุทีนาํ กลบั ไป -พาหนะเกบ็ ขนตอ้ ง ดีมาก ใชไ้ ดใ้ หม่ ทุก ขยะมลู ฝอย ใชป้ ระโยชนม์ ี มปี ระสิทธิภาพสูง ดี พอใช้ ประเภทและแยก คุณภาพดีมาก สามารถเก็บขน ขยะมลู ฝอยทีตอ้ ง มลู ฝอยทีแยกได้ นาํ ไปกาํ จดั แต่ละ หมด วิธีได้ - เพิมจาํ นวนภาชนะ รองรับขยะมลู ฝอย มากขึน 2 แยกขยะมลู ฝอย แบ่งเป็นถงั ขยะรี วสั ดุทีนาํ กลบั ไป -เพิมจาํ นวนภาชนะ 4 ประเภท ไซเคิล ขยะทวั ไป ใชป้ ระโยชนใ์ หม่ รองรับขยะมลู ฝอย (Four cans) ขยะยอ่ ยสลายได้ มีคุณภาพดี มากขึน และขยะอนั ตราย 3 แยกขยะสด แบ่งเป็นถงั ขยะสด ง่ายต่อการนาํ - วสั ดุทีนาํ กลบั ไป ขยะแหง้ และ ขยะอนั ตราย ขยะแหง้ และขยะ ขยะสดไปใช้ ใชป้ ระโยชน์ยงั (Three cans) อนั ตราย ประโยชนแ์ ละขยะ ปะปนกนั อยไู่ ม่ได้ อนั ตรายไปกาํ จดั แยกประเภท

25 ทางเลอื ก รูปแบบ ภาชนะรองรับ ขอ้ ดี ขอ้ เสีย สรุปผลงาน ที ขยะมลู ฝอย ตอ้ งปรับปรุง - สบั สนต่อนิยาม 4 แยกขยะสดและ แบ่งเป็นถงั ขยะ ง่ายต่อการนาํ คาํ ว่าขยะเปี ยก ขยะแหง้ ทาํ ใหท้ ิง ขยะแหง้ แหง้ และขยะเปี ยก ขยะเปี ยกใช้ ไม่ถกู ตอ้ งกบั ถงั รองรับ (Two cans) ประโยชน์ จากตารางขา้ งตน้ จะเห็นวา่ ทางเลอื กที 1 สามารถรวบรวมวสั ดุทีจะนาํ มาใชใ้ หม่ไดใ้ น ปริมาณมาก และมคี ณุ ภาพดีมาก แต่เนืองจากประชาชนอาจจะยงั ไมส่ ะดวกต่อการคดั แยกขยะมลู ฝอย ทุกประเภท ดังนัน ในเบืองต้นเพือเป็ นการสร้างความคุน้ เคยต่อการคดั แยกขยะมูลฝอยควรเริ มที ทางเลือกที 2 คือแบ่งการคดั แยกออกเป็ น 4 กลุ่ม (ขยะรีไซเคิล ขยะยอ่ ยสลายได้ ขยะทวั ไป และขยะ อนั ตราย) ซึงเป็นแนวปฏบิ ตั ิทีสามารถนาํ ขยะมูลฝอยกลบั ไปใชป้ ระโยชน์ไดใ้ หม่และสะดวกต่อการกาํ จดั อย่างไรก็ตามการจะปรับปรุงรูปแบบการจดั วางภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยหรือไม่นันจะตอ้ งประเมินผล โครงการในระยะแรกก่อน

26 2. ระดบั ชุมชน - จดั ทาํ โครงการหรือประสานใหม้ ีการดาํ เนินโครงการทีเนน้ การลดและใชป้ ระโยชน์ ขยะชุมชน ณ แหลง่ กาํ เนิด ซึงจะลดภาระการดาํ เนินงานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถินโดยโครงการ ดงั กล่าว ไดแ้ ก่ การจดั ตงั ธนาคารขยะหรือวสั ดุเหลือใช้ การหมกั ทาํ ป๋ ุย การหมกั ป๋ ุยนาํ ชีวภาพ ตลาดนดั ขยะ รีไซเคิล ขยะแลกไข่ ผา้ ป่ ารีไซเคิล สหกรณ์สินคา้ รีไซเคิล การบริจาคสิงของทีไมใ่ ชแ้ ลว้ เป็นตน้ - ใหร้ างวลั ตอบแทนใบประกาศเกียรติคณุ หรือการส่งเสริมการขาย แก่ร้านคา้ หรือ ผปู้ ระกอบการทีสามารถลดบรรจุภณั ฑฟ์ ่ มุ เฟื อย เช่นร้านคา้ ทีมีการกกั เก็บหรือจาํ หน่ายสินคา้ ทีมีบรรจภุ ณั ฑ์ ห่อหุม้ นอ้ ย หรือมกี ารรวบรวมบรรจภุ ณั ฑใ์ ชแ้ ลว้ เพอื ใชป้ ระโยชน์ใหม่

27 - ส่งเสริมใหผ้ จู้ ดั จาํ หน่ายสินคา้ อปุ โภคบริโภค เช่น หา้ งสรรพสินคา้ หรือร้านคา้ ปลกี -ส่ง อาํ นวยความสะดวกใหก้ บั ผบู้ ริโภคในการคดั แยกและส่งคืนบรรจุภณั ฑ์ ทีใชห้ ่อหุม้ สินคา้ โดยจดั ให้มี ภาชนะรองรับทีเหมาะสม ณ จุดขายและเปิ ดโอกาสใหผ้ บู้ ริโภคแยกบรรจุภณั ฑ์ออกจากสินคา้ ณ จุดขาย หรือใกลจ้ ุดขายโดยไม่เรียกเกบ็ ค่าใชจ้ ่าย

28 ใบงานที 4 แนวทางการลดปริมาณขยะมูลฝอย 1. จงอธิบายแนวทางการลดปริมาณขยะมลู ฝอยของตนเองและครอบครัวมาโดยละเอียด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

29 บทที 3 การคดั แยกขยะมูลฝอย ความสําคญั ของการคดั แยกขยะ ปัจจุบนั นีขยะเป็นปัญหาสาํ คญั ในระดบั โลกทีหลายประเทศต่างๆประสบปัญหานี เนืองจากมีจาํ นวนขยะเพิมขึนทุกปี ทงั ขยะจาก การอตุ สาหกรรม การเกษตร ครัวเรือน สารเคมี อนั ตราย ซึงลว้ นแต่เป็นขยะทียากต่อการกาํ จดั นี หลายประเทศจึงมกี ารคิดวิธีทีจะแกไ้ ขปัญหาขยะ เพือลดปริ มาณขยะทีเป็ นพิษต่อสิ งแวดล้อม ประเทศไทยเป็นอีกประเทศหนึงทีประสบปัญหาขยะเนืองจากคนไทยไม่มีวนิ ยั ในการลดการใชถ้ ุงพลาสติก โฟม ฯลฯ เป็ นขยะทียากต่อการย่อยสลายและขาดความเข้าใจทีถูกต้องในการทิ งขยะทีดี ซึงปัจจุบัน องคก์ รต่างๆ ลว้ นตระหนกั ถึงปัญหาขยะและคิดหาวิธีการแกไ้ ขปัญหาขยะเห็นไดจ้ ากสิงต่างๆ เช่นโทรทศั น์ วทิ ยุ อนิ เทอร์เน็ต ทีต่างนาํ ประเดน็ ปัญหาขยะและวิธีแกไ้ ขมาเสนอรวมทงั มีการรณรงค์ต่างๆ เช่น การใช้ ถงุ ผา้ การรีไซเคิลขยะ เป็นตน้ รวมถงึ การคดั แยกขยะซึงเป็ นวิธีทีเราสามารถนาํ ขยะบางชนิดกลบั มาใชไ้ ด้ อกี ครัง โดยผา่ นกระบวนการต่างๆหรือการรีไซเคิล แต่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ไดใ้ หค้ วามสนใจและตระหนกั ปัญหานีเท่าทีควร การคดั แยกขยะมูลฝอย มาตรฐานการจดั การขยะมลู ฝอยและสิงปฏกิ ลู มีดงั นี 1. คดั แยกขยะทีสามารถนาํ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ใหม่ไดห้ รือขยะรีไซเคิลออกจากขยะ ยอ่ ยสลาย ขยะอนั ตรายและขยะทวั ไป 2. จดั เกบ็ ขยะทีทาํ การคดั แยกแลว้ ในบา้ นเรือนไวใ้ นถุงหรือถงั รองรับขยะแบบแยก ประเภททีหน่วยราชการจดั เตรียมไว้ 3. จดั วางภาชนะรองรับขยะแบบแยกประเภทในบริเวณทีมีอากาศถา่ ยเทสะดวกมี แสงสวา่ งเพียงพอ ไมก่ ีดขวางทางเดิน อยหู่ ่างจากสถานทีประกอบอาหารทีรับประทานอาหาร แหลง่ นาํ ดืม 4. ใหจ้ ดั เก็บขยะอนั ตราย หรือภาชนะบรรจุสารทีไมท่ ราบแน่ชดั เป็นสดั ส่วนแยก ต่างหากจากขยะอนื ๆ เพือป้ องกนั การแพร่กระจายของสารพิษ หรือการระเบิด แลว้ ใหน้ าํ ไปรวบรวมไวใ้ น ภาชนะหรือสถานทีรวบรวมขยะอนั ตรายของชุมชน 5. หา้ มจดั เกบ็ ขยะอนั ตรายไวร้ วมกนั โดยใหแ้ ยกเก็บเป็นประเภทๆ หากเป็นของเหลวให้ ใส่ถงั หรือภาชนะบรรจุทีมิดชิดและไม่รัวไหล หากเป็ นของแขง็ หรือกึงของแข็งใหเ้ ก็บใส่ถงั หรือภาชนะ ทีแข็งแรง

30 6. หลีกเลยี งการเก็บกกั ขยะทีทาํ การคดั แยกแลว้ และมคี ุณสมบตั ิทีเหมาะแก่การเพาะพนั ธุ์ ของพาหะนาํ โรค หรือทีอาจเกิดการรัวไหลของสารพิษไวเ้ ป็นเวลานาน 7. หากมีการใชน้ าํ ทาํ ความสะอาดวสั ดุคดั แยกแลว้ หรือวสั ดุเหลอื ใชท้ ีมไี ขมนั หรือ ตะกอนนาํ มนั ปนเปือน จะตอ้ งระบายนาํ เสียนนั ผา่ นตะแกรงและบ่อดกั ไขมนั ก่อนระบายสู่ท่อนาํ สาธารณะ 8. หา้ มเผา หลอม สกดั หรือดาํ เนินกิจกรรมอืนใด เพอื การคดั แยก การสกดั โลหะมคี ่า หรือการทาํ ลายขยะในบริเวณทีพกั อาศยั หรือพืนทีทีไมม่ ีระบบป้ องกนั และควบคุมของเสียทีจะเกิดขนึ หลกั เกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย การคดั แยกเกบ็ รวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย ในการจดั การขยะมลู ฝอยแบบครบวงจร จาํ เป็นตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบการคดั แยกขยะมลู ฝอย ประเภทต่างๆ ตามแต่ลกั ษณะองคป์ ระกอบโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื นาํ กลบั ไปใชป้ ระโยชน์ใหม่ สามารถ ดาํ เนินการไดต้ งั แต่แหล่งกาํ เนิด โดยจดั วางภาชนะใหเ้ หมาะสม ตลอดจนวางระบบการเกบ็ รวบรวมมลู ฝอย อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และสอดคลอ้ งกบั ระบบการคดั แยกขยะมลู ฝอย พร้อมทงั พจิ ารณาควรจาํ เป็นของสถานี ขนถา่ ยขยะมลู ฝอยและระบบขนส่งขยะมลู ฝอยไปกาํ จดั ต่อไป ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1) ถงั ขยะ เพือใหก้ ารจดั เก็บรวบรวมขยะมลู ฝอยเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและลดการ ปนเปือนของขยะมลู ฝอยทีมศี กั ยภาพในการนาํ กลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ หมจ่ ะตอ้ งมกี ารตงั จุดรวบรวมขยะมลู ฝอย (Station) และใหม้ ีการแบ่งแยกประเภทของถงั รองรับขยะมลู ฝอยตามสีต่าง ๆ โดยมีถงุ บรรจภุ ายในถงั เพือสะดวกและไม่ตกหล่น หรือแพร่กระจาย ดงั นี สีเขียว รองรับขยะทีเน่าเสียและยอ่ ยสลายไดเ้ ร็ว สามารถนาํ มาหมกั ทาํ ป๋ ุย ได้ เช่น ผกั ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ สีเหลอื ง รองรับขยะทีสามารถนาํ มารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แกว้ กระดาษ พลาสติก โลหะ

31 สีเทาฝาสีสม้ หรือถงั สีสม้ รองรับขยะทีมอี นั ตรายต่อสิงมีชีวติ และ สิงแวดลอ้ ม เช่น หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ขวดยา ถา่ นไฟฉาย กระป๋ องสี สเปรย์ กระป๋ องยาฆ่าแมลง ภาชนะ บรรจุสารอนั ตรายต่าง ๆ สีฟ้ าหรืสีนาํ เงิน รองรับขยะยอ่ ยสลายไม่ได้ ไมเ่ ป็นพษิ และไมค่ ุม้ ค่าการรี ไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลกู อม ซองบะหมีสาํ เร็จรูป ถงุ พลาสติก โฟม และฟอลย์ ทีเปือนอาหาร นอกจากนียงั มถี งุ พลาสติกสาํ หรับรองรับขยะมลู ฝอยในแต่ละถงั โดยมดั ปากถงุ สีเดียวกบั ถงั ทีรองรับมลู ฝอยตามประเภทดงั กลา่ วขา้ งตน้ ในกรณีทีสถานทีมีพนื ทีจาํ กดั ในการจดั วางภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยและมจี าํ นวนคนที ค่อนขา้ งมากในบริเวณพนื ทีนนั เช่น ศนู ยก์ ารประชุมสนามบิน ควรมีถงั ทีสามารถรองรับขยะมลู ฝอยไดท้ งั 4 ประเภทในถงั เดียวกนั โดยแบ่งพนื ทีของถงั ขยะมลู ฝอยออกเป็น 4 ช่อง และตวั ถงั รองรับขยะมลู ฝอยทาํ ดว้ ยสแตนเลส มีฝาผดิ แยกเป็น 4 สี ในแต่ละช่องตามประเภทของขยะมลู ฝอยทีรองรับ ดงั นี ฝาสีเขียว รองรับขยะมลู ฝอยทีเน่าเสียและยอ่ ยสลายไดเ้ ร็ว ฝาสีเหลือง รองรับขยะมลู ฝอยทีสามารถนาํ รีไซเคิล หรือขายได้ ฝาสีแดง รองรับขยะมลู ฝอยทีมีอนั ตรายต่อสิงมีชีวิตและสิงแวดลอ้ ม ฝาสีฟ้ า รองรับขยะมลู ฝอย ทียอ่ ยสลายไมไ่ ด้ ไม่เป็นพิษและไมค่ ุม้ ค่าการรีไซเคิล และมีสญั ลกั ษณ์ขา้ งถงั 2) ถงุ ขยะ สาํ หรับคดั แยกขยะมลู ฝอยฝนครวั เรือนและจะตอ้ งมกี ารคดั แยกรวบรวมใส่ถุงขยะมลู ฝอย ตามสีต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี ถุงสีเขียว รวบรวมขยะมลู ฝอยทีเน่าเสีย และยอ่ ยสลายไดเ้ ร็วสามารถนาํ มาหมกั ทาํ ป๋ ุยได้ เช่น ผกั ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ถงุ สีเหลือง รวบรวมขยะมลู ฝอยทีสามารถนาํ มารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แกว้ กระดาษ พลาสติก โลหะ อลมู ิเนียม ถงุ สีแดง รวบรวมขยะมลู ฝอยทีมีอนั ตรายต่อสิงมชี ีวิตและสิงแวดลอ้ ม เช่น หลอด ฟลอู อเรสเซนต์ ขวดยา ถา่ นไฟฉาย กระป๋ องสีสเปรย์ กระป๋ องสารฆา่ แมลง ภาชนะบรรจุสารอนั ตรายต่าง ๆ ถงุ สีฟ้ า รวบรวมขยะมลู ฝอยทียอ่ ยสลายไม่ไดไ้ มเ่ ป็นพษิ และไมค่ ุม้ ค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อ ลกู อม ซองบะหมสี าํ เร็จรูป ถงุ พลาสติก โฟมและฟอลย์ ทีเปือนอาหาร

32 เกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1. ควรมีสดั ส่วนของถงั ขยะมลู ฝอยจากพลาสติกทีใชแ้ ลว้ ไมต่ าํ กวา่ ร้อยละ 50 โดย นาํ หนกั ไมม่ ีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาํ เป็นควรใชส้ ารเติมแต่งในปริมาณทีนอ้ ยและ ไม่อยใู่ นเกณฑท์ ีเป็นอนั ตรายต่อผบู้ ริโภค 2. มคี วามทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากลมขี นาดพอเหมาะมคี วามจุเพียงพอต่อ ปริมาณขยะมลู ฝอย สะดวกต่อการถ่ายเทขยะมลู ฝอยและการทาํ ความสะอาด 3. สามารถป้ องกนั แมลงวนั หนู แมว สุนขั และสตั วอ์ ืน ๆ มใิ หส้ มั ผสั หรือคุย้ เขีย ขยะมลู ฝอยได้ แนวทางการบริหารจดั การขยะโดยวธิ กี าร 5R 1. R : Reduce คือ การลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรทีไมจ่ าํ เป็นลงลองมาสาํ รวจกนั ว่า เราจะลดการบริโภคทีไม่จาํ เป็นตรงไหนไดบ้ า้ งโดยเฉพาะการลดการบริโภคทรัพยากรทีใชแ้ ลว้ หมดไป เช่น นาํ มนั กา๊ ซธรรมชาติ ถา่ นหิน และแร่ธาตุ ต่าง ๆ การลดการใชน้ ีทาํ ไดง้ ่ายๆ โดยการเลอื กใชเ้ ท่าทีจาํ เป็ น เช่น ปิ ดไฟทุกครังทีไม่ใชง้ านหรือเปิ ดเฉพาะจุดทีใชง้ านปิ ดคอมพิวเตอร์และเครืองปรับอากาศเมือไม่ใชเ้ ป็ น เวลานาน ๆ ถอดปลกั ของเครืองใชไ้ ฟฟ้ าเช่น กระติกนาํ ร้อนออกเมือไม่ไดใ้ ช้ เมือตอ้ งการเดินทางใกล้ ๆ ก็ควรใชว้ ิธีเดิน ขีจกั รยานหรือนังรถโดยสารแทนการขบั รถไปเอง เป็ นตน้ เพียง-เท่านีเราก็สามารถเก็บ ทรัพยากรดา้ นพลงั งานไวใ้ ชไ้ ดน้ านขึน ประหยดั พลงั งานและอนุรักษส์ ิงแวดลอ้ มอกี ดว้ ย 2. R : Reuse คือ การใชท้ รัพยากรใหค้ ุม้ ค่าทีสุด โดยการนาํ สิงของเครืองใช้ มาใชซ้ าํ ซึงบางอยา่ งอาจใชซ้ าํ ไดห้ ลาย ๆ ครัง เช่น การนาํ ชุดทาํ งานเก่าทียงั อยใู่ นสภาพดีมาใส่เล่นหรือใส่นอน อยบู่ า้ นหรือนาํ ไปบริจาค แทนทีจะทิงไปโดยเปล่าประโยชน์ การนาํ กระดาษรายงานทีเขียนแลว้ 1 หนา้ มาใชใ้ นหนา้ ทีเหลอื หรืออาจนาํ มาทาํ เป็นกระดาษโนต้ ช่วยลดปริมาณการตดั ตน้ ไมไ้ ดเ้ ป็นจาํ นวนมากการนาํ ขวดแกว้ มาใส่นาํ รับประทานหรือนาํ มาประดิษฐเ์ ป็นเครืองใชต้ ่าง ๆ เช่นแจกนั ดอกไมห้ รือทีใส่ดินสอเป็นตน้ นอกจากจะชว่ ยลดค่าใชจ้ ่ายลดการใชพ้ ลงั งานพลงั งานแลว้ ยงั ช่วยรักษาสิงแวดลอ้ มและยงั ไดข้ องน่ารกั ๆ จากการประดษิ ฐไ์ วใ้ ชง้ านอกี ดว้ ย 3. R : Recycle คือ การนาํ หรือเลือกใชท้ รัพยากรทีสามารถนาํ กลบั มารีไซเคิล หรือนาํ กลบั มาใช้ใหม่เป็ นการลดการใช้ทรัพยากรในธรรมชาติจําพวกตน้ ไม้ แร่ธาตุต่าง ๆ เช่น ทราย เหล็ก อลมู เิ นียมซึงทรัพยากรเหลา่ นี สามารถนาํ มารีไซเคิลไดย้ กตวั อย่างเช่น เศษกระดาษสามารถนาํ ไปรีไซเคิล กลบั มาใชเ้ ป็นกล่องหรือถุงกระดาษ การนาํ แกว้ หรือพลาสติกมาหลอมใชใ้ หม่เป็ นขวด ภาชนะใส่ของหรือ เครืองใชอ้ นื ๆ ฝากระป๋ องนาํ อดั ลมก็สามารถนาํ มาหลอมใชใ้ หม่หรือ 4. R : Repair คือ การรู้จกั ซ่อมแซมฟืนฟสู ิงของเครืองใชท้ ีสึกหรอ ใหส้ ามารถใช้ ประโยชน์ได้

33 5. R : Reject คือ รู้จกั ปฏิเสธ หรืองดการใชส้ ิงของทีเห็นว่า เป็นการทาํ ลาย ทรัพยากร และสร้างมลพษิ ใหเ้ กิดขึนแก่ สิงแวดลอ้ ม ประเภทของขยะรีไซเคลิ การรีไซเคิลหรือการแปรรูปใชใ้ หม่ คือ การนาํ ขยะรีไซเคิล ของเสีย บรรจภุ ณั ฑห์ รือวสั ดุ เหลอื ใชม้ าแปรรูปเป็นวตั ถดุ ิบในกระบวนการผลิตหรือเพอื ผลิตเป็นผลิตภณั ฑใ์ หม่ โดยกรรมวิธีต่างๆ ซึง ทุกคนสามารถทาํ ได้ โดยการคดั แยกขยะมลู ฝอยแต่ละประเภท ทงั ทีบา้ น โรงเรียน และสาํ นกั งาน เพอื นาํ เขา้ สู่กระบวนการรีไซเคิล แกว้ นาํ ไปขาย เขา้ สู่กระบวนการ กระดาษ บริจาค รีไซเคิล พลาสติก นาํ เขา้ ธนาคาร โลหะ/ กิจกรรมขยะ อโลหะ แลกไข่ 1. แกว้ แกว้ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ดงั นี 1.1 ขวดแกว้ ดี จะถกู นาํ มาคดั แยกชนิด สี และประเภททีบรรจุสินคา้ ไดแ้ ก่ ขวดแมโ่ ขง ขวดนาํ ปลา ขวดเบียร์ ขวดซอส ขวดโซดาวนั เวย์ ขวดเครืองดืมชกู าํ ลงั ขวดยา ขวดนาํ อดั ลม ฯลฯ การจดั การขวดเหลา่ นีหากไม่แตกบินเสียหายจะถกู นาํ กลบั เขา้ โรงงานเพอื นาํ ไปลา้ งใหส้ ะอาดและนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ทีเรียกวา่ “Reuse”

34 1.2 ขวดแกว้ แตก ขวดทีแตกหกั บินชาํ รุดเสียหายจะถกู นาํ มาคดั แยกสี ไดแ้ ก่ ขวดแกว้ ใส ขวดแกว้ สีชา และขวดแกว้ สีเขียว จากนนั นาํ เศษแกว้ มาผา่ นกระบวนการรีไซเคิล โดยเบืองตน้ จะเริมแยกเศษ แกว้ ออกมาตามสีของ เอาฝาจุกทีติดมากบั ปากขวดออกแลว้ บดใหล้ ะเอียด ใส่นาํ ยากดั สีเพอื กดั สีทีติดมากบั ขวดแกว้ ลา้ งใหส้ ะอาด แลว้ นาํ ส่งโรงงานผลติ ขวดแกว้ เพอื นาํ ไปหลอมใหม่ ตวั อยา่ งแกว้ ทนี าํ มารีไซเคิล ขวดแมโ่ ขงกลม/แบน ขวดแบลค็ -เลเบิล ขวดแบลค็ แคท ขวดแสงทิพยก์ ลม/แบน ขวดเบียร์สิงห์ ขวดเบียร์ชา้ ง/สิงห์ ขวดเครืองดืมชูกาํ ลงั ขวดมดิ ไวดด์ า้ ขวดโซดาวนั เวย์ ขวดนาํ ปลา ขวดนาํ สม้ สายชู เศษแกว้ ขาวใส/ขาวขุ่น ใหญ่ ขวดนาํ อดั ลมเลก็ /ใหญ่ ขวดโซดาสิงห์ เศษแกว้ แดง (สีชา) เศษแกว้ เขียว ขวดแบนเลก็ /ใหญ่ ขวดยาฆ่าแมลงเลก็ / ขวดไวน์ ขวดยาปอนด์ 1. กระดาษ กระดาษ เป็นวสั ดุทยี อ่ ยง่ายทีสุด เพราะผลิตจาก เยอื ไมธ้ รรมชาติโดยปกติกระดาษจะมรี ะยะเวลา ยอ่ ยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ ประมาณ 2 – 5 เดือนแต่ถา้ ถกู ทบั ถมอยใู่ นกองขยะจนแน่น ไมม่ แี สงแดด อากาศและความชืน สาํ หรับจุลนิ ทรีย์ ในการยอ่ ยสลาย กอ็ าจตอ้ งใชเ้ วลาถึง 50 ปี ในการ ยอ่ ยสลาย ดงั นนั เราจึงควรแยกขยะทีเป็นเศษกระดาษ เหลา่ นีออกจากขยะชนิดอนื ๆ เพอื ความสะดวกใน การจดั เก็บและนาํ ไปรีไซเคิลเป็นกระดาษนาํ กลบั มาใชใ้ หมใ่ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด กระดาษแขง็ กล่องนาํ ตาล ตวั อยา่ งกระดาษทีนาํ มารีไซเคิล กระดาษหนงั สือพมิ พ์ กระดาษสี กระดาษยอ่ ยสลาย กระดาษยอ่ ยขยะ กระดาษหนงั สือเล่ม กระดาษกล่องรองเทา้ กระดาษสมุด กระดาษขาวดาํ

35 3. พลาสติก พลาสติกแบ่งเป็ นประเภท ใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท ดงั นี 3.1. พลาสติกทีคงรูปถาวร หรือพลาสติกเทอร์โมเซท(Thermosetting Plastic) เป็นพลาสติกทีแขง็ ตวั ดว้ ยความร้อน แบบไมย่ อ้ นกลบั สามารถขึนรูปผลติ ภณั ฑ์ รูปทรงต่างๆ ไดโ้ ดยทาํ ใหแ้ ขง็ ตวั ดว้ ยความ ร้อนในแม่แบบและเมือแขง็ ตวั แลว้ จะมคี วามคงรูปสูงมาก เนืองจากไมส่ ามารถหลอมเหลวไดอ้ ีก พลาสติกในกลุม่ นีจึงจดั เป็นผลิตภณั ฑพ์ ลาสติกประเภท “รีไซเคลิ ไม่ได้” 3.2 พลาสติกทีสามารถนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ไดห้ รือเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็น พลาสติกทีหลอมตวั ดว้ ยความร้อน และกลบั แข็งตวั เมืออุณหภูมิลดตาํ ลง พลาสติกชนิดนีจดั เป็ นวสั ดุ ประเภท “รีไซเคิลได”้ เพือให้ง่ายต่อการแยกชนิดบรรจุภณั ฑพ์ ลาสติกเพือนาํ มากลบั มาแปรรูปใชใ้ หม่ได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ไดม้ ีการนาํ สญั ลกั ษณ์มาใชบ้ นบรรจุภณั ฑอ์ ยา่ งแพร่หลาย ดงั นี สัญลกั ษณ์ ชนิดพลาสตกิ การใช้งาน PETE ขวดเครืองดืมทีไม่ใช่แอลกอฮอล์ ขวดนาํ ดืมขวดนาํ มนั พืช (Polyethyleneterephthalate) HDPE ขวดบรรจุนม นาํ ดืม เครืองสาํ อาง แชมพู (High-density สบ่เู หลว ถงุ shoppingหรือ retail bags Polyethylene) พลาสติกห่อเนือสตั ว์ อุปกรณ์การแพทย์ PVC (medical tubing) (Polyvinyl Chloride) LDPE ถงุ บรรจุอาหารแช่แข็ง ขวดนาํ ยาซกั แหง้ (Low-density Polyethylene)

สัญลกั ษณ์ 36 การใช้งาน ภาชนะบรรจุเนยเทียม ขวดยา ชนดิ พลาสตกิ อุปกรณ์การแพทย์ (medicaltubing) PP กลอ่ งใส่ CD กล่องอาหารสะดวกซือ (Polypropylene) รวมทงั กล่องโฟม ถว้ ยนาํ จานอาหาร ภาชนะบรรจุไข่ PS เป็ นพลาสติกอืนๆนอกเหนือจาก (Polystyrene) พลาสติกทงั 6 ประเภท พบ มากมายหลายรูปแบบเช่น สน้ รองเทา้ พลาสติกอนื ๆ ปากกา พลาสติกรวม ตวั อยา่ งพลาสติกทีนาํ มารีไซเคิล พลาสติก PVC สายยาง พลาสติกขวด PET พลาสติกแผน่ ป้ ายอะครีลิค ขวดนาํ เกลอื ขวดนาํ มนั พืชเก่า เหลือง ขวดนาํ ดืมเลก็ ท่อเอสลอนสีเทา/ฟ้ า/ พลาสติกกรอบจม จุกนาํ ปลา เปลือกสายไฟสี/ดาํ รองเทา้ ยาง/รองเทา้ บทู๊ PVC CPU/UPS โฟมสะอาด แผน่ CD

37 4..โลหะ โลหะทีสามารถนาํ มารีไซเคิลใหมไ่ ดม้ ดี งั นี 4.1.เหลก็ ใชก้ นั มากทีสุดในอตุ สาหกรรมก่อสร้าง ผลติ อุปกรณ์ต่างๆรวมทงั เครืองใชใ้ น บา้ น อุตสาหกรรม 4.2 ทองเหลอื ง เป็นโลหะมีราคาดี นาํ กลบั มาหลอมใชใ้ หม่ไดโ้ ดยการทาํ เป็นพระ ระฆงั อปุ กรณ์สุขภณั ฑต์ ่างๆ และใบพดั เรือเดินทะเลขนาดใหญ่ 4.3 ทองแดง นาํ กลบั มาหลอมทาํ สายไฟใหม่ไดอ้ ีก 4.4 สแตนเลส นาํ กลบั มาหลอมทาํ ชอ้ นสอ้ ม กระทะ หมอ้ 4.5 ตะกวั นาํ กลบั มาหลอมใหม่ทาํ ฟิ วส์ไฟฟ้ า และส่วนประกอบของอปุ กรณ์ต่างๆ เหลก็ หนาพเิ ศษ ตวั อยา่ งโลหะทีนาํ มารีไซเคิล เหลก็ เครือง เหลก็ หนา/บาง เหลก็ ตะปู เหลก็ ขีกลึง เหลก็ ยอ่ ย เหลก็ เสน้ 1 นิว ลวดสลิง เหลก็ ซอยสนั เหลก็ หลอ่ ชินเลก็ /ใหญ่ กระป๋ อง ทองแดงเสน้ เลก็ /ใหญ่ เหลก็ เสน้ 5-6 หุน ตะกวั อ่อน/แขง็ ตะกวั สงั กะสี ทองเหลืองบาง/หนา ขีกลึงทองเหลือง สแตนเลส ทองแดงเผา แบตเตอรีขาว/ดาํ /มอเตอร์ไซด์

38 5. อลูมเิ นียม อลมู เิ นียม แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 5.1 อลมู เิ นียมหนา เช่น อะไหล่ เครืองยนต์ ลกู สูบ 5.2 อลมู ิเนียมบาง เช่น กะละมงั ซกั ผา้ ขนั นาํ กระป๋ องนาํ อดั ลม กระป๋ องเบียร์ ตวั อยา่ งอลมู เิ นียมทีนาํ มารีไซเคิล อลมู เิ นียมบาง/หนา อลมู เิ นียมเสน้ อลมู ิเนียมฉาก อลมู เิ นียมผา้ เบรก อลมู ิเนียมหมอ้ นาํ อลมู เิ นียมกระป๋ องยา อลมู ิเนียมมลู่ ี อลมู ิเนียมจบั อลมู เิ นียมไสท้ องแดง อลมู ิเนียมฝาจุกแกะ อลมู ิเนียมไฟ อลมู ิเนียมลกู สูบ อลมู เิ นียมมุง้ ลวด อลมู ิเนียมแผน่ เพจ อลมู ิเนียมอลั ลอยด์ อลมู เิ นียมลอ้ แมก็ อลมู ิเนียมกระป๋ องเครือง ดืม เช่น โคก้ เบียร์ การคดั แยกขยะมูลฝอย การคดั แยกขยะมลู ฝอยควรรณรงคใ์ หค้ วามรู้แก่ประชาชนทีพกั อาศยั อยใู่ นบา้ นเรือน หรือ เจา้ ของประกอบการ อาคารทีพกั อาศยั อาคารสาํ นักงาน สถาบนั การศึกษา ห้างสรรพสิน โรงแรม สถานประกอบการและสถานทีอยอู่ าศยั อนื ๆ ดาํ เนินการคดั แยกและเกบ็ กกั ขยะทีเกิดขึนดงั ต่อไปนี 1..คดั แยกขยะทีสามารถนาํ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ใหมไ่ ดห้ รือขยะรีไซเคิลออกจากขยะยอ่ ย สลาย ขยะอนั ตรายและขยะทวั ไป 2..เก็บกกั ขยะทีทาํ การคดั แยกแลว้ ในถงุ หรือถงั รองรับขยะแบบแยกประเภททีหน่วย ราชการกาํ หนด

39 3. เก็บกกั ขยะทีทาํ การคดั แยกแลว้ ในบริเวณทีมีอากาศถ่ายเทสะดวก มีแสงสวา่ งเพียงพอ ไม่กีดขวางทางเดิน อยหู่ ่างจากสถานทีประกอบอาหาร ทีรับประทานอาหาร และแหลง่ นาํ ดืม 4. ใหเ้ ก็บกกั ขยะอนั ตราย หรือภาชนะบรรจุสารทีไม่ทราบแน่ชดั เป็นสดั ส่วนแยกต่างหาก จากขยะอนื ๆ เพอื ป้ องกนั การแพร่กระจายของสารพษิ หรือการระเบิดเพือแยกทิงโดยแยกเป็น 3 หลกั ดงั นี 1) การเก็บจากหนา้ บา้ นพร้อมขยะทวั ไปโดยการเก็บขนมีชอ่ งแยกขยะอนั ตราย 2) การเก็บจากหนา้ บา้ นตามวนั ทกี าํ หนดโดยมีรถเก็บขยะอนั ตรายโดยเฉพาะ 3) การนาํ ไปทิงในภาชนะหรือสถานทีรวบรวมขยะอนั ตรายของชุมชนไว โดยเฉพาะ 5..หา้ มเก็บกกั ขยะอนั ตรายไวร้ วมกนั โดยใหแ้ ยกเก็บเป็นประเภทๆ หากเป็นของเหลวให้ ใส่ถงั หรือภาชนะบรรจุทีมิดชิดและไม่รัวไหล และห้ามเทของเหลวต่างชนิดปนกนั เนืองจากอาจเกิดการ ระเบิดหากเป็นของแข็งหรือกึงของแข็งใหเ้ ก็บใส่ถงั หรือภาชนะทีแขง็ แรง 6..หลีกเลียงการเก็บกกั ขยะทีทาํ การคดั แยกแลว้ และมคี ณุ สมบตั ิทีเหมาะแก่การเพาะพนั ธุ์ ของพาหะนาํ โรค หรือทีอาจเกิดการรัวไหลของสารพิษไวเ้ ป็นเวลานาน 7..หากมีการใชน้ าํ ทาํ ความสะอาดวสั ดุคดั แยกแลว้ หรือวสั ดุเหลอื ใชท้ ีมไี ขมนั หรือตะกอน นาํ มนั ปนเปือน จะตอ้ งระบายนาํ เสียนนั ผา่ นตะแกรงและบ่อดกั ไขมนั ก่อนระบายสู่ท่อนาํ สาธารณะ 8..หา้ มเผา หลอม สกดั หรือดาํ เนินกิจกรรมอนื ใด เพอื การคดั แยก การสกดั โลหะมีค่าหรือ การทาํ ลายขยะในบริเวณทีพกั อาศยั หรือพนื ทีทีไม่มรี ะบบป้ องกนั และควบคุมของเสียทีจะเกดิ ขนึ ก่อนทีจะนาํ ขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ ตอ้ งมกี ารคดั แยกประเภทขยะมลู ฝอยภายในบา้ น เพอื เป็นการสะดวกแก่ผเู้ กบ็ ขนและสามารถนาํ ขยะบางชนิดไปขายเพอื เพิมรายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครัว รวมทงั ง่ายต่อการนาํ ไปกาํ จดั อกี ดว้ ย โดยสามารถทาํ ไดด้ งั นี

40 ประเภทขยะ วธิ ีการคดั แยก การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ขยะอินทรีย/์ ขยะยอ่ ยสลาย - คดั แยกอาหารกิงไม้ใบไม้ - รวบรวมเศษอาหารไว้ ขยะรีไซเคิล ออกจากขยะอืนๆ เลยี งสตั ว์ - จดั หาภาชนะทีมฝี าปิ ดเพือแยก - นาํ เศษผกั ผลไมแ้ ละเศษ ขยะอนั ตราย/ขยะมพี ษิ เศษอาหาร ผกั ผลไม้ อาหารไปทาํ ขยะหอมหรือ นาํ หมกั จุลินทรีย์(EM) - แยกขยะรีไซเคิลที - เศษกิงไม้ใบไม้ ผสมกบั กาก ขายได้ แต่ละประเภท ทีไดจ้ ากการทาํ ขยะหอม ใหเ้ ป็นระเบียบ กลายเป็นป๋ ุยหมกั อนิ ทรีย์ เพอื สะดวกในการ - รวบรวมมาเขา้ กจิ กรรมของ หยบิ ใช้ หรือจาํ หน่าย ชุมชน เช่น ธนาคารขยะ แลกแตม้ ขยะแลกไข่ - แยกขยะอนั ตราย ออก ธนาคารขยะผา้ ป่ ารีไซเคิล จากขยะอนื ๆ โดยใน เป็ นตน้ การคดั แยกตอ้ งระวงั ไม่ - นาํ มาใชซ้ าํ โดยประยกุ ต์ ใหข้ ยะอนั ตรายแตกหกั เป็นอุปกรณ์ในบา้ น เช่น หรือสารเคมีทีบรรจุอยู่ ขวดนาํ พลาสติกมาตดั เพอื เขา้ สู่ร่างกาย ปลกู ตน้ ไม้ กระป๋ องนาํ อดั ลม ตดั ฝาใชเ้ ป็นแกว้ นาํ ขวดแกว้ ขวดพลาสตกิ มาใส่กาแฟ เครืองปรุงต่างๆ หรือผง ซกั ฟอกชนิดเติมได้ ฯลฯ - ขยะอนั ตรายบางประเภท สามารถนาํ กลบั มาแปรรูป ใชใ้ หมไ่ ด้ เช่น หลอด ฟลอู อเรสเซนตแ์ บบตรง แบตเตอรีโทรศพั ทเ์ คลือนที ถา่ นชาร์จ เป็นตน้ แต่ใน ปัจจุบนั ยงั ไม่มมี ลู ค่าพอที จะขายได้

41 ใบงานที 5 ความสําคญั ของการคดั แยกขยะ มาตรฐานและภาชนะทีรองรับขยะมูลฝอย 1. จงอธิบายความสาํ คญั ของการคดั แยกขยะมลู ฝอย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายถึงมาตรฐานและภาชนะทีใชร้ องรับขยะมลู ฝอย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

42 ใบงานที 6 การคดั แยกขยะโดยวธิ กี าร 5 R 1. จงอธิบายหลกั การคดั แยกขยะโดยวิธีการ5 R ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายถึงประเภทของขยะรีไซเคิล ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

43 ใบงานที 7 การคดั แยกขยะมูลฝอย 1. ใหน้ กั ศกึ ษาศกึ ษาวธิ ีการ โครงการคดั แยกขยะของชุมชนของตนเองตามหวั ขอ้ แลว้ นาํ เสนอใน รูปแบบรายงาน 1. โครงการ วธิ ีการบริหารจดั การขยะของชุมชน 2. วตั ถปุ ระสงค์ 3. วธิ ีการดาํ เนินงาน 4. ผลทีเกิดขึน 5. ถา้ นกั ศึกษาเป็นผนู้ าํ ชุมชนจาํ มวี กี ารบริหารจดั การขยะในชุมชนของตนเองอยา่ งไร

44 บทที 4 การมสี ่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย กระบวนการมสี ่วนร่วมของประชาชนและชุมชนต่อการกาํ จดั ขยะมูลฝอยและสิงปฏิกลู กระบวนการสนบั สนุนใหเ้ กิดการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในการกาํ จดั ขยะ มลู ฝอยและสิงปฏิกลู ตอ้ งมีองคป์ ระกอบของการดาํ เนินงานดงั นี 1. การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการมีส่วนร่วมในเรืองนนั ๆ ทีชดั เจน 2. การกาํ หนดเป้ าหมายทีตอ้ งการ 3. การกาํ หนดกลุม่ เป้ าหมายทีจะเขา้ มามีส่วนร่วม 4. การสร้างขอ้ ตกลงร่วมกนั ในกระบวนการมสี ่วนร่วมองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถินเป็น อง ค์ก ร ห ลัก ใ น ร ะ ดับ ท้อ ง ถิ น ที ต้อง เ ข้า ม า มี บทบาทในการดาํ เนินการเพือการจดั การขยะ มูลฝอยและสิ งปฏิกูลดังนันหลีกเลียงไม่ได้ที ต้องเข้าใจมิติทางสังคมและวัฒนธรรมของ ชุมชน เพือให้ประชาชนในชุมชนเขา้ มามีส่วน ร่วมในกระบวนการต่าง ๆทีองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถินไดร้ ิเริ มร่วมกบั ชุมชนในการแกไ้ ข ปัญหา ปัจจุบันการดาํ เนินการเพือจัดหาสถานทีกาํ จดั ขยะมูลฝอยและสิงปฏิกลู ทีจะเกิดขึนในชุมชนมกั ประสบปัญหาการคดั ค้านจากประชาชนในชุมชน ทังนีเนืองจากการไม่สามารถสือสารให้ทุกฝ่ ายมี ความเขา้ ใจกนั และกนั ในการวางแผนตดั สินใจในโครงการดงั นนั หากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถินตระหนกั และเห็นคุณค่าของการมีส่วนร่วม จะช่วยลดขอ้ ขดั แยง้ ในโครงการพฒั นาต่าง ๆ ไดเ้ ป็ นอย่างดีความสาํ คญั ของการมีส่วนร่วมในมิติต่าง ๆ มีดงั นี 4.1 ช่วยเพิมคุณค่าในการตดั สินใจเพือแกไ้ ขปัญหาของชุมชน การตดั สินใจเพือแกไ้ ขปัญหา ของชุมชน หากเป็ นการตัดสินใจฝ่ ายเดียวโดยเฉพาะการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของผนู้ ําชุมชน หรื อ หน่วยงานราชการทีเกียวขอ้ งอาจไม่เป็นทียอมรับของสมาชิกในชุมชน ดงั นนั การมีส่วนร่วมจึงช่วยในการ เพิมคุณค่าในการตดั สินใจร่วมกนั 4.2..ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายและเวลาของหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถินส่วนราชการ ทีเกียวขอ้ งในการแกไ้ ขปัญหา โดยปกติการทาํ กระบวนการมสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหา จะมีค่าใชจ้ ่ายและ เสียเวลาในการดาํ เนินการแต่ในทางปฏิบตั ิแลว้ การมีส่วนร่วมของประชาชน สามารถช่วยลดความล่าชา้ ที

45 เกิดจากความขดั แยง้ ไดม้ ากในกรณีทีไมม่ ีการแกไ้ ขดว้ ยการมสี ่วนร่วม ปัญหาอาจลุกลามขยายความรุนแรง เพิมขึนได้ 4.3.ช่วยสร้างฉันทามติร่วมกนั ของสมาชิกในชุมชนต่อการแก้ไขปัญหาการมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการทีตอ้ งอาศยั ความร่วมมือของทุกฝ่ าย โดยเฉพาะสมาชิกในชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน และส่วนราชการทีเกียวขอ้ งการสร้างขอ้ ตกลงดว้ ยกระบวนการมีส่วนร่วมจึงเป็นการยอมรับของทุกฝ่ ายโดย ฉนั ทามติร่วม (Consensus building) และเกิดความชอบธรรมในการแกไ้ ขปัญหามลพษิ สิงแวดลอ้ ม 4.4.ช่วยเพิมความง่ายต่อการปฏิบัติตามแนวทางการแกไ้ ขปัญหาการแสวงหาทางออก ทางเลือกในการแกไ้ ขปัญหาของชุมชน ดว้ ยกระบวนการมีส่วนร่วม เป็ นการเพิมความง่ายในการนาํ ไป ปฏิบตั ิเพราะมีการระดมความคิดเห็นต่อแนวทางปฏิบตั ิขนั ตอนวิธีการ หน่วยงานรับผิดชอบ การติดตาม ประเมินผล ดงั นนั จึงเป็นผลดีต่อการนาํ ไปปฏบิ ตั ิตามแนวทางทีชดั เจน และทุกฝ่ ายเห็นพอ้ งตอ้ งกนั 4.5.หลีกเลียงการเผชิญหนา้ ระหว่างกนั ของคู่กรณีพิพาท หากมคี วามขดั แยง้ ของสมาชิก ในชุมชนต่อปัญหามลพษิ สิงแวดลอ้ มทีเกิดขึนในชุมชน ยอ่ มเป็นความเสียงต่อการเกิดการเผชิญหนา้ ระหว่าง คู่กรณีพพิ าทระหวา่ งกนั ได้ ดงั นนั กระบวนการมสี ่วนร่วมจึงเป็นการใหท้ งั สองฝ่ายรวมทงั ฝ่ ายทีไดร้ ับผลกระทบ จากปัญหามลพษิ ไดม้ ีโอกาสแลกเปลยี นความคิดเห็นและหาขอ้ สรุปในการแกไ้ ขปัญหา ช่วยลดการเผชิญหนา้ ของคู่กรณีไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4.6 ดาํ รงไวซ้ ึงความน่าเชือถอื ของผนู้ าํ ชุมชน หรือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถินการตดั สินใจ ของผนู้ าํ ชุมชนมกั เป็นการประนีประนอมมากกวา่ การใชแ้ นวทางแบบฝ่ ายหนึงชนะอีกฝ่ ายหนึงแพซ้ ึงจะทาํ ให้ ผนู้ าํ ชุมชนมแี รงกดดนั จากสมาชิกในชุมชนมากอยา่ งไรก็ตามการประนีประนอมกนั มกั ไม่นาํ มาซึงการหา ขอ้ ตกลงร่วมกนั ไดอ้ นั ทาํ ใหก้ ารแกไ้ ขปัญหาไม่เกิดผลเป็ นรูปธรรมการมีส่วนร่วม จึงเป็ นการแสวงหา ขอ้ ตกลงร่วมกนั ของผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียไมเ่ ฉพาะผนู้ าํ ชุมชนฝ่ ายเดียวเท่านนั ดว้ ยเหตุนีจึงมีขอ้ สรุปทีเกิดจาก ทุกฝ่ ายผนู้ าํ ชุมชนเพยี งแต่อาํ นวยความสะดวกในการเตรียมการใหเ้ กิดการมสี ่วนร่วม และนาํ ผลและขอ้ ตกลง ไปปฏบิ ตั ิ 4.7.พฒั นาความคิดสร้างสรรคข์ องสมาชิกในชุมชนในการแกไ้ ขปัญหาการมีส่วนร่วมเป็ น กระบวนการทีตอ้ งอาศยั การระดมความคิดเห็นของสมาชิกในชุมชนและผมู้ ีส่วนเกียวขอ้ งตงั แต่การวิเคราะห์ ปัญหาผลกระทบโอกาสในการแกไ้ ขปัญหาความตอ้ งการในการแกไ้ ขปัญหานาํ เสีย ดงั นนั ผทู้ ีเขา้ มาร่วม กระบวนการดว้ ยความสมคั รใจจะเกิดการพฒั นาความคิดและทกั ษะในกระบวนการใหไ้ ดม้ าซึงทางออกของ การแกไ้ ขปัญหา เกิดการแลกเปลียนเรียนรู้ซึงกนั และกนั ช่วยสร้างความสมานฉนั ทใ์ หเ้ กิดขึนกบั ชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook