ผังรายการสถานีวิทยกุ ระจายเสยี งรฐั สภา ประจาเดอื น กันยายน 2560 เป็นตน้ ไป ออกอากาศทกุ วนั ต้งั แต่เวลา 05.00 – 22.00 นาฬิกา เวลา จนั ทร์ อังคาร พธุ พฤหสั บดี ศุกร์ เสาร์ อาทติ ย์ เวลา 05.00 รายการเผยแผค่ วามรู้ทางศาสนา 05.00 (มูลนิธิศกึ ษาและเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนา) 06.00 คยุ ขา่ วเช้า weekend news อสิ ลาม (อา.ที่ 1,3,5) 06.00 ขา่ วเช้าสุดสัปดาห์ ครสิ ต์ (อา.ท่ี 2,4) 07.00 ถา่ ยทอดข่าว สวท. 07.00 07.30 Inside รฐั สภา วจิ ัยก้าวไกล ทาดีไดด้ ี 07.30 08.00 หอ้ งข่าวรฐั สภาแชนแนล ถา่ ยทอด คสช. สกปู๊ ...ในหลวง ร.๙ 08.00 (โทรทัศนร์ ัฐสภา) (rerun) ขบวนการคนตัวเลก็ 09.00 มองรฐั สภา มองรัฐสภา รฐั สภาของ ปชช. ร้อยเรอ่ื งเมอื งไทย 09.00 09.30 (โทรทัศน์รฐั สภา) (โทรทศั น์รฐั สภา) (โทรทัศนร์ ฐั สภา) ร้อยเรียงขา่ ว มีขา่ วดีมาบอก 09.15 สภาสนทนา สภาสนทนา 10.00 การเมืองเรอื่ งของประชาชน เวลา 10.00 น. เวลา 10.00 น. บา้ นสุขภาพ ตะลอนทัวร์ 10.00 11.00 เกาะตดิ สภานิติบัญญตั แิ ห่งชาติ เปน็ ต้นไป เปน็ ต้นไป ทัว่ ไทย 11.00 12.00 รฐั สภาของเรา (คนพกิ าร-ดอ้ ยโอกาสฯ) 13.00 ถา่ ยทอดเสยี ง ถา่ ยทอดเสยี ง การประชุม การประชุม บนั ทึกประชุมสภา สายด่วนรัฐสภา (โทรทัศนร์ ัฐสภา) สภานิติบญั ญัติ สภานติ ิบญั ญัติ แหง่ ชาติ แห่งชาติ สกปู๊ ...ในหลวง ร.๙ 12.00 15.00 รกั เมืองไทย (สนช.) (สนช.) แผน่ ดินถ่ินไทย จนเสรจ็ ส้นิ จนเสร็จส้นิ การประชุม การประชมุ เพลินเพลงยามบ่าย 13.00 (ทป่ี ระชุม สนช. (ทป่ี ระชมุ สนช. ครัง้ ที่ 3/2557 ครง้ั ท่ี 3/2557 ท้องถนิ่ บา้ นเรา 14.00 21 ส.ค.57) 21 ส.ค.57) สภาสาระ 15.00 15.30 ก้าวทนั ไอที เก็บเบี้ยใตถ้ ุนรา้ น (rerun) 16.00 16.30 ปฏริ ูปกฎหมาย วาระปฏิรปู วาระประเทศไทย เดนิ หน้ารฐั ธรรมนูญไทย ชีวิตกับการเรียนรู้ สบาย สบาย เพือ่ ประชาชน กับแพทย์ทางเลอื ก 17.00 สกู๊ปขา่ ว..สภากับประชาคมโลก สกู๊ปข่าว...เสน้ ทางกฎหมาย 17.00 Gossip การเมอื ง สบาย สบาย ละติจดู รอบโลก กับแพทยท์ างเลอื ก 18.00 เดินหน้าประเทศไทย (เชอ่ื มสญั ญาณสถานีโทรทศั นก์ องทพั บก) เดินหนา้ ประเทศไทย (เชือ่ มสญั ญาณ ททบ.) 18.00 18.30 กรรมาธิการพบประชาชน เจตนารมณ์ เกบ็ เบ้ียใตถ้ ุนร้าน เปน็ ประชารฐั เพลงดศี รแี ผ่นดิน กฎหมาย 19.00 ถา่ ยทอดข่าว สวท. 19.00 19.30 ข่าวภาษาองั กฤษ เรดิโอ for you 19.30 20.00 ขา่ วในพระราชสานกั (รบั สัญญาณจาก สวท.) 20.00 รายการจากสถาบันพระปกเกล้า คุยกนั นอกศาล สนทนากับ คลงั สมอง วปอ.ฯ 21.00 ปปช. ๓๐ นาที คุยกับ สตง. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 21.00 พบประชาชน คดปี กครอง คณะกรรมการสทิ ธิฯ พบประชาชน พบประชาชน ปจุ ฉา - วิสัชนาธรรม 21.30 ธรรมะก่อนนอน (พระอาจารยอ์ ารยวังโส) 22.00 22.00 หมายเหตุ - เวลา 08.00 น. และ 18.00 น. เคารพธงชาติ และ พระบรมราโชวาท / นาเสนอขา่ วตน้ ชั่วโมง และสปอตตา่ งๆ ตั้งแตเ่ วลา 08.00–21.00 น. - หากช่วงเวลาใดมีการถา่ ยทอดคาสงั่ /ประกาศ/รายการพเิ ศษจาก คสช. หรืองานที่ไดร้ บั มอบหมาย สถานีฯ จะดาเนินการถ่ายทอดเสียงจนเสร็จสนิ้ ภารกิจ
ทปี่ รกึ ษา วัตถปุ ระสงค์ นายสรศกั ด ิ์ เพยี รเวช เพ่ือเผยแพร่การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย นางสาวสภุ าสนิ ี ขมะสุนทร อนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ และเพื่อเสนอขา่ วสารวิชาการในวงงานรัฐสภา และอน่ื ๆ บรรณาธิการ ทัง้ ภายในและต่างประเทศ นางจงเดอื น สทุ ธริ ัตน์ การสง่ เร่ืองลงรัฐสภาสาร สง่ ไปท่ี บรรณาธกิ ารวารสารรฐั สภาสาร ผู้จดั การ ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร นางบุษราค�ำ เชาวนศ์ ิริ สำ�นักประชาสมั พันธ์ กลมุ่ งานผลติ เอกสาร ถนนประดิพทั ธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท ประจ�ำ กองบรรณาธกิ าร กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ นางพรรณพร สนิ สวสั ดิ์ โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ นางฟา้ ดาว คงนคร e-mail: [email protected] นางสาวอรทยั แสนบุตร การสมคั รเปน็ สมาชกิ นางสาวจุฬีวรรณ เตมิ ผล คา่ สมคั รสมาชิก ปีละ ๕๐๐ บาท (๑๒ เลม่ ) นางสาวนธิ ิมา ประเสริฐภกั ดี ราคาจ�ำ หน่ายเลม่ ละ ๕๐ บาท (รวมค่าจัดสง่ ) นางสาวสหวรรณ เพ็ชรไทย ก�ำ หนดออกเดอื นละ ๑ ฉบับ นายพิษณุ จารยี ์พันธ์ การส่งบทความลงเผยแพร่ในวารสารรัฐสภาสาร ฝ่ายธรุ การ จะต้องเป็นบทความที่ไม่เคยลงพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน นางสาวเสาวลกั ษณ ์ ธนชยั อภิภทั ร การพิจารณาอนุมัติบทความท่ีนำ�มาลงพิมพ์ดำ�เนินการ นางสาวดลธี จุลนานนท์ โดยกองบรรณาธกิ าร ทง้ั นี้ บทความ ข้อความ ความคิดเหน็ นางสาวจริยาพร ดกี ลั ลา หรือข้อเขียนใดท่ีปรากฏในหนังสือเล่มนี้เป็นความเห็น นางสาวอาภรณ ์ เนือ่ งเศรษฐ์ ส่วนตวั ไมผ่ ูกพนั กับทางราชการแตป่ ระการใด นางสาวสรุ ดา เซ็นพานิช ฝ่ายศลิ ปกรรม นายมานะ เรอื งสอน นายนิธทิ ัศน ์ องคอ์ ศิวชยั นางสาวณัฐนนั ท ์ วชิ ติ พงศเ์ มธี -------------------- พมิ พท์ ี่ ส�ำ นกั การพมิ พ์ ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นางสาวกลั ยรัชต์ ขาวสำ�อางค์
นับ จากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยจนถึงปัจจุบัน ระยะเวลา ก็ผ่านมา ๖ เดือนแล้ว ซ่ึงเหลือเวลาอีกไม่มากท่ีคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะต้องเร่งจัดทำ� รา่ งพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ทงั้ ๑๐ ฉบบั ให้แลว้ เสรจ็ ทนั ตามกำ�หนด นน่ั คือ ภายใน ๒๔๐ วัน นบั แต่วันประกาศใชร้ ัฐธรรมนญู โดยขณะน้ีได้มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบัญญตั ิประกอบ รฐั ธรรมนูญแลว้ จำ�นวน ๒ ฉบบั คือ พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยคณะกรรมการ การเลอื กตง้ั และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยวธิ พี จิ ารณาคดอี าญาของผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมือง ส่วนอีก ๘ ฉบบั ก็เริม่ ทยอยประกาศใชต้ ามมา และเมอ่ื ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ ประกอบรัฐธรรมนูญท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกต้ังครบหมดแล้วก็จะเข้าสู่กระบวนการจัดการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งตามโรดแมปที่นายกรัฐมนตรีได้กำ�หนดไว้คือ จะมีการเลือกตั้ง ประมาณเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๑ เม่ือน้ันประเทศไทยก็จะเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่าง สมบรู ณ์ รฐั สภาสารฉบับน้ี มีบทความจ�ำ นวน ๕ เร่อื ง เรื่องแรกคอื “ความเหมอื น ความ แตกต่างของคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ (ตอนจบ)” ซง่ึ บทความนม้ี กี ารแบง่ เนอ้ื หาออกเปน็ ๒ ตอน ตอนแรกลงพมิ พ์ ในฉบับเดือนสิงหาคม ส่วนฉบับนี้คือตอนจบ โดยมีเนื้อหามุ่งอธิบายในเชิงแจกแจงและวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ “คณุ สมบัติ (qualifications)” และ “ลกั ษณะต้องหา้ ม (prohibitions)” ของตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนญู (judges of the constitutional court) ตามทร่ี ฐั ธรรมนูญบัญญัติ ซ่งึ จากการ เปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ ฉบับปี ๒๕๕๐ พบว่า ในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีรูปแบบการ จัดวางโครงสร้างของคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีเป็นระบบ มากกว่า และยังมีการกำ�หนดองค์กรท่ีมีอำ�นาจหน้าที่เป็นการเฉพาะในการวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา และข้อพิพาทเก่ียวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคคลท่ีจะได้รับการเสนอช่ือเป็น ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญไวด้ ้วยซึ่งเปน็ เร่ืองที่แตกตา่ งจากรฐั ธรรมนูญฉบบั เดิม บทความเร่ืองต่อมา คือ “การเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการดำ�เนินการตาม บทบญั ญตั มิ าตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยของฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ”ิ มเี นอ้ื หากลา่ วถงึ มาตรา ๗๗ ซ่ึงเป็นมิติใหม่ของรัฐธรรมนูญท่ีมีคนกล่าวถึงกันมาก และนักออกกฎหมายเกรงว่า จะทำ�ให้การออกกฎหมายทำ�ได้ยากและล่าช้า เนื่องจากต้องผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็น
ของผู้ได้รับผลกระทบ และต้องวิเคราะห์ความจำ�เป็นในการออกกฎหมายด้วย ทำ�ให้ส่งผลต่อ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติที่ต้องเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการดำ�เนินการตามบทบัญญัติ ดังกลา่ ว ส่วนบทความเร่ือง “พัฒนาการวุฒิสภาไทยใน ๗ ทศวรรษ” มีเนื้อหาสาระเกีย่ วกับ การมีวุฒิสภาในแนวคิดระบบสองสภา พัฒนาการและความสัมพันธ์ด้านที่มาและอำ�นาจ หน้าท่ีของวุฒิสภาไทยตามรัฐธรรมนูญทุกฉบับ และบทความเรื่อง “การใช้จารีตประเพณี การปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ศึกษากรณี การเข้าสู่ตำ�แหน่ง นายกรัฐมนตรี” ที่นำ�เสนอเพ่ือให้ทราบว่า “องค์กรใดเป็นองค์กรตามประเพณีการปกครอง” ท่ีสามารถนำ�ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุขมาใช้อุดช่องว่างในการเข้าสู่ตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีให้มีความชัดเจน และนำ�มาใช้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในกรณที เ่ี กดิ ชอ่ งวา่ งทางรฐั ธรรมนญู ในการเข้าสู่ตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีในอนาคต ตลอดจนเพื่อเป็นหลักประกันต่อการแก้ปัญหา ของประเทศชาติโดยสันติวิธี ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ส่วนบทความเร่ืองสุดท้าย “ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยในบริบท ประเทศไทย ๔.๐” ที่กล่าวถึงพัฒนาการของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยในบริบท ประเทศไทย ๔.๐ โดยแบ่งการอภิปรายออกเป็น ๔ ประเด็นใหญ่ ๆ ประเด็นแรก กล่าวถึง ประเทศไทยในบรบิ ทของการเปลย่ี นแปลง ซง่ึ จะชว่ ยใหท้ ราบถงึ การเปลย่ี นแปลงของระบบราชการใน อดีตจนถึงปัจจุบัน และในอนาคต ประเด็นท่ีสอง กล่าวถึง ความท้าทายใหม่ของการพัฒนา ภาครฐั ภายใตบ้ รบิ ทระบบราชการ ๓.๐ ไปสรู่ ะบบราชการ ๔.๐ ประเดน็ ทส่ี าม กลา่ วถงึ ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทยและการปฏิรูประบบราชการเพ่ือรองรับ Thailand ๔.๐ ส่วนประเด็น สุดท้ายอธิบายถึงปัจจัยแห่งความสำ�เร็จในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ไปสู่การปฏิบัติ ท้ายนี้ กองบรรณาธิการขอขอบคุณสมาชิกทุกท่านท่ีติดตามอ่านวารสารฉบับนี้และ หวงั ว่าจะติดตามตลอดไป บรรณาธกิ าร
รฐั สภาสาร ปที ี่ ๖๕ ฉบบั ท่ี ๙ เดอื นกนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ Vol. 65 No. 9 September 2017 ความเหมอื น ความแตกตา่ งของคณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ้ งหา้ มของตลุ าการ ๗ ศาลรฐั ธรรมนญู ตามบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ (ตอนจบ) นนั ทชัย รกั ษจ์ ินดา การเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั การด�ำ เนนิ การตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๗๗ ๓๖ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยของฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ ปยิ ะนาถ รอดมุ้ย พฒั นาการวฒุ สิ ภาไทยใน ๗ ทศวรรษ ๕๐ (The Thai Second Chamber Development in Seven Decades) ปณิธัศร์ ปทุมวัฒน์ การใชจ้ ารตี ประเพณกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยตามบทบญั ญตั ริ ฐั ธรรมนญู ๖๕ ศกึ ษากรณี การเขา้ สตู่ �ำ แหนง่ นายกรฐั มนตรี (The use of traditional administrative system in the democratic regime according to the provisions of constitution: A study of how to become a prime minister) กติ ตศิ ักด์ิ หนชู ัยแกว้ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทยในบรบิ ทประเทศไทย ๔.๐ ๘๓ (Strategic for Thai Government Development in the Context of Thailand 4.0) สพุ ฒั น์จติ ร ลาดบัวขาว
๗ ความเหมอื น ความแตกตา งของคณุ สมบตั ิและลกั ษณะตองหามของตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนูญตามบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ (ตอนจบ) นนั ทชยั รักษจ ินดา* ๑. บทนา จากท่ีผูเขียนไดอรรถาธิบายถึงกรณีความเหมือน ความแตกตาง และลักษณะ ตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามท่ีบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ในลกั ษณะอธบิ ายความและจดั ทําตารางเปรียบเทียบแสดงขอมลู รายละเอียด ซึ่งเปนบทความ ตอนทห่ี นึ่ง ไวแลวน้ัน มาถงึ บทความตอนจบฉบบั น้ี ผเู ขียนจะไดแสดงความเห็นและวเิ คราะห ขอมูลอันตั้งอยูบนพ้ืนฐานความเห็นทางวิชาการตอกรณีตาง ๆ ซ่ึงมีรายละเอียดเปนลําดับ ดงั น้ี * อาจารยป ระจาํ คณะนิตศิ าสตร มหาวทิ ยาลัยตาป
๘ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ๒. บทวิเคราะหเปรียบเทียบคุณสมบติและลกษณะตองหามของตุลาการศาลรฐธรรมนูญ ตามบทบญญติของรฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกรไทย พุทธศกราช ๒๕๖๐ และ บทบญญตขิ องรฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกรไทย พุทธศกราช ๒๕๕๐ รายละเอียดในเรื่องของคุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการศาล รัฐธรรมนูญตามท่บี ทบญั ญัติของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และ บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ บัญญัตไิ ว ผูเขียนจะได วิเคราะหแสดงความคิดเห็นทางวิชาการตามทัศนคติที่ผูเขียนเล็งเห็นเก่ียวกับเร่ืองดังกลาว มเี นื้อหาตามลาํ ดับ ดงั นี้ ๒.๑ ขอ พจิ ารณาดา นคณุ สมบัติ ขอพิจารณาดานคุณสมบัติท่ีผูเขียนจะทําการวิเคราะหแสดงความคิดเห็น มดี ังนี้ ๒.๑.๑ การจดั กลุมของคุณสมบัติ จากตารางเปรียบเทียบท่ี ๑ คุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ๑ จะพบเห็นไดวาการจัดแบงกลุมของคุณสมบัติมีความแตกตางกันออกไป กลาวคือ เดิมทีนั้น รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บญั ญัตถิ ึงคณุ สมบัติของตลุ าการศาล รฐั ธรรมนูญไวในมาตรา ๒๐๔ และมาตรา ๒๐๕ โดยกาํ หนดถงึ คณุ สมบตั ิของตลุ าการศาล รัฐธรรมนูญซึ่งมาจากการคัดเลือกของที่ประชุมใหญศาลฎีกาและการคัดเลือกของท่ีประชุม ใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (มาตรา ๒๐๔) กรณีหน่ึง และคุณสมบัติของตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญที่มาจากการสรรหาของคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๐๕) อกี กรณีหน่งึ ซึง่ คณุ สมบัตทิ ง้ั สองกรณตี า งเปน “คณุ สมบัตเิ ฉพาะ (specific qualifications)” ท่ใี ชบังคับกับองคกรท่มี ีอํานาจเสนอช่อื ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แตไมปรากฏ การบัญญัตถิ ึงคุณสมบัตพิ ้ืนฐาน (principle qualifications) หรือ “คณุ สมบตั ปิ ระกอบ (support qualifications)” แตอยางใด ๑ ตารางเปรียบเทยี บที่ ๑ คุณสมบตั ิของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ดูไดจากบทความตอนทหี่ น่ึง
๙ เม่อื กลับมาพิจารณารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ และมาตรา ๒๐๑ ซึ่งบัญญตั ถิ งึ คณุ สมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ไวเชนเดียวกนั จะพบวา มกี ารจัดแบง คุณสมบตั อิ อกเปน ๒ ลักษณะ กลา วคือ กรณคี ณุ สมบัติ พน้ื ฐาน (principle qualifications) และกรณีคุณสมบตั เิ ฉพาะ (specific qualifications) กรณคี ุณสมบตั ิพน้ื ฐาน (principle qualifications) นั้น บญั ญัตไิ วใ น มาตรา ๒๐๑ ความวา “ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ตอ งมคี ณุ สมบตั ดิ งั ตอ ไปนด้ี ว ย (๑) มสี ญั ชาตไิ ทย โดยการเกิด (๒) มีอายุไมต่ํากวาส่ีสิบหาป แตไมถึงหกสิบแปดปในวันที่ไดรับการคัดเลือก หรือวันสมัครเขารับการสรรหา (๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา (๔) มีความซ่ือสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ (๕) มีสุขภาพที่สามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยาง มีประสทิ ธภิ าพ”๒ เมอ่ื พเิ คราะหจากถอ ยความของมาตรา ๒๐๑ ที่บญั ญัตวิ า “ตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญตองมีคุณสมบัติดังตอไปน้ีดวย” แสดงใหเห็นถึงเจตนารมณของมาตรา ๒๐๑ ไดวา คุณสมบตั ทิ งั้ ๕ ประการ ทก่ี ลาวไวเหลาน้ี จะตองนําไปบังคบั ใชกับตลุ าการศาล รัฐธรรมนูญทุกคนไมวาจะมีท่ีมาจากการคัดเลือกหรือการสรรหาขององคกรใดก็ตาม จึงกลาว ไดว า คณุ สมบัติทไ่ี ดรบั การบัญญัติไวใ นมาตรา ๒๐๑ น้ี เปน “คุณสมบตั ิพื้นฐาน (priciple qualifications)” ทจ่ี ะตอ งนาํ ไปใชเ ปน เกณฑใ นการพจิ ารณาคณุ สมบตั ขิ องตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู กรณคี ณุ สมบัติเฉพาะ (specific qualifications) บญั ญตั ิไวในมาตรา ๒๐๐ เปนกรณีที่บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตองการต้ังคุณสมบัติไวเปนการเฉพาะใหแก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีไดรับการคัดเลือกจากที่ประชุมใหญศาลฎีกาองคกรหน่ึง ท่ีไดรับ การคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดองคกรหน่ึง รวมถึงท่ีไดรับการ สรรหาจากคณะกรรมการสรรหาอีกองคกรหน่งึ นอกเหนือจากน้นั ยังปรากฏบทบัญญัตดิ าน คณุ สมบตั ซิ ่ึงนาํ มาใชบงั คบั ประกอบ (support qualification) กบั คณุ สมบัตเิ ฉพาะของตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนญู ทมี่ าจากการสรรหาของ “คณะกรรมการสรรหา” ดว ย โดยบญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๒๐๓๓ กลาวคอื “มคี วามรับผดิ ชอบสงู มีความกลา หาญในการปฏิบัติหนา ท่ีและมีพฤติกรรม ทางจรยิ ธรรม เปนตัวอยางทีด่ ีของสงั คม” ๒ ดู มาตรา ๒๐๑ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๓ ดู มาตรา ๒๐๓ รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๑๐ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ดังน้ัน ในกรณีของการจัดกลุมคุณสมบัติตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ จงึ มีการจดั กลุม คณุ สมบตั ิทเ่ี พมิ่ ข้ึน จากบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ กลา วคือ สว นของ คณุ สมบตั พิ น้ื ฐาน (priciple qualifications) และสว นของคณุ สมบตั ปิ ระกอบ (support qualification) ในทัศนะของผูเขียนตอกรณีการจัดกลุมคุณสมบัติเชนวาน้ี พิจารณา เห็นวา การจัดกลุมคุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามลักษณะการบัญญัติของ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ นน้ั มลี กั ษณะเปน ระบบ (system) แบง แยก ชัดเจนระหวางคุณสมบัติพ้ืนฐานและคุณสมบัติเฉพาะ ทําใหงายและสะดวกตอการนําไป ปฏิบัติและทําความเขาใจ ไมวาจะตอองคกรท่ีมีสิทธิเสนอช่ือตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยตรง หรือตอนักวิชาการทางกฎหมาย หรือตอนิสิตนักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร หรือตอภาค ประชาชนท่ีมีความสนใจตอกรณีการศกึ ษาองคก รศาลรัฐธรรมนญู จนสามารถกลาวอีกนยั หนึง่ ไดว า เปน “ลกั ษณะการพจิ ารณาเปน ลาํ ดบั ขน้ั ตอน” อนั เปน จดุ เดน ดา นการจดั โครงสรา งเกย่ี วกบั คุณสมบัติของตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญของรฐั ธรรมนูญฉบบั น้ี นอกจากน้ัน การกําหนดคุณสมบัติพ้ืนฐานไว เทากับเปนการสราง บรรทัดฐานกลางในเร่ืองของคุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพ่ือใหทุกองคกรที่มีสิทธิ เสนอชื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใชเกณฑดังกลาวเปนแนวทางเดียวกัน ซ่ึงไมมีการบัญญัติใน ลกั ษณะเชน น้ีในรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ๒.๑.๒ การกาํ หนดคุณสมบตั ิเฉพาะ เมอ่ื กลาวถงึ คุณสมบัตเิ ฉพาะ (specific qualifications) ตามบทบญั ญตั ิ ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ตางมีการกําหนดถึงคุณสมบัติเฉพาะไวทั้งส้ิน แตถึงกระนั้นก็ตาม ภายในเนื้อหารายละเอียดก็ยังคงปรากฏความแตกตางอยูเชนเดียวกัน โดยผเู ขยี นจะทาํ การวเิ คราะหพจิ ารณาออกเปน ๓ กรณี ดงั น้ี กรณที ี่ ๑ คณุ สมบัตเิ ฉพาะของตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญที่ไดร ับ การคดั เลือกจากทป่ี ระชมุ ใหญศาลฎีกา กรณีคุณสมบัติเฉพาะตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๑)๔ บญั ญตั ใิ หทปี่ ระชมุ ใหญศาลฎกี าคัดเลือก “ผูพพิ ากษา ๔ ดู มาตรา ๒๐๐ (๑) รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๑๑ ในศาลฎีกาซ่ึงดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกามาแลวไมนอยกวา ๓ ป” เปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู โดยบัญญตั บิ ทผอ นปรนคุณสมบตั เิ ฉพาะไวในมาตรา ๒๐๐ วรรคสอง ความวา “ในกรณีไมอ าจเลอื กผพู ิพากษาหัวหนา คณะในศาลฎกี าได ทีป่ ระชุมใหญ ศาลฎีกาจะเลือกบุคคลจากผูซ่ึงเคยดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาผูพิพากษาในศาลฎีกามาแลว ไมนอ ยกวา ๓ ป กไ็ ด” สวนกรณีคุณสมบัติเฉพาะตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ นั้น มาตรา ๒๐๔ (๑)๕ บญั ญัติใหทปี่ ระชุมใหญศาลฎกี าคัดเลือก “ผูพพิ ากษา ในศาลฎีกา ซง่ึ ดาํ รงตําแหนงไมต าํ่ กวา ผูพิพากษาศาลฎกี า” เปนตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู โดย บัญญัตบิ ทผอนปรนคุณสมบัติไวใ นมาตรา ๒๐๔ วรรคสอง ความวา “ในกรณีไมม ผี ูพิพากษาใน ศาลฎีกา ใหท ี่ประชุมใหญศ าลฎกี าเลอื กบุคคลอืน่ ซ่ึงมีคณุ สมบตั แิ ละไมม ีลักษณะตอ งหามตาม มาตรา ๒๐๕ และมีความรู ความเชย่ี วชาญทางดา นนิตศิ าสตรท่เี หมาะสมจะปฏิบัตหิ นาที่เปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ” เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติเฉพาะจากทั้งสองกรณีแลว จะพบวาคุณสมบัติเฉพาะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีไดรับคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญ ศาลฎกี าตามบทบัญญัติรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๑) จะกาํ หนดคณุ สมบัติของผูพิพากษาในศาลฎีกาทสี่ ูงข้นึ และจะมเี รื่องของระยะเวลาของการ ดํารงตําแหนงเขามาเกย่ี วของดว ย กลาวคอื จะตองเปน ผูพิพากษาในศาลฎกี าซึง่ ดํารงตําแหนง ไมตาํ่ กวา หวั หนาคณะในศาลฎกี ามาแลวไมนอ ยกวา ๓ ป ซง่ึ แตกตา งจากกรณขี องมาตรา ๒๐๔ (๑) ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ท่บี ัญญัตคิ ณุ สมบัติเฉพาะไว เพยี ง “ผูพิพากษาในศาลฎีกา ซึ่งดํารงตําแหนงไมต ํา่ กวา ผูพ ิพากษาศาลฎีกา” เทาน้นั โดยไมนํา เอาเรอื่ งของระยะเวลาของการดํารงตาํ แหนง มาเปน เกณฑพ ิจารณา สะทอนใหเห็นวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๑) มีเจตนารมณต องการใหไดผ ูพพิ ากษาในศาลฎีกาทม่ี คี วามเชย่ี วชาญ และมีประสบการการปฏิบัติหนาที่ท่ีสูงข้ึนกวาคุณสมบัติเฉพาะเดิม ซึ่งหากพิจารณาในแง ของความสามารถและประสบการณการผานงาน ยอมถือวาเดนกวาคุณสมบัติเฉพาะใน รูปแบบเดิมอยางปฏิเสธมิได แตหากพิจารณาจากโอกาสในการคัดเลือกผูพิพากษาในศาลฎีกา ๕ ดู มาตรา ๒๐๔ (๑) รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
๑๒ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ที่มีคุณสมบัติสอดคลองแลว ผูเขียนเห็นวาผูพิพากษาในศาลฎีกาที่มีสิทธิไดรับคัดเลือกก็จะ ลดนอ ยลงตามไปดว ย ทงั้ น้ี เพราะมกี ารกาํ หนดคณุ สมบัติจากการดํารงตําแหนงของผพู ิพากษา ในศาลฎีกาท่ีสูงขน้ึ กลาวคอื “ตองดํารงตาํ แหนง หัวหนาคณะในศาลฎีกา” ผนวกกับระยะเวลา ของการดาํ รงตาํ แหนงสมทบเขาไปอีกกรณี ก็ยิ่งทําใหการคดั เลือกบคุ คลเปน ไปไดยากกวาเดิม แมวาบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ วรรคสอง๖ จะไดบ ญั ญตั บิ ทผอ นปรนคณุ สมบตั เิ ฉพาะไว ความวา “ในกรณี ไมอาจเลือกผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกาได ท่ีประชุมใหญศาลฎีกาจะเลือกบุคคล จากผูซงึ่ เคยดํารงตาํ แหนง ไมต ่ํากวาผพู พิ ากษาในศาลฎกี ามาแลวไมน อยกวา ๓ ป กไ็ ด” แตใ น บทผอนปรนดังกลาวก็ยังคงผูกติดคุณสมบัติไวกับการเคยดํารงตําแหนงและระยะเวลาของการ เคยดาํ รงตําแหนงหนาทีไ่ วเ ชนเดียวกนั คอื “ไมนอยกวา ๓ ป” ซึง่ หากนาํ ไปเปรียบเทยี บกบั บทผอนปรนคณุ สมบัติเฉพาะตามบทบัญญัตริ ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๐๔ วรรคสอง๗ ความวา “ในกรณไี มม ผี พู พิ ากษาในศาลฎกี า ใหท่ปี ระชมุ ใหญศาลฎกี าเลอื กบุคคล อืน่ ซง่ึ มีคุณสมบตั แิ ละไมม ลี ักษณะตอ งหามตามมาตรา ๒๐๕ และมีความรู ความเชยี่ วชาญ ทางดา นนติ ศิ าสตรท ี่เหมาะสมจะปฏิบัตหิ นา ทเ่ี ปนตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ” หรือก็คือสามารถ นาํ “บคุ คลภายนอก” ที่ไมใ ชผ ูพพิ ากษาในศาลฎีกามาดํารงตาํ แหนง ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญได ดงั น้นั กรณบี ทผอนปรนคณุ สมบตั ิตามรปู แบบเดมิ จะเปด โอกาสในการคัดเลอื กบคุ คลมาดาํ รง ตาํ แหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ไดก วางกวา กรณีที่ ๒ คุณสมบตั ิเฉพาะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่ไดรับ การคัดเลอื กจากทีป่ ระชมุ ใหญต ุลาการในศาลปกครองสงู สุด กรณีของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่ไดรับคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญ ตุลาการในศาลปกครองนั้น รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๒)๘ บญั ญัติใหท ่ีประชมุ ใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ คดั เลือกจาก “ตุลาการในศาล ปกครองสูงสุดซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาตุลาการศาลปกครองสูงสุดมาแลวไมนอยกวา ๕ ป” เปนตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญ โดยไมม ีการบญั ญตั ิถึงบทผอ นปรนคณุ สมบตั ไิ วแตอ ยางใด ๖ ดู มาตรา ๒๐๐ วรรคสอง รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๗ ดู มาตรา ๒๐๔ วรรคสอง รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ๘ ดู มาตรา ๒๐๐ (๒) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๑๓ กรณีรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญที่ไดร บั คดั เลือกจากท่ปี ระชุมใหญต ุลาการในศาลปกครองสงู สดุ มาตรา ๒๐๔ (๒)๙ บัญญัติใหท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด คัดเลือกจาก “ตุลาการในศาล ปกครองสูงสุด” และไดบัญญัติบทผอนปรนคุณสมบัติเฉพาะไวในมาตรา ๒๐๔ วรรคสอง๑๐ ความวา “ในกรณีที่ไมมีตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครอง สูงสุดเลือกบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๕ และมีความรู ความเช่ยี วชาญทางดานนิติศาสตรทเี่ หมาะสมเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ” ซ่งึ เปน ลักษณะบท ผอนปรนทีใ่ ห “บุคคลภายนอก” ซง่ึ ไมใ ชต ุลาการในศาลปกครองสูงสดุ มาดํารงตาํ แหนงตลุ าการ ศาลรัฐธรรมนูญไดเชน เดยี วกัน เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบในเรื่องของคุณสมบัติเฉพาะของตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ ซ่ึงไดรับการคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดแลว มคี วามเหมอื นกนั ในเรือ่ งของตาํ แหนง ของตุลาการ กลาวคือ “ตอ งเปน ตลุ าการในศาลปกครอง สงู สุด” สว นกรณคี วามแตกตางนน้ั เปนเรือ่ งของระยะเวลาในการดํารงตําแหนง กลาวคือ กรณี ตามมาตรา ๒๐๐ (๒) ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มีการบญั ญตั ิ ใหนําเอาระยะเวลาของการดํารงตําแหนงตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมาเปนเกณฑพิจารณา ดวย ซึ่งจะตองดํารงตําแหนงตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมาแลวไมนอยกวา ๕ ป แตตาม บทบญั ญตั ิรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๔ (๒) ไมม กี าร บญั ญตั ถิ งึ เรอ่ื งของระยะเวลาการดาํ รงตาํ แหนง ไวแตอ ยางใด ในทัศนะของผูเขียนแลว การกําหนดระยะเวลาในการดํารงตําแหนง เพ่ือเปนเกณฑพิจารณาดานคุณสมบัติเฉพาะนั้น สะทอนใหเห็นเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๒) ไดป ระการหนง่ึ วา ตอ งการบุคคล ทผ่ี านประสบการณในการปฏิบัติหนาที่ในฐานะตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ ซึ่งกรณนี ี้ผเู ขยี น เห็นพอ งวา มคี วามจาํ เปนย่งิ แตถ งึ กระนน้ั การกําหนดระยะเวลาของการดํารงตําแหนงไวสูงถึง ๕ ป ดังกลา ว อาจผันกลายเปน อุปสรรคท่ีทําใหการคัดเลอื กตุลาการในศาลปกครองสูงสดุ เปน ๙ ดู มาตรา ๒๐๔ (๒) รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ๑๐ ดู มาตรา ๒๐๔ วรรคสอง รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐
๑๔ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ไปไดยากยง่ิ ข้นึ ตามไปดวย เพราะถูกคดั กรองดว ยเหตุ “ระยะเวลาของการดาํ รงตาํ แหนง ” ซง่ึ อายุงาน ๕ ปนี้ เมือ่ นาํ ไปพจิ ารณาประกอบกบั ชว งอายขุ องตลุ าการซ่งึ ดํารงตาํ แหนง ตลุ าการ ในศาลปกครองสูงสุดแลว อาจจะไปกระทบตอคุณสมบัติพื้นฐานของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทีบ่ ญั ญตั ิไวใ นบทบญั ญตั ิรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๑ ความวา “ตุลาการศาลรัฐธรรมนญู จะตองมีคณุ สมบัตดิ งั ตอ ไปน้.ี .... (๒) มีอายไุ มต ่าํ กวา ๔๕ ป แตไมถงึ ๖๘ ป ในวันทีไ่ ดร ับการคัดเลือกหรือวันสมัครเขารบั การสรรหา.... (๕) มีสขุ ภาพท่ี ปฏิบัตหิ นา ทีไ่ ดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ” ไดประการหน่งึ หรอื อาจจะไปกระทบตอ วาระการดํารง ตําแหนงของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ซ่ึงตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๗ บญั ญัติวา “ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญมีวาระการดํารงตําแหนง ๗ ป นับแตวันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตงต้งั และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว”๑๑ ไดอีก ประการหน่ึง จนอาจสงผลใหตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ไดรับการคัดเลือกไมสามารถ ดํารงตําแหนงไดเต็มวาระและในทายที่สุดก็จะตองผันกลับมาคัดเลือกตุลาการในศาลปกครอง สงู สดุ ใหมอ กี ครง้ั นอกเหนอื จากทก่ี ลา วมา สง่ิ ทจ่ี ะละเลยเสยี มไิ ดอ กี ประการหนง่ึ คอื กรณคี ณุ สมบตั ิ ของตุลาการในศาลปกครองสูงสุดไมมีการบัญญัติบทผอนปรนคุณสมบัติไวแตอยางใดเลย เทากับวาไมมีชองทางสํารองใหท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในการเสนอชื่อ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได จากปจจัยทผ่ี ูเขียนแสดงไวท ้งั สน้ิ นี้ อาจจะเปนสาเหตุของปญหาการ ขาดแคลนบุคลากรในสายตุลาการในศาลปกครองสูงสุดได ดังน้ัน ผูเขียนจึงเห็นควรใหมีการ ปรับลดเรื่องของระยะเวลาในการดํารงตําแหนงของตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ๕ ป ให คงเหลือไวเพียง ๓ ป เพื่อเปนการขยายโอกาสและลดชองวางท่ีอาจจะทําใหเกิดปญหา การขาดแคลนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดท่ีจะไดรับคัดเลือกเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได และเห็นควรใหมีการบัญญัติบทผอนปรนคุณสมบัติของตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเฉกเชน กรณีผูพิพากษาในศาลฎีกาไวดวยเพ่ือเปนชองทางสํารองในกรณีท่ีไมมีหรือไมสามารถคัดเลือก ตุลาการในศาลปกครองสงู สุดได ๑๑ ดู มาตรา ๒๐๗ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๑๕ กรณที ่ี ๓ คุณสมบตั เิ ฉพาะของตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ทไี่ ดรับ การสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา กรณีคุณสมบัติเฉพาะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีไดรับการสรรหา จากคณะกรรมการสรรหานี้ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กับบทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติ คุณสมบัติของผูทรงคุณวุฒิไวบนพ้ืนฐานหลักการเดิม แตในหลักการเดิมเชนวานั้นก็ยังคง ปรากฏความแตกตางในรายละเอยี ดของคณุ สมบัตเิ ฉพาะอยเู ชนเดียวกัน ดังน้ี ก. ประเด็นการกําหนดคุณสมบัติเฉพาะของผูทรงคุณวุฒิสาขา นิตศิ าสตร และผทู รงคณุ วุฒสิ าขารัฐศาสตรหรอื สาขารฐั ประศาสนศาสตร รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๓) (๔)๑๒ บญั ญตั ิใหค ณะกรรมการสรรหา สรรหาผทู รงคณุ วฒุ สิ าขานติ ศิ าสตร จํานวน ๑ คน และสรรหาผทู รงคณุ วฒุ ิสาขารัฐศาสตรหรอื สาขารฐั ประศาสนศาสตร จาํ นวน ๑ คน โดยกาํ หนด คณุ สมบัตเิ ฉพาะไวเหมอื นกนั คือ “จะตองสรรหาจากผดู ํารงตําแหนง หรอื เคยดํารงตาํ แหนง ศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาหาป และยังมี ผลงานทางวชิ าการเปน ทป่ี ระจกั ษ จาํ นวน ๑ คน” โดยพจิ ารณาคณุ สมบตั ปิ ระกอบตามทม่ี าตรา ๒๐๓ บัญญตั ิไวด วย คอื “เปนผูท ีม่ ีความรับผิดชอบสงู มคี วามกลาหาญในการปฏิบัตหิ นาที่ และมพี ฤติกรรมทางจริยธรรมเปน ตวั อยา งที่ดขี องสังคม” สวนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๔ (๓) (๔)๑๓ บัญญัติใหคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สรรหา ผูท รงคุณวุฒสิ าขานติ ิศาสตร จาํ นวน ๒ คน และสรรหาผทู รงคณุ วฒุ สิ าขารฐั ศาสตร หรอื สาขารฐั ประศาสนศาสตร หรือสังคมศาสตรอ ื่น จาํ นวน ๒ คน โดยกําหนดคณุ สมบัติเฉพาะ ไวในลักษณะวา หากเปนผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร จะตอง “มีความรูความเช่ียวชาญ ทางดานนิติศาสตรอยางแทจริง” หรือหากเปนผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร หรือสาขา รัฐประศาสนศาสตร หรอื สงั คมศาสตรอ น่ื จะตอง “มีความรูความเช่ยี วชาญทางดานการบรหิ าร ราชการแผนดนิ อยา งแทจริง” ซ่ึงผูทรงคณุ วฒุ เิ ชน วา นัน้ จะตองเคยดาํ รงตําแหนง หนงึ่ ตาํ แหนง ใดหรือเคยทําหนา ทตี่ ามที่มาตรา ๒๐๕ (๓)๑๔ บญั ญตั ิมากอน ไดแก “เคยเปนรัฐมนตรี ตลุ าการ ๑๒ ดู มาตรา ๒๐๐ (๓) (๔) รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๑๓ ดู มาตรา ๒๐๔ (๓) (๔) รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๑๔ ดู มาตรา ๒๐๕ (๓) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
๑๖ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ พระธรรมนูญในศาลทหารสงู สดุ กรรมการการเลือกต้ัง ผูต รวจการแผน ดิน กรรมการปอ งกัน และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ กรรมการตรวจเงนิ แผน ดนิ หรอื กรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ หรือเคยรับราชการในตําแหนงไมตํ่ากวารองอัยการสูงสุด อธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมต่ํากวา ศาสตราจารย หรือเคยเปนทนายความที่ประกอบวิชาชีพอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง ไมน อยกวา ๓๐ ป นับถึงวนั ท่ีไดร ับการเสนอช่อื ” เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ประเภทผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรท่ีมาจากการเสนอช่ือของคณะกรรมการสรรหาท้ังสอง กรณีแลว จะพบเหน็ วา ตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๓) (๔) จะมงุ เนนคุณสมบัตไิ ปที่ “ผูดาํ รงตําแหนง หรอื เคยดํารงตําแหนง ศาสตราจารยข องมหาวิทยาลยั ในประเทศไทย” เปนสาํ คัญเทา นั้น ซ่ึงเปนลักษณะ “ระบเุ จาะจง (specific)” แตกรณีของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๔ (๓) ทบี่ ญั ญตั วิ า “ผูทรงคุณวฒุ ิสาขานิติศาสตร ซ่ึงมคี วามรคู วามเช่ียวชาญทาง ดา นนิติศาสตรอ ยางแทจรงิ ” และมาตรา ๒๐๔ (๔) ทบ่ี ญั ญตั ิวา “ผทู รงคณุ วุฒสิ าขารฐั ศาสตร รัฐประศาสนศาสตร หรือสังคมศาสตรอ่ืน ซึ่งมีความรูความเช่ียวชาญทางดานการบริหาร ราชการแผน ดินอยางแทจรงิ ” จะมุงเนน ไปที่ “ความเชีย่ วชาญอยางแทจริง” เปนสาํ คญั ตอกรณีบทบัญญตั มิ าตรา ๒๐๔ (๔) เม่อื พจิ ารณาจากถอ ยคําของ กฎหมายแลว จะเปนลกั ษณะ “เปดกวาง” กวา เพราะคําวา “ผทู ่ีมคี วามรูค วามเชี่ยวชาญทาง ดา นนิตศิ าสตรอยา งแทจรงิ ” หรอื “มีความรูค วามเชยี่ วชาญทางดานการบรหิ ารราชการแผน ดนิ อยา งแทจ รงิ ” นน้ั มไิ ดจ าํ กดั วา จะตอ งเปน “คณาจารยซ ง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง ทางวชิ าการ” แตอ ยา งเดยี ว แตไ ดข ยายโอกาสในภาพรวมไปถงึ ผทู เ่ี คยเปน รฐั มนตรี ตลุ าการพระธรรมนญู ในศาลทหารสงู สดุ กรรมการการเลือกต้งั ผตู รวจการแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ หรอื เคยรบั ราชการในตาํ แหนง ไมตํ่ากวารองอัยการสูงสุด อธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาศาสตราจารย หรือเคยเปน ทนายความที่ประกอบวิชาชีพอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องไมนอยกวา ๓๐ ป นับถึงวันที่ ไดร ับการเสนอชอ่ื ดวย ดงั นัน้ หากพจิ ารณาในแง “มติ ิของโอกาสในการสรรหาบุคคล” กรณตี าม บทบญั ญตั มิ าตรา ๒๐๔ (๓) (๔) ประกอบมาตรา ๒๐๕ (๓) ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ จึงโดดเดนกวา อยางไรก็ตาม ในคําวา “ผูที่มีความรูความเช่ียวชาญทางดาน นิติศาสตรอยางแทจริง” หรือ “มีความรูความเช่ียวชาญทางดานการบริหารราชการแผนดิน
๑๗ อยางแทจรงิ ” ที่กลา วถงึ น้ี พิเคราะหแลวมีลักษณะของคําในทาง “นามธรรม (abtract)” เปน อยา งมาก เพราะคําวา “แทจ ริง” ทบี่ ญั ญัติปดทายไว คอนขางจะทาํ ความเขาใจท่ีแสดงออก มาเปน “รูปธรรม (concrete)” ไดย าก ดว ยเหตนุ ี้ การกาํ หนดคุณสมบตั ิเฉพาะของตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนญู ทไ่ี ดรบั การเสนอช่ือจากคณะกรรมการสรรหา ตามบทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนูญ แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๓) (๔) ทบี่ ญั ญตั ริ ะบุเฉพาะวาเปน “ผดู ํารงตําแหนงหรือเคยดํารงตําแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย” จึงชัดแจง กวากรณเี ดิม จากที่ผูเขียนไดวิเคราะหตีแผจุดเดน ขอดอย ของความชัดแจงของ การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะของผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรและผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร หรอื สาขารัฐประศาสนศาสตรนน้ั ผูศึกษาจะนยิ มหรอื เหน็ ชอบกบั ทิศทางใด ยอ มเปน “สิทธิ บรบิ ูรณ (absolute right)” ของผนู ้นั ในทัศนะของผูเขียนตอกรณีการกําหนดคุณสมบัติเฉพาะของ ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร และผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตรหรือสาขารัฐประศาสนศาสตร นนั้ เห็นวา ตามรปู แบบของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๓) (๔) ซ่งึ เปนลักษณะการระบคุ ณุ สมบตั ิแบบ “เฉพาะเจาะจง” โดยบัญญัตมิ ุง เนน ไปที่ “ผดู ํารงตาํ แหนง หรือเคยดํารงตาํ แหนง ศาสตราจารยของมหาวทิ ยาลยั ” เปน สําคัญน้ี มคี วาม ชัดแจง เมื่อจะทาํ การสรรหาบคุ คลไดเหมาะสมกวา กรณเี ดมิ แตถึงกระนั้นก็ตาม ผูเขียนยังคงมีความเห็นวาในประเด็นของ “ตําแหนงวิชาการ” ที่กฎหมายบัญญัติวาจะตองดํารงตําแหนง “ศาสตราจารย (professer)” และมีอายุของการดาํ รงตาํ แหนงศาสตราจารยนั้นมาแลว “ไมน อ ยกวา ๕ ป” อาจกลายเปน คุณสมบัติเฉพาะที่เปน “ดาบสองคม” กลาวคือ ดานหนึ่งจะไดนักวิชาการ (academician) ระดับศาสตราจารยท่ีมีความรูความเช่ียวชาญทางวิชาการในดานนิติศาสตรและดาน รัฐศาสตรหรือรัฐประศาสนศาสตรอยางแทจริง ซ่ึงแนวคิดและทฤษฎีทางนิติศาสตรและทาง สังคมศาสตรยอมมีความสําคัญย่ิงในการใชเปนฐานความรูเพ่ือประกอบกับการวินิจฉัยอรรถคดี ภายในเขตอํานาจของศาลรัฐธรรมนญู เพราะตองไมม องขา มประเด็นที่วา ผลของคาํ วนิ จิ ฉัย ของศาลรฐั ธรรมนญู นน้ั ยอ มจะตอ งผกู พนั ทกุ องคก รภายในรฐั ไมว า จะเปน รฐั บาล (government) รฐั สภา (parliament) ศาลตาง ๆ (orther courts) องคก รตามรฐั ธรรมนญู (organizations by constitution) และองคกรอ่ืน ๆ ภายในรัฐ นอกจากนั้น คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยังถูกนําไปใชในการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาหลักสูตรินิติศาสตรทุกระดับช้ันดวย
๑๘ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ดังนั้น คําวินิจฉัยที่ตั้งอยูบนแนวคิดทฤษฎีท่ีถูกตองและเหมาะสมกับบริบทของสังคมและ วฒั นธรรมทางการเมอื งของประเทศไทย ยอ มเปนสิ่งจําเปนยง่ิ ซ่งึ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ที่ จะทําหนาท่ีพิเคราะหสวนน้ีไดเหมาะสมที่สุดยอมเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีมาจากฝาย วชิ าการ ดานตรงกันขาม บุคลากรฝายวชิ าการทางสาขานติ ศิ าสตรแ ละสาขา รัฐศาสตรหรอื รัฐประศาสนศาสตรซึง่ ดํารงตาํ แหนง ศาสตราจารยน ัน้ ในปจจบุ ันยังคงมจี ํานวน นอยยิ่งและเมื่อผนวกเขากับระยะเวลาของการไดดํารงตําแหนง คือ “จะตองผานการดํารง ตาํ แหนงศาสตราจารยม าแลว ไมน อยกวา ๕ ป” ก็ย่ิงจะทําใหก ารสรรหาบคุ คลทม่ี คี ณุ สมบัติ สอดคลองไดยากย่ิงขึ้นไปอีกขั้น ซ่ึงตองไมมองขามวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ บัญญตั ไิ วชดั แจงในมาตรา ๒๐๗๑๕ ความวา “ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมี วาระการดํารงตําแหนงเจ็ดปนับแตวันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงได เพียงวาระเดียว” เทากับวา เมื่อคณาจารยซ่ึงดํารงตําแหนงศาสตราจารยทานใด เขาดํารง ตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแลว ก็จะไมสามารถกลับมาดํารงตําแหนงตุลาการศาล รัฐธรรมนญู นนั้ ไดอ กี จากปมขอกฎหมายดังกลาว อาจทําใหเกิดการขาดแคลนนักวิชาการ (academician) ซ่ึงดํารงตําแหนงศาสตราจารยที่จะสามารถดํารงตําแหนงตุลาการศาล รัฐธรรมนูญได เพราะการเขาสูตําแหนงวิชาการในระดับศาสตราจารยน้ัน ตองผานเรื่องของ เง่อื นไข เงื่อนเวลา และขอกําหนดอีกหลายประการ ซง่ึ ลว นเปน คณุ สมบตั ทิ ่ีมีกฎหมายบญั ญตั ิ ไวเปนการเฉพาะโดยพิจารณาประกอบกับระเบียบภายในในการยื่นขอตําแหนงทางวิชาการ ของแตละสถาบันอุดมศึกษา ซ่ึงกวาคณาจารยเหลาน้ันจะไดมาซึ่งตําแหนงทางวิชาการระดับ ศาสตราจารย ยอ มมอิ าจกระทาํ ไดใ นระยะเวลาอันสน้ั ดว ยเหตนุ ี้ ผวู ิจยั จึงเหน็ วา ควรบรรจุ เพิ่มเติม “บทผอนปรนคุณสมบัติ” ของผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรและสาขารัฐศาสตรหรือ รัฐประศาสนศาสตรไ วใ นรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ในลกั ษณะให คณะกรรมการสรรหาสามารถสรรหาตัวแทนจากคณาจารยซึ่งดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย (associate professer) ได หากมีเหตุจําเปนอยางย่ิง เพ่ือปองกันการขาดแคลนบุคลากร สายวิชาการ เพราะผูดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยน้นั ตางมีคุณวุฒิและวัยวุฒิท่ไี มแตกตาง กันมากนักกับผูดํารงตําแหนงศาสตราจารย สวนกรณีประสบการณการผานการดํารงตําแหนง ๑๕ ดู มาตรา ๒๐๗ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๑๙ ทางวิชาการมานน้ั เห็นควรใหป รับลดลงเหลือเพียง ๓ ป ท้ังนี้ เพือ่ ขยายชองทางใหบุคคล สามารถเขาดํารงตาํ แหนงตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญไดกวางขวางขนึ้ นั้นเอง ข. ประเด็นการกําหนดคณุ สมบตั เิ ฉพาะของผทู รงคุณวุฒิประเภทอ่นื คาํ วา “ผูท รงคุณวฒุ ิประเภทอน่ื ” ในทน่ี ้ี เปน คาํ เรยี กที่ผูเขียนไดร ับ อทิ ธิพลมาจากบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๕)๑๖ บญั ญัตวิ า “ผทู รงคณุ วฒุ ิ ซง่ึ จะตองสรรหาจากผูร บั หรอื เคยรับราชการในตาํ แหนง ไมต่ํากวาอธบิ ดี หรือหวั หนา สวนราชการท่ีเทียบเทา หรือตําแหนง ไมต ่าํ กวา รองอยั การสูงสดุ มาแลว ไมน อยกวา หา ป จํานวน ๒ คน” ซ่งึ แยกออกมาเปน ผูท รงคุณวุฒิอีกประเภทหน่ึงทจี่ ะ ตองไดรับการสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา นอกเหนือจากผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร หรอื ผูทรงคุณวฒุ สิ าขารฐั ศาสตรห รือสาขารฐั ประศาสนศาสตร บทบัญญัติในการสรรหาผูทรงคุณวุฒิประเภทอ่ืนเชนกลาวนี้ ไมมี การบญั ญตั ิไวในรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ แตอ ยา งใด มีเพยี ง การบัญญัตใิ หท าํ การสรรหา “ผทู รงคณุ วุฒิสาขานติ ศิ าสตร ซ่งึ มีความรูความเชยี่ วชาญทางดา น นติ ศิ าสตรอ ยา งแทจ รงิ ” และ “ผูทรงคุณวฒุ ิสาขารฐั ศาสตร หรือสาขารฐั ประศาสนศาสตร หรอื สังคมศาสตรอนื่ ซ่ึงมคี วามรคู วามเชีย่ วชาญทางดานการบรหิ ารราชการแผน ดินอยา งแทจ ริง” โดยบญั ญัตกิ รณีดงั กลา วไวในมาตรา ๒๐๔ (๓) (๔) เทา นน้ั ซึ่งจะตอ งนําเอาคณุ สมบัตเิ ฉพาะ ที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๐๕ (๓) มาใชเปนเกณฑประกอบกับการสรรหาผูทรงคุณวุฒิท้ังสอง กรณีดวย กลาวคือ ผูทรงคุณวุฒิเหลานั้นจะตองผานประสบการณการปฏิบัติหนาที่หรือเคย ดาํ รงตาํ แหนงอยางหนึง่ อยา งใด ไดแ ก “เคยเปน รฐั มนตรี ตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหาร สงู สดุ กรรมการการเลือกต้งั ผูต รวจการแผน ดนิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ กรรมการตรวจเงนิ แผน ดนิ หรือกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหงชาติ หรือเคยรับราชการ ในตาํ แหนง ไมตาํ่ กวารองอยั การสูงสดุ อธิบดี หรือดํารงตาํ แหนงไมต า่ํ กวาศาสตราจารย หรือ เคยเปน ทนายความทป่ี ระกอบวชิ าชพี อยางสมํา่ เสมอและตอ เนอื่ งไมน อยกวา ๓๐ ป นบั ถึง วันที่ไดร บั การเสนอช่ือ” เมื่อพิจารณาถอยความของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๔ (๓) (๔) ประกอบกบั มาตรา ๒๐๕ (๓) แลวนั้น เทากับวา ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร และผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตรหรือสาขา ๑๖ ดู มาตรา ๒๐๐ (๕) รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๒๐ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ รัฐประศาสนศาสตรหรือสาขาสังคมศาสตร จะตองเปนบุคคลท่ีเคยผานการปฏิบัติหนาท่ีหรือ เคยดํารงตําแหนงอยางหนึ่งอยางใดดังที่กลาวไวเหลาน้ันมากอน ดวยเหตุน้ี บทบัญญัติ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ จึงมเี พยี งผูทรงคณุ วุฒิสองประเภท เทาน้ัน โดยไมมีผูทรงคุณวุฒิประเภทอื่นเหมือนกรณีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ซ่งึ ถือวาเปนความแตกตา งในการกาํ หนดที่มาและคณุ สมบัตขิ องตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนูญประเดน็ หนงึ่ ในหลายประเดน็ ๒.๒ ขอพิจารณาองคกรที่มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดเกี่ยวกับคุณสมบัติและ ลักษณะตอ งหา มของตุลาการศาลรัฐธรรมนญู บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได บัญญัติถึงกรณีเมื่อเกิดปญหาดานคุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ไวเปนการเฉพาะ โดยบัญญตั ริ บั รองอํานาจของกรณดี ังกลา วไวใ นมาตรา ๒๐๓ วรรคหา ๑๗ ซึง่ ใหอํานาจวินจิ ฉัยชขี้ าดเกยี่ วกับคุณสมบตั ิของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเปนของ “คณะกรรมการ สรรหา (selective committee)” กรณีองคกรชี้ขาดเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญนี้ ไมมีการบัญญัติไวในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ แตอ ยา งใด ในทัศนะของผูเขียนตอการกําหนดองคกรท่ีมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาดเก่ียวกับ คุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไวเปนการเฉพาะนี้ ถือวาเปน ความแตกตา งทีเ่ ปนจดุ เดนอยางย่ิงของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ อันเปนความถูกตองเหมาะสม เพื่อมิใหเกิดชองวางทางกฎหมายในการหาทางออกหากเกิด ขอสงสัยหรือปญหาอยางใด ๆ เกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการศาล รฐั ธรรมนญู ๒.๓ ขอ พจิ ารณาดา นลกั ษณะตองหาม ในสวนทายนี้จะเปนการวิเคราะหในเรื่องของลักษณะตองหามตามที่ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และบทบัญญัติของ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ซงึ่ ลกั ษณะตอ งหา มของตลุ าการศาล ๑๗ ดู มาตรา ๒๐๓ วรรคหา รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๒๑ รัฐธรรมนูญนั้น จากตารางเปรียบเทียบท่ีผูเขียนแสดงไวในบทความตอนท่ีหนึ่ง ปรากฏความ แตกตา งกันในรายละเอียดหลายประการ โดยมีความเหน็ ในรายละเอียด ดงั น้ี ๒.๓.๑ การจัดโครงสรา งของลกั ษณะตองหา ม คําวา “จดั โครงสรา ง” ในทนี่ ี้ คอื การจดั ลักษณะตองหามของ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญไวใ นบทบัญญัตแิ หงรัฐธรรมนญู ซึ่งรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ตา งมีการจดั โครงสรางของลักษณะตอ งหา มไวตา งกนั กรณีของการจัดโครงสรางลักษณะตองหามตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ น้นั มีการนาํ เอาลกั ษณะตองหา มของ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ไปไวในบทบญั ญัติมาตราเดียว คือ มาตรา ๒๐๒ ซึ่งเปน “ลักษณะ ตอ งหามทวั่ ไป (general prohibitions)” ทีน่ ําไปใชเ ปน เกณฑพจิ ารณากบั ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ท้ัง ๙ คน ที่ไดร ับการเสนอช่ือมาจากองคก รทั้งสาม โดยไมมีการกําหนดลกั ษณะตอ งหาม ประเภทอืน่ ไวอ ีก ลักษณะตองหามท่ัวไปท่ีกลาวถงึ ในมาตรา ๒๐๒ น้ี คือ “(๑) เปน หรอื เคยเปนตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู หรือผดู ํารงตาํ แหนงในองคกรอสิ ระใด (๒) ลักษณะตอ งหา ม ตามมาตรา ๙๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๗) หรือ (๑๘) (๓) เคยได รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ (๔) เปน หรือเคยเปน สมาชกิ สภาผูแทนราษฎร สมาชิกวฒุ ิสภา ขา ราชการ การเมือง หรือสมาชิกสภาทองถ่ินหรือผูบริหารทองถ่ินในระยะสิบปกอนเขารับการคัดเลือก หรือสรรหา (๕) เปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมืองในระยะ สบิ ปก อ นเขารับการคดั เลอื กหรือสรรหา (๖) เปน ขา ราชการซึง่ มีตําแหนง หรอื เงินเดอื นประจํา (๗) เปนพนักงานหรอื ลกู จางของหนว ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื ราชการสวนทองถนิ่ หรอื กรรมการหรือท่ีปรึกษาของหนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (๘) เปนผูดํารงตําแหนงใดใน หางหุนสวนบริษัท หรือองคกรที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือ เปนลกู จา งของบคุ คลใด (๙) เปนผปู ระกอบวชิ าชพี อสิ ระ (๑๐) มีพฤติการณอันเปน การฝา ฝนหรือ ไมปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา งรายแรง๑๘” ดว ยเหตุนี้ การพิจารณาลกั ษณะตองหา ม ๑๘ ดู มาตรา ๒๐๒ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๒๒ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ตามการจัดโครงสรางของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จงึ พจิ ารณาแตเพยี งเฉพาะรายละเอยี ดทีบ่ ญั ญัตไิ วในมาตรา ๒๐๒ เทา น้ัน สวนกรณีของการจัดโครงสรางลักษณะตองหามตามบทบัญญัติของ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ จากตารางการเปรยี บเทียบท่ีผเู ขียน ไดยกแสดงไวใ นบทความตอนทหี่ น่งึ ไดจดั แบง โครงสรางของลักษณะตองหามของตุลาการศาล รฐั ธรรมนญู ออกเปน ๒ ลกั ษณะ กลา วคอื มี “คณุ ลกั ษณะตอ งหา มเฉพาะ (specific prohibitions)” ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา ๒๐๕ อันเปนลักษณะตองหามเฉพาะท่ีใชบังคับกับตุลาการศาล รัฐธรรมนูญท่ีไดรับการสรรหาเพื่อเสนอช่ือจากคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กลาวคือ เปนลักษณะตองหามของผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร และผูทรงคุณวุฒิสาขา รฐั ศาสตร หรือรัฐประศาสนศาสตร หรอื สาขาสังคมศาสตรอ ื่น นอกจากนั้น บทบัญญัติมาตรา ๒๐๗ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ยังไดบ ัญญัติลกั ษณะตอ งหา มอกี ประเภทหนงึ่ ไวด วย คือ “ลักษณะตองหามทั่วไป” ซ่ึงนําไปบังคับใชกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท้ัง ๙ คน มี รายละเอียดของลักษณะตองหามท่ัวไปตามมาตรา ๒๐๗ ดังน้ี “(๑) ไมเปนขาราชการซึ่งมี ตําแหนงหรือเงนิ เดอื นประจาํ (๒) ไมเปน พนกั งานหรอื ลกู จา งของหนวยงานของรฐั รฐั วิสาหกจิ หรอื ราชการสว นทอ งถน่ิ หรอื ไมเ ปน กรรมการ หรอื ทป่ี รกึ ษาของรฐั วสิ าหกจิ หรอื ของหนว ยงาน ของรัฐ (๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหา ผลกาํ ไร หรอื รายไดม าแบง ปน กนั หรอื เปน ลกู จา งของบคุ คลใด (๔) ไมป ระกอบวชิ าชพี อสิ ระอน่ื ใด๑๙” ลักษณะตองหามท่ัวไปที่กลาวถึงนี้ จะนําไปใชบังคับกับตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนญู ทัง้ ๙ คน ดังน้ัน การพิจารณาลักษณะตองหามตามการจัดโครงสรางของ บทบญั ญตั ริ ฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ จงึ ตอ งพจิ ารณาเปน สองครง้ั โดยเฉพาะกรณีของผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร และผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร หรือ รัฐประศาสนศาสตร หรือสาขาสังคมศาสตรอื่น ที่จะตองพิจารณาลักษณะตองหามเฉพาะ จากมาตรา ๒๐๕ กอน แลวจึงไปพจิ ารณาลักษณะตองหามทว่ั ไปอีกครั้งหนึ่งในมาตรา ๒๐๗ แตหากเปนกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีมาจากการเสนอช่ือของท่ีประชุมใหญศาลฎีกา และ ๑๙ ดู มาตรา ๒๐๗ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
๒๓ ท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จะนําเอาลักษณะตองหามท่ัวไปตามท่ีมาตรา ๒๐๗ บัญญตั ิมาพจิ ารณาเทา น้ัน ในทัศนะของผูเขียนตอกรณีการจัดโครงสรางลักษณะตองหามของ บทบัญญัติรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับ ผูเขียนเห็นวาการจัดโครงสรางลักษะตองหามของตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จะงาย และสะดวกตอการพิจารณาขององคกรท่ีรับผิดชอบในการคัดเลือกและสรรหาเพื่อเสนอชื่อ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพราะไดจัดโครงสรางของลักษณะตองหามไวเพียงประเภทเดียว คอื “ลกั ษณะตองหา มทว่ั ไป (general prohibitions)” ซงึ่ บัญญตั ิไวในมาตรา ๒๐๒ โดยหาก พิจารณาในทางวิชาการถือวาการจัดโครงสรางของลักษณะตองหามตามกรณีรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ เปนสิ่งท่ีดี เพราะจะกอประโยชนในการบรรยายและ สอื่ สารทําความเขา ใจตอนสิ ติ นักศึกษาสาขานิตศิ าสตร หรอื ผสู นใจในเรือ่ งของศาลรฐั ธรรมนญู อันจะสรางความเขาใจไดงายและรวดเร็ว ไมมีความซับซอนในโครงสรางทางกฎหมายเหมือน กรณีลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ท่ีแบงลักษณะตองหามออกเปน ๒ ประเภท คือ “ลักษณะตองหา มเฉพาะ (specific prohibitions)” และ “ลักษณะตองหามทั่วไป (general prohibitions)” ๒.๓.๒ ความแตกตางของลกั ษณะตองหา มของตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ความแตกตางของลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นอกเหนือจากเร่อื งของโครงสรางของลักษณะตองหามแลว ส่งิ ท่แี ตกตางและเห็นไดชัดอยางย่งิ อีกประการหน่ึง คือเร่ืองของการกําหนดลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ซง่ึ ตามบทบัญญัติมาตรา ๒๐๒ ของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไดมีการตัดคุณลักษณะการดํารงตําแหนงหรือการปฏิบัติหนาท่ีบางประการออกไปจากเดิม ทเ่ี คยบญั ญัติไวใ นรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ การตัดคุณลักษณะในการดํารงตําแหนงหรือการปฏิบัติหนาท่ีใน บางประการออกไปเชนกลาวน้ี มี “คุณลักษณะอะไรบางที่ถูกตัดออกไป?” และ “เปนการ ตัดออกไปในลักษณะส้ินเชิงหรือไมส้ินเชิง?” เรื่องดังกลาวเหลาน้ี คงจะตองหาคําตอบจาก บทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ดงั น้ี
๒๔ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ก. ประเด็นคุณลักษณะของผูเปนหรือเคยเปนผูดํารงตําแหนงใน องคก รอิสระ เมื่อพิจารณาไปที่ “ผูทรงคุณวุฒิประเภทอ่ืน” ตามท่ีรัฐธรรมนูญ แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๕)๒๐ กาํ หนด ซง่ึ บญั ญตั วิ า “ผทู รงคณุ วฒุ ิ ซึ่งจะตองสรรหาจากผูรับหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดี หรือหัวหนา สว นราชการทเ่ี ทยี บเทา หรอื ตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา รองอยั การสงู สดุ มาแลว ไมน อ ยกวา หา ป จาํ นวน ๒ คน” จะพบวา เปนบทบัญญัติที่ไดรับอิทธิพลทางแนวคิดมาจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) นัน้ เอง กลา วคอื นําเอาคุณสมบตั ดิ า นการผานการปฏบิ ัติ หรือการดํารงตําแหนงของผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรและผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตรหรือ สาขารัฐประศาสนศาสตรหรือสาขาสังคมศาสตร มาบัญญัติแยกเปนผูทรงคุณวุฒิประเภทอื่น ที่จะไดรับการสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา เพียงแตการแยกบทบัญญัติวาดวยผูทรงคุณวุฒิ ประเภทอื่นไวเปนการเฉพาะเชนกลาวน้ี ไดมีการตัดคุณลักษณะในการดํารงตําแหนง หรือการปฏิบัติหนาที่ในบางประการออกไปจากกรณีเดิมท่ีเคยบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) ตอกรณีดังกลาวผูเขียนมีความเห็นวา คุณลักษณะที่บัญญัติไวใน มาตรา ๒๐๐ (๕) ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีวา “ผูรบั หรอื เคย รบั ราชการในตําแหนงไมต าํ่ กวาอธบิ ดี หรือหวั หนาสว นราชการท่เี ทยี บเทา” น้ัน เม่ือพิจารณา ถอ ยคําแลว จะเปน ไปในลักษณะ “คาํ รวมความ” โดยมิไดแ บงแยกออกมาเปนการเฉพาะวาคือ ตําแหนงหรือหนาท่ีใดบาง จึงอาจจะทําใหตองอาศัย “การตีความ” ตามนัยของกฎหมายอยู มาก ซึ่งเม่อื นําไปเปรียบเทยี บกับบทบญั ญัตคิ ุณลักษณะของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) แลว จะพบวากรณคี ุณลกั ษณะของมาตรา ๒๐๕ (๓) มคี วามชดั เจนมากกวา เพราะบัญญตั ไิ วช ัดแจงวาหมายถึงกรณีใดบา ง คําวา “ผูรับหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดี หรือ หวั หนา สว นราชการทเ่ี ทยี บเทา ” ของมาตรา ๒๐๐ (๕) มขี อบขา ยความหมายเพยี งใดนน้ั การจะ หาคําตอบไดถูกตองตรงตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ คงจะตองนําเอาบทบัญญัติมาตรา ๒๐๒ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาพิจารณาประกอบ อนั เปน ๒๐ ดู มาตรา ๒๐๐ (๕) รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
๒๕ บทบัญญตั ิท่ีกลาวถงึ “ลกั ษณะตอ งหา มของตลุ าการศาลรัฐธรรมนญู ” ซ่ึงในมาตรา ๒๐๒ (๑) บญั ญัตวิ า “ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญตอ งไมม ีลักษณะตองหาม ดังตอ ไปนี้ (๑) เปน หรือเคยเปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญหรือผดู ํารงตาํ แหนง ในองคก รอิสระใด....” เม่ือพิจารณาถอยความของมาตรา ๒๐๐ (๕) ประกอบกับ มาตรา ๒๐๒ (๑) แลว คาํ วา “ผรู บั หรือเคยรบั ราชการในตาํ แหนงไมต่าํ กวาอธบิ ดี หรือหัวหนา สว นราชการทีเ่ ทยี บเทา” จึงตอ งไมใ ช “ผูเปน หรือเคยเปนตลุ าการศาลรัฐธรรมนญู ” เปนกรณี ที่หนึ่งซึ่งเห็นไดชัด แตปมปญหาที่เกิดขึ้นคือ ตอกรณี “ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระใด” มขี อบขายการตีความอยา งไร เพราะในบทบัญญตั มิ าตรา ๒๐๑ (๑) น้ัน มกี ารขึ้นตนประโยค ดวยคําวา “เปนหรือเคยเปน ” ตอคํา ๆ น้ี จึงอาจเกดิ การตีความได ๒ นยั กลา วคือ นยั แรก คาํ วา “เปนหรือเคยเปน” จะตองนําไปใชก บั คาํ วา “ผูด ํารง ตาํ แหนง ในองคก รอสิ ระใด” ดวย ซึ่งถา เกิดการตีความวาจะตอ งนาํ ไปใชด วยนี้ ก็จะไดลักษณะ ของถอ ยคาํ เปน วา “เปนหรอื เคยเปนผูดํารงตาํ แหนงในองคกรอสิ ระใด” น้ันเทา กบั วา “ผเู ปน หรือเคยดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ” ทุกประเภท จะไมสามารถดํารงตําแหนงตุลาการศาล รัฐธรรมนูญไดตามนัยของมาตรา ๒๐๒ (๑) อันเปนการตัดคุณลักษณะจากเดิมท่ีเคยบัญญัติ ไวใ นมาตรา ๒๐๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ท่ีมีการ เปดโอกาสใหผูเปนหรือเคยดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ สามารถดํารงตําแหนงตุลาการศาล รฐั ธรรมนญู ได ไดแ ก กรรมการการเลอื กตง้ั ผตู รวจการแผน ดนิ กรรมการปอ งกนั และปราบปราม การทจุ รติ แหง ชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน หรอื กรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง ชาติ เพยี งแต ในขณะที่จะเขาดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจะตองทําการลาออกจากการดํารง ตําแหนงในองคก รอิสระน้นั เทานัน้ นัยทสี่ อง ตคี วามวาไมน าํ เอา คําวา “เปนหรอื เคยเปน” มาบังคบั ใชกับ “ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระใด” น้ันจะเทากับวา ผูที่เปนหรือเคยดํารงตําแหนงใน องคกรอิสระใด ยอมมีสทิ ธไิ ดร บั การสรรหาเพือ่ เสนอช่ือเปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ได ซึ่งจะ เปนไปตามหลกั การเดมิ ท่ีบญั ญตั ิไวใ นรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ เพียงแตเมื่อจะเขาดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญก็จะตองทําการลาออกจากการดํารง ตาํ แหนงในองคก รอิสระนั้นเทาน้นั ในทัศนะของผูเขียนตอคําวา “เปนหรือเคยเปน” น้ี ผูเขียนเห็นวา จะตอ งมกี ารตคี วามขอกฎหมายเปนไปตามนยั แรก คอื จะตองนํา คําวา “เปนหรอื เคยเปน” มาบังคับใชกับผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระดวย ซ่ึงจะสงผลใหผูท่ีเปนหรือเคยดํารงตําแหนง
๒๖ รัฐสภาสาร ฉบบั เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ในองคกรอิสระไมสามารถไดรับการสรรหาเพ่ือเสนอช่ือเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได อันเปน การตัดสิทธใิ นรปู แบบสิ้นเชงิ สาเหตทุ ่ผี เู ขียนเหน็ เชน นี้ มีเหตุผลสนบั สนุน ๒ ประการ คือ ประการท่ีหน่ึง หากรัฐธรรมนูญมีความมุงหมายจะให “ผูเปนหรือ เคยดํารงตําแหนงในองคกรอิสระใด” สามารถไดรับการสรรหาเพื่อเสนอชื่อเปนตุลาการศาล รัฐธรรมนูญไดนน้ั ยอมสามารถนาํ ไปบัญญัติไวใ นบทบัญญตั มิ าตรา ๒๐๐ (๕) ไดโดยตรง ประการท่ีสอง คําวา “เปนหรือเคยเปน ” ท่ีกลาวถึงนี้ ยงั ไดม ีการ บัญญตั ิถอยคาํ ไวใ นลักษณะเชน น้อี กี ในมาตรา ๒๐๒ (๔) (๕) ความวา “(๔) เปนหรือเคยเปน สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง หรือสมาชิกสภาทองถิ่นหรือ ผูบ ริหารทอ งถิ่นในระยะสิบปก อ นเขา รับการคดั เลือกหรือสรรหา” และ “(๕) เปน หรอื เคยเปน สมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอ่ืนของพรรคการเมืองในระยะสิบปกอนเขารับการคัดเลือกหรือ สรรหา” ซ่ึงยอ มตองตคี วาม คําวา “เปนหรือเคยเปน” น้ี ไปบงั คบั ใชก บั ทุกเน้อื ความในประโยค หลงั ดวย จากเหตุผลท่ีแสดงไว เปนการแสดงทัศนะในเร่ืองของการตีความ ขอกฎหมายเทานั้น แตอยางไรก็ตาม ผูเขียนก็มิไดเห็นดวยกับการตัดสิทธิอยางสิ้นเชิงในการ เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญของผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระเหลานั้น เพราะความรูความ สามารถของผูดาํ รงตาํ แหนง ในองคกรอสิ ระ โดยเฉพาะในระดับหวั หนางาน หาไดม ีคุณสมบัติ ออนดอยกวาผทู รงคณุ วฒุ ิในสาขาอ่นื ใดเลย นอกเหนอื จากนัน้ ภาระหนาทีข่ องผดู ํารงตาํ แหนง ในองคกรอิสระก็ใกลชิดกับการบังคับใชบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบ อื่นอยา งยิง่ จนกลาวไดวา เปนองคก รอิสระตามรฐั ธรรมนญู ทีส่ ําคัญ ซึง่ การเปด ชอ งใหค ณะ กรรมการสรรหาสามารถสรรหาผูทรงคุณวุฒิไดจ ากผูด าํ รงตําแหนงในองคกรอิสระไดน นั้ ยอ ม เปนการเพิ่มทางเลอื กในการสรรหาบคุ คลที่เหมาะสมไดก วางขึ้น ซึง่ ผูเขยี นเหน็ วาหาไดมขี อ เสีย แตอยางใดหากจะเปดสิทธใิ หแ กผ ดู ํารงตาํ แหนงในองคกรอิสระ เพราะทายทสี่ ดุ แลวทกุ รายชื่อ ยอมตองผานการพิจารณากล่นั กรองอยางละเอียดรอบคอบจากคณะกรรมการสรรหาอยดู ี ดังน้นั การเปดสิทธิใหแกผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระใหสามารถเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได ตามรปู แบบของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ จงึ มคี วามเหมาะสม กวา กรณีของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ในสว นของ “ผรู บั หรอื เคยรบั ราชการในตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา อธบิ ด”ี ผเู ขยี น ก็ยังคงเห็นวาภาระความรับผิดชอบของงาน ยังคงมิไดเก่ียวของกับการทําหนาที่และความ เชี่ยวชาญตอ การเปน ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญอยา งเทาทค่ี วร ผูเขียนจึงเหน็ วาหากรฐั ธรรมนญู
๒๗ จะเปดโอกาสใหผูรับหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดี มีสิทธิทําหนาที่ตุลาการ ศาลรัฐธรรมนญู ไดน น้ั เห็นควรจะระบเุ ปน “ตําแหนงทไี่ มตา่ํ กวา อธิบดี ทป่ี ฏบิ ัติหนา ที่เก่ยี วกบั การคลังหรือเศรษฐกิจของรัฐ” เพราะเร่ืองการคลังและเศรษฐกิจนั้นถือวาเปนสาระสําคัญ ประการหนึ่งของรัฐธรรมนญู ดวยเหตุน้ี หากมกี ารกําหนดคุณลักษณะดงั กลา วไว ยอ มจะ เปนการเปดโอกาสใหคณะกรรมการสรรหา สามารถสรรหาบุคคลท่ีมีความเกี่ยวของและ มีความชํานาญตอเร่ืองดังกลาวไปทําหนาท่ีเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได ซ่ึงจะทําให องคคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีผูท่ีมีความเขาใจในเร่ืองของการคลังและเศรษฐกิจอยางดีย่ิง ประกอบอยใู นองคค ณะพจิ ารณาคดนี น้ั อนั จะสง ผลตอ การวนิ จิ ฉยั คดไี ดอ ยา งถกู ตอ ง เหมาะสม และต้ังอยูบนพ้ืนฐานของความเขาใจในปญหาขอกฎหมายและขอเท็จจริงทางการคลังและ เศรษฐกิจอยา งลึกซึง้ ข. ประเด็นคุณลักษณะของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ผูเคยเปน ขา ราชการการเมอื ง และผทู เี่ กยี่ วของกับพรรคการเมือง ในกรณีของ “ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง” หรือ “ขาราชการ การเมือง” หรือ “ผูที่เก่ียวของกับพรรคการเมือง” นั้น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติไวเปนลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีมาจาก การสรรหาของคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนญู มาตรา ๒๐๕ (๕) (๖) ความวา “ผทู รงคณุ วฒุ .ิ .....ตอ งมีคณุ สมบัตแิ ละไมม ีลกั ษณะตอ งหา ม ดังตอ ไปน้.ี .... (๕) ไมเ ปนสมาชิก สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา ขา ราชการการเมอื ง สมาชกิ สภาทอ งถน่ิ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถน่ิ (๖) ไมเปนหรือเคยเปนสมาชกิ หรอื ผูดาํ รงตําแหนงอ่ืนของพรรคการเมอื ง ในระยะสามปกอ น การดํารงตําแหนง ” เมอ่ื พจิ ารณาจากถอ ยความของบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๐๕ (๔) แลว คาํ วา “ไมเปน” ในท่ีน้ี หมายถึง ในขณะท่ีผูน้ันจะเปนผูมีสิทธิไดรับการสรรหาเพ่ือเปนตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ บุคคลผูน้ันจะตองไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง หรือขาราชการการเมือง กลาวคือ หากผทู ่เี ปนผดู ํารงตําแหนงทางการเมือง หรือขาราชการการเมือง ประสงคจะมีสิทธิ ในการไดรับการสรรหาเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในฐานะผูทรงคุณวุฒินั้น ผูน้ันก็เพียงแต ทาํ การลาออกจากการดํารงตําแหนงเหลา น้นั เสีย กส็ ามารถมสี ิทธิไดร ับการสรรหาเปน ตลุ าการ ศาลรฐั ธรรมนูญได ดงั นัน้ กรณีของผูดาํ รงตาํ แหนงทางการเมือง หรือขาราชการการเมืองตาม บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ จงึ ไมเปน การตดั สทิ ธิ ของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือขาราชการการเมืองในการเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แตอยางใด
๒๘ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ถัดมาในกรณีของ “ผูเก่ียวของกับพรรคการเมือง” เมื่อพิจารณา ถอยความในมาตรา ๒๐๕ (๖) แลว คําวา “ไมเปน หรือเคยเปน” หมายถึง ไมวาผทู ีเ่ ก่ียวขอ งกับ พรรคการเมืองในฐานะสมาชิกพรรค หรือดํารงตําแหนงอ่ืนใดในพรรคการเมือง จะกําลังเปน อยูหรือเคยเปนมาแลวก็ตาม ก็จะไมมีสิทธิไดรับการเสนอช่ือเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได จนกวาจะลวงพนกําหนดระยะเวลา ๓ ป กอนการดํารงตําแหนง กลาวคือ ตองไมมีความ สัมพันธกับพรรคการเมืองไมวาจะในฐานะใดเปนระยะเวลาอยางนอย ๓ ป กอนการดํารง ตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ดังน้ัน การตัดสิทธิของผูที่เกี่ยวของกับพรรคการเมืองตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ จึงเปน การตัดสทิ ธิแบบ ไมสน้ิ เชิงโดยผกู โยงอยูกับระยะเวลาตามท่ีกฎหมายกําหนด ตอ กรณี “ผูดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมือง” “ขา ราชการการเมอื ง” และ “ผทู ่เี ก่ยี วขอ งกับพรรคการเมือง” เชน วา น้ี ตามบทบัญญัติของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๒ (๔) (๕) ไดบ ัญญัตกิ าํ หนดถึงกรณดี งั กลา วไวเ ชนเดยี วกนั ความวา “ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ตองไมมีลกั ษณะตองหา ม ดงั ตอไปน.ี้ .... (๔) เปนหรอื เคย เปนสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ ิสภา ขาราชการการเมือง หรอื สมาชกิ สภาทอ งถนิ่ หรอื ผูบริหารทองถ่นิ ในระยะสบิ ปก อนเขารับการคัดเลือกหรือสรรหา (๕) เปนหรือเคยเปน สมาชกิ หรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมืองในระยะสิบปกอ นเขา รับการคดั เลือกหรอื สรรหา” จากถอยคําของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๒ (๔) (๕) ทาํ ใหไ ดคาํ ตอบทชี่ ดั แจง วา “ผูท่ีเปน หรือเคยเปน” ผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมอื ง ขาราชการการเมอื งและผูทเ่ี ก่ยี วของกบั พรรคการเมือง หากยงั ไม ลวงพนระยะเวลา ๑๐ ป กอนเขารับการคัดเลือกหรอื สรรหา บุคคลเหลา นัน้ ยอ มไมมีสทิ ธิไดร ับ การเสนอชอ่ื เปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู แตห ากเลยกาํ หนดระยะเวลาดังกลา วไปแลว บุคคล ท่กี ลาวถึงและดํารงตําแหนงเหลาน้นั ยอมมีสิทธิไดรับการเสนอช่อื เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได จึงตองถือวาลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับใหม มลี กั ษณะเขม งวดมากกวา กรณเี ดมิ และตอ งถอื วา เปน การตดั สทิ ธขิ องผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง ขาราชการการเมือง และผูที่เกี่ยวของกับพรรคการเมืองในรูปแบบไมส้ินเชิงโดยผูกโยงอยูกับ ระยะเวลาตามที่กฎหมายกําหนดเชนเดียวกัน แตก็ยังคงตองถือวากรณีของผูดํารงตําแหนง ทางการเมือง ขาราชการการเมือง และผูท่ีเกี่ยวของกับพรรคการเมือง มีความแตกตางจาก บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ อกี กรณหี นงึ่
๒๙ ในทัศนะของผูเขียน เมื่อพิจารณาถอยความของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๒ (๔) (๕) แลว นั้น จะพบเหน็ เจตนารมณข อง รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดเดนชัดวา รฐั ธรรมนญู ไมต อ งการให ผดู าํ รงตําแหนง ทางการเมอื ง ขาราชการการเมือง และบคุ คลที่มสี วนเกยี่ วขอ งกบั พรรคการเมือง มาเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจนกวาจะไดมีการตัดขาดความสัมพันธกับทางการเมืองหรือ จากการดํารงตําแหนงเหลานั้นแลวอยางแทจริง จึงเปนที่มาของการกําหนดระยะเวลาไว ยาวนานถงึ ๑๐ ป แตถึงกระน้ันก็ตาม ผูเขียนก็หาไดเห็นดวยตอแนวคิดท่ีจะใหผูท่ีเปน หรือเคยเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการการเมือง และผูท่ีเกี่ยวของกับ พรรคการเมือง มาดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ท้ังนี้เน่ืองจากการทําหนาที่เปน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญน้ัน ถือวาเปนภาระหนาท่ีที่สําคัญย่ิง เพราะผลแหงคําวินิจฉัยและ คําพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญจะผูกพันทุกองคกรภายในรัฐและกลายเปนบรรทัดฐาน ทางการเมอื ง (politic norm) ดงั นน้ั การอธิบายขอกฎหมาย ตลอดถึงกระบวนวิธีพิจารณาคดี และองคความรูทางดานนิติศาสตร ไมวาจะเปนในกรณีของแนวคิดทางกฎหมายมหาชน แนวคดิ ทางรฐั ธรรมนูญ แนวคิดเกย่ี วกับรฐั แนวคิดเก่ียวกับการคลังและภาษี แนวคิดเกย่ี วกบั สทิ ธเิ สรีภาพ รวมตลอดถงึ แนวคดิ ทางรัฐศาสตร หรอื รฐั ประศาสนศาสตร จงึ มคี วามจําเปน ยิ่ง ซึ่งผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการการเมือง หรือบุคคลท่ีมีสวนเก่ียวของกับทาง การเมือง โดยสภาพของการปฏิบัติหนาท่ีหรือภาระงานแลว มิไดยึดโยงเก่ียวของกับการใช กฎหมายตามนัยดังกลาวเทาท่ีควร แตจะมุงเนนไปท่ีกฎหมายทางปกครอง (administrative law) เสยี มากกวา และอาจนําเอาทัศนคติทางการเมืองมาเปนปจจยั หลกั ในการพจิ ารณาทางคดี มากจนเกินไป ดวยเหตุน้ี ประสบการณในการปฏิบัติหนาท่ีจึงอาจจะไมมีความชํานาญ หรือเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ในฐานะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยตรงตามท่ียกอางเหตุผลไว ดังนั้น หากจะทําการตัดคุณลักษณะดังกลาวไปเสียโดยส้ินเชิง ผูเขียนก็เห็นวาไมเปนการสราง ผลกระทบตอการสรรหาตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญของคณะกรรมการสรรหาแตอ ยา งใด ค. ประเด็นของผูดํารงตาํ แหนง ไมต ่ํากวารองอัยการสงู สุด กรณีของ “ผูดํารงตําแหนงไมต่ํากวารองอัยการสูงสุด” น้ัน ท้ัง บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และบทบญั ญัติของ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ตา งบญั ญัตริ ับรองสทิ ธิใหส ามารถ ดํารงตําแหนงเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได โดยรัฐธรรมนูญฉบับใหม บัญญัติรับรองสิทธิ
๓๐ รฐั สภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ไวใ นมาตรา ๒๐๐ (๕) ความวา “ผูทรงคณุ วุฒิซ่ึงไดรับการสรรหาจากผ.ู .....หรอื ดํารงตําแหนง ไมตํ่ากวารองอัยการสูงสุดมาแลวไมนอยกวาหาป...” เพียงแตเม่ือจะเขาดํารงตําแหนงตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญจะตองทําการลาออกจากการดํารงตําแหนงน้ันเทาน้ัน ซ่ึงถือวาเปนหลักการ และแนวคดิ เดิม แตถ ึงกระนั้นกย็ ังคงปรากฏความแตกตา งตอ กรณีดังกลา ว ความแตกตางท่ีกลาวถึงน้ี คือ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๕) ไดนาํ คณุ ลกั ษณะทว่ี า “เปนผูดํารง ตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา รองอยั การสงู สดุ ” มาบญั ญตั แิ ยกตา งหากไวเ ปน “ผทู รงคณุ วฒุ ”ิ อกี ประเภทหนง่ึ เปนการเฉพาะ ซงึ่ ในรฐั ธรรมนูญฉบับเดมิ ไมม ีการบญั ญัติแยกไวตา งหากแตอ ยา งใด เพยี งแต บัญญัติไวเปนคุณลักษณะประกอบของผูทรงคุณวุฒิเทาน้ัน ซึ่งเปนความแตกตางประการแรก ความแตกตางประการตอมา คอื ตามบทบญั ญัติรฐั ธรรมนูญฉบับใหมมกี ารกําหนดระยะเวลา ของการดาํ รงตําแหนง ไมต า่ํ กวา รองอัยการสงู สดุ ไว กลา วคือ “ดาํ รงตาํ แหนงมาแลวไมน อ ยกวา ๕ ป” ซึง่ ไมมีการบัญญัติเรอ่ื งของระยะเวลาการดาํ รงตาํ แหนงไวในรฐั ธรรมนญู ฉบบั เดิม ตามท่ีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐๐ (๕) บัญญตั ไิ วนนั้ ผูเขียนเห็นวาการกําหนดคุณลักษณะดังกลา ว มีความเหมาะสม ท่ีจะยังคงตองใหดํารงไว เพ่ือเปนทางเลือกใหแกคณะกรรมการสรรหา เพราะพนักงานอัยการ โดยภาระงานและพืน้ ฐานความรแู ลว ถือวาเปนผูท ี่มคี วามเชยี่ วชาญทางสาขานติ ศิ าสตรอยาง เพียงพอ ไมวาจะเปนเร่ืองของการตีความขอกฎหมายและวิธีพิจารณาคดี โดยเฉพาะบุคคล ที่ปฏิบัติหนาท่ีไปถึงระดับอัยการสูงสุด (attorney general) หรือรองอัยการสูงสุด (deputy attorney general) นั้น ยอ มมปี ระสบการณในการปฏิบตั หิ นาท่ีมาอยางดียิ่ง แตอยางไรก็ตาม เพ่อื ใหเกิดโอกาสในการสรรหาอัยการสูงสุด หรือรองอัยการสูงสุดเพ่มิ มากย่งิ ข้นึ ผเู ขียนเห็นควร ปรับลดในกรณขี องกําหนดระยะเวลาของการดํารงตาํ แหนง จากเดิม ๕ ป ใหล ดลงคงเหลอื ไว เพยี ง ๓ ป อนั เปน การปอ งกนั การขาดคุณสมบตั ไิ ดท างหนงึ่ ง. ประเดน็ ของผปู ระกอบวชิ าชพี ทนายความและตลุ าการพระธรรมนญู ในศาลทหารสูงสดุ มาถึงสวนนี้ จะพบวาคุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนูญตามบทบัญญตั ริ ัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีความ แตกตา งจากบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยูหลาย ประการ แตกรณีที่ผูเขียนพบเห็นวาไมมีการสงวนและกลาวถึงไวเปนคุณสมบัติของตุลาการ
๓๑ ศาลรัฐธรรมนูญ จากเดิมที่เคยไดบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) โดยส้นิ เชงิ นั้น มีอยู ๒ กรณี ไดแก กรณที ห่ี นง่ึ คณุ ลกั ษณะของ “ผเู คยเปน ทนายความทป่ี ระกอบวชิ าชพี อยา งสมํา่ เสมอและตอ เนื่องไมนอยกวา ๓๐ ป นบั ถงึ วนั ท่ไี ดร บั การเสนอชือ่ ” กลา วอีกนยั หนง่ึ คอื เปน การ “ปดโอกาส” ของผูป ระกอบวชิ าชพี ทนายความใหไ มสามารถเขา มาดํารงตําแหนง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได ซ่ึงเดิมไดเคยบัญญัติรับรองสิทธิดังกลาวไวในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) แตกลับไมป รากฏคณุ ลกั ษณะดงั กลา ว ในบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แตอ ยางใด ในทัศนะของผูเขียนตอกรณีการตัดคุณลักษณะของผูที่ประกอบ วิชาชีพทนายความซ่ึงไดประกอบวิชาชีพนั้นอยางสม่ําเสมอและตอเน่ืองไมนอยกวา ๓๐ ป นับถึงวนั ท่ีไดรบั การเสนอช่ือออกไปนัน้ ผเู ขยี นมคี วามเห็นตาง กลาวคอื ผปู ระกอบวิชาชีพ ทนายความอยา งสม่ําเสมอและตอ เนอ่ื งไมนอยกวา ๓๐ ป กลาวไดวา เปนผทู ่ีมคี วามเกย่ี วของ และชํานาญการกับการใชกฎหมายไมวาจะเปนในสวนของกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) หรอื กฎหมายวธิ สี บญั ญตั ิ (procedural law) ไมย ง่ิ หยอ นไปกวา พนกั งานสอบสวน พนกั งาน อยั การ หรือแมแตผ พู ิพากษา/ตลุ าการก็วา ได เพียงแตมีความรบั ผดิ ชอบในภาระงานแตกตาง กันตามบทบาทหนา ที่ตามทกี่ ฎหมายกาํ หนดเทานั้น ประกอบกับผูประกอบวิชาชพี ทนายความ กอนจะไดรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ทนายความนน้ั จะตอ งผานการทดสอบประมวลความรู ทางดานกฎหมายจากองคกรวิชาชีพเอกชน ซ่ึงมีชื่อเรียกวา “สภาทนายความในพระบรม ราชูปถมั ภ (lawyers council under the royal patronage)” อันมีลักษณะเปน การทดสอบ ความรูโดยขอสอบมาตรฐานกลาง โดยภายหลังจากท่ีไดรับใบอนุญาตแลว สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภจะยังคงทําหนาท่ีกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพทนายความใหอยูภายใต กรอบของกฎหมายอีกชั้นหนึ่ง จึงกลาวไดวา ผูประกอบวิชาชีพทนายความหาไดออนดอย คุณวุฒทิ างดา นกฎหมายกวาคุณสมบตั ิของผทู รงคุณวฒุ ิในสาขาอนื่ ใดเลย เพราะทา ยท่ีสดุ แลว คณะกรรมการสรรหาซึ่งเปนผูท่ีมีหนาที่รับผิดชอบในการสรรหาผูทรงคุณวุฒิเพื่อดํารงตําแหนง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญยอมจะใชดุลพินิจพิจารณาถึงความเหมาะสมดานคุณวุฒิและวัยวุฒิ ของผปู ระกอบวชิ าชพี ทนายความนน้ั ไดอีกชัน้ หนึง่ อยูด ี ดวยเหตุน้ี ผเู ขยี นจึงเหน็ ควรใหดํารงไว ซง่ึ คุณลักษณะของผปู ระกอบวชิ าชพี ทนายความอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องไมน อยกวา ๓๐ ป ไวเ ชน เดมิ โดยอาจนาํ ไประบไุ วใ นคณุ สมบตั ขิ องผทู รงคณุ วฒุ ปิ ระเภทอน่ื ในบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๐๐ (๕) ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๓๒ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ อนึ่ง หากกฎหมายเกรงวาผูประกอบวิชาชีพทนายความเชนวาน้ี ยังไมมีคุณวุฒิที่เหมาะสมเพียงพอตอการทําหนาท่ีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ก็อาจจะกําหนด คุณสมบัติเพ่ิมเติมได อาทิ กําหนดเรื่องของคุณวุฒิทางการศึกษาเพ่ิมเติมใหอยูในระดับ ปริญญาเอก ในสาขานติ ศิ าสตร หรือสาขารัฐศาสตร หรือรฐั ประศาสนศาสตรก ็ได เพอื่ เติมเตม็ องคความรูทางวิชาการ ซ่งึ ผเู ขียนเหน็ วามไิ ดเ สยี หายแตอ ยา งใดหากจะกาํ หนดเร่อื งดงั กลาวไว เชนน้ี กรณีท่ีสอง คุณลักษณะของ “ตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหาร สงู สุด” ซึง่ ไมม ีการกลา วถงึ ไวใ นบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แตไดเคยบัญญัตไิ วในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐๕ (๓) ตอ กรณีดงั กลาว กอนอื่นคงตอ งทาํ ความเขา ใจกอ นวา “ตุลาการพระธรรมนญู ในศาลทหารสูงสุด” มีท่ีมาอยางไร ในสวนของคําตอบน้ันจะตองนําเอา “พระราชบัญญัติ ธรรมนญู ศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘” มาอธบิ ายประกอบ กลาวคอื ในมาตรา ๓๑ ประกอบ มาตรา ๒๙ ของพระราชบัญญตั ิดังกลา ว ไดกาํ หนดในเร่ืองของทม่ี า (origins) ของตุลาการ พระธรรมนูญในศาลทหารสงู สุดไว ดังน้ี “มาตรา ๓๑ ตลุ าการพระธรรมนูญเปนตลุ าการใน ศาลทหารไดท กุ ศาล แตตอ งมยี ศทหารตามช้ันศาล ดังนี้ ..... (๓) ศาลทหารสงู สุด ตองเปน ก. นายทหารชั้นพันเอก นาวาเอกหรือนาวาอากาศเอก ซ่ึงรับเงินเดือนอัตราพันเอกพิเศษ นาวาเอกพเิ ศษ หรือนาวาอากาศเอกพิเศษ ข. นายทหารชนั้ นายพล” และ “มาตรา ๒๙ ศาล ทหารสูงสุดตองมีตุลาการหานายเปนองคคณะพิจารณาพิพากษา คือ นายทหารช้ันนายพล สองนาย ตลุ าการพระธรรมนูญสามนาย๒๑” เม่ือพิจารณาถึงท่ีมาของตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหารสูงสุด แลว จะพบวามีการผูกโยงอยูกับการแตงต้ังและชั้นยศทางการทหารเปนสําคัญ ซ่ึงขอพิพาท ท่เี กิดข้นึ อันจะตกอยภู ายใตเขตอํานาจของศาลทหารน้นั จะตองเปนขอพิพาทระหวางนายทหาร ดวยกัน มิใชนายทหารกับพลเรือน ดวยเหตุนี้ การพิจารณาคดีจึงเปนยุทธวิธีทางการทหาร เปนสําคัญ ดังน้ัน ดวยภาระงานและการปฏิบัติหนาที่ของตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหาร สูงสุด จึงยังไมสอดคลองเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาท่ีในฐานะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ดว ยเหตุน้ี ผเู ขียนจงึ เห็นดวยกบั การตัดคุณลกั ษณะดังกลา วออกไปโดยสน้ิ เชิง ๒๑ ดู มาตรา ๓๑ และมาตรา ๒๙ พระราชบญั ญัตธิ รรมนญู ศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘
๓๓ ๓. บทสรปุ จากท่ีผูเขียนไดอรรถาธิบายแจกแจงรายละเอียดในเรื่องของคุณสมบัติและ ลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามที่บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ กําหนดไว จะพบวา แนวคิดในเรือ่ งของคณุ สมบตั ิและลกั ษณะตองหา มของ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งมีผลบังคับใชอยูในปจจุบันนั้น มาจากแนวคิดพื้นฐานเดิมของบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนสําคัญ จนกลาวไดวามีความ คลายคลึงอยูในระดับหน่ึง แตถึงกระนั้นก็ยังคงปรากฏความแตกตางในการจัดโครงสรางของ คุณสมบัติและลักษณะตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญข้ึนใหมเชนเดียวกัน ซึ่งเปนไปใน รปู แบบของการจดั วางอยางเปน “ระบบ (system)” มากกวาเดิม ซึง่ ในสว นนถ้ี ือวาเปนจดุ เดน นอกจากน้ันยังพบวา ในรายละเอียดปลีกยอยของเรื่องคุณสมบัติและลักษณะ ตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ไดมีความเปล่ยี นแปลงไปบางในบางสวนของรายละเอียด แตก็เปนการเปล่ียนแปลงท่ีไมมากนักเม่ือเปรียบเทียบกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซ่ึงเมื่อพิจารณาคุณสมบัติและลักษณะตองหามของ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับใหมแลว จะพบเห็นการใหความสาํ คญั ไปท่ีเร่ืองของคุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่ีมาจากการสรรหาของคณะกรรมการ สรรหาเปนอยางย่ิง กลาวคือ กรณีการกําหนดใหคณะกรรมการสรรหาทําการสรรหาตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญจาก “ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร และผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร หรือ สาขารัฐประศาสนศาสตรซ่ึงดํารงตําแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย มาแลวไมนอยกวาหาป” กรณีหนึ่ง และกรณีกําหนดใหคณะกรรมการสรรหาทําการสรรหา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจาก “ผูทรงคุณวุฒิซึ่งมาจากผูรับหรือเคยรับราชการในตําแหนง ไมตํ่ากวาอธิบดี หรือหัวหนาสวนราชการท่ีเทียบเทา หรือตําแหนงไมต่ํากวารองอัยการ สูงสุดมาแลวไมนอยกวาหาป” อีกกรณีหน่ึง โดยนํามาบัญญัติแยกไวเปนสวนของที่มาและ คุณสมบัติของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่ไดรับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการสรรหาเปน การเฉพาะและจะผูกโยงอยูกับระยะเวลาของการปฏิบัติหนาท่ีและการดํารงตําแหนงเปนสําคัญ นอกจากน้ันยังกําหนดองคกรท่ีมีอํานาจหนาท่ีเปนการเฉพาะในการวินิจฉัยชี้ขาดปญหาและ
๓๔ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ขอพิพาทเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของบุคคลที่จะไดรับการเสนอช่ือเปนตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญไวดวย อันเปนเร่ืองท่ีไมมีการบัญญัติไวมากอนในรัฐธรรมนูญฉบับเดิม ซึ่งเปนการสรางกระบวนการปองกันปญหาทางดานคุณสมบัติและลักษณะตองหามไว เปนการเฉพาะ ดังน้ัน เมื่อพิจารณาในภาพรวมในเรื่องคุณสมบัติและลักษณะตองหามของ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แลว ผเู ขยี นเห็นวา องคประกอบทางขอ กฎหมายซึ่งเก่ยี วของกับคุณสมบัติและลกั ษณะ ตองหามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่กําหนดไวใหมนั้น เปนไปในทิศทางท่ีพัฒนาขึ้นและ การพัฒนาเชนวาน้ียอมสงผลโดยตรงตอ “องคคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ” ที่จะทําหนาท่ี ในฐานะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญสบื ตอไป
๓๕ บรรณานุกรม กฎหมาย พระราชบัญญัตธิ รรมนญู ศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๓๖ รัฐสภาสาร ฉบบั เดือนกันยายน ๒๕๖๐ การเตรียมความพรอ มเพอ่ื รองรบั การดําเนินการตามบทบัญญัตมิ าตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยของฝายนิตบิ ัญญตั ิ ปย ะนาถ รอดมุย๑ บทนา ภายหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เม่ือวันท่ี ๖ เมษายน ๒๕๖๐ การศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับใหม จึงนับวามีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิง โดยบทบัญญัติท่ีมีการกลาวถึงมากท่ีสุดและถือวา เปนมิติใหมของรัฐธรรมนูญในเร่ืองของการออกกฎหมายบังคับใชกับประชาชนคือบทบัญญัติ มาตรา ๗๗ โดยรฐั พึงจดั ใหม ีกฎหมายเพียงเทาทจี่ าํ เปน และกอ นการตรากฎหมายทกุ ฉบบั รัฐ พงึ จัดใหมกี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผเู ก่ยี วของ วเิ คราะหผ ลกระทบทีอ่ าจเกิดขนึ้ จากกฎหมาย อยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้งเปดเผยผลการรับฟงความคิดเห็นและการวิเคราะหนั้น ตอประชาชน และนํามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกข้ันตอน ซ่ึง บทบัญญัติมาตรา ๗๗ นี้เกี่ยวของกับหนวยงานของรัฐท้ังฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติที่จะ ๑ นติ กิ รเชี่ยวชาญ กลุมงานกฎหมาย ๓ สาํ นกั กฎหมาย สาํ นักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร
๓๗ ตองดําเนินการออกกฎหมายใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ และที่สําคัญบทบัญญัติ มาตรา ๗๗ จะเปน บทบญั ญตั ิท่ปี ระชาชนหรอื ภาคสว นตางๆ ใชในการตรวจสอบวา การออก กฎหมายแตล ะฉบับของรฐั ไดมกี ารดาํ เนนิ การตามบทบัญญตั ิมาตรา ๗๗ หรอื ไม หากมิได ดาํ เนนิ การตามบทบัญญัตมิ าตรา ๗๗ แลวการออกกฎหมายฉบบั นัน้ อาจเปน การขัดหรอื แยง กับรฐั ธรรมนูญอนั จะมีผลใหก ฎหมายฉบบั น้ันมอิ าจใชบ ังคบั ได สาระสาคญของมาตรา ๗๗ ของรฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกรไทย พทุ ธศกราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ บญั ญตั ิวา “รัฐพึงจัดใหมีกฎหมายเพียงเทาท่ีจําเปน และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมด ความจําเปนหรือไมสอดคลองกับสภาพการณ หรือที่เปนอุปสรรคตอการดํารงชีวิตหรือการ ประกอบอาชีพโดยไมชักชาเพื่อไมใหเปนภาระแกประชาชน และดําเนินการใหประชาชน เขาถึงตัวบทกฎหมายตาง ๆ ไดโดยสะดวก และสามารถเขาใจกฎหมายไดงายเพื่อปฏิบัติ ตามกฎหมายไดอ ยา งถูกตอง กอนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของผูเก่ียวของ วิเคราะหผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้งเปดเผย ผลการรับฟงความคิดเห็นและการวิเคราะหน้ันตอประชาชน และนํามาประกอบการพิจารณา ในกระบวนการตรากฎหมายทุกข้ันตอน เมื่อกฎหมายมีผลใชบังคับแลว รัฐพึงจัดให มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่กําหนด โดยรับฟงความคิดเห็น ของผเู กย่ี วขอ งประกอบดวย เพอ่ื พัฒนากฎหมายทกุ ฉบบั ใหส อดคลองและเหมาะสมกบั บรบิ ท ตา ง ๆ ทเ่ี ปล่ียนแปลงไป รัฐพึงใชระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีท่ีจําเปน พึงกําหนดหลักเกณฑการใชดุลยพินิจของเจาหนาที่ของรัฐและระยะเวลาในการดําเนินการตาม ขั้นตอนตาง ๆ ที่บัญญัติไวในกฎหมายใหชัดเจน และพึงกําหนดโทษอาญาเฉพาะความผิด รา ยแรง”๒ มาตรา ๗๗ บัญญตั ิอยูในหมวด ๖ แนวนโยบายแหงรฐั โดยหลักการของมาตรา ๗๗ ประกอบดว ย ๒ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๗
๓๘ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ๑. การจัดใหม ีกฎหมาย ใหกระทําไดเ พยี งเทา ท่จี ําเปน ๒. ในการเสนอรา งกฎหมายตอคณะรฐั มนตรี ใหหนวยงานของรฐั ตรวจสอบความ จําเปนในการตรากฎหมายอยางเครงครัด ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑในการตรวจสอบความจําเปน ในการตราพระราชบัญญัติ และใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีวิเคราะหและเสนอความเห็น เกี่ยวกับความจําเปนในการตรากฎหมายเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี และ ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติสงรางกฎหมายใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบอีกครั้งหนึ่งดวยวามีความจําเปนตองตรา กฎหมายฉบับนั้นหรือไม และการเสนอรางกฎหมายกลบั ไปยังคณะรฐั มนตรี ใหคณะกรรมการ กฤษฎีกาซ่ึงตรวจพจิ ารณารา งกฎหมายดังกลา วใหความเห็นเก่ยี วกบั ความจําเปนและประโยชน ทเ่ี กดิ จากรา งกฎหมายน้ันดว ย ๓. การรางกฎหมายเพื่อใหมีระบบอนุญาต ใหกระทําไดเพียงเทาที่จําเปน เชน กรณีเพอ่ื รกั ษาความม่ันคงแหง ราชอาณาจักร ความปลอดภัยสาธารณะ หรือศลี ธรรมอันดีของ ประชาชน หรอื เพือ่ ประโยชนใ นการรักษาความม่ันคงทางเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ และ ในกรณีจาํ เปนตองใหม ีระบบอนุญาตไวในรา งกฎหมายใหย ดึ หลกั เกณฑดังตอ ไปน้ี (๑) ตอ งระบวุ ตั ถุประสงคในการอนุญาตไวในการเสนอรา งกฎหมายโดยชัดแจง (๒) ตองบัญญัติหลักเกณฑและระยะเวลาการอนุญาตหรือไมอนุญาตไวในราง พระราชบญั ญัตใิ หช ัดเจน และกําหนดกรอบหลักเกณฑในการออกกฎหมายลาํ ดับรองไวดวย (๓) หนวยงานของรัฐท่ีพิจารณาอนุญาตตองแสดงหลักฐานความพรอมและ ศกั ยภาพทจี่ ะตรวจสอบใหก ารกระทาํ นน้ั เปนไปตามทีไ่ ดร ับอนญุ าตไดอยา งแทจรงิ (๔) ใหกําหนดอายุการไดรับอนุญาตเฉพาะกรณีท่ีจําเปน และในกรณีที่มีการ กําหนดอายุการไดรับอนุญาตและการตออายุการไดรับอนุญาต ตองแสดงเหตุผลของการขอ ตออายุการไดรบั อนุญาต และตอ งมีการตรวจสอบการดาํ เนินการตามที่ไดร บั อนญุ าตทผ่ี านมา ดวย ทัง้ นี้ ใหคาํ นึงถงึ หลักเกณฑเกยี่ วกบั การชําระคาธรรมเนยี มใบอนุญาตแทนการย่ืนคาํ ขอ ตออายุใบอนุญาต ซ่ึงบัญญัติไวในพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณา อนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ (๕) ใหนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพ่ืออํานวยความสะดวกในการขอ อนุญาต และการบงั คับการใหเ ปนไปตามวตั ถปุ ระสงคของการอนุญาตน้ัน
๓๙ ๔. การรางกฎหมายเพื่อใหมีระบบคณะกรรมการ ใหกระทําไดเพียงเทาที่จําเปน กรณจี าํ เปนเชน วาน้ัน เชน การกาํ หนดใหมคี ณะกรรมการขนึ้ เพอ่ื ทาํ หนา ที่ (๑) วางกฎเกณฑในการกํากบั ควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกจิ (๒) วินจิ ฉัยชขี้ าด (๓) ใหคําปรึกษาทางเทคนิคหรือเปนเรื่องซึ่งตองการความรูความเช่ียวชาญ เฉพาะดา นประกอบการตัดสินใจของผูมหี นา ทแี่ ละอาํ นาจตามกฎหมาย (๔) พิจารณาหาขอยุติที่ไดรับการยอมรับรวมกัน โดยมีตัวแทนจากภาคสวน ตา ง ๆ ท่ีเก่ยี วของ ๕. ในกรณีที่จําเปนตองมีระบบคณะกรรมการ ตองพิจารณาใหสอดคลองกับ หลกั เกณฑดงั ตอ ไปน้ี (๑) การกําหนดขั้นตอนและวิธีการแตงตั้งคณะกรรมการตองไมเปนการเพ่ิม พระราชภาระโดยไมจาํ เปน (๒) คณะกรรมการซ่ึงทําหนาท่ีวางกฎเกณฑหรือคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด ตองไมมีผูดํารงตําแหนงทางการเมือง หรือผูแทนหนวยงานของรัฐท่ีอาจจะตองอยูภายใต กฎเกณฑนั้น หรืออาจเปนคูกรณีในเรื่องนั้น และตองมีการแยกหนาที่ระหวางผูวางกฎเกณฑ หรือผกู าํ กบั ควบคุมออกจากผูป ฏบิ ัติ (๓) ไมกาํ หนดใหน ายกรัฐมนตรีเปน ประธานกรรมการ เวนแตเ ปนคณะกรรมการ กาํ หนดนโยบายระดบั ชาติ (๔) กรรมการโดยตําแหนงพึงมีตามความจําเปน และการกําหนดใหผูดํารง ตําแหนงบางตําแหนงเปนกรรมการสมควรพิจารณากําหนดเทาที่จําเปน เชน ผูอํานวยการ สํานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ เลขาธกิ าร ก.พ. เนอ่ื งจากตาํ แหนง ดงั กลา วมหี นา ทต่ี อ งใหค วามเหน็ ประกอบการพจิ ารณาของคณะรฐั มนตรี ในเรื่องท่ีเกี่ยวของอยูแลว และในกรณีที่มีกรรมการโดยตําแหนง เมื่อคณะกรรมการน้ัน มีมติในเรื่องใดมติดังกลาวยอมผูกพันองคกรที่กรรมการโดยตําแหนงผูนั้นดํารงอยูดวย เวนแต กรรมการผนู ัน้ ไดแ สดงความไมเหน็ ดวย โดยวิธกี ารลงคะแนนคดั คาน หรอื บนั ทกึ ขอไมเหน็ ดว ย ในรายงานการประชมุ แลว (๕) การแตงต้ังกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหกําหนดเง่ือนไขเก่ียวกับความเช่ียวชาญ ในเร่ืองซ่ึงเปนหนาที่และอํานาจของคณะกรรมการอยางแทจริง และหามแตงตั้งบุคคล ซึ่งมีลักษณะการขัดกันแหงผลประโยชน ท้ังน้ี ในการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ติ อ งสอดคลอ งกบั หนา ทแ่ี ละอาํ นาจของคณะกรรมการนน้ั ดวย
๔๐ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ๖. การรางกฎหมายเพ่ือกําหนดหลักเกณฑการใชดุลพินิจของเจาหนาที่ของรัฐและ ระยะเวลาในการดําเนินการตามขั้นตอนตาง ๆ ตองพิจารณาใหสอดคลองกับหลักเกณฑ ดงั ตอ ไปน้ี (๑) การใชดลุ พนิ จิ ตอ งไมขดั หรือแยง กับหลกั การสาํ คัญที่รฐั ธรรมนูญรับรอง (๒) การใชด ุลพนิ จิ ตอ งสอดคลอ งกับหลักการบริหารกิจการบา นเมอื งทด่ี ี (๓) การใชด ุลพินจิ ตองพจิ ารณาอยางรอบคอบ โดยอาจปรึกษาหารอื หรอื รับฟง ขอมูลเพ่ิมเติมจากผูท่ีเกี่ยวของ และตองเปดโอกาสใหผูท่ีไดรับผลกระทบใหขอมูลและโตแยง คดั คา นได และตอ งแสดงเหตุผลประกอบการใชด ุลพินจิ นนั้ ไวด วย (๔) การใชดุลพินิจตองคํานึงถึงหลักความพอสมควรแกเหตุ และประโยชนท่ี สว นรวมจะไดร บั กบั ประโยชนทีเ่ อกชนตอ งเสยี ไป รวมท้ังความเสยี หายทอ่ี าจเกิดขน้ึ แกเอกชน (๕) เจาหนาที่ซึ่งใชอํานาจดุลพินิจตองไมมีสวนไดเสียหรือมีผลประโยชน ทับซอนกับการใชอํานาจดุลพินิจนั้น เวนแตเปนกรณีที่มีความจําเปนเรงดวน และหากปลอย ใหล าชาจะเกดิ ความเสียหายตอ ประโยชนสาธารณะหรือสทิ ธิของบคุ คลโดยไมมีทางแกไขได (๖) การกําหนดรูปแบบ ขั้นตอน และวิธีการ ตลอดจนระยะเวลาสําหรับ ดําเนนิ การในสวนท่เี ปนสาระสําคัญ และกรอบการใชดุลพนิ ิจตอ งชดั เจน สําหรบั รายละเอียด ทีเ่ ก่ยี วกับวธิ ปี ฏบิ ัติอาจกําหนดไวในกฎหมายลําดับรองได (๗) ใหกําหนดแนวทางปฏิบัติในการใชดุลพินิจและเผยแพรใหประชาชนทราบ เปนการท่ัวไป๓ การเตรยี มความพรอ มเพือ่ รองรบการดาเนนิ การตามบทบญญติมาตรา ๗๗ ของรฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกรไทยของฝายนิตบิ ญญติ ในสวนของฝายบริหารไดมีการเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับการดําเนินการตาม บทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย โดยสํานักงานเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีและสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดรวมกันจัดทําแนวทางการจัดทําและการ เสนอรางกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ ๓ มตคิ ณะรฐั มนตรวี นั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๖๐ เรอ่ื ง แนวทางการจดั ทาํ และการเสนอรา งกฎหมายตามบทบญั ญตั ิ มาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
๔๑ ปรับปรุงหลักเกณฑในการตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) โดย ใหเปนหลักเกณฑในการตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติทายระเบียบวาดวย หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารเสนอเรอ่ื งตอ คณะรฐั มนตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ซง่ึ คณะรฐั มนตรไี ดม มี ตเิ หน็ ชอบ กบั เรอ่ื งดงั กลา วเมอ่ื วนั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๖๐ โดยแนวทางการจดั ทาํ และการเสนอรา งกฎหมาย ตามบทบัญญตั มิ าตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย แบงเนอ้ื หาเปน ๒ สวน คอื สว นท่ี ๑ หลกั เกณฑก ารรา งกฎหมายและการตรวจพจิ ารณารา งกฎหมายของหนว ยงานของรฐั สวนท่ี ๒ แนวทางการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมายและการวิเคราะห ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย สวนหลักเกณฑในการตรวจสอบความจําเปนในการตรา พระราชบญั ญัติ (Checklist) เปนบทตรวจสอบความจาํ เปน ๑๐ ประการ ในการตราพระราช บญั ญตั ิ ไดแก (๑) วัตถุประสงคเปา หมายของภารกิจ (๒) ผทู าํ ภารกิจ (๓) ความจาํ เปน ในการตรา กฎหมาย (๔) ความซาํ้ ซอ นกบั กฎหมายอน่ื (๕) ผลกระทบและความคมุ คา (๖) ความพรอ มของรฐั (๗) หนวยงานท่ีรับผิดชอบและผูรักษาการตามกฎหมาย (๘) วิธีการทํางานและตรวจสอบ (๙) การจัดทํากฎหมายลําดับรอง (๑๐) การรับฟงความคิดเห็น ซ่ึงแนวทางการจัดทําและ การเสนอรางกฎหมายและหลักเกณฑการตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ ดงั กลาว หนวยงานของรฐั ตองถือปฏบิ ตั อิ ยา งเครง ครดั เม่ือพิจารณาในสวนของฝายนิติบัญญัติไดมีการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการ ดาํ เนนิ การตามบทบัญญตั ิมาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทยหรือไมอยางไร นั้น ผเู ขยี นเหน็ วาประเดน็ ทีต่ อ งพิจารณาควบคูไปกับบทบญั ญตั ิมาตรา ๗๗ คือ บทบัญญตั ิ มาตรา ๑๓๓ ซงึ่ เปนมาตราที่กลา วถงึ ผูมีสทิ ธเิ สนอรางพระราชบญั ญตั ิ โดยมาตรา ๑๓๓ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยบัญญตั ิวา “รา งพระราช บญั ญตั ิใหเ สนอตอ สภาผูแทนราษฎรกอน และจะเสนอไดก ็แตโ ดย (๑) คณะรฐั มนตรี (๒) สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรจาํ นวนไมน อ ยกวา ย่ีสบิ คน (๓) ผูมสี ิทธิเลือกต้งั จาํ นวนไมนอยกวา หนึง่ หม่นื คนเขา ช่ือเสนอกฎหมายตามหมวด ๓ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย หรอื หมวด ๕ หนาทขี่ องรฐั ทงั้ น้ี ตามกฎหมายวาดวย การเขาช่ือเสนอกฎหมาย ในกรณีทรี่ างพระราชบญั ญัตซิ ่ึงมีผูเ สนอตาม (๒) หรอื (๓) เปนรางพระราชบญั ญัติ เก่ียวดวยการเงนิ จะเสนอไดก ต็ อ เมื่อมีคาํ รบั รองของนายกรัฐมนตร”ี ๔ ๔ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๓๓
๔๒ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกันยายน ๒๕๖๐ จากบทบัญญัติมาตรา ๑๓๓ จําแนกผูมีสิทธิในการเสนอรางพระราชบัญญัติตอ สภาผแู ทนราษฎรออกเปน ๓ กลุม ดังนี้ ๑. การเสนอรางพระราชบัญญัติโดยคณะรัฐมนตรี ตามบทบัญญัติมาตรา ๑๓๓ (๑) รางพระราชบัญญัติสวนใหญที่เขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรจะมา จากการเสนอของคณะรัฐมนตรเี ปนหลัก ในกรณีท่มี ีผูเสนอรางพระราชบัญญัติในเรอื่ งเดียวกัน หรือทํานองเดียวกนั หลายคนก็ใชร า งพระราชบัญญตั ิของคณะรัฐมนตรีเปน หลกั การเสนอราง พระราชบญั ญัตขิ องคณะรัฐมนตรสี ว นใหญเ ปน ความตองการของหนวยงานของรฐั เจา ของเร่ือง โดยหนวยงานของรัฐเจาของเรื่องจะเปนผูริเร่ิมยกรางกฎหมายข้ึนมาแลวเสนอผานกระทรวง ในฐานะเปนผูรักษาการตามกฎหมายเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี ซึ่งหนวยงานของรัฐผูริเริ่ม ยกรา งกฎหมายตอ งดําเนินการตามมตคิ ณะรฐั มนตรีวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ ในเรื่องแนวทาง การจัดทําและการเสนอรางกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยอยา งเครง ครัด โดยสรุปสาระสําคญั ไดด ังนี้ (๑) การจัดทํารางกฎหมาย ตองสอดคลองและไมขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ รางกฎหมายตองสอดคลองและไมขัดหรือแยงกับ ยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนการปฏริ ปู ประเทศ รา งกฎหมายตองคาํ นงึ ถงึ หรอื พจิ ารณาดําเนนิ การ ใหสอดคลองกับหลักการและสาระสําคัญของพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการ พจิ ารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวิธกี าร บรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยการทบทวนความเหมาะสม ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘ และรางกฎหมายตองสอดคลองกับหลักการมาตรา ๗๗ ของ รฐั ธรรมนูญ (๒) การรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมาย โดยใหหนวยงาน ของรัฐจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ โดยอยางนอยตองรับฟงผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ หรือผาน เว็บไซต www.lawamendment.go.th หรอื จะใชวธิ ีการอ่ืนใดก็ได ทั้งนี้ ระยะเวลาในการรบั ฟง ความคดิ เหน็ ตอ งไมน อ ยกวา ๑๕ วนั โดยหนว ยงานของรฐั ตอ งประกาศวธิ กี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ ระยะเวลาเร่ิมตนและสิ้นสุดในการรับฟงความคิดเห็น รวมทั้งเปดเผยขอมูลประกอบการรับฟง ความคดิ เหน็
๔๓ (๓) การจัดทํารายงานสรุปผลการรับฟงความคิดเห็น โดยในรายงานอยางนอย ตอ งประกอบดว ยวธิ กี ารในการรบั ฟง ความคดิ เหน็ จาํ นวนครง้ั และระยะเวลาในการรบั ฟง ความคดิ เหน็ แตละคร้ัง พ้ืนท่ีกลุมเปาหมายในการรับฟงความคิดเห็น ประเด็นท่ีมีการแสดงความคิดเห็น ขอคัดคานหรือความเห็นของหนวยงานและผูเก่ียวของในแตละประเด็น คําช้ีแจงเหตุผล รายประเด็น และการนําผลการรบั ฟงความคิดเหน็ มาประกอบการพจิ ารณาจดั ทาํ รา งกฎหมาย (๔) การจัดทําคําช้ีแจงตามหลักเกณฑในการตรวจสอบความจําเปนในการตรา พระราชบัญญัต (Checklist) ตามหลักเกณฑฯ ทายระเบียบวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ เสนอเร่ืองตอ คณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ สาระสําคญั ประกอบดว ย ชื่อรางพระราชบญั ญตั ิ เปนกฎหมายใหมหรือเปนการแกไขปรับปรุงกฎหมายหรือยกเลิกกฎหมาย ชื่อสวนราชการ หรือหนวยงานผูเสนอรางกฎหมาย และบทตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) ประกอบดว ย (๑) วตั ถปุ ระสงคเ ปา หมายของภารกจิ (๒) ผทู าํ ภารกจิ (๓) ความจาํ เปน ในการตรากฎหมาย (๔) ความซ้ําซอนกับกฎหมายอ่ืน (๕) ผลกระทบและความคุมคา (๖) ความพรอมของรัฐ (๗) หนว ยงานท่ีรับผดิ ชอบและผรู ักษาการตามกฎหมาย (๘) วธิ กี าร ทํางานและตรวจสอบ (๙) การจดั ทาํ กฎหมายลาํ ดับรอง (๑๐) การรับฟงความคิดเห็น เม่ือหนวยงานของรัฐไดดําเนินการดังกลาวขางตนแลว จากนั้นหนวยงานของรัฐ ท่ีเสนอรางกฎหมายจะสงเรื่องไปยังสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอรางกฎหมาย ท่ไี ดจัดทําข้นึ โดยใหเสนอพรอมรายงานสรุปผลการรับฟงความคิดเห็นดวย โดยสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีจะตรวจสอบผลการรับฟงความคิดเห็นและตรวจสอบการวิเคราะหผลกระทบ ที่อาจเกิดจากกฎหมายตามหลักเกณฑการตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) แลว อาจมีความเห็นเปน ๒ กรณี คอื (๑) เห็นวาจําเปน ตองจดั ใหม ีการรบั ฟง ความคิดเห็นหรือการวิเคราะหผลกระทบท่ีอาจเกิดจากกฎหมายเพ่ิมเติม จะสงเรื่องคืนให หนวยงานของรัฐท่เี สนอเร่อื งไปดําเนินการเพ่มิ เติม (๒) เห็นวาไมควรรับฟงความคิดเห็นหรือ การวิเคราะหผลกระทบที่อาจเกิดจากกฎหมายเพิ่มเติมก็จะสงเร่ืองใหสํานักเลขาธิการ คณะรฐั มนตรีตอไป จากน้นั คณะรัฐมนตรีมีมติใหสงรางกฎหมายใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกานําผลการรับฟงความคิดเห็นหรือการวิเคราะห ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ จากกฎหมายทห่ี นว ยงานของรฐั ไดจ ดั ทาํ ขน้ึ มาประกอบการตรวจพจิ ารณารา ง กฎหมาย หากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นวาจําเปนตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชนเพม่ิ เตมิ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าอาจดาํ เนนิ การเอง หรอื จะขอใหห นว ยงาน ของรัฐเจาของเร่ืองเปนผูดําเนินการก็ได และเมื่อไดดําเนินการแลวใหจัดทํารายงานสรุป
๔๔ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ผลการรับฟงความคิดเห็นเพ่ิมเติม สําหรับกรณีที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็น วาจําเปนตองมีการวิเคราะหผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากกฎหมายเพ่ิมเติม สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาอาจดําเนินการดงั กลาวเอง หรือจะขอใหห นวยงานของรัฐเจาของเรื่อง เปนผูดําเนินการดงั กลา วเพ่ิมเติมก็ได เพ่ือนาํ มาประกอบการตรวจพจิ ารณารา งกฎหมายตอ ไป ในกรณีรางกฎหมายที่ผานการตรวจพิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีการแกไขเพ่ิมเติมเนื้อหาของรางกฎหมาย และสมควรแกไขการวิเคราะหผลกระทบท่ีอาจ เกิดข้ึนจากกฎหมายเพ่ิมเติมตามประเด็นที่มีการแกไข ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แจงใหหนวยงานของรัฐเจาของเร่ืองดําเนินการดังกลาว และใหสงคําชี้แจงตามหลักเกณฑ การตรวจสอบความจําเปน ในการตราพระราชบญั ญัติ (Checklist) ท่ไี ดด ําเนินการดงั กลาวแลว มาพรอมกับการยืนยันใหความเห็นชอบรางกฎหมายเพ่ือใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดาํ เนินการในสว นทเ่ี กี่ยวขอ งตอไป การดําเนินการกรณีรางกฎหมายท่ผี านการตรวจพิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาและอยูระหวางการดําเนินการของสํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่ สํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเห็นวารางกฎหมายที่ผานการตรวจพิจารณาของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกามีการแกไขเพิ่มเติมเน้ือหาของรางกฎหมายจนแตกตางจากราง กฎหมายท่ีหนวยงานของรัฐเสนอ และสมควรแกไข การวิเคราะหผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก กฎหมายเพม่ิ เตมิ ตามประเดน็ ทม่ี กี ารแกไ ข ใหส าํ นกั งานเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรแี จง ใหห นว ยงาน ของรัฐเจาของเร่ืองดําเนินการดังกลาว และใหสงคําช้ีแจงตามหลักเกณฑการตรวจสอบ ความจาํ เปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) มายงั สาํ นักงานเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี กรณีรางกฎหมายใดมีความจําเปนเรงดวนหรือตองดําเนินการเปนการลับ หนวยงาน ของรัฐเจาของเรื่องจะดําเนินการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมายแตกตาง จากแนวทางการจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมายผานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ หรือแตกตางจากแนวทางการประกาศวิธีการรับฟง ความคิดเห็นตามท่ีกําหนดไวก็ได แตหนวยงานของรัฐเจาของเรื่องตองแสดงเหตุผลและ ความจาํ เปนดงั กลาวตอ คณะรัฐมนตรีเพอ่ื พิจารณาเปนรายกรณไี ป๕ ๕ มตคิ ณะรฐั มนตรวี นั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๖๐ เรอ่ื ง แนวทางการจดั ทาํ และการเสนอรา งกฎหมายตามบทบญั ญตั ิ มาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
๔๕ ๒. การเสนอรา งพระราชบญั ญตั โิ ดยสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรจาํ นวนไมน อ ยกวา ๒๐ คน ตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๓๓ (๒) ในอดีตรางพระราชบัญญัติท่ีเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรท่ีมาจากการ เสนอของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีจํานวนนอย เมื่อเปรียบเทียบกับรางพระราชบัญญัติที่ เสนอโดยคณะรัฐมนตรี อยา งไรก็ตาม รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๓๓ (๒) ไดเปดโอกาสใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยังคงมีสิทธิเปนผูริเริ่มเสนอ รางกฎหมายเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรไดโดยไมตองมีผูรับรอง ท้ังน้ี เพื่อให สมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีอิสระในการปฏิบัติหนาท่ีฝายนิติบัญญัติโดยไมตองอยูภายใตมติ พรรคการเมอื ง ดังนัน้ จงึ ไมตองมหี นงั สอื รับรองจากพรรคการเมืองทสี่ มาชกิ สภาผแู ทนราษฎร ที่ผูนั้นสังกัด โดยถารางพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงินตองมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรี ซ่งึ ในทางปฏิบัติสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรจะเสนอรางพระราชบัญญัติตอประธานสภาผแู ทนราษฎร ถาประธานสภาผูแทนราษฎรวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติฉบับใดเปนรางพระราชบัญญัติ เกี่ยวดวยการเงินจะมีคําสั่งใหสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัติ ฉบบั น้ันใหน ายกรัฐมนตรพี จิ ารณาใหคาํ รบั รอง ประเด็นที่ตองพิจารณา คือ การเสนอรางพระราชบัญญัติโดยสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจํานวนไมนอยกวา ๒๐ คน ตามบทบัญญตั ิมาตรา ๑๓๓ (๒) ตอ งดาํ เนินการตามมติ คณะรัฐมนตรีวนั ที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ ในเรือ่ งแนวทางการจดั ทาํ และการเสนอรา งกฎหมาย ตามบทบัญญตั มิ าตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยดว ยแลว ฝายนติ บิ ัญญัติ ไดมีการกําหนดใหหนวยงานใดเปนผูดําเนินการหรือไม ซ่ึงเมื่อพิจารณาจากอํานาจหนาที่ ของสวนราชการภายในสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร จะเห็นไดวาการดําเนินการให เปนไปตามบทบัญญตั ิมาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยของฝา ยนติ ิบญั ญัติ เพ่ือสนับสนุนการเสนอรางพระราชบัญญัติโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเรื่องการจัดทํา รางกฎหมายใหกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อยูในอํานาจหนาท่ีของสํานักกฎหมาย โดย สาํ นกั กฎหมายมีอาํ นาจหนา ทใ่ี นการจดั ทํารางกฎหมายดานเศรษฐกจิ สงั คม สิง่ แวดลอ มและ เทคโนโลยี ตามความตอ งการใหกบั สมาชกิ สภาผูแทนราษฎร คณะกรรมาธกิ าร สวนราชการ และประชาชน๖ สวนการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํารางกฎหมายผานระบบ ๖ ประกาศ ก.ร. เรอ่ื ง การกาํ หนดหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของสว นราชการในสงั กดั สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทน ราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๕
๔๖ รัฐสภาสาร ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๖๐ เทคโนโลยีสารสนเทศของหนว ยงานของรฐั หรอื ผา นเว็บไซต www.lawamendment.go.th หรือ วิธีการอ่ืนใด และการประกาศวิธีการรับฟงความคิดเห็น ระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดในการ รบั ฟงความคดิ เหน็ รวมท้ังการเปด เผยขอ มูลประกอบการรับฟงความคดิ เห็น การจดั ทํารายงาน สรปุ ผลการรับฟง ความคดิ เห็น การจัดทําคําชแ้ี จงตามหลักเกณฑใ นการตรวจสอบความจําเปน ในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) และการตรวจพิจารณารางกฎหมายวามีการรับฟง ความคิดเห็นและวิเคราะหผลกระทบของการออกกฎหมายเพียงพอหรือไมกอนเสนอบรรจุ เขาระเบียบวาระการประชุมของสภาผูแทนราษฎร ยังไมปรากฏวาอยูในอํานาจหนาที่ของ สว นราชการใดภายในของสํานกั งานเลขาธิการสภาผูแ ทนราษฎร ๓. การเสนอรางพระราชบัญญัติโดยผูมีสิทธิเลือกต้ังจํานวนไมนอยกวา หน่ึงหม่ืนคนเขาช่ือเสนอกฎหมายตามหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหมวด ๕ หนาที่ของรัฐ ทั้งน้ี ตามกฎหมายวาดวยการเขาช่ือเสนอกฎหมาย ตามบทบัญญตั มิ าตรา ๑๓๓ (๓) ในอดีตรางพระราชบัญญัติท่ีเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการ เสนอของผมู สี ทิ ธเิ ลอื กตัง้ จํานวนไมนอยกวาหนึ่งหมน่ื คนมจี าํ นวนไมมากนกั หากเปรียบเทยี บ กบั รา งพระราชบญั ญตั ทิ เ่ี สนอโดยคณะรฐั มนตรี อยา งไรกต็ าม รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๓๓ (๓) ยังคงเปด โอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการเสนอรา ง พระราชบัญญัติ โดยการกําหนดใหผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวาหนึ่งหม่ืนคนมีสิทธิเขาช่ือเสนอ กฎหมายตามหมวด ๓ สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรอื หมวด ๕ หนา ท่ขี องรฐั ท้ังนี้ ตามกฎหมายวาดวยการเขาช่ือเสนอกฎหมาย ประเดน็ ทต่ี อ งพจิ ารณา คอื การเสนอรา งพระราชบญั ญตั โิ ดยผมู สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั จาํ นวน ไมนอยกวาหน่งึ หม่นื คนเขาช่อื เสนอกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา ๑๓๓ (๓) ตองดําเนินการ ตามมติคณะรัฐมนตรีวันท่ี ๔ เมษายน ๒๕๖๐ ในเร่ืองแนวทางการจัดทําและการเสนอราง กฎหมายตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทยดว ยแลว หนว ยงานใด จะเปนผูดําเนินการ ซ่ึงเม่ือพิจารณาจากอํานาจหนาที่ของสวนราชการภายในสํานักงาน เลขาธิการสภาผูแทนราษฎรจะเห็นไดวาการดําเนินการที่เก่ียวกับการเขาชื่อเสนอกฎหมายอยู ในอํานาจหนาท่ีของกลุมงานเขาช่ือเสนอกฎหมาย สํานักการประชุม โดยมีหนาที่รับผิดชอบ เกยี่ วกบั การตรวจสอบ วเิ คราะหเ อกสาร และหลักฐานรายชือ่ ผเู ขาชอ่ื เสนอกฎหมาย ใหเ ปน ไป ตามกฎหมาย ระเบยี บ เพือ่ ประกอบการพจิ ารณาของประธานรฐั สภา การจดั ใหม กี ารประกาศ รายชือ่ ผเู ขาชอื่ เสนอกฎหมายไวในทีต่ า ง ๆ ตามท่ีกฎหมายกาํ หนด การดาํ เนินการเกย่ี วกับ
๔๗ การคัดคานเพ่ือใหขีดฆาช่ือผูเขาช่ือเสนอกฎหมายออกจากบัญชีรายช่ือผูเขาช่ือเสนอกฎหมาย การดําเนินการกรณีการเขาช่อื เสนอกฎหมายของประชาชนไมครบจํานวน การเสนอความเห็น เพอ่ื บรรจรุ ะเบยี บวาระการประชมุ ของสภาผแู ทนราษฎร การศกึ ษา คน ควา รวบรวม วเิ คราะห ขอ มลู ทางวชิ าการและกฎหมายเพอ่ื ประโยชนต อ การพจิ ารณากฎหมายของประชาชน การจดั วาง และพัฒนาระบบตรวจสอบขอ มลู รายช่ือประชาชนที่เสนอกฎหมายตอ ประธานรฐั สภา การแจง ผลการพิจารณารางพระราชบัญญัติที่ประชาชนเขาชื่อเสนอไปยังประชาชนผูเสนอ และ การจัดทําสารบบประกอบการเสนอพระราชบัญญัติท่ีประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อเสนอ ประธานสภาผูแทนราษฎร ตามขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร และในเร่ืองการจัดทํา รางกฎหมายใหกับประชาชนอยูในอํานาจหนาท่ีของสํานักกฎหมาย โดยสํานักกฎหมาย มีอํานาจหนาท่ใี นการจัดทํารางกฎหมายดานเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอมและเทคโนโลยี ตาม ความตองการใหกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร คณะกรรมาธิการ สวนราชการ และประชาชน๗ สว นการดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ของฝายนิติบัญญัติ เพ่ือสนับสนุนการเสนอรางพระราชบัญญัติโดยผูมีสิทธิเลือกตั้ง จํานวนไมนอยกวาหน่ึงหม่ืนคน ในเร่ืองเก่ียวกับการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทํา รางกฎหมาย ผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ หรือผานเว็บไซต www.lawamendment.go.th หรอื วธิ กี ารอน่ื ใด การประกาศวธิ กี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ ระยะเวลา เร่ิมตนและสิ้นสุดในการรับฟงความคิดเห็น รวมทั้งการเปดเผยขอมูลประกอบการรับฟง ความคิดเห็น การจัดทํารายงานสรุปผลการรับฟงความคิดเห็น การจัดทําคําชี้แจงตาม หลักเกณฑในการตรวจสอบความความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) และ การตรวจพิจารณารางกฎหมายวามีการรับฟงความคิดเห็นและวิเคราะหผลกระทบของการ ออกกฎหมายเพียงพอหรอื ไม กอนเสนอบรรจุเขาระเบียบวาระการประชมุ ของสภาผแู ทนราษฎร ยังไมป รากฏแนช ัดวาอยใู นอาํ นาจหนา ท่ขี องสวนราชการใด ๗ ประกาศ ก.ร. เรอ่ื ง การกาํ หนดหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของสว นราชการในสงั กดั สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทน ราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๕
๔๘ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๖๐ บทสรปุ และขอ เสนอแนะ ผเู ขียนเห็นวาการเสนอรางพระราชบัญญัติโดยสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรและการเสนอ รางพระราชบัญญัติโดยผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาหน่ึงหมื่นคน ในอนาคตมีแนวโนม ที่จะลดจํานวนลง อันเปนผลเนื่องมาจากกระบวนการหรือขั้นตอนตางๆ ท่ีตองดําเนินการ ตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แตอยางไรก็ตาม ฝา ยนิตบิ ญั ญตั ิควรมีบรบิ ทท่ตี องมกี ารเตรยี มความพรอมเพอ่ื รองรับการดาํ เนนิ การตามบทบญั ญตั ิ มาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยท่แี ตกตางหรือเพ่มิ เติมจากแนวทางการจัดทํา และการเสนอรางกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ของฝายบริหาร อันจะเปนการสนับสนุนการทํางานของฝายนิติบัญญัติใหมีประสิทธิภาพ มากยงิ่ ขนึ้ โดยผูเขยี นมขี อ เสนอแนะ ดังนี้ ๑. ฝายนิติบัญญัติควรไดมีการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการดําเนินการตาม บทบญั ญตั มิ าตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย ในสวนของการสนับสนนุ การ เสนอรางพระราชบัญญัติโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และการเสนอรางพระราชบัญญัติโดย ผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาหนึ่งหม่ืนคน โดยควรกําหนดภารกิจหรืออํานาจหนาท่ี ในเรอ่ื งการจดั ทาํ รา งกฎหมาย การรบั ฟง ความคดิ เหน็ ประกอบการจดั ทาํ รา งกฎหมาย การวเิ คราะห ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากกฎหมาย การตรวจสอบความจําเปนในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) การจัดทํารายงานสรุปผลการรับฟงความคิดเห็น และการตรวจพิจารณาราง กฎหมายวา มกี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ และวเิ คราะหผ ลกระทบของการออกกฎหมายเพยี งพอหรอื ไม ใหชัดเจนวาหนวยงานใดจะเปนผูรับผิดชอบ ซึ่งจะมีผลตอการปรับเปล่ียนโครงสรางหรือ อํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดรัฐสภา รวมท้ังจะมีผลตอการตั้งคําของบประมาณ เพ่อื ดาํ เนนิ การในสวนที่เก่ียวขอ งตอ ไป ๒. ฝายนิติบัญญัติควรไดมีการเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับการดําเนินการตาม บทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย ในสวนของการนาํ ผลการรบั ฟง ความคิดเห็นของผูเก่ียวของ และผลการวิเคราะหผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากกฎหมายอยาง รอบดานและเปนระบบ มาประกอบการพิจารณากระบวนการตรากฎหมายในขั้นตอนการ พจิ ารณาของรัฐสภาทง้ั ๓ วาระอยางไร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111