Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มรายงานคุณภาพชีวิตแพร่ปี-2561

รูปเล่มรายงานคุณภาพชีวิตแพร่ปี-2561

Published by ppalax1, 2022-07-02 04:33:45

Description: รูปเล่มรายงานคุณภาพชีวิตแพร่ปี-2561

Search

Read the Text Version

รายงาน คณุ ภาพชวี ิตคนแพร่ ประจาปี 2561 สรปุ ผลขอ้ มลู จปฐ. ปี 2561 กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่ http://phrae.cdd.go.th

ประมวลสรุป พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหค้ ณะกรรมการอานวยการ งานพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.) และเจ้าหน้าท่ี เขา้ เฝ้าถวายรายงานคุณภาพชวี ติ ของคนไทย ------------------------------- การดาเนินงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วัดด้วยสายตาบ้าง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไม่เป็น เชงิ สถิตบิ ้าง ทาไปเรือ่ ยๆ บ้าง แตต่ อนน้ีทางราชการมีการสารวจขอ้ มูล จปฐ. เป็นขอ้ มูลทีค่ ิดว่าในขณะนี้ ดีท่ีสุดแล้ว ดีในการเป็นฐานให้เริ่มต้นแก้ไขปัญหา เป็นข้อมูลท่ีง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยท่ีมีการสารวจ ข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพ่ือให้พบปัญหา ซึ่งเม่ือรู้ปัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไข สาหรับการวัดนั้นจะตรง หรือไม่ตรง แน่นอนต้องมีการผิดพลาดบ้าง ก็ไม่น่าจะเป็นปัญหาใหญ่ ขอให้มีส่ิงที่จะช่วยช้ีให้ฝ่ายรัฐเข้า ไปหาชาวบ้าน ได้ทราบปัญหาของชาวบ้านบ้าง เม่ือเราทาจริง สารวจจริงแล้ว จะทาให้พบกับบุคคลที่ ควรสงเคราะห์ หรอื ทาให้พบปัญหา และเมื่อพบปัญหาแล้วจะแกไ้ ขอย่างไร เป็นสิ่งซง่ึ จะตามมา หลักการพัฒนาท่ีควรจะคานึงถึง คือ ช่วยเขาเพื่อให้เขาช่วยตัวเองได้ การให้คาแนะนา เพ่ือให้ชาวบ้านไดเ้ รียนร้วู ธิ ีการแกไ้ ขปญั หาด้วยตนเอง จงึ เป็นส่ิงสาคญั (ได้รบั พระราชทานพระราชาอนุญาต ตามหนังสอื สานกั ราชเลขาธกิ าร ที่ รล 0017/10527 ลงวันท่ี 29 ตุลาคม 2534)

คานา รายงานคุณภาพชีวิตคนแพร่ เป็นรายงานท่ีได้จากผลการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ซึ่งจัดเก็บในเขตชนบทและในเขตเมืองของจังหวัดแพร่ ปี 2561 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ซ่ึงทาให้ทราบถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งในเขตชนบท และเขตเมือง โดยมี เคร่ืองมือในการวัดผลคุณภาพชีวิตเป็นเคร่ืองชี้วัด จานวน 5 หมวด 31 ตัวช้ีวัด ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ีแสดงถึงใน ระดับครัวเรือน ทาให้ประชาชนทราบถึงคุณภาพชีวิตของตนเอง คุณภาพของครัวเรือนและหมู่บ้าน/ชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเองและครอบครัวให้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดี อย่างน้อยผา่ นเกณฑค์ วามจาเปน็ พ้นื ฐาน จงั หวดั แพร่ ไดส้ รปุ ภาพรวมคณุ ภาพชวี ติ ของคนแพร่ ซง่ึ จดั เก็บข้อมลู ความจาเปน็ พน้ื ฐานใน ภาพรวมของจังหวัด ท้ังในเขตชนบทและในเขตเมอื ง จานวนท้ังสิ้น 8 อาเภอ 78 ตาบล 726 หมู่บ้าน/ชุมชน จานวน 118,050 ครัวเรือน มปี ระชากรทงั้ สน้ิ จานวน 310,447 คน จงั หวัดแพร่ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสาร “รายงานคุณภาพชีวิตคนแพร่ ปี 2561” จากขอ้ มูล ความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2561 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ังกลุ่ม/องค์กร นิสิต/นักศึกษา และประชาชน ท่ีจะ นาไปใชป้ ระโยชน์ในการวางแผน แก้ไขปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของคนแพรใ่ ห้ดียง่ิ ขึ้น ต่อไป สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั แพร่ มิถุนายน 2561

สารบัญ ประมวลสรุปพระราชกระแสสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี หน้า คานา 1 4 บทสรุปสาหรบั ผ้บู ริหาร 9 17 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2561 17 17 สว่ นที่ 2 รายงานคุณภาพชวี ติ ของคนจงั หวดั แพร่ 18 18 คุณภาพชวี ติ ของคนจังหวดั แพร่ จาแนกรายหมวด และตวั ชีว้ ดั 19 หมวดท่ี 1 สขุ ภาพ 20 หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม 20 หมวดที่ 3 การศึกษา 23 หมวดที่ 4 การมีงานทาและมีรายได้ 27 หมวดท่ี 5 ค่านิยม 29 31 คณุ ภาพชวี ติ ของคนจังหวดั แพรใ่ นแต่ละอาเภอ จาแนกรายตวั ชี้วัด 35 หมวดที่ 1 สุขภาพ 37 หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม หมวดที่ 3 การศกึ ษา หมวดท่ี 4 การมีงานทาและมีรายได้ หมวดท่ี 5 คา่ นยิ ม สรปุ ผลการจดั เก็บข้อมูลตามตวั ช้วี ดั 31 ตัวชี้วดั (แยกรายอาเภอ) ส่วนที่ 3 ปญั หาคณุ ภาพชวี ิตทีค่ วรดาเนินการแกไ้ ข ภาคผนวก

สารบัญตาราง ตารางที่ จานวนครวั เรือน หนา้ 1 จานวนประชากร 10 2 ระดับการศึกษา 11 3 อาชพี 12 4 ศาสนา 12 5 จานวนประชากร จาแนกตามสถานะรา่ งกาย 13 6 รายไดเ้ ฉล่ยี ของครวั เรือนจังหวัดแพร่ 13 7 รายจา่ ยเฉล่ียของครวั เรอื นจังหวดั แพร่ 14 8 ความสขุ เฉล่ยี ของครัวเรือนจงั หวัดแพร่ 15 9 ครัวเรือนตกเกณฑด์ ้านรายได้ ทีต่ ่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี 15 10 หมวดที่ 1 สขุ ภาพ 16 11 หมวดที่ 2 สภาพแวดลอ้ ม 17 12 หมวดท่ี 3 การศกึ ษา 17 13 หมวดที่ 4 การมงี านทาและมีรายได้ 18 14 หมวดท่ี 5 ค่านยิ ม 18 15 ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 เด็กแรกเกดิ มนี า้ หนัก 2,500 กรัม ข้ึนไป 19 16.1 ตัวชี้วัดท่ี 2 เด็กแรกเกดิ ไดก้ นิ นมแม่อย่างเดียวอย่างนอ้ ย 6 เดอื นแรกติดต่อกัน 20 16.2 ตวั ชี้วัดที่ 3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉดี วคั ซีนปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสรมิ 20 16.3 ภูมคิ ุม้ กนั โรค 21 ตัวชว้ี ัดท่ี 4 ครัวเรือนกินอาหารถกู สขุ ลกั ษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน 16.4 ตัวชี้วดั ที่ 5 ครัวเรือนมกี ารใช้ยาเพอ่ื บาบดั บรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ยเบ้อื งตน้ อยา่ งเหมาะสม 21 16.5 ตัวชว้ี ดั ที่ 6 คนอายุ 35 ปขี ้นึ ไปไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจาปี 22 16.6 ตัวชว้ี ัดที่ 7 คนอายุ 6 ปีขึน้ ไป ออกกาลงั กายอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 วันละ 30 นาที 22 16.7 ตัวช้ีวัดที่ 8 ครัวเรอื นมีความมั่นคงในทอี่ ยู่อาศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร 23 17.1 ตัวชว้ี ดั ที่ 9 ครัวเรอื นมนี ้าสะอาดสาหรับดื่มและบริโภคเพยี งพอตลอดปี 23 17.2 ตวั ชี้วดั ท่ี 10 ครัวเรือนมีน้าใช้เพยี งพอตลอดปี 24 17.3 ตวั ชี้วัดท่ี 11 ครัวเรอื นมกี ารจดั บา้ นเรือนเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย สะอาด และถูกสุขลกั ษณะ 24 17.4 ตัวชีว้ ดั ที่ 12 ครัวเรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ 25 17.5 ตัวชี้วัดที่ 13 ครัวเรือนมีการป้องกันอบุ ัตภิ ัยและภัยธรรมชาติอยา่ งถูกวธิ ี 25 17.6 ตัวช้ีวัดที่ 14 ครัวเรอื นมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ นิ 26 17.7 ตวั ชี้วัดท่ี 15 เดก็ อายุ 3 - 5 ปีเต็ม ได้รบั การเล้ียงดูเตรยี มความพร้อมก่อนวัยเรียน 26 18.1 ตัวช้วี ัดที่ 16 เด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี 27 18.2 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 17 เด็กจบช้นั ม.3 ไดเ้ รียนตอ่ ช้นั ม.4 หรอื เทยี บเทา่ 27 18.3 ตวั ชี้วดั ท่ี 18 คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ท่ไี มไ่ ด้เรยี นต่อและยังไมม่ ีงาน 28 18.4 ทา ไดร้ บั การฝึกอบรมดา้ นอาชีพ 28 ตัวชีว้ ดั ที่ 19 คนอายุ 15 – 59 ปี อ่านเขียนภาษาไทยและคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ 18.5 29

สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 19.1 ตัวช้ีวดั ที่ 20 คนอายุ 15- 59 ปี มีอาชพี และมีรายได้ 29 19.2 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 21 คนอายมุ ากกวา่ 60 ปขี น้ึ ไป มีอาชีพและมรี ายได้ 30 19.3 ตวั ชี้วัดที่ 22 รายได้เฉลย่ี ของคนในครัวเรือนตอ่ ปี 30 19.4 ตวั ชี้วัดท่ี 23 ครัวเรอื นมกี ารเก็บออมเงิน 31 20.1 ตัวช้ีวดั ที่ 24 คนในครัวเรือนไมด่ มื่ สุรา 31 20.2 ตวั ชี้วัดที่ 25 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหร่ี 32 20.3 ตัวช้ีวัดท่ี 26 คนอายุ 6 ปขี ้นึ ไป ปฏิบตั ิกจิ กรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 คร้งั 32 20.4 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 27 คนสูงอายุ ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 33 20.5 ตวั ชว้ี ดั ที่ 28 คนพิการ ไดร้ ับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน 33 20.6 ตัวชี้วัดท่ี 29 ผปู้ ว่ ยโรคเร้อื รัง ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน 34 20.7 ตวั ชี้วดั ที่ 30 ครัวเรือนมีส่วนร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องชุมชนหรอื 34 ทอ้ งถน่ิ 20.8 ตัวชว้ี ัดท่ี 31 ครอบครวั มีความอบอ่นุ 35 21 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ฯ ตามเกณฑช์ ว้ี ดั 31 ตัวช้ีวัด ในแต่ละอาเภอ 35 22 หมวดที่ 1 สขุ ภาพ 40 23 หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม 43 24 หมวดท่ี 3 การศึกษา 44 25 หมวดท่ี 4 การมีงานทาและมรี ายได้ 45 26 หมวดที่ 5 ค่านยิ ม 47

บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ ำร กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพฒั นาชุมชนรบั ผดิ ชอบการบริหารการ จัดเกบ็ ข้อมลู ความ จาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) เป็นประจาทุกปี ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560- 2564) ซ่ึงมีการกาหนดเคร่ืองช้ีวัดและแบบสอบถามข้อมูลใหม่ โดยได้กาหนดห้วงระยะเวลาในการ ดาเนินการระหว่างเดือนธันวาคม 2560- มีนาคม 2561 น้ัน กระทรวงมหาดไทย ได้กาหนดเป็นนโยบาย ของกระทรวงฯ ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดเก็บและใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ของประชาชนให้บรรลุ ความจาเป็นพื้นฐานและส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรับรู้ ปัญหาทราบสาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆตลอดจนวางแผนพัฒนาในทุกระดับอย่างเป็นระบบของทุก ภาคสว่ น โดยเฉพาะองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ตาบล อาเภอ และจังหวัด โดยมีนัยสาคัญ 2 ประการคือ 1.การจัดเก็บขอ้ มูลในเขตเมือง หมายถึงการสารวจและจดั เก็บขอ้ มูลในเขตเทศบาลเมือง และเทศบาลตาบลทย่ี กฐานะมาจากสุขาภิบาลและเทศบาลทีต่ ั้งข้ึนแห่งแรก 2.การจัดเก็บข้อมูลในเขตชนบท หมายถึง การสารวจและจัดเก็บข้อมูลในเขตองค์การบริหารส่วน ตาบล และเทศบาลตาบลทยี่ กฐานะมาจากองค์การบริหารสว่ นตาบล (อบต.) จังหวดั แพร่ มีเป้าหมายในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวน 117,806 ครัวเรอื น จานวน 8 อาเภอ 78 ตาบล 726 หมู่บ้าน/ชุมชน จากทุกครัวเรือน ท่ีมีผู้อาศัยอยู่จริงท้ังมีบ้านเลขที่และไม่มี บ้านเลขท่ี และต้องอยตู่ ดิ ตอ่ กันไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน ผลการจดั เก็บขอ้ มูลฯ ปรากฏวา่ สามารถจดั เก็บขอ้ มูลฯ ทงั้ หมด จานวน 118,050 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.21 ทุกอาเภอสามารถบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ได้เกินเป้าหมายการจัดเก็บข้อมูลใน ภาพรวมท้งั หมด โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1.จำนวนครัวเรือนและประชำกร จังหวัดแพร่ มีครัวเรือนทั้งส้ิน จานวน 118,050 ครัวเรือน มีประชากร จานวน 310,447 คน แยก เป็น ชาย 149,659 คน หญิง 160,788 คน อาเภอเมืองแพร่ จะมีครัวเรือนและประชากรสูงที่สุด ร้อยละ 25.74 รองลงมาคืออำเภอสูงเม่น อำเภอลอง อำเภอสอง อำเภอวังชิ้น อำเภอร้องกวำง อำเภอเด่นชัย และ อำเภอหนองม่วงไข่ จะมีครัวเรือนและประชากรเบาบาง ท่ีสุด ร้อยละ 4.71 เม่ือจาแนกตามเพศ จะเห็นว่า เพศหญิงมากกวา่ เพศชาย 3. ช่วงอำยุ จากข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) พบว่า ประชากรในช่วงอายุ 19-59 ปีเต็ม ซึ่งเป็นวัยทางาน จานวน 181,645 คน คิดเป็นร้อยละ 58.5 แต่ขณะเดียวกัน ประชากรท่ีมีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป มีถึง 84,105 คน คิดเปน็ ร้อยละ 27.09 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 1 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

4. ระดับกำรศกึ ษำ จากข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) พบว่า ประชากรส่วนมาก ร้อยละ 48.14 กาลังเรียนและจบ การศึกษาจากชั้นประถมศึกษา รองลงมา จบช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 14.07 และ จบช้ัน มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ร้อยละ 12.99 ตามลาดบั มีเพียงรอ้ ยละ 11.88 ท่ีจบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป 5. อำชีพ จากขอ้ มูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) พบวา่ ประเภทอาชีพทป่ี ระชากรประกอบอาชพี มากทสี่ ุดคอื อาชพี รับจ้างทว่ั ไป รอ้ ยละ 31.89 รองลงไป คืออาชีพเกษตรกรรม จงั หวดั แพร่ มีประชากรท่ปี ระกอบอาชีพ เกษตรกรรม รอ้ ยละ 22.79 และมีผู้ที่ไม่มีอาชีพ สงู ถงึ รอ้ ยละ 8.16 6. ศำสนำ ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.38 รองลงมาเป็นศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.60 และศาสนาอสิ ลาม ร้อยละ 0.02 ตามลาดับ 7. ระดบั ควำมสุขของคนในครวั เรือน โดยความสุขของคนในครัวเรือน สูงสุดมีค่าท่ี 10 คะแนน จังหวัดแพร่ มีความสุขเฉลี่ยในครัวเรือน 8.05 อาเภอท่ีมีความสุขท่ีสุดคืออาเภอสูงเม่น 8.25 และอาเภอที่มีความสุขน้อยที่สุดคืออาเภอสอง 7.82 แต่เม่ือเทียบกับระดับความสุขปี 2560 คนจงั หวัดแพร่ จะมีความสุขเพม่ิ ขนึ้ (ปี 2560 ระดับความสุข 7.92 ปี 2561 ระดับความสุข 8.05) 8 รำยไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ คนตอ่ ปี รายได้เฉล่ียของคนจังหวัดแพร่ ปี 2560 จานวน 72,484.84 บาท/คน/ ปัจจุบันรายได้เฉลี่ยของ จงั หวัดแพร่ ปี 2561 จานวน 76,470.18 บาท/คน/ปี ซึ่งเพมิ่ ขึ้นจากปี 2560 จานวน 3,985.34 บาท จากผล สารวจ อาเภอเมืองแพร่ มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงท่ีสุด 90,270.15 บาท และอาเภอวังช้ินมีรายได้ต่าสุด 56,619.58 บาท 9 รำยจ่ำยเฉล่ียต่อคนต่อปี รายจ่ายของครัวเรือนรายจ่ายเฉล่ียของคนแพร่ ปี 2561 จานวน 46,714.78 บาท/คน/ปี โดยที่ อาเภอ มีรายจ่ายเฉล่ียต่อคนต่อปีสูงท่ีสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่อาเภอเมืองสูงเม่น จานวน 51,598.11 บาท รองลงมาคืออาเภอเมืองแพร่ 50,982.93 บาท และอาเภอร้องกวาง 49,923.97 บาท ตามลาดับ สาหรับ อาเภอวังช้ิน จะมีรายจ่ายต่อคนต่อปี ต่าที่สุดที่ 33,079.61 บาท และประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดแพร่ ใช้จ่ายในเร่ืองอุปโภคบริโภคที่จาเป็นสูงถึง 65,971.31 บาท รองลงมาเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต จานวน 22,509.29 และชาระหนี้สิน จานวน 19,071.56 ตามลาดับ เมอื่ คิดเป็นครัวเรือน คา่ ใช้จา่ ยครัวเรือน เฉลีย่ 122,850.18 บาทต่อปี 10. จำนวนครัวเรอื นีต่ี กเกฑ์รรำยไดเ้ ฉลี่ยคนละ 380000 บำีต่อปี จังหวัดแพร่ มีครัวเรือนท่ีมีรายได้เฉล่ียต่อคนต่อปี ต่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี จานวน 257 ครัวเรือน แยกเป็น อาเภอเมืองแพร่ จานวน 114 ครัวเรือน อาเภอร้องกวาง จานวน 10 ครัวเรือน รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 2 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

อาเภอลอง จานวน 44 ครัวเรือน อาเภอสูงเม่น จานวน 20 ครัวเรือน อาเภอเด่นชัย จานวน 29 ครัวเรือน อาเภอสอง จานวน 20 ครัวเรือน อาเภอวังช้ิน จานวน 16 ครัวเรือน และอาเภอหนองม่วงไข่ จานวน 4 ครวั เรอื น 11. ร้อยละของตวั ช้ีวัดีีต่ กเกฑ์เร รยี งลำดับจำกมำกไปน้อย 3 อนั ดับแรก จากการจัดเก็บข้อมูล จานวน 5 หมวด 31 ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัดท่ีต้องแก้มากที่สุดเรียงจากมากไปหา น้อยไดแ้ ก่ ตวั ชวี้ ดั ที่ 24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสรุ า คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.67 ตัวชี้วัดท่ี 25. คนในครวั เรือนสบู บหุ รี่ คิดเป็นร้อยละ 6.16 ตัวชวี้ ัดที่ 21. คนอายุ 60 ปขี น้ึ ไป ไมม่ ีอาชีพหรือมรี ายได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.82 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 3 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2561 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 4 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลความจาเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) ปี 2561 ควำมปรำรถนำอันสูงสุดของมนุษย์ก็คือ กำรมีคุณภำพชีวิตที่ดี นอกจำกจะให้บังเกิดข้ึนแก่ 5 ตนเองแล้ว เรำยังหวังท่ีจะให้เกิดแก่ครอบครัว เครือญำติ และบุคคลอ่ืนๆ ในสังคมและประเทศชำติโดย ส่วนรวมด้วย ปัจจุบันคุณภำพชีวิตได้รับกำรกำหนดให้เป็นเป้ำหมำยสูงสุดในกำรพัฒนำประเทศ ดังนั้น เป้ำหมำยทุกด้ำนไม่ว่ำจะในด้ำนสังคม เศรษฐกจิ กำรปกครอง ฯลฯ ลว้ นมุง่ เนน้ ไปส่กู ำรมีคณุ ภำพชีวติ ทด่ี ขี อง มนุษยใ์ นสังคม คณุ ภำพชีวิต เป็นส่ิงที่มีคุณค่ำ มีควำมสำคัญและจำเป็นต่อบุคคลและสังคม เป็นส่ิงท่ีมนุษย์ สำมำรถกำหนดกำรสร้ำงเกณฑ์มำตรฐำนเพ่ือให้ระดับกำรมีคุณภำพชีวิตท่ีดีข้ึนได้ และเพ่ือกำรทำให้กำร พัฒนำตนเอง และสังคมไปสู่เป้ำหมำยที่ปรำรถนำ บุคคลแต่ละคนและแต่ละครอบครัว จึงมีกำรพัฒนำ ตนเองในดำ้ นกำรศกึ ษำ กำรมีแนวคิดและเจตคติทีด่ ี กำรรู้จักบริหำรตนเอง กำรมีควำมเออื้ อำทรตอ่ บคุ คลอ่ืน กำรมีอำชีพ มีรำยได้ มีคุณธรรมและศีลธรรม ฯลฯ หำกทุกคนในสังคมสำมำรถปฏิบัติได้เช่นน้ี ก็เท่ำกับว่ำ สำมำรถช่วยยกระดับทั้งของตนเองและสังคมให้มีคุณค่ำ มีควำมเจริญงอกงำม พัฒนำไปสู่สังคมอุดมคติ ปัญหำต่ำงๆ ในสังคมจะลดลงหรือหมดไป เช่น ปัญหำครอบครัว ปัญหำเศรษฐกิจ ปัญหำโสเภณี ปัญหำ อำชญำกรรม ปัญหำมลภำวะเป็นพิษ ฯลฯ ดังน้ัน ประเทศต่ำงๆ จึงให้ควำมพยำยำมอย่ำงเต็มที่ในกำรท่ีจะ พัฒนำและปรับปรุงคุณภำพชีวิตของประชำชนให้สูงข้ึนจนถึงระดับมำตรฐำนที่สังคมต้องกำร ทั้งน้ี เพื่อช่วย ใหส้ มำชกิ ในสังคมทกุ คนมีควำมกินดี อย่ดู ี มคี วำมสขุ สมบรู ณ์ กำรนิยำมคำว่ำ “คุณภำพชีวิต” ให้มีควำมหมำยเป็นที่ยอมรับอย่ำงเป็นหน่ึงเดียวกันเป็น เร่ืองยำก เพรำะแต่ละคนหรือสังคมต่ำงมีมุมมองในเรื่องกำรมีชีวิตที่แตกต่ำงกัน บำงคนมองคุณภำพชีวิตใน มิติเดียว บำงคนมองในหลำยมิติ ซึ่งมิติที่มองเหล่ำนั้นมีบำงอย่ำงท่ีอำจเหมือนหรือแตกต่ำงกัน ขึ้นอยู่กับกำร รับรู้ และประสบกำรณ์ตลอดจนควำมเชื่อต่ำงๆ ท่ีแต่ละบุคคลยึดถือ ในอดีตกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตมักถูก มองว่ำ เป็นเรื่องเศรษฐกิจ มุ่งเน้นในเร่ืองให้มีรำยได้เพียงพอ เพื่อนำมำใช้จ่ำยให้เกิดควำมสะดวกสบำย ทำงด้ำนวัตถแุ ละกำรกินดีอยู่ดีเป็นสำคัญ หรอื บำงคนมองว่ำ คุณภำพชีวิตเป็นเรื่องของกำรมสี ุขภำพอนำมยั ท่ี ดี แต่ต่อมำ ได้มีกำรรับรู้ร่วมกนั ในระดับหน่ึงวำ่ ควำมเป็นอยู่ที่ดีในสังคมหน่ึงๆ ไม่ควรถูกมองในแง่เศรษฐกิจ หรือสุขภำพเพียงด้ำนเดียวเท่ำนั้น แต่มีแง่มุมอ่ืนท่ีควรได้รับกำรพิจำรณำร่วมด้วย เช่น คุณภำพท่ีอยู่อำศัย ควำมพึงพอใจในชีวิต/หน้ำท่ีกำรงำน ส่ิงแวดล้อม กำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมือง กำรมีส่วนร่วมทำงสังคม ตลอดจนควำมสัมพันธ์ทำงสังคมของสมำชิกในสังคมน้ัน ซ่ึงในแต่ละด้ำนควรมองท้ังในมิติเชิงปริมำณและมิติ เชิงคุณภำพ เช่น ด้ำนสุขภำพอนำมัยในเชิงปริมำณ ได้แก่ กำรมีชีวิตยืนยำว กำรได้รับประทำนอำหำร เพยี งพอ คนสงู อำยุ มคี นดแู ล ในเชิงคุณภำพ ไดแ้ ก่ กำรมชี ีวิตยนื ยำวทมี่ ีควำมสขุ เปน็ ตน้ กำรพฒั นำคณุ ภำพชีวิตตำมแนวคิดควำมจำเปน็ พนื้ ฐำน : จปฐ. (Basic Minimum Needs : BMN) ซงึ่ มพี ้ืนฐำนควำมคดิ ท่ตี ้องกำรให้เกิดควำมเสมอภำคในกำรกระจำยทรัพยำกรและบริกำรพ้ืนฐำนไปยัง ประชำชนท่ียำกจนในท้องถ่ินห่ำงไกล เพอื่ ให้บรรลุถึงควำมจำเป็นพื้นฐำนที่กำหนดไว้ในช่วงเวลำหน่งึ ๆ ซึ่งได้ ใหแ้ นวทำงในกำรกำหนดควำมจำเป็นพ้นื ฐำนไว้ 2 ประกำร คอื ประกำรแรก ควำมจำเป็นพื้นฐำน หมำยถึง ส่งิ ต่ำงๆ ท่ีจำเป็นสำหรับครอบครัว เช่นอำหำร เครอ่ื งนุง่ หม่ ที่พกั อำศยั และขำ้ วของเครื่องใช้ตำ่ งๆ ภำยในบ้ำน รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ประกำรที่สอง ควำมจำเป็นพ้ืนฐำน หมำยถึง กำรบริกำรท่ีจำเป็นต่ำงๆ ท่ีชุมชนเป็นผู้จัดหำ ให้แกป่ ระชำชนในชุมชน เชน่ นำ้ สะอำด กำรสุขำภิบำล กำรขนส่งมวลชน กำรสำธำรณสขุ และกำรศึกษำ จะเห็นได้ว่ำ กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตตำมแนวคิดควำมจำเป็นพื้นฐำน เป็นกำรพัฒนำ คุณภำพชีวิต ที่มอง “คน” อย่ำงเป็นองค์รวมพร้อมทุกด้ำน ทั้งสุขภำพร่ำงกำย จิตใจ ชีวิตควำมเป็นอยู่ ทั้ง ดำ้ นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซ่ึงทำให้แนวคดิ นีเ้ ป็นที่ยอมรับและแพรห่ ลำย ข้อมูลความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) คอื อะไร ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภำพควำม จำเป็นพื้นฐำนของคนในครัวเรือนในด้ำนต่ำง ๆ เก่ียวกับคุณภำพชีวิตที่ได้กำหนดมำตรฐำนข้ันต่ำเอำไว้ว่ำ คนควรจะมีคณุ ภำพชวี ติ ในแตล่ ะเรอื่ งอย่ำงไรในช่วงระยะเวลำหน่งึ ๆ ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลท่ีแสดงถึงลักษณะของสังคมไทย ที่พึงประสงค์ ตำมเกณฑ์มำตรฐำนขน้ั ต่ำของเคร่อื งชวี้ ัดว่ำ อย่ำงน้อยคนไทยควรจะมีระดับควำมเป็นอยไู่ ม่ต่ำ กว่ำระดับไหน ในช่วงระยะเวลำหนึ่งๆ และทำให้ประชำชนสำมำรถทรำบได้ด้วยตนเองว่ำ ในขณะน้ีคุณภำพ ชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้ำนอยู่ในระดับใด มีปัญหำท่ีจะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้ำง เป็นกำร สง่ เสริมใหป้ ระชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำตนเอง ครอบครัว และสังคม อนั เป็นนโยบำยสำคัญในกำร พฒั นำชนบทของประเทศ หลกั การสาคัญของข้อมลู ความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) หลักกำรสำคัญในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตคนไทยตำมแนวคิดควำมจำเป็นพ้ืนฐำนมี 3 ประกำร คือ 1. กำรนำเคร่ืองชี้วัดควำมจำเป็นพื้นฐำน (จปฐ) มำใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมกระบวนกำร เรียนรู้ของประชำชน เพ่ือให้ประชำชนทรำบถึงสภำพควำมเป็นอยู่ตนเองและชุมชนว่ำบรรลุตำมเกณฑ์ควำม จำเปน็ พน้ื ฐำนแลว้ หรือไม่ 2. สง่ เสริมให้ประชำชนมีสว่ นร่วมในกำรพฒั นำโดยผ่ำนกระบวนกำร จปฐ. ซ่ึงเริ่มตั้งแต่กำร จัดเก็บข้อมูล และกำรนำข้อมูลที่จัดเก็บได้พร้อมท้ังข้อมูลกำรประเมินผลกำรดำเนินงำนท่ีผ่ำนมำมำใช้ ประโยชน์ ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรกำหนดปัญหำควำมต้องกำรท่ีแท้จริงของชุมชน ตลอดจนค้นหำ สำเหตแุ ละ แนวทำงแก้ไขปญั หำทเ่ี กิดข้นึ 3. กำรนำขอ้ มลู จปฐ. มำเป็นแนวทำงในกำรคัดเลือกโครงกำรตำ่ งๆ ของรัฐให้สอดคล้องกับ สภำพปัญหำที่แท้จริงของชุมชน สำมำรถใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำกัดได้อย่ำงท่ัวถึงและมีประสิทธิภำพ รวมทง้ั กำรประสำนระหวำ่ งสำขำในด้ำนกำรปฏบิ ตั ิมำกขึน้ วัตถปุ ระสงค์ของข้อมลู ความจาเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) เพ่ือให้ประชำชนสำมำรถพัฒนำชีวิตควำมเป็นอยู่ของตนเองและครอบครัว ให้มีคุณภำพ ชวี ติ ที่ดีอย่ำงน้อยผำ่ นเกณฑค์ วำมจำเป็นพื้นฐำน โดยมเี คร่อื งช้ีวัดควำมจำเปน็ พื้นฐำน (จปฐ.) เป็นเคร่อื งมอื จดุ มงุ่ หมายของการใชเ้ คร่ืองชี้วดั ความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) 1. มุ่งกระตุ้นใหป้ ระชำชนเขำ้ มำมีส่วนร่วมตัง้ แต่กำรรับรู้เรือ่ งคุณภำพชวี ติ โดยใชเ้ ครื่องชี้วัด ควำมจำเป็นพ้ืนฐำน เป็นตัวบ่งช้ี ส่งเสริมประสิทธิภำพขององค์กรประชำชนในกำรจัดเก็บข้อมูล กำหนด ปัญหำของหมู่บ้ำน/ชุมชน หำสำเหตุและแนวทำงแก้ไขปัญหำ รวมทั้งวำงแผนงำน/โครงกำรในกำรแก้ไข ปัญหำของหม่บู ำ้ น/ชมุ ชน ไดอ้ ย่ำงถกู ตอ้ ง 2. ใช้เป็นเคร่ืองกำหนดเป้ำหมำยในกำรพัฒนำ โดยประชำชนและเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ จะยึด เป้ำหมำยร่วมกันในกำรพัฒนำ ซ่ึงเคร่ืองช้ีวัดท่ียังไม่บรรลุเป้ำหมำยท่ีตั้งไว้ จะได้หำแนวทำงแก้ไข จัดทำเป็น รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 6 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

โครงกำร กิจกรรมต่ำงๆ ในกำรที่จะแก้ไขปัญหำน้ันๆ หรือสำมำรถทำให้บรรลุเป้ำหมำยได้ในระยะเวลำท่ี กำหนด 3. ใช้เป็นเครื่องมือในกำรประเมินผลกำรพัฒนำ โดยสำมำรถวัดผลกำรดำเนินงำนพัฒนำ ชนบทในแตล่ ะปี ว่ำสำมำรถยกมำตรฐำนคณุ ภำพชีวิตได้มำกนอ้ ยเพยี งใด ในเรือ่ งอะไรบ้ำง และยังจะตอ้ งเน้น ในเรอื่ งอะไรต่อไปอกี โดยใช้เครือ่ งชีว้ ัดควำมจำเป็นพน้ื ฐำน (จปฐ.) เปน็ ตวั กำหนด จะเห็นไดว้ ำ่ หวั ใจของกำร จดั เกบ็ ข้อมูล จปฐ. แท้จริงแล้วอยู่ที่ “ประชำชน” ที่สำมำรถทรำบปัญหำของ “ตนเอง” เวลำท่ีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ประชำชนจะทรำบทันทีว่ำ “เขำมีคุณภำพชีวิตเป็นอย่ำงไร ขำดข้อใด” โดยข้อมูลควำมจำเป็นพ้ืนฐำน (จปฐ.) เป็นเสมือนตัวบ่งชี้ท่ีสำมำรถช่วยในกำรปรับปรุงตนเอง คำว่ำ “ตนเอง” ในที่น้ียังหมำยรวมถึง “หมู่บ้ำน/ชุมชน ตำบล อำเภอ และจังหวัด” อีกด้วย เพรำะกำรจัดเก็บและประมวลผล จปฐ. จะมีกำรนำ ข้อมลู มำสรุปภำพรวมในแตล่ ะระดับ ตั้งแต่หมูบ่ ำ้ น/ชมุ ชน ตำบล อำเภอ จงั หวัด ภำค และประเทศ ประโยชนใ์ นการใช้ ข้อมูลความจาเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) เปน็ เคร่ืองมอื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต กำรใช้ จปฐ. ในกำรพัฒนำชนบทมีประโยชน์อย่ำงกว้ำงขวำง ซ่ึงสำมำรถสรปุ ได้ดังนี้ ระดบั ชาติ ใชเ้ ป็นเครื่องมือในกำรกำหนดนโยบำยพัฒนำด้ำนสังคม ของกำรพัฒนำประเทศ อดีตประชำชนในเมืองจะมีโอกำสได้รับกำรพัฒนำมำกกว่ำประชำชนในชนบท เมื่อมีกำรนำ จปฐ. มำใช้ ทรัพยำกรเพ่ือพัฒนำ รวมถึงกำลังคน งบประมำณและกำรบรหิ ำรจัดกำรต่ำงๆ จะมงุ่ เน้นไปยังประชำชนท่ียัง ไม่ผ่ำนเกณฑ์ จปฐ. ซ่ึงส่วนมำกจะเป็นชำวชนบท โดยกำหนดเป็นนโยบำยของชำติ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงำนต่ำงๆ ที่ต้องยึดหลักกำร กำรจัดสรรทรัพยำกร เพื่อให้สอดคล้องหรือสนองตอบตำมควำม ต้องกำรของประชำชนอย่ำงแท้จริง จึงทำให้หมู่บ้ำนในชนบทท่ีไม่ผ่ำนเกณฑ์ จปฐ. มีโอกำสได้รับกำรพัฒนำ มำกขนึ้ ทำให้ชอ่ งว่ำงกำรพัฒนำหมูบ่ ้ำน/ชุมชน ในเมอื งกับชนบทแคบลง และมผี ลทำให้ประชำชนในชนบทมี คุณภำพชีวิตดขี ้นึ กวำ่ ในอดตี เปน็ อยำ่ งมำก ระดับบริหารและปฏิบัติงาน 1. ใช้กำหนดแผนพัฒนำให้สอดคลอ้ งกับควำมต้องกำรของประชำชน แผนพัฒนำในอดีตมักถูกกำหนดจำกระดับบนลงสู่ระดับล่ำง ซ่ึงมีบำงโครงกำรท่ีไม่ สนองตอบควำมต้องกำรที่แท้จริงของประชำชน ประชำชนมีควำมรู้สึกว่ำถูกยัดเยียดให้ยอมรับในโครงกำร ต่ำงๆ ที่รัฐดำเนินกำรจึงนำไปสู่ควำมล้มเหลวในกำรพัฒนำ แต่กำรใช้ จปฐ. ซึ่งได้กำหนดควำมต้องกำรและ ปัญหำของประชำชนโดยประชำชน ทำให้ผู้บริหำรทุกระดับสำมำรถใช้ จปฐ. เป็นเคร่ืองมือในกำรกำหนด แผนงำน โครงกำรและกิจกรรมของแต่ละหน่วยงำนให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำง แทจ้ ริง 2. กอ่ ให้เกิดกำรปฏบิ ัตงิ ำนแบบบูรณำกำร แนวคิดในกำรบูรณำกำรงำนร่วมกันของแต่ละกระทรวงน้ันมีมำนำนแล้ว แต่กำรปฏิบัติ ให้บังเกิด ผลยังเป็นส่ิงท่ียำกลำบำก เจ้ำหน้ำที่ของรัฐทุกระดับของแต่ละกระทรวง แต่ละสำยงำนยังยึด นโยบำยและสำยงำนของตนเอง โดยเฉพำะระดับล่ำงหรือระดับตำบล หมู่บ้ำน แต่เม่ือได้นำ จปฐ. มำใช้ทุก หน่วยงำนจะเกิดกำรประสำนงำนกันอย่ำงแท้จริง เพรำะว่ำทุกหน่วยงำนจะมองปัญหำเดียวกัน และนำไปสู่ กำรทำงำนร่วมกนั ทำใหก้ ำรบูรณำกำรของหนว่ ยรำชกำรเป็นจรงิ มำกยงิ่ ขน้ึ ระดับประชาชน 1. ประชำชนตระหนกั ถงึ ปญั หำพ้นื ฐำนของตนเอง กำรส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำและสำมำรถพ่ึงตนเองได้ ในที่สุด ถึงเป็นเป้ำหมำยสุดท้ำยของกำรพัฒนำ ซ่ึงกำรใช้ จปฐ. จะทำให้ประชำชนเร่ิมต้นค้นหำปัญหำด้วย รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 7 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตนเอง โดยประชำชน จะเป็นผู้ร่วมสำรวจ และทรำบปัญหำพ้ืนฐำนของครอบครัวตนเอง ของหมู่บ้ำนของตน จดุ น้เี องท่ีจะเป็นเครื่องกระต้นุ ให้ประชำชนไดเ้ กดิ ควำมตระหนกั ในปัญหำของตนเองที่ตอ้ งชว่ ยกันแก้ไข 2. กำรมสี ่วนร่วมของชมุ ชนในกำรแก้ปัญหำ เม่ือประชำชนตระหนักถึงปัญหำของตนเองแล้ว ควำมคิดในกำรที่จะแก้ไขปัญหำ เหล่ำน้ันย่อมตำมมำ เพรำะใน จปฐ. ประชำชนสำมำรถวิเครำะห์ได้ว่ำปัญหำเหล่ำน้ัน มีปัญหำใดบ้ำงท่ีเขำ สำมำรถแก้ไขได้ด้วยตนเอง ร่วมมือกับรัฐ/ท้องถ่ิน หรือรัฐ/ท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินกำรให้ ซ่ึงจะทำให้ประชำชน ได้เขำ้ มำมีบทบำท มีส่วนรว่ มในกำรแก้ไขปัญหำของชมุ ชนมำกข้ึน 3. ประเมนิ ผลกำรพัฒนำ กำรประเมินผลกำรพัฒนำท่ีผ่ำนมำ มักจะทำกันโดยเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐเป็นส่วนใหญ่ แต่ กำรพัฒนำชนบทโดยใช้ จปฐ. จะทำให้ประชำชนสำมำรถประเมินผลกำรพัฒนำหมู่บ้ำนของตนเองได้ทุกปี เพรำะมกี ำรจัดเก็บขอ้ มูล จปฐ. ทุกครวั เรอื น ทกุ ปี รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 8 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ส่วนที่ 2 รายงานคณุ ภาพชีวติ ของคน จงั หวดั แพร่ รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 9 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

สว่ นที่ 2 รายงานคุณภาพชวี ติ ของคนจงั หวดั แพร่ รายงานคุณภาพชวี ิตของคนจงั หวดั แพร่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล : จำกกำรจัดเก็บข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.) ปี 2561 ซึ่ง จัดเก็บข้อมูล จปฐ. ท้ังในเขตชนบท และเขตเมือง ของจังหวัดแพร่ จำนวน 118,050 ครัวเรือน ในจำนวน 8 อำเภอ 78 ตำบล 726 หมู่บ้ำน/ชุมชน พบว่ำมีประชำกรทั้งสิ้น 310,447 คน แยกเป็นชำย 149,659 คน หญิง 160,788 คน มีรำยได้เฉล่ีย 76,470.18 บำทต่อคนต่อปี และมีครัวเรือนท่ีไม่ผ่ำนเกณฑ์รำยได้เฉลี่ย 38,000 บำทตอ่ คนต่อปี จำนวน 257 ครัวเรือน ประชำกรจังหวัดแพร่ ช่วงอำยุที่มีจำนวนประชำกรมำกท่ีสุด คือ อำยุ 60 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 27.09 รองลงมำคอื อำยุ 35 ปีเต็ม ถึงอำยุ 49 ปี และอำยุ 50 ปเี ต็ม ถึงอำยุ 59 ปี ตำมลำดับ และช่วงอำยุท่ี มีจำนวนประชำกรน้อยที่สุด คือ ช่วงอำยุน้อย 1 เดือน ถึง 5 เดือน ร้อยละ 0.11 รองลงมำคือ อำยุ 6 เดือน ถึง 1 ปี 0 เดือน และอำยุ 1 ปี 1 เดอื น ถึง 2 ปี ตำมลำดับ  ข้อมูล จปฐ. ปี 2561 จัดเก็บจำกครัวเรือนท่ีอำศัยอยู่จริงในเขตพ้ืนท่ี ทั้งในเขตชนบท และเขต เมือง ในพื้นที่ 8 อำเภอ 78 ตำบล 726 หมู่บ้ำน พบว่ำมีครัวเรือนท้ังหมด จำนวน 118,050 ครัวเรือน มีประชำกร ทัง้ ส้ินจำนวน 310,447 คน แยกเป็นชำย จำนวน 149,659 คน เปน็ หญงิ จำนวน 160,788 คน ตารางท่ี 1. จานวนครวั เรือน แยกตามรายอาเภอ (ข้อมลู จปฐ.) อาเภอ พนื้ ที่ จานวนครัวเรอื น คิดเป็นร้อยละ ตาบล หมบู่ า้ น เมืองแพร่ 20 184 30,384 25.74 10,945 9.28 รอ้ งกวำง 11 93 14,490 12.28 21,792 18.46 ลอง 9 90 9,741 8.26 13,550 11.48 สูงเมน่ 12 110 11,596 9.83 เด่นชัย 5 52 สอง 8 85 วังชน้ิ 7 77 หนองม่วงไข่ 6 35 5,552 4.71 รวม 78 726 118,050 100.00 อำเภอเมืองแพร่ มีจำนวนครัวเรือนมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 25.74 รองลงมำ คือ อำเภอสูงเม่น อำเภอลอง อำเภอสอง อำเภอวังช้ิน อำเภอร้องกวำง อำเภอเด่นชยั และอำเภอหนองม่วงไข่ ตำมลำดับ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 10 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางท่ี 2. จานวนประชากร อาเภอ พ้ืนท่ี จานวนประชากร คดิ เป็น ตาบล หม่บู ้าน เพศชาย (คน) เพศหญิง (คน) รวม (คน) รอ้ ยละ เมอื งแพร่ 20 184 39,124 44,083 83,207 26.81 13,736 14,788 28,524 9.19 รอ้ งกวำง 11 93 20,119 20,729 40,848 13.16 27,949 30,380 58,329 18.79 ลอง 9 90 12,320 12,765 25,085 8.08 14,488 14,674 29,162 9.40 สงู เมน่ 12 110 15,270 15,670 30,940 9.97 6,653 7,699 14,352 4.63 เด่นชยั 5 52 149,659 160,788 310,447 100.00 สอง 8 85 วังชน้ิ 7 77 หนองมว่ งไข่ 6 35 รวม 78 726 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 11 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 3. ระดบั การศกึ ษา จำกข้อมูลควำมจำเป็นพ้ืนฐำน (จปฐ.) พบว่ำ ประชำกรส่วนมำก จำนวน 149,466 คน จบกำรศึกษำช้ัน ประถมศึกษำ คิดเป็นร้อยละ 48.09 รองลงมำ จบชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 43,679 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.07 และจบ ชน้ั มัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 40,339 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.99 ตำมลำดับ และมี 36,884 คน ที่จบกำรศึกษำระดับปริญญำ ตรีข้ึนไป คิดเปน็ ร้อยละ 11.88 ตารางท่ี 4. อาชีพ จำกข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.) พบว่ำ ประเภทอำชีพที่ประชำกร ประกอบอำชีพมำกที่สุดคืออำชีพ รับจ้ำงทั่วไป จำนวน 98,997 คน ร้อยละ 31.89 รองลงไป คืออำชีพเกษตรกรรม จำนวน 70,764 คน ร้อยละ 22.79 และกำลังศึกษำ จำนวน 50,098 คน ร้อยละ 16.14 นอกจำกน้ียังมีประชำกรที่ยังไม่มีอำชีพอีกจำนวน 25,338 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 8.16 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 12 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 5. ศาสนา ศาสนา เพศชาย เพศหญงิ รวม คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ พทุ ธ 148,735 47.91 159,794 51.47 308,529 99.38 ครสิ ต์ 894 0.29 955 0.31 1,849 0.60 อสิ ลาม 24 0.01 34 0.01 58 0.02 ซิกส์ 00 00 00 ฮนิ ดู 00 00 00 อืน่ ๆ 60 50 11 0.004 รวม 149,659 48.21 160,788 51.79 310,447 100 จำกข้อมูลควำมจำเป็นพ้นื ฐำน (จปฐ.) พบวำ่ ประชำกรสว่ นมำก นบั ถือศำสนำพทุ ธ จำนวน 308,529 คน คิดเป็น ร้อยละ 99.38 ศำสนำคริสต์ จำนวน 1,849 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60 อิสลำม จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 0.02 ตำมลำดับ ตารางท่ี 6. จานวนประชากร จาแนกตามสถานะรา่ งกาย สถานะรา่ งกาย เพศชาย เพศหญิง รวม คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ ปกติ 140,094 45.13 148,715 47.90 288,809 93.03 ผ้พู ิการอยา่ งเดียว 3,940 1.27 3,704 1.19 7,644 2.46 ผปู้ ่วยเปน็ โรคเรือ้ รงั อยา่ งเดียว 5,025 1.62 7,487 2.41 12,512 4.03 ผู้ทที่ ง้ั พิการและป่วยเป็นโรคเรอื้ รัง 1,482 0.48 รวม 600 0.19 882 0.28 310,447 100 149,659 48.21 160,788 51.79 ประชากรส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 94.39 มรี า่ งกายปกติ และอกี ร้อยละ 5.61 จะเปน็ ผพู้ กิ ารและผู้ป่วยเรือ้ รัง ไดแ้ ก่ เบาหวาน ความดนั อมั พฤกษ์ อัมพาต ตลอดจนผปู้ ่วยพกิ ารประเภทตา่ งๆ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 13 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 7. รายได้เฉลี่ยของครวั เรอื นจงั หวดั แพร่ รำยได้เฉลี่ยของคนจังหวัดแพร่ ในปี 2561 จำนวน 76,470.18 บำท/คน/ปี เพิ่มขึ้นจำกปี 2560 จำนวน 3,985.34 บำท ผลสำรวจปี 2561 พบว่ำ อำเภอเมืองแพร่ มีรำยไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ คนต่อปีสูงทีส่ ุด จำนวน 90,270.15 บำท/คน/ปี และอำเภอวงั ช้ินมรี ำยไดต้ ำ่ สดุ จำนวน 56,619.58 บำท/คน/ปี รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 14 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 8. รายจ่ายเฉลยี่ ของครวั เรอื นจงั หวัดแพร่ รายจ่ายของครัวเรือนรำยจ่ำยเฉล่ียของคนจังหวัดแพร่ ปี 2561 จำนวน 46,714.78บำท/คน/ปี โดยที่อำเภอ มี รำยจ่ำยเฉล่ียต่อคนต่อปีสูงที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่อำเภอสูงเม่น จำนวน 51,598.11 บำท รองลงมำคืออำเภอเมืองแพร่ 50,982.93 และอำเภอรอ้ งกวำง 49,923.97 บำท ตำมลำดับ เมื่อวิเครำะห์แหล่งค่ำใชจ้ ่ำยทั้งหมดของจังหวัดแพร่ ส่วนใหญ่ จะใช้จ่ำยในกำรบริโภคที่จำเป็น สูงถึง 65,971.31 บำทต่อปี รองลงมำจะเป็นค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับต้นทุนกำรผลิต 22,509.29 บำทตอ่ ปี ตารางท่ี 9. ความสขุ เฉลี่ยของครัวเรือนจังหวัดแพร่ ควำมสุขของคนในครวั เรอื น สูงสดุ มีคำ่ ท่ี 10 คะแนน จังหวัดแพร่ มีควำมสุขเฉลย่ี ในครวั เรอื น 8.05 อำเภอทมี่ ี 15 ควำมสขุ ทสี่ ดุ คอื อำเภอสูงเม่น 8.25 และอำเภอทีม่ ีควำมสุขน้อยที่สดุ คืออำเภอสอง 7.82 และมีภำพรวมทงั้ จังหวดั มี ควำมสขุ เพม่ิ ขน้ึ จำกปที แ่ี ลว้ 0.13 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางท่ี 10. ครัวเรอื นตกเกณฑด์ ้านรายได้ ทีต่ ่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี ที่ พื้นที่ ปี 2561 ปี 2560 เพ่ิมขน้ึ /ลดลง 1 เมอื งแพร่ 114 68 +76 2 รอ้ งกวำง 10 34 3 ลอง 44 139 -24 4 สงู เม่น 20 36 -95 5 เด่นชัย 29 60 -16 6 สอง 20 25 -31 7 วงั ช้ิน 16 6 -5 8 หนองม่วงไข่ 4 1 +10 257 369 +3 รวม -112 จงั หวดั แพรส่ ำรวจข้อมลู จำนวน 118,050 ครวั เรือน มคี รัวเรือนทต่ี กเกณฑ์ 257 ครัวเรอื น อำเภอ ทมี่ ีครัวเรอื นตก เกณฑ์ด้ำนรำยได้มำกที่สุดคือ อำเภอเมืองแพร่ จำนวน 144 ครัวเรือน รองลงมำคืออำเภอลอง จำนวน 44 ครัวเรือน และ อำเภอทม่ี คี รวั เรือนตกเกณฑ์ควำมยำกจนนอ้ ยท่สี ุดคืออำเภอหนองม่วงไข่ จำนวน 4 ครัวเรอื น ภำพรวมจงั หวดั มีครวั เรอื นท่ี ตกเกณฑ์ด้ำนรำยได้ลดลง จำนวน 112 ครวั เรอื น รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 16 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

คณุ ภาพชวี ติ ของคนจังหวัดแพร่ จาแนกรายหมวด และตัวชี้วดั ตารางท่ี 11 หมวดท่ี 1 สุขภาพ 7 ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวดั ข้อมูลความจาเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวนที่ ไม่ผา่ น รอ้ ยละ สารวจท้ังหมด เกณฑ์ ขอ้ 1 เด็กแรกเกดิ มีน้ำหนัก 2,500 กรมั ข้ึนไป 1,251 คน 0 คน 0.00 ขอ้ 2 เด็กแรกเกดิ ได้กนิ นมแม่อย่ำงเดยี วอย่ำงน้อย 6 เดือนแรก 919 คน 8 คน 0.87 ตดิ ตอ่ กัน ข้อ 3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซนี ป้องกันโรคครบตำม 27,649 คน 0 คน 0.00 ตำรำงสร้ำงเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั โรค ขอ้ 4 ครวั เรอื นกนิ อำหำรถกู สุขลักษณะ ปลอดภยั และได้ 118,050 คร. 445 คร. 0.38 มำตรฐำน ข้อ 5 ครัวเรอื นมกี ำรใช้ยำเพื่อบำบดั บรรเทำอำกำรเจบ็ ปว่ ย 118,050 คร. 673 คร. 0.57 เบอ้ื งต้นอยำ่ งเหมำะสม ข้อ 6 คนอำยุ 35 ปีขน้ึ ไป ไดร้ ับกำรตรวจสุขภำพประจำปี 214,999 คน 3,602 คน 1.68 ขอ้ 7 คนอำยุ 6 ปีข้ึนไป ออกกำลังกำยอยำ่ งนอ้ ยสัปดำห์ละ 3 300,930 คน 444 คน 0.15 วันละ 30 นำที หมวดที่ 1 สุขภาพ มตี วั ชีว้ ดั ทไี่ มผ่ ำ่ นเกณฑ์ มำกที่สดุ 3 ลำดบั แรก ดงั นี้ 1. ตัวชว้ี ดั ท่ี 6 คนอำยุ 35 ปีข้ึนไป ไดร้ บั กำรตรวจสุขภำพประจำปี จำนวน 3,602 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.68 2. ตวั ชี้วัดที่ 2 เด็กแรกเกิดได้กินนมแมอ่ ยำ่ งเดยี วอย่ำงน้อย 6 เดอื นแรกตดิ ตอ่ กัน จำนวน 8 ครวั เรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.87 3. ตัวชีว้ ดั ที่ 5 ครวั เรอื นมีกำรใช้ยำเพื่อบำบดั บรรเทำอำกำรเจบ็ ปว่ ยเบ้ืองตน้ อยำ่ งเหมำะสม จำนวน 673 ครัวเรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ 0.57 ตารางท่ี 12 หมวดที่ 2 สภาพแวดลอ้ ม 7 ตัวช้วี ัด ตัวช้วี ัดข้อมลู ความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวนท่ี ไมผ่ า่ น รอ้ ยละ สารวจทง้ั หมด เกณฑ์ ขอ้ 8 ครวั เรอื นมีควำมม่นั คงในทีอ่ ยู่อำศยั และบ้ำนมีสภำพ 118,050 คร. 70 คร. 0.06 คงทนถำวร ข้อ 9 ครวั เรือนมนี ้ำสะอำดสำหรับด่ืมและบริโภคเพยี งพอตลอด 118,050 คร. 90 คร. 0.08 ปี อยำ่ งนอ้ ยคนละ 5 ลติ รตอ่ วนั ข้อ 10 ครัวเรือนมนี ้ำใช้เพยี งพอตลอดปี อยำ่ งน้อยคนละ 45 118,050 คร. 99 คร. 0.08 ลติ รต่อวัน ขอ้ 11 ครัวเรือนมกี ำรจัดบำ้ นเรอื นเปน็ ระเบียบเรียบร้อย 118,050 คร. 486 คร. 0.41 สะอำด และถูกสุขลกั ษณะ ข้อ 12 ครัวเรือนไม่ถกู รบกวนจำกมลพิษ 118,050 คร. 252 คร. 0.21 ขอ้ 13 ครวั เรือนมีกำรปอ้ งกันอบุ ตั ิภยั ภัยธรรมชำติอย่ำงถูกวธิ ี 118,050 คร. 291 คร. 0.25 ข้อ 14 ครวั เรือนมีควำมปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน 118,050 คร. 40 คร. 0.03 รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 17 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

หมวดท่ี 2 สภาพแวดลอ้ ม มีตัวช้ีวดั ท่ีไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ มำกทสี่ ุด 3 ลำดับแรก ดังน้ี 1. ตัวชีว้ ัดที่ 11 ครวั เรือนมกี ำรจดั บำ้ นเรอื นเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอำด และถูกสุขลกั ษณะ จำนวน 486 ครัวเรอื น คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.41 2. ตัวชีว้ ัดที่ 13 ครวั เรือนมกี ำรปอ้ งกนั อุบตั ิภัยและภัยธรรมชำติอยำ่ งถูกวธิ ี จำนวน 291 ครัวเรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.25 3. ตวั ชวี้ ัดที่ 12 ครัวเรอื นไมถ่ กู รบกวนจำกมลพิษ จำนวน 252 ครวั เรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ 0.21 ตารางที่ 13 หมวดที่ 3 การศกึ ษา 5 ตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วัดขอ้ มูลความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) จานวนท่ี ไมผ่ ่าน ร้อยละ สารวจทง้ั หมด เกณฑ์ ข้อ 15 เดก็ อำยุ 3 - 5 ปี ไดร้ ับกำรเล้ียงดเู ตรยี มควำมพร้อมก่อน 6,132 คน 0 0.00 วัยเรียน ข้อ 16 เด็กอำยุ 6 - 14 ปี ไดร้ ับกำรศึกษำภำคบังคบั 9 ปี 23,794 คน 158 คน 0.66 ขอ้ 17 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชนั้ ม.4 หรอื เทยี บเท่ำ 606 คน 7 คน 1.16 207 คน 0 คน 0.00 ข้อ 18 คนในครัวเรือนท่จี บกำรศกึ ษำภำคบังคับ 9 ปี ทไ่ี ม่ได้ เรยี นต่อและยังไม่มีงำนทำ ได้รับกำรฝกึ อบรมด้ำนอำชีพ ขอ้ 19 คนอำยุ 15 – 59 ปี อ่ำนเขียนภำษำไทยและคิดเลขอยำ่ ง 193,488 คน 357 คน 0.18 งำ่ ยได้ หมวดท่ี 3 การศึกษา มีตวั ชี้วดั ทไี่ ม่ผำ่ นเกณฑ์ มำกที่สดุ 3 ลำดับแรก ดงั นี้ 1. ตัวชวี้ ัดท่ี 17 เดก็ จบชัน้ ม.3 ได้เรียนต่อช้ัน ม.4 หรอื เทียบเท่ำ จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.16 2. ตวั ชี้วัดท่ี 16 เด็กอำยุ 6 - 14 ปี ไดร้ ับกำรศึกษำภำคบงั คบั 9 ปี จำนวน 158 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.66 2. ตวั ช้วี ดั ท่ี 19 คนอำยุ 15 – 59 ปี อ่ำนเขียนภำษำไทยและคดิ เลขอยำ่ งงำ่ ยได้ จำนวน 357 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.18 ตารางท่ี 14 หมวดที่ 4 การมงี านทาและมีรายได้ มี 4 ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ดั ขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวนท่ี ไม่ผ่าน ร้อยละ ข้อ 20 คนอำยุ 15- 59 ปี มีอำชพี และมีรำยได้ สารวจทัง้ หมด เกณฑ์ 172,915 คน 844 คน 0.49 ขอ้ 21 คนอำยุ 60 ปีข้นึ ไป มอี ำชีพและรำยได้ 83,360 คน 4,854 คน 5.82 ข้อ 22 รำยได้เฉล่ียของคนในครัวเรือนตอ่ ปี 118,050 คร. 257 คร. 0.22 ข้อ 23 ครวั เรือนมกี ำรเก็บออมเงนิ 118,050 คร. 4,710 คร. 3.99 หมวดที่ 4 การมงี านทาและรายได้ มีตัวช้วี ัดท่ไี ม่ผ่ำนเกณฑ์ มำกทสี่ ุด 3 ลำดับแรก ดงั นี้ 1. ตวั ชว้ี ดั ท่ี 21 คนอำยุ 60 ปขี ้ึนไป มีอำชพี และมรี ำยได้ จำนวน 4,854 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.82 2. ตัวชว้ี ัดท่ี 23 ครวั เรอื นมีกำรเกบ็ ออมเงนิ จำนวน 4,710 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3.99 3. ตวั ชี้วัดที่ 20 คนอำยุ 15- 59 ปี มีอำชีพและมรี ำยได้ จำนวน 844 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.49 รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 18 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางท่ี 15 หมวดท่ี 5 ค่านยิ ม 8 ตัวชีว้ ดั จานวนทีส่ ารวจ ไมผ่ า่ น ร้อยละ ตัวชวี้ ัดขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ทง้ั หมด เกณฑ์ ขอ้ 24 คนในครวั เรือนไมด่ ื่มสุรำ 310,447 คน 36,229 คน 11.67 ขอ้ 25 คนในครวั เรอื นไมส่ บู บุหร่ี 291,334 คน 19,113 คน 6.16 ข้อ 26 คนอำยุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏิบตั กิ ิจกรรมทำงศำสนำอยำ่ งน้อย 300,930 คน 622 คน 0.21 สปั ดำหล์ ะ 1 ครั้ง 84,117 คน 6 คน 0.01 ข้อ 27 คนสูงอำยุ ไดร้ บั กำรดูแลจำกครอบครัว ชุมชน ภำครฐั หรือภำคเอกชน ข้อ 28 คนพิกำร ไดร้ ับกำรดูแลจำกครอบครวั ชมุ ชน ภำครัฐ 9,131 คน 0 คน 0.00 หรอื ภำคเอกชน 13,994 คน 0 คน 0.00 ขอ้ 29 ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รงั ได้รบั กำรดูแลจำกครอบครัว ชมุ ชน ภำครฐั หรอื ภำคเอกชน ขอ้ 30 ครวั เรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสำธำรณะเพ่ือประโยชน์ 118,050 คร. 65 คร. 0.06 ของชุมชนหรอื ท้องถนิ่ ขอ้ 31 ครอบครัวมคี วำมอบอุ่น 118,050 คร. 69 คร. 0.06 หมวดท่ี ๕ ค่านยิ ม มตี วั ช้ีวดั ที่ไมผ่ ่ำนเกณฑ์ มำกท่สี ดุ 3 ลำดบั แรก ดงั น้ี 1. ตวั ชี้วดั ท่ี 24 คนในครัวเรือนไมด่ มื่ สรุ ำ จำนวน 36,229 คน รอ้ ยละ 11.67 2. ตัวช้ีวัดที่ 25 คนในครัวเรอื นไม่สบู บุหร่ี จำนวน 19,113 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.16 3. ตัวช้ีวดั ที่ 26 คนอำยุ 6 ปขี ึ้นไป ปฏิบตั ิกจิ กรรมทำงศำสนำอยำ่ งน้อยสัปดำหล์ ะ 1 ครัง้ จำนวน 622 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.21 รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 19 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

คณุ ภาพชีวิตของคนจังหวดั แพร่ในแตล่ ะอาเภอ จาแนกรายตัวชีว้ ัด หมวดที่ 1 สขุ ภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยด)ี ตารางท่ี 16.1 ตัวชีว้ ดั ที่ 1 เด็กแรกเกดิ มีนา้ หนัก 2,500 กรมั ขึ้นไป อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คน) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คน) 0.00 0.00 เมืองแพร่ 281 0 0.00 0.00 รอ้ งกวำง 168 0 0.00 0.00 ลอง 233 0 0.00 0.00 สงู เมน่ 199 0 0.00 เดน่ ชยั 110 0 สอง 68 0 วังช้นิ 134 0 หนองม่วงไข่ 58 0 รวม 1,251 0 อำเภอทั้ง 8 อำเภอในจงั หวดั แพร่ ไม่มีคนตกเกณฑ์ ในตวั ช้ีวดั นี้ ตารางที่ 16.2 ตัวชวี้ ดั ที่ 2 เด็กแรกเกิดได้กนิ นมแม่อยา่ งเดียวอยา่ งน้อย 6 เดอื นแรกติดตอ่ กัน อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 0.00 เมอื งแพร่ 206 0 0.00 1.41 รอ้ งกวำง 117 0 0.00 0.00 ลอง 167 0 5.66 0.00 สูงเม่น 142 2 0.87 เดน่ ชยั 82 0 สอง 49 0 วังช้ิน 106 6 หนองมว่ งไข่ 50 0 รวม 919 8 อำเภอท่ีมีคำ่ เฉลย่ี ตกเกณฑ์สูงที่สดุ คือ อำเภอวงั ช้นิ รองลงมำ คือ อำเภอสงู เม่น รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 20 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 16.3 ตวั ชวี้ ัดท่ี 3 เดก็ แรกเกดิ ถึง 12 ปี ได้รบั วัคซีนปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสรมิ ภมู คิ ุ้มกันโรค อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คน) 0.00 เมอื งแพร่ 6,740 0.00 0 0.00 รอ้ งกวำง 3,194 0 0.00 0 0.00 ลอง 4,032 0 0.00 0 0.00 สูงเม่น 4,770 0 0.00 0 0.00 เดน่ ชยั 2,117 0 0 สอง 2,351 วังชิ้น 3,157 หนองมว่ งไข่ 1,288 รวม 27,649 ไมม่ ีอำเภอท่ตี กเกณฑ์ ในตวั ชี้วัดนี้ ตารางที่ 16.4 ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 ครัวเรือนกนิ อาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. จานวนสารวจ (คร.) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คร.) รอ้ ยละ เมอื งแพร่ 30,384 0 0.00 ร้องกวำง 10,945 61 0.56 ลอง 14,490 18 0.12 สงู เม่น 21,792 9 0.04 เดน่ ชัย 9,741 0 0.00 สอง 13,550 149 1.10 วงั ช้ิน 11,596 1 0.01 หนองมว่ งไข่ 5,552 207 3.73 รวม 118,050 445 0.38 อำเภอท่ีมีคำ่ เฉลยี่ ตกเกณฑ์สูงท่ีสดุ คือ อำเภอหนองม่วงไข่ รองลงมำ คือ อำเภอสอง รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 21 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 16.5 ตัวชีว้ ัดท่ี 5 ครวั เรอื นมกี ารใชย้ าเพ่ือบาบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบ้ืองตน้ อย่างเหมาะสม อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คร.) 0.13 0.37 เมอื งแพร่ 30,384 38 0.19 0.91 รอ้ งกวำง 10,945 40 0.04 2.67 ลอง 14,490 28 0.02 0.00 สงู เมน่ 21,792 199 0.57 เดน่ ชยั 9,741 4 สอง 13,550 362 วงั ชนิ้ 11,596 2 หนองม่วงไข่ 5,552 0 รวม 118,050 673 อำเภอที่มคี ่ำเฉล่ยี ตกเกณฑ์สงู ที่สดุ คอื อำเภอสอง รองลงมำ คอื อำเภอสูงเม่น ตารางที่ 16.6 ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6 คนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพประจาปี อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 0.18 1.05 เมอื งแพร่ 57,394 101 10.82 0.59 รอ้ งกวำง 19,650 206 0.01 0.00 ลอง 27,763 3,004 0.23 0.00 สงู เมน่ 40,550 240 1.68 เดน่ ชัย 16,875 1 สอง 21,136 0 วังช้ิน 21,708 50 หนองม่วงไข่ 9,923 0 รวม 214,999 3,602 อำเภอที่มคี ่ำเฉล่ยี ตกเกณฑส์ งู ทีส่ ดุ คือ อำเภอลอง รองลงมำ คือ อำเภอร้องกวำง รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 22 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 16.7 ตวั ชว้ี ัดท่ี 7 คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วันละ 30 นาที อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) รอ้ ยละ เมอื งแพร่ 80,994 0 0.00 ร้องกวำง 27,411 50 0.18 ลอง 39,418 96 0.24 สูงเมน่ 56,704 97 0.17 เดน่ ชยั 24,358 0 0.00 สอง 28,316 100 0.35 วังชน้ิ 29,804 59 0.20 หนองมว่ งไข่ 13,927 42 0.30 รวม 300,930 444 0.15 อำเภอท่ีมคี ่ำเฉลีย่ ตกเกณฑส์ งู ทส่ี ุด คือ อำเภอสอง รองลงมำ คือ อำเภอหนองม่วงไข่ หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม ตารางท่ี 17.1 ตวั ชีว้ ัดที่ 8 ครัวเรอื นมคี วามมั่นคงในทอ่ี ยู่อาศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร อาเภอ ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คร.) 0.00 0.00 เมอื งแพร่ 30,384 0 0.01 0.11 ร้องกวำง 10,945 0 0.00 ลอง 14,490 2 0.32 0.00 สูงเมน่ 21,792 24 0.00 0.06 เด่นชัย 9,741 0 สอง 13,550 44 วงั ชนิ้ 11,596 0 หนองมว่ งไข่ 5,552 0 รวม 118,050 70 อำเภอท่ีมีค่ำเฉลย่ี ตกเกณฑ์สูงท่ีสดุ คือ อำเภอสอง รองลงมำ คอื อำเภอสงู เมน่ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 23 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 17.2 ตัวช้ีวดั ท่ี 9 ครวั เรือนมีน้าสะอาดสาหรับดื่มและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลิตรตอ่ วัน อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไมผ่ า่ นเกณฑ์ (คร.) 0.00 0.40 เมอื งแพร่ 30,384 0 0.00 0.00 ร้องกวำง 10,945 44 0.00 0.34 ลอง 14,490 0 0.00 0.00 สูงเมน่ 21,792 0 0.08 เดน่ ชัย 9,741 0 สอง 13,550 46 วังชิ้น 11,596 0 หนองมว่ งไข่ 5,552 0 รวม 118,050 90 อำเภอที่มีค่ำเฉลี่ยตกเกณฑ์สงู ทสี่ ดุ คือ อำเภอร้องกวำง รองลงมำ คือ อำเภอสอง ตารางที่ 17.3 ตัวชีว้ ัดท่ี 10 ครัวเรอื นมนี ้าใชเ้ พียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 45 ลิตรตอ่ วนั อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คร.) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คร.) เมอื งแพร่ 30,384 0 0.00 ร้องกวำง 10,945 44 0.40 ลอง 14,490 0 0.00 สงู เม่น 21,792 1 0.01 เดน่ ชยั 9,741 0 0.00 สอง 13,550 54 0.40 วังชิ้น 11,596 0 0.00 หนองม่วงไข่ 5,552 0 0.00 รวม 118,050 99 0.08 อำเภอที่มีคำ่ เฉล่ียตกเกณฑส์ ูงทสี่ ุด คือ อำเภอสอง และอำเภอร้องกวำง รองลงมำ คอื อำเภอสูงเม่น รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 24 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางท่ี 17.4 ตวั ช้วี ดั ท่ี 11 ครวั เรือนมกี ารจดั บา้ นเรอื นเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย สะอาด และถูกสุขลักษณะ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คร.) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คร.) 0.00 0.09 เมืองแพร่ 30,384 0 0.36 0.08 รอ้ งกวำง 10,945 10 0.03 2.97 ลอง 14,490 52 0.02 0.00 สงู เม่น 21,792 17 0.41 เดน่ ชัย 9,741 3 สอง 13,550 402 วงั ช้ิน 11,596 2 หนองม่วงไข่ 5,552 0 รวม 118,050 486 อำเภอท่ีมคี ำ่ เฉล่ียตกเกณฑส์ ูงทีส่ ุด คือ อำเภอสอง รองลงมำ คอื อำเภอลอง ตารางท่ี 17.5 ตวั ชวี้ ัดท่ี 12 ครวั เรอื นไม่ถกู รบกวนจากมลพษิ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คร.) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คร.) 0.03 0.00 เมืองแพร่ 30,384 9 0.48 0.03 ร้องกวำง 10,945 0 0.98 0.25 ลอง 14,490 70 0.24 0.18 สงู เมน่ 21,792 6 0.21 เดน่ ชัย 9,741 95 สอง 13,550 34 วงั ชิน้ 11,596 28 หนองมว่ งไข่ 5,552 10 รวม 118,050 252 อำเภอที่มีค่ำเฉลย่ี ตกเกณฑ์สงู ทสี่ ุด คือ อำเภอเด่นชัย รองลงมำ คือ อำเภอลอง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 25 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางท่ี 17.6 ตวั ชีว้ ดั ที่ 13 ครัวเรอื นมกี ารปอ้ งกันอุบัติภัยและภยั ธรรมชาติอยา่ งถูกวิธี อาเภอ ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คร.) 0.05 0.82 เมอื งแพร่ 30,384 15 0.23 0.06 ร้องกวำง 10,945 90 0.00 1.00 ลอง 14,490 33 0.02 0.02 สงู เม่น 21,792 14 0.25 เด่นชยั 9,741 0 สอง 13,550 136 วังชิน้ 11,596 2 หนองมว่ งไข่ 5,552 1 รวม 118,050 291 อำเภอที่มีค่ำเฉลี่ยตกเกณฑ์สูงท่ีสดุ คอื อำเภอสอง รองลงมำ คือ อำเภอร้องกวำง ตารางที่ 17.7 ตวั ชว้ี ดั ที่ 14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ นิ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คร.) เมอื งแพร่ 30,384 0 0.00 รอ้ งกวำง 10,945 0 0.00 ลอง 14,490 1 0.01 สงู เม่น 21,792 3 0.01 เด่นชยั 9,741 0 0.00 สอง 13,550 36 0.27 วงั ช้ิน 11,596 0 0.00 หนองม่วงไข่ 5,552 0 0.00 รวม 118,050 40 0.03 อำเภอที่มีคำ่ เฉล่ียตกเกณฑ์สูงทส่ี ุด คือ อำเภอสอง รองลงมำ คือ อำเภอสูงเม่น และอำเภอลอง รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 26 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

หมวดท่ี 3 การศึกษา ตารางที่ 18.1 ตัวชี้วดั ที่ 15 เด็กอายุ 3 - 5 ปเี ต็ม ไดร้ ับการเล้ียงดเู ตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ เมืองแพร่ 1,499 ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 0.00 รอ้ งกวำง 695 0 0.00 0 0.00 ลอง 885 0 0.00 0 0.00 สงู เม่น 1,028 0 0.00 0 0.00 เด่นชยั 462 0 0.00 0 สอง 540 0 วังชนิ้ 758 หนองมว่ งไข่ 265 รวม 6,132 ไมม่ ีอำเภอตกเกณฑ์ในตวั ช้วี ดั น้ี ตารางที่ 18.2 ตวั ช้ีวัดที่ 16 เดก็ อายุ 6 - 14 ปี ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบงั คับ 9 ปี อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 0.00 เมืองแพร่ 6,008 0 0.17 3.58 รอ้ งกวำง 2,711 0 0.00 0.21 ลอง 3,437 6 0.11 0.00 สงู เม่น 4,053 145 0.66 เด่นชยั 1,832 0 สอง 1,949 4 วงั ชิ้น 2,695 3 หนองม่วงไข่ 1,109 0 รวม 23,794 158 อำเภอท่ีมคี ำ่ เฉลี่ยตกเกณฑ์สงู ทสี่ ดุ คือ อำเภอสงู เมน่ รองลงมำ คือ อำเภอสอง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 27 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 18.3 ตวั ชี้วัดท่ี 17 เดก็ จบชั้น ม.3 ได้เรยี นต่อช้ัน ม.4 หรือเทยี บเทา่ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 0.00 เมอื งแพร่ 120 0 0.00 1.11 รอ้ งกวำง 58 0 0.00 0.00 ลอง 144 0 14.29 0.00 สูงเม่น 90 1 1.16 เดน่ ชัย 71 0 สอง 42 0 วงั ช้ิน 42 6 หนองมว่ งไข่ 39 0 รวม 606 7 อำเภอท่ีมคี ำ่ เฉลยี่ ตกเกณฑส์ งู ท่สี ดุ คอื อำเภอวังชนิ้ รองลงมำ คือ อำเภอสูงเม่น ตารางที่ 18.4 ตัวชีว้ ดั ท่ี 18 คนในครัวเรือนท่ีจบการศกึ ษาภาคบังคบั 9 ปี ท่ีไมไ่ ดเ้ รยี นต่อและยังไมม่ ีงานทา ได้รับการฝกึ อบรมด้านอาชพี อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 เมืองแพร่ 68 0.00 0 0.00 ร้องกวำง 24 0 0.00 0 0.00 ลอง 0 0 0.00 0 0.00 สูงเมน่ 50 0 0.00 0 0.00 เดน่ ชยั 43 0 0 สอง 8 วงั ชนิ้ 11 หนองม่วงไข่ 3 รวม 207 ไมม่ ีอำเภอตกเกณฑ์ในตวั ช้ีวัดนี้ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 28 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางท่ี 18.5 ตัวชวี้ ัดท่ี 19 คนอายุ 15 – 59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ อาเภอ ข้อมูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คน) เมอื งแพร่ 52,428 21 0.04 รอ้ งกวำง 17,128 60 0.35 ลอง 25,579 113 0.44 สงู เมน่ 35,780 16 0.04 เด่นชัย 16,570 0 0.00 สอง 18,091 69 0.38 วงั ชนิ้ 19,135 69 0.36 หนองมว่ งไข่ 8,777 9 0.10 รวม 193,488 357 0.18 อำเภอท่ีมีค่ำเฉลีย่ ตกเกณฑ์สูงทสี่ ุด คือ อำเภอลอง รองลงมำ คือ อำเภอสอง อำเภอวังชิน้ ตำมลำดับ ตารางท่ี 19.1 ตวั ชว้ี ดั ที่ 20 หมวดท่ี 4 การมีงานทาและรายได้ คนอายุ 15- 59 ปี มอี าชพี และรายได้ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คน) 0.18 0.41 เมืองแพร่ 46,186 83 0.99 0.79 ร้องกวำง 15,223 63 0.03 0.96 ลอง 22,834 226 0.19 0.30 สูงเมน่ 31,943 253 0.49 เด่นชัย 15,023 5 สอง 16,453 158 วงั ช้นิ 17,475 33 หนองม่วงไข่ 7,778 23 รวม 172,915 844 อำเภอที่มีค่ำเฉล่ยี ตกเกณฑ์สงู ทส่ี ดุ คือ อำเภอลอง รองลงมำ คือ อำเภอสอง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 29 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางท่ี 19.2 ตวั ช้ีวัดท่ี 21 คนอายุมากกวา่ 60 ปขี ึ้นไป มีอาชีพและรายได้ อาเภอ ข้อมูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 3.14 6.80 เมอื งแพร่ 22,546 708 12.93 5.03 รอ้ งกวำง 7,568 515 1.43 9.30 ลอง 10,354 1,339 3.46 8.08 สงู เมน่ 16,699 840 5.82 เดน่ ชัย 6,012 86 สอง 8,260 768 วังชิ้น 7,900 273 หนองมว่ งไข่ 4,021 325 รวม 83,360 4,854 อำเภอท่ีมีค่ำเฉลยี่ ตกเกณฑส์ ูงที่สุด คอื อำเภอลอง รองลงมำ คอื อำเภอสอง ตารางที่ 19.3 ตวั ช้วี ัดท่ี 22 รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนในครัวเรือนต่อปี อาเภอ ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คร.) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คร.) เมอื งแพร่ 30,384 114 0.38 ร้องกวำง 10,945 10 0.09 ลอง 14,490 44 0.30 สูงเม่น 21,792 20 0.09 เด่นชัย 9,741 29 0.30 สอง 13,550 20 0.15 วังชน้ิ 11,596 16 0.14 หนองมว่ งไข่ 5,552 4 0.07 รวม 118,050 257 0.22 อำเภอท่ีมีคำ่ เฉล่ยี ตกเกณฑส์ งู ท่ีสดุ คือ อำเภอเมืองแพร่ รองลงมำ คอื ลองและอำเภอเด่นชยั รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 30 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 19.4 ตวั ชวี้ ัดท่ี 23 ครวั เรือนมีการเก็บออมเงิน อาเภอ ข้อมูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คร.) จานวนสารวจ (คร.) 1.81 0.00 เมอื งแพร่ 30,384 551 8.91 5.47 ร้องกวำง 10,945 0 3.06 7.68 ลอง 14,490 1,291 2.91 0.00 สูงเม่น 21,792 1,193 3.99 เดน่ ชยั 9,741 298 ร้อยละ 7.51 สอง 13,550 1,040 22.59 9.37 วงั ชิ้น 11,596 337 10.87 5.35 หนองมว่ งไข่ 5,552 0 19.92 14.59 รวม 118,050 4,710 11.84 11.67 อำเภอที่มคี ่ำเฉล่ียตกเกณฑส์ ูงที่สดุ คอื อำเภอลอง รองลงมำ คอื อำเภอสอง ตารางท่ี 20.1 ตัวช้วี ดั ท่ี 24 หมวดที่ 5 คา่ นิยม คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา อาเภอ ข้อมูล จปฐ. จานวนสารวจ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) เมอื งแพร่ 83,207 6,252 ร้องกวำง 28,524 6,444 ลอง 40,848 3,827 สูงเมน่ 58,329 6,341 เดน่ ชยั 25,085 1,343 สอง 29,162 5,810 วงั ชิน้ 30,940 4,513 หนองมว่ งไข่ 14,352 1,699 รวม 310,447 36,229 อำเภอที่มคี ำ่ เฉลี่ยตกเกณฑ์สงู ท่ีสุด คือ อำเภอร้องกวำง รองลงมำ คือ อำเภอสอง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 31 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางท่ี 20.2 ตวั ช้วี ัดท่ี 25 คนในครวั เรือนไมส่ ูบบุหร่ี อาเภอ ข้อมูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คน) ไมผ่ า่ นเกณฑ์ (คน) 3.27 9.97 เมอื งแพร่ 83,207 2,720 6.08 5.48 ร้องกวำง 28,524 2,844 4.59 9.10 ลอง 40,848 2,482 10.61 5.42 สูงเมน่ 58,329 3,199 6.16 เดน่ ชยั 25,085 1,152 สอง 29,162 2,654 วังชิ้น 30,940 3,284 หนองมว่ งไข่ 14,352 778 รวม 310,447 19,113 อำเภอท่ีมีคำ่ เฉล่ียตกเกณฑ์สงู ทสี่ ดุ คือ อำเภอวงั ชน้ิ รองลงมำ คอื อำเภอร้องกวำง ตารางที่ 20.3 ตัวชีว้ ัดท่ี 26 คนอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 ครัง้ อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. ร้อยละ จานวนสารวจ (คน) ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คน) 0.00 0.19 เมอื งแพร่ 80,994 0 0.00 0.10 ร้องกวำง 27,411 51 0.00 1.81 ลอง 39,418 0 0.00 0.00 สงู เม่น 56,740 58 0.21 เด่นชยั 24,356 0 สอง 28,316 513 วงั ชน้ิ 29,804 0 หนองม่วงไข่ 13,927 0 รวม 300,930 622 อำเภอท่ีมคี ำ่ เฉลี่ยตกเกณฑ์สูงทสี่ ดุ คือ อำเภอสอง รองลงมำ คอื อำเภอรอ้ งกวำง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 32 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางที่ 20.4 ตวั ชวี้ ดั ท่ี 27 คนสูงอายุ ไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ (คน) 0.00 เมืองแพร่ 22,739 0.00 0 0.00 รอ้ งกวำง 7,616 0 0.04 0 0.00 ลอง 10,445 6 0.00 0 0.00 สงู เมน่ 16,887 0 0.00 0 0.01 เดน่ ชยั 6,063 0 6 สอง 8,327 วงั ช้นิ 7,981 หนองมว่ งไข่ 4,059 รวม 84,117 มีอำเภอทีต่ กเกณฑ์ เพยี งอำเภอเดียว คือ อำเภอสูงเม่น ตารางท่ี 20.5 ตวั ชีว้ ัดที่ 28 คนพกิ าร ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ข้อมูล จปฐ. ร้อยละ ไมผ่ ่านเกณฑ์ (คน) 0.00 เมอื งแพร่ 1,943 0.00 0 0.00 รอ้ งกวำง 968 0 0.00 0 0.00 ลอง 1,288 0 0.00 0 0.00 สูงเม่น 1,719 0 0.00 0 0.00 เดน่ ชัย 1,069 0 0 สอง 727 วงั ช้นิ 771 หนองม่วงไข่ 651 รวม 9,131 ไม่มีอำเภอทต่ี กเกณฑ์ ในตวั ช้ีวดั นี้ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 33 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

ตารางท่ี 20.6 ตัวช้ีวัดที่ 29 ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รัง ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน อาเภอ จานวนสารวจ (คน) ขอ้ มูล จปฐ. รอ้ ยละ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ (คน) 0.00 เมอื งแพร่ 3,438 0.00 0 0.00 รอ้ งกวำง 2,127 0 0.00 0 0.00 ลอง 1,305 0 0.00 0 0.00 สงู เมน่ 3,272 0 0.00 0 0.00 เด่นชยั 1,047 0 0 สอง 992 วังช้นิ 802 หนองม่วงไข่ 1,011 รวม 13,994 ไม่มีอำเภอท่ตี กเกณฑ์ ในตวั ชว้ี ัดน้ี ตารางท่ี 20.7 ตวั ชี้วัดที่ 30 ครวั เรือนมสี ่วนร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น อาเภอ ขอ้ มูล จปฐ. จานวนสารวจ (คร.) จานวนสารวจ (คร.) รอ้ ยละ เมอื งแพร่ 30,384 0 0.00 รอ้ งกวำง 10,945 0 0.00 ลอง 14,490 2 0.01 สูงเม่น 21,792 18 0.08 เด่นชยั 9,741 0 0.00 สอง 13,550 14 0.10 วงั ชิน้ 11,596 2 0.02 หนองมว่ งไข่ 5,552 29 0.52 รวม 118,050 65 0.06 อำเภอท่ีมคี ำ่ เฉลี่ยตกเกณฑ์สูงทสี่ ดุ คอื อำเภอหนองมว่ งไข่ รองลงมำ คือ อำเภอสอง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 34 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ตารางที่ 20.8 ตวั ชี้วดั ท่ี 31 ครอบครวั มคี วามอบอุ่น อาเภอ ข้อมูล จปฐ. รอ้ ยละ จานวนสารวจ (คร.) จานวนสารวจ (คร.) 0.00 0.00 เมืองแพร่ 30,384 0 0.07 0.08 รอ้ งกวำง 10,945 0 0.00 0.27 ลอง 14,490 10 0.03 0.04 สูงเมน่ 21,792 17 0.06 เด่นชยั 9,741 0 สอง 13,550 37 วงั ชิน้ 11,596 3 หนองมว่ งไข่ 5,552 2 รวม 118,050 69 อำเภอท่ีมีคำ่ เฉลี่ยตกเกณฑส์ งู ท่ีสุด คอื อำเภอสอง รองลงมำ คอื อำเภอสูงเมน่ ........................................................................................................................ สรปุ ผลการจดั เก็บข้อมูลตามตวั ชว้ี ัด 31 ตัวช้ีวัด (แยกรายอาเภอ) ผลสรุปกำรจัดเกบ็ ข้อมลู จปฐ. ปี 2561 จำนวน 5 หมวด 31 ตวั ชว้ี ัด จำกกำรวิเครำะห์ ขอ้ มลู ฯ และสรุปผลกำรจัดเก็บข้อมลู สำมำรถสรปุ คุณภำพชีวิตของประชำชนในจงั หวัดแพร่ ทบี่ รรลุเปำ้ หมำย ตำมเกณฑ์ชวี้ ัด และไม่บรรลเุ ป้ำหมำยตำมเกณฑช์ ้ีวัด ของข้อมูล จปฐ. ขอ้ มลู พ้ืนฐำน และภำพรวมข้อมลู ของ จงั หวัด พอสรปุ รำยละเอยี ดดังน้ี ตารางที่ 21 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลฯ ตามเกณฑช์ ้วี ดั 31 ตวั ช้ีวัด ในแตล่ ะอาเภอ ลาดับ อาเภอ ตัวช้วี ัด บรรลเุ ปา้ หมาย ไม่บรรลเุ ป้าหมาย ท่ี (จานวน/ ตัวชี้วดั ) (จานวน/ ตวั ชี้วดั ) 31 ตัวช้วี ัด 1 เมืองแพร่ 31 ตวั ชวี้ ดั 20 11 31 ตวั ชี้วดั 2 ร้องกวำง 31 ตัวชว้ี ดั 16 15 31 ตวั ชี้วัด 12 19 3 ลอง 31 ตัวชี้วัด 7 24 4 สงู เมน่ 31 ตัวชี้วัด 21 10 5 เดน่ ชัย 31 ตวั ชว้ี ัด 10 21 6 สอง 31 ตัวชี้วัด 12 19 7 วงั ชิ้น 19 12 8 หนองม่วงไข่ 6 25 ภาพรวมจังหวดั รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 35 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 36 สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ส่วนที่ 3 ปญั หาคุณภาพชวี ติ ท่คี วรดาเนินการแกไ้ ข รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 37 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

ส่วนที่ 3 ปญั หาคณุ ภาพชวี ติ ทค่ี วรดาเนินการแกไ้ ข กำรพัฒนำคุณภำพชีวิต เป็นภำรกิจท่ีรัฐบำลได้มอบหมำยให้กรมกำรพัฒนำชุมชน ดำเนินกำรพัฒนำคนในทุกๆ ด้ำน อำทิ ด้ำนสุขภำพอนำมัย กำรศึกษำ จิตใจ คุณธรรม ควำมพร้อมในกำร ดำรงชีวิตในสังคม ควำมสำมำรถในกำรประกอบอำชีพ รวมถึงกำรพัฒนำในทุกขั้นตอนของชีวิต นับต้ังแต่วัย เด็กจนถึงวัยสูงอำยุ เพื่อให้กำรดำรงชีวิตได้ที่ดีข้ึน ท้ังส่วนบุคคล สังคมและประเทศชำติ ซึ่งงำนดังกล่ำว บุคลำกรของกรมกำรพัฒนำชุมชน ได้ดำเนินกำรร่วมกับผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร และประชำชนในหมู่บ้ำน ตำบล อำเภอ ท้ังนี้โดยอำศัยหลักกำรมีส่วนร่วมของชุมชน หลักกำรพ่ึงตนเอง และหลักกำรสร้ำงควำม เข้มแข็งใหก้ ับชุมชน โดยใชก้ ระบวนกำรเรียนร้จู ำกกำรปฏิบัตทิ ่ีต่อเน่ือง ปรบั ปรุงวิธกี ำร และพัฒนำเคร่อื งมือ ตำ่ งๆ ท่ีใช้ในกำรพฒั นำ เพื่อให้เกดิ ประโยชน์ในกำรพฒั นำอย่ำงยงั่ ยืน คุณภาพชีวติ คุณภำพชีวติ ของประชำชน หมำยถงึ มำตรฐำนกำรดำรงชีวิตอนั เหมำะสม ของประชำขนใน สังคม กำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ คือกำรทำให้มนุษย์มี ประสิทธิภำพ และมีคุณภำพในด้ำนกำรทำงำนเพ่ือ พัฒนำตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชำติ รวมท้ังกำรมีสุขภำพอนำมัยสมบูรณ์ และมีคุณธรรม กำร พัฒนำคุณภำพชีวิตของประชำชนในแต่ละพื้นท่ี จำเป็นต้องเร่ิมพัฒนำต้ังแต่เกิด และต่อเนื่องจนถึงตำย สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ได้กำหนดควำมจำเป็นพ้ืนฐำนหลักๆ ไว้ 6 ประกำร ได้แก่ ด้ำนกำรศึกษำ สุขภำพอนำมัย กำรประกอบอำชีพ กำรมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำหรือจัดกำร ท้องถ่ินหรือบ้ำนเมือง ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และจิตใจในกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงเป็นสุข เพื่อเป็น เกณฑใ์ นกำรประเมินสถำนกำรณป์ ญั หำ ตลอดจนแนวทำงในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต วัตถปุ ระสงค์ของการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ 1. เพ่ือพัฒนำศักยภำพของคนทำงจิตใจให้เป็นคนดี มีคุณธรรม มีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม สว่ นรวม 2. เพ่ือพัฒนำทุกคนให้สำมำรถคิดวิเครำะห์บนหลักของเหตุผล มีกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง อย่ำง ตลอดชีวิต มีโลกทัศน์กว้ำง รวมท้ังมีประสิทธิภำพในกระบวนกำรผลิตสูงขึ้นสอดคล้องกับกำร เปลยี่ นแปลงอย่ำงรวดเร็วทำงด้ำนเศรษฐกจิ และสังคม 3. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้คนมคี ุณภำพพลำนำมยั ดถี ว้ นหนำ้ มคี วำมรู้ควำมเข้ำใจ และควำมสำมำรถ ในกำรปอ้ งกนั โรคและดแู ลสุขภำพของตนเองและครอบครัวได้อย่ำงมปี ระสิทธิภำพ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 38 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

4. เพ่ือเสริมสร้ำงโอกำสให้ประชำชนกลุ่มด้อยโอกำสทุกกลุ่มได้รับกำรคุ้มครองช่วยเหลือ และได้รับบริกำรพ้ืนฐำนทำงสังคมทุกด้ำนอย่ำงเหมำะสมท่ัวถึงและเป็นธรรม เพ่ือให้สำมำรถดำรงชีวิตอยู่ใน สงั คมได้อยำ่ งปกติสุขและสมศักดิศ์ รี สถานการณ์คุณภาพชีวิตของประชาชนไทยในปัจจุบนั 1. ด้ำนกำรศึกษำ กำรศึกษำเป็นปัจจัยสำคัญท่ีจะช่วยยกระดับชีวิตและควำมเป็นอยู่ของ ประชำกรให้สูงขึ้น ส่วนควำมไม่รู้หรือกำรขำดกำรศึกษำ เป็นกำรตัดโอกำสในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ขำด สขุ ภำพอนำมัยท่ดี ี ปัญหำต่ำงๆ จะเกิดข้นึ ตำมมำและกำรมีชีวติ ไมย่ นื ยำว 2. ด้ำนสุขภำพอนำมยั ประชำกรในประเทศไทยโดยเฉพำะประชำกรในชนบท มีปัญหำด้ำน สุขภำพอนำมัยเน่ืองจำกบริโภคอำหำรได้ไม่เพียงพอ หรือไม่ถูกตำมหลักโภชนำกำร คือ กินอำหำรที่ไม่เป็น ประโยชน์ต่อร่ำงกำยหรือไม่สะอำด ทำให้ร่ำงกำยอ่อนแอและเป็นโรคง่ำย ท่ีน่ำเป็นห่วง คือ เด็กในวัยที่กำลัง เจริญ เติบโต หำกไม่ได้บริโภคอำหำรอย่ำงเพียงพอและเหมำะสม จะทำให้เกิดควำมชะงักงันในด้ำนกำร เจริญเติบโตทำงร่ำงกำยและสมอง กลำยเป็นผู้อ่อนแอและเฉ่ือยชำ และไม่ฉลำดเฉลียว นอกจำกปัญหำ ทำงดำ้ นโภชนำกำรแลว้ ยงั มีปัญหำในด้ำนกำรแพทยแ์ ละสำธำรณสุข ซึง่ ประชำชนในชนบทมีโอกำสไดร้ บั กำร บริกำรทำงกำรแพทย์ และสำธำรณสุขน้อยมำก เพรำะอยู่ห่ำงไกลและมีฐำนะยำกจน กำรขำดสุขนิสัยที่ดี ไม่ ระมัดระวังตนในกำรป้องกันโรคภัยไข้เจ็บต่ำงๆ ก็เป็นสำเหตุสำคัญอีกอย่ำงหน่ึง ที่ทำให้ประชำกรป่วยเป็น โรคต่ำงๆ ได้ง่ำย โดยเฉพำะโรคเกี่ยวกับทำงเดินอำหำร โรคผิวหนัง โรคตำ โรคระบบกำรหำยใจ ซ่ึงมีพบอยู่ ทว่ั ไปในทุกภำค ของประเทศไทย 3. ด้ำนกำรประกอบอำชีพ อัตรำกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจของประเทศไทยสูงขึ้นอย่ำง ตอ่ เนื่อง แต่หลงั พ.ศ. 2539 สภำพเศรษฐกิจของประเทศไทยเร่ิม เปล่ยี นแปลงไป เร่ิมจำกปัญหำด้ำนกำรเงิน ขำดสภำพคล่องของสถำบันกำรเงินต่ำงๆ อันมีผลกระทบต่อระบบกำรเงินกำรคลังระดับชำติ ประชำกรได้รับ ผลกระทบ จำกนโยบำยกำรปรับค่ำเงินบำท กำรติดต่อค้ำขำยกับต่ำงประเทศและกำรส่งออกเร่ิมมีปัญหำ โดยเฉพำะกำรแลกเปล่ียนเงินตรำ กิจกำรต่ำงๆ ต้องปรับตัว และหลำยกิจกำรต้องล้มเลิกไป อัตรำกำร ว่ำงงำนสงู ขึน้ เปน็ ลำดับ ทำใหป้ ระชำชนยำกจนลง 4. ด้ำนกำรมีส่วนในกำรพัฒนำหรือกำรจัดกำรท้องถิ่นหรือบ้ำนเมือง กำรมีส่วนร่วมมีผล โดยตรงต่อทั้งท่ำทีและทัศนคติของบุคคล และต่อประสิทธิภำพของกำรพัฒนำในทุกๆ ด้ำน เม่ือบุคคลใดรู้สึก ว่ำไม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมใด บุคคลนั้นก็มักจะมีท่ำทีต้ังแต่เฉ่ือยไปจนถึงต่อต้ำนกิจกรรมนั้น กำรพัฒนำ ใดๆ ไม่อำจ เป็นไปได้เต็มท่ี หำกปรำศจำกกำรร่วมมือจำกคนในชุมชนน้ันๆ ในด้ำนน้ีคนไทยส่วนใหญ่มีส่วน ร่วมในอัตรำท่ีต่ำ ไม่ว่ำจะเป็นระดับหมู่บ้ำน ตำบล อำเภอ จังหวัด หรือระดับชำติ ทั้งหมดน้ีสืบเน่ืองมำจำก ระบบกำรปกครอง ที่เนน้ กำรบรหิ ำรจำกสว่ นกลำงมำเปน็ เวลำนำน 5. ดำ้ นควำมปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน สังคมไทยได้ชื่อว่ำมีควำมสงบ ปัจจุบันไม่มีกำร รบพุ่งหรือกำรก่อกำรร้ำยรุนแรงดังที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนำ หลำยประเทศ เช่น อัฟกำนิสถำน อนิ โดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เปน็ ตน้ ดังนั้นจึงมีควำมปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สนิ พอสมควร พบวำ่ ร้อยละ 95 ของ ครอบครัว ทั่วประเทศที่ประชำชนมีควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อย่ำงไรก็ตำมมีข้อสังเกตว่ำมี ปัจจัยบำงประกำรท่ีคุกคำมต่อควำมปลอดภัย เช่น อิทธิพลในท้องถิ่น กำรแพร่ระบำดของอำวุธสงครำม กำรคำ้ และกำรเสพยำเสพติด บอ่ นกำรพนนั และอบำยมุขต่ำงๆ ท้ังหมดนเี้ ป็นบอ่ เกิดของอำชญำ รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 39 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

6. ด้ำนจิตใจในกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสงบสุข คนไทยเป็นผู้มีน้ำใจ มีควำมเมตตำกรุณำ เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่เสมอมำ ปฏิบัติตำมหลักศำสนำ โดยเฉพำะชุมชนในชนบท มักมีควำมเป็นอยู่แบบพ่ีน้อง มำกกว่ำชุมชนเมือง มีควำมร่วมมือร่วมใจในงำนประเพณี กิจกำรสำธำรณกุศล กระทรวงศึกษำธิกำร ได้ให้ ควำมหมำยของคุณภำพชีวิตว่ำ หมำยถึง ชีวิตที่มีสุขภำพสมบูรณ์ท้ังร่ำงกำยและจติ ใจ สำมำรถปรับตัวให้เข้ำ กับสภำวะแวดล้อมและสังคมที่ตนอยู่ได้อย่ำงดี ในขณะเดียวกันก็สำมำรถดำรงชีวิตท่ีเป็นประโยชน์ให้ตนเอง สังคม และประเทศชำติด้วยกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต เป็นกำรพัฒนำคนในทุกๆ ด้ำนไม่ว่ำจะเป็นด้ำนสุขภำพ อนำมัย กำรศึกษำ จิตใจ คุณธรรม ควำมพร้อมในกำรดำรงชีวติ ในสังคม ควำมสำมำรถในกำรประกอบอำชีพ รวมถึงกำรพัฒนำในทุกข้ันตอนของชีวิตนับต้ังแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอำยุ เพ่ือประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตที่ดีขึ้น ทัง้ สว่ นบุคคล สังคม และประเทศชำติ จำกผลกำรสำรวจข้อมูล จปฐ. ทั้งเขตเมืองและเขตชนบท ปี 2561 ท่ีสำนักงำนพัฒนำชมุ ชน จงั หวัดแพร่ ในฐำนะเลขำนุกำรคณะทำงำนบริหำรกำรจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด ที่ได้นำเสนอแล้วใน ส่วนท่ี 2 สะท้อนให้เห็นคุณภำพชีวิตของคนแพร่ตำมตัวช้ีวัด จปฐ. ทั้ง 5 ด้ำน ว่ำมีเร่ืองที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ซึ่ง จำเป็นตอ้ งได้รับกำรแก้ไข เพือ่ นำไปส่คู ณุ ภำพทีช่ ีวติ ท่ีดขี นึ้ ตำมคำนิยำมควำมหมำยท่ไี ดก้ ล่ำวไว้ข้ำงต้น ท้ังนี้ คณะทำงำนจดั ทำสรปุ ผลกำรดำเนนิ งำนได้อภิปรำยผลเชื่อมโยงกบั กำรวิเครำะหแ์ นวทำงกำรแก้ไขปัญหำเป็น รำยด้ำน ดังรำยละเอียดตอ่ ไปน้ี สขุ ภาพของคนแพร่ ตารางท่ี 22 หมวดที่ 1 สุขภาพ 7 ตัวช้วี ดั ตวั ช้วี ดั ขอ้ มลู ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จานวนท่ี ไมผ่ า่ น ร้อยละ สารวจทัง้ หมด เกณฑ์ ข้อ 1 เดก็ แรกเกิดมนี ำ้ หนัก 2,500 กรัม ขึน้ ไป 1,251 คน 0 คน 0.00 ขอ้ 2 เดก็ แรกเกิดได้กินนมแมอ่ ย่ำงเดียวอยำ่ งน้อย 6 เดือนแรก 919 คน ตดิ ตอ่ กนั 8 คน 0.87 27,649 คน ข้อ 3 เดก็ แรกเกดิ ถงึ 12 ปี ไดร้ บั วัคซีนป้องกนั โรคครบตำม 0 คน 0.00 ตำรำงสรำ้ งเสริมภูมิคุ้มกนั โรค 118,050 คร. 445 คร. 0.38 ขอ้ 4 ครัวเรอื นกินอำหำรถูกสุขลักษณะ ปลอดภยั และได้ 118,050 คร. มำตรฐำน 673 คร. 0.57 214,999 คน ข้อ 5 ครัวเรอื นมกี ำรใช้ยำเพ่ือบำบัด บรรเทำอำกำรเจบ็ ป่วย 300,930 คน 3,602 คน 1.68 เบอื้ งตน้ อย่ำงเหมำะสม 444 คน 0.15 ข้อ 6 คนอำยุ 35 ปีข้นึ ไป ไดร้ บั กำรตรวจสขุ ภำพประจำปี ขอ้ 7 คนอำยุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกำลังกำยอยำ่ งนอ้ ยสัปดำห์ละ 3 วันละ 30 นำที จำกผลกำรสำรวจคุณภำพชีวิตของคนแพร่ ปี 2561 ด้ำนสุขภำพพบว่ำ ตัวช้ีวัดที่มีค่ำเฉลี่ย ตกเกณฑ์มำกที่สุด คือตัวช้ีวัดข้อที่ 6 คนอำยุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับกำรตรวจสุขภำพประจำปี ซ่ึงเป็นกำรตรวจ สุขภำพหลำยอย่ำงเพ่ือประเมินสุขภำพของบุคคล เป็นประจำอย่ำงน้อยปีละ 1 คร้ัง อำทิ กำรตรวจร่ำงกำยท่ัวไป รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 40 สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

กำรตรวจเลอื ด กำรตรวจปัสสำวะ กำรตรวจอุจจำระ กำรเอ็กซเรยป์ อด เป็นต้น จำกกำรสำรวจจังหวัดแพร่พบผู้ไม่ ผ่านเกณฑ์ จานวน 3,602 คน คิดเป็นร้อยละ 1.68 ส่วนใหญ่มีสำเหตุมำจำกคนท่ัวไป มักเข้ำใจว่ำเป็นแค่กำร ตรวจเลือด เอ็กซเรย์ แล้วพบแพทย์ แต่ในควำมเป็นจริงแล้ว กำร ตรวจสุขภำพประจำปีมีจุดมุ่งหมำยเพ่ือตรวจหำควำมผิดปกติ หรือ กำรเปล่ียนแปลงในร่ำงกำย ซ่ึงส่วนใหญ่ แล้วจะไม่มีอำกำรใน ระยะแรก ไม่ว่ำจะเป็นควำมดันโลหิตสูง เบำหวำน หรือไตวำย กำร ตรวจหำโรคร้ำยต่ำง ๆ เพ่ือให้ได้รับกำรรักษำทันท่วงที ปัจจุบันกำร รักษำโรคต่ำง ๆ มีประสิทธิภำพดีขึ้นมำกช่วยให้ผู้คนมีชีวิตที่ยืนยำว ข้ึน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งหำกพบควำมผิดปกติต้ังแต่แรก ควำมผิดปกติบำงชนิดหำกได้รับกำรแกไข จะช่วย ป้องกันไม่ให้เกิดโรคได้ ซึ่งกำรตรวจสุขภำพในแต่ละวัยจะเน้นตรวจหำควำมผิดปกติที่พบบ่อยในวัยน้ัน ๆ ซึ่ง แตกต่ำงกันไป เช่น วัยทำงำนหรือกลำงคนจะเน้นตรวจคัดกรองควำมดันโลหิตสูง เบำหวำน และไขมันใน เลอื ดสูง เมอ่ื อำยุเพมิ่ ขึน้ กจ็ ะตรวจหำมะเรง็ ชนิดต่ำง ๆ ตัวช้ีวัดที่ 2 เด็กแรกเกิดกินนมแม่อย่ำงเดียวอย่ำงน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน จานวนที่ สารวจทั้งหมด 919 คน ตกเกณฑ์จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.87 ซึ่งมีปัจจัยท่ีเป็นสำเหตุให้คนแพร่ ยังไม่ผ่ำนเกณฑ์ในเรื่องกำร กินนมแม่ฯ และเป็นปัญหำท่ีสำคัญอยู่หลำยสำเหตุ อำทิ ปัญหำด้ำน เศรษฐกิจ ที่ผู้เป็นแม่ต้องออกไปทำงำนนอกบ้ำน/นอกพ้ืนที่ เพื่อ ช่วยเหลือหำรำยได้ให้แก่ครอบครัว รวมทั้งปัญหำด้ำนสุขภำพของผู้ เป็นแม่เอง เช่น กำรมีน้ำนมไม่เพียงพอต่อกำรเล้ียงดูลูก ประกอบกับกำรขำดควำมรู้และกำรเข้ำใจผิดของผู้ เป็นแม่ กำรเลยี้ งดูที่สืบทอดต่อกันมำ กำรใหล้ กู ดดู นมแม่ก็คดิ ว่ำจะทำใหร้ ปู ร่ำงของตนเสียบำ้ ง เปน็ ตน้ ตัวช้ีวัดท่ี 5 ครวั เรือนมีกำรใช้ยำเพื่อบำบัด บรรเทำอำกำรเจ็บป่วยเบ้ืองต้นอย่ำงเหมำะสม กำรรักษำเพื่อบำบัด บรรเทำอำกำรเจ็บป่วยเบื้องต้น จะวัดผลใน 4 เรื่อง ได้แก่ 1) ใช้ยำสำมัญประจำบ้ำน 2) ไม่กินยำชุดที่ซื้อจำกร้ำน ขำยของชำ 3) ไม่กินยำสมุนไพรหรือยำแผนโบรำณที่ไม่ได้ปรุงขึ้น เฉพำะสำหรบั ตน 4) ไม่กินผลิตภัณฑ์เสริมอำหำรที่อวดอ้ำงสรรพคุณ เกินจริง ซึ่งทุกคนในครัวเรือนต้องปฏิบัติเก่ียวกับเรื่อง ดังกล่ำว ให้ ครบทั้งสี่เร่ืองเมื่อมีอำกำรเจ็บป่วย และไม่สำมำรถไปรับกำรรักษำท่ี สถำนอี นำมัย คลินิก หรือโรงพยำบำลได้ จึงจะผำ่ นเกณฑ์ ซึ่งจังหวัดแพร่ มคี รวั เรือนทีไ่ มผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 673 ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.57 ตัวช้ีวัดท่ี 4 ครัวเรือนกินอำหำรถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มำตรฐำนด้ำน จะวัดผลใน 4 เร่ือง ได้แก่ 1) กิน อำหำรบรรจุสำเร็จต้องมีเคร่ืองหมำย อย. เช่น เกลือเสริมไอโอดีน น้ำปลำ น้ำส้มสำยชู อำหำรกระป๋อง นม อำหำรกล่องเป็นต้น 2) กิน เนื้อสัตว์ต้องทำให้สุกด้วยควำมร้อน 3) กินผักต้องเป็นผักปลอด สำรพษิ หรือไดท้ ำกำรแชด่ ้วยน้ำผสมด่ำงทับทิมแล้วล้ำงด้วยนำ้ สะอำด รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 41 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

หลำย ๆ ครั้ง 4) ก่อนกินอำหำรต้องล้ำงมือด้วยทุกครั้งและใช้ช้อนกลำง ซึ่งทุกคนในครัวเรือนได้ปฏิบัติ เก่ียวกบั กำรกินอำหำรครบทั้งส่ีเรือ่ งจึงจะผ่ำนเกณฑ์ ซ่ึงจังหวัดแพร่ มีครวั เรอื นท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 445 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.38 เนื่องจำกวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ควำมเชื่อเกยี่ วกับพฤติกรรมในกำรกิน และอำหำรที่นิยมของคนแพร่ คือลำบดิบ ซ่ึงมักจะพบเห็นจำกกำรทำกินในครอบครัว กำรทำเพื่อเล้ียงคนใน เวลำมีงำนบุญ งำนประเพณีต่ำง ๆ หรือบำงครั้ง อำจพบเห็นจำกกำรแนะนำร้ำนอำหำรพื้นเมืองที่นิยมลำบ ดิบ จึงทำให้คนแพร่นิยมกินอำหำรที่สุกๆ ดิบๆ อย่ำงหลีกเล่ียงได้ยำก แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำที่สำคัญใน เรื่องนี้จึงน่ำจะเน้นไปท่ีกำรรณรงค์ให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจถึงโทษของกำรกินอำหำรท่ีไม่ถูกสุขลักษณะ โดย อำศัยประโยชน์ของระบบกำรส่ือสำรและเทคโนโลยีสมัยใหม่มำช่วยในกำรสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจแก่ ประชำชน เนื่องจำกเครือข่ำยด้ำนกำรส่ือสำรสำมำรถเข้ำถึง ได้แทบทุกจุดของชุมชน คำดว่ำสิ่งเหล่ำนี้จะช่วยเปล่ียนแปลง พฤตกิ รรมกำรกินของประชำชน โดยเฉพำะคนรุน่ ใหมไ่ ด้ จำกคำนิยำมของ “กำรออกกำลังกำย” ตำม แบบสอบถำมข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน คือกำรเคลื่อนไหว ร่ำงกำย เช่น เดินจ้ำ วิ่ง/วิ่งเหยำะ ถีบจักรยำน เต้นแอโรบิค วำ่ ยน้ำ กระโดดเชือก หรือกีฬำประเภทฝึกควำมอดทน ท้ังนี้รวมถึงกำรทำงำนประกอบอำชีพ เช่น หำบขนม ขำย ถีบสำมล้อ รับจ้ำง หรือทำงำนบ้ำน งำนสวน เป็นต้น วันละ 30 นำทีอย่ำงน้อยสัปดำห์ละ 3 วัน เป็นต้น ซง่ึ จำกผลกำรสำรวจ จังหวัดแพร่ มีจานวนทผี่ ่านเกณฑ์ทัง้ สนิ้ จานวน 300,486 คน คดิ เป็นร้อยละ 99.85 ของจานวนที่สารวจทั้งหมด (ตกเกณฑ์จำนวน 444 คน คิดเป็นร้อยละ 0.15) ชี้ให้เห็นวำ่ คนแพร่ส่วนใหญ่มี กำรออกกำลังกำย ซ่ึงอำจมีผลจำกโครงสร้ำงประชำกรของจังหวัดแพร่ ที่อยู่ในช่วงอำยุ 26 ปีเต็ม – 49 ปี (ร้อยละ 30.73) รองลงมำอำยุ 50 ปีเต็ม – 59 ปี (ร้อยละ 20.95) อำยุ 15 ปีเต็ม – 25 ปี (ร้อยละ 10.51) และอำยุ 6 ปีเต็ม – 14 ปี (ร้อยละ 7.64) ซง่ึ จำกชว่ งอำยุ ดังกล่ำว จะเหน็ ได้วำ่ ส่วนใหญเ่ ป็นวยั แรงงงำน และ เป็นวัยทส่ี ำมำรถออกกำลงั กำยตำมคำนิยำมขำ้ งตน้ ได้ ปัจจุบันจังหวัดแพร่ มีผู้สูงอำยุท่ีมีอำยุตั้งแต่ 60 ปี มีมำกเป็นอันดัน 1 ของช่วงอำยุ ประชำกร มีมำกถึง จำนวน 84,105 คน คิดเป็นร้อยละ 27.09 เพ่ิมข้ึนจำกปี 2560 จำนวน 2,764 คน และ คำดว่ำแนวโน้มจะเพิ่มมำกข้ึน เพรำะประชำกรท่ีมีอำยุระหว่ำง 50 ปีเต็ม – 59 ปี ของจังหวัดแพร่ มีจำนวน 65,036 คน คิดเป็นร้อยละ 20.95 จำกผลกำรสำรวจด้ำนประชำกรแยกตำมอำยุ ชใ้ี ห้เห็นว่ำจังหวัดแพร่กำลัง จะเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ ซ่ึงตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ได้ กล่ำวถึงกำรเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุของโลกอย่ำงต่อเนื่อง เกิดควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม ขณะที่โครงสร้ำง กำรผลิตจะเปล่ียนจำกกำรใช้แรงงำน เป็นกำรใช้องค์ควำมรู้และเทคโนโลยีมำกข้ึน ทำให้กำรพัฒนำคนมุ่ง สร้ำงให้มีควำมรู้ ทักษะ และควำมชำนำญ ควบคู่ไปกับกำรพัฒนำเทคโนโลยีเพ่ือใช้ทดแทนกำลังแรงงำนท่ี ขำดแคลน ขณะเดียวกัน ประเทศท่ีเข้ำสู่ สังคมผู้สูงอำยุจะมีรำยจ่ำยด้ำนสุขภำพ เพ่ิมขึ้น ทำให้งบประมำณสำหรับกำรลงทุน ในกำรพฒั นำดำ้ นอื่น ๆ ลดลง รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 42 สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั แพร่

สภาพแวดลอ้ มของคนแพร่ ตารางที่ 23 หมวดที่ 2 สภาพแวดลอ้ ม 7 ตัวช้วี ดั ตวั ช้วี ัดขอ้ มูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จานวนที่สารวจ ไม่ผา่ น รอ้ ยละ ท้งั หมด เกณฑ์ ข้อ 8 ครัวเรือนมีควำมมั่นคงในท่ีอยู่อำศยั และบ้ำนมีสภำพคงทน 118,050 คร. ถำวร 70 คร. 0.06 118,050 คร. ข้อ 9 ครัวเรือนมนี ำ้ สะอำดสำหรับด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี 90 คร. 0.08 อยำ่ งนอ้ ยคนละ 5 ลิตรต่อวัน 118,050 คร. 99 คร. 0.08 ขอ้ 10 ครัวเรือนมนี ้ำใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่ำงน้อยคนละ 45 118,050 คร. ลิตรตอ่ วนั 486 คร. 0.41 118,050 คร. ข้อ 11 ครัวเรือนมกี ำรจัดบำ้ นเรือนเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สะอำด 118,050 คร. 252 คร. 0.21 และถูกสขุ ลักษณะ 291 คร. 0.25 118,050 คร. ขอ้ 12 ครวั เรือนไม่ถูกรบกวนจำกมลพิษ 40 คร. 0.03 ข้อ 13 ครัวเรือนมีกำรป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชำติอย่ำงถูก วธิ ี ข้อ 14 ครัวเรือนมีควำมปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน จำกผลกำรสำรวจคุณภำพชีวิตของคน แพร่ ด้ำนสภำพแวดล้อมพบว่ำตัวชี้วัดท่ีตกเกณฑ์มำก ทส่ี ุด ได้แก่ ตัวชี้วัดขอ้ 11 ครัวเรอื นมีการจัดบ้านเรือน เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ จำก จำนวนท่ีสำรวจทั้งหมด 118,050 ครัวเรือน ไม่ผ่ำน เกณฑ์ จำนวน 486 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.41 ซ่ึง อำเภอที่พบว่ำตกเกณฑ์เฉล่ียมำกท่ีสุดได้แก่ อาเภอสอง ตกเกณฑ์ทั้งหมด 402 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.97 ลองลงมำ คืออำเภอลอง อำเภอรอ้ งกวำง และอำเภอสงู เมน่ ตำมลำดับ ท่ีอยู่อำศัยถือว่ำเป็นหน่ึงในปัจจัยสี่ ซึ่งเป็นพื้นฐำนสำคัญต่อกำรดำรงชีพของมนุษย์ เพรำะ ชีวิตของมนุษย์ส่วนใหญ่ เวลำสองในสำมของแต่ละวัน มักจะใช้ชีวิตอยู่ท่ีบ้ำนพักอำศัย ทั้งกำรพักผ่อนหลับ นอน และกำรทำกิจกรรมต่ำง ๆ ภำยในครอบครัว ส่วนเวลำที่เหลือเป็นเวลำของกำรทำงำนหรือทำกิจกรรม ในสถำนที่อ่ืน ๆ ดังนั้น จึงนับวำ่ เป็นสงิ่ จำเป็นท่ีจะขำดเสียมิได้ เพรำะเป็นสถำนท่ีที่มีประโยชน์ในกำรป้องกัน ควำมร้อน ควำมหนำว แดด ลม ฝน ตลอดจน ป้องกันสัตว์และแมลงมำรบกวน แต่กำรมีบ้ำนพักอำศัยนั้น จำต้องคำนึงถึงคุณภำพในหลำยๆ ด้ำน ให้มีสภำพที่เหมำะสมต่อกำรพักอำศัยด้วย คือ จะต้องเป็นบ้ำนท่ีถูก สุขลักษณะ ซง่ึ กม็ ขี อ้ จำกดั ในกำรจดั กำรสุขำภบิ ำลทอี่ ยู่อำศัยให้มีควำมเหมำะสมได้ อำทิ 1. ข้อจำกัดทำงด้ำนเศรษฐกิจ กำรสร้ำงบ้ำนพักอำศัยให้ถูกสุขลักษณะหรือถูกหลัก สุขำภบิ ำลได้มำกนอ้ ยเพยี งใดน้ัน ขนึ้ กบั ฐำนะของผู้อยู่อำศยั เป็นสำคญั 2. ข้อจำกัดทเี่ ก่ียวขอ้ งกับสภำวะทำงสงั คม อตั รำกำรเพมิ่ ประชำกรและกำรโยกยำ้ ยถิ่นฐำน 3. ข้อจำกดั ทำงกำรศกึ ษำ รายงานคุณภาพชีวิต...คนแพร่ ปี 2561 43 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่

4. ข้อจำกัดทำงด้ำนขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ควำมแตกต่ำงด้ำน ขนบธรรมเนียมฯ มีส่วนในกำรกำหนดรูปทรงและกำรจัดสภำพแวดล้อมท่ีอยู่อำศัย บ้ำนในเขตชนบท อำจ สร้ำงเป็นรปู แบบทค่ี ลำ้ ยคลึงกัน เปน็ บ้ำนไม้ยกพื้นสูง และอำจมกี ำรทำคอกสตั ว์ใตถ้ ุนบำ้ นดว้ ย ตัวชี้วัดท่ี 12 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ จำกกำรสำรวจของจังหวัดแพร่ จำนวน 118,050 ครัวเรือน ไม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 252 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.21 พบมำกในพ้ืนที่อำเภอเด่นชัย จำนวน 95 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.98 ลองลงมำ คือ อำเภอลอง และอำเภอสอง สืบเนื่องมำจำกกำร ขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ รวมทั้งกำรปรับปรุงก่อสร้ำงโครงสร้ำงพ้ืนฐำนหลัก เช่นกลุ่มทำทำปุ๋ย (โรงงำน) ปรับปรุงก่อสร้ำงเส้นทำงสำยหลักของอำเภอ บ่อทิ้งขยะ เป็นต้น ตัวช้ีวัดท่ี 13 ครัวเรือนมีการป้องกัน อุบัติภัย และภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี จำกกำรสำรวจของจังหวัดแพร่ จำนวน 118,050 ครัวเรือน ไม่ผ่ำน เกณฑ์ จำนวน 291 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.25 สืบเนื่องมำจำกกำรไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำยกำรขับขี่ ยำนพำหนะ เชน่ ไมส่ ่วนหมวกกนั น็อก คำดเข็มขดั นิรภยั ยงั มีปจั จัยอื่นๆ คือ 1 ภำยในบ้ำนไมม่ ีกำรตรวจซ่อมแซมอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้ำให้อยู่ในสภำพดี สำยไฟฟ้ำ ปลั๊ก เสยี บ หรอื สวิตซ์ไฟ อำจทำใหเ้ กิดมอี นั ตรำยทำใหบ้ ำดเจบ็ หรือถึงแกช่ ีวิต 2 ไม่มีกำรป้องกันอันตรำยหรืออุบตั ิเหตุจำกกำรประกอบอำชีพ เช่น ไม่ปฏิบัติตมคำแนะนำ ในกำรใช้สำรเคมที ำงกำรเกษตร (ไม่สวมแวน่ ตำ หนำ้ กำกหรือผ้ำปิดจมูก ถุงมอื ยำง ฯลฯ) 3 ไม่มกี ำรเตรียมพร้อมรบั มือกับอุบัติภัยและภัยธรรมชำตอิ ย่ำงถูกวิธี หรือ กำรท่ีประชำชน ในชุมชน/หม่บู ้ำนไม่มีมีควำมตระหนัก ไมม่ คี วำมรู้ควำมเขำ้ ใจในกำรบรหิ ำรจดั กำรภัยพิบตั ิ การศึกษาของคนแพร่ ตารางท่ี 24 หมวดที่ 3 การศึกษา 5 ตัวชวี้ ัด ตัวชีว้ ัดข้อมลู ความจาเปน็ พ้ืนฐาน (จปฐ.) จานวนท่ี ไม่ผา่ น รอ้ ยละ สารวจทัง้ หมด เกณฑ์ ข้อ 15 เด็กอำยุ 3 - 5 ปี ได้รับกำรเลย้ี งดเู ตรยี มควำมพร้อมกอ่ น 6,132 คน 0 0.00 วยั เรยี น ขอ้ 16 เด็กอำยุ 6 - 14 ปี ได้รับกำรศึกษำภำคบังคบั 9 ปี 23,794 คน 158 คน 0.66 7 คน 1.16 ขอ้ 17 เด็กจบช้ัน ม.3 ไดเ้ รยี นตอ่ ชน้ั ม.4 หรอื เทยี บเท่ำ 606 คน 0 คน 0.00 ข้อ 18 คนในครัวเรอื นที่จบกำรศกึ ษำภำคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้ 207 คน เรียนตอ่ และยังไม่มีงำนทำ ได้รับกำรฝึกอบรมด้ำนอำชพี ข้อ 19 คนอำยุ 15 – 59 ปี อ่ำนเขียนภำษำไทยและคิดเลขอย่ำง 193,488 คน 357 คน 0.18 งำ่ ยได้ จำกผลกำรสำรวจคุณภำพชีวิตของคนแพร่ ด้ำนกำรศึกษำพบว่ำตัวช้ีวัดท่ีตกเกณฑม์ ำกที่สุด ได้แก่ ตัวช้ีวัดที่ 16 เด็กอำยุ 6 - 14 ปี ได้รับกำรศึกษำภำคบังคับ 9 ปี จำกกำรสำรวจกลุ่มเป้ำหมำยจำนวน 23,794 คน ไม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 0.66 จำกกำรดำเนินกำรจัดเก็บข้อมูลฯ (ตำม คำถำมของแบบจัดเก็บข้อมูลฯ) และกำรบันทึกประมวลผลข้อมูลฯ ในหัวข้อน้ี อำจมีควำมเข้ำใจผิดระหว่ำง ผูอ้ อกแบบเขียนโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ และผลกำรประมวลข้อมูลที่ออกมำขัดกับควำมเป็น จริงทำงดำ้ นกำรศึกษำ พอสรปุ ไดว้ ่ำ รายงานคุณภาพชีวติ ...คนแพร่ ปี 2561 44 สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั แพร่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook