Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book articlesummary

e-book articlesummary

Published by mamon.by.cad, 2020-04-16 23:23:11

Description: e-book articlesummary

Search

Read the Text Version

สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณArticle Summary

คํานําลุมวิจัยและพัฒนา เปนกลุมงานในสังกัดสํานักแผนงานและโครงการพิเศษ มีภารกิจหนึ่งในการสงเสริมและพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับงานวิจัยใหแกบุคลากรของกรมตรวจบัญชีสหกรณ ในครั้งนี้ไดรวบรวมผลงานทางวิชาการจากแหลงขอมูลตางๆ ไดแก วารสารงานวิจัย วิทยานิพนธ การคนควาอิสระ รายงานประจําป และบทความทางวิชาการ เปนตน ซึ่งเผยแพรอยูทั่วไปในรูปแบบออนไลน โดยไดคัดเลือกผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับภารกิจของกรมตรวจบัญชีสหกรณ จํานวน 36 เรื่อง ประกอบดวยเนื้อหาที่มีความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาผูสอบบัญชีสหกรณ การพัฒนาองคกร เทคนิคและโปรแกรมสําหรับการตรวจสอบบัญชี การจัดทําบัญชีของกลุมวิสาหกิจชุมชนและกลุมเกษตรกรตางๆ รวมถึงองคความรูอื่นๆ อันจะนําไปสูการเปดกวางโลกทัศนมุมมอง และทัศนคติใหกับผูอานการจัดทํา ‘สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ’ดังกลาว มีความมุงหวังที่จะใหเปนหลักคิดและแนวทางในดานวิชาการใหแกผูปฏิบัติงานในสวนตางๆ โดยเฉพาะผูสอบบัญชีสหกรณในพื้นที่ทั่วทุกภูมิภาค ในการนําขอมูล ความรู ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะมาประยุกตใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน อีกทั้งอาจชวยจุดประกายความคิดในการตอยอดงานวิจัย เนื่องจากอาจพบเจอประเด็นที่มีลักษณะคลายคลึงกัน กระตุนความสงสัยที่มีอยูในใจจนนําไปสูการคนหาคําตอบดวยตนเอง ซึ่งนอกจากจะเปนการตอยอดองคความรูใหกวางขวางแลว ยังเปนการบมเพาะวัฒนธรรมของการแสวงหาความรูและการเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง อันจะนําไปสูการพัฒนางานที่ตนเองรับผิดชอบ สรางความมั่นใจและความเชื่อมั่นตอตนเอง นอกจากนี้ ยังสามารถใชเปนแหลงอางอิงสําหรับการจัดทําผลงานเพื่อเขารับการประเมินใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น โดยงานวิจัยแตละเรื่องมีการทบทวนวรรณกรรมในสาขาที่เกี่ยวของเปนจํานวนมาก ซึ่งจะเปนการพัฒนาการจัดทําผลงานเพื่อเขารับการประเมินดังกลาวในภาพรวมอีกทางหนึ่งดวย ประการสุดทาย การสรุป ผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะไดสรางประสบการณใหแกผูอาน สรางความสุขและความเราใจจากการไดอานและเปดรับความรูใหมๆ สรางความตื่นตัว และสรางบรรยากาศแหงการพูดคุยอภิปรายทางวิชาการทั้งนี้ เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกสําหรับการคนควาหาความรู จึงไดจัดทํา QR Code สําหรับดาวโหลดเอกสารฉบับเต็มไวในตอนทายของเนื้อหาที่สรุปในแตละเรื่อง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาการสรุปผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูอานทุกทาน หากมีขอผิดพลาดประการใด คณะผูจัดทําขอนอมรับคําติชมและคําแนะนําตางๆ เพื่อนําไปปรับปรุงการจัดทําผลงานในครั้งตอไปกลุมวิจัยและพัฒนาสํานักแผนงานและโครงการพิเศษเมษายน 2563

สารบัญ148ความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทยการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5ตัวแบบการประยุกตหลักการผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชีในประเทศไทย111315การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีและคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนของผูชวยผูสอบบัญชีในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการกิจการนอกตลาดทุนการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะการบัญชีสืบสวน : มุมมองของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภาครัฐ172023กลยุทธของกรมตรวจบัญชีสหกรณในการกํากับดูแลสหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 แนวทางการแกปญหาในการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชีและโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึกของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกนความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง273134การวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางโครงการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการการพัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน

สารบัญ (ตอ)363942เปรียบเทียบตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีความเสี่ยงของระบบสหกรณออมทรัพยกับแนวทางการปฏิรูปการกํากับดูแล454750การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงของสหกรณออมทรัพยครูอุทัยธานี จํากัดปญหาและอุปสรรคในการควบคุมคุณภาพสํานักงานสอบบัญชีที่สงผลกระทบตอคุณภาพรายงานการตรวจสอบของสํานักงานสอบบัญชีขนาดเล็กของประเทศไทยปญหาและผลกระทบจากการนํามาตรฐานการควบคุมคุณภาพมาใชของสํานักงานสอบบัญชีขนาดเล็กและขนาดกลาง535558ความสัมพันธระหวางคุณลักษณะของกิจการ และคุณลักษณะของงานตรวจสอบตอการกําหนดคาธรรมเนียมการสอบบัญชีพัฒนาการการสหกรณในประเทศไทยปญหาการดําเนินงานของสหกรณการเกษตรในประเทศไทย ทฤษฎีฐานรากจากขาราชการของกรมสงเสริมสหกรณและกรมตรวจบัญชีสหกรณ616568ประสิทธิภาพและกุญแจแหงความสําเร็จในการดําเนินการสหกรณการเกษตร : การศึกษาเพื่อสรางทฤษฎีฐานรากการคิดตามกลุมและผลกระทบตอการตัดสินใจของสหกรณปญหาและอุปสรรคในการจัดทําบัญชีวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

สารบัญ (ตอ)707273การจัดทําบัญชีของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดเชียงใหมตามแนวทางของกรมตรวจบัญชีสหกรณการจัดการความรูระบบบัญชีสําหรับกลุมวิสาหกิจชุมชนทอผาไหม เพิ่มประสิทธิภาพของรายงานทางการเงิน กรณีศึกษา อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคามการวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีของวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา กลุมทอผาบานตรอกแค ตําบลขอนหาด อําเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช747678การทําบัญชีและใชสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการจัดการองคกรสําหรับวิสาหกิจชุมชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชแนวทางการพัฒนาความรูดานการจัดทําบัญชีของสหกรณโครงการบานมั่นคง จังหวัดจันทบุรีการจัดทําบัญชีตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีเกษตรกรในพื้นที่โครงการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ ตําบลขาวเสีย อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง808386รูปแบบการทําบัญชีครัวเรือนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจครอบครัวการพัฒนาระบบการจัดทําบัญชีครัวเรือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีสวนรวมของชุมชน ตําบลหนองปาครั่ง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมการศึกษากระบวนการเรียนรูการจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางยั่งยืนของเกษตรกร888991การยอมรับการจัดทําบัญชีครัวเรือนของประชาชนในตําบลงิ้วราย อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐมการพัฒนาระบบบัญชีในการบริหารเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน ของกลุมเย็บผาฝายพื้นเมือง บานกกไอ ตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหารแนวทางการจัดทําบัญชีที่เหมาะสมสําหรับวิสาหกิจชุมชนผูผลิตเคหะสิ่งทอจากผาฝายทอมือในอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม

ความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทยผูวิจัย ณัฏฐธิดา จินมอญจากวิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พ.ศ. 2559คุณภาพการสอบบัญชีเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นความเปนมืออาชีพของผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผูวิจัยมีวัตถุประสงคตองการทดสอบวาความเปนมืออาชีพมีอิทธิพลกับคุณภาพการสอบบัญชีหรือไม โดยเก็บขอมูลจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต ขอมูลที่ไดสามารถนําไปปรับใชพัฒนาศักยภาพผูสอบบัญชีใหมีประสิทธิภาพ เปนกลยุทธในการสรางคุณภาพการสอบบัญชีเพื่อเปนการสรางชื่อเสียงอันดีแกวิชาชีพสอบบัญชีตอไปกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่ยินยอมใหเปดเผยขอมูล จํานวน 400 คน กรอบการวิจัยนิยามศัพทเฉพาะความเปนมืออาชีพ (Professionalism) หมายถึง ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเปนผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ และความชํานาญในลักษณะของการกระทํา หรือเรียนรูอยางชาญฉลาด มีเทคนิคและการปฏิบัติการที่ยอดเยี่ยม มีความสัมพันธและการติดตอสื่อสารที่ดี และมีทักษะการจัดการองคกรการเรียนรูอยางชาญฉลาด (Intellectual) หมายถึง การเปนผูมีความรู ความสามารถ มีความเต็มใจในการใชความรูความสามารถที่มีอยู รวมถึงวิธีการใหมๆ เพื่อที่จะนํามาปรับปรุงใชในการทํางานเพื่อพัฒนางานที่รับผิดชอบใหเกิดผลสําเร็จเทคนิคและการปฏิบัติหนาที่ (Technical and Functional) หมายถึง การมีวิธีการทํางานใหมๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งเนนการทํางานรวมกัน มีการปรับปรุงวิธีการทํางานใหมๆ รวมทั้งการนําเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใชในการดําเนินงานความเปนมืออาชีพ (Professionalism) 1. การเรียนรูอยางชาญฉลาด (Intellectual) 2. เทคนิคและการปฏิบัติหนาที่ (Technical and Functional) 3. ความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร (Interpersonal and Communication) 4. ทักษะการจัดการองคกร (Organizational Management Skill) คุณภาพการสอบบัญชี (Audit Quality) 1. ความถูกตอง (Accuracy) 2. ความเที่ยงธรรม (Objectiveness) 3. ความชัดเจน (Clearness) 4. ความกะทัดรัด (Conciseness) 5. ความสรางสรรค (Creation) 6. ความสมบูรณ (Completion) 7. ความทันกาล (Timeliness) ความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ1 1.

ความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร (Interpersonal and Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารกับบุคคลหลายฝายที่เกี่ยวของกับการสอบบัญชีเพื่อสนับสนุนบทบาทของการเปนที่ปรึกษาทางธุรกิจมากขึ้น ตลอดจนเพื่อใหมีความเขาใจตรงกันในเรื่องขาวสารนั้น โดยการใชทรัพยากรอยางประหยัดและใชเวลานอยที่สุดทักษะการจัดการองคกร (Organizational Management Skill) หมายถึง มีความสามารถในการวางแผนเชิงกลยุทธการบริหารโครงการ การบริหารทรัพยากรมนุษย และการจัดการทรัพยากร รวมถึงการตัดสินใจอยางมีประสิทธิภาพ จัดระบบและมอบหมายงาน รวมถึงสามารถจูงใจและพัฒนาบุคลากรใหเปนไปตามนโยบายขององคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ และใหความสําคัญกับแนวคิดความเปนผูนําในทางวิชาชีพคุณภาพการสอบบัญชี (Audit Quality) หมายถึง การแสดงความเห็นในงบการเงินของผูสอบบัญชีในรายงานการสอบบัญชีที่มีประสิทธิภาพ ในการสรางความเชื่อมั่นในสวนของความถูกตองและครบถวนในสาระสําคัญ เพื่อประโยชนในการตัดสินใจของผูใชงบการเงินความถูกตอง (Accuracy) หมายถึง ไมเกิดขอผิดพลาด บิดเบือน และเปนไปตามความจริงที่เกี่ยวของ ขอความทุกประโยค ตัวเลข ผูตรวจสอบไดรวบรวม ประเมิน และสรุปนําเสนออยางระมัดระวังและแมนยําแลวความเที่ยงธรรม (Objectiveness) หมายถึง การสื่อสารที่ถูกตองตามควร ไมลําเอียงจากทัศนคติ และผลประเมินที่เปนกลาง โดยพิจารณาจากความจริงและสถานการณรอบดานแลว การสังเกตการณ การสรุป และการเสนอแนะของผูตรวจสอบ ตองไดมาจากการกระทําที่ปราศจากอคติ ลําเอียง ไมมีผลประโยชนสวนตัว หรือไมอยูภายใตอิทธิพลของผูอื่นความชัดเจน (Clearness) หมายถึง ความสามารถในการสื่อความใหผูอานรายงานเขาใจ แสดงลําดับความเปนเหตุเปนผล ความชัดเจน โดยหลีกเลี่ยงการใชภาษาทางวิชาการที่ไมจําเปน หากจําเปนตองใชศัพทเทคนิคตองมีคําอธิบายหรือนิยามศัพทความกะทัดรัด (Conciseness) หมายถึง การสื่อสารตรงประเด็น ไมออมคอม การตัดทอนขอความและคําฟุมเฟอยที่ไมจําเปนออกไป โดยผูตรวจสอบยังคงตองรักษาความตอเนื่องของแนวคิดที่รายงานไว ตลอดจนความถูกตองของการใชภาษาเพื่อใหผูอานเขาใจและใชเวลานอยความสรางสรรค (Creation) หมายถึง การสื่อสารที่ชวยและจูงใจใหผูปฏิบัติงานและองคการมีการปรับปรุงในสิ่งที่จําเปน โดยเนื้อหาควรเปนประโยชนใหบรรยากาศเชิงบวก และมีความหมายตอการบรรลุวัตถุประสงคขององคการความสมบูรณ (Completion) หมายถึง การเสนอรายงานที่ครบถวนสมบูรณ หมายถึง การไมขาดสารสนเทศที่สําคัญตอผูอานที่เปนเปาหมาย ซึ่งควรประกอบดวย สารสนเทศและขอสังเกตที่สนับสนุนขอสรุปและขอเสนอแนะที่เพียงพอความทันกาล (Timeliness) หมายถึง การเสนอรายงานตองกระทําภายในเวลาที่ดี ใหผูเกี่ยวของมีโอกาสแกไข การเสนอผลการตรวจไมลาชาและควรทําในระดับ ดวน เพื่อชวยใหการแกไขมีประสิทธิภาพ“” ผลการวิเคราะหขอมูลผลการวิเคราะหสหสัมพันธของความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย พบวา ตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธทางบวก ไดแก ดานการเรียนรูอยางชาญฉลาด ดานเทคนิคและการปฏิบัติหนาที่ ดานความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร และดานทักษะการจัดการองคกรผลการวิเคราะหความถดถอย พบวา ตัวแปรที่สามารถพยากรณคุณภาพการสอบบัญชี มี 3 ตัวแปร เมื่อพิจารณาตัวแปรที่ดีที่สุด คือ ดานความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร และดานการเรียนรูอยางชาญฉลาดความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ2

เมื่อพิจารณาตัวแปรที่มีอิทธิพลรวมสูงสุด ตอคุณภาพการสอบบัญชี คือ ตัวแปรดานความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร และดานการเรียนรูอยางชาญฉลาด รองลามาคือ ตัวแปรดานเทคนิคและการปฏิบัติหนาที่สวนตัวแปรดานทักษะการจัดการองคกร ไมมีอิทธิพลตอความเปนมืออาชีพกับคุณภาพของผูสอบบัญชี ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษาผลกระทบของความเปนมืออาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพที่มีตอคุณภาพการสอบบัญชีของนันทวรรณ วงศไชย (2552) ซึ่งพบวา ทักษะดานการจัดการองคกรสงผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพการสอบบัญชีขอเสนอแนะผูสอบบัญชีควรใหความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพดานการเรียนรูอยางชาญฉลาด ที่มีผลตอการสรางคุณภาพการสอบบัญชี เพื่อสรางขอไดเปรียบในวิชาชีพสอบบัญชีผูสอบบัญชีควรใหความสําคัญในดานเทคนิคและการปฏิบัติหนาที่ของผูสอบบัญชี เพื่อใหงานตรวจสอบบัญชีมีประสิทธิภาพ ใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยี ขอมูลสารสนเทศ เพื่อใหการทํางานสอบบัญชีมีคุณภาพ และทําใหลูกคามีความเชื่อมั่นในการสอบบัญชีผูสอบบัญชีความใหความสําคัญในดานความสัมพันธและการติดตอสื่อสาร มีการใชภาษาที่ชัดเจนในการสื่อสารใหผูใชขอมูลเขาใจสาระสําคัญของรายงานการสอบบัญชี และสามารถสะทอนถึงความนาเชื่อถือไดของงบการเงินผูสอบบัญชีควรใหความสําคัญกับคุณภาพการสอบบัญชี โดยเฉพาะความชัดเจนและความสรางสรรครายงานการสอบบัญชี เพื่อใหไดรายงานการสอบบัญชีที่ชัดเจนและเหมาะสมกับผูใชขอมูลshorturl.at/fjsGT Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ3 ความเปนมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย

การใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5ผูวิจัย จิรัฐติกาล วุฒิพันธุ กฑิตา พันธยาง กนกวรรณ คําเพ็ง จิรประภา สุขสม อาจารยประจําสาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกนธนัชพร ใจบุญ ปรีดี โสดาคง สุจิตรา ทองไลยนักศึกษาสาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกนจากวารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม ปที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม ธันวาคม 2560-กรอบแนวคิดการวิจัยวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ (SKEP)- วิจารณญาณในการชางสงสัย (QUM) - ความระมัดระวังทางวิชาชีพ (DPC) - ความสามารถในดานวิชาชีพ (PRC) - การตระหนักถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี (AUR) วัตถุประสงคการวิจัย1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานัก2. เพื่อเปรียบเทียบการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 ที่มีประสบการณและสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ปฏิบัติ แตกตางกันประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี (EFF) - ความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี (SUA) - การปฏิบัติงานถูกตองเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ (PFS) - ความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงิน (FIR) การใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ4 2.

นิยามศัพทเฉพาะวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ (Professional Skepticism)หมายถึง ทัศนคติที่รวมถึงความรูสึกนึกคิด พินิจ วิเคราะห ในการประเมินหลักฐาน ความถูกตองของขอมูลที่ผูบริหารใหการรับรองไวสอดคลองกับมาตรฐานการสอบบัญชี ประกอบไปดวยวิจารณญาณในการชางสงสัย (Questioning Mind)หมายถึง การมีคําถามอยูในใจเสมอและเปนทัศนคติที่สําคัญที่เสริมความสามารถของผูสอบบัญชีสหกรณในการวินิจฉัยหรือแยกแยะสถานการณตางๆ ที่มีผลตอการแสดงขอมูลทางการเงินที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ และการตอบสนองตอสถานการณนั้นๆ ไดอยางเหมาะสมความระมัดระวังทางวิชาชีพ (Due Professional Care) หมายถึง การปฏิบัติงานดวยความรอบคอบและความชํานาญทางวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพที่รับรองทั่วไป และปองกันความผิดพลาดตอรายงานทางการเงินอันเปนสาระสําคัญความสามารถในดานวิชาชีพ (Professional Competencies)หมายถึง ความรูและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ ซึ่งไดรับจากการศึกษาในสถาบันการศึกษา สถานที่ฝกอบรม ประสบการณทํางาน ตลอดจนการพัฒนาความรูตอเนื่องทางวิชาชีพในการสงเสริมใหการปฏิบัติงานตรวจสอบมีประสิทธิภาพการตระหนักถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี (Audit Risk Awareness)หมายถึง ความเขาใจในความเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบตอการบรรลุวัตถุประสงคขององคกร และกําหนดวิธีการตรวจสอบในการตอบสนองความเสี่ยงไดอยางเหมาะสมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี (Audit Efficiency)หมายถึง กระบวนการตรวจสอบที่สามารถระบุขั้นตอนและจัดสรรทรัพยากรไดอยางเหมาะสมในการประเมินหลักฐาน โดยการแสดงความเห็นตองบการเงินไดอยางถูกตอง และไดรับการยอมรับจากผูเกี่ยวของทุกฝาย ประกอบไปดวยความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี (Sufficient Appropriate Audit Evidence)หมายถึง ปริมาณและคุณภาพของขอมูลที่ผูสอบบัญชีเก็บรวบรวม ตรวจทานไวนั้น สามารถทําใหผูสอบบัญชีสหกรณสามารถแสดงความเห็นตองบการเงินไดอยางถูกตองและมีการประยุกตใชผลการปฏิบัติงานในอดีตมาเปนแนวทางในปจจุบันการปฏิบัติงานถูกตองเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ (Professional Standards)หมายถึง การดําเนินงานของผูสอบบัญชีสหกรณกระทําอยางเหมาะสมและเปนไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปและหนวยงานที่กํากับดูแลความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงิน (Financial Statement Reliability)หมายถึง ขอมูลในงบการเงินตองเปนขอมูลที่มีความเชื่อถือได โดยปราศจากความผิดพลาดที่มีสาระสําคัญ เปนขอมูลที่มีความเที่ยงธรรม มีความเปนกลางโดยปราศจากความลําเอียงและมีความครบถวน ถูกตองในสาระสําคัญที่จะไมทําใหผูใชงบการเงินเขาใจผิดและตัดสินใจผิดพลาดในความเชื่อถือไดของงบการเงินวิธีดําเนินการวิจัยวิธีการสุมตัวอยางประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 จํานวนทั้งสิ้น 202 คน ผูวิจัยไดสงแบบสอบถามทางไปรษณียใหกับประชากร จํานวน 202 ฉบับ ไดรับแบบสอบถามที่ตอบสมบูรณทั้งสิ้น 126 ฉบับ (รอยละ 62.38)การใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ5

การวัดคุณลักษณะของตัวแปรการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพลักษณะแบบสอบถามเปนแบบมาตรสวนประมาณคา จํานวน 16 ขอ ครอบคลุมเนื้อหา 4 ดานคือ (1) ดานวิจารณญาณในการชางสงสัย จํานวน 4 ขอ (2) ดานความระมัดระวังทางวิชาชีพ จํานวน 4 ขอ (3) ดานความสามารถในดานวิชาชีพ จํานวน 4 ขอ และ (4) ดานการตระหนึกถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี จํานวน 4 ขอ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา จํานวน 14 ขอ ครอบคลุมเนื้อหา 3 ดานคือ (1) ดานความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี จํานวน 5 ขอ (2) ดานการปฏิบัติงานถูกตองเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ จํานวน 4 ขอ และ (3) ดานความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงิน จํานวน 5 ขอสรุปและอภิปรายผลการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ดานวิจารณญาณในการชางสงสัย (QUM) มีความสัมพันธและสงผลกระทบเชิงบวกตอ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี ดานความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงิน (FIR) เนื่องจาก วิจารณญาณในการชางสงสัยคือ การมีคําถามอยูในใจเสมอและทัศนคติสําคัญที่เสริมความสามารถของผูสอบบัญชีในการวินิจฉัยหรือแยกแยะสถานการณตางๆ ที่มีผลตอการแสดงขอมูลทางการเงินที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญและการตอบสนองตอสถานการณนั้นๆ ไดอยางเหมาะสม สงผลใหเกิดการปฏิบัติงานสอบบัญชีดวยความสงสัยในขอมูลที่ไมสอดคลองกันหรือขอสรุปในการตรวจสอบที่ไมสมเหตุสมผลการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ดานวิจารณญาณในการชางสงสัย (QUM) ไมมีความสัมพันธกับ ความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี (SUA) และการปฏิบัติงานถูกตองเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ (PFS) เนื่องจากสหกรณบางแหงมีขอบกพรองทางการเงินการบัญชี ไดแก เงินสดขาดบัญชี สินคาขาดบัญชี การไมปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ การจัดทําบัญชีและรายละเอียดประกอบงบการเงินไมเรียบรอย ไมสามารถจัดทํางบการเงินเสนอใหผูสอบบัญชีสหกรณแสดงความเห็นไดตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้ ผูสอบบัญชีสหกรณตองทําการสอบบัญชีในปริมาณงานที่มาก และมีความแตกตางตามลักษณะงานของสหกรณแตละประเภท ทําใหอาจเกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานไดการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ดานการตระหนักถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี (AUR) มีความสัมพันธเชิงบวกกับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี ดานความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี (SUA) เนื่องจากชวยลดความเสี่ยงในการมองขามสถานการณที่นาสงสัยหรือการใชขอสมมุติที่ผิดพลาดในการรวบรวมหลักฐานและการประเมินการตรวจสอบการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ดานการตระหนักถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี (AUR) มีความสัมพันธเชิงบวกกับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี ดานการปฏิบัติงานถูกตองเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ (PFS) เนื่องจากการประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติงานสอบบัญชีและกําหนดวิธีการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาความเสี่ยงจากการสอบบัญชีไดลดลงต่ําถึงระดับที่ยอมรับไดตามมาตรฐานการสอบบัญชีรหัส 400 499 การควบคุมภายใน-การใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ดานการตระหนักถึงความเสี่ยงในการสอบบัญชี (AUR) มีความสัมพันธเชิงบวกกับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชี ดานความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงิน (FIR) เนื่องจากผูสอบบัญชีจําเปนตองมีความรูเรื่องความเสี่ยงประเภทตางๆ และตองใหการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ6

ความสําคัญในการประเมินความเสี่ยงมากขึ้นในทุกขั้นตอนของการตรวจสอบ ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานสอบบัญชี หมายรวมถึง โอกาสที่ผูสอบบัญชีจะแสดงความเห็นตองบการเงินผิดพลาด อันเปนผลมาจากการปฏิบัติงานตรวจสอบไมพบความผิดพลาดของรายการ และขอมูลที่มีสาระสําคัญบางรายการที่มีผลโดยรวมตองบการเงิน ผูสอบบัญชีจึงตองมีความระมัดระวัง และวิเคราะหความเสี่ยงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงานสอบบัญชี และตองวางแผนตลอดจนปฏิบัติงานตรวจสอบใหเหมาะสมกับความเสี่ยงนั้นๆ เพื่อใหรายงานทางการเงินแสดงขอมูลที่เชื่อถือไดผูสอบบัญชีสหกรณที่มีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณสถานที่ปฏิบัติงานแตกตางกัน จะมีความเห็นเกี่ยวกับการใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพแตกตางกัน เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมืองในปจจุบัน อาจสงผลถึงสภาพแวดลอมในการทํางาน และขวัญกําลังในในการทํางานของบุคลากรแตละแหงแตกตางกันออกไป ซึ่งอาจมีผลใหประสิทธิภาพการบริหารงานแตกตางกันผูสอบบัญชีสหกรณที่มีประสบการณในการสอบบัญชีแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีโดยรวมแตกตางกัน เนื่องจากผูสอบบัญชีสหกรณที่มีประสบการณในการทํางานมาก จะมีทักษะ ความสามารถในการใชเทคนิคหลากหลายในการปฏิบัติงานที่ถูกตองรวดเร็วและมีคุณภาพมากกวาผูสอบบัญชีที่มีประสบการณนอย ซึ่งหากผูสอบบัญชีมีการพัฒนาตนเอง คนควาหาความรู ประสบการณตางๆ อยูเปนประจํา จะทําใหการปฏิบัติงานเกิดขอผิดพลาดนอยลงผูสอบบัญชีสหกรณที่มีสถานที่ปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีโดยรวมแตกตางกัน เนื่องจากการบริหารงานของหัวหนางานที่แตกตางกันจะสงผลใหผูใตบังคับบัญชีมีขวัญกําลังใจและการทํางานที่แตกตางกัน มีความกระตือรือรน และความเอาใจใสในงานที่แตกตางกันกับหัวหนางานที่ไมใสใจผูใตบังคับบัญชา ซึ่งผูนําที่ดีตองสามารถสรางแรงจูงใจใหคนในทีมทํางานดวยความเต็มใจ เต็มประสิทธิภาพ และมีความสุขในการทํางานจึงจะเปนการทํางานที่เกิดประสิทธิผลสูงสุดshorturl.at/cdFW7 การใชวิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพที่มีผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณในสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 5 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ7

ตัวแบบการประยุกตหลักการผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชี ในประเทศไทยผูวิจัย นุชนาถ มีสมพืชน1บริหารธุรกิจดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภภัทรพล ชุมมี2 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภจากวารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร ปที่ 7 ฉบับที่ 3 (กันยายน ธันวาคม 2560)– ผูนําเปรียบเสมือนเปนหัวใจขององคการ หากหัวใจเขมแข็งก็ยอมหมายถึงองคการสามารถปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ไดอยางสมบูรณแบบซึ่งสงผลใหองคการประสบความสําเร็จ ซึ่งการที่องคการจะประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจไดนั้นผูบริหารจําเปนตองอาศัยขอมูลทางบัญชีในการประเมินสถานะขององคการ เพื่อใชในการวางแผนและตัดสินใจ นักบัญชีจึงมีบทบาทและความสําคัญอยางมากตอองคการ สงผลใหวิชาชีพบัญชียิ่งมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้นปจจุบันทั้งองคการภาครัฐและเอกชนตางหันมาใหความสนใจในตัวของบุคคลที่ถือวาเปนทรัพยากรที่มีคาขององคการมากยิ่งขึ้น โดยประเด็นสําคัญคือองคการจะตองสรางความผูกพันเพื่อใหพนักงานรูสึกจงรักภักดีและพรอมที่จะปฏิบัติงานดวยความเต็มใจประกอบกับ จิตวิญญาณ นับเปนอีกปจจัยสําคัญสําหรับความสําเร็จ “” ขององคการ โดยการใชศักยภาพของบุคคลในองคการในการเพิ่มความผูกพันความพึงพอใจ และการเกิดแรงจูงใจภายในของตัวพนักงานผานมิติทางจิตวิญญาณและจิตวิญญาณแตองคการสวนใหญไมคอยใหความสําคัญทางดานมิติทางจิตวิญญาณของบุคคล ซึ่งมีงานวิจัยจํานวนมากที่ใหการยอมรับวาบุคคลที่มีความรูความเขาใจและความตองการทางจิตวิญญาณจะมีผลตอพฤติกรรมและประสิทธิภาพในการทํางาน กลาวไดวาเรื่องของจิตวิญญาณในที่ทํางานจึงเปนสิ่งจําเปนที่สามารถใชประเมินผลกระทบที่เกี่ยวของกับรูปแบบการทํางานที่ถูกตองไดจึงมีการศึกษาตัวแบบการประยุกตใชหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทสอบบัญชีในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแบบการประยุกตหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณ และเพื่อพัฒนาตัวแบบการประยุกตหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณ สําหรับผูสอบบัญชีกลุมบริษัทผูสอบบัญชีในประเทศไทย ซึ่งกลุมตัวอยางในการศึกษา แบงเปน 2 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 ผูใหขอมูลสําคัญ คือ ผูบริหารบริษัทละ คน รวม 5 คน กลุมที่ คือ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตที่ปฏิบัติงานอยูในกลุมบริษัท 1 2 สอบบัญชี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเทศไทย ที่จดทะเบียนตอสภาวิชาชีพบัญชี กลุมบริษัทสอบบัญชี ที่อยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมจํานวนประชากรทั้งหมด 1,112 คนตัวแบบการประยุกตหลักการผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชี ในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ8 3.

กรอบแนวคิดผลการศึกษา1. ภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณและจิตวิญญาณในการทํางานไมมีผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพันตอองคการ แตการตลาดภายในมีผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพันตอองคการในขณะที่ความพึงพอใจในการทํางานสงผลตอผลดําเนินงานและความผูกพันตอองคการ2. ผลการพัฒนาตัวแบบการประยุกตหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณ สําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชีในประเทศไทย พบวา สาเหตุที่ภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณและจิตวิญญาณในการทํางาน ไมมีผลตอความพึงพอใจในการทํางานและความผูกพันตอองคการ เพราะสภาพปญหาในปจจุบันของผูตรวจสอบบัญชีเกิดจากการขาดแคลนผูตรวจสอบบัญชี มาตรฐานการสอบวัดที่สูงและเกิดภาวะสมองไหลหรือการยายออกดังนั้นการพัฒนาตัวแบบการประยุกตหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณ สําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชีในประเทศไทย จําเปนตองมีการสรางกลยุทธเพื่อพัฒนา วิสัยทัศน ความหวังและความศรัทธาความรักที่เห็นแกผูอื่น และความหมายในการทํางานใหเพิ่มพูนขึ้นกลยุทธการพัฒนาตัวแบบการประยุกตหลักการภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชีกลุมบริษัทสอบบัญชีในประเทศไทย ประกอบดวย 5 ขั้นตอนหลัก คือ การเปนสมาชิก ความรักที่เห็นแกผูอื่นความเชื่อและความศรัทธา วิสัยทัศน และความหมายในการทํางาน โดยแบงรูปแบบการพัฒนาออกเปน 2 สวนคือ 1) สวนการพัฒนาทัศนคติภายในองคกรซึ่งเปนการปรับเปลี่ยนพื้นฐานทางดานแนวคิดและทัศนคติของบุคคล(2) สวนการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานเปนการปรับเปลี่ยนรูปแบบขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงานเปนการพัฒนาภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณโดยการใชกฎระเบียบหรือขอบังคับเขามาเปนตัวควบคุมภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณจิตวิญญาณในการทํางานการตลาดภายในความพึงพอใจในการทํางานความผูกพันตอองคกรผลการดําเนินงานตัวแบบการประยุกตหลักการผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชี ในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ9

ขอเสนอแนะ1. องคการที่จะนําผลการวิจัยไปประยุกตใชควรเริ่มพัฒนาในดานการเปนสมาชิกและความรักที่เห็นแกผูอื่นเปนอยางแรก โดยตองทําการพิจารณาถึงระดับการมีสวนรวมในองคการของสมาชิกในองคการเปนตนวามีความเพียงพอหรือไม หากคิดวามีความเพียงพอจึงทําการพัฒนาในดานการบริหารผลการปฏิบัติงานตอไป2. องคการที่จะนําตัวแบบการพัฒนาภาวะผูนําเชิงจิตวิญญาณไปประยุกต ตองระวังเรื่องระดับการนําไปใชประยุกตใชที่เหมาะสมไมควรปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็วจนเกิดความตอตานจากพนักงานขึ้นและควรพิจารณาถึงแนวทางความเปนไปไดที่องคการสามารถปฏิบัติในแตละกลยุทธที่นําเสนอกอนการลงมือปฏิบัติตามทุกครั้ง เพื่อใหการพัฒนาเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และไมเกิดผลกระทบกับการดําเนินงานที่เปนอยูshorturl.at/otwNQตัวแบบการประยุกตหลักการผูนําเชิงจิตวิญญาณสําหรับผูสอบบัญชี กลุมบริษัทผูสอบบัญชี ในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ10

การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีและคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณผูวิจัย พจนี ศรีสุนนท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน1สมใจ บุญหมื่นไวยจากวารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ฉบับมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ ฉบับที่ 4 2 กรกฎาคม ธันวาคม - 2560 จรรยาบรรณวิชาชีพของผูสอบบัญชีถือเปนเรื่องที่มีความสําคัญยิ่งการขาดจรรยาบรรณวิชาชีพจะสงผลกระทบตอคุณภาพงานของผูสอบบัญชี และสรางความเสียหายใหแกผูใชงบการเงินอยางที่ไมอาจจะจํากัดคาความเสียหายได จึงมีการศึกษาถึงการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณตอคุณภาพการสอบบัญชีที่เชื่อมั่นวา ถาหากผูสอบบัญชีสหกรณมีการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพอยางเครงครัดแลวจะทําใหงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีมีคุณภาพและนาเชื่อถือไปดวยการศึกษาดังกลาวจึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงขนาดของผลกระทบการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีที่มีตอคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณ กลุมตัวอยางที่ศึกษา คือ เจาหนาที่สหกรณในพื้นที่สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ จํานวน จังหวัด จํานวน 5 8 255 แหง โดยสงแบบสอบถามทางไปรษณียตั้งแตเดือนมีนาคม เมษายน - 2560 ไดรับแบบสอบถามตอบกลับคืนมา จํานวน 121 ชุด คิดเปน 47.45 % กรอบแนวคิดผลการศึกษา1. ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพสอบบัญชี ดานความรับผิดชอบตอเพื่อนรวมวิชาชีพและจรรยาบรรณทั่วไปอยูในระดับมากที่สุด อาจเพราะเจาหนาที่สหกรณอาจเห็นวาการปฏิบัติงานใด ๆ ตองคํานึงถึงความรับผิดชอบที่ตนตองทําเปนอันดับแรกจึงจะสามารถทํางานใหสําเร็จลุลวงไปไดรองลงมา คือ ดานความรูความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเปนเพราะในการปฏิบัติงานทุกอยางผูปฏิบัติงานตองมีความรูความสามารถในดานที่ตนปฏิบัติเปนอยางดีปฏิบัติงานตามหลักเกณฑเงื่อนไขและวิธีการที่กําหนดตามมาตรฐานของวิชาชีพจะทําใหผลงานที่ไดนั้นมีคุณภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีและคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพสอบบัญชี1. ความโปรงใส ความเปนอิสระ ความเที่ยงธรรมและความซื่อสัตยสุจริต2. ความรูความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน3. การรักษาความลับ4. ความรับผิดชอบตอผูสอบบัญชีสหกรณปฏิบัติงานให5. ความรับผิดชอบตอเพื่อนรวมวิชาชีพและจรรยาบรรณทั่วไปคุณภาพการสอบบัญชี1. ดานความถูกตอง2. ดานความเที่ยงธรรม3. ดานความชัดเจน4. ดานความกะทัดรัด5. ดานความสรางสรรค6. ดานความสมบูรณ7. ดานความทันกาล Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ11 4.

2. ความเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการสอบบัญชีโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวางานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีมีความถูกตองมากที่สุด อาจเปนเพราะเมื่อผูสอบบัญชีเขาปฏิบัติงานที่สหกรณไดมีการรวบรวมและตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร หลักฐานในการบันทึกบัญชีความถูกตองของตัวเลข และความมีอยูจริงดานปริมาณและคุณภาพ และสรุปผลการตรวจสอบอยางระมัดระวังและแมนยํา รองลงมา คือ งานสอบบัญชีของผูสอบบัญชีมีความเที่ยงธรรมอาจเนื่องมาจากรายงานการสอบบัญชีถูกนําเสนอตามขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น ไมบิดเบือนความจริง และถูกจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป3. องคประกอบของจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชี ไดแก ดานความรับผิดชอบตอเพื่อนรวมวิชาชีพและจรรยาบรรณทั่วไป ดานความรับผิดชอบตอผูสอบบัญชีสหกรณปฏิบัติงานให ดานการรักษาความลับ และดานความรูความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงานสงผลกระทบตอคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณขอเสนอแนะ1. สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณควรใหความสําคัญและปลูกฝงใหผูสอบบัญชีมีจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะดานความรับผิดชอบตอเพื่อนรวมวิชาชีพและจรรยาบรรณทั่วไป รวมถึงความรับผิดชอบตอผูสอบบัญชีปฏิบัติงานให2. สหกรณหรือหนวยรับตรวจควรใหความสําคัญกับการปฏิบัติงานสอบบัญชี โดยการจัดทําบัญชีใหเปนไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ไมมีการปกปดหรือบิดเบือนขอเท็จจริงของขอมูล ดําเนินธุรกิจภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณและหนวยงานที่เกี่ยวของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอบบัญชีและคุณภาพการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีสหกรณshorturl.at/aoqAP Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ12

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนของผูชวยผูสอบบัญชีในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการกิจการนอกตลาดทุนผูวิจัย อาภรณ จารุอัคระ นักศึกษาหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม1อรรถพงศ พีระเชื้อ อาจารยประจําภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม2จากวารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม ป 2562เนื่องจากรายงานการเงินมีความสําคัญตอกิจการไมวาจะเปนกิจการในตลาดทุน หรือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และมีความเกี่ยวของกับผูมีสวนไดเสียจํานวนมาก เมื่อภาคธุรกิจจัดทํารายงานทางการเงินขึ้นจึงตองไดรับการตรวจสอบบัญชีและแสดงความเห็นตอรายงานทางการเงินจากผูสอบบัญชีไดรับอนุญาตเพื่อใหเกิดความมั่นใจถึงคุณภาพของรายงานทางการเงินที่เปดเผยตอสาธารณะ โดยในการใหบริการสอบบัญชีแกธุรกิจตางๆ มีความซับซอนในการปฏิบัติงานและมีปริมาณงานสอบบัญชีจํานวนมาก สงผลใหผูสอบบัญชีตองอาศัยผูชวยงานสอบบัญชีที่มีความรูความสามารถเขามาชวยสนับสนุนในการปฏิบัติงานสอบบัญชีในการปฏิบัติงานของผูชวยผูสอบบัญชีจะมีสวนชวยผูสอบบัญชีในการปฏิบัติงานตามขั้นตอนการตรวจสอบบัญชี เริ่มตั้งแตการวางแผนการตรวจสอบ จนถึงขั้นตอนการนําเสนอรายงานที่แสดงความเห็นของผูสอบบัญชี ดังนั้น ผูชวยผูสอบบัญชีจึงมีความสําคัญตอการปฏิบัติงานสอบบัญชีของผูสอบบัญชี ตองมีทักษะในการปฏิบัติงานสอบบัญชี ตองปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวน เพื่อใหเกิดคุณภาพงานสอบบัญชีที่ดีและไดผลงานที่นาเชื่อถือ หากผูชวยผูสอบบัญชีแสดงพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนอาจสงผลดานลบตอคุณภาพงานสอบบัญชี และผลงานสอบบัญชีขาดความนาเชื่อถือจึงมีการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนที่ทําใหคุณภาพงานสอบบัญชีลดลงของผูชวยผูสอบบัญชีซึ่งปฏิบัติงานในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการเฉพาะกิจการนอกตลาดทุน ซึ่งกลุมตัวอยางที่ศึกษาคือ ผูชวยผูสอบบัญชีเฉพาะที่ปฏิบัติงานในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการเฉพาะกิจการนอกตลาดทุนในประเทศไทยกรอบแนวคิดปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนของผูชวยผูสอบบัญชีในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการกิจการนอกตลาดทุนแรงกดดันทางเวลาเพศประสบการณการทํางานมาตรฐานวิชาชีพบัญชียากตอการเขาใจและนํามาปฏิบัติการไมตระหนักถึงบทบาทและหนาที่พฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบบัญชีอยางครบถวน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ13 5.

ผลการศึกษา1. ปจจัยดานมาตรฐานวิชาชีพบัญชีที่ยากตอการเขาใจและนํามาปฏิบัติ มีความสัมพันธในเชิงบวกกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวน ซึ่งมาตรฐานการวิชาชีพบัญชีมีจํานวนหลายฉบับมีความซับซอน และความยากตอการเขาใจแตกตางกัน ผูปฏิบัติงานสอบบัญชีอาจไมเขาใจในมาตรฐานตางๆหรือไมสามารถนํามาตรฐานวิชาชีพมาประยุกตใชการปฏิบัติงานสอบบัญชีได2. ปจจัยดานการไมตระหนักถึงบทบาทและหนาที่ มีความสัมพันธในเชิงบวกกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวน การไมตระหนักถึงบทบาทและหนาที่ในการปฏิบัติงานยอมสงผลใหผูชวยผูสอบบัญชีที่ปฏิบัติงานในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการกิจการนอกตลาดทุนมีพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวน โดยผูปฏิบัติงานสอบบัญชีที่ไมตระหนักถึงบทบาทหนาที่อาจไมเอาใจใสตองานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ หรือผูปฏิบัติงานสอบบัญชีไมใหความสําคัญกับการปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบบัญชีอยางครบถวนขอเสนอแนะ1. สํานักงานสอบบัญชีขนาดยอม ควรสนับสนุนใหผูชวยผูสอบบัญชีไดรับการพัฒนาความรูตอเนื่องทางดานมาตรฐานวิชาชีพใหมากขึ้น ทั้งการอบรมจากองคกรวิชาชีพภายนอก และการจัดอบรมภายในองคกรและควรเสริมสรางใหผูชวยผูสอบบัญชีเกิดความภาคภูมิใจในบทบาทและหนาที่ที่ไดรับมอบหมายในการปฏิบัติงาน2. สํานักงานสอบบัญชีตองไมละเลยการกํากับดูแล และสอบทานงานของผูชวยผูสอบบัญชีโดยเฉพาะกลุมผูชวยผูสอบบัญชีที่ไมเขาใจมาตรฐานวิชาชีพ ไมสามารถปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ หรือบุคคลที่ไมตระหนักในบทบาทและหนาที่ ใหปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานโดยเครงครัด3. ผูชวยผูสอบบัญชีที่พบวามาตรฐานวิชาชีพบัญชียากตอการเขาใจและนํามาปฏิบัติ ควรขยันหมั่นเพียรเรงศึกษาหาความรู พัฒนาตนเองใหมากขึ้น รวมทั้งกระตือรือรนในการปฏิบัติงานและมีความระมัดระวังรอบคอบในงานสอบบัญชีใหมากขึ้นปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมไมปฏิบัติตามขั้นตอนสอบบัญชีอยางครบถวนของผูชวยผูสอบบัญชีในสํานักงานสอบบัญชีที่ใหบริการกิจการนอกตลาดทุนshorturl.at/owGL0 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ14

การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะการบัญชีสืบสวน :มุมมองของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภาครัฐ ผูวิจัย ปยาภิศักดิ์ เจียรสุคนธ นักวิจัยอิสระผศ. พูลสิน กลิ่นประทุม คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชมงคลสุวรรณภูมิผศ. จารุวรรณ เอกสะพัง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามจากวารสารศิลปะศาสตรและวิทยาการจัดการ ปที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม มิถุนายน 2562-การตอตานการทุจริตในปจจุบันผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบจะตองปฏิบัติตนและเปรียบตนเองเสมือนเปนพนักงานสอบสวนคดี เนื่องจาก การทุจริตมักเกิดขึ้นเชิงพฤติกรรมที่ตองใชดุลพินิจของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบในการวิเคราะห สังเคราะห ประเมิน ระบุถึงปจจัยเชิงพฤติกรรมใดที่เขาขายจะเปนความเสี่ยงในการทุจริตภายในองคกร การทุจริตในปจจุบันมีความซับซอน ยากตอการตรวจสอบ มีความละเอียดรอบคอบในทุกกระบวนการของการทุจริต ดังนั้น ระบบการตรวจสอบในอดีตอาจไมเพียงพอ ระบบการตรวจสอบสมัยใหม (Auditing Modern) ควรมุงเนนการวิเคราะหความเสี่ยงเชิงพฤติกรรมการทุจริต มากกวาการตรวจสอบเอกสารตางๆ อยางที่ผานมา ดังนั้น ผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบจําเปนอยางยิ่งที่จะพึ่งพาอาศัยทักษะอื่นๆ ที่นอกเหนือจากวิชาชีพของตน นั่นคือ ทักษะการบัญชีสืบสวน (ForensicAccounting) มาใชสนับสนุนการปฏิบัติงาน ผูวิจัยไดทบทวนวรรณกรรมที่สําคัญ เชนวิไล เพ็ชรประดับฟา (2559) การตรวจสอบการทุจริต (Forensic Accounting) เปนเครื่องมืออยางหนึ่งที่นักบัญชีควรตองนําไปปรับใช เพื่อตรวจสอบวาระบบการควบคุมภายในของกิจการมีจุดบกพรองที่สุดในสวนใด และเปนชองวางของโอกาสในการตกแตงงบการเงินพรรณนิภา รอดวรรณ (2554) การทุจริตในงบการเงิน เปนความผิดปกติของงบการเงิน อันเนื่องมาจากการทุจริตในระดับบริหาร ซึ่งอาจไมสามารถตรวจพบจากการตรวจสอบตามปกติของผูตรวจสอบภายในและผูสอบบัญชีอิสระ เมื่อมีการทุจริตงบการเงินจึงมีการตกแตงตัวเลข มีการสรางรายการที่แนบเนียนจากการกระทํารวมกันระหวางผูเชี่ยวชาญทางการจัดการ การเงิน การบัญชี และกฎหมาย ดังนั้น ในบางกรณีการตรวจสอบทุจริตในงบการเงินอาจตรวจไมพบตามหลักและแนวทางการตรวจสอบบัญชีโดยทั่วไปการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะการบัญชีสืบสวนและตรวจสอบความสอดคลองของโมเดลองคประกอบสมมติฐานทักษะการบัญชีสืบสวน ผลจากการศึกษาวิจัยนี้ จะเปนขอมูลสําหรับกําหนดกรอบแนวทางการตอตานการทุจริตภาครัฐ รวมถึงผลักดันสงเสริมพัฒนาผูสอบบัญชีภาครัฐใหมีทักษะการตรวจสอบสืบสวนดานการทุจริตในอนาคตประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัย คือ ผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบ สังกัดสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน จํานวน 1,676 ราย ไดรับแบบสอบถามที่มีความสมบูรณทั้งสิ้น 376 ฉบับ ซึ่งมีอัตราการตอบกลับรอยละ 22.43 สอดคลองกับ Aaker, Jumar & Day (2001) ซึ่งกําหนดอัตราการตอบกลับอยางนอยรอยละ 20 ถือวายอมรับไดการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะการบัญชีสืบสวน : มุมมองของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภาครัฐ Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 156.

การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis- CFA) ของตัวแปร เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางที่ไดจากการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันกับขอมูลเชิงประจักษ ในการวิเคราะหโมเดลตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลตอทักษะการบัญชีสืบสวน ซึ่งประกอบดวย 6 องคประกอบ ตัวแปรสังเกตได รวม 27 ตัวแปรทักษะเกี่ยวกับเอกสารหรือหลักฐานทักษะเกี่ยวกับทักษะการตรวจสอบทักษะเกี่ยวกับแนวคิดการทุจริตทักษะดานการเจรจาการติดตอสื่อสารทักษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะเกี่ยวกับกฎหมายสรุปผลการวิจัย 1. การจัดลําดับความสําคัญขององคประกอบปจจัยเชิงสาเหตุที่มีตอทักษะการบัญชีสืบสวน เรียงจากคาน้ําหนักองคประกอบจากมากไปนอย ดังนี้ ทักษะเกี่ยวกับกฎหมาย (1.18) ทักษะเกี่ยวกับเอกสารหรือหลักฐาน (1.00) ทักษะเกี่ยวกับทักษะการตรวจสอบ (0.98) ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (0.85) ทักษะเกี่ยวกับแนวคิดการทุจริต (0.73) และทักษะดานการติดตอสื่อสาร (0.09) 2. ทักษะเกี่ยวกับกฎหมาย และทักษะเกี่ยวกับเอกสารหรือหลักฐาน เปนปจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลตอทักษะดานการบัญชีสืบสวนมากที่สุด เนื่องจาก ผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบการทุจริตจะตองปฏิบัติหนาที่อยางละเอียดและรอบคอบ โดยยึดหลักความถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับที่เปนมาตรฐานที่องคกรกําหนดขึ้นอยางเครงครัด การทุจริตมักไมทิ้งรองรอยหรือเอกสารที่เดนชัด แตอาศัยชองวางของกฎหมายหรือระบบการควบคุมภายในในการแสวงหาประโยชนใหแกตนเองและพวกพอง ดังนั้น ผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบควรมีทักษะเฉพาะพิเศษที่เปรียบเสมือนเปนผูสอบสวนและสืบสวนคดี เพื่อใหการตรวจสอบการทุจริตประสบผลที่ชัดเจน คนพบรองรอยหรือปจจัยความเสี่ยงที่นําไปสูการทุจริตภายในองคกร ขอเสนอแนะ องคกรที่เกี่ยวของ ผูบริหาร ผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบ ควรใหความสําคัญและตระหนักถึงการสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีคุณคาตอการตอตานการทุจริตในปจจุบัน สงเสริมศักยภาพของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบ โดยเฉพาะทักษะเกี่ยวกับกฎหมาย และทักษะเกี่ยวกับเอกสารหรือหลักฐานการศึกษาวิจัยครั้งตอไป ผูสนใจสามารถนําผลการวิจัยไปเปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาขอมูลกับกลุมอื่นๆ หรือหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหไดมาซึ่งตัวแปรที่มีอิทธิพลตอทักษะการบัญชีสืบสวนใหมๆshorturl.at/kvHZ2 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะการบัญชีสืบสวน : มุมมองของผูปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภาครัฐ Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 16

กลยุทธของกรมตรวจบัญชีสหกรณในการกํากับดูแลสหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4ผูวิจัย สุกัญญา มงคลวรกิจชัย กฤติยา ดาบเพชร บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาสารสนเทศทางการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยจากเอกสารการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ครั้งที่ 3 ป 2551 (The 3 UTCC Graduate Research Conference 2008)rdกรมตรวจบัญชีสหกรณไดพัฒนาระบบเตือนภัยเพื่อเฝาระวังทางการเงินของสหกรณ โดยไดพัฒนาโปรแกรม CFSAWS:ss (Cooperative Financial Surveillance and Warning System) โดยมีระดับเพื่อเตรียมความพรอมและเฝาระวัง 4 ระดับ คือ1) ระดับวิเคราะหและเฝาระวังปกติ2) ระดับวิเคราะหและเฝาระวังมากขึ้น3) ระดับวิเคราะหและเฝาระวังพิเศษ4) ระดับวิเคราะหและเฝาระวังพิเศษเรงดวนผลที่ไดจากโปรแกรม CFSAWS:ss จะนําไปประเมินความเสี่ยงในมุมมอง 6 มิติ (CAMELS Analysis) ซึ่งเปนเครื่องมือในการวิเคราะหทางการเงินของสหกรณอยางเปนระบบและเปนมาตรฐานเดียวกัน ประกอบดวยกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้คือ สหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 ซึ่งมีจํานวน 7 สหกรณ คือ สหกรณออมทรัพยครูอุบลราชธานี จํากัด สหกรณออมทรัพยครูรอยเอ็ด จํากัด สหกรณออมทรัพยครูกาฬสินธุ จํากัด สหกรณออมทรัพยครูศรีสะเกษ จํากัด สหกรณออมทรัพยครูอํานาจเจริญ จํากัด สหกรณออมทรัพยครูยโสธร จํากัด และสหกรณออมทรัพยครูมุกดาหาร จํากัดโดยใชขอมูลงบการเงินของสหกรณดังกลาวยอนหลัง 5 ป คือตั้งแตป 2545 2549 จากรายงานประจําปของสหกรณ-อัตราสวนมาตรฐานทางการเงินของสหกรณที่ใช ประกอบดวยอัตราคาใชจายดําเนินงานตอกําไร (กอนหักคาใชจายดําเนินงาน)อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชําระไดตามกําหนดอัตราสวนทุนสํารองตอสินทรัพยมิติที่ 1 C - Capital Strength : ความเพียงพอของเงินทุนตอความเสี่ยงมิติที่ 2 A - Asset Quality : คุณภาพของสินทรัพยมิติที่ 3 M - Management Ability : ความสามารถของคณะกรรมการและฝายจัดการมิติที่ 4 E - Earning : ความสามารถในการทํากําไรมิติที่ 5 L - Liquidity : ความเพียงพอของสภาพคลองตอความตองการใชเงินมิติที่ 6 S - Sensitivity : ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกที่เกิดขึ้นกลยุทธของกรมตรวจบัญชีสหกรณในการกํากับดูแลสหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ177.

ผลการศึกษาสหกรณที่มีระดับวิเคราะหเพื่อเฝาระวังเปนพิเศษคือ สหกรณออมทรัพยครูมุกดาหาร จํากัด โดยอัตราสวนทางการเงินที่ตองปรับปรุงคือ (1) คาใชจายดําเนินงานตอกําไร (กอนหักคาใชจายดําเนินงาน มิติที่ตองวิเคราะหและติดตามในรายละเอียดมากที่สุด คือ ความสามารถในการทํากําไร (E) (2) ทุนสํารองตอสินทรัพย มิติที่ตองวิเคราะหและติดตามในรายละเอียดมากที่สุดคือ ความเพียงพอของเงินทุนตอความเสี่ยง (C) เนื่องจากสหกรณกอหนี้สินจากภายนอกมากกวาการระดมจากแหลงภายใน ซึ่งนับวามีความเสี่ยงมากสหกรณอื่นๆ ที่อยูในระดับเฝาระวังมากขึ้น ไดแก สหกรณออมทรัพยครูรอยเอ็ด จํากัด และสหกรณออมทรัพยครูอํานาจเจริญ จํากัด โดยมีอัตราสวนทางการเงินที่ตองปรับปรุงคือ ลูกหนี้ระยะสั้นที่ชําระไดตามกําหนด ทําใหมิติที่ตองวิเคราะหและติดตามในรายละเอียดมากที่สุดคือ คุณภาพสินทรัพย (A) และสภาพคลองทางการเงิน (L)จากผลการศึกษาปรากฏวามีระดับวิเคราะหและเฝาระวัง 3 แบบ คือ1. ระดับวิเคราะหและเฝาระวังปกติ มี 2 สหกรณคือ สหกรณออมทรัพยครูกาฬสินธุ จํากัด และสหกรณออมทรัพยครูศรีสะเกษ จํากัด2. ระดับวิเคราะหเพื่อเฝาระวังมากขึ้น มี 3 สหกรณคือ สหกรณออมทรัพยครูอุบลราชธานี จํากัด สหกรณออมทรัพยครูรอยเอ็ด จํากัด และสหกรณออมทรัพยครูยโสธร จํากัด3. ระดับวิเคราะหเพื่อเฝาระวังเปนพิเศษคือ สหกรณออมทรัพยครูมุกดาหาร จํากัดกลยุทธการกํากับดูแลสหกรณ1. การเขากํากับดูแลสหกรณเพื่อเรงรัดและแกไขปญหาใหสหกรณ ผูกํากับดูแลจะตองเสนอสัญญาณเตือนภัยใหผูบริหารหรือฝายจัดการไดทราบขอมูลเบื้องตนวาสหกรณมีความเสี่ยงในมุมมองวิเคราะห CAMELS Analysis เพื่อชวยใหเกิดกระบวนการปรับปรุงอยางตอเนื่องในระบบสหกรณไดรวดเร็วขึ้น ไมตองรอใหสหกรณปดบัญชีประจําปจึงจะทราบถึงขอบกพรอง ซึ่งอาจไมทันตอเหตุการณการกํากับดูแลสหกรณจะตองพิจารณาจุดออนหรือประเด็นปญหาที่พบวาจะนําไปสูความเสี่ยงที่จะกอใหเกิดความเสียหายตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของสหกรณ เพื่อใหขอสังเกตและขอเสนอแนะกับผูบริหารสหกรณ และกําหนดมาตรการใหสหกรณระมัดระวังในการบริหารงานและปรับปรุงการบริหารงานอยางตอเนื่อง พรอมทั้งติดตามดูวาสหกรณมีการปรับปรุงแกไขใหดีขึ้นหรือไม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูบริหารวามีความรูความเขาใจและตั้งใจจริงมากนอยเพียงใดดวย2. การพัฒนาคณะกรรมการและฝายจัดการของสหกรณกรมตรวจบัญชีสหกรณควรจัดอบรม สัมมนาวิชาการเพื่อใหผูบริหาร/ฝายจัดการ ไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเครื่องมือในการเตือนภัยเพื่อเฝาระวังทางการเงิน และสามารถนําความรูในการนําเครื่องมือมาบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ เพื่อแกไขจุดออนกอนที่จะเกิดความเสียหายกลยุทธของกรมตรวจบัญชีสหกรณในการกํากับดูแลสหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ18

ขอเสนอแนะ1. กรมตรวจบัญชีสหกรณในฐานะผูกํากับดูแลสหกรณควรกําหนดกลยุทธในการเขากํากับดูแลสหกรณที่มีความเสี่ยงโดยแจงใหผูบริหารหรือฝายจัดการทราบขอมูลเบื้องตนวาสหกรณมีความเสี่ยงในมุมมองวิเคราะห CAMELS Analysis ทั้ง 6 มิติอยางไร เพื่อชวยเสริมสรางความมั่นคงใหแกสหกรณและระบบสหกรณใหมีประสิทธิภาพอยางยั่งยืน นอกจากนี้ ควรจัดอบรม สัมมนาเชิงวิชาการใหผูบริหาร/ฝายจัดการไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเครื่องมือเตือนภัยเพื่อเฝาระวังทางการเงิน สามารถนําความรูมาบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ 2. กรมตรวจบัญชีสหกรณควรกําหนดใหสหกรณ ผูสอบบัญชีสหกรณ นําเครื่องมือทางการเงินคือ โปรแกรม CFSAWS:ss มาใชประโยชน โดยนําผลการประเมินความเสี่ยงในมุมมอง CAMELS Analysis มาใชใหเกิดประโยชน เพื่อชวยสรางความมั่นคงเขมแข็งทางการเงิน โดยหาจุดวิกฤตที่ตองใหความสนใจ ความลึกในการวิเคราะหทางการเงิน เพื่อเชื่อมโยงสูการวิเคราะหสภาวการณทางการเงิน เพื่อเตือนภัยทางการเงินใหสหกรณไดทันตอเหตุการณ โดยเสนอไวในรายงานการสอบบัญชีเพื่อชี้แจงตอที่ประชุมใหญ เพื่อสรางความมั่นใจแกสมาชิกสหกรณและบุคคลที่เกี่ยวของ3. กรมตรวจบัญชีสหกรณควรพัฒนาโปรแกรม CFSAWS:ss ใหสามารถเชื่อมโยงกับโปรแกรมระบบบัญชีของสหกรณ เพื่อใหสามารถสงสัญญาณเตือนภัยไดทันทีเมื่อขอมูลทางการเงินของสหกรณถูกบันทึก ซึ่งจะทําใหสหกรณสามารถทราบสถานการณไดทันทวงทีshorturl.at/mtwT3 กลยุทธของกรมตรวจบัญชีสหกรณในการกํากับดูแลสหกรณออมทรัพยครูประจําจังหวัดในเขตความรับผิดชอบของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 4 Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ19

แนวทางการแกปญหาในการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชีและโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึกของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกนผูวิจัย สมฤดี ทองมีศรี นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกนทิพยวรรณา งามศักดิ์ รองศาสตราจารย ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยขอนแกนจากโครงการประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติและนานาชาติ ป 2558การศึกษาดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชี ACL (Audit Command Language) และโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึก CATs (Cooperative Audit Through system) ของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณขอนแกน และเพื่อเสนอแนวทางในการแกไขปญหา ในการศึกษาใชเทคนิคการบันทึกเหตุการณสําคัญ (Critical Incidents Technique) ในการสัมภาษณเหตุการณและประสบการณที่พึงพอใจและไมพอใจในการใชโปรแกรมของผูสอบบัญชีสหกรณในความรับผิดชอบตามทะเบียนสหกรณดําเนินธุรกิจของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกน มีจํานวน 151 สหกรณ เปนสหกรณที่ใชคอมพิวเตอร จํานวน 79 สหกรณ ไมใชคอมพิวเตอร จํานวน 72 สหกรณ สหกรณสวนใหญที่ใชโปรแกรมที่พัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณเปนสหกรณประเภทการเกษตรประจําอําเภอตางๆ มีทุนดําเนินงานมากกวา 300 ลานบาท และสหกรณนอกภาคการเกษตร ไดแก สหกรณออมทรัพยที่มีทุนดําเนินงานมากกวา 100 ลานบาท กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คือ ผูสอบบัญชีของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกนที่ใชโปรแกรมชวยสอบบัญชีคอมพิวเตอร จํานวน 26 คนผลการศึกษา1. ผลการสัมภาษณความพึงพอใจตอการใชโปรแกรม ACL/CATs พบวา ผูสอบบัญชีมีความพอใจ จํานวน 21 ราย มีความไมพอใจ จํานวน 26 ราย2. ความพึงพอใจตอการใชงานโปรแกรม ACL/CATs ไดแก ชวยลดเวลาในการทํางาน6โปรแกรมตรวจสอบเชิงลึก ระบบเงินใหกู ชวยในเรื่องการสุมตัวอยาง4 โปรแกรมตรวจสอบเชิงลึก ระบบแยกประเภท4 โปรแกรมตรวจสอบเชิงลึก ระบบหุนสมาชิก4 โปรแกรมตรวจสอบเชิงลึก ระบบออมทรัพย การตรวจสอบมักไมพบปญหา3ชวยหาความผิดพลาด หาประเด็นที่เปนขอสังเกต ตรวจปญหาไดครอบคลุม3แนวทางการแกปญหาในการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชีและโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึกของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ20 8.

3. ความไมพึงพอใจตอการใชงานโปรแกรม ACL/CATs ไดแกการเทียบยอดผลลัพธจากโปรแกรม CATs ไมตรงกับรายงานโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ15ผูสอบบัญชีไมเขาใจการอานผลลัพธโปรแกรม CATs เมื่อพบปญหาวิเคราะหหาผลตางไมได12ปญหาผูสอบบัญชีใชคําสั่ง ACL ไมได เมื่อพบปญหาจากการ run โปรแกรม CATS ไมตรง11เจาหนาที่สหกรณบันทึกขอมูลโปรแกรมระบบบัญชีไมถูกตอง4 ตองการปรับปรุงคูมือ เพราะไมมีรายละเอียดวิธีแกไขปญหาที่ผูสอบบัญชีพบ8ตองการปรับปรุง Script โปรแกรม CATs ใหครอบคลุมเงื่อนไขการตรวจ7ผูสอบบัญชีไมสนใจเอาผลลัพธจากโปรแกรม CATs มาใชในการวิเคราะหขอมูล7ผูสอบบัญชีตรวจบัญชีดวยระบบมือกอนการใชโปรแกรม CATs run ที่หลัง6ผูสอบบัญชีไมไดใชโปรแกรม CATs เอง แตมอบหมายใหผูชวยเปนผู run โปรแกรม5พบปญหาการตรวจโปรแกรม CATs ระบบเงินกู ไมเขาใจการสุมตัวอยาง3เครื่องคอมพิวเตอรไมเพียงพอตอการใชงาน24. ปญหาการใชงานโปรแกรม ACL/CATs แยกเปน 2 สวน คือ4.1 ปญหาจากตัวโปรแกรม(1) โปรแกรม ACL ไดแก ปญหาเมื่อ run โปรแกรม CATs แลวพบปญหาวาผลลัพธไมตรงกับรายงานโปรแกรมระบบบัญชี ผูสอบบัญชีไมมีความสามารถในการใชคําสั่งตรวจสอบบัญชีที่มีเงื่อนไขที่ซับซอนได(2) โปรแกรม CATs ไดแก ผลจากการตรวจ CATs ไมตรงกับรายงานโปรแกรมระบบบัญชีของสหกรณ ปญหาเกิดจากขั้นตอนการโอนถายขอมูลเขาสูระบบของสหกรณ สวนใหญเกิดจากการบันทึกโอยการโอนถายขอมูล (Convert data) จากเอกชนอื่น ทําใหฐานขอมูลไมเทากับการบันทึกขอมูลดวยมือ (Key in) ประกอบกับการเขียนคําสั่ง CATs ของผูพัฒนาระบบเขียนภายใตเงื่อนไขการบันทึกดวยมือ จึงทําใหผูสอบบัญชีพบปญหาผลลัพธไมตรงกัน 4.2 ปญหาจากผูใชงาน ไดแก(1) ผูสอบบัญชีไมเขาใจปญหาที่แทจริง ผูสอบบัญชีไมเขาใจสาเหตุของการเกิดปญหาจากตัวโปรแกรม ที่ไมสามารถแกไขปญหาโดยผูปฏิบัติเอง แตตองแกไขที่ขอมูล ปญหาจะตองไดรับการแกไขโดยผูพัฒนาระบบ(2) ผูสอบบัญชีไมเขาใจวัตถุประสงคของการตรวจ CATs จากการสัมภาษณผูสอบพูดถึงปญหาเมนูตรวจสอบซ้ําซอน เกิดจากผูสอบบัญชีไมเขาใจวัตถุประสงคของการตรวจสอบของแตละเมนู(3) ผูสอบบัญชีขาดทักษะการแกไขปญหาขอมูลที่ถูกตอง ทําใหเกิดขยะในฐานขอมูล(4) ผูสอบบัญชีขาดทักษะการใชโปรแกรม CATs และโปรแกรมระบบบัญชีของสหกรณ จากการศึกษาพบวา ผูสอบบัญชีไมเขาใจการแปลผลลัพธจากโปรแกรม CATs และไมสามารถใชคําสั่ง ACL ได เมื่อพบปญหาการตรวจ ไมสามารถแกไขปญหาได(5) เจาหนาที่ของสหกรณขาดทักษะในการใชโปรแกรมระบบบัญชีของสหกรณ ทําใหการบันทึกขอมูลไมถูกตอง สงผลใหผูสอบไมสามารถนําขอมูลมาใชในการตรวจ CATs ไดแนวทางการแกปญหาในการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชีและโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึกของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ21

แนวทางแกปญหาดานโปรแกรม(1) การแกไขปญหาโปรแกรม CATs เพื่อใหเงื่อนไขของโปรแกรมครอบคลุมกับขอมูลที่ถายโอนจากสหกรณที่ไดมาจากการโอนถายขอมูลจากโปรแกรมเอกชนอื่น เมื่อคําสั่ง Script Standard ถูกแกไขจะทําใหผลลัพธจากการตรวจโปรแกรม CATs ถูกตอง ตรงกันกับโปรแกรมระบบบัญชีของสหกรณ สําหรับโปรแกรม ACL ตองพัฒนาทักษะการใชคําสั่งที่ซับซอน(2) สรางเครื่องมือการตรวจหาขยะในฐานขอมูล และกําจัดออก ทําใหฐานขอมูลถูกตอง ยอมสงผลใหการประมวลผลของโปรแกรม CATs ถูกตอง ทําใหสามารถลดเวลาในการตรวจสอบได และไมพบปญหาเดิมอีกดานผูใชงานจากการอบรมที่ผานมา ผูปฏิบัติงานไดรับการอบรมตามหลักสูตรของหนวยงาน แตยังขาดทักษะ เนื่องดวยหลักสูตรขาดความสมบูรณในการสรางทักษะในการปฏิบัติงาน ปญหาที่แทจริงอยูที่หลักสูตร ดังนั้น จึงมีความจําเปนในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองเหมาะสมกับการพัฒนาทักษะการใชเครื่องมือของผูปฏิบัติงาน โดยพิจารณาทั้งดานเนื้อหา และระยะเวลาควบคูกันไปดวยshorturl.at/fhjT1 แนวทางการแกปญหาในการใชคอมพิวเตอรชวยตรวจสอบบัญชีโปรแกรมการตรวจสอบบัญชีและโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณเชิงลึกของผูสอบบัญชีสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณขอนแกน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ22

ความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง ผูวิจัย พัชรินทร เลี่ยมดวงแขจากสารนิพนธ ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2554 โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชวยผูสอบบัญชีในการสอบทานความถูกตองของขอมูลทางการเงินเขามามีบทบาทอยางมากในปจจุบัน โดยอาจเปนโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชกันทั่วไป เชน Microsoft Word, Microsoft Excel หรือ Microsoft Access เปนตน หรือเปนโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อใชสําหรับงานตรวจสอบโดยเฉพาะ เชน Audit Command Language (ACL) ซึ่งเปนเครื่องมือที่ไดรับความนิยมใชกันมากในปจจุบัน เนื่องจากทําใหผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงานสอบบัญชีไดรวดเร็วขึ้น ไดผลการตรวจสอบที่ถูกตองสมบูรณมากยิ่งขึ้น และสามารถใชเปนหลักฐานประกอบการตรวจสอบที่มีความนาเชื่อถือ ผูวิจัยตองการศึกษาความพึงพอใจของผูสอบบัญชีที่มีตอการนําโปรแกรม ACL มาชวยในการตรวจสอบบัญชี เนื่องจากการตรวจสอบบัญชีนอกจากตองการเรื่องความถูกตองแมนยําแลว ความสะดวกสบายและรวดเร็วในการตรวจสอบก็ถือเปนหัวใจสําคัญที่ทําใหผูสอบบัญชีเกิดความรูสึกพอใจและทํางานลดลง ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในดานตางๆ ดังนี้ ดานประโยชนที่ไดรับของ ACL และประสิทธิภาพของโปรแกรม ACL เพื่อนําผลที่ไดจากการศึกษามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงโปรแกรม ACL ที่มีอยูเดิมและโปรแกรมชวยสอบบัญชีอื่นๆ เพื่อใหผูสอบบัญชีเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและอาจชวยลดอัตราการลาออกของผูสอบบัญชี ซึ่งปจจุบันมีอัตราที่คอนขางสูงประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ผูตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่งที่ใชโปรแกรมชวยตรวจสอบบัญชี ACL จํานวนพนักงานทั้งสิ้น 873 คน กลุมตัวอยาง จากการใชสูตรของ Taro Yamane โดยกําหนดความเชื่อมั่นที่รอยละ 95 ขนาดตัวอยางเทากับ 275 คน ผูวิจัยเพิ่มจํานวนตัวอยางอีก 5 คน เพื่อปองกันความผิดพลาด รวมจํานวนตัวอยางทั้งสิ้น 280 คนกรอบการวิจัย ความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 239.

จากการทบทวนวรรณกรรมของผูวิจัย พบวา ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นจากการมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเหมาะสมจนตองทําใหทราบวาตองปฏิบัติอยางไร และปฏิบัติไดจริง จึงทําใหเกิดความพึงพอใจ แลวสงผลใหเกิดพฤติกรรมตามมาผลการวิจัย 1. ขอมูลดานลักษณะสวนบุคคลเพศ ผูสอบบัญชีเพศหญิงเปนผูตอบแบบสอบถามมากที่สุด ทั้งนี้เปนเพราะวา ผูสอบบัญชีสวนใหญเปนเพศหญิงอายุ ผูสอบบัญชีสวนใหญมีอายุระหวาง 21 30 ป เนื่องจากอาชีพผูสอบบัญชีเปนอาชีพทีมีอัตราการ-เขา ออกงานคอนขางสูง เนื่องจากเปนงานที่หนักและมีความเครียดคอนขางสูง ประกอบกับหากผูสอบบัญชีคนใด-เก็บชั่วโมงฝกหัดในการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีครบ 3,000 ชั่วโมง ภายในระยะเวลา 3 ป มักจะลาออกไปเปดสํานักงานบัญชีของตนเอง ดังนั้น ผูสอบบัญชีในปจจุบันของบริษัทสวนใหญจึงมีอายุไมมากนักลักษณะดานประชากรศาสตร -เพศ-อายุ-ระดับการศึกษา-ประสบการณทํางาน-ตําแหนงหนาที่ทัศนคติของผูสอบบัญชีที่มีตอการนําโปรแกรม ACL มาชวยในการตรวจสอบบัญชีความรูความเขาใจในการใชโปรแกรม ACL ทักษะการใชงานโปรแกรม ACL ในการตรวจสอบบัญชี คําสั่ง Count, Total, Statistical, Age, Summarize, Gap/Duplicate, Extract/Export ความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม ACL มาใชในการตรวจสอบบัญชีความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 24

ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน และตําแหนงหนาที่ พบวา สวนใหญมีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีประสบการณทํางานระหวาง 1 5 ป ตําแหนง -Audit Senior ซึ่งเปนเหตุสืบเนื่องจากการที่บริษัทมีอัตราการเขา ออกงานสูง-2. ผูสอบบัญชีสวนมากมีทัศนคติดานประโยชนที่ไดรับจากโปรแกรม ACLอยูในระดับดี เนื่องจากขอมูลสวนใหญที่ไดรับจากบริษัทลูกคาจะเปนขอมูลดิบที่มีจํานวนมาก ซึ่งกระบวนการสําคัญในการตรวจสอบบัญชีคือ การตรวจสอบที่มาที่ไป (verify data) และผลรวมของขอมูลที่เปนตัวเลขจํานวนมากไหไดภายในระยะเวลาที่สั้นที่สุด เมื่อมีการนําโปรแกรม ACL มาใชตรวจสอบบัญชี ทําใหกระบวนการตรวจสอบใชเวลาสั้นลงและหลีกเลี่ยงความผิดพลาดของผูตรวจสอบเอง (human error) ลงไดมาก ผูสอบบัญชีสวนใหญจึงมีทัศนคติอยูในระดับดีตอโปรแกรม ACL 3. ผูสอบบัญชีสวนใหญมีทัศนคติดานประสิทธิภาพของโปรแกรม ACLในระดับดี เนื่องจากสามารถประมวลผลขอมูลจํานวนมากในรูปแบบตางๆ ไดอยางแมนยําครบถวน และผลลัพธที่ไดจะมีความถูกตองเสมอ4. ผูสอบบัญชีสวนใหญมีความรูและความเขาใจการใชงานโปรแกรม ACLในระดับความรูเบื้องตนดีมากเนื่องจากผูสอบบัญชีแตละคนจะไดเรียนรูการใชงานและประสิทธิภาพของโปรแกรมเบื้องตนจากรุนพี่ในบริษัท ซึ่งจะเปนการแนะนําใหรูจักประสิทธิภาพและ function การใชงานตางๆ เพียงคราวๆ เทานั้น อยางไรก็ตาม ในสวนของความรูดานเทคนิคและการประยุกตใช ยังคงขึ้นอยูกับตัวผูสอบบัญชีแตละคนที่สามารถเรียนรูและฝกปฏิบัติไดตางกัน5. ดานทักษะการใชงานโปรแกรม ACLผูสอบบัญชีสวนใหญเคยผานการใชงานโปรแกรม ACL ใน function ตางๆ มาแลว อยางไรก็ตาม ก็ยังมีปญหาในการกําหนดเงื่อนไขในการประมวลผลขอมูลหากเปนรูปแบบรายงานไม หรือไมมี script ของเดิมอยู6. ผูสอบบัญชีสวนใหญมีระดับความพึงพอใจตอการใชงานโปรแกรม ACL ในระดับพึงพอใจเทานั้น เนื่องจากแมวาผูสอบบัญชีสวนใหญจะมีความรูความเขาใจในเบื้องตนเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรม ACL และเคยผานการมาใชงาน function ตางๆ มาแลว แตในดานของความรูทางเทคนิคที่สําคัญและความเขาใจใน logical ในการเขียนและออกแบบ script ยังมีนอย ทําใหผูสอบบัญชีสวนใหญยังประสบปญหาในการใชงานโปรแกรม ACL 7. ผูสอบบัญชีมีทัศนคติดานประโยชนที่ไดรับ และทัศนคติดานประสิทธิภาพของโปรแกรม ACL มีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอการใชงานโปรแกรม ACL เนื่องจากชวยลดระยะเวลา ลดงาน และชวยประมวลผลไดงายและรวดเร็ว ทําใหผูสอบบัญชีเกิดทัศนคติที่ดีในเชิงบวกกับประโยชนและประสิทธิภาพของโปรแกรม เมื่อเกิดทัศนคติที่ดีเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจตอการนําโปรแกรม ACL มาใชตรวจสอบบัญชีก็เพิ่มขึ้นไปดวย8. ทักษะการใชงานโปรแกรม ACL มีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอการใชงาน ยิ่งผูสอบบัญชีมีทักษะในการทักษะการใชงาน function ตางๆ ไดมากขึ้น สามารถเขียน script ไดก็จะประมวลผลและวิเคราะหขอมูลไดมากขึ้น ชวยใหกระดาษทําการมีความนาเชื่อถือมากขึ้น สงผลใหเกิดความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นดวย9. ปญหาในการนําโปรแกรม ACL มาใชชวยในกาตรวจสอบบัญชี สามารถแบงปญหาไดเปน 2 ดาน คือ ปญหาดานการไมสามารถเขียนคําสั่งตรวจสอบ (script) ที่มีเงื่อนไขซับซอนได ปญหาที่สองคือ ปญหาความยุงยากในการนําเขาขอมูล (import file) ซึ่งกอนนําเขาผูสอบบัญชีจะตองจัดรูปแบบ file ใหเหมือนกันทุก file กอนจึงจะสามารถนําเขาได ซึ่งตองใชเวลาคอนขางนานความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 25

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการใสใจพฤติกรรมและรูปแบบการใชงานโปรแกรม ACL และโปรกรมชวยสอบบัญชีอื่นๆ ของผูสอบบัญชีที่มีอายุและตําแหนงหนาที่แตกตางกัน เพื่อใหการพิจารณาติดตั้งโปรแกรมเหมาะสมกับการใชงานของผูสอบบัญชีแตละคน เชน ผูสอบบัญชีที่มีตําแหนงระดับ Audit Junior จนถึง Audit Senior ควรติดตั้งโปรแกรมชวยสอบบัญชีในระดับปฏิบัติการมกกวา สวนผูสอบบัญชีตั้งแต Manager ขึ้นไป มักใชโปรแกรมชวยสอบบัญชีในระดับ overall เพื่อดูภาพรวมและตรวจสอบความถูกตองของกระดาษทําการ 2. ควรมีการจัดทําคูมือการใชงานโปรแกรม ACL ที่แสดงขั้นตอนการใชงานอยางละเอียดใหกับผูสอบบัญชีที่เพิ่งเริ่มปฏิบัติงาน วิธีการแกไขปญหาเบื้องตน พรอมทั้งตัวอยางการใชงานกรณีตางๆ เพื่อเปนการพัฒนาความรูความเขาใจใหแกผูสอบบัญชี หรือจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมสมองแลกเปลี่ยนประสบการณและปญหาที่พบจากการใชโปรแกรม ACL 3. ควรจัดใหมีการฝกอบรมการใชโปรแกรม ACL อยางจริงจังแกผูสอบบัญชีทุกคน กลุมที่มีทักษะการใชงาน function พื้นฐานดีอยูแลว ควรจัดฝกอบรมการใชงานในขั้นสูงที่มีความซับซอนมากขึ้น4. ควรจัด workshop ทดลองการใชโปรแกรม ACL เพื่อใหเกิดความชํานาญและไดลองปฏิบัติงานในสถานการณจริงอยางจิรงจังแกผูสอบบัญชีทุกคน 5. ผูบริหารควรจัดใหมีพนักงานฝายสารสนเทศ คอยใหคําแนะนําและชวยเหลือในกรณีเกิดขอผิดพลาดจากการใชงานโปรแกรม ACL 6. ผูบริหารควรใหความสําคัญและมุงเนนการเพิ่มศักยภาพในการตรวจสอบบัญชี โดยการสรรหาและพัฒนาโปรแกรมชวยตรวจสอบบัญชี ทั้งโปรแกรม ACL ที่มีอยูเดิม และโปรแกรมชวยตรวจสอบบัญชีอื่นๆ ใหมีความทันสมัยและทันตอการเปลี่ยนแปลงของระบบฐานขอมูลของลูกคาที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา 7. ผูสอบบัญชีแตละคนควรทําความเขาใจและหมั่นฝกฝนการใชงานโปรแกรม ACL หรือโปรแกรมชวยสอบบัญชีอื่น เพื่อใหเกิดความชํานาญและคุนเคยกับ function ตางๆ8. หนวยงานควรมีระบบการติดตามการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีที่ใชโปรแกรม ACL ไมวาจะในรูปรายงานการประมวลผลและกระดาษทําการ มีการเปรียบเทียบระยะเวลาการตรวจสอบบัญชีประจําปกับปกอน และมีการจูงใจโดยใหรางวัลสําหรับผูสอบบัญชีที่ใชโปรแกรม ACL ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อสรางแรงกระตุนแกผูสอบบัญชีที่มีการใชเทคโนโลยีในการตรวจสอบบัญชีshorturl.at/nvDH6 ความพึงพอใจของผูสอบบัญชีในการนําโปรแกรม Audit Command Language (ACL) มาใชในการตรวจสอบบัญชีในบริษัทตรวจสอบบัญชีแหงหนึ่ง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 26

การวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงิน ของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง ผูวิจัยจิตติพงศ พุทธรักษา นักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหมผศ. ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย ภาควิชาการเงินและการธนาคาร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหมผศ. มาลีมาส สิทธิสมบัติ ภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหมจากวารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม มิถุนายน 2561-การวิเคราะห CAMELS เปนเครื่องมือทางการเงินในรูปของอัตราสวนที่มีมุมมองครอบคลุมดนการบริหารการเงินและการบริหารงานแบบเบ็ดเสร็จ เปนเครื่องมือที่สามารถนํามาใชในการสรางระบบเตือนภัยลวงหนาทางการเงินอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมใชในการบงชี้ความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินประเภทธนาคารและสหกรณ ซึ่งอัตราสวนทางการเงินจากการวิเคราะห CAMELS ประกอบดวยอัตราสวนทางการเงิน 27 อัตราสวน อยางไรก็ตาม การพิจารณาโครงสรางทางการเงินนิยมใชอัตราสวนทางการเงินที่ไดจากตัวเลขทางบัญชีเปนอัตราสวนในการวิเคราะห ปญหาที่พบคือ อัตราสวนทางการเงินมีสหสัมพันธกันสูง ทําใหยากตอการตีความและนําไปประยุกตใช แนวทางหนึ่งในการแกปญหาคือ การลดอัตราสวนทางการเงินลง โดยสรางตัวแปรใหมที่สื่อความหมายถึงอัตราสวนเดิม เรียกตัวแปรใหมนี้วา องคประกอบ (Factor) โดยองคประกอบเหลานี้สรางขึ้นจากความผันแปรของอัตราสวนเดิมหลายๆ ตัวที่มีความสัมพันธกันสูงมารวมกันเปนองคประกอบเดียวกัน โดยใชเทคนิคทางสถิติคือ การวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis) การวิเคราะห CAMELS ไดรับการออกแบบใหเปนเครื่องมือวัดประสิทธิภาพการดําเนินงาน เดิมใชในการประเมินธุรกิจเกี่ยวกับการเงินการธนาคาร ตอมาไดพัฒนาเปนเครื่องมือทางการเงินเพื่อสรางสัญญาณเตือนภัยลวงหนา (Early Warning System) การวิเคราะห CAMELS ไดรับการยอมรับวาเปนเครื่องมือวัดความมั่นคงทางการเงินขององคกรธุรกิจและสามารถนํามาประยุกตใชในการศึกษากับสหกรณการเกษตรการศึกษาครั้งนี้มุงวิเคราะหองคประกอบของอัตราสวนทางการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง จํานวน 34 แหง โดยใชขอมูลทุติยภูมิจากกรมตรวจบัญชีสหกรณมาวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน 5 มิติตามกรอบการวิเคราะห CAMELS แลวประยุกตใชการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจในการคนหาองคประกอบทางการเงินที่มีผลตอการดําเนินธุรกิจของสหกรณการเกษตรจังหวัดลําปาง เพื่อใชเปนสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจัดการสหกรณการเกษตรกรอบแนวคิดการวิจัย CAMELS Analysis 24 อัตราสวนทางการเงินตามกรอบแนวคิด ของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางองคประกอบอัตราสวนทางการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางการวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 2710.

24 อัตราสวนทางการเงินตามกรอบการวิเคราะห CAMELSมิติที่ 1ดานความเขมแข็งหรือความเพียงพอของเงินทุนตอความเสี่ยงอัตราสวนหนี้สินตอทุนทุนสํารองตอสินทรัพยอัตราการเติบโตทุนของสหกรณอัตราการเติบโตของหนี้อัตราผลตอบแทนตอสวนของทุนมิติที่ 2ดานคุณภาพของสินทรัพยอัตราการคางชําระอัตราหมุนของสินทรัพยอัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยอัตราการเติบโตของสินทรัพยมิติที่ 3ดานความสามารถในการบริหารจัดการอัตราการเติบโตของธุรกิจมิติที่ 4ดานความสามารถในการทํากําไรกําไรตอสมาชิกเงินออมตอสมาชิกหนี้สินตอสมาชิกอัตราคาใชจายดําเนินงานตอกําไรอัตราคาใชจายดําเนินงานอัตราการเติบโตของทุนสํารองอัตราการเติบโตของทุนสะสมอื่นอัตราการเติบโตของกําไรอัตรากําไรสุทธิอัตรากําไรขั้นตนของธุรกิจมิติที่ 5ดานสภาพคลองทางการเงินอัตราสวนทุนหมุนเวียนอัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็วอัตราการหมุนของสินคาระยะเวลาในการขายโดยเฉลี่ยเมื่อใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ สกัดองคประกอบดวยวิธี Principal Component Analysis และหมุนแกนแบบ Orthogonal ดวยวิธี Varimax ไดอัตราสวนทางการเงินที่เหมาะสม 11 อัตราสวน สกัดองคประกอบได 3 องคประกอบ ดังนี้องคประกอบที่ 1 อัตราการเติบโตของสินทรัพย หนี้สิน และสวนของทุน องคประกอบที่ 2 อัตรากําไรและอัตราการเจริญเติบโตขององคประกอบยอยของทุนองคประกอบที่ 3 สมาชิกการวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 28

องคประกอบ อัตราสวนทางการเงิน น้ําหนัก 1. อัตราการเติบโตของสินทรัพย หนี้สิน อัตราการเติบโตทุนของสหกรณและสวนของทุนอัตราการเติบโตของสินทรัพยอัตราผลตอบแทนตอสวนของทุนอัตราการเติบโตของหนี้0.9700.9690.9600.9402. อัตรากําไรและอัตราการเจริญเติบโตขององคประกอบยอยของทุนอัตรากําไรสุทธิอัตรากําไรขั้นตนของธุรกิจอัตราการเติบโตของทุนสํารองอัตราการเติบโตของทุนสะสมอื่น0.9230.8570.6950.6753. สมาชิกเงินออมตอสมาชิกหนี้สินตอสมาชิกอัตราการคางชําระ0.9020.8700.596องคประกอบที่ 1 ประกอบดวยอัตราสวนทางการเงิน 4 อัตราสวน หากสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางใดมีคะแนนองคประกอบที่ 1 เปนบวก แสดงวามีการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย หนี้สิน และทุนที่เพิ่มขึ้นจากปกอน และสหกรณมีประสิทธิภาพในการใชเงินทุนเพื่อหากําไรไดสูงองคประกอบที่ 2 ประกอบดวยอัตราสวนทางการเงิน 4 อัตราสวน หากสหกรณการเกษตรใดในจังหวัดลําปางมีคะแนนองคประกอบที่ 2 เปนบวก แสดงวามีประสิทธิภาพในการดําเนินงานเพื่อสรางกําไรและมีการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของทุนสํารอง จะเปนเกราะปองกันทางการเงินที่รองรับการขาดทุนไดโดยไมมีผลกระทบกับทุนองคประกอบที่ 3 ประกอบดวยอัตราสวนทางการเงิน 3 อัตราสวน หากสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางใดมีคะแนนองคประกอบที่ 3 เปนบวก แสดงวาสหกรณมีความเกี่ยวของกันอยางมากในการทําธุรกรรมกับสมาชิกขอเสนอแนะจากการวิจัย 1. ผูบริหารและคณะกรรมการบริหารงานสหกรณ ควรนําผลการวิเคราะหองคประกอบอัตราสวนทางการเงิน และคะแนนองคประกอบอัตราสวนทางการเงิน มาใชประกอบการวางนโยบายเพื่อบริหารจัดการสหกรณการเกษตรใหมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะสหกรณการเกษตรกลุมที่มีคะแนนเปนลบ ควรมีการวางแผนกลยุทธระยะสั้นเพื่อปรับปรุงจุดออนอยางเหมาะสมโดยเร็ว เชน หากสหกรณใดมีคะแนนองคประกอบที่ 1 เปนลบ แสดงวามีการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย หนี้สินและทุนที่ลดลงจากปกอน และสหกรณมีประสิทธิภาพในการใชเงินทุนเพื่อทํากําไรไดต่ํา ดังนี้ดานอัตราการเติบโตของทุนสหกรณโดยอาจดําเนินการปรับปรุงผลการดําเนินงานใหมีกําไรในการทําธุรกิจ เชน ปรับปรุงสินคาและบริการใหมีคุณภาพมาตรฐานตอบสนองความตองการของสมาชิกและตลาด มีกลไกควบคุมตนทุนและคาใชจาย โดยอาศัยระบบบัญชีควบคุมที่ถูกตอง รวดเร็ว จัดทําแผนธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงินที่ไดรับการดูแลแนะนําจาก ธ.ก.ส. หรือเพิ่มการระดมทุนจากสมาชิก ซึ่งจะสงผลใหอัตราการเติบโตของทุนสหกรณเพิ่มขึ้นไดการวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 29

ดานอัตราการเติบโตของสินทรัพยสหกรณอาจเพิ่มการระดมทุนจากสมาชิก หรือปรับปรุงผลการดําเนินงานของสหกรณ ใหมีกําไรในการทําธุรกิจ ถาอัตราการเติบโตของสินทรัพยเพิ่มขึ้นจากการกอหนี้ สหกรณตองใชสินทรัพยอยางมีประสิทธิภาพเพื่อกอใหเกิดรายไดคุมกับคาใชจายดอกเบี้ยจากการกูยืมดานอัตราผลตอบแทนตอสวนของทุนสหกรณควรปรับปรุงผลการดําเนินธุรกิจของสหกรณใหมีกําไร มีกลไกควบคุมตนทุนและคาใชจาย จัดทําแผนธุรกิจสินเชื่อและรับฝากเงิน เพื่อใหอัตราผลตอบแทนตอสวนของทุนเพิ่มขึ้นดานอัตราการเติบโตของหนี้สหกรณควรจัดหาเงินดวยโครงสรางหนี้ที่เหมาะสม ไมมากหรือไมนอยจนเกินไป ชวยใหธุรกิจสามารถเติบโตไดอยางยั่งยืน เชน หากมีความจําเปนตองกูยืมเงินมาลงทุน สหกรณควรมีแผนการดําเนินธุรกิจที่ชัดเจน สามารถสงคืนเงินกูไดอยางตอเนื่อง2. ผูถือหุนหรือผูสนใจสมัครเปนสมาชิกสหกรณ สามารถใชสารสนเทศจากการวิจัยมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ โดยหากมีคะแนนองคประกอบที่ 1 เปนบวก แสดงวาสหกรณมีประสิทธิภาพในการใชเงินทุนเพื่อหากําไรไดสูง หากคะแนนองคประกอบที่ 2 เปนบวก แสดงวาสหกรณมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานเพื่อสรางกําไรและมีการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของทุนสํารองสหกรณ หากมีคะแนนองคประกอบที่ 3 เปนบวก แสดงวาสหกรณมีความเกี่ยวของกันอยางมากในการทําธุรกรรมกับสมาชิก3. หนวยงานระดับนโยบายรัฐสามารถใชสารสนเทศดังกลาวประกอบการวางแผนขับเคลื่อน สงเสริมศักยภาพสหกรณใหมีความเขมแข็งตอไป โดยถอดบทเรียนสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปางที่มีคะแนนองคประกอบสูง หรือมีคะแนนองคประกอบเปนบวกทั้งสามองคประกอบ shorturl.at/brIMO การวิเคราะห CAMELS และการวิเคราะหองคประกอบจากขอมูลการเงินของสหกรณการเกษตรในจังหวัดลําปาง Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ 30

โครงการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการผูวิจัย นางผาณิต บูรณโภคา และคณะ กรมตรวจบัญชีสหกรณจากรายงานฉบับสมบูรณ สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2556ประชากรและกลุมตัวอยางประชากรในการวิจัย คือ สหกรณทุกประเภทใน 4 ภูมิภาคของประเทศไทย ที่ดําเนินงานในป 2554 จํานวน 6,444 สหกรณกลุมตัวอยาง1)การวิจัยเชิงปริมาณโดยการสํารวจ สหกรณกลุมตัวอยาง จํานวน 381 สหกรณ จากผูตรวจสอบกิจการ ฝายบริหาร และฝายจัดการสหกรณ รวมจํานวน 1,143 คน2)การวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณเจาะลึก ไดแก ผูมีสวนเกี่ยวของกับการตรวจสอบกิจการสหกรณ จํานวน 105 คน 3) กลุมผูเชี่ยวชาญหรือมีความรูความเขใจการตรวจสอบกิจการสหกรณ จํานวน 20 คนปญหาการวิจัย1. ปจจัยที่สงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ2. แนวทางในการกําหนดวิธีการดําเนินการตรวจสอบกิจการ3. ขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการที่มีคุณภาพ สามารถใหคําแนะนําแกคณะกรรมการไดอยางถูกตอง ซึ่งเปนประโยชนตอการควบคุมภายในที่ดี4. แนวทางการยกระดับคุณภาพผูตรวจสอบกิจการสหกรณที่สามารถวางแนวทางการสรางสรรคการใหบริการรูปแบบใหมในการตรวจสอบการดําเนินงานของสหกรณผลการวิจัย1. แนวทางปฏิบัติที่ดีแกผูตรวจสอบกิจการสหกรณแยกเปน องคประกอบ 3 ดานหลัก 7 ดานยอย 35 ขอยอย และ 60 ตัวบงชี้วัตถุประสงคการวิจัย1. เพื่อสํารวจวิธีการที่เปนแนวทางปฏิบัติที่ดีแกผูตรวจสอบกิจการสหกรณ2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ3. เพื่อสรางมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการ4. เพื่อเสนอแนวทางการยกระดับคุณภาพผูตรวจสอบกิจการสหกรณในฐานะกลไกการควบคุมภายในที่ดีโครงการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการ Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ31 11.

ดานหลักดานยอยขอยอย (ขอ)ตัวบงชี้ (ขอ)1. ดานความรูในการปฏิบัติงาน 1. องคความรูของผูตรวจสอบกิจการของผูตรวจสอบกิจการ2. การปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการ3. การเขาถึงเนื้องานของผูตรวจสอบกิจการ4. การรายงานของผูตรวจสอบกิจการ5 6 35 19 745 2. ดานขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ5. ขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ5 5 3. ดานสหกรณผูรับการตรวจสอบกิจการ6. สภาพแวดลอมของสหกรณที่เอื้อตอการตรวจสอบกิจการ7. ความรวมมือของสหกรณในการตรวจสอบกิจการ6 5 15 5 2 . ปจจัยที่สงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการสหกรณจากการวิจัย พบวา ปจจัยดานการรายงานของผูตรวจสอบกิจการ และปจจัยดานการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการ สงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ นอกจากนี้ ผูตรวจสอบกิจการเห็นวา ปจจัยดานสภาพแวดลอมของสหกรณที่เอื้อตอการตรวจสอบกิจการก็สงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ และฝายบริหารและฝายจัดการสหกรณเห็นวา ปจจัยดานความรวมมือของสหกรณในการตรวจสอบกิจการสงผลตอขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ3. มาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกของผูตรวจสอบกิจการสหกรณประกอบดวย 7 เสาหลัก ในมาตรฐาน 3 ดาน มาตรฐานเสาหลัก (Pillar)1. มาตรฐานดานความรูในการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการเสาหลักที่ 1 หลักองคความรูของผูตรวจสอบกิจการ : เสาหลักที่ 2 หลักการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการ : เสาหลักที่ 3 หลักการเขาถึงเนื้องานของผูตรวจสอบกิจการ : เสาหลักที่ 4 หลักการรายงานของผูตรวจสอบกิจการ : 2. มาตรฐานดานขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการเสาหลักที่ 5 หลักขีดความสามารถของผูตรวจสอบกิจการ : 3. มาตรฐานดานสหกรณผูรับการตรวจสอบกิจการเสาหลักที่ 6 : หลักสภาพแวดลอมของสหกรณที่เอื้อตอการตรวจสอบกิจการเสาหลักที่ 7 หลักความรวมมือของสหกรณในการตรวจสอบ : กิจการโครงการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการ Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ32

4. แนวทางยกระดับคุณภาพผูตรวจสอบกิจการสหกรณ ประกอบดวย 6 แนวทาง ดังนี้(1) เพิ่มเติมองคความรูของผูตรวจสอบกิจการ ดานการบัญชีสหกรณ ดานการเงินสหกรณ ดานการบริหารงานสหกรณ ดานกฎระเบียบของสหกรณ และดานเทคนิคที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานสหกรณ(2) เติมเต็มความสามารถในการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการสหกรณ ดานการควบคุมภายใน ดานการประเมินความเสี่ยง ดานการวางแนวกําหนดขอบเขตการตรวจสอบกิจการ ดานกลยุทธ ดานการสรุปรายงานผลและติดตามแกไข(3) เสริมทักษะการเขาถึงเนื้องานของผูตรวจสอบกิจการสหกรณใหสามารถใหคําแนะนําการทํางานแกผูที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง ใหความชวยเหลือสอนแนะวิธีลงบัญชี วิธีวิเคราะหดวยเครื่องมือทางการเงิน(4) สรางความสามารถในการรายงานการตรวจสอบกิจการเปนลายลักษณอักษรใหกระชับ สมเหตุสมผลตามหลักวิชาการ ครบถวนตามขอบเขตของการตรวจสอบกิจการ ชัดเจนไมออมคอม ไมทําใหเขาใจผิด สรางสรรคและเปนประโยชนอันจะนําไปสูการพัฒนางานสหกรณ(5) เตรียมปจจัยแวดลอมของสหกรณใหมีความพรอมและความเหมาะสมในดานบุคลากร คูมือ/ผังการ/เอกสารกํากับงาน เทคโนโลยีเครื่องมือตางๆ การบริหารงาน ขอมูล และการเงินงบประมาณ เพื่อเอื้อตอการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบกิจการ(6) เตรียมความรวมมือของสหกรณดานกรอบการตรวจสอบกิจการ ดานขอมูลที่ครบถวนเปนจริง ดานการอํานวยความสะดวกในการตรวจสอบ ดานการรับฟงใหความสําคัญในการปรับแกตามขอเสนอที่เปนประโยชน และดานทักษะการทํางานเปนทีมที่มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพขอเสนอแนะ1. พัฒนาคุณภาพผูตรวจสอบกิจการใหไดมาตรฐาน โดยจัดใหมีการอบรมผูที่จะทําหนาที่ผูตรวจสอบกิจการอยางตอเนื่อง และกําหนดมาตรฐานขั้นต่ําในการอบรมที่มีเงื่อนเวลาใหเหมาะสมกับประเภท ขนาด และโครงสรางธุรกิจของสหกรณ พัฒนาหลักสูตรและตํารา พัฒนาผูสอน พัฒนาการเรียนรู และพัฒนากลุมผูเรียนรู นอกจากองคความรูดานเนื้อหาและเทคนิคแลว ควรพิจารณาถึงทัศนคติและกระบวนทัศนที่มีตอการตรวจสอบกิจการ2. กําหนดมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการโดยหนวยงานที่เกี่ยวของ3. ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อกําหนดคุณสมบัติของผูตรวจสอบกิจการ4. ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อกําหนดแนวทางการคัดสรรผูตรวจสอบกิจการที่เหมาะสมกับสหกรณshorturl.at/dtxzO โครงการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบสหกรณโดยกลไกผูตรวจสอบกิจการ Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ33

การพัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยนผูวิจัย บัณฑิตพงษ ศรีอํานวย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีพูลพงศ สุขสวาง วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปญญา มหาวิทยาลัยบูรพาเสรี ชัดแชม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปญญา มหาวิทยาลัยบูรพาจากวารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปญญา ปที่ ฉบับที่ 2 กรกฎาคม ธันวาคม 256216 -วิธีดําเนินการวิจัยระยะที่ 1 พัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน โดยศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อสังเคราะหประเด็นแนวโนมการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน จากนั้นรวบรวมขอมูลและขอคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญหรือผูทรงคุณวุฒิ นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหจัดลําดับความสําคัญและน้ําหนักขององคประกอบระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยนแบบออนไลนในรูปแบบ Web Application ระยะที่ 3 เปรียบเทียบผลการประเมินการจัดการคุณภาพระหวางสหกรณเครดิตยูเนี่ยน ขนาดใหญกับผลการประเมินสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดกลางและเล็กผลการวิจัย1. การพัฒนาเกณฑประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน ประกอบดวย 6 ดาน 25 ตัวบงชี้ และ 102 เกณฑการพิจารณา ดังนี้ดานตัวบงชี้จํานวนเกณฑการพิจารณาดานที่ 1 การเงิน1. มีการบริหารสภาพคลอง2. มีสัญญาณแสดงการเจริญเติบโตของสหกรณ3. มีการทํากําไร4. มีคุณภาพของการบริหารสินทรัพย5. มีความเขมแข็งของเงินทุน33333วัตถุประสงคการวิจัย1. พัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพของสหกรณเครดิตยูเนี่ยน2. พัฒนาโปรแกรมประเมินการจัดการคุณภาพของสหกรณเครดิตยูเนี่ยนแบบออนไลน3. เปรียบเทียบผลการประเมินการจัดการคุณภาพระหวางสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดใหญกับสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดกลางและขนาดเล็กการพัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ34 12.

2. การพัฒนาโปรแกรมการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยนแบบออนไลนในรูปแบบ Web Application เพื่อเปนโปรแกรมชวยคํานวณใหกับผูใชงานเกิดความสะดวกผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมคอมพิวเตอรโดยผูเชี่ยวชาญ ปรากฏวา โปรแกรมมีความเหมาะสมครอบคลุมทั้ง 6 ดาน สามารถใชเปนแนวทางใหสหกรณเครดิตยูเนี่ยนนําไปประเมินการจัดการคุณภาพของสหกรณไดดวยตนเอง (Self-assessment) 3. ผลการเปรียบเทียบการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดใหญกับสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดกลางและเล็ก พบวา สหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดใหญกับสหกรณเครดิตยูเนี่ยนขนาดกลางและขนาดเล็ก มีระดับคะแนนการจัดการคุณภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดานตัวบงชี้จํานวนเกณฑการพิจารณาดานที่ 2 การจัดการความเสี่ยง6. มีการกําหนดการบริหารแผนจัดการความเสี่ยง7. มีการประเมินความเสี่ยง8. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง9. มีรายงานผลการจัดการความเสี่ยง4 4 4 4 ดานที่ 3 การเรียนรูและพัฒนา10. มีการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสหกรณ11. มีแผนการพัฒนาบุคคลของสหกรณ12. มีคณะกรรมการประเมินการดําเนินการของสหกรณ54 4 ดานที่ 4 การมีสวนรวมของสมาชิก13. มีการจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับสหกรณแกสมาชิก14. มีการจัดอบรมอาชีพใหกับสมาชิก15. มีการทําธุรกิจที่หลากหลาย ตอบสนองความตองการของสมาชิก4 4 4 ดานที่ 5 การนําองคกร16. มีระเบียบขอบังคับของสหกรณ17. มีการจัดทําแผนกลยุทธของสหกรณ18. มีการจัดประชุมใหญสามัญประจําป19. มีการจัดการองคกรโดยยึดหลักธรรมาภิบาล20. มีการนําองคกรโดยผูบริหารสูงสุดของสหกรณ54 554 ดานที่ 6 การจัดการ21. มีระบบจัดการดานสวัสดิการบุคลากรและสมาชิกสหกรณ22. มีระบบจัดการขอมูลดานสมาชิกสหกรณ23. มีระบบการตรวจสอบการดําเนินกิจการสหกรณ24. มีแผนการบริหารเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ25. มีระบบบริการดานการฝากเงินสินเชื่อของสหกรณ4 54 55shorturl.at/himK6 การพัฒนาเกณฑการประเมินการจัดการคุณภาพสหกรณเครดิตยูเนี่ยน Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ35

เปรียบเทียบตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยผูวิจัย รภัสสรณ คงธนจารุอนันต นักศึกษาปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจดร.อารีย เชื้อเมืองพาน รองศาสตราจารย ประจําสาขาเศรษฐศาสตรคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจจากวารสารศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ ปที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจําเดือน กรกฎาคม ธันวาคม 2559-ขอบเขตการศึกษากลุมตัวอยาง สหกรณออมทรัพย จํานวน 313 แหงตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพย เปนการสํารวจตัวชี้วัดจาก 3 หนวยงานหลัก คือ กรมสงเสริมสหกรณ กรมตรวจบัญชีสหกรณ และชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย ประกอบดวย (1) หลักเกณฑการวัดพื้นฐานความเปนสหกรณ (2) หลักเกณฑการจัดมาตรฐานสหกรณ (3) หลักเกณฑการคัดเลือกสหกรณดีเดน (4) เกณฑการสรางธรรมาภิบาลในสหกรณ (5) เกณฑคุณภาพการบริหารจัดการสหกรณ (6) การพัฒนาศักยภาพสหกรณแบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (7) หลักเกณฑการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในของสหกรณ และ (8) เกณฑอัตราสวนมาตรฐานทางการเงิน โดยนํามาวิเคราะหหาความสอดคลอง สรุปไดจํานวนทั้งสิ้น 15 ดาน ดังนี้(1) ดานปรัชญาของการเปนสหกรณ(2) ดานการบริหารธุรกิจรับฝากเงินของสมาชิกสหกรณ(3) ดานธุรกิจการใหกูแกสมาชิก(4) ดานการบริหารการเงินของสหกรณ(5) ดานการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ(6) ดานการกําหนดนโยบายการดําเนินงานสหกรณดานการตรวจสอบและควบคุมภายในสหกรณ(7) ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต(8) ดานการจัดสวัสดิการ(9) ดานการตรวจสอบและควบคุมภายในสหกรณ(10) ดานการเงินและการบัญชีสหกรณ(11) ดานการบริหารจัดการสหกรณ(12) ดานการมีสวนรวมของสมาชิก(13) ดานการสื่อสารพัฒนาเครือขายธุรกิจสหกรณวัตถุประสงคการวิจัยสํารวจตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยวิเคราะหความสอดคลองระหวางหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานที่มีอยูกับผลการปฏิบัติงานจริงของสหกรณออมทรัพยเปรียบเทียบตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ36 13.

(14) ดานการสรางความนาเชื่อถือ การใหบริการที่ดีแกสมาชิกและเครือขายของสหกรณ(15) ดานการสรางแรงจูงใจแกบุคลากรและสมาชิกสหกรณออมทรัพยตารางแสดงตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยตัวชี้วัดกรมสงเสริมสหกรณกรมตรวจบัญชีสหกรณชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทยมีไมมีมีไมมีมีไมมี1) ดานการปฏิบัติตามปรัชญาสหกรณ/ x x (2) ดานการบริหารธุรกิจรับฝากเงินของสมาชิกสหกรณ/ / / (3) ดานธุรกิจการใหกูแกสมาชิก/ / / (4) ดานการบริหารการเงินของสหกรณ/ / / (5) ดานการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ/ x x (6) ดานการกําหนดนโยบายการดําเนินงานสหกรณดานการตรวจสอบและควบคุมภายในสหกรณ/ x / (7) ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต/ x / (8) ดานการจัดสวัสดิการ/ x / (9) ดานการตรวจสอบและควบคุมภายในสหกรณ/ / / (10) ดานการเงินและการบัญชีสหกรณ/ / / (11) ดานการบริหารจัดการสหกรณ/ / / (12) ดานการมีสวนรวมของสมาชิก/ / / (13) ดานการสื่อสารพัฒนาเครือขายธุรกิจสหกรณx x / (14) ดานการสรางความนาเชื่อถือ การใหบริการที่ดีแกสมาชิกและเครือขายของสหกรณx x / 15) ดานการสรางแรงจูงใจแกบุคลากรและสมาชิกสหกรณออมทรัพยx x / สรุปผลการวิจัย1. ตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในแตละหนวยงานไมครอบคลุมการดําเนินงานของสหกรณ เชน กรมสงเสริมสหกรณเนนดานพื้นฐานความเปนสหกรณ ขณะที่กรมตรวจบัญชีสหกรณเนนเกณฑการประเมินดานความมั่นคงทางการเงินและผลตอบแทนของธุรกิจสหกรณ สวนชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด เนนการนําองคการ การกําหนดกลยุทธ นโยบาย การวางแผนการดําเนินงาน และการบริหารจัดการในสหกรณ จะเห็นไดวา แตละหนวยงานใหความสําคัญกับผลการดําเนินงานเปรียบเทียบตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ37

ของสหกรณในทิศทางที่แตกตางกัน จึงควรที่จะตองมีตัวชี้วัดที่เปนมาตรฐานเดียวกันเพื่อใหสหกรณออมทรัพยมีผลการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ2. จากการวิเคราะหหาความสอดคลองของตัวชี้วัด ซึ่งครอบคลุมทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ พบวา ตัวชี้วัดที่สอดคลองกับผลการปฏิบัติงานจริงของสหกรณออมทรัพย ระดับมาก มี 8 ดาน คือ ดานปรัชญาความเปนสหกรณ ดานการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ ดานการกําหนดนโยบายการดําเนินงานสหกรณ ดานการจัดสวัสดิการ ดานการเงินและการบัญชีสหกรณ ดานการมีสวนรวมของสมาชิก ดานการสรางความนาเชื่อถือ การใหบริการที่ดีแกสมาชิกและเครือขายของสหกรณ และดานการสรางแรงจูงใจแกบุคลากรและสมาชิกสหกรณออมทรัพย สะทอนใหเห็นวา บุคลากรของสหกรณออมทรัพยมีความรูความเขาใจในหลักเกณฑการดําเนินงานคอนขางเปนไปในทิศทางเดียวกัน และมีระดับความสอดคลองกับตัวชี้วัดอยูในเกณฑที่สูงตัวชี้วัดที่มีความสอดคลองกับผลการปฏิบัติงานจริงของสหกรณออมทรัพย ระดับปานกลาง มี 2 ดาน คือ ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต และดานการสื่อสารพัฒนาเครือขายธุรกิจสหกรณ สะทอนใหเห็นวา บุคลากรสวนใหญยังไมคอยมีความรูความเขาใจเทาใด สงผลใหมีระดับความสอดคลองกับตัวชี้วัดทั้ง 2 ดานในระดับกลางอภิปรายผลการกําหนดตัวชี้วัดหลักเกณฑการดําเนินงานในแตละองคกรควรมีความสอดคลองกับผลการดําเนินงานเพื่อใหการปฏิบัติงานในองคกรเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยการกําหนดตัวชี้วัดจะตองกําหนดจากการมีสวนรวมของบุคลากร ตัวแทนจากองคกรตางๆ ทุกภาคสวน แลวใหมีการยึดตัวชี้วัดนั้นๆ เปนเกณฑเดียวกัน เพื่อลดความสับสนและซ้ําซอนในการดําเนินงาน ซึ่งจะสงผลตอการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในองคกร การศึกษาครั้งนี้จึงเปนการศึกษาและเสนอตัวชี้วัดหลักเกณฑการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยที่มีความครอบคลุมในทุกๆ ดาน ที่ไดจากการสํารวจตัวชี้วัดในทุกๆ ภาคสวนที่เกี่ยวของกับสหกรณ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อใชเปนหลักเกณฑมาตรฐานเดียวกันที่สามารถชี้วัดความสําเร็จของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยตอไปshorturl.at/wEJM3 เปรียบเทียบตัวชี้วัดหลักเกณฑการประเมินผลการดําเนินงานของสหกรณออมทรัพยในประเทศไทย Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ38

ปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีผูวิจัย วชิรพล อินสุวรรณ มหาวิทยาลัยเชียงใหมจากการคนควาอิสระ หลักสูตรปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2551การศึกษานี้เปนการศึกษาปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยประชากรในการศึกษาคือ ผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. จํานวน 97 ราย ไดรับแบบสอบถามกลับคืนมา 51 ราย คิดเปนรอยละ 52.58 ระยะเวลาที่เก็บรวบรวมขอมูล ระหวางวันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 ถึง 30 เมษายน 2551ผลการศึกษา1. ขอมูลทั่วไปผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย (รอยละ 51) อายุระหวาง 31 35 ป (รอยละ 49) ระดับ-การศึกษาปริญญาตรี (รอยละ 54.9) ประสบการณสอบบัญชี 6 10 ป (รอยละ 54.9) เปนผูสอบบัญชีของสํานัก-งานสอบบัญชีกลุม Big 4 (รอยละ 68.6) และสวนใหญตรวจสอบธุรกิจประเภทบริการ (รอยละ 60.8)2. ปจจัยเสี่ยงของการทุจริต (Fraud Risk Factors)(1) ปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอนการวางแผนการสอบบัญชี คือ ปจจัยดานความนาเชื่อถือและความสามารถของฝายบริหาร รองลงมาคือ ปจจัยดานความกดดันที่ผิดปกติภายในกิจการ และปจจัยที่เกี่ยวของกับรายการผิดปกติ(2) ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ไมเคยตรวจพบการทุจริต จํานวน 28 ราย (รอยละ 54.9) และเคยตรวจพบการทุจริต จํานวน 23 ราย (รอยละ 45.1) ในจํานวนนี้ รูปแบบการทุจริตที่พบมากที่สุด คือ ทุจริตเงินสด รองลงมาคือ การทุจริตสินคาคงเหลือ และการทุจริตคาใชจาย (3) แหลงความรูเกี่ยวกับธุรกิจที่ทําใหผูสอบบัญชีทราบเกี่ยวกับโอกาสในการเกิดปจจัยเสี่ยงของการทุจริตคือ ประสบการณในการตรวจสอบ รองลงมาคือ ปรึกษาหารือกับบุคลากรของกิจการ และตรวจเยี่ยมสถานประกอบการ(4) ปจจัยเสี่ยงของการทุจริตที่มีผลตอการวางแผนการสอบบัญชี ไดแก(4.1) ปจจัยดานความนาเชื่อถือและความสามารถของฝายบริหาร ไดแก ฝายบริหารถูกครอบงําโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุมคนเพียงไมกี่คน รองลงมาคือ มีขอบกพรองดานการควบคุมภายในที่สําคัญอยูเสมอโดยไมมีการสั่งการใหแกไข(4.2) ปจจัยดานความกดดันที่ผิดปกติภายในกิจการ ไดแก การทํากําไรเพื่อสนับสนุนราคาตลาดของหุน เนื่องจากจะเสนอขายใหกับสาธารณชนหรือการครอบงํากิจการ รองลงมาคือ ความกดดันทางการเงินตอผูบริหารระดับสูง(4.3) ปจจัยที่เกี่ยวของกับรายการผิดปกติ ไดแก มีอัตราการรับคืนสินคาเพิ่มโดยไมมีเหตุผลที่ชัดเจน และมีรายจายหรือยอดซื้อที่สูงผิดปกติโดยไมมีเหตุผลที่ชัดเจน รองลงมาคือ มียอดลูกหนี้คางชําระสูงและนานเกินปกติโดยไมมีการติดตามที่ชัดเจนปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชี Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ39 14.

(4.) ปจจัยดานปญหาการไดมาซึ่งหลักฐานการตรวจสอบที่เพียงพอและเหมาะสม ไดแก ไมมีเอกสารประกอบรายการในรายการที่ควรจะมี รองลงมาคือ มีรายการคางนานซึ่งไมสามารถอธิบายไดในงบกระทบยอด โดยเฉพาะรายการเงินสดหรือสินทรัพยที่มีสภาพคลอง(5) ปจจัยดานขอบงชี้อาจมีการไมปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับ ไดแก การซื้อในราคาที่สูงหรือต่ํากวาราคาตลาดอยางมีสาระสําคัญ รองลงมาคือ การจายชําระคาสินคาหรือบริการไปยังประเทศซึ่งไมไดเปนแหลงที่กอใหเกิดสินคาหรือบริการนั้น(6) ปจจัยดานอื่นๆ ไดแก มีการจายผิดปกติในรูปเงินสด การซื้อของในรูปแบบของแคชเชียรเช็คแบบไมระบุผูรับหรือการโอนไปยงบัญชีธนาคารที่ระบุเลขที่บัญชีไว รองลงมาคือ ระบบบัญชีที่ไมมีรองรอยสําหรับการตรวจสอบหรือไมมีหลักฐานเพียงพอ 3. ผลกระทบของปจจัยเสี่ยงของการทุจริตตอการวางแผนการสอบบัญชี(1) ผูสอบบัญชีทุกคนเห็นวาแผนการสอบบัญชีสามารถเปลี่ยนแปลงได เมื่อพบปจจัยเสี่ยงที่มีสาระสําคัญ โดยสวนใหญเห็นวาเมื่อมีการปรับเปลี่ยนหรือขยายขอบเขตการตรวจสอบจะทําใหผูสอบบัญชียืนยันหรือขจัดขอสงสัยเกี่ยวกับการทุจริตได (2) เมื่อผูสอบบัญชีพบปจจัยเสี่ยงของการทุจริตที่มีสาระสําคัญ ผูสอบบัญชีจะเปลี่ยนแปลงการวางแผนการสอบบัญชี ไดแก เปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบ รองลงมาคือ เปลี่ยนแปลงทีมตรวจสอบ และเพิ่มคาธรรมเนียมสอบบัญชีโดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบ ไดแก ตรวจสอบเนื้อหาสาระ (Substantive Test) เพิ่มขึ้นรองลงมาคือ เนนการทดสอบการควบคุม (Test of Control) มากขึ้น ลดระดับความมีสาระสําคัญที่ตั้งไว(Materiality Level) และเพิ่มตัวอยางที่ใชตรวจสอบมากขึ้นการเปลี่ยนแปลงทีมตรวจสอบ ไดแก เพิ่มพนักงานที่มีประสบการณดานการตรวจทุจริต รองลงมาคือ เปลี่ยน/เพิ่มพนักงานที่มีบุคลิกแตกตางจากเดิม ขอคนพบ1. ปจจัยที่ใชประเมินความเสี่ยงในขั้นตอนการวางแผนการสอบบัญชีสําคัญเปนลําดับแรก คือ ปจจัยดานความนาเชื่อถือและความสามารถของฝายบริหาร โดยปจจัยยอยคือ ฝายบริหารถูกครอบงําโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุมคนเพียงไมกี่คน2. ผูมีหนาที่ในการสอบทานการวางแผนการสอบบัญชีเมื่อมีปจจัยเสี่ยงของการทุจริต คือ หุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี นอกจากนี้ ผูสอบบัญชียังมีการปรึกษากับผูบริหารของกิจการเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการตรวจสอบเพื่อสืบหาปจจัยเสี่ยงของการทุจริต3. รูปแบบการทุจริตที่ตรวจพบมากที่สุดคือ ทุจริตเงินสด4. ผูสอบบัญชีทราบถึงโอกาสที่จะเกิดปจจัยเสี่ยงของการทุจริตจากประสบการณการตรวจสอบบัญชีของผูสอบบัญชี5. ผูสอบบัญชีที่เคยตรวจพบการทุจริต จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบในสวนของการตรวจสอบเนื้อหาสาระเพิ่มขึ้น และปตอไปเมื่อผูสอบบัญชีรับงานสอบบัญชี จะเนนการเพิ่มตัวอยางที่ใชตรวจสอบมากขึ้น และมีการตรวจสอบเนื้อหาสาระเพิ่มขึ้นปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชี Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ40

6. ในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการวางแผนการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีของสํานักงานสอบบัญชีในกลุม Big 4 สวนใหญมีการตรวจสอบเนื้อหาสาระเพิ่มขึ้น สวนผูสอบบัญชีของสํานักงานสอบบัญชีอื่น สวนใหญจะเนนการทดสอบการควบคุมมากขึ้น7. การปรึกษากับผูบริหารเมื่อพบปจจัยเสี่ยงของการทุจริต ผูสอบบัญชีตองพิจารณาตามสถานการณวาผูบริหารอาจมีสวนรวมในการทุจริตหรือไม เพราะอาจทําใหเกิดความไมปลอดภัย หรือผูบริหารอาจรูตัวshorturl.at/fPRSY ปจจัยเสี่ยงของการทุจริตและผลกระทบตอการวางแผนการสอบบัญชีของผูสอบบัญชี Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ41

ความเสี่ยงของระบบสหกรณออมทรัพยกับแนวทางการปฏิรูปการกํากับดูแลผูวิจัย ศิริวรรณ อัศววงศเสถียร กันตภณ ศรีชาติ รัฐศาสตร หนูดํา ธนาคารแหงประเทศไทยจาก FAQ: Focused and Quick ฉบับที่ 114 วันที่ 9 พฤษภาคม 2560สหกรณเปนองคกรทางเศรษฐกิจที่อยูคูสังคมไทยมากวา 100 ป ทําหนาที่เปนตัวกลางทางการเงินระหวางสมาชิกที่มีเงินเหลือและสมาชิกที่ตองการใชเงิน แตในชวงหลัง การดําเนินธุรกรรมของสหกรณออมทรัพยมีการพัฒนาในหลายดาน ทั้งการใหสินเชื่อที่ขยายเกือบเทาตัวจนกลายมาเปนผูเลนสําคัญในการใหสินเชื่อแกภาคครัวเรือน นอกจากนี้ สหกรณออมทรัพยมีการลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนเพิ่มขึ้น ตลอดจนอาศัยการกูยืมจากสหกรณอื่น สถาบันการเงินของรัฐ และธนาคารพาณิชยมากขึ้นจนมีการเชื่อมโยงกับระบบการเงินมากขึ้นความสําคัญของสหกรณและบทบาทที่เพิ่มมากขึ้นสหกรณออมทรัพยมีขนาดใหญขึ้นและมีการขยายสินทรัพยอยางรวดเร็วในภาพรวมป 2558 มีสหกรณทั้งสิ้น 8,074 แหง เปนสหกรณภาคการเกษตรรอยละ 56 และสหกรณนอกภาคเกษตรรอยละ 44 แตหากพิจารณามูลคาสินทรัพยพบวา สินทรัพยรอยละ 87 ของสหกรณทั้งระบบเปนของสหกรณออมทรัพย ซึ่งมีมูลคาอยูที่ 2,059,457 ลานบาท การขยายตัวของสินทรัพยจะอยูในรูปเงินใหสินเชื่อ ในชวง 5 ป (2553 2558) เงินใหสินเชื่อของสหกรณออมทรัพยขนาดใหญ 169 แหงเพิ่มจาก 0.9 ลานลานบาท ณ สิ้นป -2553 มาอยูที่ 1.7 ลานลานบาท ณ กันยายน 2559 ซึ่งเพิ่มมากขึ้นเกือบสองเทาการเพิ่มขึ้นของเงินกูจากธนาคารพาณิชยก็สอดคลองกับการขยายตัวของสินทรัพยทีเพิ่มขึ้นจาก 1.3 ลานลานบาท ณ สิ้นป 2553 มาอยูที่ระดับ 2.4 ลานลานบาท ในเดือนกันยายน 2559ทําใหเกิดขอสงสัยวาสหกรณออมทรัพยนําเงินทุนไปใชในแหลงใดบาง เมื่อพิจารณาถึงประเภทของสินทรัพยทําใหเห็นพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่สินทรัพยสวนใหญจะเปนเงินปลอยกู ไปอยูในรูปของเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นอยางมาก ซึ่งเรงตัวขึ้นตั้งแตป 2557 เปนตนมา สะทอนถึงการแสวงหาผลตอบแทนของสหกรณออมทรัพยที่ลงทุนในสินทรัพยที่มีความเสี่ยงมากขึ้น สอดคลองกับผลการศึกษาของจุฑาทิพย ภัทราวาท (2554) ซึ่งเห็นวาเงินใหกูแกสมาชิกมีทิศทางลดลงอยางตอเนื่อง อันผิดวัตถุประสงคตามอุดมการณและปรัชญาของสหกรณที่เนนชวยเหลือสมาชิกลักษณะการดําเนินงานมีความใกลเคียงกับธนาคารพาณิชย สหกรณทําหนาที่เปนตัวกลางทางการเงินแบบหนึ่งที่มีหนาที่จับคู (match) ความตองการระหวางสมาชิกที่มีเงินเหลือ กับ สมาชิกที่ตองการเงินทุน สหกรณจะแสวงหาผลกําไรจากสวนตางระหวางดอกเบี้ยเงินรับฝากและดอกเบี้ยเงินใหกู ซึงลักษณะการดําเนินงานดังกลาวเทียงเคียงไดกับธุรกิจการเงิน สําหรับการติดตามความเสี่ยงเชิงระบบ (systemic risk) ที่อาจเกิดขึ้นโดยผูเลนทางการเงินรายใดรายหนึ่ง สวนใหญจะพิจารณาถึงความสําคัญเชิงระบบของผูเลนทางการเงิน ใน 3 มิติหลัก ไดแก ขนาด ความเชื่อมโยง และความสามารถในการทดแทน ซึ่งเมื่อพิจารณาทั้ง 3 มิติ จะพบวา สหกรณออมทรัพยมีความเกี่ยวพันกับคนในปริมาณมาก มีความเชื่อมโยงกับผูเลนอื่นๆ ในระบบการเงิน และถือเปนสถาบันทางการเงินที่ชวยเติมเต็มการเขาถึงทางการเงินใหประชาชนมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมผูมีรายไดนอยที่อาจมีขอจํากัดในการเขาถึงบริการของธนาคารพาณิชยความเสี่ยงของระบบสหกรณออมทรัพยกับแนวทางการปฏิรูปการกํากับดูแล Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ42 15.

สหกรณออมทรัพยเปนผูใหกูแกภาคครัวเรือน รอยละ 15.3 เปนอันดับ 3 รองจากธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินเฉพาะกิจ มีมูลคาเทากับ 1.7 ลานลานบาท ณ ไตรมาส 2 ป 2559 สะทอนใหเห็นความสําคัญของสหกรณออมทรัพยในการเปนแหลงเงินกูยืมที่สําคัญของภาคครัวเรือนภาพรวมการประเมินความเสี่ยงสหกรณออมทรัพยกรอบการวิเคราะหความเสี่ยงของสหกรณออมทรัพย แบงสหกรณออกเปน 2 ประเภทคือ (1) สหกรณที่มีเงินทุนเหลือ (Surplus) หมายถึง สหกรณที่มีแหลงเงินจากสมาชิก เกินกวา ความตองการของสมาชิกดวยกันเอง (2) สหกรณที่ยังขาดเงินทุน (Deficit) หมายถึง สหกรณที่มีแหลงเงินจากสมาชิกไมเพียงพอกับความตองการของสมาชิก จึงตองไปกูยืมเงินจากแหลงภายนอกถึง 1 ใน 3 โดยรอยละ 64 เปนเงินกูระยะสั้น ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสี่ยงของอายุสินทรัพยและหนี้สินที่ไมสมดุลกันสาเหตุของปญหา1. ปญหาเชิงโครงสรางระบบสหกรณสามารถรับฝากเงินไดเฉพาะจากสมาชิก ตางจากสถาบันการเงินทั่วไปที่รับฝากเงินไดจากประชาชน และสวนใหญมีผูถือหุนรายใหญจํานวนหนึ่งทําหนาที่ดูแลและติดตามการดําเนินงานของผูบริหารและปกปองผลประโยชนของสถาบันการเงิน ในขณะที่ผูถือหุนของสหกรณรับรูวาหุนสหกรณเปนเสมือนเงินฝากประเภทหนึ่งและราคาหุนมีมูลคาคงที่ ทําใหผูถือหุนไมไดติดตามการดําเนินงานของคณะกรรมการสหกรณมากนัก2. ปญหาดานการจัดการเชิงสถาบันปจจุบันยังไมมีหนวยงานที่ทําหนาที่กํากับดูแลสหกรณออมทรัพยโดยตรงกรมสงเสริมสหกรณทําหนาที่สงเสริมและพัฒนาสหกรณ กรมตรวจบัญชีสหกรณทําหนาที่ตรวจสอบบัญชี อีกทั้งกฎหมายมีลักษณะที่เนนการสงเสริมและพัฒนามากกวาการกํากับดูแล ทําใหการออกเกณฑกํากับดูแลและการบังคับใชในลักษณะการลงโทษทําไดคอนขางยากและไมยืดหยุน ประกอบกับการกําหนดโทษไมเขมงวด ยิ่งทําใหสหกรณไมเกรงกลัว นอกจากนี้ เกณฑกํากับดูแลในปจจุบันยังไมครอบคลุมทุกความเสี่ยงและยังผอนปรนกวาหลักเกณฑของสถาบันการเงินอื่นคอนขางมาก ความหละหลวมของการกํากับดูแลอาจสงผลกระทบตอเสถียรภาพและความมั่นคงของสหกรณในระยะยาวได3. ปญหาดานโครงสรางพื้นฐาน ระบบสหกรณยังขาดระบบการติดตามตรวจสอบ ระบบการรายงานขอมูลในหลายมิติ และขาดบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญในธุรกิจการเงิน ทําใหการติดตามการดําเนินงานของสหกรณเปนไปไดยาก และมีขอมูลไมครบถวนในการวิเคราะหพัฒนาการและความเสี่ยงของระบบสหกรณ รวมทั้งปจจุบันยังไมมีระบบการบริหารสภาพคลองรองรับทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต4. ปญหาดานความรูและวินัยทางการเงิน สมาชิกสหกรณจํานวนมากยังขาดความรูความเขาใจทางการเงิน ไมไดใหความสนใจตอการบริหารงานของคณะกรรมการ ไมเห็นความสําคัญของการจัดทําบัญชีและการวางแผนทางการเงิน สงผลใหขาดวินัยทางการเงินและกอหนี้เพื่อใชจายเกินควร แมแตคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณสวนใหญก็ขาดความรูทางการเงินเชนกัน ทําใหการตัดสินใจเพื่อกําหนดแนวทางการดําเนินงานไมไดพิจารณาขอมูลและวิเคราะหฐานะของสหกรณอยางเหมาะสม ขณะที่ผูกํากับดูแลและผูตรวจสอบกิจการเองก็ขาดความรูดานการกํากับดูแลและการตรวจสอบ รวมถึงการติดตามและแจงเตือนภัยใหแกสหกรณความเสี่ยงของระบบสหกรณออมทรัพยกับแนวทางการปฏิรูปการกํากับดูแล Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ43

แนวทางการกํากับดูแลสหกรณและเกณฑการกํากับในเบื้องตน1. การใหอํานาจทางกฎหมายแกองคกรที่ดูแลสหกรณและตรวจสอบสหกรณโดยควรใหอํานาจในการกํากับดูแลครอบคลุมทั้งดานการออกเกณฑกํากับดูแล การติดตาม และการตรวจสอบ ตลอดจนการสั่งการใหมีการแกไขปญหาและบทกําหนดโทษ เพื่อใหการกํากับดูแลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสรางความเชื่อมั่นใหกับธุรกิจทุกภาคสวน2. การออกเกณฑกํากับดูแลดานธรรมาภิบาลและดานความมั่นคงเพิ่มเติมดวยสหกรณออมทรัพยมีจํานวนมากและมีขนาดที่แตกตางกันกันมาก จึงควรใหการกํากับดูแลโดยแบงตามลําดับชัน (Tiered Regulation) ตามขนาดสินทรัพย เพื่อใหเหมาะสมตามปริมาณและความซับซอนของธุรกรรม และไมเปนภาระกับสหกรณขนาดเล็กจนเกินไป นอกจากนี้ การปรับเกณฑควรคํานึงทั้งดานรูปแบบการออกเกณฑ เนื้อหา ระดับความเขมของหลักเกณฑ และระยะเวลาการบังคับใช โดยแบงไดเปน 4 ดานคือ (รายละเอียดของหลักเกณฑ อยูในภาคผนวก 1 ของเอกสารฉบับเต็ม)(1) ดานธรรมาภิบาล เกณฑที่ควรพิจารณา เชน วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ เพดานการจายเงินปนผลและคาเบี้ยประชุมกรรมการ โครงสรางและองคประกอบคณะกรรมการ การเปดเผยขอมูลของสหกรณ การจัดทําบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานบัญชีไทย(2) ความเสี่ยงดานเครดิต เกณฑที่ควรพิจารณา เชน การปฏิบัตินอกพันธกิจของสหกรณ การปลอยกูหรือเอื้อประโยชนใหกับพวกพองกรรมการ วงเงินและเพดานการใหกูแกสหกรณอื่น การจัดชั้นและกันสํารองหนี้ การ rollover หนี้ ทบทวนเงื่อนไขการพิจารณาใหเงินกู เพิ่มเติมแนวนโยบายการทําธุรกรรมดานสินเชื่อ เพิ่มเติมหลักเกณฑการจํากัดปริมาณหนี้สินตอทุน(3) ความเสี่ยงดานสภาพคลอง เชน หลักเกณฑการดํารงสินทรัพยสภาพคลอง เพดานดอกเบี้ยเงินรับฝาก(4) ความเสี่ยงดานปฏิบัติการ เชน ความเสี่ยงที่เกิดจากความไมเพียงพอหรือความบกพรองของกระบวนการควบคุมภายใน บุคลากรและระบบงาน รวมถึงเหตุการณภายนอก3. การเรงปฏิรูปโครงสรางพื้นฐาน ทั้งดานระบบการติดตาม การรายงานขอมูล ระบบบัญชี และบุคลากรโดยวางระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อชวยในการวางแผน วิเคราะห และติดตามฐานะการดําเนินงาน ความเสี่ยงที่สําคัญ และการปฏิบัติตามกฎเกณฑ ในลักษณะ site monitoring รวมถึงควรปรับระบบบัญชีของสหกรณออมทรัพยไทยoff-ใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีไทย และเพิ่มพูนความรูความชํานาญดานการเงินใหแกบุคลากรที่เกี่ยวของ4. จัดตั้งศูนยกลางการบริหารสภาพคลองของระบบสหกรณใหมีลักษณะ closed loopเพื่อไมใหกระทบตอเสถียรภาพระบบการเงินโดยรวม โดยจากการวิเคราะหพบวา ระบบสหกรณออมทรัพยมีสภาพคลองเพียงพอที่จะปลอยกูกันเอง หากสหกรณออมทรัพยตางชวยเหลือซึ่งกันและกันshorturl.at/zFV01 ความเสี่ยงของระบบสหกรณออมทรัพยกับแนวทางการปฏิรูปการกํากับดูแล Article Summary สรุปผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook