Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน

หนังสือมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน

Published by Woranutda Memee Phum Jeweree, 2021-08-25 09:46:17

Description: หนังสือมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน

Search

Read the Text Version

HUMAN RELATION IN ORGANIZATION มนษุ ยส์ มั พนั ธใ์ นการทํางาน ณั ช ช า ป ร ะ ชู โ ช ติ

1 บทท่ี 1 ความหมายและแนวคิดดา้ นมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความหมายของมนุษย์สัมพนั ธ์ มนุษยส์ ัมพนั ธ์จดั เป็ นท้งั ศาสตร์ (Science) และศิลป์ (Art) เน่ืองจากมีหลกั การ และทฤษฎีท่ีเป็ น ขอ้ ความรู้ และการนาหลกั การ หรือทฤษฎีไปปฏิบตั ิใหป้ ระสบ ความสาเร็จไดน้ ้นั ตอ้ งอาศยั เทคนิควธิ ีการซ่ึง ถือเป็ น ศิลปะเฉพาะตวั ของแต่ละบุคคล จะสังเกตเห็นไดอ้ ยา่ งหน่ึงวา่ คนแต่ละคน มีความสามารถในการ ติดตอ่ กบั ผู้ อ่ืนไมเ่ ท่ากนั บางคนเป็นท่ีพอใจของคนหมู่มาก มีเพ่ือนมากหนา้ หลายตา และมีคนที่อยากพูดคุย ติดต่อ หรือทางานร่วมกบั เขามากมาย ในขณะที่บางคนไม่ค่อยมีใครอยาก จะเขา้ ใกล้ หรือทางานร่วมดว้ ย นนั่ เป็ นเพราะเขาขาดศิลปะในการติดต่อกบั บุคคลอ่ืน ซ่ึงอาจเป็ นเพราะไม่รู้หลกั การวา่ ควรทาอยา่ งไร หรือ เป็ นเพราะนาหลกั การไปใชไ้ ม่ ถูกวธิ ี ดงั น้นั การที่คนเราจะมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีกบั บุคคลอ่ืน จึงจาเป็ นตอ้ ง เรียนรู้ท้งั ภาคทฤษฎี และหมนั่ ฝึ กฝนเพ่ือใหเ้ กิดความเช่ียวชาญ จนสามารถนาหลกั การที่เป็ นขอ้ ความรู้ทาง ทฤษฎีไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเป็นธรรมชาติ ดงั น้นั จึงมีนกั จิตวทิ ยาใหค้ วามหมายไวห้ ลายท่านพอสรุปไดด้ งั น้ี อริสโตเติล ( Aristotle ) นกั ปราชญช์ าวกรีก อธิบายวา่ มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม มนุษยใ์ ชช้ ีวติ อยรู่ ่วมกนั เป็นหมู่เป็นเหล่ามนุษย์ อยรู่ ่วมกนั เป็นกลุ่มเป็นพวก มีปฏิสมั พนั ธ์ร่วมกนั การที่มนุษยอ์ ยูร่ ่วมกนั ทาใหพ้ วก เขารู้สึกปลอดภยั ซ่ึงเป็ นสัญชาตญาณของมนุษย์ ดงั น้นั เราอาจกล่าวไดว้ า่ การที่ มนุษยม์ ีสัมพนั ธ์กนั มนุษย์ จึงเป็นสัตวส์ งั คม ดงั ที่นกั ปราชญไ์ ดก้ ล่าวไว้

2 มนุษยส์ ัมพนั ธ์ หมายถึง ความสัมพนั ธ์ในทางสังคม ระหวา่ งมนุษย์ ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดี ต่อกนั พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ( 2525 : 402 ) ในปี พ.ศ. 2538 ราชบณั ฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่า มนุษย์สัมพนั ธ์ หมายถึง ความสัมพนั ธ์ ในทางสังคมระหวา่ งมนุษย์ ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ( Human Relationships ) เป็ นการอยูร่ ่วมกนั ของมนุษยเ์ ป็ นหมู่เป็ นคณะ หรือกลุ่ม โดยมีการติดตอ่ สื่อสารกนั ระหวา่ งบุคคล ระหวา่ งกลุ่ม เพือ่ ใหท้ ราบความตอ้ งการของแต่ละบุคคล หรือกลุ่ม รวมไปถึง วธิ ีการจูงใจ และประสานความตอ้ งการ ของบุคคล และกลุ่มให้ผสมผสานกลมกลืนกนั ตามระบบ ท่ีสงั คมตอ้ งการ พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ( 2538 : 628 ) มนุษยส์ ัมพนั ธ์ หมายถึง การแสวงหา เพ่ือทาความเข้าใจ โดยการใช้ลักษณะรูปแบบการ ติดต่อ สัมพนั ธ์กนั ระหวา่ งบุคคลเป็ นผล ก่อให้เกิดความเช่ือมโยง เพื่อให้ไดผ้ ลสาเร็จ ตามเป้าหมายขององค์การ ของแตล่ ะบุคคล ที่ไดก้ าหนดไว้ อานวย แสงสวา่ ง ( 2544: 99) มนุษยส์ มั พนั ธ์ หมายถึง กระบวนการจูงใจของบุคคลอยา่ งมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ โดยมี ความพอใจ ในทางเศรษฐกิจ และสังคม มนุษยส์ ัมพนั ธ์ จึงเป็ นท้งั ศาสตร์ และศิลป์ เพื่อใชใ้ น การเสริมสร้าง ความสัมพนั ธ์อนั ดี กบั บุคคล การยอมรับนบั ถือ การให้ความร่วมมือ และการให้ความจงรักภกั ดี ในการ ติดตอ่ สมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งบุคคล ต่อบุคคล ตลอดจนองคก์ รต่อองคก์ ร David, Keith.1977 มนุษยส์ ัมพนั ธ์ หมายถึง ศาสตร์ และศิลป์ ในการเสริมสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดี ระหวา่ งบุคคล เพ่ือ ตอ้ งการใหไ้ ดม้ าซ่ึง ความร่วมมือ ช่วยเหลือกนั ความรักใคร่นบั ถือ และความจงรักภกั ดี โดยสรุป ความหมายของ “คาวา่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์เฉยๆ (Human Relation) แปลว่า ความสัมพนั ธ์ ในทางสงั คมระหวา่ งมนุษย์ ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดีตอ่ กนั ” ส่วนคาวา่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการทางานน้นั (Human Relations at Work) หมายถึง เร่ืองราวที่วา่ ดว้ ยพฤติกรรมของบุคคลท่ีมาเกี่ยวขอ้ งกนั ในการทางานในองค์กรหรือหน่วยงาน เพ่ือให้การทางานดาเนิน ไปไดอ้ ยา่ งราบร่ืนความสาคญั ของมนุษยส์ มั พนั ธ์ในการทางานก็คือ สร้างความราบรื่นในการทางานร่วมกนั สร้างความเขา้ ใจอนั ดีและความสามคั คี ก่อใหเ้ กิดความรักใคร่

3 แนวคิดด้านมนุษย์สัมพนั ธ์ (Human Relation Concept) - Elton Mayo ไดร้ ับการยกยอ่ งว่าเป็ น “บิดาแห่งการจดั การแบบมนุษยส์ ัมพนั ธ์” ซ่ึงเขาช้ีให้เห็นวา่ มนุษยไ์ ม่ไดเ้ ท่ากบั เคร่ืองจกั ร และควรใส่ใจแรงงานมากกวา่ ใส่ใจผลผลิต เพราะนี่คือปัจจยั สาคญั ท่ี จะทาใหร้ ะบบการผลิตมีศกั ยภาพ - หลกั ธรรม “สังคหวตั ถุ 4” ในพุทธศาสนา เป็ นหลกั ธรรมท่ีสืบทอดมานบั พนั ปี และยงั คงใชไ้ ดด้ ีใน ยคุ ปัจจุบนั ซ่ึงหลกั ธรรมน้ีสอดคลอ้ งกบั เรื่องการสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์เป็นอยา่ งมาก - บุคคลในองคก์ รที่มีส่วนสาคญั อย่างมากในการท่ีจะกระตุน้ การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์กลุ่มให้เกิดข้ึน อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตลอดจนควบคุมดูแลไมใ่ หเ้ กิดปัญหา ก็คือ “หวั หนา้ ” ในแตล่ ะกลุ่มนนั่ เอง เน้ือหาแต่ละแนวความคิด - แนวความคิดของ Robert Owen - แนวความคิดของ Andrew Ure - แนวความคิดของ Elton Mayo - แนวความคิดทฤษฎีลิง 3 ตวั ตามหลกั ขงจ้ือ - แนวความคิดตามหลกั พระพุทธศาสนา - ความหมายของมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ ร (Human Relations of Organization) - ปัจจยั สาคญั ท่ีส่งผลต่อมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ ร

4 วา่ กนั ว่า Robert Owen น้ีคือผูท้ ี่มีบทบาทสาคญั ในการปรับปรุงการทางานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั มนุษย์ สัมพนั ธ์อย่างเป็ นจริงเป็ นจงั เป็ นคนแรกๆ ของโลกเลยก็ว่าได้ จนไดร้ ับการยกย่องวา่ เป็ นปฐมบิดาแห่งการ ปรับปรุงส่ิงแวดลอ้ มทางอุตสาหกรรมเลยทีเดียว ซ่ึงเขาเองเป็ นเจา้ ของโรงงานส่ิงทอขนาดใหญ่ที่ต้งั อยู่ท่ี เมือง New Lanark ในสก็อตแลนด์ โดยเมื่อราวปี ค.ศ.1800 เขาไดเ้ ริ่มให้ความสาคญั กบั แรงงาน และนบั เป็ น นายจา้ งคนแรกๆ ท่ียอมรับฟังความคิดเห็นตลอดจนความตอ้ งการในดา้ นมนุษยธรรมของลูกจา้ ง รวมไปถึง ปรับปรุงส่ิงแวดลอ้ มท่ีดีในการทางานให้ดีข้ึน และการดูแลสวสั ดิภาพของแรงงาน เป็ นตน้ ถึงแมว้ ่าการ กระทาของ Robert Owen จะไม่ไดเ้ ป็นการมุง่ สร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์โดยตรงนกั แตเ่ ขากไ็ ดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ น ผบู้ ุกเบิกในดา้ นมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ รเป็ นคนแรกๆ ของโลกเลยก็วา่ ได้ ท้งั บางทีก็ยงั ไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็ น บิดาแห่งการบริหารงานบุคคลเลยทีเดียว ซ่ึงนี่ถือเป็นหลกั ฐานของศาสตร์ดา้ นมนุษยส์ มั พนั ธ์น้ีที่เกิดข้ึนในยุค แรกๆ ของโลก

5 เขาคนน้ีไดร้ ับการยกยอ่ งว่าเป็ น “บิดาแห่งการจดั การแบบมนุษยส์ ัมพนั ธ์” ที่ทว่ั โลกรู้จกั กนั เป็ น อยา่ งดีทีเดียว ผลงานที่โดดเด่นของเขาน้นั ก็คือการทางานกบั คณะวิจยั พนกั งานท่ีโรงงาน Hawthorne Plant ของบริษทั Western Electric ในชิคาโก รัฐอิลินอยด์ สหรัฐอเมริกา ช่วงปี ค.ศ.1927-1932 ซ่ึงเนน้ ไปที่การ วิจยั 3 เรื่องใหญ่ไดแ้ ก้ ศึกษาสภาพหอ้ งทางาน (Room Studies), การสัมภาษณ์ (Interview Studies) และ การ สังเกตการณ์ (Observation Studies) จนเกิดเป็ นกรณีศึกษาสาคญั อยา่ ง Hawthorne Effect ท่ีเป็ นตน้ แบบ การศึกษาเรื่อง Employee Motivation หรือ Theory of Motivation นน่ั เอง รวมถึงการเป็ นตน้ แนวคิดท่ีว่า มนุษยไ์ มใ่ ช่เคร่ืองจกั ร และนี่คือตวั แปรใหร้ ะบบอุตสาหกรรมเกิดประสิทธิภาพไดม้ ากนอ้ ยเพียงไรนน่ั เอง

6 ทฤษฎีลิง 3 ตวั ของขงจ้ือน้นั เกิดข้ึนก่อนศาสตร์มนุษยส์ มั พนั ธ์เป็นเวลานบั พนั ปี เลยทีเดียว แต่ทฤษฎี โบราณน้ีก็ยงั คงเป็ นอมตะมาจึงถึงยุคปัจจุบนั ถึงแมว้ ่าทฤษฎีลิง 3 ตวั จะไม่ไดถ้ ูกสร้างข้ึนมาเพ่ือให้เป็ น แนวคิดของศาสตร์มนุษย์สัมพนั ธ์โดยตรง แต่ปรัชญาจีนน้ีก็สอดคล้องกบั เรื่องน้ีเป็ นอย่างมากจนทาให้ ทฤษฎีลิง 3 ตวั น้ีมกั ถูกหยบิ ยกข้ึนมาอา้ งอิงเสมอเมื่อมีการพูดถึงแนวคิดมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในยุคปัจจุบนั ทฤษฎี ลิง 3 ตวั น้นั เป็นลิงปิ ดทวารท้งั สามอนั ไดแ้ ก่ ลิงตวั ท่ี 1 ปิ ดหู ลิงตวั ที่ 2 ปิ ดตา และลิงตวั ที่ 3 ปิ ดปาก ทฤษฎีน้ีมี การตีความเชิงลึกไปมากมายแต่ก็อยูใ่ นกรอบเดียวกนั กล่าวโดยสรุปก็คือมนุษยค์ วรควบคุมการรับหรือส่ง สารตวั เองใหเ้ หมาะสม บางคร้ังกต็ อ้ งควรงดวาจา ปิ ดตาไม่รู้ไม่เห็น ตลอดจนปิ ดหูไม่รู้ไม่ฟัง ในเร่ืองที่จะทา ใหเ้ กิดความทุกข์ หรือสร้างความยุง่ ยากใจต่อกนั การที่จะมีความสัมพนั ธ์กบั คนอื่นไดด้ ีน้นั ตอ้ งรู้จกั วา่ อะไร ควรฟัง ไม่ควรฟัง อะไรควรพูด ไม่ควรพูด อะไรควรรับรู้ ไม่ควรรับรู้ ทุกอยา่ งตอ้ งให้เหมาะสมกบั กาลละ เทศะ

7 หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาน้นั มีอยมู่ ากมาย แตห่ ลกั ธรรมคาสอนท่ีนิยมนามาใชก้ บั เร่ืองมนุษยส์ มั พนั ธ์ มากท่ีสุดน้นั กค็ ือ “สังคหวตั ถุ 4” ท่ีพูดถึงหลกั ธรรมในความสามคั คีนน่ั เอง สงั คหวตั ถุ 4 ก็คือหลกั ธรรม 4 ประการท่ีเป็นเคร่ืองยดึ เหนี่ยวใจบุคคลและประสานหมู่ชนไวใ้ นความสามคั คี หลกั ธรรมน้ี ถึงแมว้ า่ จะมีอายหุ ลายพนั ปี แลว้ แต่กเ็ ป็นหลกั ธรรมท่ียงั คงถูกนามาใชแ้ ละใชไ้ ดด้ ีในยคุ ปัจจุบนั เมื่อพดู ถึง แนวความคิดมนุษยส์ มั พนั ธ์กเ็ ช่นเดียวกนั สงั คหวตั ถุ 4 มกั ถูกนามาอา้ งอิงในเรื่องน้ีอยูเ่ สมอ เพราะหลกั ธรรม น้ีมีประโยชน์ตอ่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ รเป็นอยา่ งยงิ่ ซ่ึงหลกั ธรรมท้งั 4 ประการน้นั ไดแ้ ก่ ทาน* หมายถึง การให้ ซ่ึงการใหใ้ นท่ีน้ีควรอยบู่ นพ้ืนฐานการใหด้ ว้ ยใจบริสุทธ์ิ ยนิ ดีท่ีจะให้ ไม่ทุกขใ์ จที่จะให้ การเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่ การใหค้ วามช่วยเหลือ การเสียสละ การใหอ้ ภยั หรือแมแ้ ต่การใหส้ ิ่งของที่เป็ นประโยชนก์ บั ผอู้ ื่น ก็รวมอยใู่ น ขอบข่ายการใหท้ ้งั สิ้น ปิ ยวาจา* หมายถึง วาจาอนั เป็นท่ีรัก วาจาน้นั หมายรวมถึงการสื่อสารซ่ึงเป็นพ้นื ฐานสาคญั ของการปฏิสัมพนั ธ์กนั การพูดดว้ ยไมตรี การมอบ วาจาท่ีดีใหแ้ ก่กนั มีความหวงั ดี ไมป่ ระสงคร์ ้าย เปิ ดเผย ไม่นินทา พูดดว้ ยความจริงใจ ไมเ่ สแสร้งโกหก ยอ่ ม ทาใหเ้ ป็นท่ีรักของคนอ่ืนได้ อตั ถจริยา* หมายถึง การประพฤติประโยชน์ ในที่น้ีหมายถึงการกระทาใดๆ ก็ตามท่ีก่อใหเ้ กิดประโยชน์กบั ท้งั ตนเองและผอู้ ื่น ไมท่ าใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อน หรือเป็นทุกข์ ไมเ่ บียดเบียนเอาเปรียบกนั หรือไมก่ ระทาอนั ใดท่ีทาใหก้ ่อใหเ้ กิดความเสียหาย สมานตั ตตา* หมายถึง ความมีตนสม่าเสมอ, การทาตนเสมอตน้ เสมอปลาย

8 หลกั ธรรมขอ้ น้ีเป็ นส่ิงสาคญั ที่สุดท่ีมกั ไม่ค่อยเห็นใครพูดถึงนัก ความเสมอตน้ เสมอปลายน้นั จะบ่งบอก พฤติกรรมของคนคนน้นั ไดด้ ี แสดงถึงความมีวนิ ยั ไม่เป็ นคนโลเล ยึดเหนี่ยวส่ิงที่ตนยึดถืออยา่ งซื่อสัตย์ การ ทางานที่มีการใส่ใจอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลายน้ียอ่ มทาใหง้ านราบรื่น ไม่มีปัญหา และมีโอกาสสาเร็จยิง่ ๆ ข้ึน ไป การมีนิสัยท่ีดีแบบเสมอตน้ เสมอปลายต่อกนั ก็ยอ่ มทาให้มนุษยส์ ัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั ดีไดด้ ว้ ย ทาให้เกิด ความไวว้ างใจ น่าเชื่อถือ ไมก่ ลบั กลอก และเป็นมิตรท่ีดีต่อกนั มากกวา่ ศตั รู ยงั มีแนวคิดมนุษยส์ ัมพนั ธ์เกิดข้ึนบนโลกน้ีอีกมากมาย ตลอดจนมีการนาเอาปรัชญายุคโบราณหลายๆ อยา่ ง นาเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั เรื่องน้ีอีกดว้ ย ซ่ึงทุกอยา่ งน้นั ลว้ นแลว้ แต่มีหลกั การสร้างความสัมพนั ธ์ อนั ดีระหวา่ งกนั ให้เกิดข้ึน ลดการแตกแยก เมื่อมีการร่วมกนั ทางานอย่างมีประสิทธิภาพแลว้ องค์กรย่อม ประสบความสาเร็จอยา่ งงดงามในท่ีสุด

9 มนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ รมาจากการผสานสองความหมายสาคญั จากคาวา่ “มนุษยส์ มั พนั ธ์” กบั “องคก์ ร” ซ่ึง หมายถึงความสัมพนั ธ์ของบุคลากรที่อยรู่ ่วมกนั ในองคก์ รน้นั ๆ ซ่ึงมีไมตรีตลอดจนความผกู พนั ตอ่ กนั ต้งั แต่ เรื่องส่วนตวั ไปจนถึงเร่ืองที่เกี่ยวกบั งาน ความสัมพนั ธ์จะเป็นปัจจยั ยดึ เหนี่ยวใหท้ ุกคนทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ ง ราบรื่น เกิดความสามคั คี ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ก่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการทางานได้ และทาใหอ้ งคก์ ร บรรลุเป้าหมายท่ีวางไวไ้ ดใ้ นที่สุด ส่ิงท่ีส่งผลตอ่ การเกิดมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในองคก์ รไดน้ ้นั มีมากมาย แตม่ ีปัจจยั สาคญั ตอ่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ควรใส่ใจ ดงั น้ี + ปัจเจกบุคคล (Individual) : หน่วยบุคคลน้นั ถือเป็นหน่วยเลก็ ที่สุดสาหรับองคก์ รและเป็นหน่วยท่ีสาคญั ท่ีสุดเช่นกนั ก่อนท่ีจะสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั น้นั จะตอ้ งเขา้ ใจและเคารพความเป็นปัจเจกบุคคลของ กนั และกนั ก่อน เพราะทุกคนมีความเฉพาะตวั ของตวั เอง ในขณะเดียวกนั ทุกคนก็ตอ้ งเปิ ดใจยอมรับความ แตกตา่ งของผอู้ ื่นดว้ ยเช่นกนั หากหน่วยบุคคลเกิดปัญหาแน่นอนวา่ ยอ่ มกระทบกบั มนุษยส์ ัมพนั ธ์องคร์ วม ขององคก์ รไม่มากก็นอ้ ย ดงั น้นั องคก์ รควรใส่ใจไมใ่ ช่แคเ่ ฉพาะในระดบั กลุ่มแตค่ วรใหค้ วามสาคญั ในระดบั บุคคลดว้ ยเช่นกนั ในทางตรงกนั ขา้ มหากหน่วยบุคคลน้ีเขา้ ใจตวั เองและยอมรับผูอ้ ่ืนกเ็ ป็นเร่ืองง่ายที่จะสร้าง ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งกนั และเป็นพลงั สาคญั ที่จะทาใหอ้ งคก์ รประสบความสาเร็จเลยทีเดียว + การทางานร่วมกนั (Work Group) : การทางานร่วมกนั เป็ นกลไกสาคญั ของการขบั เคล่ือนองคก์ ร และสิ่งท่ี เป็ นเสมือนขุมพลงั ท่ีจะทาให้การขบั เคล่ือนไปไดด้ ีและราบรื่นน้นั ก็คือมนุษยส์ ัมพนั ธ์น่ีเองหากบุคลากรมี มนุษยส์ มั พนั ธ์ตอ่ กนั ท่ีดีก็ยอ่ มทาใหก้ ารทางานร่วมกนั ไม่เกิดปัญหา งานมีประสิทธิภาพ หากเกิดปัญหาเร่ือง ความสัมพนั ธ์ในการทางานกนั ข้ึนก็ยอ่ มส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการทางานในองคก์ รไดเ้ ช่นกนั

10 และหากพนกั งานในองคก์ รมีความเป็ นปัจเจกบุคคลสูง ไม่สนใจการทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน ก็อาจทาให้องคก์ ร น้นั ไร้ทิศทางที่ชัดเจน หรือทิศทางสะเปะสะปะ การขบั เคล่ือนองค์กรก็ย่อมมีปัญหาได้ การที่จะทางาน ร่วมกนั ไดด้ ีน้นั องคก์ รก็ตอ้ งมอบหมายบทบาทและหน้าที่ที่ชดั เจนให้กบั พนกั งานแต่ละคนดว้ ย และการ สร้างทศั นคติท่ีดีร่วมกนั ก็เป็ นส่ิงสาคญั ท่ีจะก่อใหเ้ กิดมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการทางาน และเป็ นพลงั ผลกั ดนั ให้ องคก์ รบรรลุเป้าหมายไดอ้ ยา่ งยอดเยยี่ มทีเดียว + สภาพแวดลอ้ มในการทางาน (Work Environment) : หากสังเกตแนวความคิดดา้ นมนุษยส์ ัมพนั ธ์ต้งั แต่ยคุ ด้งั เดิมจะพบว่าส่ิงหน่ึงที่เป็ นปัจจยั ซ่ึงผูน้ าความคิดทุกคนใส่ใจและให้ความสาคญั เหมือนๆ กนั ก็คือเรื่อง สภาพแวดลอ้ มในการทางานน่ีเอง โดยเฉพาะยคุ ปัจจุบนั น้ีท่ีแทบทุกองคก์ รหนั มาใส่ใจเร่ืองน้ีกนั อยา่ งจริงจงั ต้งั แต่เรื่องสถานที่, การตกแต่ง, ไปจนถึงการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์อนั ดีใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มดา้ นบุคคลท่ีดีใน การทางาน ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีองคก์ รสามารถสร้างข้ึนได้ และสร้างความร่วมมือใหร้ ่วมกนั สร้างสภาพแวดลอ้ มใน การทางานที่ดีไดเ้ ช่นกนั + ผูน้ า (Leader) : หน่วยบุคคลท่ีมีบทบาทสาคญั ในการท่ีจะช่วยให้เกิดมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีระหวา่ งคนใน องคก์ ร ตลอดจนเป็นผทู้ ่ีจะควบคุมใหเ้ ป็นไปในทิศทางท่ีดีไดน้ ้นั ก็คือผนู้ านน่ั เอง ผูน้ าเปรียบเสมือนแม่ทพั ท่ี จะบริหาร ควบคุม ตลอดจนกระตุน้ ใหพ้ นกั งานทุกคนสามารถทางานร่วมกนั ไปในทิศทางเดียวกนั ตลอดจน บรรลุเป้าหมายที่องค์กรต้งั ไวไ้ ด้ ในอีกมุมหน่ึงผูน้ าตอ้ งเป็ นผูส้ นบั สนุนที่ดีดว้ ย คอยสอดส่อง รวมถึงช่วย แกไ้ ขวกิ ฤตตา่ งๆ ใหก้ าลงั ใจ ปลอบประโลมเมื่อทอ้ และผดิ พลาด ซ่ึงผูน้ าน้ีแหละที่เป็ นตวั แปรสาคญั ท่ีจะทา ใหก้ ารทางานเป็นทีมในองคก์ รประสบความสาเร็จไดม้ ากนอ้ ยเพยี งไร

11 บทท่ี 2 องคป์ ระกอบและความสาคญั ของมนุษยส์ มั พนั ธ์ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีเป็นบ่อเกิดของการทางานที่มีประสิทธิภาพท่ีทาใหอ้ งคก์ รประสบความสาเร็จ การท่ีมนุษยส์ ัมพนั ธ์จะเกิดข้ึนไดน้ ้นั ตอ้ งมีองคป์ ระกอบหลกั ๆ 3 ประการดว้ ยกนั นนั่ คือ 1.เข้าใจตนเอง :ทุกคนตอ้ งรู้จกั ตวั เราเองให้มากที่สุด รู้ว่าอะไรคือจุดอ่อน จุดแข็ง ควรจะปรับแก้ จุดอ่อนอยา่ งไรให้ดีข้ึน ควรจะใช้จุดแข็งของตนให้เป็ นประโยชน์อยา่ งไร ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ของตนเองคืออะไร อะไรท่ีจะทาใหก้ ารทางานไมเ่ กิดปัญหา อะไรท่ีเราโดดเด่นท่ีจะช่วยเพิ่มความสาเร็จของงานไดด้ ี เม่ือเรารู้จกั ตนเองดีอยา่ งถ่องแทแ้ ลว้ เราก็จะสามารถประเมินสถานการณ์ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมว่าอะไรควรหรือไม่ ควรทา อะไรที่เกิดประโยชน์ อะไรท่ีทาแลว้ จะสร้างผลกระทบ เป็นตน้ 2.เข้าใจผ้อู ่ืน : เมื่อเรารู้จกั ตนเองอยา่ งดีแลว้ เราก็ควรที่จะเรียนรู้การรู้จกั ผอู้ ่ืนดว้ ยเช่นกนั การเรียนรู้น้ี ยังหมายถึงการใส่ใจ ให้ความสาคัญระหว่างกัน รวมไปถึงการเคารพซ่ึงกันและกันด้วย การรู้จัก ความสามารถ จุดอ่อน จุดแข็งของผูอ้ ื่น ทาให้เราสามารถปรับตัวในการทางานร่วมกนั ได้ดี หรือช่วย สนบั สนุนเก้ือกูลกนั ได้ ช่วยอุดช่องโหวใ่ ห้แก่กนั ตลอดจนรู้ขอ้ บกพร่องที่นาไปสู่การช่วยกนั แกป้ ัญหาไดด้ ี เป็ นตน้ 3.ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล : เม่ือรู้เขารู้เราแลว้ ก็ควรที่จะเรียนรู้ความแตกต่างระหว่าง บุคคล ไมม่ ีใครในโลกน้ีท่ีเหมือนกนั ทุกคนยอ่ มมีความคิดเป็นของตวั เอง แต่ทุกคนก็ตอ้ งเรียนรู้ท่ีจะฟังความ คิดเห็นของผูอ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างกนั การยอมรับความแตกต่างไม่ใช่การที่จะตอ้ งปรับ ความคิดใหเ้ หมือนกนั หรือไปในทิศทางเดียวกนั เสียหมด การเห็นต่างน้นั ไม่ใช่ส่ิงผดิ แต่การยอมรับฟังจะทา ใหเ้ ราสามารถเห็นขอ้ มูลไดร้ อบดา้ นข้ึน วเิ คราะห์ไดห้ ลายมิติข้ึน และอาจไดห้ นทางการแกป้ ัญหาที่ดีท่ีสุดก็

12 ได้ แลว้ ก็ตอ้ งเขา้ ใจวา่ ความแตกต่างไม่ใช่การแบ่งพวก แบ่งฝักแบ่งฝ่ าย แต่เป็ นการแสดงความคิดเห็นท่ีมี เหตุผลคนละรูปแบบ เห็นตา่ งได้ แต่ก็ตอ้ งยอมรับความเห็นต่างระหวา่ งกนั และทา้ ยท่ีสุดตอ้ งยอมรับขอ้ สรุป สุดทา้ ยร่วมกนั ใหไ้ ด้ เพ่ือที่จะดาเนินร่วมกนั ในทิศทางเดียวกนั ความสาคญั ของมนุษย์สัมพนั ธ์ มนุษยส์ มั พนั ธ์ ช่วยทาใหม้ นุษยม์ าอยรู่ ่วมกนั เป็นสังคม ไม่วา่ สังคมขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ แต่ละ คนที่มาอยรู่ ่วมกนั น้นั ตา่ งก็มี ความแตกต่างกนั ( Individual ) ความแตกต่างกนั ในเร่ือง ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เจตคติ รสนิยม ความคิดเห็น เชาวน์ปัญญา เป็ นตน้ แต่ถา้ ทุกคนสามารถร่วมใจกนั ระดมความ แตกต่างเหล่าน้ี แลว้ นามาสร้างสรรค์ ให้เกิดสิ่งท่ีดีใหม่ ๆ ข้ึนในสังคม ก็จะก่อให้เกิดเป็ นประโยชน์อยา่ งย่งิ เพราะการคิดของคนหลายคน ยอ่ มจะรอบคอบกวา่ และมีโอกาสผดิ พลาดมีนอ้ ยกวา่ การคิดคนเดียว ปัญหาจึง อยทู่ ่ีวา่ ทาอยา่ งไร บุคคลหลาย ๆ คนจึงจะสามารถ ทากิจกรรมต่างๆ ดว้ ย ความเต็มใจ ช่วยกนั คิดช่วยกนั ทา อยา่ งเตม็ ความรู้ ความสามารถของตนเอง และจะตอ้ งก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจ อนั ดีต่อกนั มีความรักใคร่ สมคั ร สมานสามคั คีต่อกนั มีความเคารพ ยอมรับนบั ถือ ซ่ึงกนั และกนั จริงใจต่อกนั มีเจตคติท่ีดีต่อกนั มีเป้าหมาย ร่วมกนั ท่ีกล่าวมาท้งั หมดคือ การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ให้เกิดข้ึนใน กลุ่มคนน้ันนั่นเอง มนุษยส์ ัมพนั ธ์จึง สาคญั มาก ต้งั แต่ หน่วยสงั คมต้งั แตเ่ ลก็ ท่ีสุดคือ ครอบครัวไปจนถึง หน่วยสังคม ท่ีใหญ่ท่ีสุด คือ สมาคมโลก ไดแ้ ก่ องคก์ ารสหประชาชาติ ลงมาจนเป็นประเทศ ถา้ หากสามารถทาใหค้ นที่มาอยรู่ วมกนั น้นั มีความเขา้ ใจ ซ่ึงกนั และกนั มีความไวว้ างใจกนั มีความปรารถนาจะร่วมมือร่วมใจกนั แบ่งหน้าที่กนั ทา กาหนดบทบาท หน้าท่ี และ ปฏิบตั ิหน้าที่ของตน ได้อย่างสมบูรณ์ หน่วยงาน หรือสังคมน้ันก็จะเป็ นระเบียบ มีความสุข ความเจริญกา้ วหนา้ พฒั นาไปสู่ความเป็ นสากลได้ ฉะน้นั ผนู้ าของกลุ่มตอ้ งมีบทบาทอยา่ งมาก ในการที่จะ ทาใหเ้ กิดสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีได้ โดยอาศยั ความรู้ทางมนุษยส์ ัมพนั ธ์ นามาสร้างขวญั กาลงั ใจ ใหก้ บั ผูร้ ่วมงาน ใหโ้ อกาสผรู้ ่วมงานร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังเหตุผลซ่ึงกนั และกนั ร่วมทากิจกรรม ให้เกียรติกนั มี ความยตุ ิธรรม ใหค้ วามสาคญั แก่ผรู้ ่วมงานอยา่ งจริงใจ มีสวสั ดิการดี จะเป็นผลใหเ้ กิดความศรัทธา และความ พึงพอใจเกิดข้ึน และในท่ีสุด คนทางาน ทุกคน ก็จะทุ่มเทกาลงั และพลงั กาย พลงั ความคิด ร่วมแรงร่วมใจ อย่างเต็มท่ี และผูน้ าที่สามารถปฏิบตั ิตน จนก่อให้ เกิดพฤติกรรม ดงั กล่าวได้ก็จะไดช้ ื่อว่า เป็ นบุคคลที่มี มนุษยส์ มั พนั ธ์ดี

13 มนุษยท์ ุกคนสามารถฝึกการมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีได้ ถา้ มีความปรารถนา มีความต้งั ใจจริง พร้อมท่ีจะ ฝึ กฝน ศึกษาหาความรู้ ประสบการณ์ และนาไปปฏิบตั ิจริง ๆ เพื่อให้เกิดทกั ษะในการสร้างความสัมพนั ธ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ \"มนุษยส์ ัมพนั ธ์\" เป็ นส่ิงท่ีเกิดจาก การเรียนรู้ไม่ไดเ้ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มนุษยส์ ัมพนั ธ์จึงเป็ นท้งั ศาสตร์ และศิลป์ ในการเขา้ กบั คน การเอาชนะใจคน และการครองใจคนทุกระดบั เช่น ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผูอ้ ยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชา เพ่ือนร่วมงานกบั เพ่ือนร่วมงาน และ รวมท้งั คนในครอบครัวดว้ ย การพูดจาดี ยมิ้ แยม้ แจ่มใส มีความเป็ นมิตรกบั ทุกคนเป็ นหลกั การแรกท่ีจะพฒั นาความสัมพนั ธ์ในข้นั ต่อไป และจาไวเ้ สมอวา่ เราเป็นมนุษยต์ อ้ งปฏิบตั ิกบั คนอื่น เช่นเดียวกบั ตวั เรา และเราอาจสรุปไดว้ า่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ มีความสาคญั ดงั น้ีคือ 1.ทาใหเ้ กิดสร้างความสามคั คีธรรมใหเ้ กิดข้ึนในกลุ่มสงั คม ในหมู่คณะ 2.ทาใหก้ ารบริหารงานต่างๆ สามารถก่อใหเ้ กิดการรวมพลงั เพอื่ ก่อให้เกิด ความร่วมแรงร่วมใจ เกิด ความรักใคร่ สมคั รสมานสามคั คีในการปฏิบตั ิงาน 3.ทาใหส้ งั คมปกติสุข คนในสงั คม อยดู่ ีมีสุข 4.ทาใหส้ ร้างความเขา้ ใจอนั ดีซ่ึงกนั และกนั เป็นการสร้างสรรคส์ ังคม 5.ทาให้งานต่างๆ ประสบความสาเร็จ เพราะเราอยู่คนเดียวไม่ได้ เราทางาน หลายอย่าง คนเดียว ไมไ่ ด้ ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือซ่ึงกนั และกนั งานจึงจะประสบความสาเร็จ 6.ทาให้คนแตกต่างจากสัตวอ์ ่ืน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในดา้ นจิตใจดงั น้นั ใน การอยู่ร่วมกนั จึง ทาให้ มนุษยร์ ู้ถึง ความรักใคร่ และไมตรีที่มีใหก้ นั รวมถึงความตอ้ งการ ท่ีจะบรรลุจุดหมายดว้ ยความภูมิใจ 7.ทาให้บุคคลยอมรับนับถือกนั ตระหนกั ในศกั ด์ิศรีของความเป็ นมนุษย์ \"ศกั ด์ิศรีของความเป็ น มนุษย\"์ (Human dignity) ตอ้ งทาให้คนที่ทางานร่วมกนั รู้ และเขา้ ใจ ถึงการให้เกียรติกนั เสมอมนุษยเ์ ฉก เช่นเดียวกนั คือ การยอมรับคุณคา่ ความเป็นมนุษยน์ นั่ เอง 8.ทาให้งานทุกอย่างบรรลุเป้าหมายตามที่องค์กรตอ้ งการ เพราะทุกคน เคารพในการแสดงความ คิดเห็น และ พฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคล อนั จะนาไปสู่ความร่วมมือ และ การประสานงานท่ีดี นน่ั เอง 9.ทาให้คนคลอ้ ยตามได้ หากทาใหจ้ ิตใจเขาคลอ้ ยตามไดบ้ ุคคลจะเกิดความ ช่ืนชอบ และจะพฒั นา ความช่ืนชอบ จนเกิด ความศรัทธา และเมื่อบุคคล เกิดความศรัทธาบุคคล ก็ยนิ ดีที่จะปฏิบตั ิตามซ่ึงการทาให้ คนอ่ืน คลอ้ ยตามตอ้ งอยบู่ น เงื่อนไขของความชอบธรรม ก็จะสามารถสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ถาวรไดแ้ ต่หาก บุคคลกระทาทุกอย่างเพียง เพื่อประโยชน์แห่งตน มนุษย์สัมพนั ธ์น้ันๆ ก็เป็ นแค่ช่ัวคราว เม่ือความจริง

14 กระจ่างอาจทาใหเ้ กิดความรู้สึกที่ไมด่ ีข้ึน ในกรณีเร่ือง การสร้าง มนุษยส์ มั พนั ธ์ มีจุดมุง่ หมาย เพื่อให้ทุกคนมี ไมตรีต่อกนั ทุกคน จึงควรคิด และกระทาในส่ิงดีดี ใหแ้ ก่กนั เรากจ็ ะไดส้ ิ่งดีๆ ตอบ ความสาคญั ของมนุษย์สัมพนั ธ์ก่อให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดี ยอมรับซ่ึงกนั และกนั มีความสนิทสนม คุน้ เคยรักใคร่ มีความนบั ถือกนั และความเต็มใจ ที่จะให้ความร่วมมือซ่ึงกนั และกนั เพื่อนาไปสู่การอยู่ ร่วมกนั อยา่ งมีความสุข และสามารถร่วมมือกนั ดาเนินงาน ของส่วนรวม ใหส้ าเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีแลว้ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ยงั มีเป้าหมายท่ีสาคญั อยู่ 3 ประการตามที่ เคียธ เดวิส (Keith Davis) กล่าววา่ การมี มนุษยส์ ัมพนั ธ์ เพ่ือให้คนเกิดความร่วมมือร่วมใจกนั เพ่ือให้คนได้รับความพอใจในงาน ท่ีตนทาอยู่ และ เพ่ือให้คนทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือเป้าหมายเหล่าน้ีบรรจุผลสาเร็จเม่ือใด การกระทาของกลุ่ม ก็จะ ประสบความสาเร็จอย่างสมบูรณ์ นน่ั ก็คือ คนจะทางานร่วมกนั โดยมีวตั ถุประสงค์ และแรงจูงใจร่วมกนั ดงั น้นั จึงอาจกล่าวไดว้ า่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์เป็ น พฒั นาการของการเช่ือมโยงวตั ถุประสงค์ และแรงจูงใจของคน ในกลุ่มเขา้ ดว้ ยกนั สาหรับ เมย์ สมิธ (Dr.May Smith) อธิบายวา่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ มีความสาคญั คือ เพื่อให้การคบหา สมาคมเป็ นไปด้วยความราบร่ืน เพ่ือให้เกิดความพึงพอใจยินดีให้ความร่วมมือในการทางาน เพ่ือให้เกิด ความสาเร็จในกิจการท่ีมีวตั ถุประสงค์ร่วมกนั เพื่อให้มีความเขา้ ใจอนั ดีต่อมนุษยด์ ้วยกนั และเพื่อให้เกิด ความเชื่อถือรักใคร่ซ่ึงกนั และกนั ความสาคญั ของมนุษย์สัมพนั ธ์ก่อให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดี ยอมรับซ่ึงกนั และกนั มีความสนิทสนม คุน้ เคยรักใคร่ มีความนบั ถือกนั และความเต็มใจ ท่ีจะให้ความร่วมมือซ่ึงกนั และกนั เพ่ือนาไปสู่การอยู่ ร่วมกนั อย่างมีความสุข และสามารถร่วมมือกนั ดาเนินงาน ของส่วนรวม ให้สาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีแลว้ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ยงั มีเป้าหมายที่สาคญั อยู่ 3 ประการตามที่ เคียธ เดวิส (Keith Davis) กล่าววา่ การมีมนุษย์ สัมพนั ธ์ เพื่อให้คนเกิดความร่วมมือร่วมใจกนั เพื่อให้คนไดร้ ับความพอใจในงาน ที่ตนทาอยู่ และ เพ่ือให้ คนทางาน อยา่ งมีประสิทธิภาพ เม่ือเป้าหมายเหล่าน้ีบรรจุผลสาเร็จเมื่อใด การกระทาของกลุ่ม ก็จะประสบ ความสาเร็จอยา่ งสมบูรณ์ นน่ั ก็คือ คนจะทางานร่วมกนั โดยมีวตั ถุประสงค์ และแรงจูงใจร่วมกนั ดงั น้นั จึง อาจกล่าวไดว้ า่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์เป็น พฒั นาการของการเชื่อมโยงวตั ถุประสงค์ และแรงจูงใจของคนในกลุ่มเขา้ ดว้ ยกนั

15 สาหรับ เมย์ สมิธ (Dr.May Smith) อธิบายว่า มนุษยส์ ัมพนั ธ์ มีความสาคญั คือ เพ่ือให้การคบหา สมาคมเป็ นไปดว้ ยความราบร่ืน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจยินดีให้ความร่วมมือในการทางาน เพื่อให้เกิด ความสาเร็จในกิจการท่ีมีวตั ถุประสงค์ร่วมกนั เพ่ือให้มีความเขา้ ใจอนั ดีต่อมนุษยด์ ว้ ยกนั และเพื่อให้เกิด ความเชื่อถือรักใคร่ซ่ึงกนั และกนั ความสาคญั ของมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ในเหตุผลอ่ืนๆ อาจสรุปไดด้ งั น้ี คือ 1. ความปลอดภยั มนุษยต์ อ้ งการความปลอดภยั จึงตอ้ งรวมกลุ่มกนั สร้างสัมพนั ธภาพ เช่น บุคคล พยายามรู้จกั กบั เพอ่ื นบา้ น เพื่อนร่วมงาน ผมู้ ีอานาจ หรือมีอิทธิพลตา่ ง ๆ เพ่อื ความปลอดภยั ของตนเอง 2. เศรษฐกิจ มนุษยส์ ัมพนั ธ์เพิ่มผลผลิตได้ เพราะมนุษยม์ ีจิตใจปกติ และเป็ นสุข ยอ่ มสร้างงานอยา่ ง มีประสิทธิผล นน่ั คือการมีมนุษยส์ มั พนั ธ์จะช่วยเหลือในดา้ นเศรษฐกิจได้ 3. ความวา้ เหว่ เพราะวา่ มนุษยเ์ ป็ นสัตวส์ ังคม จะอยู่คนเดียวในโลกไม่ได้ จะรู้สึกเหงา จึงตอ้ งสร้าง และใชม้ นุษยส์ มั พนั ธ์โดยการคบเพื่อน เพื่อใหค้ ลายเหงา 4. สังคม มนุษยส์ ัมพนั ธ์ช่วยให้มนุษยร์ ักกนั ชอบกนั ยอมรับ และคบหาสมาคมกนั อนั จะนามาซ่ึง ความสงบสุขในสงั คม 5. การปฏิบตั ิงาน มนุษยไ์ ม่อาจปฏิบตั ิงานโดยลาพงั ได้ ตอ้ งอาศยั หรือเกี่ยวขอ้ ง และสัมพนั ธ์กบั ผอู้ ่ืนเสมอ ดงั น้นั มนุษยจ์ ึงตอ้ งมีเพ่ือนร่วมงาน 6. การเมือง มนุษย์สัมพนั ธ์ช่วยประสาน หรือแก้ปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ทางการเมืองได้ในลกั ษณะท่ี เรียกวา่ \"กาวใจ\" 7. ความสาเร็จ มนุษยท์ ้งั หลายต่างก็หวงั จะทางานให้สาเร็จตามเป้าหมายขององค์การ โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ ผบู้ ริหารองค์การจะตอ้ งคานึงถึงมากกวา่ ใคร ๆ โดยจดั กิจกรรมต่าง ๆ ทาให้สมาชิกในองค์การรู้จกั กนั และสามารถประสานงานใหส้ าเร็จลุล่วงลงไดด้ ว้ ยดี 8. ความรัก มนุษยต์ อ้ งการแสดงออกซ่ึงความรัก คือ รักบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง และตอ้ งการให้เขารักตอบ ดว้ ย จะแสดงออกในรูปของการรักเพื่อนเพศเดียวกนั และต่างเพศ ท้งั ความรักอนั บริสุทธ์ิ และความรักดว้ ย เพศสมั พนั ธ์

16 องค์ประกอบของมนุษย์สัมพันธ์ การสร้าง มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ให้เกิดข้ึน ในกลุ่มคนไม่ว่าจะเป็ นกลุ่มใด จะตอ้ งคานึงถึง องคป์ ระกอบ ของ มนุษยส์ มั พนั ธ์ ซ่ึงเป็น ปัจจยั สนบั สนุน หรือ เป็ นอุปสรรค ของ ความสัมพนั ธ์ของกลุ่มแลว้ ดาเนิน การ สร้างเสริมพฒั นา และปรับปรุงปัจจยั ต่างๆ เหล่าน้นั ใหเ้ ป็ น ปัจจยั ท่ีเอ้ือต่อ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ท่ีดีใหไ้ ด้ สาหรับ องคป์ ระกอบของมนุษยส์ ัมพนั ธ์น้ี พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ มีความเห็นวา่ มี 3 ประการดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ การรู้จกั ตน การเขา้ ใจผอู้ ื่น และ การมีสภาพแวดลอ้ มที่ดี โดยไดเ้ สนอ เป็ นแผนภูมิแสดงองค์ประกอบ ของ มนุษย์สัมพนั ธ์ ซ่ึงเมื่อนามา ประยุกต์ใชัเพื่อสร้างความสัมพนั ธ์ ระหว่างเพื่อนร่วมงาน ในองค์การ อาจกล่าวได้วา่ องค์ประกอบของ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ในองคก์ ารประกอบ ดว้ ยการรู้จกั ตน การเขา้ ใจเพื่อนร่วมงาน และการสร้างสภาพแวดลอ้ ม ในที่ทางานใหด้ ี ซ่ึงจะเขียนเป็นแผนภูมิแสดง องคป์ ระกอบของ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ในหน่วยงานได้ ดงั น้ี รู้จกั ตน เขา้ ใจผอู้ ื่น สร้างสภาพแวดลอ้ มที่ดี วเิ คราะห์ตน วเิ คราะห์ความแตกตา่ งของผอู้ ่ืน วเิ คราะห์สิ่งแวดลอ้ ม ปรับปรุงตน ยอมรับความแตกตา่ ง ปรับปรุงสิ่งแวดลอ้ ม พฒั นาคนใหเ้ ขา้ กบั ผอู้ ่ืน และส่ิงแวดลอ้ ม

17 องค์ประกอบทจ่ี ะช่วยส่งเสริมให้บุคคลเป็ นผู้มมี นุษย์สัมพนั ธ์ทดี่ ี การที่จะเป็ นผูม้ ีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีน้นั จาเป็ นตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจ ถึงองค์ประกอบที่จะช่วยส่งเสริมให้ เป็นผมู้ ีมนุษยส์ มั พนั ธ์ท่ีดีดงั ต่อไปน้ี 1. พฤติกรรมของคน (Human Behavior) ในการอยรู่ ่วมกนั ไม่วา่ จะเป็ นเพื่อความสุขในการดาเนินชีวิตหรือ เพือ่ การปฏิบตั ิงานใหด้ ีข้ึนในหน่วยงานเราทุกคนตอ้ งเขา้ ใจพฤติกรรมของคน 2. การจูงใจ (Motivation) เป็ นแรงกระตุน้ เป็ นพลงั ให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่ออานวยประโยชน์และ สร้างความพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงาน 3. กลุ่มพวกในการปฏิบตั ิงาน (Team work) ตามรูปแบบของปฏิกิริยาสัมพนั ธ์ระหวา่ งความเป็ นมนุษยท์ ่ีดารง ตนดว้ ยการเคารพนบั ถือซ่ึงกนั และกนั หรือเคารพนบั ถือในความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 4. การมีปฏิสมั พนั ธ์ (Interaction) ระหวา่ งบุคคลตอ่ บุคคล บุคคลต่อหน่วยงานหรือองคก์ าร มนุษยอ์ ยูร่ วมกนั เป็นกลุ่ม ๆ แบง่ แยกกลุ่มไปตามลกั ษณะของความตอ้ งการ มีการต่อสู้แยง่ ชิงผลประโยชนซ์ ่ึงกนั และกนั 5. การสร้างความเช่ือมนั่ (Build confidence) ใหก้ บั เพื่อนร่วมงาน การเอาใจใส่เพ่ือนร่วมงาน การปรับตวั เอง ใหเ้ ขา้ ไดก้ บั เพือ่ นร่วมงาน 6.การปฏิบตั ิตวั เป็นผชู้ ่วยท่ีดี (good helper) เป็นคนที่ช่วยเหลือคนอื่น เวลาเห็นใครยกของ ถือของหนกั ก็เขา้ ไปช่วยถือ ฯลฯ 7.การสร้างเสน่ห์ในบุคลิกภาพ (creating charm in personality) การเป็ นคนมีเสน่ห์จะช่วยให้บุคคลท่ีอยูร่ อบ ขา้ งอยากเขา้ มาชิดใกล้ และปรารถนาจะร่วมงานดว้ ย การสร้างเสน่ห์สามารถทาไดโ้ ดย การใช้น้าเสียงหรือ คาพูด การแสดงออกทางร่างกาย การใชภ้ าษากายท่ีเหมาะสม การพฒั นาบุคลิกภาพใหส้ ง่างาม การแต่งกาย ใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ

18 8.การสร้างความสัมพนั ธ์กบั ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา การปฏิบตั ิงานในองคก์ รผูบ้ งั คบั บญั ชาและผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา จาเป็นตอ้ งการการส่ือสารเพ่ือร่วมกนั ดาเนินงานใหบ้ รรลุภารกิจขององคก์ ร 9.การควบคุมพฤติกรรมและเจตนารมณ์ผอู้ ่ืน เมื่อตอ้ งการสร้างสัมพนั ธภาพที่ดี กบั เพ่ือนร่วมงานมีสิ่งที่ควรตอ้ งปฏิบตั ิคือ การสร้างความประทบั ใจใหก้ บั เพ่ือนร่วมงาน การสร้างความเป็ น มิตร มองหาส่วนดีและยอมรับความสามารถ ของเพื่อน

19 บทที่ 3 หลกั การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์และคุณลกั ษณะของบุคคลที่มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความสาคญั ของหลกั การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ 1. บุคคลจะสามารถมีมนุษย์สัมพนั ธ์ที่ดีต่อกนั ไดน้ ้นั จะตอ้ งรู้จกั ตนเอง ผูอ้ ื่น สังคม สภาพแวดล้อม จึงจะ สามารถปรับตวั ใหด้ ารงชีวติ อยใู่ นครอบครัว สงั คม และประเทศชาติไดอ้ ยา่ งมีความสุข 2. แนวคิดและหลกั มนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการทางานเป็ นส่ิงสาคญั สาหรับบุคคลที่จะตอ้ งยดึ ถือเพื่อเป็ นแนวทาง ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ที่ดี และมีความเหมาะสมกบั บุคคลอื่นๆ ตอ่ ไป 3. การทางานร่วมกนั ในองคก์ รใหส้ าเร็จบรรลุวตั ถุประสงคด์ ว้ ยดีน้นั ทุกคนตอ้ งมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ดีต่อกนั จึง จะช่วยใหก้ ารทางานสาเร็จได้ 4. การทางานให้เกิดประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายเพ่ือผลผลิตสูงสุดน้นั บุคลากรในหน่วยงานตอ้ งมี ความสามคั คีเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ในการร่วมมือกนั ทางาน การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในหน่วยงาน เป็ นส่ิงท่ี สาคญั และจาเป็น และจะช่วยใหบ้ รรยากาศการทางานเตม็ ไปดว้ ยความสุข

20 หลกั การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ท่ีดีมี 10 ขอ้ ดงั น้ี 1. บุคคลยอ่ มมีความแตกต่างกนั บุคคลโดยทวั่ ไปน้นั ถา้ พจิ ารณาอยา่ งผวิ เผนิ แลว้ จะเห็นวา่ เหมือนๆกนั แต่แทจ้ ริงแลว้ บุคคลแต่ละคน มีลกั ษณะพิเศษเฉพาะตวั (Uniqueness) แต่ละคนยอ่ มแตกต่างไปจากบุคคลอ่ืน ไม่ว่าจะเป็ นทางดา้ น สิ่งแวดลอ้ ม พนั ธุกรรม สติปัญญา อารมณ์ เจตคติ ค่านิยม อุดมคติ วฒั นธรรม ความคิด ความเชื่อ นิสัยใจคอ วนิ ยั จรรยา การศึกษาท่ีมีมาตลอดชีวติ หรือกระบวนการเรียนรู้ทางสงั คม 2. การพจิ ารณาศึกษาบุคคลตอ้ งดูท้งั หมดในฐานะที่บุคคลน้นั เป็นบุคคลคนหน่ึง ในการสร้างความสมั พนั ธ์กบั บุคคลหน่ึงบุคคลใดน้นั เราตอ้ งพึงระลึกเสมอวา่ เราไดเ้ ขา้ มามีความสัมพนั ธ์ เก่ียวขอ้ งกบั บุคคลน้นั ท้งั คน เรามิไดเ้ ลือกติดตอ่ สัมพนั ธ์กบั เรื่องหน่ึงเรื่องใด 3. พฤติกรรมของบุคคลแต่ละคนตอ้ งมีสาเหตุ บุคคลอาจไดร้ ับการจูงใจเหตุน้ีเราจึงจาเป็ นตอ้ งเรียนรู้ถึงสาเหตุของพฤติกรรม อนั ไดแ้ ก่เรื่องความ ต้องการท้ังทางร่างกายและจิตใจของบุคคล การที่บุคคลจะได้รับการจูงใจให้ทางานเขาจะต้องสร้าง พฤติกรรมข้ึนเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของเขาดว้ ยความคิดของเขาเอง มิใช่สร้างพฤติกรรมตามความคิด ของผอู้ ่ืน 4. บุคคลทุกคนมีศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษยเ์ สมอกนั เป็ นเรื่องท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ทางปรัชญามากกว่าเรื่องทางวิทยาศาสตร์ มนุษยน์ บั เป็ นสัตวป์ ระเสริฐที่มี ความคิด มีสมอง มีความรู้ผิดชอบชวั่ ดี มีวฒั นธรรม มีสามญั สานึก เป็ นส่ิงที่อยูเ่ หนือสรรพสัตวท์ ้งั หลาย ดงั น้นั การติดต่อสัมพนั ธ์กบั มนุษยด์ ว้ ยกนั จึงตอ้ งปฏิบตั ิต่อกนั ดว้ ยความเคารพ และตระหนกั ในศกั ด์ิศรีของ ความเป็นมนุษยข์ องเขา ไม่วา่ เขาจะเป็นใคร มีสถานภาพหรือฐานะอยา่ งไรเขากเ็ ป็นมนุษยเ์ หมือนกบั เรา 5. มนุษยท์ ุกคนมีแรงจูงใจ ตอ้ งจูงใจผูอ้ ื่นให้มีเจตคติตรงกนั มีจุดหมายร่วมกนั เพื่อจุดประสงค์ในการทางานร่วมกนั อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการจูงใจตนเองใหม้ ีระเบียบและความรับผดิ ชอบเรื่องต่างๆ

21 6. บุคคลตอ้ งการท่ีจะติดต่อส่ือสาร ไดแ้ ก่ การศึกษาวิธีการติดต่อสื่อสารเพื่อทาให้เกิดความสัมพนั ธ์อนั ดีในกลุ่ม ให้กลุ่มไดม้ ีความเห็น สอดคลอ้ งกนั และมีความเขา้ ในตรงกนั การส่ือสารเป็นสิ่งสาคญั ท่ีสุดในองคก์ าร 7. บุคคลมีความรับผดิ ชอบ พ้ืนฐานความรับผิดชอบในงานองค์การก็คือ การทาให้งานสาเร็จโดยความพยายามร่วมกันของ ผรู้ ่วมงาน 8. บุคคลตอ้ งการเอาใจเขามาใส่ใจเรา คือ ความสามารถที่จะทาตวั ของเขาให้รู้สึกเหมือนอยใู่ นสภาพของผูอ้ ื่นและรู้สึกเห็นใจต่อทศั นะการ จูงใจของคน การขาดการเอาใจเขามาใส่ใจเราเป็นสาเหตุแรกของการขดั แยง้ ในองคก์ าร การเอาใจเขามาใส่ใจ เราเป็ นคุณสมบตั ิสาคญั ของผูไ้ กล่เกลี่ยความแตกร้าวของการขดั แยง้ กนั ทางแรงงาน การรู้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเรา ตอ้ งศึกษาความแตกตา่ งของแตล่ ะบุคคลและตระหนกั ถึงปัญหาของแตล่ ะคนซ่ึงไม่เหมือนกนั 9. บุคคลตอ้ งการผลประโยชน์ซ่ึงกนั และกนั หมายถึง ผลประโยชน์ของคนที่ทางานในองค์การ กบั ผลประโยชน์ขององคก์ ารน้นั ๆ ซ่ึงการท่ีคนจะ เขา้ ไปทางานในองคก์ ารใดหรือการที่องคก์ ารใดจะรับคนเขา้ ไปทางานน้นั ก็ข้ึนอยูก่ บั ความรู้สึกหรือความ เช่ือวา่ ตนจะไดป้ ระโยชน์จากอีกฝ่ ายหน่ึง 10. บุคคลตอ้ งการพฒั นาศกั ยภาพของตนใหถ้ ึงขีดสุด ไดแ้ ก่ การศึกษาพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพให้ดีที่สุดท้งั ทางร่างกาย จิตใจ และบุคลิกภาพ เพื่อให้ตนเป็ น สมาชิกท่ีมีประสิทธิภาพของสังคมและเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่ืน และสังคมโดยส่วนร่วม รวมท้งั การดารงชีวิต อยา่ งสนั ติสุขของตนเอง

22 5 กญุ แจสาคญั ในการทากจิ กรรมเพ่ือสร้างสัมพนั ธ์ทด่ี ี 1.การปฏิบตั ิภารกิจใหส้ าเร็จลุล่วง (Task Achievement) : การทากิจกรรมสร้างทีมสัมพนั ธ์น้ีจะตอ้ งมีการ ฝึ กฝนการปฏิบตั ิภารกิจให้สาเร็จตลอดท้งั กระบวนการ ฝึ กความรับผิดชอบ การจดั การ ตลอดจนการ แกป้ ัญหาร่วมกนั หวั ใจสาคญั ของขอ้ น้ีไม่ใช่การทาภารกิจให้ยอดเย่ียมที่สุด แต่เป็ นการฝึ กให้ทุกคนปฏิบตั ิ ภารกิจดว้ ยความรับผดิ ชอบตลอดระยะเวลาต้งั แต่ตน้ จนจบ ให้บรรลุภารกิจใหไ้ ดแ้ มว้ า่ มนั จะดีหรือแยก่ ็ตาม ท้งั ยงั ไมค่ วรลม้ เลิกกลางคนั เพราะนน่ั ทาให้ขาดความรับผิดชอบ ควรฝึ กใหเ้ ห็นการทางานเป็ นกระบวนการ จนครบกระบวนการใหม้ ากที่สุด 2.การตดั สินใจท่ีถูกตอ้ งและมีคุณภาพ (Accuracy and Quality of Decisions) : ไม่วา่ จะทุกการกระทาใดยอ่ ม มีการตดั สินใจเสมอ แต่การตดั สินใจที่ดีกย็ อ่ มมีกระบวนการที่ยอดเยย่ี ม ต้งั แตก่ ารเก็บขอ้ มูล, การรับฟังความ คิดเห็น, การวิเคราะห์, การหาทางเลือก, ตลอดจนการตดั สินใจท่ีถูกตอ้ ง ซ่ึงการตดั สินใจที่รอบคอบ เหมาะสมน้นั ตอ้ งพิจารณาให้ถ่ีถว้ น มีการวิเคราะห์ท่ีดี ซ่ึงจะนาไปสู่การตดั สินใจที่มีคุณภาพนนั่ เอง การ ตดั สินใจท่ีมีคุณภาพน้ีอาจจะไม่ใช่การตดั สินใจท่ีแกป้ ัญหาไดห้ มดสิ้น อาจไม่ใช่การตดั สินใจที่ไวที่สุด หรือ อาจไม่ใช่การตดั สินใจท่ีดีที่สุดเสมอไป แต่เป็ นการตดั สินใจท่ีเหมาะสมท่ีสุดและสร้างผลกระทบให้น้อย ที่สุด 3.การเผชิญกบั ความเส่ียง (Risk Taking) : ส่ิงหน่ึงท่ีมกั สร้างและฝึ กฝนความกลา้ ในการตดั สินใจหรือทา อะไรน้นั ก็คือความเส่ียงนนั่ เอง การฝึ กให้พนกั งานกลา้ เผชิญหนา้ กบั ปัญหาตลอดจนความเสี่ยงต่างๆ น้นั จะ ช่วยฝึ กฝนการตดั สินใจที่ดีข้ึนเรื่อยๆ หากเราไม่ฝึ กการกลา้ เผชิญกบั ความเสี่ยงอาจทาใหค้ นในองค์กรกลวั การเผชิญหนา้ กบั ปัญหา หลีกเลี่ยง หมกั หมมปัญหา ซ่ึงอาจทาให้เกิดผลเสียไดใ้ นท่ีสุด แต่หากเราคุน้ ชิ้นและ รู้จกั การจดั การกบั ความเสี่ยงท่ีดีแลว้ มนั อาจจะกลายเป็ นโอกาสท่ีดีก็ไดเ้ ช่นกนั เพราะความเสี่ยงน้นั คือการ กา้ วหาโอกาสใหมๆ่ ดว้ ยนนั่ เอง 4.สร้างแรงจูงใจ (Motivation) : การขบั เคลื่อนองคก์ รหรืออะไรกต็ ามที่ตอ้ งใชพ้ ลงั ของคนหลายคน ส่ิงหน่ึงที่ เสมือนน้ามนั หล่อลื่นท่ีจะช่วยขบั เคล่ือนไปไดด้ ีข้ึนก็คือแรงจูงใจนนั่ เอง การสร้างแรงจูงใจท่ีดีจะทาให้คน เกิดกาลังใจในการทาภารกิจต่างๆ ให้ลุล่วง และการสร้างทีมสัมพนั ธ์ที่ดีน้ันก็ควรมีการแทรกการสร้าง แรงจูงใจท่ีดีลงไปดว้ ย

23 5.การเรียนรู้ไดไ้ ว (Speed of Learning) : การสร้างกิจกรรมทีมสัมพนั ธ์น้นั มกั เป็ นกิจกรรมที่กระตุน้ ใหเ้ กิด การทาภารกิจตา่ งๆ ใหส้ าเร็จลุล่วง ผเู้ ขา้ ร่วมทุกคนมกั รู้สถานะของตวั เองในการเขา้ ร่วมท่ีตอ้ งปฏิบตั ิภารกิจท่ี มอบหมายแต่ละคร้ังให้สาเร็จ หน่ึงกุญแจสาคญั ของการสร้างทีมสัมพนั ธ์น้นั ก็คือการสร้างการเรียนรู้ไดไ้ ว ฝึกการประมวลผลแบบรวดเร็วไปในตวั การเรียนรู้ไดไ้ วน้ีจะช่วยส่งผลตอ่ การทางานจริงท่ีเพิ่มประสิทธิภาพ ไดด้ ียงิ่ ข้ึนไดด้ ว้ ย

24 คุณลกั ษณะของบุคคลท่ีมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ท่ีดี 1. มีทา่ ทางทีดี (Handssome) 2. มีบุคลิกภาพดี (Personality) 3. มีความเป็นเพื่อน (Friendiness) 4. มีความออ่ นนอ้ ม (Modesty) 5. มีน้าใจช่วยเหลือ (Helpful) 6. ใหค้ วามร่วมมือ (Cooperation) 7. มีความกรุณา (Kindness) 8. สร้างประโยชน์ (Contribution) 9. การสร้างสรรค์ (Constructive) 10. มีอารมณ์ดี (Good Emotion) 11. มีความกระตือรือร้น (Enthusiasm) 12. มีความรับผดิ ชอบ (Responsibility) 13. มีความอดทน (Patient) 14. มีความขยนั (Diligent) 15. มีความพยายาม (Attempt) 16. มีปฏิภาณ (Intelligence) ฯลฯ

25 ความสาคญั ของคนมีคุณลกั ษณะเฉพาะของผมู้ ีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการทางาน 1. หนา้ ตายมิ้ แยม้ แจม่ ใสในการติดต่อสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ื่น 2. เตม็ ใจทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน 3. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 4. มีความเสียสละ 5. เรียนรู้และเขา้ ใจผอู้ ่ืน 6. เตม็ ใจเขา้ ร่วมกิจกรรมกบั คนอื่น 7. เสนอตวั ช่วยเหลือการทางาน 8. ใหค้ าแนะนาช่วยเหลือ 9. คบหาคนอื่น ดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ 10. แสดงน้าใจกบั เพ่อื นร่วมงาน ฯลฯ

26 การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 1. เอาใจใส่ในทุกขส์ ุข 2. มีความจริงใจ และมีความยตุ ิธรรม 3. ไม่ใชอ้ ารมณ์ในการแกป้ ัญหา 4. โอบออ้ มอารี 5. เป็นกนั เอง 6. สร้างกิจกรรมในกลุ่มสมั พนั ธ์ ต่างๆ 7. ยกยอ่ งใหเ้ กียรติ ฯลฯ

27 การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 1. ใหค้ วามเคารพยกยอ่ งสรรเสริญผบู้ งั คบั บญั ชาในโอกาสตา่ งๆ 2. ปฏิบตั ิงานตามคาส่ัง หรือท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ งเตม็ ความรู้ความสามารถใหบ้ งั เกิดผลดีที่สุด 3. เขา้ พบผบู้ งั คบั บญั ชา เพอ่ื ปรึกษาหารือ ขอคาแนะนาในการทางานใหเ้ หมาะสมกบั เวลา และโอกาส 4. อยา่ โกรธหากผบู้ งั คบั มีความคิดเห็นไม่ตรงกบั ความคิดเห็นของตน 5. เรียนรู้นิสยั การทางานของผบู้ งั คบั บญั ชาเพอื่ ศึกษาส่วนดี เพือ่ นามาเป็นแนวทางปฏิบตั ิ 6. มีจิตใจร่าเริงแจ่มใส สร้างความเป็นมิตรกบั บุคคลทุกคน อยา่ ก่อเรื่องกบั คนอ่ืน จนตอ้ งใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา ราคาญ 7. ทาความเจริญกา้ วหนา้ มีความคิดริเริ่ม มีเหตุผล มีการตดั สินใจในการทางานดว้ ยความเช่ือมน่ั 8. สนใจที่จะศึกษาหาความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ใหม่ ๆ เพื่อปฏิบตั ิงานที่ไดร้ ับมอบหมายได้ ดีกวา่ ปัจจุบนั 9. สร้างความไวว้ างใจใหแ้ ก่ผบู้ งั คบั บญั ชา อยา่ บน่ ถึงความยากลาบาการปฏิบตั ิงาน 10. ประเมินผลตนเองเป็นระยะๆ ท้งั ในเรื่องความกา้ วหนา้ ของงานในความยากลาบากในการปฏิบตั ิงาน

28 มิติของการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ในองคก์ ร ในองค์กรนอกจากจะมีคนหลากหลายแลว้ ระบบการบริหารงานก็ยงั ทาให้มีผูค้ นหลายระดบั ดว้ ยเช่นกนั ดงั น้นั มิติการสร้างความสัมพนั ธ์ก็ยอ่ มแตกต่างกนั ไปดว้ ย เราลองมาดูกนั ดีกวา่ วา่ แต่ละมิติควรจะเป็นอยา่ งไร มิติมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั ผบู้ งั คบั บญั ชา การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั ผบู้ งั คบั บญั ชาน้นั อาจต่างจากการสร้างความสัมพนั ธ์กบั เพ่ือนร่วมงานในระดบั เดียวกัน เราควรให้ความสาคญั ในการใช้ภาษาให้ไพเราะ ถูกกาละเทศ การให้ความเป็ นกันเองระหว่าง เจา้ นายและลูกนอ้ งน้นั มีผลดีต่อการสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างกนั แต่ก็ตอ้ งดูให้ดีดว้ ยว่าควรมีความเป็ น กนั เองระดบั ไหน เพราะเจา้ นายแต่ละคนก็ซีเรียสเรื่องน้ีไม่เหมือนกนั หากเจา้ นายท่ีไม่ตอ้ งการสร้างความ เป็นกนั เองมากนกั เราก็อาจตอ้ งใหค้ วามเคารพมากเป็นพิเศษ การรู้จกั กาลเทศะท่ีดียอ่ มสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ ดีกบั ผบู้ งั คบั บญั ชาไดด้ ีกวา่ การไมร่ ู้กาลละเทศะ มิติมนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั เพอ่ื นร่วมงาน สาหรับผูท้ ี่ทางานในระดบั เดียวกนั การสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ระหว่างกนั น้นั ตอ้ งอยู่บนพ้ืนฐานมอบความ จริงใจให้แก่กนั และสร้างความไวเ้ น้ือเชื่อใจกนั ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ไม่เอาเปรียบซ่ึงกนั และกัน เป็ นที่ ปรึกษาใหก้ บั และกนั และสร้างความสนิทสนมใหม้ ากท่ีสุด มิติมนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา การบริหารผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาอาจเป็ นเทคนิคของแต่ละคนที่ไม่เหมือนกนั แต่การสร้างความสัมพนั ธ์กบั คนท่ี อยู่ใตก้ ารบงั คบั บญั ชาน้นั ผูท้ ่ีบงั คบั บญั ชาควรจะตอ้ งสร้างความไวเ้ น้ือเช่ือใจกนั ให้ได้ แลว้ ก็ตอ้ งรู้จกั การ บริหารคนให้เป็ น ผบู้ งั คบั บญั ชาที่ดีจะตอ้ งรู้จกั การส่ังการ ควบคุมการทางาน ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาส่วนใหญ่มกั ตอ้ งการผบู้ งั คบั บญั ชาที่เก่ง เขา้ ใจงาน เขา้ ใจลูกนอ้ ง ส่ังงานเป็ น ตรวจงานได้ และให้ความเป็ นธรรมในทุกๆ เร่ือง ส่ือสารกนั ใหเ้ ขา้ ใจ

29 วธิ ีปฏิบตั ิต่อผูอ้ ่ืน เพื่อเสริมสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ การปฏิบตั ิต่อผูอ้ ่ืนเพ่ือเสริมสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์น้นั ควรปฏิบตั ิดว้ ยความเขา้ ใจ ในลกั ษณะ “เอาใจเขามาใส่ ใจเรา” และตอ้ งศึกษาเพื่อทาความเขา้ ใจถึง ธรรมชาติของความแตกตา่ ง ระหวา่ งบุคคล โรเบอร์ต เฮช. ลอสัน (Robert H> Lorson) ไดแ้ บ่งมนุษยอ์ อกเป็ น 5 ประเภท และไดเ้ สนอแนะ วิธีปฏิบตั ิกบั บุคคลแต่ละประเภท ไวด้ งั น้ี 1.พวกด้ือร้ัน เป็นพวกท่ีชอบคดั คา้ น ไม่ชอบการเปล่ียนแปลง และจะแสดงความไม่พอใจเม่ือให้ปฏิบตั ิสิ่งใด ส่ิงหน่ึง วธิ ีปฏิบตั ิ - ใชค้ าสัง่ เชิงขอร้องก่อนท่ีจะใชอ้ านาจสัง่ ใหป้ ฏิบตั ิ - ไมค่ วรพยายามช้ีใหเ้ ขายอมรับความผดิ แต่ควรช้ีใหเ้ ห็นผลประโยชน์ ของส่วนร่วม และความยตุ ิธรรม - เมื่อเขาใหค้ วามร่วมมือในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงควรถือโอกาสชมเชยทนั ที - พยายามใหก้ าลงั ใจช่วยใหเ้ ขาแสดงความสามารถเชิงปฏิบตั ิออกมา 2. พวกเฉ่ือยชา เป็ นพวกท่ีคิดแลว้ คิดอีก และเสียเวลานานกวา่ จะตดั สินใจทาอะไร วธิ ีปฏิบัติ - เวลาออกคาส่งั ควรพดู ชา้ ๆ ใหค้ าง่าย ๆ และชดั เจน อาจตอ้ งทวนคาส่ัง ดว้ ยและใหเ้ วลาในการปฏิบตั ินาน พอสมควร - ตอ้ งทาใหเ้ ขารู้สึกวา่ มีความสาคญั และไดร้ ับความเห็นใจ - ใหค้ าชมเชยยกยอ่ งการปฏิบตั ิของเขาโดยเร็วเพื่อใหก้ าลงั ใจ - แสดงทา่ ทีเป็นมิตร และช้ีขอ้ บกพร่องอยา่ งตรงไปตรงมา และใหเ้ วลา พอสมควรในการปรับปรุงแกไ้ ข - อธิบายเรื่องต่าง ๆ ท่ีตอ้ งมีการเปลี่ยนแปลงใหช้ ดั เจน และใหเ้ ขาไดซ้ กั ถามจนเขา้ ใจแจม่ แจง้ และพอใจ

30 3.อารมณ์อ่อนไหว เป็ นประเภทท่ีเห็นเร่ืองเล็กเป็ นเร่ืองใหญ่ ถูกกระทบไม่ไดโ้ มโหง่ายและไม่พอใจเมื่อถูก สงั่ ใหท้ า วธิ ีปฏิบัติ - เอาใจใส่เขาในเรื่องเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ใหค้ วามเห็นอกเห็นใจ และใหเ้ ขาไดร้ ะบายความในใจ - ใหค้ าชม หรือ คาเยินยอให้มากแลว้ จะไดร้ ับความร่วมมือที่ดี รวมท้งั พยายามส่งเสริมจุดเด่น ช้ีแจงเหตุผล ของการเปลี่ยนแปลง ใหเ้ ขาหายสงสัย 4.พวกขลาดกลวั เป็นพวกข้ีอาย ไม่ค่อยมีความคิดริเร่ิม ไม่คอ่ ยกลา้ ซกั ถาม และเม่ือไมพ่ อใจก็ไม่แสดงออก วธิ ีปฏิบตั ิ - อธิบายทุกอยา่ งใหช้ ดั เจน และทวนคาสง่ั เสมอ - คอยสงั เกตความผดิ ปกติเพ่ือใหร้ ู้วา่ ไม่พอใจสิ่งใด และใหโ้ อกาสเปิ ดเผยความในใจ - รีบชมเชย ยกยอ่ ง เมื่อเขาแสดงความคิดริเร่ิมท่ีเป็นประโยชน์ - พยายามไม่เอ่ยถึงขอ้ บกพร่องและความผิดพลาด แต่ควรพูดจาใหเ้ ขารู้สึกสบายใจ และช้ีแจงถึงการปฏิบตั ิ เพ่ือประโยชน์ของส่วนรวม 5.พวกกลา้ แสดงออก (กลา้ แข็ง) เป็ นพวกที่กล้าพูด กลา้ โตเ้ ถียง ถือความคิดตนเองเป็ นคร้ังคราวอาจขาด ความรอบคอบในการทางานตอ้ งตรวจสอบอยเู่ สมอ วธิ ีปฏิบัติ - ใช้การขอร้องแทนการออกคาสั่ง และแสดงความเชื่อมน่ั ในตวั เขา แต่บางคร้ังอาจขาดความรอบคอบใน การทางานตอ้ งตรวจสอบอยเู่ สมอ - อาจตอ้ งรับฟังเร่ืองตา่ ง ๆ ท่ีเขาร้องเรียนบ่อย ๆ ควรใชค้ าพดู เชิงเห็นใจ แต่อยา่ ชมเชยพร่าเพรื่อ ยกเวน้ งานที่ เด่นจริง ๆ - การช้ีแจงเหตุผล และขอ้ เท็จจริงกนั แบบตวั ต่อตวั จะไดผ้ ลดี เพราะเขาเป็ นบุคคลประเภทไม่ค่อยยอมรับ ความจริง

31 ความสาคญั ของคนมีคุณลกั ษณะที่มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ มนุษยส์ มั พนั ธ์มีความสาคญั หลายดา้ นดว้ ยกนั คือ 1. ดา้ นการทางาน ผมู้ ีหนา้ ที่ติดตอ่ กบั บุคคลอื่น จาเป็นจะตอ้ งทางานท่ีติดต่อของ ความร่วมมือ จากผรู้ ่วมงาน และติดต่อกบั บุคคลนอกหน่วยงานดว้ ย จึงจาเป็ นตอ้ งรู้ และเขา้ มาในเร่ืองมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ผลของการวิจยั ส่วนมากพบวา่ สาเหตุท่ีทาใหบ้ ุคคลลม้ เหลวในการทางานไม่ไดเ้ ลื่อนฐานะ ถูกปลดออกจากงาน เพราะขาด ความสามารถในการเขา้ กบั คนมากกวา่ ขาดความรู้ 2. ดา้ นศาสนา มีการกล่าวถึงความสาคญั ของมนุษยส์ ัมพนั ธ์อยใู่ นคาสอน และศาสตร์ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ - ศาสนาคริสตม์ ีคาสอนเป็นกฎวา่ “จงปฏิบตั ิต่อเพ่อื นบา้ นทา่ นเหมือนท่ีท่าน ปฏิบตั ิตอ่ ตวั ของทา่ นเอง” - ศาสนาพุทธ มีคาสอนเกี่ยวกบั ความเมตตากรุณาวา่ “ใหร้ ู้จกั คิดถึงอกเขาอก เรา” 3. ดา้ นการเมืองและการปกครอง มนุษย์สัมพนั ธ์ช่วยให้พรรคการเมือง รัฐบาลทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ 4. ดา้ นเศรษฐกิจ มีคากล่าววา่ “มนุษยส์ ัมพนั ธ์เพิ่มผลผลิตได”้ 5. ดา้ นสังคม ความรักใคร่ปรองดองสามคั คีกนั เป็ นหลกั ทางมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ที่จะช่วยให้ สังคมมีความสมคั ร สมานสามคั คี เป็นปึ กแผน่ มน่ั คง เราอาจกล่าวไดว้ า่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์มีความสาคญั ต่อการอยูร่ ่วมกนั ของมนุษย์ ท้งั ในกลุ่มคน เล็ก ๆ ไปจนถึงกลุ่มคนในสังคม ประเทศชาติ และแมแ้ ต่ในสังคมโลก มนุษยส์ ัมพนั ธ์ทาให้ การประกอบกิจกรรมการทางาน และการดาเนินชีวติ ผา่ นไปไดด้ ว้ ยความพึงพอใจและเป็นสุข

32 บทที่ 4 ขอ้ ดี – ขอ้ เสียและประโยชน์ของการมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ข้อดี / ผลดีของการมีมนุษย์สัมพนั ธ์ 1. เป็ นประโยชน์ในการส่ือความคิดติดต่อ การประชาสัมพนั ธ์กบั ประชาชน เพื่อเรียกร้องความเห็นชอบ กบั ช้ีแจงใหร้ ู้ถึงบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานในองคก์ าร 2. ทาใหม้ ีความพอใจในชีวติ เพ่ิมข้ึน การไดแ้ ลกเปล่ียนประสบการณ์ ความคิด และวตั ถุส่ิงของซ่ึงกนั และ กนั จะนาไปสู่ความพอใจในชีวติ รู้สึกวา่ ชีวติ ไม่แหง้ แลง้ 3. ทาใหเ้ กิดความร่วมมือร่วมใจกนั ในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ช่วยส่งเสริม ความเขา้ ใจใน ระหวา่ ง สมาชิกของกลุ่มผูป้ ระกอบธุรกิจ การงาน ความเขา้ ใจอนั ดีมีผลทาใหก้ ารประกอบธุรกิจดาเนินไป อยา่ งมีประสิทธิภาพสมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น ทาให้เกิดความรู้สึกเป็ นส่วนหน่ึงของหมู่ คณะ ช่วยลดอุบตั ิเหตุในการทางานได้ มนุษยส์ ัมพนั ธ์จึงมีผลช่วยให้เกิดการร่วมแรงร่วมใจในการประกอบ ธุรกิจการงาน 4. ทาให้มีความสุขเพิ่มข้ึน การมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ และมิตรภาพที่ดีจะทาให้เกิดความสดชื่น และส่งผลมายงั ครอบครัว คือ จะไม่มี อารมณ์เครียด มาระบายความหงุดหงิดกบั ครอบครัว ทาใหผ้ ทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งมีความสุข มี ความพอใจท่ีไดม้ ีกิจกรรม และปฏิบตั ิงานร่วมดว้ ย

33 5. ทาให้เกิดการแบ่งหนา้ ที่ รู้จกั บทบาท และภารกิจในการประกอบการผลิต การจาหน่าย การกระจาย บริหารงานออกไปโดยทว่ั ถึงกัน มนุษย์สัมพนั ธ์มีส่วนสาคญั ในการแบ่งเบาภาระหน้าท่ีรับผิดชอบบน พ้ืนฐานของความเขา้ ใจ และไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั เป็ นการแบ่งงานกนั ทาตามวธิ ีการบริหารงานแผนใหม่ อนั เป็นผลช่วยทาใหก้ ารประกอบธุรกิจ การงานร่วมกนั สาเร็จลุล่วงตามที่กาหนดไวอ้ ยา่ งไดผ้ ล และมีความ สมานฉนั ทก์ นั ในหมู่คณะ 6. ทาใหเ้ ขา้ ใจถึงธรรมชาติความตอ้ งการ ความแตกตา่ ง ตลอดจนลกั ษณะของคน รู้วิธีที่จะเอาชนะใจคนให้ เขา้ มาร่วมงานดว้ ยความรักความพอใจ 7. สร้างทกั ษะใหผ้ บู้ ริหารช่วยใหส้ ามารถทางานร่วมกบั ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา และติดต่อกบั กลุ่มชนประสานงาน หน่วยอื่นๆ ไดด้ ี ทาใหก้ ารบริหารงานของผบู้ ริหารง่ายข้ึน เป็ นประโยชน์สาหรับผูบ้ ริหารในการใชม้ นุษย์ สัมพนั ธ์เพอ่ื ความสาเร็จของงาน 8. ทาใหเ้ กิดความรู้สึกวา่ ตนมีค่าจากการมีความสัมพนั ธ์ และไดร้ ับการยอมรับจากผอู้ ื่น เป็ นตน้ วา่ ความคิด เห็นของเราไดร้ ับการยอมรับจากผูอ้ ่ืน เราสามารถช่วยเหลือผอู้ ื่นได้ จะทาใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในตนเอง รู้สึกวา่ ตนมีคา่ 9. ทาให้ประสบความสาเร็จในการทางานไดต้ ามวตั ถุประสงค์ การมีมนุษย์สัมพนั ธ์ที่ดีกบั เพ่ือนร่วมงาน หวั หนา้ ลูกนอ้ งจะสามารถทางานร่วมกนั ไดด้ ี จะประสบความสาเร็จกา้ วหนา้ ในการทางาน และสามารถ ปฏิบตั ิภารกิจในหนา้ ที่ของตนไดอ้ ยา่ งมีความสุข 10. ทาใหเ้ กิดความราบรื่นในการคบหาสมาคม สามารถทางานร่วมกบั บุคคลทุกคนไดอ้ ยา่ งดี ทาให้ทุกคนมี ความรู้สึกเป็นพวกเดียวกนั พร้อมที่จะร่วมมือกนั ทางาน และอยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความสุข 11. ทาใหเ้ กิดความรักใคร่ศรัทธา เช่ือถือซ่ึงกนั และกนั อนั จะนามาซ่ึงความสามคั คี 12. เป็ นปัจจยั สาคญั ในการประสานประโยชน์เพ่ือป้องกนั และแกป้ ัญหาต่างๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ การ ปกครอง และการเมือง ทาใหก้ ารติดตอ่ ส่ือสารต่างๆ ถึงกนั ง่ายและมีผลดี

34 ข้อดขี องการมีมนุษย์สัมพนั ธ์ในองค์กร เมื่อองคก์ รสามารถสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ดีให้กบั บุคลากรไดส้ าเร็จ องคก์ รน้นั ก็มกั จะทางานไดร้ าบร่ืน ไม่ ประสบปัญหาใดๆ หรือเม่ือเจอปัญหาก็สามารถแกไ้ ขไดอ้ ย่างรวดเร็ว กา้ วขา้ มผ่านปัญหาไปได้ และทาให้ องคก์ รประสบความสาเร็จในท่ีสุด ซ่ึงการมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ท่ีดีน้นั ก่อใหเ้ กิดผลดีกบั องคก์ รดงั น้ี 1.เกดิ ความสามัคคใี นองค์กร เมื่อทุกคนมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีต่อกนั ยอ่ มทาใหเ้ กิดความสามคั คีข้ึนในองคก์ รไดง้ ่าย เมื่อองคก์ รไหน ท่ีทางานดว้ ยความสามคั คีกนั อย่างเหนียวแน่นแลว้ ยอ่ มก่อพลงั ใหเ้ กิดการทางานที่ประสบความสาเร็จไดด้ ี เช่นกนั และความสามคั คีน้ีเองก็ถือเป็ นปัจจยั สาคญั ที่สุดอยา่ งหน่ึงของการทางานในระบบทีม ตลอดจนการ ขบั เคล่ือนองคก์ รใหก้ า้ วไปขา้ งหนา้ ดว้ ยเช่นกนั 2.องค์กรทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพ การทางานอยา่ งราบรื่นไม่เกิดปัญหาน้นั ยอ่ มทาใหอ้ งคก์ รเกิดประสิทธิภาพไดส้ ูง หากความสัมพนั ธ์ ของพนกั งานองคก์ รไมด่ ีแมจ้ ุดใดจุดหน่ึงก็ตามกย็ อ่ มส่งผลตอ่ การทางานไม่มากก็นอ้ ย ก็เหมือนกบั เฟื องของ เครื่องจกั รที่หากมีเฟื องไหนหกั ไปแมเ้ พียงเล็กนอ้ ยก็อาจทาใหเ้ คร่ืองจกั รน้นั เดินมีปัญหาหรือหยดุ เดินไดใ้ น ที่สุด เม่ือการทางานมีประสิทธิภาพแน่นอนวา่ ยอ่ มทาใหอ้ งคก์ รบรรลุเป้าหมายท่ีวางไวไ้ ดอ้ ยา่ งงดงามดว้ ย 3.บุคลากรเกดิ การพฒั นา เม่ือองคก์ รไมต่ อ้ งมานง่ั ปวดหวั แกป้ ัญหาเร่ืองความสมั พนั ธ์ก็ทาใหอ้ งคก์ รตลอดจนบุคลากรมีเวลาท่ี จะพฒั นาตนเองไดด้ ีย่ิงข้ึน และเม่ือทุกคนให้ความช่วยเหลือกนั ยอ่ มทาใหท้ ุกคนช่วยกนั พฒั นาระหวา่ งกนั ไปดว้ ย เม่ือทุกคนมุง่ ผลสาเร็จของงานร่วมกนั กย็ อ่ มทาใหเ้ กิดศกั ยภาพในการทางานท่ีเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ เกิดการ พฒั นาท่ีไมห่ ยดุ ย้งั

35 4.องค์กรประหยดั งบประมาณ มีผลประกอบการทด่ี ีขึน้ หากเกิดปัญหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคลากรในองคก์ รหลายคนอาจไม่คาดคิดวา่ ปัญหาเพียบเล็กๆ นอ้ ยๆ น้ีก็สร้างความเสียหายใหญ่หลวงไดเ้ ช่นกนั ตวั อยา่ งง่ายๆ หากบุคลากรมีปัญหาความสัมพนั ธ์กนั จน ทาใหเ้ กิดการลาออก บริษทั ก็จะตอ้ งจดั หาพนกั งานใหม่ คดั สรรพนกั งานใหม่ สอนงานใหม่ และอีกมากมาย หลายอยา่ งเพื่อมาทดแทนคนเดิมให้ได้ ซ่ึงนนั่ หมายถึงงบประมาณท่ีงอกมามากมายอยา่ งไม่น่าเชื่อทีเดียว หรือการมีปัญหาระหวา่ งกนั ทาใหก้ ารทางานเสีย แน่นอนวา่ ยอ่ มส่งผลมหาศาลต่อองคก์ ร สร้างความเสียหาย ไดเ้ ช่นกนั หากองคก์ รใดที่สามารถจดั การปัญหาตา่ งๆ เหล่าน้ีได้ ก็ยอ่ มทาใหป้ ระหยดั งบประมาณไดเ้ ช่นกนั และทาใหผ้ ลประกอบการดีข้ึนไดอ้ ยา่ งไมน่ ่าเชื่ออีกดว้ ย 5.พนักงานเกดิ ความภกั ดีในองค์กร มากคนยงิ่ มากความ ประโยคน้ีเป็ นจริงเสมอ และเป็ นจริงกบั การทางานทุกองคก์ ร ฉะน้นั พนกั งาน ทุกคนอยากทางานในที่ที่มีปัญหาเรื่องคนนอ้ ยที่สุด เพราะปัญหาเร่ืองงานน้นั จดั การไดไ้ ม่ยาก แต่ปัญหาเรื่อง คนน้นั อาจสร้างผลกระทบไดอ้ ยา่ งไมน่ ่าเชื่อทีเดียว และปัญหาน้ีก็เป็นปัญหาหลกั อนั ดบั ตน้ ๆ ที่ทาให้เกิดการ ลาออก เปล่ียนงาน ไดม้ ากที่สุดดว้ ย การท่ีองคก์ รสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีในการทางานไดจ้ ะทาใหบ้ ุคลากรรัก ใคร่กลมเกลียวกนั ไมเ่ กิดปัญหาเรื่องบุคคล ทางานองคก์ รไดย้ าวนานข้ึน และมีความจงรักภกั ดีกบั องคก์ รข้ึน ได้ ทุ่มเทการทางานใหก้ บั องคก์ รข้ึนได้ และช่วยเพมิ่ ศกั ยภาพใหก้ บั องคก์ รไดเ้ ช่นกนั 6.เกดิ การถ่ายทอดวฒั นธรรมทด่ี ีระหว่างกนั เมื่อองค์กรใดมีวฒั นธรรมองค์กรที่ดีและแข็งแกร่ง น้ันย่อมเป็ นเสมือนสมบตั ิล้าค่าท่ีทุกคนใน องค์กรมกั หวงแหนและฟูมฟักรักษาอย่างดี ในขณะเดียวกนั ก็ร่วมกนั ท่ีจะรักษารวมถึงถ่ายทอดวฒั นธรรม องค์กรที่ดีให้กบั คนรุ่นต่อๆ ไป เม่ือสืบทอดสิ่งดีๆ แลว้ ยอ่ มทาให้องคก์ รแข็งแกร่งยิ่งข้ึนเร่ือยๆ และทาให้ ช่ือเสียงขององคก์ รดี องคก์ รมีความน่าเชื่อถือท้งั ทางธุรกิจและดา้ นอ่ืนๆ รวมถึงทาให้ผูค้ นนอกองคก์ รอยาก ท่ีจะเขา้ มาร่วมงานกบั องคก์ รท่ีดีอีกดว้ ย

36 7.เป็ นเคร่ืองดงึ ดูดใจให้คนเก่งและดอี ย่างมาร่วมงานกบั องค์กร คนเก่งและดีส่วนใหญ่ไม่ไดต้ ดั สินมาร่วมงานกบั องคก์ รใดองคก์ รหน่ึงดว้ ยเรื่องเงินเพียงอยา่ งเดียว เท่าน้นั และมีหลายปัจจยั ท่ีเงินไมส่ ามารถซ้ือได้ แต่ใจสามารถซ้ือคนไดด้ ีกวา่ องคก์ รท่ีอาจให้ความสาคญั ใน การสร้างองคก์ รในมิติอ่ืนๆ ใหด้ ีข้ึน โดยเฉพาะมิติมนุษยส์ ัมพนั ธ์นน่ั ยอ่ มทาให้ใครหลายคนอยากมาร่วมงาน กบั องคก์ รที่มีแตค่ วามสุข ไมค่ ่อยมีปัญหาเร่ืองคนระหวา่ งกนั ท้งั ยงั ใหค้ วามช่วยเหลือในการทางานกนั อยา่ ง ดีอีก หากเป็นเช่นน้ีใครๆ กอ็ ยากมาร่วมงานดว้ ย และทาให้องคก์ รมีตวั เลือกของพนกั งานท่ีมีคุณภาพมากข้ึน อีกดว้ ย และแน่นอนว่าเม่ือองคก์ รไดค้ นท่ีเก่งและดีมาร่วมงานแลว้ ก็ย่อมจะทาให้องค์กรมีโอกาสประสบ ความสาเร็จไดส้ ูงเช่นกนั ข้อเสียของการไม่มีมนุษย์สัมพนั ธ์ในองค์กร 1.ศิลปิ นเดยี่ ว ไม่สามารถทางานเป็นทีมร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ ไม่แชร์ความคิดเห็น ชอบทางานคนเดียว โชวผ์ ลงานเดี่ยว ตลอด 2.กฎมไี ว้แหก ไม่ปฏิบตั ิตามกฎบริษทั เช่น แต่งกายไม่เหมาะสม ขาด ลา มาสายเกินกาหนด ตอกบตั รแทนกนั 3.ชีวติ ติดลบ มองโลกในแง่ร้าย (ไปเสียทุกเรื่อง) ชอบจบั ผดิ คนอื่น ข้ีนินทา ช่างยุ สร้างความแตกแยกในหมู่เพื่อน 6.ไม่ปรับตวั ไม่เปิ ดรับ ไม่ยอมรับในส่ิงใหม่ๆ เม่ือบริษทั มีการปรับโครงสร้างใหม่ สิ่งแวดลอ้ มใหม่ จะเกิดอาการไม่พอใจ และแสดงออกทางพฤติกรรม สีหนา้ และไม่ใหค้ วามร่วมมือ

37 7.ไร้จริยธรรม ไม่มีจรรยาบรรณ จริยธรรมในการทางาน หาช่องว่างในการฉวยโอกาสเสมอ เรียกร้องสิทธิตลอด แตไ่ ม่ทาหนา้ ที่ของตนใหด้ ี 8.หมดไฟ ไร้ชีวติ ชีวา ไม่มีความสุข ไม่มีแรงบนั ดาลใจในการทางาน นง่ั ทางานไปวนั ๆ

38 ผลเสียของการขาดมนุษย์สัมพนั ธ์ บุคคลที่รวมกนั อยู่ในสังคมมีหลายประเภทมีความแตกต่างกนั และแตกต่างกนั ในความตอ้ งการ ทางดา้ นจิตใจ อารมณ์ดา้ นสติปัญญาเพราะฉะน้นั หากสมาชิกของสังคมขาดมนุษยส์ ัมพนั ธ์ คือ ไม่พยายาม เขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั ไมค่ ิดถึงจิตใจเขาจิตใจเรา และมุง่ แตป่ ระโยชน์ส่วนตวั เป็ นส่วนใหญ่ สังคมน้นั ก็จะไม่ มีความเจริญกา้ วหนา้ และไมม่ ีความมน่ั คงเพราะสมาชิกแตล่ ะคนของสังคมจะไม่ร่วมมือกนั ต่างฝ่ ายต่างก็จะ เอาชนะ และชิงดีชิงเด่นกนั และกนั อนั จะนามาซ่ึงการแตกแยกความสามคั คีในหมู่คณะได้ การขาดมนุษย์ สัมพนั ธ์จะทาให้ผูค้ นเครียดหงุดหงิด สุขภาพจิตเสื่อม มีผลกระทบถึงสังคมไดม้ าก ฉะน้นั ทุกคนจึงควร สร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ให้บงั เกิดข้ึนในหน่วยสังคมทุกหน่วยท่ีตนเป็ นสมาชิกอยู่ เพราะเป็ นวิธีการหน่ึงในการ เสริมสร้างความมน่ั คงใหแ้ ก่สังคมโดยส่วนรวม จุดมุง่ หมายของมนุษยส์ มั พนั ธ์ 1. ใหค้ นรู้จกั และเขา้ ใจตนเอง 2. ใหร้ ู้จกั และเขา้ ใจผอู้ ื่น 3. ใหเ้ กิดความรัก ความเชื่อใจ ความศรัทธา และความไวว้ างใจ 4.ใหเ้ กิดความร่วมมือในการทางานไปสู่เป้าหมาย 5.ใหล้ ดปัญหาความขดั แยง้ ในการทางาน และการยะร่วมกนั ดว้ ยความสามคั คี 6. ใหเ้ กิดความสร้างสรรค์ และพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ เกี่ยวกบั การทางาน 7. ทาใหบ้ ุคคลท่ีเก่ียวขอ้ งเกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั 8. ทาใหเ้ กิดความสามคั คีในการทางานร่วมกนั 9. ทาใหบ้ รรยากาศในการทางานราบร่ืน สามารถร่วมกนั ทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 10. ทาใหเ้ กิดความรู้สึกเป็ นพวกเดียวกนั 11. ทาใหก้ ารติดตอ่ สื่อสารสะดวกรวดเร็ว 12. ทาใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายขององคก์ ารโดยไดท้ ้งั ผลงานและมีน้าใจของผปู้ ฏิบตั ิงาน

39 ประโยชน์ของมนุษย์สัมพนั ธ์ \"มนุษยส์ ัมพนั ธ์\" เป็ นประโยชน์อย่างยิ่งในการทางาน และการอยู่ร่วมกนั เป็ นสังคม เพราะช่วยให้มนุษย์ เรียนรู้ ท่ีจะยอมรับ ความคิดเห็นของผูอ้ ื่น และปรับตวั ปรับใจ ใหร้ ่วมสังคม และร่วมกิจกรรมกนั อยา่ งสันติ สุข มนุษยส์ ัมพนั ธ์เป็ นเสมือน มนตข์ ลงั ช่วยลดความเกลียดชงั แมศ้ ตั รูผูม้ ีผลประโยชน์ขดั กบั เรา ก็จะกลบั กลายไปในรูป เห็นอกเห็นใจ เป็นมิตรภาพ เรื่องร้ายกลายเป็ นดีได้ ไม่วา่ จะติดต่อสัมพนั ธ์กนั ในทางการงาน หรือส่วนตวั ก็จะเกิดผลดีมีประโยชน์ต่องานอาชีพ และการดาเนินชีวติ อุปสรรค ความยุ่งยาก จะเรียบร้อย ราบรื่น การมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ที่ดีน้นั จะช่วยใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเอง และส่วนรวมในแง่ประโยชน์ต่อตนเอง บุคคล ท่ีมี มนุษย์สัมพนั ธ์ที่ดี กบั เพ่ือน จะก่อให้เกิดความเข้าใจ และความเห็นใจซ่ึงกัน และกนั ช่วยเหลือกัน สามารถสมาคมกบั บุคคลในระดบั ต่าง ๆ ไดด้ ี ประสบความสาเร็จใน การศึกษา และการประกอบกิจกรรม หรือการอาชีพ ในแง่ส่วนรวม การมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ดี จะช่วยสร้าง ความสามคั คี กลมเกลียวข้ึนในหมู่คณะ ร่วมใจกนั ทางาน ใหส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดีโดยปราศจากขอ้ ขดั แยง้ สามารถอาศยั อยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข และในที่สุดจะช่วยพฒั นาใหส้ ังคม และประเทศชาติเจริญกา้ วหนา้ ทางสังคม จะ ทาให้คนงานมีกาลงั ใจทางาน มีความสัมพนั ธ์อยา่ งเหนียวแน่นกบั องคก์ ารที่ตนทางานอยู่ การมีความรู้สึก เป็ นเจา้ ของ ความเป็ นกนั เอง การทางานดว้ ย ความสมคั รใจก็จะเกิดข้ึน ทาให้เกิดความสามคั คีเป็ นปึ กแผน่ ข้ึนในองค์การ และมุ่งทางานโดยมี จุดประสงค์ หรือความมุ่งหมายเดียวกัน อย่างเหนียวแน่น สร้าง ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ ง ผบู้ ริหารกบั ผใู้ ชแ้ รงงาน ถา้ จะเนน้ ถึง ประโยชน์ในแง่ของ การบริหารงาน มนุษยส์ ัมพนั ธ์เป็ นปัจจยั ที่สาคญั ที่สุดปัจจยั หน่ึงที่จะทาให้ หวั หนา้ งานประสบความสาเร็จ และเจริญกา้ วหนา้ หวั หนา้ งานควรจะตอ้ งใส่ใจกบั ศิลปะของการสร้างมนุษย์ สัมพนั ธ์ในหน่วยงาน ทาความเขา้ ใจกบั ธรรมชาติของคน โดยเฉพาะในเรื่อง ความตอ้ งการของมนุษย์ และ การจูงใจ ซ่ึงปัจจุบนั ก็มีแนวคิดใหม่ ๆ ท่ีทา้ ทายให้ผูบ้ ริหาร ไดน้ าไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์กบั หน่วยงาน หวั ใจของมนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการบริหารงานดว้ ย ในการสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์หวั หนา้ งาน จะตอ้ งใช้ วิธีการหลายวิธี เพราะผูร้ ่วมงานมีความแตกต่างกนั มาก การประยุกต์หลักการ และวิธีการต่าง ๆ อย่าง ระมดั ระวงั จะช่วยหวั หนา้ งานสามารถหาทางเลือก ท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จไดม้ ากข้ึน นอกจากน้ีแลว้ มนุษย์ สัมพนั ธ์ยงั สามารถให้ประโยชน์ดงั น้ีคือ ทาใหเ้ กิดความรู้จกั คุน้ เคย ยอมรับนบั ถือกนั ในหมู่สมาชิก ซ่ึงเป็ น จุดเริ่มตน้ ของพลงั กลุ่ม และช่วยให้การคบหาสมาคม เป็ นไปโดยราบร่ืน ทาให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดี และอยู่ ร่วมกันได้ด้วยความสามัคคี ทาให้บรรยากาศในการทางานราบรื่น สามารถร่วมงานกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทาให้การติดต่อสื่อสารถึงกนั ง่าย และเป็ นผลดี ทาให้เกิดความรู้สึกเป็ นพวกเดียวกนั และให้ ความร่วมมือในการทางาน และทาใหป้ ัญหาความขดั แยง้ ลดนอ้ ยลง บริหารงานไดง้ ่ายข้ึน

40 ความสัมพนั ธ์ของมนุษย์ ที่มีต่อกนั ไดก้ ่อใหเ้ กิดประโยชน์ร่วมกนั ในสังคม มนุษยส์ ัมพนั ธ์ใน ส่วนที่มนุษย์ จะอยูร่ ่วมกนั ในสังคมมีดงั น้ี คือ การมีความสัมพนั ธ์กนั โดยการรวมกลุ่มในการผลิต และการอานวยบริการ เป็ น การรวมพลงั ของกลุ่มบุคคล เพื่อให้ชีวิต ความเป็ นอยู่ ของมนุษยด์ ีข้ึน ซ่ึงบุคคลคนเดียวทาไดย้ าก ตอ้ ง อาศยั ความร่วมแรงร่วมใจ ของบุคคลหลายคน จึงจะกระทาได้ ความสัมพนั ธ์ ท่ีกระทา ต่อเนื่องกนั มาจนเป็ น ท่ียอมรับ จะกลายเป็ นมรดกทางวฒั นธรรม และเกิดความรู้สึกที่เรียกว่า มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ การทาให้เกิด ความสาเร็จ มนุษยส์ ัมพนั ธ์ เป็ นส่วนสาคญั ที่ให้มนุษยอ์ ยูร่ ่วมกนั ช่วยกนั ประกอบกิจการงาน นาเอาความ สามารถของแต่ละบุคคล ในกลุ่มมาใชใ้ นการดาเนินการร่วมกนั เพ่ือความสาเร็จของงาน โดยอาศยั มนุษย์ สัมพนั ธ์ เป็ นเครื่องยึดโยงให้มนุษยม์ ีความเขา้ ใจ และร่วมมือกนั ทางาน อนั เป็ นผลทาให้มีความสาเร็จของ งานเกิดข้ึน การทาให้มีความมั่นคง ความสาคัญของมนุษย์สัมพนั ธ์ คือ การสร้างให้มีความมั่นคงใน ครอบครัว ในสังคม และในประเทศชาติ ซ่ึงเป็ นกลุ่มสังคมขนาดใหญ่ข้ึน ๆ ตามลาดบั จนถึงสังคมโลก ความรู้จกั อภยั และชนะใจผูอ้ ื่น สร้างความแช่มชื่นในการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับ ผลตอบแทน ท้งั ทางดา้ น เศรษฐกิจ และจิตใจคนในสังคม เป็ นการสร้างความมงั่ คงั่ และมนั่ คงใหแ้ ก่สังคม และการทาให้มีความสามคั คี ความสัมพนั ธ์ อนั ดีใน กลุ่มของบุคคล ก่อให้เกิดสามคั คีธรรม และความ ร่วมมือร่วมใจในการทางานของหมู่คณะ ปัจจยั สาคญั ที่ก่อให้เกิด ความสามคั คี คือ ความเขา้ ใจ ระหวา่ งกนั และกนั ของบุคคลในกลุ่ม อนั ไดแ้ ก่ มนุษยส์ ัมพนั ธ์นนั่ เอง ดงั น้นั มนุษยส์ ัมพนั ธ์ จึงมีความ สามคั คี ในการ สร้างใหม้ ี ความสามคั คีในหมู่คณะ ในที่น้ีอาจสรุปผลดีในการมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ และผลเสียใน การไม่มีมนุษย์ สมั พนั ธ์ ไดด้ งั น้ีคือ

41 ประโยชนข์ องมนุษยส์ มั พนั ธ์ 1.ทาใหเ้ กิดความสร้างความสามคั คีธรรมใหเ้ กิดข้ึนในกลุ่มสงั คม ในหมูค่ ณะ 2. ทาใหก้ ารบริหารงานตา่ งๆ เกิดความรวมพลงั เพ่ือก่อใหเ้ กิดความร่วมแรงร่วมใจเกิดความสามคั คี 3. ใหส้ งั คมปกติสุข คนในสงั คมอยดู่ ีมีสุข มีความเขา้ ใจอนั ดีซ่ึงกนั และกนั 4. ทาใหง้ านต่างๆ ประสบความสาเร็จเพราะเราอยูค่ นเดียวไม่ได้ เราทางานหลายอยา่ งไม่ได้ ตอ้ งอาศยั ความ ร่วมมือ 5.ทาใหบ้ ุคคลยอมรับนบั ถือกนั ตระหนกั ในศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ 6. ทาใหง้ านทุกอยา่ งบรรลุเป้าหมายจามท่ีองคก์ รตอ้ งการ 7. ทาใหค้ นคลอ้ ยตามได้ หากทาใหจ้ ิตใจเขาคลอ้ ยตามไดบ้ ุคคลจะเกิดความช่ืนชอบ 8.ทาให้บุคคลมีแรงจูงใจในการทางาน มีความสามคั คีกลมเกลียว รัก องค์การและทาให้องค์การมีความ มนั่ คงเป็นปึ กแผน่ 9.เป็ นปัจจยั สาคญั ในการประสานประโยชน์ของสังคม ป้องกนั และแกป้ ัญหาสังคมและเศรษฐกิจ การเมือง ได้ 10.มนุษยส์ มั พนั ธ์ทาใหท้ ุกคนมีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกนั พร้อมท่ีจะต่อสู้เพ่ือประโยชนร์ ่วมกนั 11.ทาใหต้ นเองมีความสุข ผอู้ ่ืนมีความสุข และสังคมมีความสุข

42 บทท่ี 5 การปรับปรุงตนเองเพ่ือสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ การปรับปรุงตนเองเป็ นการปรับปรุงบุคลิกภาพโดยส่วนรวม เพ่ือเป็ นประโยชน์ในการ สร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ นักจิตวิทยาหลายท่านได้ให้ความสนใจเป็ นอย่างมากและพยายามเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง บุคลิกภาพ ดงั น้ี 1) ศึกษาและประเมินตนเอง 2) ยอมรับและตระหนกั ใน ความตอ้ งการท่ีจะปรับปรุงตนเอง 3) มีแรงจูงใจในการปรับปรุงตนเอง 4) วางแผนในการปรับปรุงตนเอง (Newton, and Hihgton, 1963: 14-175) มีรายละเอียดดงั น้ี ศึกษาและประเมินตนเอง การศึกษาและประเมินตนเองครอบคลุมบุคลิกภาพทุกด้านรวมท้ัง องคป์ ระกอบทางเศรษฐกิจและสงั คมท่ีมีส่วนเสริมสร้าง การศึกษาและประเมินตนเอง ทาให้รู้จกั ส่วนดีและ ส่วนบกพร่องของตนเอง ถา้ เป็นส่วนดีเด่นก็จะรักษาเอาไวแ้ ละพฒั นาใหด้ ีย่งิ ข้ึนกวา่ เดิม ส่วนบกพร่องน้นั ถา้ สามารถแกไ้ ขไดก้ ็ควรไดร้ ับการปรับปรุงให้ดีข้ึน การศึกษาและประเมินตนเอง ครอบคลุมส่ิงเหล่าน้ี คือ รูปร่างหน้า สุขภาพ สติปัญญา ความรู้ทว่ั ไป ความสามารถพิเศษ การแต่งกาย การพูดจา กิริยาและท่าทาง นิสัยใจคอและบุคลิกภาพดา้ นตา่ ง ๆ ตลอดจนฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม

43 ถา้ ประเมินบุคลิกภาพทุกดา้ นอยใู่ นระดบั ปานกลาง แต่ก็มีความรู้สึกวา่ ตอ้ งแกไ้ ขนิสัย บางอยา่ งก็ ใหก้ ลบั ไปพิจารณารายละเอียดในแบบสอบถามวา่ ขอ้ ใดบา้ งที่ไดค้ ะแนนนอ้ ยก็ให้เอาลกั ษณะน้นั มาแกไ้ ข ปรับปรุงในตารางการปรับปรุงตนเอง ซ่ึงจะกล่าวถึงในตอนต่อไป 1. ยอมรับและตระหนักในความต้องการทจ่ี ะปรับปรุงตนเอง ผลการประเมินท้งั หมดจะบ่งช้ีไดว้ า่ เรามี จุดบกพร่องจริง ๆ นอกจากน้ีตอ้ งตระหนกั ถึงความสาคญั ของบุคลิกภาพว่า “บุคลิกภาพเป็ นเครื่องมือที่ นาไปสู่การยอมรับนบั ถือ และศรัทธาอนั นาไปสู่ความสัมพนั ธ์อนั ดีและความสาเร็จ” พร้อมกนั น้ีก็มีความ ปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ที่จะพฒั นาหรือปรับปรุงตนเอง โดยการศึกษาหาวธิ ีการที่ดีท่ีสุด เช่น ปรึกษาแพทยผ์ รู้ ู้ อ่านหนงั สือ บทความ หรือเขา้ รับการอบรมพฒั นาบุคลิกภาพตามความเหมาะสม 2. มีแรงจูงใจในการปรับปรุงตนเอง การพฒั นาตนเองไม่ใช่ส่ิงท่ีง่าย เพราะเป็ นสิ่งที่เก่ียวกบั อุดมคติ เก่ียวขอ้ งกบั การทาลายนิสัยเดิมท่ีสั่งสมมาเป็ นเวลานาน และสร้างนิสัยใหม่ บุคคล จึงมีแรงจูงใจในการ ปรับปรุงตนเองเป็นอยา่ งยง่ิ แรงจูงใจในการปรับปรุงตนเองเป็นความตอ้ งการส่วนบุคคล ซ่ึงมีดงั น้ี 1) ความที่จะให้บุคลิกภาพเป็ นที่ดึงดูดใจของเพศตรงขา้ ม แรงจูงใจเช่นน้ีเป็ นแรงจูงใจท่ีทาให้เรา ตอ้ งการปรับปรุงตนเองในระดบั สูง 2) ความตอ้ งการเป็ นท่ีชื่นชมของสังคม คือตอ้ งการให้เป็ นที่รักช่ืนชมและเป็ นท่ียอมรับของคนใน สังคม 3) ความตอ้ งการความมน่ั คงปลอดภยั ในอาชีพและสังคม เพราะความตอ้ งการความมนั่ คงปลอดภยั ใน อาชีพและสังคมบุคคลจึงต้องปรับปรุงตนเองในเร่ืองของการแต่งกาย กิริยามารยาท ความขยนั ความ รับผดิ ชอบในการทางาน การปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั เพ่อื นร่วมงาน เพ่ือป้องกนั มิใหถ้ ูกไล่ออกจากงาน 4) ความตอ้ งการอานาจ การพฒั นาบุคลิกภาพก็เป็ นส่วนหน่ึงที่ทาใหต้ นเองมีอานาจข้ึนได้ นนั่ คือทา ใหม้ ีสง่าราศี น่าเช่ือถือ และน่ายาเกรง 3. วางแผนในการปรับปรุงตนเอง การวางแผนในการปรับปรุงตนเอง คือ การต้งั เป้าหมาย ก่อนวา่ จะ ปรับปรุงอะไร อยา่ งไรโดยมีหลกั สาคญั การปรับปรุงบุคลิกภาพ ดงั น้ี 1) ปรับปรุงลกั ษณะท่ีบกพร่องทีละลกั ษณะ 2) ปรับปรุงอยา่ งตอ่ เน่ืองและสม่าเสมอ 3) วางแผนในการปรับปรุงตนเอง การปรับปรุงบุคลิกภาพแบ่งเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ การปรับปรุง บุคลิกภาพภายนอก และการ ปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน

44 การปรับปรุงบุคลกิ ภาพภายนอก บุคลิกภาพภายนอกที่ควรปรับปรุง ไดแ้ ก่ รูปร่างหนา้ ตา การแต่งกาย กิริยาท่าทาง การแสดงสีหนา้ และแววตา การพูดจา ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี 1.) การปรับปรุงรูปร่างหน้าตา มิไดห้ มายถึง ความสวยงาม ความหล่อ แต่หมายถึง การปรับปรุง รูปร่างหนา้ ตาให้ดูสะอาด ประณีตดูดี คือ รักษาหน้าตาใหส้ ะอาด ผ่องใส รักษาปาก ฟัน จมูก ตา หู เล็บมือ เลบ็ เทา้ ใหส้ ะอาดปราศจากกลิ่นอบั น่ารังเกียจหรือความสกปรกตา่ ง ๆ โดยใชส้ บู่ หรือเคร่ืองสาอางในทานอง เดียวกนั การปรับปรุงรูปร่างที่ยงั ไมเ่ หมาะสม เช่น อว้ น เต้ีย เกินไปกใ็ ช้ ศิลปะของการแต่งกายท่ีเหมาะสมเขา้ ช่วยได้ 2.) การรักษาสุขภาพ บุคคลตอ้ งรักษาสุขภาพใหแ้ ขง็ แรงเสมอ เพราะสุขภาพท่ีไม่ดีหรือ เจ็บป่ วยบ่อย ๆ จะทาให้มีอารมณ์หงุดหงิด เป็ นผลให้การติดต่อสัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ื่นไม่ราบรื่น การรักษา สุขภาพใหแ้ ข็งแรง สมบูรณ์ สามารถทาไดโ้ ดยการรับประทาอาหารที่มีคุณคา่ สะอาด ถูกอนามยั ออกาลงั กายสม่าเสมอ พกั ผอ่ น พอเพียง หลีกเล่ียงมลพิษในส่ิงแวดลอ้ ม และอยู่ในที่ท่ีมีอากาศบริสุทธ์ิ รักษาร่างกายให้อบอุ่นเสมอ สวม เส้ือผา้ ที่เหมาะสม ไม่คบั จนเกินไปจนหายใจไม่ออก และ หมน่ั หาแพทยเ์ พ่ือตรวจร่างกายสม่าเสมอ และท่ี สาคญั คือ ตอ้ งรักษาอารมณ์ใหแ้ จม่ ใส เมื่ออารมณ์ แจม่ ใส จิตใจสบายร่างกายแขง็ แรงสมบูรณ์ 3.) การปรับปรุงการแตง่ กาย การปรับปรุงการแต่งกายในท่ีน้ีมิไดห้ มายถึง การใชเ้ ส้ือผา้ ที่ มีราคาแพง แต่หมายถึงการแต่งกายสะอาด เรียบร้อย เหมาะสมและสวยงามสดใส เรียบร้อย เหมาะสม และสวยงามยอ่ ม เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจ และเป็นปัจจยั หน่ึงท่ีช่วยเสริมสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 4. การปรับปรุงกิริยาท่าทาง การแสดงออกทางสีหนา้ และแววตา การปรับปรุงกิริยา ท่าทาง สีหน้า และแววตาทาไดโ้ ดยส่องกระจกดู ในสังคมไทยการแสดงกิริยาท่าทางเป็ นส่ิงสาคญั เพราะสังคมไทยเป็ น สงั คมอานาจนิยม ยกยอ่ งเป็นอาวโุ ส ผนู้ อ้ ยจะตอ้ งมีกิริยาท่ีสุภาพอ่อนนอ้ มต่อผู้ อาวุโส และสุขภาพต่อคนทวั่ ๆ ไป ฉะน้นั บุคคลควรจะไดป้ รับปรุงกิริยาทา่ ทางใหส้ ุภาพออ่ นโยน เหมาะกบั กาลเทศะไม่มองผูอ้ ื่นดว้ ยหาง ตา หรือมีกิริยาทา่ ทางแสดงให้เห็นวา่ มีความเกรงใจ เช่น ไม่ เอ้ือมมือไปหยิบของผา่ นหนา้ ผอู้ ่ืน เป็ นตน้ การ ปรับปรุงกิริยาท่าทางใหส้ ุภาพอ่อนโยนเหมาะกบั กาลเทศและบุคคล ยอ่ มเป็นเสน่ห์แก่ผพู้ บเห็น ทาใหใ้ คร ๆ ก็อยากคบหาสมาคมดว้ ย การใชส้ ายตา มองเป็ นสิ่งสาคญั เราตอ้ งฝึ กมองผูอ้ ่ืนดว้ ยสายตาท่ีอ่อนโยนเต็มไป ดว้ ยความรัก ความเมตตา ความช่ืนชมยนิ ดี แทนการมองดูดว้ ยสายตากระดา้ งเตม็ ไปดว้ ยความเกลียดชงั

45 การปรับปรุงบุคลกิ ภาพภายใน การปรับปรุงบุคลิกภาพภายในนบั ไดว้ า่ เป็ นการปรับปรุงพฤติกรรมไดแ้ ก่ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และ นิสยั ใจคอท่ีสงั เกตเห็นไดย้ าก การแกไ้ ขปรับปรุงจึงตอ้ งทาทีละข้นั ตอน ทีละเรื่อง มารยาทสังคมทเ่ี กยี่ วข้องกบั การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์ นอกจากการปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอกและภายในเพ่ือสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์แลว้ บุคคล ยงั คงตอ้ งคานึงถึง มารยาทสังคมเป็ นอย่างย่ิง เพราะมารยาทสังคมเป็ นการแสดงออกที่สุภาพอ่อนน้อมพอเหมาะพอควร ไม่ กระทาใหผ้ อู้ ่ืนเดือดร้อน แต่ทาใหผ้ อู้ ื่นสบายใจ ดงั น้นั การสร้างมนุษย์ สัมพนั ธ์จึงควรคานึงถึงมารยาทสังคม ดงั น้ี 1. การแสดงสีหนา้ บุคคลจะแสดงสีหนา้ ออกในลกั ษณะต่าง ๆ กนั เช่น เยน็ ชา การแสดง สีหนา้ เช่นน้ี จะทาให้ผูอ้ ่ืนถอยห่างออกไป คนประเภทน้ีจะไม่มีใครทกั ทายปราศรัยหรือพูดดว้ ยบางคนก็มีสีหนา้ บ้ึงตึง เตม็ ไปดว้ ยอารมณ์โกรธเคืองตลอดเวลาโดยเฉพาะเมื่อผอู้ ่ืนทาอะไรผดิ พลาด การแสดงสีหนา้ แบบน้ีเป็ นการ บนั่ ทอนมนุษยส์ ัมพนั ธ์ สาหรับคนที่มีหน้ายิ้มละไมหรือสีหน้าที่ยิ้ม แยม้ แจ่มใส จะดึงดูดใจผูท้ ่ีพบเห็น เพราะการยมิ้ ให้บรรยากาศรอบตวั สดใส เหตุการณ์ท่ีกาลงั ตึง เครียดก็ยอ่ มผอ่ นคลายลงได้ สีหนา้ ท่ียิม้ ละไม น้นั ชวนมอง ทาใหบ้ ุคคลน้นั มีเสน่ห์และมีคนอยาก เขา้ ใกล้ 2. การแสดงความอาย ความอายในที่น้ีหมายถึง ความอายที่เกิดจากคามรู้สึกวา่ ไดท้ าอะไรผดิ แผนไป จากผู้อื่น หรือผิดแผกไปจากวฒั นธรรม ประเพณีหรือมาตรฐานของสังคม แม้ว่า ปัจจุบนั บุคคลกล้า แสดงออกมากกวา่ สมยั ก่อนก็ตามแต่การกระทาอะไรที่ผดิ แผนไปจากมาตรฐานก็ ควรมีความอายและแสดง ความอายในลกั ษณะท่ีพอเหมาะกจ็ ะทาใหน้ ่าดู แตถ่ า้ ข้ีอายเกินไปกม็ ีขอ้ เสีย คือ ไม่กลา้ แสดงความคิดเห็นไม่ กลา้ แสดงออกจึงทาใหผ้ อู้ ื่นไมเ่ ขา้ ใจในที่สุดก็ไม่มีใครสนใจอีก ประการหน่ึงคนที่ข้ีอายหรือละอายก็จะตอ้ ง อยกู่ บั ตวั เอง จึงเป็นปัญหาในการติดต่อสัมพนั ธ์ 3. ไมด่ ูถูกเหยยี ดหยามผอู้ ่ืน โดยเฉพาะคนท่ีมีบุญคุณต่อเรา เช่น ผทู้ ี่เป็นเจา้ ของบา้ น 4. ไมต่ าหนิผอู้ ่ืนตอ่ หนา้ คนหมูม่ าก 5. ไม่ลว้ งแคะแกะเกาในท่ีชุมชน ตวั อย่างเช่น การแคะฟันอย่างเปิ ดเผยยอ่ มทาให้ไม่เป็ นที่เจริญหู เจริญตา ทาใหค้ นอื่นรู้สึกผะอืดผะอม ผคู้ นก็ไม่อยากเขา้ ใกลค้ นประเภทน้ี ทางท่ีดีควรใช้ มือป้องปากหรือลุก ข้ึนไปแคะฟันในหอ้ งน้า

46 6. การสวมรองเทา้ หรือถอดรองเทา้ ให้ถูกกาลเทศะ รองเทา้ เป็ นส่วนหน่ึงของการแต่งกาย ในบาง สถานท่ีก่อนจะเขา้ ไปตอ้ งถอดร้องเทา้ แต่บางส่วนท่ีไม่จาเป็ นตอ้ งถอดเพราะจะทาให้เสียบุคลิกภาพและเสีย ความรู้สึก ตวั อยา่ งเช่น โรงเรียนบางแห่งห้ามสวมร้องเทา้ เขา้ ห้องเรียนซ่ึงทาให้ผูส้ อนไม่พอใจ แมแ้ ต่ผเู้ รียน ที่เป็ นผูใ้ หญ่ก็ไม่พอใจ การห้ามเช่นน้ีจะทาให้ผูถ้ ูกห้ามรู้สึกวา่ ไดร้ ับ การดูถูก เพราะเจา้ ของโรงเรียนหรือ ผูบ้ ริหารรักพ้ืนห้องเรียนมากกว่ารักษาความรู้สึกของผูอ้ ื่น ผูป้ ฏิบตั ิไม่ทาตามขอ้ ห้ามของเจา้ ของสถานที่ เจา้ ของสถานที่กจ็ ะไม่พอใจ เช่น แขกสวมร้องเทา้ ข้ึน ไปบนพรม เป็นตน้ 7. พูดจาสุภาพไพเราะอ่อนหวาน นุ่มนวล ไม่พดู จาข่มขู่ กรรโชกหรือกา้ วร้าว ในการแสดงความสนิท สนมกบั ผอู้ ื่นน้นั ควรจะระมดั ระวงั การใชค้ าพดู เป็นอยา่ งยง่ิ 8. ไม่ควรถามเรื่องส่วนตวั บางเรื่อง เช่น อายุ รายได้ หนา้ ท่ีการงาน สามี ภรรยา บุตรท่ีไม่ดีหรือเร่ืองที่ ทุกขท์ รมานใจต่าง ๆ นอกจากน้ีก็มีมารยาทในเร่ืองอ่ืน ๆ เช่น การเดินผ่านผูอ้ ่ืนควรก้มตวั เล็กน้อย ไม่ยืนพูดขา้ ม ศีรษะ ผูอ้ ่ืน โดยเฉพาะในสังคมไทยผนู้ ้อยควรมีมารยาทต่อผูใ้ หญ่ และท่ีจะเสนอแนะเรื่องสาคญั อีก เร่ืองหน่ึงใน ท่ีน้ีคือ มารยาทนากรเขียนจดหมาย ซ่ึงมีดงั น้ี 1. ไม่มีรอยขูดลบหรือขีดฆ่าการมีรอยขดู ลบหรือขีดฆ่าเป็ นการบ่งบอกให้ทราบวา่ ผูเ้ ขียนไม่ได้ ต้งั ใจเขียน ถา้ หากรอยขูดลบขีดฆ่าดงั กล่าวปรากฏในจดหมายสมคั รงาน เขาจะเห็นว่าบุคคลน้นั เป็ นคน สะเพร่า 2. ใชถ้ อ้ ยคาสุภาพเหมาะสมกบั บุคคล ไม่วา่ จะแทนตวั เราเองหรือแทนผูร้ ับจดหมาย โดยเฉพาะคา สรรพนามแทนผรู้ ับจดหมายควรรู้วา่ เม่ือไรจะใชค้ าวา่ “คุณ” “ทา่ น” “ใตเ้ ทา้ ” ฯลฯ ท้งั น้ีเพ่ือเป็ นการให้เกียรติ แก่ผรู้ ับ 3. ถอ้ ยคาท่ีใช้ในจดหมายควรแสดงการให้ความสาคญั แก่ผอู้ ื่น หรือการให้ความสาคญั แก่กลุ่ม มิใช่ใหค้ วามสาคญั แก่ตนเอง เช่น ควรใชค้ าวา่ “ท่ีทางานของพวกเรา”มากกวา่ “ที่ทางานของฉนั ” หรือการ เล่าเรื่องการไปดูงานของพนักงานคนหน่ึงท่ีเล่าว่า “ฉันรู้สึกดีใจมากท่ีไดด้ ูงานท่ี ประเทศญี่ป่ ุน โรงงาน อุตสาหกรรมของญี่ป่ ุนมีระบบการผลิตที่ดีมาก ฉนั ยงั ไดพ้ ูดคุยกบั คนญี่ป่ ุนที่ มีอธั ยาศยั ดีมาก เสร็จจากดูงาน พาฉันไปเท่ียวชมเมืองของเขา ถนนหนทางสะอาดน่าอยู่มากทีเดียว ...... การเขียนเช่นน้ีแสดงว่าให้ ความสาคญั แก่ตนเองไม่สนใจผอู้ ื่น ควรจะเขียนโดยใหค้ วามสาคญั แก่ผูร้ ับจดหมายวา่ “ฉนั อยากให้คุณได้ ไปชมงานท่ีประเทศญ่ีป่ ุนจงั เลย เพราะคุณคงชอบระบบการ ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมน่ีน้นั มากและคุณ คงพอใจอธั ยาศยั ชาวญี่ป่ ุนมาก ยงิ่ ถา้ คุณไดเ้ ห็นถนนหนทางดว้ ยแลว้ คุณคงอยากไปอยทู่ ี่ประเทศญี่ป่ ุนเป็ นแน่ แท้

47 4. แบบฟอร์มจดหมายก็มีความสาคญั โดยเฉพาะการเขียนคาข้ึนตน้ หรือคาลงทา้ ย ควรใชใ้ ห้ เหมาะสมแก่บุคคลและตาแหน่ง เช่น “เรียนรองศาสตราจารยส์ มเดช มุงเมือง” แทนการเขียนวา่ “เรียน อาจารยป์ ระจาวชิ าทกั ษะชีวติ ” เพราะอาจารยท์ ่ีสอนวชิ าทกั ษะชีวติ มีหลายคน หรือ “เรียนผจู้ ดั การฝ่ ายบุคคล” แทนการเขียนวา่ “เรียนผจู้ ดั การ” ผรู้ ับจะไม่แน่ใจวา่ ผสู้ ่งถึงใครและจะเกิด ความรู้สึกไมพ่ อใจ 5. ควรจ่าหนา้ ซองโดยระบุชื่อหรือตาแหน่งของผูร้ ับใหช้ ดั เจน 6. ควรสะกดการันตช์ ่ือของผรู้ ับใหถ้ ูกตอ้ ง การระบุตาแหน่งก็เช่นกนั ควรระบุใหถ้ ูกตอ้ งวา่ ผรู้ ับมี ตาแหน่งใด แนวทางในการปรับปรุงตนเองเพื่อให้เกดิ ความราบรื่นในการสร้างความสัมพนั ธ์กบั บุคคลทวั่ ไป น้นั ไดม้ ีผใู้ หท้ ศั นะไวห้ ลากหลาย ดงั จะไดน้ าเสนอใหเ้ ลือกพิจารณา ใชเ้ ป็นแนวคิดดงั ตอ่ ไปน้ี โรเบิร์ต คอลคลิน (Robert conclin) ไดเ้ สนอความคิดในการปรับปรุงตนเองไวด้ งั น้ี (“พลวตั ” 2531:1) 1.ใหส้ ่ิงที่คนอ่ืนอยากได้ 2.เปล่ียนแปลงตวั คุณเองก่อน 3.สร้างความประทบั ใจกบั ความตอ้ งการตามธรรมชาติของมนุษย์ 4.จูงใจคนใหเ้ ป็น 5.จงขจดั ความขดั แยง้ และความบาดหมางออกจากสมั พนั ธภาพ 6.สร้างความอดกล้นั และความพยายามเขา้ ใจผอู้ ่ืน 7.รู้จกั เป็นผฟู้ ังท่ีดี 8.จงมองผอู้ ื่นใหถ้ ูกตอ้ ง มองปัญหาใหถ้ ูกจุด

48 วจิ ิต อาวะกุล (วจิ ิตร อาวะกุล 2526 : 64-65) ไดก้ ล่าวถึงการปรับปรุงตนเองเพื่อมนุษยส์ มั พนั ธ์ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี 1.ท่านตอ้ งมีความรู้สึก อยากคบหาสมาคมเป็นมิตรกบั คน ถา้ ยงั ไม่มีตอ้ งสร้างสิ่งน้ีให้ เกิดข้ึน ยิม้ แยม้ แจ่มใส ทกั ทายพดู คุยกบั ผอู้ ื่นเสียบา้ ง 2.หดั มีใจเอ้ือเฟ้ื อเผ่อื แผ่ ชอบช่วยเหลือคนอื่นโดยท่ีเขาไม่ตอ้ งขอร้อง เช่น ช่วยถือของรับโทรศพั ทใ์ ห้เพ่ือน ดว้ ยความเห็นใจ อยา่ เป็นคนใจดา ทาเป็นไมร่ ู้ไม่ช้ี 3.ไม่ตระหนี่ แบ่งปันของใหก้ บั เพอ่ื นแมข้ องเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ 4.มีความรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ีการงาน หรืองานท่ีทาร่วมกนั กบั เพือ่ นใหไ้ ดด้ ี 5.เลิกเป็นคนแขง็ กระดา้ ง เพ่อื ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน ใหเ้ กิดความประทบั ใจ และชอบพอของคนทว่ั ไป 6.มีความเกรงใจผอู้ ื่น ไมล่ ่วงล้าสิทธิของผอู้ ่ืน เอาเปรียบเพอ่ื นเอาแต่ได้ มิไดน้ ึกถึงผอู้ ่ืน หยาบคาย ไร้มารยาท 7.หดั เป็นคนใหค้ วามร่วมมือ ในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม ไมใ่ ช่เฉพาะประโยชน์ส่วนตวั จึงจะทา 8.ตอ้ งไม่เลือกคบเลือกพดู กบั คนบางคนเทา่ น้นั แตค่ วรจะทกั ทายพดู คุย กบั คนทว่ั ไป 9.หลีกเล่ียงการโตเ้ ถียงที่ไม่จาเป็น ถา้ เกิดปัญหาความขดั แยง้ ข้ึนกค็ วรปลีกตวั หนีไปเสียจะดีกวา่ 10.หดั เป็นคนคิดก่อนพูด ก่อนการกระทาเสมอ 11.หดั ตรงต่อเวลาในการนดั หมาย ท่านเคยผิดนดั กบั ใครบา้ งหรือไม่ สายเป็ นประจาจนคนอื่นราคาญหรือ เปล่า 12.มีความจริงใจ มีความสัตยจ์ ริงต่อเพ่อื น และมิตรสหาย อยา่ เป็นคนไมน่ ่าไวใ้ จหรือไวใ้ จไม่ได้ 13.ไม่รับของเพ่ือฝ่ ายเดียว ท่านตอ้ งให้ตอบแทนเขาบา้ งเมื่อท่านมีโอกาส และท่านตอ้ งไม่เอาเปรียบเพ่ือน คอยแต่กอบโกยผลประโยชนจ์ ากเพ่ือน 14.ไม่พูดจาหยาบคาย กระด้าง ห้วย กระโชก แต่ตอ้ งพูดสุภาพ หัดพูดมีหางเสียงเสียบา้ ง กิริยาควรสุภาพ เรียบร้อย 15.เป็นผใู้ หค้ วามร่วมมือช่วยเหลือกิจการงานส่วนรวมของที่ทางานอยเู่ สมอ 16.ไมน่ ินทาผอู้ ่ืน ใหร้ ้ายป้ายสีผอู้ ่ืนลบั หลงั แต่ตอ่ หนา้ ทาดี 17.อยา่ เป็นคนโหดร้าย ทารุน แต่ควรมีความกรุณาปราณี

49 วธิ ีศึกษาให้เข้าใจผ้อู ่ืนเพ่ือสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์ทดี่ ี ก่อนที่เราจะสามารถสร้างสัมพนั ธภาพที่ดีกบั คนอ่ืน ก่อนอ่ืนเราตอ้ งคน้ พบให้ไดก้ ่อนวา่ คนเราตอ้ งการส่ิง ใดบา้ งในการสร้างมิตรภาพกบั ผหู้ น่ึงผใู้ ด สิ่งที่มนุษยต์ อ้ งการเป็นข้นั พ้นื ฐานประกอบไปดว้ ย 1.ความใส่ใจและเอาใจใส่ซ่ึงกนั และกนั คือ มีความตอ้ งการที่จะรู้วา่ มีอะไรเกิดข้ึนกบั คนรอบขา้ งบา้ ง แต่ละ คนชอบคนท่ีให้ความสนใจในเรื่องราวของตนอย่างจริงใจ แต่ในทางกลบั กนั ทุกคนจะไม่อยากคบกบั คนท่ี สนใจแตเ่ รื่องของตน สิ่งท่ีควรทา มนุษยเ์ ราควรสนใจเรื่องของผอู้ ื่นดว้ ยความจริงใจ 2.ความไวเ้ น้ือเชื่อใจ การอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมีความสุขและราบรื่น เราจาเป็ นตอ้ งให้ผอู้ ่ืนไวว้ างใจในตวั คุณ เช่น การตรงต่อเวลา การรักษาสัญญาในเรื่องท่ีเอ่ยปากสัญญาไปแลว้ จาไวเ้ สมอวา่ ผูท้ ี่ไม่ไดร้ ับความไวเ้ น้ือ เช่ือใจ ก็ยากที่ใครจะคบเป็ นเพ่ือนไดอ้ ยา่ งสนิทใจ สิ่งท่ีควรทา การตอ้ งการความไวเ้ น้ือเช่ือใจจากผูอ้ ื่น เรา ควรตอ้ งทาตวั ใหน้ ่าเชื่อถือเกือบจะทุกๆ เร่ือง 3.การยอมรับนบั ถือ ทุกคนควรรู้จกั นบั ถือตวั เอง แต่ก่อนที่จะรู้จกั นบั ถือตนเอง เราควรรู้จกั นบั ถือผูอ้ ่ืนก่อน สิ่งท่ีควรทา ควรใหค้ วามนบั ถือท้งั ตนเองและผอู้ ่ืนอยา่ งสนิทใจ 4.มีส่วนร่วมและรู้จกั การแบ่งปัน สัมพนั ธภาพท่ีดีที่สุด คือการไดม้ ีส่วนร่วมและรู้จกั การแบ่งปันในเร่ือง ต่างๆ เช่น การมีส่วนร่วมในประสบการณ์ รวมถึงการรับฟังความฝันของเพ่ือน รวมท้งั ความไม่สมหวงั ของ เขา สิ่งท่ีควรทา พดู ใหน้ อ้ ย และรับฟังผอู้ ื่นใหม้ าก 5.มีความยืดหยุน่ สัมพนั ธภาพท่ีดีระหวา่ งความเป็ นเพ่ือนคือความยืดหยุน่ สาหรับความผดิ พลาด เช่น การที่ คนคนหน่ึงสามารถยอมรับและปรับตวั เขา้ กบั ผูอ้ ื่นได้ คนที่ยืดหยนุ่ ไดม้ ากก็จะสามารถมีความสุขไดม้ าก สิ่ง ที่ควรทา ไม่ยดึ ติด ยอมอภยั ใหผ้ อู้ ื่น 6.เห็นอกเห็นใจผูอ้ ่ืน คือการเขา้ ใจความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมของผูอ้ ่ืน แต่การเห็นอกเห็นใจผูอ้ ่ืนน้ัน จะตอ้ งมาจากการพิจารณาและใหก้ ารสังเกตอยา่ งใกลช้ ิด การแสดงความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ่ืนจะยิ่งทาไดง้ ่าย ข้ึน หากมีสัมพนั ธภาพที่ดีระหวา่ งกนั ส่ิงที่ควรทา ใหเ้ วลาในการเรียนรู้ผอู้ ่ืน และพยายามเขา้ ใจในส่ิงท่ีเขาทา หรื อเป็ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook