Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

Published by suklittha24, 2023-06-25 08:19:03

Description: สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกรายวิชา ชีววิทยา ระดับชั้น ม.6
โดยครูสุกฤตา โสมล
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

Search

Read the Text Version

ขอ้ เปรยี บเทยี บระหวา่ งระบบประสาท Sympathetic กับ Parasympathetic ข้อแตกต่าง Sympathetic Parasympathetic การทางาน ในสภาวะเครยี ด ตกใจ กลวั ในระยะพกั รา่ งกายผอ่ น คลาย Autonomic Ganglion ใกลร้ ะบบประสาทสว่ นกลาง ใกลห้ น่วยตอบสนอง Preganglionic Neuron สน้ั ยาว Postganglionic Neuron ยาว สน้ั ตวั ท่ี 1 ไซแนปสก์ บั เซลลป์ ระสาทนาคาส่งั ตวั ท่ี 2 Acetylcholine / Ach ตวั ท่ี 2 ไซแนปสก์ บั หนว่ ยปฏบิ ตั งิ าน Norepinephrine / NE Acetylcholine / Ach ลกั ษทะการตอบสนองของหน่วยปฏบิ ตั ิงาน กระตนุ้ ยบั ยง้ั By..Teacher.Suklittha Somon 101

❑ ข้อแตกตา่ งระหวา่ งระบบประสาทโซมาตกิ (SNS) และระบบประสาทอตั โนวตั ิ (ANS) ข้อเปรียบเทยี บ SNS ANS การควบคุม ในอานาจจิตใจ (Voluntary) นอกอานาจจิตใจ (Involuntary) 2 เซลล์ คือ Preganglionic Neuron และ จานวนเซลลป์ ระสาททน่ี า 1 เซลล์ คาส่ังถงึ หน่วยปฏบิ ตั งิ าน Postganglionic Neuron กลา้ มเนือ้ ลาย หน่วยปฏบิ ตั งิ าน มีเย่ือไมอีลนิ กลา้ มเนือ้ เรยี บ กลา้ มเนือ้ หวั ใจ ตอ่ มตา่ งๆ ใยประสาท มีเย่ือไมอีลนิ เฉพาะเซลล์ Preganglionic Neuron ไม่มี ร่างแหประสาท ไม่มี พบเฉพาะท่ีทางเดนิ อาหาร ปมประสาททอ่ี ยนู่ อก CNS Acetylcholine / Ach มี พบท่ีขา้ งกระดกู สนั หลงั และหา่ งออกไปจากกระดกู สนั หลงั สารสื่อประสาทสาคัญ Acetylcholine / Ach ท่ีพาราซมิ พาเทตกิ และ ลักษณะการทางาน กระตนุ้ Preganglionic Neuron ของซิมพาเทตกิ บทบาทหน้าท่ี ปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มภายนอก กระตนุ้ และยบั ยงั้ ปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มภายใน By..Teacher.Suklittha Somon 102

ความแตกตา่ ง SNS ANS 1.ศูนยค์ วบคุม สมองและ สมอง ไขสันหลัง และ การทางาน ไขสันหลัง ควบคุมโดยตรง ปมประสาท 2.ประสาทส่ังการ 1 เซลล์ หรือนาคาส่ัง 2 เซลล์ 3.ควบคุมการ กล้ามเนือ้ ลาย ทางาน กล้ามเนือ้ เรียบ และ กล้ามเนือ้ หวั ใจ By..Teacher.Suklittha Somon

Ep.5 อวยั วะรับสมั ผัส (Sense Organ) ❑ อวัยวะรบั สัมผัสเก่ียวข้องกบั ระบบประสาทโดยตรง ... เป็นอวัยวะรับรู้ท่ีเปลี่ยนแปลงพลังงานในรูป ต่างๆ ให้เป็นกระแสประสาท แล้วส่งต่อไปยัง สมองหรือไขสันหลังเพื่อแปลเป็นความรู้สึกและ การรับรูต้ า่ งๆ ครสู กุ ฤตา โสมล กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว30244 ชีววิทยา4 104

เป็นตวั สรา้ งกระแสประสำท (Nerve Impulse) แบง่ ไดด้ งั นี้ 105 ❑ แบ่งตามการรับสิ่งเร้า แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 1.รับสง่ิ เร้าจากภายนอก (Exteroreceptor) - รบั ส่งิ เรา้ จากภายนอกรา่ งกาย เช่น แสง ความรอ้ น สารเคมี การสมั ผสั 2.รับสง่ิ เร้าจากภายใน (Interoreceptor) - รบั ส่งิ เรา้ จากภายในรา่ งกาย เชน่ ความดนั เลือด จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

แบง่ ตามชนิดของพลงั งานท่ีมากระตนุ้ ได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. อวัยวะรับความรู้สกึ แบบงา่ ย (Somatic Senses) : รบั ความรูส้ กึ ท่วั ๆ ไปคือ ผิวหนงั 2. อวัยวะรับความรู้สกึ เฉพาะ (Special Senses) : รบั ความรูส้ กึ เฉพาะ คือ จมกู รบั กล่นิ ลนิ้ รบั รส ตารบั แสง หรู บั เสียง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 106

❑ ตารางแสดงอวัยวะรับสัมผัสกับชนิดและตวั รับสิ่งเร้า อวัยวะ สงิ่ เร้า ชนิดของสง่ิ เร้า ตวั รับ เส้นประสาท นากระแสประสาทเข้า ตา อนภุ าคแสง Photoreceptor Rod cell และ Cone cell หู คล่นื กล Mechanoreceptor CN 2 จมูก Chemoreceptor Hair cell ลนิ้ โมเลกลุ กล่นิ Chemoreceptor Olfactory (smell) Receptor CN 8 ผวิ หนัง โมเลกลุ รส Thermoreceptor Gustatory (taste) Receptor Mechanoreceptor CN 1 อทุ หภมู ิ มีจานวนมากกระจายท่วั รา่ งกาย แรงกล Pain receptor มากกวา่ 10 ชนิด CN 7 , CN 9 ความเจ็บปวด SN จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 107

1 The Eye : นัยนต์ า • สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีการตอบสนองต่อแสงสว่าง เช่นพืชสามารถ 108 ปรับตัวโดยการเอนส่วนใบและดอกเข้าหาแสง ยูกลีนา สามารถ ว่ายเข้าหาแสงได้ โดยเฉพาะสัตว์ช้ันสูงมีตาซึ่งมีการวิวัฒนาการ มาเปน็ อวัยวะรับแสงที่มปี ระสิทธิภาพสูงมาก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

The Eye : นยั นต์ าและการเหน็ ภาพ - มี สิ่งเร้า คือ อ นุ ภ า ค แส ง (Photoreceptor) ทาหน้าที่ ในการมองเห็น o นัยน์ตาของคนอยู่ในโพรงกระบอกตา (orbits) ส่วนที่โผล่ ออกมาอกี เพอ่ื การมองเหน็ คอื สว่ นของกระจกตา (cornea) o มกี ล้ามเนอื้ ตา (rectus) 6 มดั จึงทาให้ลกู นยั น์ตากลอกไปมาได้ มีหนังตาบนปิดทับหนังตาล่างเพื่อป้องกัน อันตรายและป้องกันแสงเมือ่ ตอ้ งการพักผอ่ นนยั น์ตา o มตี ่อมน้าตา (tear gland) ที่ขอบตาบนของหางตาซา้ ยและขวาโดยมีท่อน้าตามาเปิดท่ีหวั ตาเพื่อหล่อเล้ียง ลูกตาให้ชมุ่ ช้นื อยู่เสมอและชว่ ยทาลายจุลนิ ทรียไ์ ด้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 109

โครงสรา้ งของนยั นต์ าคน o นยั นต์ าของคนประกอบดว้ ยเนือ้ เยื่อผนังหมุ้ ลกู ตา 3 ช้นั คอื 110 1. ชนั้ นอก (sclera) 2. ช้ันกลาง (choroid) 3. ช้ันใน (retina) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล ▪ กระจกตา เป็นเนือ้ เย่ือท่ีหนาใสหมุ้ อย่ดู า้ นหนา้ ช่วยใหจ้ ดุ รวมแสง (focus) ไปตกท่ีเลนสต์ า ▪ ม่านตา เป็นเนือ้ เย่ือท่ีสามารถยืดหดไดต้ ามความเขม้ ขน้ ของแสงท่ี ผ่านเขา้ ตา ▪ รูม่านตา คือชอ่ งท่ีแสงผ่านเขา้ ลกู ตา ช่องหรอื รูมา่ นตานีจ้ ะกวา้ ง หรอื แคบขนึ้ อย่กู บั การขยายตวั และหดตวั ของมา่ นตา ▪ เยอื่ หุม้ ลูกตา เป็นเนือ้ เย่ือเหนียวหมุ้ ลกู ตา ▪ เลนสต์ า มีลกั ษทะใสคลา้ ยวนุ้ สามารถเปล่ยี นรูปรา่ งไดเ้ ลก็ นอ้ ย ทาใหแ้ สงหกั เหไปยงั จดุ รวมแสงท่ีจอตา ▪ ของเหลว มสี ว่ นชว่ ยใหล้ กู ตาคงรูปอย่ไู ด้ ▪ จอตา เป็นเนือ้ เย่ือท่ีไวต่อแสงอยดู่ า้ นในสดุ ของลกู ตา ทาหนา้ ท่ี เปล่ยี นแสงเป็นสง่ิ กระตนุ้ (กระแสไฟฟา้ ) ▪ ประสาทตา นาข่าวสาร (กระแสประสาท) จากจอตาไปสสู่ มอง 111

▪ โครงสรา้ งของตา แบง่ ออกเป็น 3 ชนั้ จากดา้ นนอกเชา้ ไปดา้ นใน ดงั นี้ 1.Outer fibrous layer : ชั้นสเคลอรา (sclera) เป็นเนือ้ เยือ่ เก่ียวพัน (Fibrous Coat)ชนั้ นอกสุด มีความหนาและเหนียวมาก ไม่ยดื หยุ่น ทาหน้าทคี่ ุม้ กนั ลูกตาไม่ให้เป็นอนั ตราย ทาใหล้ ูกตาคงรปู ร่างอยไู่ ด้ แบง่ ออกเป็น 2 ส่วนคือ ▪ ตอนหน้าสุดของเยื่อช้ันน้ีจะเป็นเย่ือคุม ไม่มีหลอดเลือด มีลักษณะโปร่งใสและนูนออกมาเรียกว่า กระจกตา (cornea) ซึ่งเป็น สว่ นที่ยอมให้แสงผา่ นทะลเุ ขา้ สเู่ ลนส์ และชว่ ยในการหักเหลาแสงให้เข้าโฟกสั ในลกู ตาได้ ▪ ตาขาว (Sclera) - หนา มีสขี าวทึบ แสงผา่ นไมไ่ ด้ สว่ นใหญ่ของตาขาวอยูภ่ ายในเบ้าตา จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 112

o สว่ นทีเ่ ห็นเป็นนัยนต์ าขาวของคน คือสว่ นทเ่ี ปน็ เยือ่ สเคลอรา 113 หรือผนงั ช้ันนอก o การเปลี่ยนดวงตา หรือการบริจาคดวงตาใหส้ ภากาชาด กค็ ือ การเปลย่ี นหรือบรจิ าคส่วนของกระจกตาน่ันเอง o ตาแดง อาจเกดิ จากเยื่อตา ม่านตา หรอื กระจกตาอักเสบ โดย เชื้อไวรัสทาให้เย่อื ตาขาวมสี แี ดง เพราะเส้นเลอื ดฝอยขยายตวั o สายตาเอียง (Astigmatism) เกิดจากผิวกระจกตาไม่เรยี บ จงึ ทาให้มีจุดรวมแสงไมเ่ ปน็ จุดรวม ภาพจงึ มัวและไมช่ ัดในแนว ใดแนวหนงึ่ แก้ไขโดยใชเ้ ลนส์กาบกลว้ ยหรอื เลนสท์ รงกระบอก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

▪ โครงสรา้ งของตา 2.Middle vascular layer : ช้นั คอรอยด์ (choroid) เปน็ ชน้ั ของเซลล์ท่ีมีรงควัตถุทึบแสงอยู่มากมายเพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดแสงสะท้อนเพราะจะทาให้ภาพไม่ คมชดั เป็นชั้นทมี่ เี ส้นเลือดมาหล่อเล้ียง จึงทาหน้าที่ ลาเลียงสารอาหารและแก๊สให้เรตินาโดยการแพร่ (diffusion) มสี ารสีแผ่กระจายเพอ่ื ป้องกันไม่ให้แสง สวา่ งทะลผุ ่านไปได้ ▪ ตอนหน้าจะแยกออกมาและหนาขึ้นเป็นส่วนของกล้ามเนื้อยึดเลนส์ มีส่วนห้อยลงมาท้ังบนและล่างปิดเลนส์เรียกว่าม่านตา (iris) สาหรับช่องว่างระหวา่ งม่านตาเพ่อื ให้แสงผ่านเข้าไป เรียกว่ารูม่านตา (pupil) นอกจากนี้ผนังช้ันกลางยังประกอบด้วยกล้ามเน้ือยึด เลนส์ และเอ็นยึดเลนส์ ประกอบดว้ ย 3 สว่ นคือ โครอยด์ (Choroid) , Ciliary body และม่านตา (Iris) 114 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

❑ องคป์ ระกอบของช้ันโครอยด์ (choroid) โครอยด์ (Choroid) – อย่กู ่ึงกลางระหวา่ งตาขาวกบั จอรบั ภาพ มีเซลลเ์ ม็ดสี (Pigment cells) และเซลลอ์ ่ืนๆ ประกอบเป็นรา่ งแหทาใหม้ ีสีเขม้ ทบึ แสง จึงชว่ ยในการปอ้ งกนั การสะทอ้ นของแสง o Ciliary body – อยตู่ ่อจากสว่ นของโครอยดม์ าทางดา้ นหนา้ ประกอบดว้ ย Ciliary muscle และ Ciliary process โดยส่วนปลายจะมี Suspensory ligament ท่ียดึ อย่กู บั เลนส์ เม่ือ Ciliary muscle หดตวั ดงึ เลนส์ จะสง่ ผลใหเ้ ลนสต์ ามีการปรบั ความหนา ทาใหช้ ว่ ยในการปรบั แสงผา่ นไปตกท่ีเรตนิ าไดพ้ อดี o ม่านตา (Iris) – อย่หู นา้ เลนส์ แตอ่ ย่หู ลงั กระจกตา โดยจะกนั้ บางส่วนของเลนสต์ าไว้ และมีรูม่านตา (Pupil) เป็นชอ่ งใหแ้ สงผ่านเขา้ สเู่ รตนิ า มา่ นตาถกู ยดึ ดว้ ยกลา้ มเนือ้ ท่ีควบคมุ โดยระบบประสาทประสาทพาราซิมพาเทติก ▪ สีตาของคนเราจะแตกตา่ งกันตามเชอ้ื ชาตโิ ดยเป็นลักษณะทางพนั ธุกรรม สขี องตาขึ้นอยู่กับ จานวนเม็ดสี (Pigment) ในม่านตา ถ้ามีเม็ดสีอยู่มาก ตาจะเป็นสีเทา สีน้าตาล หรือสีดา แต่ ถ้ามีเมด็ สนี ้อย ตาจะมสี ีฟา้ ▪ ขนาดของรูม่านตา (pupil) จะแคบหรือกว้างข้ึนอยู่กับปริมาณของแสง ซึ่งมีผลต่อการ ทางานของกลา้ มเนือ้ ม่านตา คือถา้ แสงนอ้ ยรมู ่านตาจะเปิดกวา้ ง แต่ถ้าแสงจ้ารูม่านตาจะหรี่ หรือแคบลงซงึ่ เปน็ ไปโดยอตั โนมัติ ▪ ต้อกระจก เกิดจากเลนส์ในลูกนัยน์ตาขุ่นขาวเหมือนจาวมะพร้าว เป็นกันมากตอนอายุมาก ข้ึน รักษาโดยการผา่ ตดั จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 115

▪ โครงสรา้ งของตา 3.Inner retinal layer : ชั้นเรตนิ า (retina) o เป็นช้ันในสุดของตา ประกอบด้วยจอตา (Retina) ซึ่งมีเซลล์ที่ไวต่อแสงสว่างเรียงตัวอยู่อย่างมี ระเบียบ ซึ่งเทียบช้ันนี้ได้กับฟลิ ์มของกล้องถ่ายรูป คือ รับทั้งภาพและสีต่างๆ มี เซลล์รับแสง (photoreceptor) รูปร่าง 2 แบบ คือเซลล์รูป แท่ง (rod cell) และเซลลร์ ปู กรวย (cone cell) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล o ภายในช่องหน้าเลนส์และหลังเลนส์จะมีน้าเลี้ยงลูกตาบรรจุอยู่ คือ น้าเลี้ยงลูกตาหน้าเลนส์ (aqueous humor) และน้าเล้ียง ลกู ตาหลงั เลนส์ (vitreous humor)ช่วยทาให้ตาคงสภาพอยไู่ ด้ และชว่ ยในการหกั เหของแสง 116

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 117

▪ การมองเหน็ เม่ือแสงผ่านเขา้ มาในลกู ตาและตกกระทบท่ีเรตินา เซลลร์ ูปกรวยและแท่งจะทาหนา้ ท่ีส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทชนั้ ตา่ งๆ ท่ีอย่ใู นเรตินาไปยงั Optic Nerve (CN 2) ซ่งึ ทอดทะลไุ ปสสู่ มองสว่ น Cerebral cortex เพ่ือแปลสญั ญาทให้ เราไดเ้ ห็นเป็นภาพ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 118

• นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้ว ย น้านม คน - ปรับโฟกัส โดยการเปล่ียนรูปร่างของ เลนส์ให้นนู หรือแบน โดยใช้ กล้ามเนื้อยึดเลนส์ (ciliary muscle หรือ ciliary body) แ ล ะ เ อ็ น ยึ ด เ ล น ส์ (suspensory ligament) • ปลา สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก งู และหมึก -ปรับโฟกัสโดยใช้หลักการของกล้องถ่ายรูป โดยการเลื่อนตาแหนง่ ของเลนสใ์ หใ้ กล้หรือไกลจากเรตินา จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 119

▪ การหกั เหแสง ก่อนท่ีแสงจะถงึ เรตนิ า จะตอ้ งเดินทางผ่านองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ดงั นี้ 1.Aqueous Body : เป็นของเหลวในลกู ตา มีลกั ษทะเป็นนา้ ใสๆ ถกู สรา้ งขนึ้ ตลอดเวลาโดย Ciliary body จะบรรจอุ ยใู่ นสว่ นของ Anterior chamber ท่ีอย่รู ะหวา่ งกระจกตาและมา่ นตา และอยใู่ นชอ่ ง Posterior chamber ซง่ึ อยหู่ ลงั มา่ นตา แตอ่ ยหู่ นา้ เลนส์ , Suspensory Ligament และ Ciliary body 2.แก้วตา/เลนสต์ า (Lens) : ชว่ ยใหแ้ สงหกั เหและรวมเป็นจดุ เดียวกนั และทาใหเ้ หน็ ภาพชดั เจนบนเรตนิ า (Retina) ลกั ษทะแกว้ ตาคือ มีผนงั โคง้ นนู ทงั้ สองดา้ น เป็นกอ้ นใส อยดู่ า้ นหลงั ของลกู ตาดา โดยมี Elastic Capsule หมุ้ อยู่ และท่ีขอบของแกว้ ตามีเอ็นยดึ เลนส์ (Suspensory Ligament) ยดึ อยู่ และอีกดา้ นยดึ ตดิ กบั กลา้ มเนือ้ ยดึ เลนส์ (Ciliary body/ciliary muscle) โดยลกั ษทะการทางานของกลา้ มเนือ้ จะแตกตา่ งกนั เม่ือมองวตั ถรุ ะยะท่ีแตกต่างกนั ดงั ภาพ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 120

3.Vitreous Body 121 : เป็นของเหลวในลกู ตา มีลกั ษทะเป็น เมือกใส อย่ภู ายในช่องส่วนหลงั ของลูกตา ทางดา้ นหลงั เลนส์ มีหนา้ ท่ีชว่ ยทาใหล้ กู ตา เป็นรูปกลมอยไู่ ด้ ข้อควรจา : โครงสรา้ งของตาท่ีชว่ ยใน การหกั เหแสง ไดแ้ ก่ กระจกตา (Cornea) , เลนสต์ า (Lens) และของเหลวในลูกตา (Aqueous และ Vitreous Body) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

การมองเห็นภาพในระยะไกลและระยะใกล้ มองวัตถุทร่ี ะยะใกล้ มองวัตถุทร่ี ะยะไกล สรุป - เม่อื มองวตั ถุท่อี ยู่ใกล้ กลา้ มเนอ้ื ยดึ เลนสจ์ ะหดตวั เอ็นยึดเลนสห์ ยอ่ น เลนสพ์ อง - เม่ือมองวตั ถทุ ี่อย่ไู กล กล้ามเนือ้ ยึดเลนส์จะคลายตวั เอ็นยึดเลนสต์ งึ เลนส์แบน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 122

o ตาของมนุษยเ์ ป็นอวยั วะรับสมั ผสั ทท่ี าหน้าทร่ี ับสัมผสั แสงเกย่ี วขอ้ งกบั การมองเห็น ตวั เซลลท์ ่ที าหนา้ ทีร่ ับแสงเรียกว่า photoreceptor ซึ่งจะอยู่ในสว่ นของเรตนิ า (retina) ในเรตนิ ามเี ซลล์ 2 ชนดิ คอื rod cell และ cone cell - ท้ัง rod cell และ cone cell เชื่อมอยู่ ด้วยเซลล์ประสาท 2 ขั้ว (bipolar) และ ganglion cell โดย rod cell หลายๆ เซลล์ จะเชอื่ มกบั ganglion เพยี งอันเดียว - เซลล์รบั แสงในชั้นเรตินาท้ัง 2 ชนิดจะทา หน้าที่คล้ายกัน คือเปล่ียนคล่ืนแสงให้เป็น กระแสประสาทสง่ ไปยงั สมอง o การเห็นภาพท่ีเกิดจากการเร้าเซลล์รูปแท่ง ได้แก่ แสงสลัว ภาพท่ี 123 เห็นจะเป็นภาพขาว-ดา ไม่เห็นรายละเอียด แต่ถ้าเป็นแสงสว่าง มากๆ จะเห็นภาพสีต่างๆ และมีรายละเอียด (ความชัดเจนข้ึนอยู่ ความเขม้ ของแสงและความถี่ของการเรา้ ) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 124

❑ เซลลร์ ปู แท่ง (Rod cell) เซลล์รูปแท่ง (Rod cell) : ทาหน้าที่รับแสงสลัว (แสงน้อย) ที่ไวมาก รับได้ เฉพาะภาพขาว-ดา (มีสารสีม่วงแดงชื่อโรดอปซิน (rhodopsin) เป็น pigment อยู่ด้านขา้ งเรตนิ า มีประมาณ 125 ลา้ นเซลล์ /ตา 1 ข้าง - ภายในมีรงควตั ถุ Rhodopsin เป็นสารโปรตีนท่ีมีสีม่วงแดง ซ่งึ เกิดจากการรวมตวั ของ Opsin + Retinene โดยถา้ ถกู แสง สจี ะจางลงเพราะเกิดการแยกตวั จากกนั ของ Opsin และ Retinene และทาใหม้ ีกระแสประสาทสง่ ออก มา และถา้ มีแสง Opsin และ Retinene ก็จะรวมตวั กนั ไดอ้ ีก - การรบั แสงของเซลลร์ ูปแท่งขนึ้ อยกู่ บั ปรมิ าทของ Rhodopsin ท่ีจะแตกตวั เป็น Opsin และ Retinene - Vitamin A (Retinol) เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ในการสรา้ ง Retinene ถา้ ขาด Vitamin A จะสง่ ผลใหม้ ี Retinene นอ้ ย ทาให้ Rhodopsin นอ้ ยตาม รบั แสงจา้ ไดไ้ มด่ ี เป็นโรคตาฟาง หรอื ตาบอดกลางคืน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 125

❑การเปลีย่ นแปลงของโรดอปซินในเซลลร์ ปู แท่ง ✓ เยือ่ หุม้ เซลลร์ ูปแทง่ มีสารสีม่วงแดงชื่อโรดอปซิน(rhodopsin) ประกอบดว้ ยโปรตนี ชื่อ opsin + retinol ซง่ึ ไวตอ่ แสง ✓ ถา้ มแี สง=> retinol จะไม่เกาะกบั opsin ทาให้กระแสประสาทส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ ท่ี 2 ให้แปลเปน็ ภาพ ✓ ถ้าไม่มแี สง => opsin และ retinol จะรวมตัวกันเป็น rhodopsin ใหม่ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 126

o ขณะท่ีคนใช้สายตามองสิ่งต่างๆ จะมีการสลายโรดอปซินเป็นทรานส์-เรตินาล และออปซิน ซึ่งจะเกิด กระแสประสาทส่งไปยังสมอง (แตจ่ ะต้องมีการสร้างโรดอปซนิ มากกวา่ การสลาย มฉิ ะนั้นตาจะพรา่ มวั ) o คนท่ีตาได้รับแสงสว่างจ้าเป็นเวลานาน การรับภาพจะเส่ือมลง รู้สึกตาพร่าเพราะสารโรดอปซิน สลายตัวมากกว่าการสร้าง ต้องพักสายตาโดยการหลับตา หรืออยู่ในท่ีมืดสักครู่เพื่อให้มี การสงั เคราะห์โรดอปซนิ มากกว่าการทาลาย จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 127

❑ เซลลร์ ปู กรวย (Cone cell) เซลล์รูปกรวย (Cone cell) : ทาหน้าที่บอกความแตกต่างของสีได้ ต้องการ แสงสว่างมาก (มีสารชื่อ iodopsin เป็น pigment มีประมาณ 7 ล้านเซลล์/ตา 1 ขา้ ง มี 3 ชนิด คือ ชนดิ ท่รี ับภาพสีแดง เขียว นา้ เงนิ - ภายในมีรงควตั ถุ Iodopsin มีความไวต่อแสงสีแดงมาก ประกอบดว้ ย Photopsin และ Retinene ซง่ึ จะทางานไดด้ กี ็ตอ่ เม่ือมีแสงมาก - เซลลร์ ูปกรวยแบง่ เป็น 3 ชนิด ตามชนิดรงควตั ถทุ ่ีรบั สี คือ สีแดง นา้ เงนิ เขียว ดงั นนั้ ตาคนเราจะรบั สหี ลกั ได้ 3 สี เท่านนั้ การท่ีเรามองเหน็ สีตา่ งๆ มากมาย เกิดจากการกระตนุ้ เซลลร์ ูปกรวยแตล่ ะสพี รอ้ มๆ กนั ในความเขม้ ขน้ ท่ี แตกตา่ งกนั จงึ เกิดการผสมสตี า่ งๆ ขนึ้ - ถา้ หากเซลลร์ ูปกรวยสใี ดสีหน่งึ เกิดพิการหรอื เสียไป จะทาใหเ้ กิดตาบอดสี (Color blindness) และเป็น ลกั ษทะทางพนั ธกุ รรม ถา้ เซลลร์ ูปกรวยสเี ขียวเสยี ไป ถา้ มีแสงสเี ขียวเขา้ ตา จะทาใหเ้ ห็นเป็นสีอ่ืนไม่ใชส่ เี ขียว เรยี กว่า ตาบอดสีเขียว จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 128

COMPARATIVE TABLE about Cone cell vs.Rod cell ชนิด มี 3 ชนิด (นา้ เงนิ เขียว แดง) มีเพยี ง 1 ชนิด (ไวตอ่ แสงสีเขียว แยก ภาพสแี ละเหน็ รายละเอยี ด สีไม่ได้) ภาพทเี่ หน็ ภาพขาว-ดา ไม่เหน็ รายละเอยี ด จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 129

การมองเห็นวตั ถุ o ตาของมนุษย์ถูกเร้าได้จากคล่ืนแสงในช่วง จากัด spectrum ที่ตาสามารถมองเห็นได้ (visible spectrum) อยู่ในช่วง 397-723 มิลลิไมครอน ▪ คลน่ื ทม่ี คี วามถี่ตา่ กวา่ ▪ คลน่ื ทม่ี ีความถี่สูงกวา่ visible spectrum (แดง) visible spectrum (มว่ ง) radio radar infrared ultraviolet X-rays gamma rays wave rays 130 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

o เรตินาภายในนยั น์ตาของคน จะมเี ซลลร์ บั แสงรปู กรวย (cone cell) 3 ชนดิ คือ โคนน้าเงนิ (blue cone) โคนเขยี ว(green cone) และโคนแดง (red cone) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล ภาพแสดงประสทิ ธภิ าพในการดดู ชว่ งคลื่นของเซลลร์ ปู กรวยแมส่ ี 3 ชนิดในเรตนิ 1า31ของคน

o ความสามารถในการดดู คล่ืนแสงของเซลล์รูปกรวยแม่สี จะมีจุดสูงสุดในการดูด โคนแดง = น้าเงิน → มว่ ง คล่ืนแสงท่ีความยาวคล่ืน 430 , 535 และ 575 มิลลิไมครอน ในโคนสีน้าเงิน โคนแดง = เขียว → เหลือง เขียว และแดง ตามลาดับ ซึ่งเซลล์รูปกรวยแต่ละชนิดมีความไวต่อแสงเฉพาะ โคนแดง = 2เขยี ว → ส้ม อย่างเป็นพิเศษ o ถ้าเซลลร์ ูปกรวยแม่สีใดถูกกระตุ้นเพียงชนิดเดยี ว ระบบประสาทก็จะแปลว่า เหน็ ภาพเป็นสีนั้น ถา้ กระตุ้นพรอ้ มๆ กันทง้ั 3 ชนิดและในความเข้มข้นเท่าๆ กนั กจ็ ะเห็นเปน็ สขี าว ถ้าคู่ใดถกู เรา้ สที ีแ่ ปลออกมาจะเป็นสีผสมของแม่สีนัน้ ๆ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล ถ้าแสงหายหรอื ไมถ่ กู เรา้ → ดา 132

❑ ตาบอดสี (color blindness) เกิดจากเซลล์รูปกรวยแม่สีชนดิ ใดชนดิ หน่งึ เสยี ไป เช่น ถ้าโคนสีแดง (red cone) เสียไป ก็จะตาบอดสีแดง ส่วนใหญ่มักเกิดจากกรรมพันธุ์ ทดสอบได้โดยแผ่นทดสอบท่ีมีตัวเลข ซ่อนอยู่ในจุดสีต่างๆ เปรอะเต็มทั้งแผ่น (คนสายตาปกติอ่านได้ตัวเลขหน่ึง ในขณะท่ีคน ตาบอดสจี ะอ่านเป็นอกี ตัวเลขหน่งึ ทาใหแ้ ยกความแตกตา่ งได้) o ชาย 20 คน จะตาบอดสี 1 คน o หญงิ 200 คน จะพบตาบอดสี 1 คน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 133

Color blindness Test จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 134

▪ โดยปกตเิ รตนิ าจะมเี ซลลร์ ปู แทง่ มากกวา่ เซลลร์ ปู กรวย แตม่ จี ดุ ทส่ี าคญั 2จดุ คอื 2. จุดโฟเวีย (Fovea Spot) : เป็นจดุ ท่ีมองเห็นภาพชดั ท่ีสุด อยู่บริเวทตรงกลางเรตินา โดยมีเซลลร์ ูปกรวยมากกว่าเซลลร์ ูปแท่ง 1. จดุ บอด (Blind Spot) : เป็นจดุ ท่ีมองไม่ เหน็ ภาพเพราะเป็นขวั้ ประสาทตา (ไมม่ ีทงั้ Rod เรยี ก จดุ สีเหลือง (Yellow Spot) ถา้ อย่บู รเิ วทหลงั สดุ ของเรตินา cell และ Cone cell อย่เู ลย) ถา้ แสงสะทอ้ น โดยเม่ือแสงสะทอ้ นจากวตั ถมุ าตกลงบนจดุ นีจ้ ะทาใหม้ องเห็นภาพได้ จากวตั ถมุ าตกลงตรงจดุ นีเ้ ราจะมองไมเ่ ห็นภาพ ชั ด เ จ น ท่ี สุ ด ส่ ว น บ ริ เ ว ท จุ ด สี เ ห ลื อ ง จ ะ มี ส า ร สี เ ห ลื อ ง Xanthophyll ชว่ ยปอ้ งกนั จอตาสว่ นนีจ้ ากแสงแดด - ถา้ แสงตกท่ีจุดบอด (blind spot) จะไม่เหน็ อะไรเลยเพราะจดุ ดงั กลา่ วไม่มีเซลลร์ ับแสงสว่าง ทงั้ เซลลร์ ูปแทง่ และเซลลร์ ูปกรวยอยเู่ ลย (เน่ืองจากเป็นท่ีอยขู่ องเสน้ ประสาทตา) - ถา้ แสงตกท่ีจดุ โฟเวยี (fovea) จะเหน็ ภาพไดช้ ดั เจนท่ีสดุ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 135

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 136

o สัตว์หากนิ กลางคนื เช่น นกฮูก นกเค้าแมว แมว กระตา่ ย ภายในชั้นเรตนิ า จะมีเซลล์รูปแท่ง (rod cell) อยู่จานวนมาก จึงสามารถมองเห็นส่ิงต่างๆ ไดด้ ใี นแสงสลวั หรือในคนื ท่ีเกอื บมดื สนทิ o พวกทีอ่ าศยั อยู่ในดินหรือในถา้ มดื ๆ เชน่ งดู นิ จะไม่พบตาที่รบั ภาพเลย o ความแม่นยาในการรับภาพมีความสาคัญมากต่อพวกล่าเหย่ือที่ใช้สายตา เช่น เหยี่ยว มีโฟเวีย (fovea) ขนาดใหญ่ในลูกตาแต่ละข้าง 2 แห่ง สามารถมองเห็น ขนของหนูบนพ้ืนดนิ ขณะอยู่หา่ งเปน็ ไมล์ได้อยา่ งชัดเจน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 137

o นัยน์ตาของคนเรามีจุดบอด แต่การท่ีเราไม่ o สาหรับสัตว์พวกนก และสัตว์เล้ียงลูก รู้สึกเพราะคนเรามองส่ิงต่างๆ โดยใช้ระบบ ด้วยน้านมบางชนิด ใช้การมองในระบบ 2 ตา (binocular vision) แสงอาจตกอยู่ท่ี ตาเดียว (monocular vision) จุดบอด จุดบอดของนัยน์ตาข้างหน่ึง แต่อีกข้างหนึ่ง จึงมีความสาคัญมากเพราะอาจทาให้ อาจตกตรงทม่ี องเห็นไดช้ ัดเจน มองไม่เห็นในขณะน้ัน สัตว์จะแก้ปัญหา โดยการเหลอื กตาหรือเอยี งหวั ไปมา จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 138

ความผดิ ปกตขิ องนยั นต์ าคน o สายตาสนั้ (Myopia หรอื Nearsighted) เกิดจากกระบอกตายาวรี กว่าปกติ หรือเลนสน์ ูนหรอื โคง้ เกินไป แกไ้ ขโดยใชแ้ วน่ ซง่ึ ทาด้วยเลนสเ์ ว้า จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 139

ความผดิ ปกตขิ องนยั นต์ าคน o สายตายาว (Hypermetropia หรือ Farsighted) เกิดจากกระบอกตาสน้ั กวา่ ปกติ หรือเลนสอ์ าจแบนเกินไป มกั เกดิ กบั คนสงู อายุ แก้ไขโดยใชแ้ ว่นซ่งึ ทาด้วยเลนสน์ นู จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 140

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 141

ความผดิ ปกติของนยั นต์ าคน o สายตาเอียง (Astigmatism) เกิดจากกระจกตาไม่เรียบ ความโค้งของ กระจกตาดา หรอื เลนส์ภายในลกู ตาผิดปกตใิ นแนวใดแนวหน่ึง ในรอบวงกลม มีจุดรวมแสงไม่เป็นจุดรวมภาพ ภาพจึงมัวและไม่ชัดในแนวใดแนวหนึ่ง แก้ไขโดยใชเ้ ลนสร์ ปู ทรงกระบอกหรอื เลนสก์ าบกล้วย เพ่ือแก้ปัญหาการหักเห ของแสง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 142

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 143

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล หมายเหตุ : ปัญหาเนื่องจากกระจกตาแก้ไขได้ แตเ่ ลนสต์ าแก้ไขไม่ได1้44

▪ โรคเกย่ี วกบั สายตา (เพม่ิ เตมิ ) 1.โรคต้อกระจก : เกิดจากเลนสแ์ กว้ ตาเส่ือม ทาใหเ้ ลนสแ์ กว้ ตาข่นุ มวั ส่งผลใหก้ าลังหกั เหของ ตอ้ กระจก แสงผิดไป ตลอดจนขดั ขวางไมใ่ หแ้ สงเขา้ ตา โรคนีพ้ บมากในผสู้ งู อายุ ทาใหม้ องเหน็ ไม่ชดั 2.โรคต้อหิน : เป็นตอ้ ท่ีอนั ตรายท่ีสดุ เพราะทาใหต้ าบอดได้ เกิดจากความผิดปกติของการไหลเวียนของนา้ เลี้ยงภายในชอ่ ง ลกู ตา จึงทาใหค้ วามดนั ของลกู ตาสงู ถึงประมาท 30-70 mmHg ทาใหป้ วดลกู ตามาก ประสาทตาอาจถกู ความดนั ของนา้ ดนั จนฝ่อสลายไป โดยคนปกติมีความดนั ลกู ตาประมาท 15-20 mmHg 3.โรคต้อเนื้อ : เกิดจากการมีเนือ้ เย่ือมาสะสมบนกระจกตา ตอ้ งรอให้ เป็นมาก แพทยจ์ งึ จะทาการผ่าตดั ออกให้ (ตอ้ งไปลอกออกตลอดชีวิต) 4.โรคต้อลม : เกิดจากฝ่นุ ท่ีมาตามลม สามารถรกั ษาหายได้ ตอ้ หนิ ต้อเนอื้ o ตาเข (Strabismus) อาการท่ีตา 2 ข้าง o ตาบอดกลางคืน (Nyctalopia) ร่างกายขาด Vit.A ไม่อยู่ในแนวตรง แต่ตาดาจะเฉียงเข้าหา จึงทาให้โรดอปซินต่า พลังงานแสงสลัวไม่สามารถทาให้ เกิดการสลายโรดอปซินในเซลล์รูปแท่ง จึงไม่เกิดกระแส ตาเข หรือออกทางด้านหางตา ประสาทส่งไปยงั สมอง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 145

สตั วแ์ ต่ละชนิดมีความสามารถในการตอบสนอง 146 ตอ่ แสงแตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ ❑ ยูกลีนา เป็นโปรติสตข์ นาดเลก็ มีจดุ ตาสแี ดง (eye spot) เป็นจดุ ท่ีทาหนา้ ท่ีรบั แสงสว่าง แตย่ งั แยกคล่นื แสงตา่ งๆ หรือรบั ภาพไมไ่ ด้ ❑ ไส้เดือนดิน มีเซลลท์ ่ีไวต่อแสงสว่างท่ี ผิวหนัง สามารถทราบไดว้ ่าแสงสว่าง มาจากทิศใด และจะหนีไปในทิศ ทางตรงขา้ มทนั ที ❑ ผ้ึง ไม่สามารถรบั แสงสีแดงได้ น่นั คือ นยั นต์ าของผึง้ ไม่สามารถรบั ความถ่ีของคล่ืนแสงสีแดง แต่สามารถตอบรับต่อแสงเหนือม่วง (ultraviolet) ซง่ึ ตาของมนษุ ยต์ อบรบั ไมไ่ ด้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

❑ หอย (บางชนิด) หมึก กงุ้ ปู และแมลง มีอวยั วะรบั แสงเจรญิ ดีขนึ้ คือนอกจากจะรบั แสงแลว้ ยงั สรา้ ง ภาพไดอ้ ีกดว้ ย นยั นต์ าของสตั วพ์ วกนี้ (ยกเวน้ หอย) จดั เป็นตาประกอบ (compound eye) ซ่งึ ประกอบดว้ ยหน่วยรบั แสงเลก็ ๆ เป็นเลนสเ์ ด่ียวๆ เรยี กว่า ommatidium จานวนมาก Compound Eye จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 147

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 148

o ตาของมนุษย์ สามารถจบั ภาพการเคลื่อนไหวของวตั ถุที่มีความถ่ีประมาณ 40-50 รอบ/วินาที (เห็นภาพยนตร์เป็นภาพต่อเน่ืองไม่ขาดตอน) แต่ตาของแมลงสามารถจับภาพที่เคล่ือนท่ีด้วย ความถี่ถงึ 330 รอบ/วนิ าที ซงึ่ มปี ระโยชน์ในการหาเหย่อื และหนีศตั รู จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 149

• นัยน์ตาเป็นอวัยวะที่สาคัญ และมีคุณค่าต่อเราทุกคน จึงควรถนอมนัยน์ตา โดยเฉพาะคนที่ใช้สายตา มากๆ หรือทางานท่ีใช้แสงจ้ามากๆ เช่น พิธีกรรายการทีวี ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ช่างเชื่อม ดิสโก้เทคที่มี ไฟกระพริบตลอดเวลา ซึ่งมีอันตรายต่อนัยน์ตา ดังนั้นจึงควรหาวิธีป้องกันหรือหลีกเลี่ยงอันตราย ดงั กลา่ ว เพือ่ ถนอมนัยนต์ าไว้ใชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและนานทีส่ ดุ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 150