2 The Ear : หู • หกู บั การไดย้ ิน & การทรงตวั 151 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
The Ear : หู - มีส่งิ เรา้ คอื คลน่ื กล (Mechanoreceptor) ทาหนา้ ท่ีในการรับเสียงและทรงตัว ▪ โครงสรา้ งของหู 1. ใบหู (Pinna) 2. ชอ่ งห/ู รูหู (Auditory canal) 3. เยอื่ แก้วหู (Ear drum /Tympanic membrane) 4. ทอ่ ยูสเตเซยี น(Eustachian tube) 5. กระดกู ค้อน(Malleus) 6. กระดูกท่งั (Incus) 7. กระดูกโกลน(Stapes) 8. คอเคลีย(Cochlea) 9. CN 8(auditory nervous) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล แบง่ ออกเป็น 3 ชน้ั จากดา้ นนอกเขา้ ไปดา้ นใน ดังน้ี 152
1.หูชั้นนอก : ประกอบดว้ ย ใบหู (Pinna/auricle) เป็นแผ่นกระดกู อ่อนท่ีทาหน้าท่ี รวบรวมคล่นื เสียงและส่งเขา้ รูหู (Ear canal/Auditory canal) หรอื เรยี ก ไดว้ ่าเป็นช่องรบั เสียงจากภายนอกอันเป็นทางเดินของเสียงเขา้ สู่หูน่ันเอง มี ลกั ษทะเป็นทอ่ ขดรูปตวั S 2.หชู ั้นกลาง : มีลกั ษทะเป็นโพรงตดิ ตอ่ กบั โพรงจมกู มีองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ดงั นี้ o เย่อื แก้วหู (Eardrum/Tympanic membrane) – ประกอบดว้ ยเสน้ ใยท่ีมีความยาว ต่างกนั ทาใหส้ ่นั สะเทือนตามเสียงท่ีสง่ เขา้ มาจะแปลงเสียงเป็นแรงส่นั สะเทือนไปยังกระดกู หู มีต่อม ขีผ้ งึ้ มาเคลอื บช่องหไู ม่ใหเ้ ย่ือแกว้ หเู ป็นอนั ตราย o กระดกู หู 3 ชนิ้ วางตอ่ เน่ืองกนั (สตั วม์ ีกระดกู สนั หลงั อ่ืนๆ มีเพียงชิน้ เดียว) คือ กระดกู คอ้ น (malleus/hammer) กระดกู ท่งั (incus/anvil) และกระดกู โกลน (stapes/stirrup) ทาหนา้ ท่ีสง่ และขยายคล่นื เสยี งใหม้ ีความส่นั สะเทือนหรอื ความดงั มาก ขนึ้ จากนนั้ จงึ ผา่ นเขา้ หนา้ ตา่ งรี (oval window) ซง่ึ มีผนงั ท่ียืดหยนุ่ ไดเ้ พ่ือเขา้ สคู่ อเคลยี (cochlea) คลน่ื เสยี งทีเ่ กดิ จากการสนั่ สะเทือนของกระดูกหู 3 ชน้ิ จะส่งผ่านเข้าสู่หูสว่ นใน โดยมคี วามถ่ขี องคลืน่ เสียงสงู กวา่ ทห่ี ูตอนนอก 22 เทา่ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 153
o ทอ่ ยสู เตเชียน (Eustachian tube) – อย่ตู ่อกบั คอหอย (pharynx) มีหนา้ ท่ี ปรบั ความดนั ระหวา่ งหชู นั้ นอกกบั ชนั้ กลางใหเ้ ท่ากนั เป็นการปอ้ งกนั การฉีกขาดของเย่ือ แก้วหู (ถ้าระดบั ความดันไม่เท่ากัน เราจะรูส้ ึกหูอือ้ เพราะเย่ือแกว้ หูส่นั สะเทือน ถ้า ส่นั สะเทือนมากจะรูส้ กึ ปวดหู แกโ้ ดยอา้ ปากช่วั ขทะหนง่ึ ) กระดกู หู 3 ชิ้น จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 154
3.หชู น้ั ใน : ตอ่ จากหสู ว่ นกลาง มีองคป์ ระกอบท่ีสาคญั 2 สว่ น คอื สว่ นท่ีรบั ฟังเสยี ง กบั สว่ นท่ีทรงตวั 3.1 ส่วนทรี่ บั ฟงั เสยี ง o คอเคลีย (Cochlea) – เป็นท่อขดรูปก้นหอยทาหน้าท่ีรับ สญั ญาทเสียงและส่งกระแสประสาท ภายในมีของเหลวคลา้ ยนา้ เหลือง เรยี กวา่ perilymph อย่เู ตม็ เพ่ือใหเ้ กิดการส่นั สะเทือนภายในคอเคลีย มีเซลลร์ บั คล่ืนเสียงอย่เู ป็นแถวเรยี กว่า อวัยวะของคอรต์ ิ (organ of Corti) และมีเซลลข์ น (hair cell) มากมายซ่งึ ไวต่อการส่นั สะเทือน มาก ทาใหเ้ กิดกระแสประสาทขึน้ แลว้ จึงส่งไปตาม auditory nerve (CN 8) เพ่ือสง่ ตอ่ ไปยงั สมอง organ of Corti จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 155
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล ▪ หูส่วนใน : สว่ นทเ่ี กย่ี วกบั การไดย้ นิ : ภายในหมู ีเซลลข์ น (Hair cell) เป็น cilia ท่ีรบั การ ส่นั ไหว คือ เม่ือเกิดการส่นั สะเทือนของอนุภาค หูจะรบั เสียงโดยผ่านการขยายสญั ญาทเสียงของหชู นั้ นอก ท่ีส่ง แรงส่นั มาถึงเย่ือแกว้ หู และกระดกู หทู งั้ 3 ชิน้ ท่ีสามารถ ขยายสญั ญาทเสียงไดป้ ระมาท 17-22 เท่า และส่ง ต่อมาท่ีคอเคลีย ซ่ึงมีลักษทะเป็นท่อม้วนตัวคลา้ ยก้น หอย โดยภายในคอเคลียมีของเหลวบรรจุอยู่ เม่ือคล่ืน เสียงผ่านเขา้ มาจนถึงคอเคลีย ของเหลวในคอเคลียจะไป ส่นั เซลลข์ นในคอเคลีย เซลลข์ นจะแปรความส่นั สะเทือน เป็นกระแสไฟฟ้าและส่งไปยงั เสน้ ประสาท กระแสไฟฟ้า จะเดินทางผ่านเสน้ ประสาท CN 8 และสง่ ไปท่ีสมอง 156
o ยาบางชนดิ เช่น สเตรปโตมัยซนิ ทานามัยซนิ โรคซฟิ ิลสิ มผี ลทาลาย เสน้ ประสาทรบั เสียงและการทรงตัว ส่งผลกระทบตอ่ การได้ยิน (ไม่ควร ใชไ้ ม้หรอื เหลก็ แคะหู) ▪ การสญู เสยี การไดย้ นิ ❑ การนาเสยี งบกพร่อง (Conduction Hearing Loss) : เกิดจากเสียงไม่สามารถผ่านหชู นั้ นอกเขา้ ส่หู ชู นั้ ในได้ ซ่ึงมกั เป็น ผลมาจากช่องหถู กู กีดขวางดว้ ยขีห้ ู หรอื ของเหลวอนั เกิดจากการติดเชือ้ เช่น เลือดและหนอง นอกจากนี้ อาจเกิดจากแกว้ หทู ะลุ รวม ไปถงึ ความผิดปกติของกระดกู หดู ว้ ย เชน่ คนหหู นวก (Deafness) เกิดจากการติดเชือ้ ทาใหก้ ระดกู หู 3 ชิน้ (Ossicles) ละลาย ❑ การรับเสียงบกพร่อง (Sensory Hearing Loss) : เกิดจากการทางานผิดปกติของคอเคลีย ผปู้ ่ วยอาจจะไดย้ ินเสียง บางสว่ น หรอื ไมไ่ ดย้ ินเสยี งเลย ขนึ้ อย่กู บั เซลลข์ น cilia ว่าถกู ทาลายไปเพยี งใด ❑ เส้นประสาทบกพร่อง (Neural Hearing Loss) : เสน้ ประสาทท่ีเช่ือมตอ่ จากคอเคลียไปสมองถกู ทาลาย จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 157
เม่อื กอ้ นหินปูน (statolith) เลก็ ๆ เคลื่อนทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ คลน่ื ของน้า endolymph ซึง่ จะไปกระทบ hair cell เกดิ การส่งกระแสประสาทตอ่ ไปยงั เสน้ ประสาทสมองคู่ท่ี 8 (auditory nerve) คอเคลยี (cochlea) เปน็ ระบบท่อทีม่ ว้ นตวั คลา้ ยกน้ หอย ถา้ ตัดตามขวางจะพบวา่ มี 3 ชอ่ งติดต่อกัน คือช่องบน (scala vestibuli) ช่องกลาง (scala media) และชอ่ งล่าง (scala tympani) ระหวา่ งชอ่ งกลางกับชอ่ งล่างมีเย่อื กน้ั เรยี กวา่ basilar membrane ซ่ึงผวิ จะมเี ซลลท์ าหน้าทร่ี ับเสยี ง เรียกว่าอวัยวะของคอรต์ ิ (organ of Corti) ซึ่งมี ประมาณ 24,000 เซลลใ์ นทอ่ คอเคลยี อันหนึ่งๆ และในอวยั วะของคอรต์ ิจะมเี ซลล์ทีไ่ วต่อเสียงเรยี กว่า hair cell ซง่ึ ทาใหเ้ กิดกระแสประสาทเมอ่ื ถกู เรา้ ด้วยเสียง เมอื่ มคี ล่นื เสยี งมากระทบเยอ่ื แกว้ หู จะมีความสัน่ สะเทอื นผ่านกระดกู ค้อน กระดกู ทงั่ และกระดกู โกลน เขา้ สู่ scala vestibuli ทางเยอื่ หน้าต่างรี (oval window) ทาใหข้ องเหลวภายในสั่นสะเทอื น ทาใหไ้ ปดันของเหลวใน scala media ทาใหค้ วามดันใน cochlea สงู ข้ึน ดันหน้าตา่ งกลม (round window) ใหโ้ ป่งออกมาขา้ งนอก เมือ่ เยอ่ื เบซลิ าร์ ถกู ทาให้สัน่ สะเทือนจะมีผลไปกระตนุ้ ปลายขนของ hair cell เกดิ คลน่ื ประสาทซ่ึงเปน็ สญั ญาณไฟฟ้าเคมี มกี าร ถ่ายทอดต่อไปตามเสน้ ประสาทสมองคู่ท่ี 8 จนถงึ สมองบริเวณขมับ ซงึ่ จะรับและแปลคลื่นเสยี งนน้ั ๆ ออกมาวา่ เป็นอะไร เสียง → เยื่อแกว้ หู (สัน่ สะเทอื น) → กระดูกหู (เคลอ่ื นไหว) → Oval window (เคลือ่ นไหว) 158 → basilar membrane (เคล่อื นไหว) → Round window (เคลอื่ นไหว) → CN8 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
3.2 สว่ นทท่ี รงตวั Thalamus Cerebrum o Semicircular canal – ทาหนา้ ท่ีเก่ียวกบั การทรงตวั 159 ของร่างกาย เป็นท่อยาวรูปคร่ึงวงกลม 3 ท่อตั้งฉากกัน ภายในหลอดมีของเหลว endolymph และกอ้ นหินปนู statolith หรอื otolith บรเิ วทโคนหลอดจะโป่ งพอง ออกมา เรียกว่า แอมพูลา (Ampulla) ซ่ึงมีเซลล์ขน (Hair cell) อย่ภู ายในท่ีไวตอ่ การไหลของของเหลวภายใน หลอดท่ีเปล่ียนแปลงไปตามการเคล่ือนไหวตามตาแหน่งของ ศีรษะ การเอียงตวั หมนุ ตวั ของรา่ งกาย ทาใหข้ องเหลวไหลไป กระทบกบั Hair cell เกิดกระแสประสาทส่งไปตาม เสน้ ประสาทท่ีออกจาก Semicircular canal รวมกบั เสน้ ประสาท Cochlea และออกไปรวมกบั เสน้ ประสาทรบั เสยี งเพ่ือเขา้ CN 8 ต่อไป และไปท่ีสมอง Auditory nerve (CN 8) Pons Midbrain จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
▪ เร่ือง... ชว่ งความถขี่ องคลนื่ เสยี งทไี่ ดย้ นิ : ส่ิงมีชีวติ ตา่ งๆ จะมีความสามารถในการรบั เสียงท่ีมีความถ่ี ต่างกัน ทาให้สัตว์ต่างๆ สามารถได้ยินเสียงท่ีมนุษย์ไม่ สามารถไดย้ ิน ดงั นี้ - ความสามารถในการได้ยินเสยี งในระดับความถี่ต่างกนั นี้ ขน้ึ อยู่กับคณุ ภาพของ hair cell o คา้ งคาวมใี บหูขนาดใหญ่ สามารถรับคลนื่ เสยี งซึ่งมีความถ่ีสงู ถงึ 1 แสนรอบตอ่ วินาที 160 ซึง่ หขู องคนเราไม่ได้ยนิ โดยค้างคาวจะปล่อยเสียงอัลตรา้ ซาวน์ออกไปและสะทอ้ น กลบั มาทาให้ทราบถงึ สิ่งกีดขวางหรอื อาหารว่าอยทู่ ี่ใดขณะบิน หรอื กลา่ วไดว้ า่ คา้ งคาวใช้เสียงหาสถานที่และทาหน้าทแ่ี ทนตา การใชเ้ สียงสะทอ้ นของคา้ งคาวเพ่อื หาสถานท่ี เรยี กว่า Echolocation จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 161
การไดย้ นิ เสยี งในสตั วช์ นดิ อน่ื lateral line ในสัตว์มกี ระดูกสนั หลังชน้ั ต่า เช่น ปลา ทอ่ คอเคลียยงั ไม่เจริญ แต่จะมี ลักษณะเหมือนเปลือกหอยฝาเดียว แต่ปลามีเสน้ ขา้ งลาตวั (lateral line) สาหรบั ตอบรบั คลืน่ เสยี งและการสน่ั สะเทือนที่มีความถต่ี ่า o กบ ยังมีส่วนของคอเคลียเจรญิ ไม่ดี สาหรบั 162 สัตว์เลือ้ ยคลานเจรญิ ดขี นึ้ แต่ยังมขี นาดเล็กอยู่ o งู มีคอเคลยี รับฟังเสยี งซ่งึ มาจากพน้ื ดิน เสยี งที่มาใน อากาศยงั รับฟังไมไ่ ดเ้ พราะไมม่ ีแกว้ หู ดงั นัน้ เสียงจงึ ผ่านทางกะโหลกศีรษะเขา้ สคู่ อเคลีย จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
o ความดงั ของเสยี งตา่ สดุ ทหี่ ูของคน สามารถรับได้คือ 0 dB และสูงสดุ คอื 120 dB o องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ กาหนดค่าความดังมาตรฐานของ เสยี งไม่เกิน 85 dB ทท่ี ุกๆ ความถ่ี วนั ละ 8 ชัว่ โมง หรอื ดงั เกิน 100 dB ทที่ กุ ความถี่ 1 ช่วั โมง จะมีผล ทาใหเ้ กดิ อารมณเ์ ครียด เหนอื่ ย ง่าย เวยี นศีรษะ หัวใจเต้นเรว็ เกดิ โรคจติ ได้ o ตามระบบรายงานขององค์การพทิ กั ษ์ สิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา (EPA) รายงานว่า ผู้ที่ได้รับเสยี งดงั ตลอด 24 ช่วั โมง เฉล่ยี เกนิ 70 dB จะทาให้เกดิ อาการหตู ึงในเวลา 40 ปี o ความดงั ของเสียงเกินมาตรฐาน เช่น จากเคร่ืองบินพาณิชย์ 120 dB รถบรรทุก 90-92 dB โรงงานผลิตแปรรูปเหล็ก 91-102 dB (ถ้าได้รบั เสยี งท่ีมคี วามเขม้ สูงเป็นเวลานานจะเกิดอนั ตรายต่อการรบั ฟงั ได้) จึงต้องมีการป้องกนั อนั ตรายจากเสียงดัง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 163
3 The Nose : จมูก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 164
The Nose : จมูก - มีส่งิ เรา้ คือ โมเลกุลกลน่ิ (Chemoreceptor) ทาหนา้ ท่ีในการรบั กล่นิ จมกู แบง่ เป็น 3 ส่วนดังน้ี 1.สว่ นเวสตบิ ลู าร์ (vestibular region) เปน็ ส่วนแรกของลมหายใจ ภายในมขี นจมูกสาหรับกรองฝุน่ ละออง และตอ่ มน้ามนั 2.ส่วนหายใจ (respiratory region) ภายในมีตอ่ มเมือกและหลอเลอื ดฝอย 3.ส่วนดมกลนิ่ (olfactory region) ภายในมเี ซลล์รับกลน่ิ (olfactory cell) ติดตอ่ กบั ออลแฟกทอรบี ลั บ์ (olfactory bulb) และเสน้ ประสาทสมองคู่ท่ี 1 ทาหน้าที่เก่ียวกับการรบั กล่ิน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 165
ภายในจมกู จะมีเซลลร์ ับกลนิ่ (Olfactory cell) ท่ีสามารถเปล่ยี นสารท่ีทาใหเ้ กิดกล่นิ เป็นกระแสประสาท และสง่ ไปตาม เสน้ ประสาทรบั กล่นิ ไปยงั สมองสว่ น Olfactory bulb และจะสง่ ขอ้ มลู ไปแปลผลท่ีสมองสว่ น Cerebrum โดยไม่ผา่ น Thalamus Olfactory nerve (CN 1) Olfactory bulb Olfactory tract Cerebrum ▪ ในโพรงจมูกจะมีเมือก (mucous) ทาให้เยื่อบุโพรงจมูกเปียกชื้นอยู่เสมอและเมือกเป็นตัวทาลายกลิ่นต่างๆ สิ่งกระตุ้นท่ีจาเป็นสาหรับการรับกล่ินคือ เป็นสารเคมีท่ีระเหยได้ ละลายน้าได้เล็กน้อยเพ่ือผ่านเยื่อเมือกเข้า ไปยังเซลล์รับกล่ิน (olfactory cell) และต้องละลายได้เร็วในไขมัน เพราะปลายนอกของเซลล์ประสาทรับ กลนิ่ สว่ นใหญ่ประกอบด้วยสารพวกไขมัน เซลล์รับกลิ่นเป็นเซลล์ประสาทที่ฝังตัวแทรกอยู่ในโพรงจมูก (olfactory epithelium) ตอนบน ซึ่งใยประสาทของเซลล์รับกลิ่นนี้จะไปติดต่อกันเป็น เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 1 (olfactory nerve) ในท่ีสุดกระแสประสาทจะส่งถึง cerebrum ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการดมกล่ิน สตั วบ์ างชนดิ ทไ่ี วตอ่ การรบั กลนิ่ มาก เช่น สุนัข 166 จะมีเซลลร์ บั กลน่ิ นอ้ี ยใู่ นจมกู หนาแนน่ มาก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
กลิน่ (สารเคม)ี →เย่ือบุโพรงจมกู (olfactory epithelium) (มีเมอื กละลายกลน่ิ ) → เซลลร์ บั กล่นิ (olfactory cell) → olfactory bulb → olfactory nerve → cerebrum o ปลา เป็นสัตว์ท่ีมี olfactory bulb เ จ ริ ญ ดี ก ว่ า สั ต ว์ ช นิ ด อ่ื น ๆ จึ ง สามารถรับกล่ินได้ดีกว่าสัตว์อื่นๆ เช่น ฉลาม o ท้ังการดมกล่ินของจมูกและการ ชมิ รสของลิน้ มีสว่ นท่ีทาหน้าท่ีรับ การเปล่ียนแปลงของสารเคมี จึง เรียกรวมกนั วา่ chemoreceptor จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 167
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล Trick… 168
4 The Tongue : ลิน้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 169
The Tongue : ลิน้ - มีส่งิ เรา้ คอื โมเลกุลรส (Chemoreceptor) ทาหนา้ ท่ีรบั รสชาตหิ รอื รสสมั ผสั ต่างๆ ด้านบนของผิวล้นิ มีปุ่มลิน้ (papilla) ตุ่มรับรส (test bud) ซึง่ มีเซลล์รับรส (gustatory 170 cell) ตอ่ กับใยประสาททาหน้าทีร่ ับรส ส่งไปตาม CN ค่ทู ่ี 7 และ 9 การชิมรส เป็นหน้าท่ขี องตุ่มรับรส (taste bud) ซึ่งในตุ่มรบั รสจะมีเซลล์สาคญั 2 ประเภท คือ เซลลร์ ับรส (taste cell หรอื taste receptor) และเซลลพ์ ่เี ลย้ี ง (supporting cell) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
เน่ืองจากบนลนิ้ จะมีป่มุ ลนิ้ ท่ีเรยี กวา่ Papillae โดยมีตอ่ มรบั รส (Taste buds) ท่ีต่อกบั เสน้ ใยประสาทเพ่ือสง่ กระแส ประสาทไปยงั สมอง ซง่ึ ตอ่ มรบั รสนีม้ ีทงั้ หมด 4 ชนิด กระจายอย่ทู ่วั ไปในลนิ้ ดงั นี้ • ชนิดรบั รสหวาน (sweet) , เคม็ (salty) , เปรยี้ ว (sour) ผ่านเสน้ ประสาท CN 7 • ชนิดรบั รสขม (bitter) ผ่านเสน้ ประสาท CN 9 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล เพ่มิ เตมิ : เผ็ดเปน็ พลังงานความรอ้ น ไมใ่ ชร่ สชาติ เนอ่ื งจากล้นิ ไมม่ ตี อ่ มรบั รสเผ็ด แต่รสเผ็ดเกิดจากสารแคปไซซนิ (Capsaicin) ในพรกิ ทาใหร้ า่ งกายระคายเคือง ร้สู กึ แสบรอ้ นจนเรยี กกนั วา่ รสชาตเิ ผด็ 171
Umami (รสท่ี 5) 172 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
▪ ลนิ้ เป็น sensory hair cell คล้ายกบั หู 173 ▪ เส้นประสาทสมองที่เกยี่ วขอ้ งกบั การรับรสท่ีล้นิ คอื คทู่ ี่ 7 และ 9 ▪ รสอาหารไดจ้ ากการผสมของรสอาหารทงั้ 4 รสท่ลี ิ้น รวมกบั กลน่ิ ที่ ไดร้ ับทางจมกู (เวลาเปน็ หวดั จะกินอาหารไมอ่ ร่อยเพราะเซลล์ประสาท รับกลิน่ ในโพรงจมกู บกพร่อง) ▪ ศนู ยก์ ลางการรบั รสอาหารอยทู่ ่สี มองสว่ น cerebrum ▪ ตุ่มรบั รสมอี ายุได้ 7 วนั แตก่ ส็ ร้างทดแทนตลอดเวลา จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
5 The Skin : ผิวหนัง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 174
The Skin : ผวิ หนัง - ทาหนา้ ท่ีรบั ความรูส้ กึ และการสมั ผสั ต่างๆ จากส่งิ เรา้ ภายนอกรา่ งกาย o ผิวหนัง (skin) เป็นชั้นที่ทาหน้าท่ีห่อหุ้มร่างกาย และเป็น อวยั วะรับสัมผสั ที่มพี ้ืนท่ีมากกว่าอวยั วะรบั สมั ผัสอนื่ ๆ o มีส่วนรับสัมผัสซึ่งเป็นปลายประสาท dendrite แทรกอยู่ใน ผิวหนังช้ันต่างๆ โดยไม่มีตัวเซลล์ประสาท (cell body ) อยู่ เลย แต่ตัวเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะอยู่ท่ีปมรากบนของ ไขสนั หลงั o หน่วยรับสัมผัสเหล่านี้จะมีความไวต่อการกระตุ้นเฉพาะ อย่างแตกตา่ งกนั จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 175
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล : ในผิวหนงั จะมีหน่วยรบั ความรูส้ กึ (Receptor) ท่ีไวตอ่ การกระตนุ้ เฉพาะอยา่ ง ดงั นี้ ▪ Meissner’s corpuscle and Markel’s disc เป็นหนว่ ยรับสัมผสั เกย่ี วกบั การแตะ(สมั ผัส)เบาๆ (Touch receptors) ▪ Pacinian corpuscle เปน็ หนว่ ยรบั สัมผัสท่อี ยลู่ ึก ท่สี ุด ลักษณะคลา้ ยหวั หอมผา่ ซกี ทาหนา้ ทรี่ บั แรงกด (Pressure receptors) ▪ Nerve plexus of follicle เป็นหน่วยรับสัมผสั ท่ี พันอยูร่ อบโคนขน รับสัมผสั การลบู เบาๆ ทาให้ ขนส่นั สะเทอื น ▪ ปลายประสาทอิสระ Free nerve ending เปน็ หน่วยรับสมั ผสั เก่ียวกับความเจ็บปวด (Pain receptors) ▪ Ruffini Corpuscle เป็นหน่วยรบั สัมผสั เก่ียวกบั ความรอ้ น (Heat receptors) ▪ End-bulb of Krause /Krause’s Corpuscle เปน็ หนว่ ยรับสมั ผสั เก่ยี วกบั ความเยน็ (Cold receptors) 176
จานวนของหนว่ ยรบั สัมผัสตา่ งๆ ในผิวหนัง o สมั ผสั 300 อนั /������������3 o ร้อน 12 อัน/������������3 o เจ็บ 200 อัน/������������3 o เย็น 2 อนั /������������3 o กดดัน 24 อนั /������������3 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 177
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177