Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี ฉบับทบทวน 2562

แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี ฉบับทบทวน 2562

Published by วาสนา ชาเหลา, 2019-05-16 03:32:42

Description: แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี ฉบับทบทวน 2562

Search

Read the Text Version

ขอ้ มลู เพื่อการพัฒนาของจงั หวัดสมทุ รปราการ ประเดน็ การพฒั นาของจงั หวดั สมทุ รปราการ แบบ จ.1 เรยี งตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

บทนำ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 และพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริการกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา ในระดับพ้ืนท่ี เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยกาหนดให้จังหวัดฯ มีคณะกรรมการบริหารงาน จังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) และให้มีการระดมความคิดเห็น และการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพ่ือรับทราบปัญหาและความต้องการท่ีสอดคล้องกับปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน โดยจังหวัดฯ มีการ ปรบั ปรงุ วิสยั ทศั น์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคโลกา ภิวัตน์จานวน 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 ได้กาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาเม่ือปี พ.ศ. 2546 ว่า “เป็นศูนย์กลาง Logistics เพ่ือการส่งออกสินค้าเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เป็นเมืองอุตสาหกรรมหลักของชาติ บ้านเมืองน่าอยู่ และเป็นแหล่งรองรับการขยายตัวของสนามบินสุวรรณภูมิ” และคร้ังที่ 2 ได้กาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนา เมือ่ ปี พ.ศ. 2553 ว่า “เมืองอตุ สาหกรรมน่าอยู่” ในการน้ี สานักงาน ก.พ.ร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) แจ้งว่าตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่ ม จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 17 และมาตรา 2 กาหนด ให้ ก.น.จ เป็นผู้กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจาปี เพื่อให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) รับไปดาเนินการ และให้จังหวัดสมุทรปราการ จัดทาแผนพฒั นาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) โดยทาการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี เป็นประจา ทุกรอบปีงบประมาณ พร้อมท้ังการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี และคาของบประมาณประจาปี ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 ทิศทางแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนยุทธศาสตร์ รายสาขา/เฉพาะรายสาขา ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี และทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ Thailand 4.0 (Micro Cluster) ให้เป็นไปตามแนวทาง/หลักเกณฑ์การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฯ แผนปฏิบัติราชการ ประจาปี และคาของบประมาณประจาปี ที่ ก.น.จ. กาหนด โดยได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกันระหว่าง ส่วนราชการทุกส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่ง ผู้แทนภาคเอกชน/ผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือระดมความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฯ ให้ครอบคลุม การพัฒนาในทกุ มิติ ตลอดจนสอดคลอ้ งกับปัญหาความต้องการของประชาชนในพน้ื ท่ี แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ฉบับทบทวน รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ฉบับนี้ ได้ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการกลุ่มภารกิจ 4 ด้าน (Cluster) ของจังหวัดฯ และผู้แทนภาคเอกชน ผู้แทนภาคประชาสังคม ผู้แทนภาคประชาชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และผู้แทนทีมบูรณาการกลาง ประกอบด้วย สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงบประมาณ สานักงาน ก.พ.ร. และกระทรวงมหาดไทย โดยมีการชี้แจงแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนปฏิบัติราชการประจาปี การระดมความคิดเห็นในการวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพโดยวิธี SWOT Analysis เพื่อใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) ฉบับทบทวน รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แผนปฏิบัติราชการประจาปีและคาของบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่ึงประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ตาแหน่งยุทธศาสตร์การพัฒนา (Positioning) ประเด็น ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ัด คา่ เปา้ หมาย และจัดทาบัญชีโครงการ รวมทั้งการรับฟังความคิดเห็น จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) สมุทรปราการ โดยได้กาหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาจังหวัดว่า “เมืองอุตสาหกรรมสะอาด ปลอดภัย น่าอยู่” วสิ ัยทศั นใ์ นการพัฒนาพนื้ ท่วี า่ “เมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ เกษตรปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และศลิ ปวฒั นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีความสมดุลกับการพัฒนาเมือง ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี สังคมมั่นคงปลอดภัย” โดยมีตาแหน่งยุทธศาสตร์การพัฒนา (Positioning) ประกอบด้วย

1) เมืองอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งออก (Eco-Industrial Town) 2) เมืองปริมณฑล ศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้าเพื่อรองรับการผลิต การค้า การลงทุน การบริการ และการพาณิชย์ 3) เมอื งปรมิ ณฑลนา่ อยู่ ท่ีรองรับการขยายตัวของเมอื งหลวง ซึ่งจังหวัดฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าทุกภาคส่วนจะได้ นาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาจังหวัดและบูรณาการงบประมาณเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวดั สมุทรปราการให้บรรลุผลตามวิสยั ทศั น์ทไี่ ดก้ าหนดไว้ตอ่ ไป กลุ่มงำนยุทธศำสตร์และขอ้ มลู เพือ่ กำรพัฒนำจงั หวดั สำนักงำนจงั หวดั สมทุ รปรำกำร

สำรบญั ส่วนที่ 1 ข้อมูลเพอ่ื กำรพัฒนำของจังหวดั สมทุ รปรำกำร………………………………………………………………………1 1.1 สภาพทัว่ ไปและสถานการณก์ ารพฒั นาจงั หวัด…………………………………………………………………….1 1.1.1 ดา้ นกายภาพ………………………………………………………………………………………………………..5 1.1.2 ดา้ นเศรษฐกิจ…………………………………………………………………………………………………….18 1.1.3 ด้านสังคมและความมั่นคง..............................................................................................43 1.1.4 ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม........................................................................67 1.2 ประเดน็ ปญั หาและความตอ้ งการเชิงพ้ืนที่..................................................................................83 1.3 ผลการพัฒนาและแก้ไขปญั หาของจงั หวดั สมทุ รปราการ............................................................85 สว่ นที่ 2 ประเด็นกำรพัฒนำของจังหวดั สมุทรปรำกำร.............................................................................109 2.1 บทวิเคราะห์………………………………………………………………………………………………………………109 2.1.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตวั ชี้วดั การพัฒนาจงั หวัดสมุทรปราการ.................................109 2.1.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index- HAI).......................................................................113 2.1.3 ความกา้ วหน้าและล้าหลังในระดบั ตัวชว้ี ดั ของดัชนีย่อยตา่ ง ๆ ทีส่ าคญั ของคนจังหวดั สมุทรปราการ.......................................................................................116 2.1.4 เครอื่ งมอื การวิเคราะห์ทางการบริหาร.........................................................................118 2.2 เป้าหมายการพัฒนาจงั หวดั .....................................................................................................126 2.2.1 วสิ ยั ทศั น์จงั หวัดสมทุ รปราการ (Vision)......................................................................126 2.2.2 พันธกจิ (Mission).......................................................................................................126 2.2.3 เปา้ ประสงค์รวม (Ultimate Goals)............................................................................126 2.2.4 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (จดั ลาดับความสาคัญ).................................127 2.2.5 ตาแหนง่ การพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการ (Positioning).............................................127 2.2.6 ความสอดคลอ้ งประเด็นยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ ตัวช้วี ัด ค่าเป้าหมาย.........128 2.2.7 สรุปภาพรวมการจดั ทาแผนของจังหวดั สมทุ รปราการ.................................................132 2.2.8 ห่วงโซ่มูลคา่ (Value chain)......................................................................................138 ส่วนท่ี 3 แบบ จ.1 เรียงตำมประเด็นยทุ ธศำสตร์ 3.1 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 และบัญชชี ุดโครงการ 3.2 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 และบัญชชี ดุ โครงการ 3.3 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 และบัญชีชุดโครงการ 3.4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 และบญั ชีชดุ โครงการ 3.5 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 และบัญชีชุดโครงการ ภำคผนวก ภาคผนวก ก. รายการตรวจสอบการดาเนนิ การตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยการบริหารงานจงั หวัด และกล่มุ จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ภาคผนวก ข. สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564)

สำรบัญตำรำง ตารางท่ี 1.1 แสดงจานวนหมู่บา้ น ตาบล เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2558………………7 ตารางที่ 1.2 สถิตกิ ารขนส่งทางอากาศ พ.ศ. 2554 – 2558 ของจังหวัดสมุทรปราการ.......................11 ตารางที่ 1.3 สถติ ิผู้ใชไ้ ฟฟา้ และการจาหน่ายพลงั งานไฟฟา้ ของการไฟฟ้านครหลวง จาแนกตามประเภทผใู้ ช้ จงั หวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. 2556 – 2559................................14 ตารางที่ 1.4 สถิติการประปา เปน็ รายอาเภอ พ.ศ. 2559.......................................................................15 ตารางท่ี 1.5 แสดงการใหบ้ ริการโทรศัพท์ พ.ศ. 2556 – 2559............................................................16 ตารางท่ี 1.6 แสดงข้อมูลไปรษณยี ไ์ ทย และร้านไปรษณยี ์ไทยในจังหวัดสมุทรปราการ............................17 ตารางที่ 1.7 แสดงข้อมลู ร้านไปรษณยี ์ไทยในจังหวัดสมุทรปราการ..........................................................17 ตารางท่ี 1.8 สถานประกอบการอตุ สาหกรรม จานวนเงนิ ทุน และจานวนคนงาน จาแนกรายอาเภอ พ.ศ. 2560............................................................................................22 ตารางท่ี 1.9 แสดงเนือ้ ท่ีใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร จงั หวดั สมุทรปราการ พ.ศ. 2552 – 2556........23 ตารางที่ 1.10 แสดงข้อมูลพน้ื ที่การเกษตรและจานวนครวั เรอื นเกษตรกรแยกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2557-2559.............................................................................................................24 ตารางที่ 1.11 ลักษณะการถอื ครองทีด่ ินทางการเกษตร พ.ศ. 2554 – 2557.........................................25 ตารางที่ 1.12 แสดงข้อมูลพนื้ ท่ีการปลกู ข้าว จาแนกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2557 - 2559.......................26 ตารางท่ี 1.13 แสดงข้อมลู พนื้ ทก่ี ารปลกู พืชไร/่ พืชผกั จาแนกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2557 - 2559.........26 ตารางท่ี 1.14 แสดงขอ้ มลู พื้นทก่ี ารปลูกไม้ดอกไมป้ ระดบั จาแนกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2557 - 2559 .........................................................................................................27 ตารางท่ี 1.15 แสดงข้อมลู พน้ื ที่การปลูกไม้ผล จาแนกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2557 - 2559....................27 ตารางท่ี 1.16 แสดงขอ้ มูลพ้นื ทเ่ี พาะเลีย้ งสตั ว์น้าจดื ...................................................................................28 ตารางท่ี 1.17 แสดงขอ้ มลู พนื้ ท่เี พาะเลย้ี งสัตวน์ ้าชายฝัง่ 1.........................................................................29 ตารางท่ี 1.18 แสดงขอ้ มูลพ้นื ที่เพาะเล้ยี งสตั ว์น้าชายฝ่ัง 2.........................................................................29 ตารางท่ี 1.19 แสดงข้อมลู จานวนเกษตรกรผ้เู ลยี้ งสัตว์ จาแนกตามอาเภอ พ.ศ. 2557- 2559................................................................................................................................ ..............................30 ตารางที่ 1.20 แสดงขอ้ มูลจานวนครัวเรือนผู้เลยี้ งสตั วป์ ีกเฉพาะทสี่ าคัญ พ.ศ. 2557-2559...................30 ตารางท่ี 1.21 แสดงขอ้ มลู จานวนสัตวใ์ หญ่และครัวเรอื นเฉพาะที่สาคัญ พ.ศ. 2557-2559....................31 ตารางท่ี 1.22 แสดงแหลง่ ทอ่ งเท่ียวท่ีสาคัญดา้ นตา่ ง ๆ...............................................................................32 ตารางท่ี 1.23 สถติ ิการทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั สมุทรปราการ พ.ศ. 2556 - 2558....................................37 ตารางที่ 1.24 แสดงยอดจาหนา่ ยสินค้า OTOP ของผลติ ภณั ฑ์ทกุ ประเภท ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 - 2559..........................................................................................................38 ตารางที่ 1.25 แสดงยอดจาหน่ายสินคา้ OTOP แยกตามรายอาเภอ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559.................38 ตารางท่ี 1.26 แสดงมลู คา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั (GPP : Gross Provincial Product) สูงสดุ 5 อนั ดับแรก..............................................................................................................39 ตารางที่ 1.27 แสดงมลู คา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัดเฉลี่ยต่อคน (GPP per capita) สูงสุด 10 อันดับแรก...........................................................................................................40 ตารางท่ี 1.28 แสดงมูลคา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2558 ณ ราคาประจาป.ี .................................................................................................................41 ตารางท่ี 1.29 แสดงผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาประจาปี จาแนกตามสาขาการผลิต จังหวัดสมทุ รปราการ พ.ศ. 2555 - 2558........................................................................42

สำรบัญตำรำง (ตอ่ ) ตารางที่ 1.30 แสดงจานวนประชากรแยกตามอาเภอ พ.ศ. 2557 – มถิ นุ ายน 2560.............................44 ตารางท่ี 1.31 แสดงจานวนประชากรแยกตามอาเภอ ณ 30 มถิ นุ ายน 2560..........................................45 ตารางที่ 1.32 แสดงประชากรจาแนกตามกลมุ่ อายุ พ.ศ. 2556 - 2559.................................................46 ตารางท่ี 1.33 แสดงอัตราสว่ นนักเรยี น/ครู นกั เรียน/ห้องเรียน จาแนกตามสังกดั พ.ศ. 2560.................51 ตารางท่ี 1.34 แสดงจานวนสถานศกึ ษาในสังกัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2559 - 2560..........51 ตารางท่ี 1.35 แสดงข้อมลู สถานบรกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2560 จาแนกตามรายอาเภอ...........................53 ตารางที่ 1.36 แสดงขอ้ มูลแสดงข้อมูลโรงพยาบาลภาครฐั พ.ศ. 2559 จาแนกตามสังกัด.........................54 ตารางท่ี 1.37 แสดงขอ้ มูลจานวนบุคลากรทางการแพทย์จาแนกวิชาชีพหลกั .............................................54 ตารางที่ 1.38 แสดงขอ้ มูลรายช่อื สถานอี นามยั สถานท่รี บั บาบดั และฟน้ื ฟผู ู้เสพ/ผตู้ ิดสารเสพติด ในพนื้ ท่ี 6 อาเภอ.................................................................................................................55 ตารางที่ 1.39 ผู้ปว่ ยนอก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุ (21 กลุ่มโรค) 10 อนั ดับ จากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครฐั พ.ศ. 2560................................................................57 ตารางท่ี 1.40 แสดงปัญหาสาธารณสขุ ทีส่ าคัญของจังหวัดสมทุ รปราการ 5 ลาดับแรก..............................57 ตารางท่ี 1.41 แสดงจานวนศาสนสถานในพืน้ ท่.ี ..........................................................................................58 ตารางท่ี 1.42 สถิตขิ อ้ มลู คดีอาญา 5 กลมุ่ ในพนื้ ท่ีจังหวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. 2556 -2558................58 ตารางท่ี 1.43 แสดงขอ้ มูลการจับกมุ การคา้ และการแพรร่ ะบาดยาเสพติดปงี บประมาณ พ.ศ. 2555 - 2557..........................................................................................................60 ตารางที่ 1.44 แสดงข้อมูลเปรยี บเทียบรายพื้นที่ตามแบบจาหน่ายสรุปผลการบาบดั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2555 - 557.......................................................................................61 ตารางที่ 1.45 แสดงจานวนผู้สูงอายุทม่ี ีสิทธิรับเบย้ี ผูส้ งู อายุ จาแนกรายอาเภอ ปี พ.ศ. 2560.................62 ตารางท่ี 1.46 แสดงจานวนศูนยพ์ ัฒนาคุณภาพชวี ติ และสง่ เสริมอาชีพผูส้ งู อายุ ในจงั หวดั สมทุ รปราการ........................................................................................................63 ตารางที่ 1.47 แสดงจานวนสมาชิกของชมรมคลงั ปัญญาผสู้ ูงอาย.ุ ..............................................................63 ตารางท่ี 1.48 แสดงขอ้ มูลสถานการณผ์ ้สู ูงอายุ (60 ปขี นึ้ ไป) ทป่ี ระสบปญั หาดา้ นสถานะ ความเปน็ อยู่ของผสู้ ูงอาย.ุ .....................................................................................................64 ตารางที่ 1.49 แสดงข้อมลู สถานการณ์สงู อายทุ ี่มีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม.....................................................65 ตารางท่ี 1.50 แสดงข้อมูลจานวนคนพิการที่มีสิทธิรบั เบ้ยี ยงั ชีพคนพิการ ปี 2560 จาแนกตามอาเภอ................................................................................................................65 ตารางท่ี 1.51 สถิติขอ้ มูลคนพิการจาแนกตามประเภทความพิการ.............................................................65 ตารางท่ี 1.52 แสดงขอ้ มลู ดัชนคี วามมน่ั คงของมนุษย์ พ.ศ. 2557............................................................67 ตารางท่ี 1.53 เนอื้ ทปี่ า่ ไมต้ ่อเน้ือท่ที ง้ั หมดของจงั หวดั สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2556 - 2558..................67 ตารางท่ี 1.54 แสดงขอ้ มลู รายชอ่ื คลองสายต่าง ๆ ในเขตจงั หวดั ฝงั่ ตะวนั ออก จาแนกตามความรับผดิ ชอบ.................................................................................................69 ตารางที่ 1.55 การจาแนกเขตการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ในพน้ื ที่ป่าชายเลน ตามเขตอาเภอ..............................72 ตารางท่ี 1.56 การคาดการณจ์ านวนประชากรและปรมิ าณมลู ฝอยที่เกิดขึ้นในจังหวัดสมุทรปราการ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2556-2575.............................................................................................73 ตารางที่ 1.57 บัญชีสรปุ ปริมาณวสั ดุทไ่ี ม่ใช้แลว้ ที่ได้รับอนุญาต (สก.2) ของโรงงานอตุ สาหกรรมในพ้ืนที่ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2559...................................................................................75 ตารางท่ี 1.58 บัญชีปรมิ าณวัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้ว (ไม่อนั ตราย) ท่ีได้รบั อนุญาต (สก.2) ของโรงงานอุตสาหกรรม ในพื้นทีจ่ งั หวดั สมุทรปราการปี พ.ศ. 2559........................................................................75

สำรบัญตำรำง (ต่อ) ตารางที่ 1.59 บัญชปี รมิ าณวัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้ว (อนั ตราย) ทไี่ ด้รบั อนุญาต (สก.2) ของโรงงานอตุ สาหกรรม ในพ้นื ท่ีจังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2559........................................................................75 ตารางท่ี 1.60 สถติ เิ ร่ืองร้องเรยี นด้านมลพิษประเภทตา่ ง ๆ ที่กรมควบคุมมลพิษรบั แจ้งของจังหวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2555 - 2558...............................................................................76 ตารางที่ 1.61 แสดงข้อมูลผลการตรวจวดั คุณภาพน้าทะเลชายฝัง่ ..............................................................81 ตารางที่ 1.62 ผลการดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557..............86 ตารางที่ 1.63 ผลการดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2558..............88 ตารางที่ 1.64 ผลการดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559..............92 ตารางท่ี 1.65 ผลการดาเนินโครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560..............95 ตารางที่ 1.66 ยทุ ธศาสตรแ์ ละผลการดาเนินงานในชว่ งปี พ.ศ. 2557 - 2560.....................................100 ตารางที่ 1.67 สรุปผลการดาเนนิ งานโดยภาพรวมประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 .....................................................................................................100 ตารางที่ 1.68 สรุปผลการดาเนนิ งานโดยภาพรวมประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560.......................................................................................................101 ตารางท่ี 1.69 สรปุ ผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560.......................................................................................................102 ตารางท่ี 1.70 สรุปผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560.......................................................................................................103 ตารางท่ี 1.71 สรปุ ผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560.......................................................................................................104 ตารางท่ี 1.72 ผลการดาเนินโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561...........105 ตารางที่ 2.1 แสดงขอ้ มลู ตวั ช้ีวัดการพฒั นาของจังหวดั เปรียบเทียบกับคา่ กลางของประเทศ.................109 ตารางที่ 2.2 แสดงตวั ชว้ี ดั การพัฒนาประเทศเปรยี บเทยี บกับจงั หวดั สมุทรปราการ..............................110 ตารางที่ 2.3 แสดงการเปรียบเทียบดชั นคี วามก้าวหนา้ ระหวา่ งคนจงั หวัดสมุทรปราการกบั ภาคกลาง และประเทศ.......................................................................................................................114 ตารางท่ี 2.4 การกาหนดยุทธศาสตร์โดยใชเ้ ทคนคิ (TOWS Matrix)......................................................121 ตารางท่ี 2.5 ทางเลอื กประเด็นยุทธศาสตร์ทัง้ 4 กลุ่ม............................................................................122 ตารางท่ี 2.6 ความสอดคล้องประเด็นการพัฒนา เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชวี้ ดั คา่ เปา้ หมาย................128

สำรบัญภำพ ภาพที่ 1.1 พระสมุทรเจดีย์.......................................................................................................................1 ภาพท่ี 1.2 ปอ้ มแผลงไฟฟ้า.......................................................................................................................2 ภาพที่ 1.3 ภาพจาลองรถไฟสายแรกของประเทศไทย และภาพหมู่ข้าราชการเมืองสมุทรปราการ.........2 ภาพท่ี 1.4 ตราจังหวัดสมุทรปราการ........................................................................................................3 ภาพที่ 1.5 ตน้ ไม้ประจาจังหวดั สมทุ รปราการไดแ้ ก่ ต้นโพทะเล และดอกไมป้ ระจาจังหวัดสมุทรปราการ ไดแ้ ก่ ดอกดาวเรือง.................................................................................................................3 ภาพท่ี 1.6 คาขวัญจงั หวดั สมุทรปราการ...................................................................................................4 ภาพท่ี 1.7 แสดงแผนท่ีจงั หวดั สมทุ รปราการ............................................................................................5 ภาพที่ 1.8 แผนภาพแสดงผังกาหนดการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ตามท่ีไดจ้ าแนกประเภทไว้.............................6 ภาพท่ี 1.9 แผนภาพผงั แสดงโครงการคมนาคมและขนส่งในพ้ืนท่ี............................................................9 ภาพที่ 1.10 แสดงสถานีรถไฟฟ้าสายสีเขยี ว ช่วงแบรงิ่ – สมุทรปราการ..................................................12 ภาพท่ี 1.11 แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟา้ สายสีมว่ ง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บรู ณะ (วงแหวนกาญจนาภเิ ษก)......................................................................................................12 ภาพท่ี 1.12 แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟฟา้ สายสเี หลอื ง ช่วงลาดพรา้ ว-สาโรง.........................................13 ภาพที่ 1.13 สถิตผิ ู้ใชไ้ ฟฟ้า และการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง จาแนกตามประเภทผู้ใช้ จงั หวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2556 – 2559...............................15 ภาพที่ 1.14 แสดงสัดสว่ นผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด (GPP) สมทุ รปราการ รายสาขาการผลิต ปี 2558...............................................................................................................................18 ภาพที่ 1.15 แสดงพน้ื ทภ่ี ายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู.............................................................................20 ภาพท่ี 1.16 แผนภาพแสดงพืน้ ที่ภายในนิคมอุตสาหกรรมบางพลี............................................................20 ภาพท่ี 1.17 แสดงพ้นื ท่ภี ายในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย (สุวรรณภมู ิ)........................................................20 ภาพที่ 1.18 แสดงพ้ืนทภ่ี ายในนิคมอตุ สาหกรรมบางปู (เหนือ)................................................................21 ภาพท่ี 1.19 แสดงสถานประกอบการ จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558..........................................................................................................22 ภาพท่ี 1.20 แสดงลกู จ้าง จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558...................23 ภาพที่ 1.21 มูลคา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภาคเกษตรของจังหวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 – 2558......................................................................................................24 ภาพที่ 1.22 แสดงมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวม (GPP) สมุทรปราการ ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2548-2558..............................................................................................................39 ภาพท่ี 1.23 แสดงมูลค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมตอ่ หวั (GPP per capita) สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2548 –2558.......................................................................................................40 ภาพท่ี 1.24 แสดงสดั ส่วนผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลิต ปี 2558..............................................................................................................................41 ภาพท่ี 1.25 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจาปี จาแนกตามสาขาการผลติ ท่ีสาคัญ ของจังหวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 – 2558............................................................42 ภาพที่ 1.26 แสดงจานวนประชากร พ.ศ. 2557 – สงิ หาคม 2560 จาแนกรายอาเภอ........................45

สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) ภาพที่ 1.27 แสดงสัดส่วนประชากรที่เข้ามาอยู่อาศัยจริงและเข้ามาทางานของจังหวัดสมุทรปราการ.....46 ภาพที่ 1.28 แสดงประชากรจาแนกตามกลมุ่ อายุ พ.ศ. 2556 – 2559................................................47 ภาพที่ 1.29 แสดงประชากร จาแนกตามการนบั ถือศาสนา......................................................................48 ภาพท่ี 1.30 แสดงสถานตี รวจวดั คุณภาพอากาศอตั โนมัติ 5 แห่ง............................................................77 ภาพที่ 1.31 แสดงผลการตรวจวัดคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทว่ั ไป พ.ศ. 2559…………………….77 ภาพที่ 1.32 แสดงผลการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไป พ.ศ. 2559 (ต่อ)……………..78 ภาพท่ี 1.33 แสดงผลการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพน้าผิวดนิ ในพ้ืนท่จี ังหวัดสมทุ รปราการ เดือนพฤศจิกายน 2559 ถึง มกราคม 2560....................................................................79 ภาพที่ 1.34 คุณภาพนา้ ทะเลชายฝ่ังรายจังหวดั ปี 2558.......................................................................82 ภาพที่ 2.1 ตัวชี้วดั การพฒั นาประเทศเปรียบเทยี บกับจังหวดั สมุทรปราการ.......................................111 ภาพที่ 2.2 แสดงตวั ชี้วดั การพฒั นาประเทศเปรียบเทียบกับจงั หวดั สมุทรปราการ..............................111 ภาพที่ 2.3 แสดงการเปรียบเทยี บดชั นคี วามกา้ วหนา้ ในแตล่ ะดัชนยี อ่ ยระหว่างคนจงั หวัดสมทุ รปราการ กับภาคกลาง…………………………………………………………………………………………………………115 ภาพท่ี 2.4 แสดงการเปรียบเทยี บดชั นีความก้าวหนา้ ในแตล่ ะดัชนยี อ่ ยระหว่างคนจังหวดั สมทุ รปราการ กับ ภาพรวมของประเทศ...................................................................................................115 ภาพท่ี 2.5 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทางเลือกประเดน็ ยุทธศาสตร์และประเดน็ ยุทธศาสตรข์ อง จังหวัดสมทุ รปราการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564.............................................125 ภาพท่ี 2.6 ตาแหนง่ การพฒั นาจังหวดั สมุทรปราการ (Positioning)...................................................127 ภาพที่ 2.7 สรปุ ภาพรวมการจัดทาแผนของจงั หวดั สมุทรปราการ.......................................................132 ภาพท่ี 2.8 สรปุ ภาพรวมประเด็นการพัฒนาที่ 1.................................................................................133 ภาพที่ 2.9 สรปุ ภาพรวมประเดน็ การพฒั นาท่ี 2.................................................................................134 ภาพที่ 2.10 สรุปภาพรวมประเดน็ การพัฒนาท่ี 3..................................................................................135 ภาพท่ี 2.11 สรปุ ภาพรวมประเด็นการพัฒนาที่ 4..................................................................................136 ภาพท่ี 2.12 สรุปภาพรวมประเดน็ การพัฒนาท่ี 5..................................................................................137

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู เพอ่ื การพัฒนาของจังหวัดสมุทรปราการ 1.1 สภาพท่วั ไปและสถานการณก์ ารพฒั นาจงั หวัด ภาพที่ 1.1 พระสมุทรเจดีย์ “สมุทรปราการ” เป็นเมืองท่ีมีความส้าคัญมาแต่โบราณ เนื่องจากท่ีตั้งเป็นเขตยุทธศาสตร์ทางน้า ค้าว่า \"สมุทรปราการ\" มาจาก ค้าว่า \"สมุทร\" ซึ่งแปลว่าทะเล และ \"ปราการ\" ที่แปลว่า ก้าแพง จึงมีความหมายโดยรวมว่า \"ก้าแพงริมน้า\" และหากย้อนหลังไป 800 ปีเศษ ชนชาติขอมซ่ึงมีความรุ่งเรือง อยู่ ในขณะนั้นได้สร้างเมืองพระประแดงบริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาเพ่ือเป็นเมืองหน้าด่านซ่ึงสันนิษฐานว่า ในปจั จุบันคือบรเิ วณทา่ เรือคลองเตย และตอ่ มาแผ่นดินบริเวณรอบเมืองพระประแดงนั้นได้งอกออกไปในทะเล โดยทศิ ใตแ้ ผ่นดินงอกถึงแถบต้าบลปากคลองบางปลากดซ่ึงอยู่ทางฝ่ังขวาของแม่น้าเจ้าพระยา และทางฝ่ังซ้าย ของแมน่ า้ เจา้ พระยาแผน่ ดนิ ได้งอกถึงบริเวณต้าบลบางด้วน บางหมู และบางนางเกรง ท้าให้เมืองพระประแดง มีความสา้ คัญลดลง เนื่องจากอยู่ห่างจากบริเวณปากแม่น้า ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2163-2171 สมเด็จพระเจ้า ทรงธรรมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นใหม่ เพื่อเป็นเมืองปากน้าหน้าด่าน ของกรุงศรีอยุธยา และใช้เป็นสถานท่ีท้าการค้าขายกับชาวฮอลันดาโดยทรงพระราชทานท่ีดินบริเวณ คลองบางปลากด ใหช้ าวฮอลนั ดาไวเ้ ป็นเมืองการค้าซ่งึ เรยี กว่า \"นวิ อมั สเตอรด์ มั \" ในปี พ.ศ. 2306 สมัยกรุงธนบุรี เป็นสมัยที่สร้างราชธานีใหม่ สมเด็จพระเจ้าตากสิน โปรดเกล้าฯ ให้ร้ือ ก้าแพงเมืองพระประแดงเดิมที่ต้าบลราษฎร์บูรณะ เพื่อไปสร้างก้าแพงพระราชวังจึงท้าให้ก้าแพงเมืองพระประแดงเดิม สูญหายส้ินซากนบั แตน่ ั้นมา ในปี พ.ศ. 2352 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเห็น ความส้าคัญท่ีจะตอ้ งสร้างเมอื งทางชายฝ่งั เพื่อปอ้ งกนั ศตั รูทีจ่ ะรุกล้ามาจากทางทะเลสู่แม่น้าเจ้าพระยา ซ่ึงเดิม มีเมืองพระประแดงและเมืองสมุทรปราการเป็นเมืองหน้าด่าน แต่อยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก พระองค์จึงด้าริ ทจี่ ะบรู ณะเมืองพระประแดง ซึง่ อยู่ทางดา้ นขวาของแม่นา้ เจ้าพระยา ระหวา่ งเมืองสมุทรปราการและกรุงเทพฯ โดยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ลงส้ารวจพื้นที่บริเวณปากน้าเจ้าพระยา เพ่ือสร้าง เมืองขนึ้ ใหม่และสร้าง \"ป้อมวทิ ยาคม\" ทฝี่ งั่ ซา้ ยของแมน่ า้ เจา้ พระยา

แผนพฒั นาจงั หวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |2 ในปี พ.ศ. 2362 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี 2 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ด้าเนินการสร้างป้อมที่ส้าคัญหลายป้อม และทรงพระราชทานนาม ใหม่ว่า \"เมืองนครเข่ือนขันธ์\" และทรงมี พระมหากรุณาธิคุณให้อพยพครอบครัวชาวมอญ โดยมีชายฉกรรจ์ประมาณ 300 คน ซึ่งมีพระยาเจ่งเป็นผู้น้า จากเมอื งปทมุ ธานมี าอยู่ ณ เมืองนครเข่ือนขันธ์ เพื่อเป็นก้าลังส้าคัญในการรักษาเมือง นอกจากการสร้างเมือง นครเขื่อนขันธ์แล้วพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ยังทรงสร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นมาใหม่ เนื่องจาก ทรงไม่ไวว้ างใจญวนนัก ประกอบกับเมืองสมุทรปราการเองก็เป็นเมืองท่ีอยู่ติดกับทะเลมากกว่า จึงทรงโปรดเกล้าฯ ใหส้ ร้างปอ้ มเพิ่มอีก จา้ นวน 6 ป้อมท้งั ดา้ นซา้ ยและขวาของแมน่ ้าเจ้าพระยา ภาพที่ 1.2 ป้อมแผลงไฟฟ้า ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 รัฐบาลไทยได้อนุมัติสัมปทาน แก่บรษิ ัทชาวเดนมารก์ เพ่ือสร้างทางรถไฟสายแรกขึ้นในประเทศไทย ระหว่าง กรุงเทพฯ-สมุทรปราการ แต่บริษัท ยังขาดทุนทรัพย์ จึงมิได้ด้าเนินการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ยืมทุนทรัพย์ไปสมทบด้วยส่วนหนึ่ง และได้เสด็จพระราชด้าเนินแซะดินเป็นปฐมฤกษ์ เม่ือวันท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ กับได้เปิดทางรถไฟ ณ สถานีสมุทรปราการ เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยใช้รถจักรไอน้าลากจูง แต่ต่อมาภายหลังเปล่ียนใช้รถไฟฟ้า ทางรถไฟสายน้ีได้ยุบเลิกกิจการไป เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงเปล่ียนชื่อเมืองนครเขื่อนขันธ์ กลับเป็น \"เมืองพระประแดง\" ดังเดิม เพราะยังคงบริเวณเดิมของพระประแดง และในปี พ.ศ. 2459 ทรงเปลี่ยนค้าว่าเมืองเป็นจังหวัด เมืองสมุทรปราการจึงเปลี่ยนเป็น \"จังหวัดสมุทรปราการ\" ประกอบด้วยอ้าเภอ สมุทรปราการ อ้าเภอบ่อ อ้าเภอบางพลี และอ้าเภอสีชัง และเมืองพระประแดงเป็น จังหวัดพระประแดง ประกอบด้วยอ้าเภอพระประแดง อา้ เภอพระโขนง และอา้ เภอราษฎร์บูรณะ ภาพที่ 1.3 ภาพจา้ ลองรถไฟสายแรกของประเทศไทย และภาพหมขู่ า้ ราชการเมืองสมุทรปราการ

แผนพฒั นาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |3 ปี พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 7 เกิดวิกฤตการณ์ เศรษฐกิจตกต้่าท่ัวโลก รัฐบาลต้องประหยัดการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน จึงโปรดฯ ให้ยุบจังหวัดพระประแดง ขึ้นกบั จังหวัดสมุทรปราการ อา้ เภอพระโขนงขึ้นกบั จังหวัดพระนคร และอา้ เภอราษฎร์บูรณะขน้ึ กับจงั หวัดธนบุรี ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีพระราชบัญญัติรวมจังหวัดพระนคร ธนบุรี สมุทรปราการ และนนทบุรีเข้าไว้ ด้วยกัน รวมเรียกว่า นครบาล กรุงเทพฯ ธนบุรี และในปี พ.ศ. 2486 มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองใหม่ ยุบจังหวัดสมุทรปราการขึ้นกับจังหวัดพระนคร และในปี พ.ศ. 2489 ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัด สมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับ ตงั้ แตว่ ันท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ตราประจา้ จังหวดั สมทุ รปราการ เป็นรปู พระสมุทรเจดียแ์ ละพระอุโบสถทปี่ ระดิษฐาน พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร ความหมาย พระเจดีย์ หมายถงึ พระสมุทรเจดีย์ท่ีสร้างอยู่กลางแม่น้า ภายในเจดีย์บรรจุ พระบรมสารรี กิ ธาตุ และพระไตรปฎิ ก พระอุโบสถ หมายถึง พระอโุ บสถทปี่ ระดิษฐานพระพุทธรปู ยนื ปางหา้ มสมุทร ภาพที่ 1.4 ตราจังหวัดสมุทรปราการ ชอื่ พนั ธ์ุไม้ โพทะเล ลักษณะท่ัวไป ต้นโพทะเลเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10–15 เมตร เปลือกสี และถิน่ กา้ เนิด น้าตาลอ่อนอมชมพู ขรุขระ ใบเป็นใบเด่ียวเรียงสลับ แผ่นใบ รปู หัวใจ ดอกสเี หลอื งขนาดใหญ่ ออกตามง่ามใบ ออกดอกช่วง เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ผลโตขนาด 4 ซ.ม. มีถิ่นก้าเนิด บริเวณปา่ ชายเลนทางภาคใต้ และภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชือ่ ดอกไม้ ดอกดาวเรือง ภาพที่ 1.5 ต้นไม้ประจา้ จังหวดั สมุทรปราการ ไดแ้ ก่ ตน้ โพทะเล และดอกไม้ประจ้าจงั หวัดสมทุ รปราการ ไดแ้ ก่ ดอกดาวเรอื ง

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |4 คา้ ขวญั ประจา้ จังหวดั “ป้อมยุทธนาวี พระเจดียก์ ลางนา้ ฟาร์มจระเขใ้ หญ่ งามวิไลเมอื งโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลดิ แหง้ รสดี ประเพณีรบั บวั ครบถ้วนทั่วอตุ สาหกรรม” ปอ้ มยทุ ธนาวี พระเจดีย์กลางนา้ ฟารม์ จระเขใ้ หญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแหง้ รสดี ประเพณรี ับบัว ครบถว้ นทั่วอตุ สาหกรรม ภาพที่ 1.6 ค้าขวญั จงั หวดั สมทุ รปราการ

แผนพฒั นาจังหวดั จังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |5 1.1.1 ดา้ นกายภาพ 1) ลักษณะทางกายภาพ ภาพที่ 1.7 แสดงแผนทจ่ี ังหวดั สมุทรปราการ 1.1) ทต่ี ังและขนาดพืนท่ี จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ริมฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยา โดยอยู่ตอนปลาย สุดของแม่น้าเจ้าพระยาและเหนืออ่าวไทย ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 13 – 14 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 – 101 องศาตะวันออก มีเน้ือที่ประมาณ 1,004.092 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 627,557.50 ไร่ อยู่ห่างจาก กรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่งถ้าหากสังเกตแนวแบ่งเขต ของจังหวัดสมุทรปราการตั้งแต่อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ อ้าเภอพระประแดง ไปจรดอ้าเภอบางบ่อ ด้วยจินตนาการก็จะพบว่า จังหวัดสมุทรปราการมีรูปร่างคล้ายส่วนหัวและล้าตัวของ “ฮิปโปโปเตมัส” ท่ีหัน หน้าออกสู่ฝ่ังอ่าวไทยเพ่ือคอยปกป้องประเทศชาติจากการรุกรานของมวลหมู่ปัจจามิตร ด้วยจิตส้านึกและ สญั ชาตญิ าณรักษถ์ น่ิ ย่งิ ชพี ของตนเอง โดยพน้ื ท่ีของจงั หวดั ฯ มอี าณาเขตติดต่อกับพ้นื ท่ีใกลเ้ คยี ง ดงั นี้ - ทิศเหนือตดิ กบั กรุงเทพมหานคร ระยะทาง 55.00 กโิ ลเมตร - ทศิ ใต้ตดิ กับอา่ วไทย (พื้นทช่ี ายฝั่งทะเล) ระยะทาง 47.20 กิโลเมตร - ทิศตะวันออกตดิ กบั จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ระยะทาง 42.60 กิโลเมตร - ทศิ ตะวนั ตกติดกบั กรงุ เทพมหานคร ระยะทาง 34.20 กโิ ลเมตร 1.2) สภาพภูมิประเทศ พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมี แม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่าน ไม่มีภูเขา มลี ้าคลองรวม 63 สาย โดยเป็นคลองชลประทาน 15 สาย คลองธรรมชาติ 48 สาย ใช้ประโยชน์ทางคมนาคม และการขนส่งทางนา้ รวมทั้งการประมงและการเกษตรกรรม จังหวัดฯ ไม่มพี ้ืนที่ป่าไม้ (ป่าบก) มีแต่ป่าชายเลน ลกั ษณะภูมิประเทศของจงั หวัดแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน คือ (1) บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณทั้งสองฝ่ังเป็นท่ีราบลุ่มเหมาะแก่การท้านาท้าสวน และเพาะเลี้ยงสัตว์น้า แต่ปัจจุบันพื้นที่บางส่วนได้เปลี่ยนไปเป็นโรงงาน ที่อยู่อาศัย และเขตพาณิชยกรรม ตามสภาพสภาวะเศรษฐกจิ ด้านการคา้ การลงทุน และชุมชนเมืองทเ่ี กิดข้ึนใหม่ (2) บริเวณตอนใต้ชายติดทะเล เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของน้าทะเลท่วมถึง ส่วนใหญ่เป็น ทรี่ าบลุ่ม เปน็ ดนิ เหลวลุ่ม เหมาะแก่การท้าปา่ จากป่าชายเลน และการเพาะเลี้ยงสัตว์ชายฝ่งั

แผนพัฒนาจังหวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |6 (3) บริเวณท่ีราบตอนเหนือและตะวันออก บริเวณน้ีเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ส้าหรับระบายน้าและ เก็บกักน้า อ้านวยประโยชน์ในด้านการชลประทาน การท้านา การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ สนามบินสุวรรณภูมิ และมีธุรกรรมที่ต่อเน่ืองเช่ือมโยงหรือ Supply Chain ทั้งด้านการค้า การลงทุน ภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมแปรรูป กิจกรรม Logistics และอสงั หาริมทรัพย์ ฯลฯ 1.3) สภาพภูมิอากาศ จังหวัดสมุทรปราการมีสภาพภูมิอากาศแบบพื้นที่ชายทะเล ในฤดูร้อน มีความชื้นในอากาศสูง เนื่องจากอิทธิพลของลมทะเลและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูฝนมีฝนตกมาก ฤดูหนาวก็ไม่หนาวจนเกินไป อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 32.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ียต้่าสุด 28.91 องศาเซลเซียส อุณหภมู เิ ฉลี่ย 29.75 องศาเซลเซียส 1.4) การใช้ประโยชน์ที่ดินจากผังเมืองรวม จังหวัดสมุทรปราการได้มีการใช้ผังเมืองรวม สมุทรปราการ ฉบับปี พ.ศ. 2556 โดยประกาศเป็นกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2556 ตามที่ได้ประกาศให้มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 ตามกฎกระทรวง ออกตามความ ในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ได้ก้าหนดแผนผังก้าหนด การใช้ประโยชน์ท่ีดินตามท่ีได้จ้าแนกประเภทไว้ 13 ประเภท ซึ่งผังเมืองรวมในปัจจุบันจะไม่ก้าหนดอายุ การใช้บังคับแต่จะต้องจัดท้ารายงานการประเมินผลผังเมืองรวมทุกห้าปีและท้าการปรับปรุงผังเมืองรวม ตามพระราชบัญญตั ิการผังเมือง (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2558 ภาพที่ 1.8 แผนภาพแสดงผังกา้ หนดการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินตามท่ีได้จ้าแนกประเภทไว้ จังหวัดสมุทรปราการในปัจจุบันถือเป็นเมืองอุตสาหกรรมหลัก ซ่ึงมีความต้องการใช้แรงงาน ภาคอุตสาหกรรมจ้านวนมากมีทักษะฝีมือและต้่ากว่าจากนอกพื้นที่และในพ้ืนที่ ท้ังประเภทไปเช้า-เย็นกลับ และมาพักค้างคืน ประกอบกับเม่ือ 2554 ได้เกิดมหาอุทกภัยกับกรุงเทพมหานครและจังหวัดฯ ท่ัวประเทศ แตจ่ ังหวดั สมทุ รปราการไมไ่ ด้รับผลกระทบจากอุทกภยั ดังกลา่ ว จงึ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของชุมชนท่ีอยู่อาศัยเดิม และเกิดชุมชนท่ีอยู่อาศัยใหม่ ทั้งในรูปแบบหมู่บ้านจัดสรร บ้านเช่า ห้องเช่า คอนโดมิเนียม อาคารชุด บ้านเอ้ืออาทร ท้าให้มีประชาชนมาอยู่อาศัยอยู่ในจังหวัดหนาแน่นเพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการมีโครงการเอ้ืออาทร ท้ัง 17 โครงการ มีที่อยู่อาศัย 30,557 แห่ง รวมทั้งเป็นแหล่งสะสม Land bank ของบริษัทพัฒนา อสังหาริมทรัพย์และกลุ่มประชาชนท่ีมีรายได้หรือเงินออมสูง ซึ่งจะส่งผลต่อแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นของประชากร และราคาท่ีดินแบบก้าวกระโดดในอนาคตอันใกล้ เมื่อมีการเปิดใช้เส้นทางรถไฟฟ้า ช่วงแบร่ิง-การเคหะ

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |7 สมุทรปราการ และการขยายโครงข่ายรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ-ครุใน โครงข่ายรถไฟฟ้า สวยสีเหลอื ง ชว่ งลาดพรา้ ว-ส้าโรง ซงึ่ จะสง่ ผลให้เกดิ ปัญหาด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการท่ีมีอยู่ไม่สามารถ รองรับได้อย่างเพียงพอ เกิดปัญหาการจราจรติดขัด บริการสาธารณะต่าง ๆ ไม่เพียงพอ เกิดผลกระทบต่อ คุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกด้าน ดังน้ัน จึงเป็นปัญหาส้าคัญท่ีจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่ง ด้าเนินการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการรองรับการขยายตัวแบบก้าวกระโดดที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต 2) ด้านการปกครอง 2.1) การปกครอง แบ่งเขตการปกครองภายในจังหวัดออกเป็น 6 อ้าเภอ ซ่ึงมี 50 ต้าบล 394 หมู่บ้าน โดยมีองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นจ้านวน 49 แห่ง ประกอบด้วยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล จ้านวน 18 แห่ง (1 เทศบาลนคร 4 เทศบาลเมือง และ 13 เทศบาลต้าบล) และองคก์ ารบริหารส่วนต้าบล จา้ นวน 30 แห่ง สามารถจ้าแนกตามรายอา้ เภอได้ดงั น้ี (ดงั ตารางท่ี 11) (1) อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ ประกอบด้วย เทศบาล 7 แห่ง : เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลเมืองปากน้าสมุทรปราการ เทศบาลต้าบลส้าโรงเหนือ เทศบาลต้าบลบางปู เทศบาลต้าบลแพรกษา เทศบาลต้าบลด่านสา้ โรง และเทศบาลต้าบลบางเมือง อบต. 4 แห่ง : แพรกษา บางด้วน บางโปรง เทพารักษ์ และแพรกษาใหม่ (2) อ้าเภอบางบอ่ ประกอบด้วย เทศบาล 4 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางบ่อ เทศบาลต้าบลคลองสวน เทศบาลตา้ บลคลองดา่ น และเทศบาลต้าบลบางพลีน้อย อบต. 7 แห่ง : บางเพรียง บ้านระกาศ คลองด่าน บางบ่อ คลองนิยมยาตรา คลองสวน และเปร็ง (3) อา้ เภอบางพลี ประกอบด้วยเทศบาล 1 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางพลี อบต. 6 แห่ง : บางพลีใหญ่ บางแกว้ บางโฉลง บางปลา ราชาเทวะ และหนองปรอื (4) อ้าเภอพระประแดง ประกอบด้วยเทศบาล 3 แห่ง : เทศบาลเมืองพระประแดง เทศบาลเมืองลัดหลวง และเทศบาลเมืองปเู่ จ้าสมิงพราย อบต. 6 แห่ง : ทรงคนอง บางกระสอบ บางยอ บางน้าผึ้ง บางกะเจ้า และบางกอบัว (5) อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ ประกอบด้วยเทศบาล 2 แห่ง : เทศบาลต้าบลพระสมุทรเจดีย์และ เทศบาลตา้ บลแหลมฟ้าผ่า อบต. 4 แหง่ : บ้านคลองสวน ในคลองบางปลากด แหลมฟา้ ผา่ และนาเกลือ (6) อ้าเภอบางเสาธง ประกอบด้วยเทศบาล 1 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางเสาธง อบต. 3 แห่ง : บางเสาธง ศีรษะจรเขน้ ้อย และศีรษะจรเข้ใหญ่ ตารางที่ 1.1 แสดงจ้านวนหมู่บา้ น ตา้ บล เทศบาลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนต้าบล พ.ศ. 2558 อ้าเภอ พืนที่ ต้าบล หมบู่ า้ น เทศบาล อบต. หมายเหตุฯ (ตร.กม.) (แห่ง) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) จงั หวัดสมทุ รปราการ 1,004.09 50 399 18 30 1 เทศบาลนคร 4 เทศบาลเมอื ง 13 เทศบาลตา้ บล เมอื งสมุทรปราการ 190.55 13 95 7 5 1 เทศบาลนคร 1 เทศบาลเมอื ง 5 เทศบาลต้าบล พระประแดง 73.37 15 67 3 6 3 เทศบาลเมอื ง บางพลี 243.89 6 83 1 6 1 เทศบาลตา้ บล พระสมุทรเจดยี ์ 120.38 5 42 2 4 2 เทศบาลต้าบล บางบอ่ 245.01 8 74 4 6 4 เทศบาลต้าบล บางเสาธง 130.89 3 38 1 3 1 เทศบาลตา้ บล แหลง่ ท่มี า: ข้อมลู จากส้านกั นโยบายและแผน กระทรวงมหาดไทย

แผนพัฒนาจังหวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |8 2.2) การบริหารราชการในพืนที่จังหวัดฯ มีหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) ส่วนราชการสงั กดั สว่ นภูมภิ าค มจี ้านวน 31 หนว่ ยงาน (2) ส่วนราชการสังกัดสว่ นกลาง มจี า้ นวน 52 หนว่ ยงาน (3) ส่วนราชการสังกดั ส่วนทอ้ งถ่นิ มจี า้ นวน 49 หนว่ ยงาน (4) สว่ นราชการอิสระ มจี า้ นวน 5 หนว่ ยงาน (5) รฐั วิสาหกจิ มีจา้ นวน 15 หน่วยงาน 3) โครงสร้างพืนฐานและการเขา้ ถึงการบริการ 3.1) การคมนาคมและการขนสง่ 1. การคมนาคมทางบก 1.1 ทางหลวงสายหลกั ทางหลวงสายหลักซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงสมุทรปราการที่ส้าคัญ ในพืน้ ท่ีมีท้งั หมด 17 สายทาง ซง่ึ มีระยะทางรวม 219.62 กิโลเมตร ได้แก่ (รายละเอยี ดตามตารางท่ี 1-9) (1) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3 (ถนนสุขุมวทิ ) (2) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 34 (ถนนบางนา – ตราด) (3) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 303 (ถนนสุขสวสั ด์ิ) (4) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 354 (ทางแยกเข้าสนามบนิ สวุ รรณภูมิ ดา้ นทิศตะวนั ตก) (5) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3104 (ถนนเพชรหงึ ส)์ (6) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3113 (ถนนป่เู จา้ สมิงพราย) (7) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3116 (ถนนบางป้ิง-แพรกษา) (8) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3117 (ถนนปานวถิ ี) (9) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3243 (ถนนแหลมฟา้ ผ่า) (10) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3344 (ถนนศรีนครินทร์) (11) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว้ ) (12) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3268 (ถนนเทพารกั ษ์) (13) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3413 (ถนนเลยี่ งเมอื งบางบ่อ) (14) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3701 (ทางบรกิ ารพเิ ศษสายมอเตอรเ์ วย์ดา้ นซา้ ย) (15) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3702 (ทางบรกิ ารพเิ ศษสายมอเตอรเ์ วยด์ า้ นขวา) (16) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3901 (ทางบริการถนนกาญจนาภิเษกด้านซา้ ย) (17) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3902 (ทางบรกิ ารถนนกาญจนาภเิ ษกดา้ นขวา) 1.2 ทางหลวงสายรอง ทางหลวงสายรอง ที่อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงชนบทสมุทรปราการ ท่สี ้าคัญในพนื้ ท่ีมที ัง้ หมด 13 สายทาง ซึ่งมรี ะยะทางรวม 95.591 กโิ ลเมตร (รายละเอียดตาม ตารางที่ 1-10) (1) แยก ทล.หมายเลข 314 (กม.ที่ 14.800) – บ้านลาดกระบัง (ตอนสมทุ รปราการ) (2) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ที่ 18.165) – อ่อนนชุ (3) แยก ทล.หมายเลข 3344(กม.ที่15.568) – บ้านบางพลีใหญ่ (4) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ท่ี 26.150) - ทางหลวงพเิ ศษหมายเลข 7 (5) แยกทล.หมายเลข ฉช. 3001 (กม.ท่ี 11.485) - บ้านคลองนิยมยาตรา (6) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ที่ 60.250) – บา้ นบางพลีน้อย (7) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ท5ี่ 2.600)- เคหะบางพลี (8) แยก ทลช.หมายเลข สป.5004 (กม.ที่ 3.520)- บ้านเทพราช

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |9 (9) แยก ทล.หมายเลข 3256 (กม.ท่ี 17.085)–วัดกง่ิ แกว้ (10) แยก ทล.หมายเลข 3344 (กม.ที่ 13.750) – สุขุมวิท (11) เชื่อมทางหลวงหมายเลข 3243 (กม.ท่ี 5.317) – บางขนุ เทียน (12) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ท่ี 49.035) – เทพารักษ์ (13) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ท่ี 29.800) - รร.คลองหลมุ ลึก 1.3 เสน้ ทางการคมนาคมอ่ืน ๆ ที่ส้าคญั จังหวัดสมุทรปราการนอกจากจะมีทางหลวงสายหลัก-สายรองแล้ว ยังมีทางหลวงพิเศษซ่ึงอยู่ใน ความรับผิดชอบของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้แก่ ทางพิเศษสายมอเตอร์เวย์ และทางด่วนกาญจนา ภิเษกท่ีเชื่อมต่อสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ ทางพิเศษบูรพาวิถี ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม พร้อมทั้งมีสะพานแขวน ขา้ มแม่น้าเจา้ พระยา จา้ นวน 2 แห่ง คือ สะพานกาญจนาภิเษก และสะพานภูมิพล 1 สะพานภูมิพล 2 รวมท้ัง ทางเชอ่ื มเส้นทางดว่ นกาญจนาภิเษกสายบางพลี-สุขสวัสด์ิ กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (ช่วงบางหัวเสือ) และ ทางพิเศษบูรพาวิถี (ช่วงด่านบางแก้ว) และมีโครงข่ายเช่ือมโยงถนนสายหลักสายรองที่ถ่ายโอนให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินดูแล จ้านวนทั้งสิ้น 82 สายทาง ซึ่งเส้นทางคมนาคมหลักในจังหวัดฯ จะใช้ในการขนส่ง สนิ คา้ ของภาคอตุ สาหกรรมและภาคการเกษตรของจงั หวดั ฯและพ้นื ที่ติดต่อใกล้เคียง ทา้ ให้มีปริมาณการจราจร หนาแน่นและติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วนส่งผลให้เกิดวิกฤตด้านการจราจรอย่างหนัก ประกอบกับจังหวัดฯ ได้มีการประกาศใช้ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ฉบับปี พ.ศ. 2556 ซึ่งได้ก้าหนดแผนผังโครงการคมนาคมและ ขนสง่ ในพืน้ ท่ี ซึ่งจะมผี ลบังคับใช้ 5 ปี นบั ตง้ั แต่วันท่ี 5 กุมภาพนั ธ์ 2557 -วนั ท่ี 4 กุมภาพนั ธ์ 2562 ภาพท่ี 1.9 แผนภาพผงั แสดงโครงการคมนาคมและขนสง่ ในพืนท่ี 2. การคมนาคมทางนา้ จังหวัดสมุทรปราการมีท่าเทียบเรือขนส่งโดยสารสาธารณะ และท่าขนส่งสินค้าที่ส้าคัญ รวม 30 แห่ง และมที ่าเทียบเรอื ขนาดเกินกว่า 500 ตนั จา้ นวน 55 ท่าโดยมที ่าเทียบเรอื ทสี่ า้ คัญ ดงั นี้ - ท่าเรือพบิ ูลยศ์ รี ตั้งอยู่ที่ตา้ บลปากนา้ อ้าเภอเมืองบางประกอก

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 10 - ทา่ เรอื พระประแดง ตง้ั อยู่ที่หนา้ ท่วี ่าการอ้าเภอพระประแดง - ท่าเรือคลองด่าน ตง้ั อยูท่ ีต่ ้าบลคลองด่าน อา้ เภอบางบอ่ - ท่าหอ้ งเยน็ ตง้ั อยู่ที่ตา้ บลท้ายบา้ น อ้าเภอเมอื งสมทุ รปราการ - ทา่ สะพานปลา ต้ังอยู่ทีต่ ้าบลทา้ ยบ้าน อา้ เภอเมอื งสมทุ รปราการ - ท่าเรือข้ามฝากเภทรา ใช้บรรทุกยานพาหนะข้ามฟากระหว่างอ้าเภอพระประแดงฝ่ังตะวันตก และตะวันออก - ท่าเรืออายิโนะโมโต๊ะ อยู่ในเขตอ้าเภอพระประแดง ใช้บรรทุกยานพาหนะข้ามฟากไปยัง บริเวณทา่ เรือข้ามฟาก อ้าเภอบางเสาธง 3. การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดสมุทรปราการมี ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi International Airport) ซ่ึงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางอากาศที่ส้าคัญของประเทศไทย ภูมิภาค และของโลก ต้ังอยู่ที่ ถนนบางนา-ตราด ประมาณกิโลเมตรที่ 15 ต้าบลราชาเทวะ อ้าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจาก ใจกลางกรุงเทพมหานคร 25 กโิ ลเมตร เปิดใช้งานวันที่ 28 กันยายน 2549 นับเป็นท่าอากาศยานที่มีพื้นท่ีขนาดใหญ่ ที่สุดของไทย (เน้ือที่ 20,000 ไร่) มีปริมาณผู้โดยสารสูงถึง 58 ล้านคนต่อปี รองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมง และรองรับการขนส่งสินค้าทางอากาศ 3 ล้านตันต่อปี ขณะน้ีก้าลังขยายเฟส 2 เพื่อเพิ่มหลุมจอดอีก 28 หลุมจอด และเพ่ิมทางว่ิงจาก 2 รันเวย์เป็น 4 รันเวย์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งจะสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 85 ล้านคนต่อปี และเป็นส่วนส้าคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นศูนย์กลาง ด้านการบินของภูมิภาค โดยท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นศูนย์กลางการบินประตูสู่เอเชีย และเป็น แหลง่ ก้าเนิดกจิ กรรมการขนสง่ ขนาดใหญ่ที่เป็นเขตอตุ สาหกรรมหนาแน่น เขตพาณิชยกรรม เขตแหล่งท่องเที่ยว ในอนาคตคาดว่าแหล่งก้าเนิดกิจกรรมเหล่านจ้ี ะขยายตวั และกอ่ ให้เกดิ ปรมิ าณการเดนิ ทางหลากหลายรปู แบบ 3.1 สถานการณแ์ ละแนวโน้มการขนส่งทางอากาศ สถานการณ์การขนส่งทางอากาศในปี พ. ศ. 255 9 พบว่า ท่าอากาศยานสุว รรณภูมิ มีผู้ใช้บริการสูงถึง 55 ล้านคน เพ่ิมขึ้นจากปี พ.ศ. 2558 ร้อยละ 5.14 จ้านวนผู้โดยสารเดินทางรวมทั้งสิ้น มีเท่ียวบินรวม 335,981 เที่ยวบิน เพ่ิมข้ึนร้อยละ 8.08 และมีปริมาณการขนส่งสินค้ารวม 1.71 ล้านตัน โดยแบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจ้านวน 45,559,408 ล้านคน เพิ่มข้ึนร้อยละ 3.67 และผู้โดยสาร ภายในประเทศจ้านวน 9,512,801 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.75 ในส่วนของเที่ยวบินก็เพิ่มข้ึนเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2559 มเี ท่ียวบินใหบ้ รกิ ารจ้านวน 335,981 เท่ียวบิน หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 8.08 เท่ียวบินระหว่าง ประเทศ มีจ้านวน 258,924 เที่ยวบิน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 6.57 ส้าหรับเท่ียวบินภายใน มีจ้านวน77,057เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.16 และมีการขนส่งสินค้าในภาพรวม จ้านวนทั้งสิ้น 1,710,689 ตัน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 32.81 แบ่งเป็นการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1,259,345 ตัน เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.95 การขนส่งสินค้าภายในประเทศ 45,723 ตนั เพมิ่ ขึน้ รอ้ ยละ 12.66 ในปี พ.ศ. 2560 คาดว่าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีอัตราการเพิ่มขึ้นของจ้านวนผู้โดยสารในภาพรวม อยู่ท่ี 8.7 (ผู้โดยสารห้วงเดือน มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560 มีจ้านวน 29,937,909 คน) ท้ังนี้ ท่าอากาศ ยานสุวรรณภูมิ จะต้องพัฒนาศักยภาพด้านโครงสร้างพื้นฐานและปรับปรุงการให้บริการในด้านต่าง ๆ เพ่ือรองรับจ้านวนผู้โดยสารท่ีจะมีจ้านวนเพ่ิมมากขึ้น โดยการเพิ่มจ้านวนเก้าอี้พักคอยตามจุดต่าง ๆ ในอาคาร ผโู้ ดยสาร เพิ่มจุดให้บริการชาร์ตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การเพ่ิมพ้ืนท่ี Airline Lounge ของสายการบิน และการปรับปรุงพัฒนาห้องสุขาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการให้บริการรองรับการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว และการขนส่งของภาคอุตสาหกรรม ขณะน้ีก้าลังขยายเฟส 2 เพ่ือเพ่ิมหลุมจอดอีก 28 หลุมจอด และเพิ่มทาง วิ่งจาก 2 รันเวย์เป็น 4 รันเวย์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งจะสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 85 ล้านคน ต่อปี และเป็นส่วนส้าคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นศูนย์กลางด้านการบินของ

แผนพัฒนาจังหวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 11 ภูมภิ าค โดยทา่ อากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมเิ ปน็ ศูนย์กลางการบินประตูส่เู อเชยี และเป็นแหล่งก้าเนิดกิจกรรม การขนส่งขนาดใหญ่ท่ีเป็นเขตอุตสาหกรรมหนาแน่น เขตพาณิชยกรรม เขตแหล่งท่องเที่ยวในอนาคตคาดว่า แหลง่ ก้าเนิดกจิ กรรมเหล่านี้จะขยายตัว และกอ่ ให้เกิดปริมาณการเดนิ ทางหลากหลายรูปแบบ ตารางท่ี 1.2 สถิติการขนสง่ ทางอากาศ พ.ศ. 2554 – 2558 ของจงั หวัดสมุทรปราการ ปี จา้ นวน ผโู้ ดยสาร การขนถา่ ยสินค้า (ตัน) การขนถา่ ยไปรษณียภัณฑ์ (ตนั ) เทีย่ วบนิ รวม ออก เข้า ผ่าน รวม ออก เข้า ผา่ น รวม ออก เขา้ ขึน - ลง Total Departur Arrival Transit Total Departur Arrival Transit Total Depart Arrival e e ure 2554 299,566 47,910,90 23,104,46 23,209,373 1,597,067 1,347,514 744,701 575,395 27,418 1,766 1,417 340 44 2555 314,199 53,002,32 25,672,14 25,970,442 1,359,740 1,377,932 743,888 599,792 34,252 1,835 1,389 421 86 2556 297,616 50,168,27 24,989,13 25,179,135 272,057 1,278,249 675,886 558,967 43,396 1,380 959 411 27 2557 289,568 46,423,16 22,688,26 22,760,098 974,802 1,281,299 699,087 534,053 48,159 1,081 662 373 88 2558 310,867 52,383,68 25,741,29 25,680,521 961,872 1,288,087 707,347 531,891 48,849 1,078 642 442 63 2259 335,981 55,072,20 27,47552 27,596,238 1,518,272 1,710,689 714,668 590,400 51,959 8,863 5,181 3,682 94 แหล่งท่ีมา: กรมการบินพลเรอื น กระทรวงคมนาคม 4. การคมนาคมระบบราง 4.1 โครงการรถไฟฟ้าสายสเี ขียว ช่วงแบร่ิง-สมทุ รปราการ คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ รฟม. ด้าเนินการ ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงหมอชิต - สะพานใหม่ และช่วงแบร่ิง - สมุทรปราการ รวมเป็น ระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร โดยแนวเส้นทางโครงการระบบขนส่งกรุงเทพมหานคร ช่วงแบริ่ง - สมุทรปราการ มีโครงสร้างรถไฟฟ้าแบบยกระดับตลอดเส้นทาง ระยะทาง 13 กิโลเมตร เป็นระบบรถไฟฟ้า ขนาดใหญ่ (Heavy Rail Transit System) แนวเส้นทางเริ่มต้นต่อเนื่องจากแนวเส้นทางของโครงการระบบ ขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ตอนท่ี 1 ช่วงอ่อนนุช - แบริ่ง บริเวณ ซอยสุขุมวิท 107 (แบริ่ง) ไปตามแนวเกาะกลางของถนนสุขุมวิท ผ่านคลองส้าโรง ผ่านแยกเทพารักษ์ แยกปู่เจ้าสมิงพราย เมื่อถึงบริเวณจุดตัดกับโครงการถนนวงแหวนรอบนอกด้านใต้แนวจะเบี่ยงจากเกาะกลาง ไปทางทิศตะวนั ตกของถนนสุขุมวิท เพ่ือข้ามทางต่างระดับสุขุมวิท จากน้ันจึงเบี่ยงกลับมาอยู่ในแนวเกาะกลาง ถนนสุขุมวิท ผ่านแยกศาลากลาง แยกการไฟฟ้า แยกแพรกษา แยกสายลวด จนถึงจุดส้ินสุดโครงการบริเวณ หน้าสถานไี ฟฟา้ ย่อยบางปง้ิ โดยแนวเสน้ ทางจะเบ่ียงออกทางด้านทิศตะวนั ตก และลดระดบั เพ่ือเข้าศูนย์ซ่อมบา้ รุง สถานีรถไฟฟา้ สายสีเขยี ว ช่วงแบรง่ิ – สมุทรปราการประกอบด้วยสถานีทั้งหมด 9 สถานี ได้แก่ สถานี ส้าโรง สถานีปู่เจ้าสมิงพราย สถานีเอราวัณ สถานีโรงเรียนนายเรือ สถานีสมุทรปราการ สถานีศรีนครินทร์ สถานแี พรกษา สถานีสายลวด และสถานีเคหะสมุทรปราการ โดยบางสถานีจะเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชน สายอื่น ๆ เพ่ือให้ผู้โดยสารสามารถเดินทางได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ยังมีบันไดเลื่อน ลิฟต์ ห้องน้า ปา้ ยประชาสัมพันธแ์ ละสิง่ อา้ นวยความสะดวกตา่ ง ๆ เพอื่ ผูพ้ กิ ารอีกดว้ ย ปัจจุบัน (31 สิงหาคม 2559) การก่อสร้างรถไฟฟ้ามีความก้าวหน้าไปกว่า 95.04% ซึ่งมีก้าหนดการเปิด ให้บรกิ ารในปี พ.ศ. 2561 หากเปิดใช้บริการแล้วก็จะช่วยอ้านวยความสะดวกในการเดินทางแก่ประชาชนที่มาพักอาศัย ประกอบธรุ กรรมและท่องเทยี่ วในพ้ืนที่ รวมทัง้ สามารถแก้ไขปญั หาการจราจรได้อกี ทางหน่ึง

แผนพฒั นาจังหวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 12 ภาพที่ 1.10 แสดงสถานรี ถไฟฟา้ สายสเี ขียว ชว่ งแบร่งิ – สมทุ รปราการ แหลง่ ทีม่ า : การรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย 4.2 โครงการรถไฟฟา้ สายสมี ่วง ช่วงเตาปนู - ราษฎร์บรู ณะ (วงแหวนกาญจนาภเิ ษก) โครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ มีระยะทางท้ังส้ิน 23.6 กิโลเมตร เป็นโครงสร้างทางว่ิงใต้ดิน 12.6 กิโลเมตร และโครงสร้างทางยกระดับ 11 กิโลเมตร และมีสถานีทั้งส้ิน 17 สถานี เปน็ สถานใี ตด้ นิ 10 สถานี และสถานียกระดบั 7 สถานี แนวเส้นทางโครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ เร่ิมจากจุดเช่ือมต่อโครงการ รถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงบางใหญ่ - บางซ่ือ ที่บริเวณสถานีเตาปูน โดยเปลี่ยนเป็นเส้นทางใต้ดินแล้วเบ่ียงเข้าสู่ ถนนสามเสน ผ่านรัฐสภาแห่งใหม่ (โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม) โรงเรียนราชินีบน กรมชลประทาน โรงพยาบาล วชิรพยาบาล หอสมุดแห่งชาติ คลองบางล้าพู เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพระสุเมรุ ผ่านวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร แยกผ่านฟ้า เข้าสู่ถนนมหาไชย ผ่านวัดราชนัดดารามวรวิหาร เข้าสู่ถนนจักรเพชร ลอดใต้แม่น้าเจ้าพระยา บริเวณสะพานพระปกเกล้า เข้าสู่ถนนประชาธิปก ผ่านสีแยกบ้านแขก ลอดใต้วงเวียนใหญ่ เข้าสู่ถนนสมเด็จ พระเจ้าตากสิน ลอดแยกมไหสวรรย์ จากน้ันเปลี่ยนเส้นทางยกระดับผ่านแยกถนนจอมทองเข้าสู่ถนนสุขสวัสด์ิ ผ่านแยกถนนประชาอุทิศ ข้ามทางด่วนเฉลิมมหานคร เข้าสู่ราษฎร์บูรณะข้ามคลองแจงร้อน ผ่านสามแยก พระประแดง และส้นิ สดุ เสน้ ทางบรเิ วณครุใน โดยมีแผนก่อสร้างโครงการและทดสอบระบบ ในปี พ.ศ. 2560 - 2565 ซง่ึ คาดวา่ จะเปดิ บริการในช่วงเดอื นมกราคม พ.ศ. 2566 ภาพที่ 1.11 แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟา้ สายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) แหลง่ ที่มา : การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย

แผนพัฒนาจังหวดั จังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 13 4.3 โครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สา้ โรง โครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลือง ชว่ งลาดพร้าว-ส้าโรง เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (Straddle Monorail) มีลักษณะเป็นโครงสร้างยกระดับตลอดแนวเส้นทาง มีระยะทางท้ังสิ้น 30.4 กิโลเมตร รวม 23 สถานี มีจุดประสงค์เพ่ือเช่ือมต่อการเดินทางระหว่างสายสีน้าเงินที่สถานีรัชดา (สถานีลาดพร้าว ของสายสีน้าเงิน) กับระบบขนส่งมวลชน 4 สาย คือ สายสีเทาของกรุงเทพ สายสีส้มบริเวณทางแยกล้าสาลี รถไฟเชื่อมต่อท่าอากาศยาน (Airport Rail Link) บริเวณทางแยกต่างระดับพระราม 9 และสายสีเขียว ชว่ งแบริ่ง-สมทุ รปราการ ท่สี ถานสี า้ โรง โดยแนวเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส้าโรง เริ่มต้นท่ีจุดเช่ือมต่อกับระบบ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรชั มงคล (สายสนี า้ เงินระยะแรก) ที่แยกรัชดา-ลาดพร้าว ไปตามแนวถนนลาดพร้าว โดยเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทาของกรุงเทพมหานครที่แยกฉลองรัช และยกระดับข้ามทางด่วน ฉลองรัชจนถึงทางแยกบางกะปิ จากน้ันแนวเส้นทางจะเล้ียวขวาไปทางทิศใต้ตามถนนศรีนครินทร์ เชื่อมต่อกับ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มท่ีทางแยกล้าสาลี ต่อจากนั้นแนวเส้นทางจะยกระดับข้ามทางแยกต่างระดับ พระราม 9 โดยเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) และผ่าน แยกพัฒนาการ แยกศรีนุช แยกศรีอุดมสุข แยกศรีเอ่ียม จนถึงแยกศรีเทพา จากนั้นแนวเส้นทางจะเล้ียวขวา อีกคร้ังไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนเทพารักษ์ ผ่านจุดเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงแบร่ิง- สมทุ รปราการ ท่สี ถานีส้าโรง และส้ินสุดแนวเส้นทางบริเวณถนนปู่เจ้าสมิงพราย รวมระยะทางทั้งส้ินประมาณ 30.4 กิโลเมตร ประกอบด้วยสถานีท้ังหมด 23 แห่ง โรงจอดรถศูนย์ซ่อมบ้ารุง 1 แห่ง อาคารและลาน จอดแล้วจร 1 แหง่ บริเวณพื้นทที่ างแยกต่างระดับศรีเอ่ียม ภาพท่ี 1.12 แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟา้ สายสเี หลือง ช่วงลาดพรา้ ว-ส้าโรง แหลง่ ทมี่ า : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

แผนพฒั นาจังหวดั จังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 14 5. ดา้ นการใช้ไฟฟา้ 5.1 การใหบ้ รกิ ารการไฟฟ้า จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในเขตความรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง มีการบริการไฟฟ้าครอบคลุม พน้ื ที่ทุกอ้าเภอ โดยแบง่ เขตความรบั ผิดชอบการให้บริการไฟฟ้าเป็น 4 เขต ได้แก่ (1) การไฟฟ้านครหลวง เขตสมทุ รปราการ (2) การไฟฟ้านครหลวง เขตบางพลี (3) การไฟฟ้านครหลวง เขตประเวศ (4) การไฟฟ้านครหลวง เขตราษฎร์บรู ณะ 5.2 สถิตกิ ารใช้ไฟฟา้ ส้าหรับการให้บริการไฟฟ้าในพื้นท่ี เม่ือปี พ.ศ. 2559 พบว่า มีจ้านวนผู้ใช้กระแสไฟฟ้าทั้งส้ิน 461,517 ราย ใช้กระแสไฟฟ้ารวม 10,005 ล้านกิโลวัตต์/ช่ัวโมง โดยใช้ในท่ีอยู่อาศัยจ้านวน 1,445 ล้าน กโิ ลวัตต์/ชั่วโมง สถานธรุ กจิ และอุตสาหกรรม จ้านวน 8,312 ล้านกิโลวตั ต์/ช่วั โมง และอนื่ ๆ จ้านวน 248 ล้าน กิโลวตั ต/์ ชั่วโมง ซง่ึ มแี นวโนม้ เพิม่ ขึ้นเร่อื ย ๆ รายเอยี ดดงั ตารางท่ี 1.3 ตารางที่ 1.3 สถิติผูใ้ ชไ้ ฟฟา้ และการจ้าหน่ายพลงั งานไฟฟา้ ของการไฟฟ้านครหลวง จ้าแนก ตามประเภทผใู้ ช้ จังหวดั สมุทรปราการ พ.ศ. 2556 – 2559 ประเภทผ้ใู ช้ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 จา้ นวนผใู้ ช้ไฟฟา้ (ราย) 413,082 433,057 443,224 461,517 พลังงานไฟฟ้าที่จ้าหน่ายและ 9,292,128,316 9,417,229,005 9,582,473,251 10,005,960,749 ใช้ (กิโลวตั ต์-ชั่วโมง) 1,175,627,359 1,244,319,237 1,354,600,291 1,445,352,060 บา้ นอยอู่ าศัย 841,427,453 837,964,312 867,586,151 907,071,239 กิจการขนาดเลก็ 1,652,431,077 1,707,216,731 1,790,630,130 1,635,155,155 5,436,242,822 5,416,398,400 5,341,589,138 5,769,974,801 กจิ การขนาดกลาง 186,399,605 211,330,325 228,067,541 248,407,494 กิจการขนาดใหญ่ อนื่ ๆ* แหล่งที่มา: การไฟฟ้านครหลวง หมายเหตุ *ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท กิจการเฉพาะอย่าง องค์กรที่ไม่แสงหาก้าไร สูบน้าเพ่ือการเกษตร ไฟฟ้าชว่ั คราว และไฟฟรี

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 15 ภาพท่ี 1.13 สถติ ิผูใ้ ช้ไฟฟา้ และการจา้ หน่ายพลงั งานไฟฟา้ ของการไฟฟ้านครหลวง จา้ แนก ตามประเภทผ้ใู ช้ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2556 - 2559 บ้านอยอู่ าศยั 11,1,1271,435,445,64,4325,167,390,35,0252,329,079610 พ.ศ. 2559 กิจการขนาดเลก้ 888934607177,,,94,5062874761,,,34,1215532319 พ.ศ. 2558 กจิ การขนาดกลาง พ.ศ. 2557 111,,616,73,5705297,,104,25,3615136,,100,75,71357310 พ.ศ. 2556 กจิ การขนาดใหญ๋ 555,3,,444131656,5,,,37289646892,1,,,49830728042,801 อนื่ ๆ 122281486188,,3,3,4093069077,,6,3,4502945541 0 2,000,000,000 4,000,000,000 6,000,000,000 6. ดา้ นการใช้ประปา จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในความรับผิดชอบของการประปานครหลวง โดยส้านักงานการประปานคร หลวงสมุทรปราการได้ราบงานข้อมลู ในภาพรวมปี พ.ศ. 2559 จ้านวนผู้ใช้น้าประปาทั้งส้ิน 334,483 ราย และ มีปริมาณน้าทจี่ า้ หนา่ ยแก่ผู้ใช้ 243,081,032 ลูกบาศกเ์ มตร มผี ้ใู ชน้ ้าสูงสุดในอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ อ้าเภอ บางพลี และอา้ เภอพระประแดง ตามล้าดับ ดังตารางท่ี 1.4 ตารางท่ี 1.4 สถติ ิการประปา เปน็ รายอ้าเภอ พ.ศ. 2559 พืนที่ ปรมิ าณน้าท่ีจา้ หนา่ ยแก่ผใู้ ช้ ลบ.ม.) ผ้ใู ช้น้า (ราย) Water sales (Cu.M.) Consumers Persons) จงั หวดั สมทุ รปราการ 243,081,032 เมืองสมุทรปราการ 90,089,894 334,483 บางบอ่ 17,099,255 140,142 บางพลี 61,026,933 21,508 พระประแดง 33,386,145 76,531 พระสมุทรเจดยี ์ 17,602,705 41,106 บางเสาธง 23,876,100 35,284 19,912 7. ดา้ นการใช้บริการโทรศพั ท์/อินเตอร์เนต็ 7.1 ชมุ สายโทรศัพท์ท่ใี ห้บริการในพืนท่ี จังหวัดสมุทรปราการมีชุมสายโทรศัพท์ที่เปิดด้าเนินการให้บริการประชาชนครอบคลุม ทกุ พ้ืนท่ี ในจังหวัดสมุทรปราการ มีชมุ สายโทรศัพทท์ ่เี ปิดด้าเนินการ จ้านวน 9 ชุมสาย ได้แก่

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 16 (1) ชุมสายโทรศัพท์สมุทรปราการ ตั้งอยู่ถนนสุขุมวิท อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ เขตรับผิดชอบ คอื บริเวณสะพานวนั มหาวงษเ์ ขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ จนถึงบรเิ วณถนนสุขุมวิท (สายเก่า) กม.ท่ี 30 (2) ชมุ สายโทรศัพท์บางปู ต้ังอยู่ในเขตอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ เขตรับผิดชอบคือ บริเวณ กิโลเมตรท่ี 30 ถนนสุขมุ วทิ ไปจนสดุ เขตบางปใู หม่ (3) ชุมสายโทรศัพท์ปู่เจ้าสมิงพราย ต้ังอยู่ในเขตอ้าเภอพระประแดง เขตรับผิดชอบคือ บรเิ วณเชิงสะพานวดั มหาวงษ์ ถนนเทพารกั ษ์ ปากซอยสขุ มุ วิท 109 และในบรเิ วณวัดดา่ นสา้ โรง (4) ชุมสายโทรศัพท์บางนา ตั้งอยู่ถนนบางนา-ตราด เขตรับผิดชอบคือบริเวณซอยสุขุมวิท 101/1 -10 (5) ชมุ สายโทรศัพท์บางพลี ต้ังอยูใ่ นเขตอ้าเภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา-ตราด กม.5 ถงึ กม.23 และถนนเทพารกั ษ์ กม. 12-กม. 17 ท้งั 2 ฝ่งั (6) ชุมสายโทรศัพท์บางพลี-บางบ่อ ต้ังอยู่ในเขตอ้าเภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา- ตราด กม. 23- กม. 25 และถนนเทพารกั ษ์ กม.17 ถงึ นคิ มอตุ สาหกรรมบางพลี (7) ชุมสายโทรศัพทน์ คิ มบางปู (8) ชุมสายโทรศัพท์บางบ่อ (9) ชมุ สายโทรศพั ท์บางนาทาวเวอร์ 7.2 สถติ กิ ารให้บรกิ ารโทรศัพทใ์ นพนื ท่ี จังหวัดสมุทรปราการมีเลขหมายโทรศัพท์ของบริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน)ท้ังหมด จ้านวน 83,349 หมายเลข ในปี พ.ศ. 2559 มีผู้ขอเช่าหมายเลขเป็นผู้ประกอบธุรกิจ จ้านวน 10,953 หมายเลข บ้านพักอาศัย จ้านวน 28,536 หมายเลข และสถานท่ีราชการจ้านวน 764 หมายเลข รวมท้ังมีการให้บริการโทรศัพท์ สาธารณะ จ้านวน 650 คู่สาย ซึ่งปัจจุบันเป็นของบริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) ทั้งหมด ไม่มีบริษัทสัมปทาน ดงั ตารางที่ 1.5 ตารางท่ี 1.5 แสดงการใหบ้ ริการโทรศพั ท์ พ.ศ. 2556 – 2559 รายการ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 เลขหมายโทรศพั ทท์ ีม่ ี(1) 83,349 83,349 83,349 83,349 บรษิ ทั ทโี อที จา้ กดั (มหาชน) - - - - บรษิ ทั สมั ปทาน 10,926 10,629 9,381 10,953 เลขหมายโทรศพั ทท์ ่มี ผี ูเ้ ช่า 33,409 32,590 32,878 28,536 บรษิ ัท ทีโอที จา้ กัด (มหาชน) 912 857 1,053 764 ธุรกจิ - - - - บา้ นพกั 537 650 650 ราชการ 718 - - - บริษทั ทโี อที จ้ากัด (มหาชน) - โทรศพั ทส์ าธารณะ(2) บริษทั สัมปทาน แหลง่ ทีม่ า: บรษิ ทั ทีโอที จ้ากดั (มหาชน) หมายเหตุ (1) ประกอบดว้ ยเลขหมายโทรศพั ทป์ ระจ้าที่ และสาธารณะ (2) แสดงข้อมูลเฉพาะ ท่ี บริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) ด้าเนินการเอง ไม่รวมที่บริษัท ทีโอที จ้ากดั (มหาชน) เชา่ ตู้/เครือ่ ง และที่ใหส้ ิทธแิ ก่ กสท.

แผนพฒั นาจังหวดั จังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 17 8. การบรกิ ารไปรษณยี ์ จังหวัดสมุทรปราการมีท่ีท้าการไปรษณีย์ครอบคลุมและกระจายในทุกอ้าเภอ โดยมีท่ีท้าการไปรษณีย์ ท้ังหมด 16 แห่ง ซึ่งมีมากในอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ อ้าเภอพระประแดง และอ้าเภอบางพลี เนื่องจากเป็น ศูนย์กลางของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และมีประชาชากรอาศัยอยู่หนาแน่น รวมทั้งยังมีร้านไปรษณีย์ ท่ีคอย ให้บรกิ ารในทกุ พน้ื ทอ่ี ีกจา้ นวน 8 แหง่ ดงั ตารางที่ 1.6 และ 1.7 ตารางท่ี 1.6 แสดงขอ้ มูลไปรษณยี ์ไทย และรา้ นไปรษณียไ์ ทยในจงั หวัดสมทุ รปราการ ที่ รหัสไปรษณีย์ ชื่อท่ที า้ การ/หน่วยงาน ท่อี ยู่ 1 10270 ปจ.สมุทรปราการ 87 ถ.สขุ มุ วทิ ต.ปากน้า อ.เมืองฯ 2 10270 ปณ.ด่านส้าโรง 173/1-2 ม. 5 ถ. ศรนี ครินทร์ ต.สา้ โรงเหนือ อ.เมืองฯ 3 10270 ปณ.บางปู 400 ม.2 ถ.สุขมุ วิท ต.ท้ายบ้าน อ.เมอื งฯ 4 10270 ปณ.ปากน้า 5 ม.2 ถ.สุทธภิ ิรมย์ ต.ปากน้า อ.เมอื งฯ 5 10270 ปณ.สา้ โรง 176-177 ม.9 ถ.สขุ ุมวิท ต.เทพารกั ษ์ อ.เมืองฯ 6 10560 ปณ.บางบ่อ 323 ม.1 ถ.รัตนราช ต.บางบอ่ อ.บางบอ่ 7 10550 ปณ.คลองด่าน 151/1 ม. ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ 8 10540 ปณ.บางพลี 99/4 ม.12 ถ.รตั นพิศาล ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี 9 10540 ปณ.บางนาทาวเ์ วอร์ 2/3 ม. 14 ซ.อาคารบางนาทาว์เวอร์ ชั้น เอ ถ.บางนา-ตราด ต.บางแก้ว อ.บางพลี 10 10540 ปณ.ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ ท่าอากาศยานสวุ รรณภูมิ ต.หนองปรอื อ.บางพลี 11 10540 ศูนยไ์ ปรษณียส์ วุ รรณภมู ิ ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ ม.7 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี 12 10542 ปณ.บางเสาธง 213/2 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง 13 10130 ปณ.พระประแดง 39 ม.18 ถ.สขุ สวัสด์ิ ต.บางพงึ อ.พระประแดง 14 10130 ปณ.ปากลดั 40 ถ.ศรีนครเข่ือนขันธ์ ต.ตลาด อ.พระประแดง 15 10130 ปณ.สา้ โรงใต้ 14/14-15 ถ.ปู่เจ้าสมงิ พราย ต.ส้าโรงกลาง อ.พระประแดง 16 10290 ปณ.พระสมุทรเจดีย์ 193 ม. 3 ถ.สุขสวัสดิ์ ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมุทร เจดีย์ แหล่งทมี่ า: ท่ีทา้ การไปรษณยี ์ไทย (Thailand Post) ตารางท่ี 1.7 แสดงข้อมูลร้านไปรษณยี ไ์ ทยในจงั หวัดสมุทรปราการ ที่ ชื่อทท่ี ้าการ/หนว่ ยงาน ท่อี ยู่ 1 ปณร.สมทุ รปราการ201 (ศรีสมทุ ร) 143 ถ.ศรีสมุทร ต.ปากน้า อ.เมืองฯ 2 ปณร.สมุทรปราการ 202 (เทพารกั ษ)์ 420/185 ม.5 ถ.เทพารักษ์ อ.เมืองฯ 3 ปณร.สมทุ รปราการ 201 (แพรกษา) 431/6 ม. 3 ต. แพรกษา อ. เมอื งฯ 4 ปณร.สมทุ รปราการ 203 (อิมพีเรียลสา้ โรง) CG 46 ช้นั 1 เลขที่ 999 ถ.สุขมุ วิท ต.สา้ โรง อ.เมอื งฯ 5 ปณร.สมทุ รปราการ 204 (ทรัพย์บญุ ชยั ) 228 ม. 5 ต. บางเมือง อ.เมอื งฯ 6 ปณร.สมทุ รปราการ 205 (ตลาดหนามแดง) 1054/9 ม. 6 ถ. เทพารกั ษ์ อ.เมืองฯ 7 ปณร.บางพลี 201 (ตลาดไทยประกนั ) 128/25 ม. 1 ถ. เทพารักษ์ อ.บางพลี 8 ปณร.บางพลี 202 (ก่ิงแกว้ 4) 36/14 ม.1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี แหล่งทมี่ า: ทท่ี ้าการไปรษณยี ไ์ ทย (Thailand Post)

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 18 1.1.2 ดา้ นเศรษฐกจิ 1) อตั ราการขยายตัวของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) จังหวัดสมุทรปราการ มีฐานเศรษฐกิจส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม และภาคพาณิชย์กรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ ช้ินส่วนยานยนต์ อุปกรณ์เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ พลาสติก เคร่ืองใช้ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป การขนส่งสินค้าและบริการ (Logistic) และธุรกิจ ค้าขายของภาคเอกชน ซ่ึงการวิเคราะห์ข้อมูล GPP พบว่าในปี พ.ศ.2558 จังหวัดสมุทรปราการ มีมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) จ้านวน 685,392 ล้านบาท สูงเป็นอันดับ 4 ของประเทศ รองจากกรุงเทพมหานคร ระยอง และชลบุรี โดยมีอัตราการขยายตัว ณ ราคาคงที่จากปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 2.3 และมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉล่ียต่อคน (GPP Per Capita) อยู่ที่ 339,972 บาท สูงเป็นอันดับ 8 ของประเทศ รองจากระยอง กรุงเทพฯ ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร และปราจนี บรุ ี จากการวิเคราะห์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2558 ณ ราคาประจ้าปี พบว่า สัดส่วนโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2558 ส่วนใหญ่เป็นภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 45 การขนส่งรอ้ ยละ 22 การขายส่งขายปลีกร้อยละ 14 และการบรกิ ารด้านอสงั หาริมทรัพย์ฯ ร้อยละ 6 อสังหาริมทรพั ย์ฯ อน่ื ๆ อุตสาหกรรม 6% 13% 45% ขายส่งขายปลกี 14% ขนส่ง 22% ภาพท่ี 1.14 แสดงสดั ส่วนผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัด (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลิต ปี 2558 2) โครงสร้างรายได้หลกั 2.1) ข้อมูลเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการเป็นแหล่งวัตถุดิบที่น้าเข้าจากต่างประเทศ และเป็นคลังสินค้าท่ีส้าคัญ นอกจากนี้ยัง เป็นศูนย์กลางการขนส่งท้ังทางบก ทางน้า และทางอากาศ ซ่ึงมีความสะดวก รวดเร็ว และช่วยในการลดต้นทุน การผลิตของภาคอตุ สาหกรรม จึงส่งผลนักลงทุนเข้ามาประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ้านวนมาก โดยดูได้ จากการขอจดทะเบียนโรงงานของจังหวัดฯ พบว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีได้รับการจดทะเบียนท้ังสิ้น 7,567 แห่ง (รวมในนิคมอุตสาหกรรม) ข้อมูล ณ วันท่ี 20 กันยายน 2560 เงินทุน 607,873.984 ล้านบาท มีคนงานจ้านวน 467,041 คน แบ่งเป็น เพศชาย จ้านวน 272,381 คน และเพศหญิง จ้านวน 194,660 คน นับได้ว่าเป็นจังหวัดท่ีมี โรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ้านวนมากท่ีสุดแห่งหนึ่งในประเทศ และมีอุตสาหกรรมการผลิตท่ีส้าคัญ ได้แก่ ยานยนต์ และชิ้นส่วนรถยนต์ เครื่องจักร/อุปกรณ์ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ส่ิงทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูป เคมีภัณฑ์/พลาสติก ฯลฯ โดยตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม และนอกนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับ ชว่ งระยะเวลาเดียวกันกับปีที่แล้ว พบว่ามีอัตราจ้านวนโรงงานที่ได้รับอนุญาตใหม่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพียงร้อยละ 2.8 และเงนิ ลงทนุ เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 4 ซึ่งจากนโยบายรัฐบาลที่เอื้อต่อการลงทุนภาคอุตสาหกรรม รวมถึงการมีความพร้อม

แผนพัฒนาจังหวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 19 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เส้นทางคมนาคมที่เชื่อมโยงภูมิภาคต่าง ๆ ท้ังทางบก ทางน้า ทางอากาศ สะดวกต่อ การคมนาคมขนส่ง แต่ยังมีอุปสรรคต่อการการลงทุน จากการก้าหนดผังเมืองรวมท้าให้มีข้อจ้ากัดในการขออนุญาต ตง้ั และขยายโรงงานได้เฉพาะบางพืน้ ท่ีและบางชนิดประเภทของโรงงาน และท่ดี ินราคาสงู และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ท้าให้การลงทุนภาคธุรกิจมีต้นทุนสูงข้ึน ประกอบกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม่ม่ันใจต่อเศรษฐกิจท้าให้ ระมัดระวังในการลงทุน และหรือการขยายการลงทุน ดังน้ัน จึงส่งผลท้าให้การลงทุนภาคอุตสาหกรรมในปัจจุบัน เตบิ โตในอตั ราทตี่ ้่า นิคมอุตสาหกรรม การแบ่งพ้ืนที่ในนิคมอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) เขตอุตสาหกรรมท่ัวไป (General Industrial Zone) คือ เขตพ้ืนที่ท่ีก้าหนดไว้ส้าหรับการประกอบ อุตสาหกรรม การบริการหรือกิจการอ่ืนท่ีเป็นประโยชน์ หรือเก่ียวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือ การบริการ (2) เขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) คือ เขตพื้นที่ที่ก้าหนดไว้ส้าหรับการประกอบ อุตสาหกรรมพาณิชยกรรม หรือกิจการอ่ืนที่เก่ียวเน่ืองกับการประกอบอุตสาหกรร มหรือพาณิชยกรรม เพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การรักษาความม่ันคงของรัฐ สวัสดิภาพของประชาชน การจัดการ ด้านส่ิงแวดล้อม หรือความจ้าเป็นอื่นตามท่ีคณะกรรมการก้าหนด โดยของท่ีน้าเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรและค่าธรรมเนียมเพ่ิมขึ้นตามท่ีกฎหมายบัญญัติซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการ มีนิคมอุตสาหกรรมทีอ่ ย่ใู นพนื้ ที่ จา้ นวน 4 แหง่ ประกอบดว้ ย 1. นคิ มอตุ สาหกรรม บางปู Bangpoo Industrial Estate ก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2520 ต้ังอยู่กิโลเมตรท่ี 34-37 ถ.สุขุมวิท ต.บางปูใหม่ และ ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ โดยอยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 25 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร 37 กิโลเมตร ท่าเรือกรุงเทพ 24 กิโลเมตร ท่าเรือแหลมฉบัง 100 กิโลเมตร และมีพื้นท่ี โครงการทั้งหมดจ้านวน 5,472 - 2-68 ไร่ แบ่งเป็นเขตอุตสาหกรรมท่ัวไปจ้านวน 3,659 - 0-96 ไร่ เขตประกอบการเสรีจ้านวน 377-3-56 ไร่ เขตท่ีพักอาศัย/พาณิชย์จ้านวน 149-1-60 ไร่ และพ้ืนที่ สาธารณปู โภคและสง่ิ อ้านวยความสะดวกจา้ นวน 1,286-0-56 ไร่ 2. นคิ มอตุ สาหกรรมบางพลี Bangplee Industrial Estate ก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2532 ตั้งอยู่เลขท่ี 136/2 หมู่ 17 ถนนเทพารักษ์ ต้าบลบางเสาธง กิ่งอ้าเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540 ระยะทางจากสถานท่ีต่างๆ โดยห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 20 กิโลเมตร สนามบินดอนเมือง 50 กิโลเมตร ท่าเรือแหลมฉบัง 60 กิโลเมตร ท่าเรือมาบตาพุด 150 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมบางปู 25 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 23 กิโลเมตร สถานท่ีตากอากาศบางปู 24 กิโลเมตร จังหวัดสมุทรปราการ 30 กิโลเมตร กรุงเทพฯ 60 กิโลเมตร และมีพื้นท่ีโครงการท้ังหมด 1,004 ไร่ แบ่งเป็น เขตอุตสาหกรรมทั่วไป 781.5 ไร่ เขตส้านักงาน 14 ไร่ พื้น ท่ีสาธารณูปโภคและสิ่งอ้านวย ความสะดวก 194 ไร่ 3. นคิ มอุตสาหกรรมเอเชยี (สวุ รรณภมู ิ) ก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ที่หลักกิโลเมตรที่ 13-14 ถนนสาย ฉช.3001 (ถนนหลวงแพร่ง) และบริเวณ ทางหลวงชนบทหมายเลข สป.73001 (ถนนรัตนโกสินทร์สมโภช 200 ปี) ต้าบลบ้านระกาศ ต้าบลคลองสวน ต้าบล บางพลีน้อย ต้าบลเปร็ง ต้าบลจระเข้น้อย อ้าเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และพ้ืนท่ีโครงการท้ังหมดจ้านวน 3,700 ไร่ แบ่งเป็นเขตอุตสาหกรรม 2,886 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา พ้ืนที่สาธารณูปโภคและสิ่งอ้านวยความสะดวก 457 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา พื้นท่ีสีเขียว 207 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ระยะทางจากสถานท่ีต่าง ๆ โดยอยู่ห่างจาก สนามบินสวุ รรณภูมิ 21 กโิ ลเมตร 4. นิคมอตุ สาหกรรมบางปู (เหนือ) ปีท่ีก่อต้ัง 2556 ต้ังอยู่ที่ ถนนบางพลี-ต้าหรุ ต้าบล แพรกษา อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ เนื้อทีร่ วม 742 ไร่ 1 งาน 20.70 ตารางวา การจัดสรรที่ดินแบ่งเปน็ พื้นท่ีสาธารณูปโภคโครงการ จา้ นวน 50 แปลง และพ้นื ทเ่ี พ่อื ขายจ้านวน 69 แปลง ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงการด้านงานพัฒนาท่ีดิน

แผนพัฒนาจังหวดั จังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 20 แล้วเสร็จรอ้ ยละ 70 และงานกอ่ สรา้ งของสาธารณปู โภคสว่ นกลางแล้วเสร็จรอ้ ยละ 80 ระยะเวลาในการพัฒนา โครงการ ปี พ.ศ. 2560 – 2562 ระยะทางจากสถานท่ีต่าง ๆ โดยอยู่ติดกับสนามกอล์ฟบางปูห่างจาก สถานตากอากาศบางปู 6.20 กิโลเมตร สนามบินสุวรรณภูมิ 25 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร 37 กิโลเมตร ทา่ เรือกรุงเทพ 24 กโิ ลเมตร ท่าเรือแหลมฉบงั 100 กโิ ลเมตร ภาพที่ 1.15 แสดงพืนทภี่ ายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู ภาพท่ี 1.16 แผนภาพแสดงพืนท่ีภายในนคิ มอตุ สาหกรรมบางพลี ภาพที่ 1.17 แสดงพนื ทภ่ี ายในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย (สุวรรณภมู ิ)

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 21 ภาพท่ี 1.18 แสดงพนื ที่ภายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู (เหนือ) 2.2) สถานการณแ์ ละแนวโนม้ เศรษฐกิจภาคอตุ สาหกรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดสมุทรปราการ พบว่า รายได้ส่วนใหญ่อยู่ใน ภาคอตุ สาหกรรมและภาคพาณิชย์กรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ ช้ินส่วนยานยนต์ อุปกรณ์ เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ พลาสติก เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป การขนส่งสินค้าและบริการ (Logistics) และธุรกิจค้าขายของภาคเอกชนถึงร้อยละ 47 ประกอบกับจังหวัดฯ มีการจดทะเบียนเพ่ือประกอบโรงงานอุตสาหกรรมจ้านวน 7,567 แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 20 กันยายน 2560) จากนโยบายรัฐบาลที่เอื้อต่อการลงทุนภาคอุตสาหกรรม รวมถึงการมีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน เส้นทางคมนาคมท่ีเช่ือมโยงภูมิภาคต่าง ๆ ท้ังทางบก ทางน้า ทางอากาศ สะดวกต่อการคมนาคมขนส่ง ส่งผล ใหม้ ีการเพ่ิมการลงทนุ ภาคอตุ สาหกรรม และในปัจจุบันได้มีการประกาศใช้ผังเมืองรวม ท้าให้มีข้อจ้ากัดในการ ขออนุญาตตั้งและขยายโรงงานได้เฉพาะบางพ้ืนท่ีและบางชนิดประเภทของโรงงาน และที่ดินราคาสูงและ มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ท้าให้การลงทุนภาคธุรกิจมีต้นทุนสูงขึ้น ดังน้ัน จึงท้าให้การลงทุนในปัจจุบันเติบโต ในอัตราท่ีต่้า ประกอบกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม่ม่ันใจต่อเศรษฐกิจท้าให้ระมัดระวังในการลงทุน และหรือการขยายการลงทุน ส่งผลให้การด้าเนินธุรกิจภาคอุตสาหกรรมเกิดการชะลอตัว ซึ่งส่งผลท้าให้มูลค่า ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของจงั หวัดฯ ภาคอตุ สาหกรรมการผลติ ในปี พ.ศ. 2560 สงู ข้ึนเพยี งเล็กนอ้ ย ส้าหรับสถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการ ในปี พ.ศ. 2560 พบว่า จังหวัด สมุทรปราการมสี ถานประกอบการอตุ สาหกรรม จ้านวน 7,567 แห่ง มากทสี่ ุดในอ้าเภอบางพลีและอ้าเภอเมือง สมุทรปราการ โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 607,873.984 ล้านบาท โดยสถานประกอบการในอ้าเภอเมือง สมุทรปราการมีทุนจดทะเบียนสูงสุด 207,263.044 ล้านบาท หากวิเคราะห์จ้านวนคนงานพบว่า มีจ้านวน คนงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมรวม 467,041 คน โดยคนงานส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จ้านวน 272,381 คน และผู้หญิง 194,660 คน ซ่ึงคนงานส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีอ้าเภอเมือง สมุทรปราการ มากที่สุดกว่า 157,935 คน และอยู่ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมน้อยที่สุดพ้ืนท่ีอ้าเภอ บางบ่อ 13,600 คน

แผนพฒั นาจังหวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 22 ตารางที่ 1.8 สถานประกอบการอุตสาหกรรม จา้ นวนเงนิ ทุน และจ้านวนคนงาน จ้าแนกรายอา้ เภอ พ.ศ. 2560 อ้าเภอ สถานประกอบการ เงินทนุ (บาท) รวม คนงาน (คน) หญงิ อตุ สาหกรรม 467,041 ชาย 194,660 รวมยอด 607,873,984 157,935 66,874 เมืองสมทุ รปราการ 7,567 207,263.044 13,600 272,381 5,115 บางบ่อ 2,396 34,120.844 115,800 91,061 52,076 บางพลี 333 123,379.949 73,165 8,485 29,626 พระประแดง 2,093 85,763.250 33,949 63,724 13,961 พระสมทุ รเจดยี ์ 1,142 29,456.614 72,592 43,539 27,008 บางเสาธง 694 127,890.283 19,988 909 45,584 แหล่งท่ีมา: ส้านกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั สมทุ รปราการ หากพิจารณาถึงขนาดของสถานประกอบการอุตสาหกรรม ในปี 2558 พบว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก ซ่ึงมีจ้านวนคนงาน 1 - 4 คน ซึ่งมีจ้านวน 3,142 ราย โดยพบว่า มีสถิติของสถานประกอบการขนาดเล็ก 1 – 4 คน สูงข้ึนเร่ือย ๆ ทุกปี จากปี 2556 ซึ่งในปี 2558 เพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 14.13 หากวิเคราะห์ในภาพรวม พบวา่ จ้านวนสถานประกอบการอุตสาหกรรม มีสถิติการเพ่ิมข้ึนทุกปี ซงึ่ ในปี 2557 และ 2558 เพ่ิมขึน้ จากปีกอ่ น ร้อยละ 3.29 และ 8.06 ตามล้าดบั > 1,000 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 14,000 500 - 999 300 - 499 1-4 5 - 9 10 - 19 20 - 49 50 - 99 100 - 299 300 - 499 500 - 999 > 1,000 100 - 299 3,142 2,695 1,620 2,197 807 865 257 157 82 50 - 99 2,753 2,414 1,577 2,118 773 838 236 147 85 20 - 49 2,666 2,248 1,541 2,142 696 836 221 141 81 10 - 19 5-9 1-4 รวมยอด (Total) - รวมยอด (Total) 2558 11,822 2557 10,941 2556 10,572 ภาพที่ 1.19 แสดงสถานประกอบการ จ้าแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558 แหลง่ ท่ีมา: กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน เมอื่ พิจารณาจา้ นวนลูกจ้างในสถานประกอบการอุตสาหกรรมแล้ว พบว่า ลูกจ้างส่วนใหญ่อยู่ในสถาน ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่งมีจ้านวนคนงาน เกินกว่า 1,000 คน ซึ่งในปี 2558 มีจ้านวนคนงาน ลดลง ร้อยละ 2.43 ในขณะท่ีสถานประกอบการอุตสาหกรรม ขนาดอ่ืน ๆ ที่เหลือ และสถานประกอบ การ อุตสาหกรรมในภาพรวม มีจ้านวนคนงานเพิ่มสูงข้ึน โดยในปี 2558 มีจ้านวนคนงานเพ่ิมสูงข้ึนในภาพรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.38

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 23 > 1,000 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 800,000 500 - 999 300 - 499 1 - 4 5 - 9 10 - 19 20 - 49 50 - 99 100 - 299 300 - 499 500 - 999 > 1,000 100 - 299 7,286 18,792 22,809 71,046 58,786 150,722 98,207 105,515 173,183 6,515 16,716 22,090 68,799 55,956 146,766 90,168 98,774 177,492 50 - 99 6,314 15,604 21,531 69,662 50,398 145,348 85,085 94,658 177,249 20 - 49 10 - 19 5-9 1-4 รวมยอด (Total) - รวมยอด (Total) 2558 706,346 2557 683,276 2556 665,849 ภาพท่ี 1.20 แสดงลูกจ้าง จ้าแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558 แหลง่ ท่ีมา: กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 2.3) ข้อมลู เศรษฐกจิ ภาคเกษตรกรรม จังหวัดสมุทรปราการมีพ้ืนที่ท้าเกษตรกรรมลดลง เนื่องจากการพัฒนาเมือง การขยายตัวของ ภาคอตุ สาหกรรม และความเจริญด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ประกอบกับราคาที่ดินมีราคาสูงท้าให้เกษตรกรท่ีเคย เป็นเจ้าของที่ดินเมื่อประสบปัญหาในการท้าการเกษตรก็เร่ิมทยอยขายท่ีดินให้กับนายทุน จากข้อมูลของ สา้ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในปี พ.ศ.2556 มีพ้นื ทใี่ ช้ประโยชนท์ างการเกษตร จ้านวน 211,449 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 33.69 พื้นที่ใช้ประโยชน์นอกการเกษตร จ้านวน 407,467 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 64.93 และพื้นท่ีป่าไม้/ ชายเลน จ้านวน 8,642 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.38 จากตารางข้อมูลพบว่าเนื้อท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ต้งั แต่ปี พ.ศ.2555 -2556 ลดลงคิดเป็นรอ้ ยละ 0.18 ดังตารางที่ 1.9 ตารางท่ี 1.9 แสดงเนอื ทใี่ ช้ประโยชน์ทางการเกษตร จังหวดั สมุทรปราการ พ.ศ. 2552 – 2556 ปี พ.ศ. เนือที่ เนือที่ เนอื ที่ ขนาด จ้านวน เนือท่กี ารใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เน้อื ท่ี ทังหมด ปา่ ไม้ ใช้ ของ ฟารม์ นาข้าว พืชไร่ สวนไมผ้ ล สวนผกั เน้ือทีใ่ ช้ ใช้ประโยชน์ ประโยชน์ ฟาร์ม ไมย้ นื ตน้ ไมด้ อก/ไม้ ประโยชน์ นอก ทาง ประดับ ทางการเกษตร การเกษตร การเกษตร อ่ืนๆ 2552 627,558 6,995 205,556 18.06 11,381 36,216 0 9,309 253 159,778 415,007 2553 627,558 6,995 209,800 26.55 7,903 41,169 0 7,915 256 160,460 410,763 2554 627,558 6,995 212,117 19.77 10,730 41,424 0 7,163 396 163,134 408,446 2555 627,558 6,995 211,838 19.61 10,803 41,377 0 7,108 358 162,995 408,725 2556 627,558 8,642 211,449 42.58 4,966 41,505 0 7,191 323 162,430 407,467 แหลง่ ท่ีมา: ส้านักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 2.4) สถานการณแ์ ละแนวโนม้ เศรษฐกจิ ภาคเกษตร จากการวิเคราะหม์ ลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์รวมภาคเกษตรของจงั หวัดสมุทรปราการ ในช่วงปี พ.ศ. 2548 – 2558 พบว่า มูลค่าผลิตภัณฑ์รวมภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลง โดยในปี พ.ศ. 2558 ภาคเกษตรมีมูลค่าผลิตภัณฑ์รวมเท่ากับ 2,336 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 9.91 (มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคเกษตร ปี พ.ศ. 2557 จ้านวน 2,593 ล้านบาท)

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 24 ในขณะที่มลู คา่ ผลติ ภณั ฑร์ วมของภาคเกษตรหลัก ๆ จะมาจากด้านการประมง ท่ีเคยเพิ่มข้ึนตลอด ในช่วง 3-4 ปีหลัง กลับมีมูลค่าลดลงในปี พ.ศ. 2558 โดยมูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคเกษตรท่ีเหลือเป็นมูลค่าจากเกษตรกรรม การลา่ สัตว์และการป่าไม้ 6,000 ภาคเกษตร เชงิ เสน้ (ภาคเกษตร) 5,000 มูล ่คา ( ้ลานบาท) 4,000 3,000 2,000 y = -260.23x + 4590.9 1,000 0 2558 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 ภาพที่ 1.21 มูลค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมภาคเกษตรของจังหวัดสมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2548 - 2558 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพด้านเกษตรของจังหวัดสมุทรปราการ ประกอบด้วยศักยภาพที่ส้าคัญหลัก ๆ 3 ดา้ น คือ ดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นการประมง และด้านปศสุ ตั ว์ ซง่ึ มีรายละเอียดดังนี้ 1. ด้านเกษตรกรรม 1.1 พืนท่กี ารเกษตรและจา้ นวนครวั เรอื นเกษตรกร ในปี พ.ศ. 2559 จังหวัดสมุทรปราการมีครัวเรือนเกษตรกร จ้านวน 10,161 ครัวเรือน และมีพื้นท่ี เพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรทงั้ สิ้น 152,253 ไร่ โดยอา้ เภอบางบอ่ มพี ้ืนทีก่ ารเกษตรมากท่ีสุด คือ 54,603 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 35,450 ไร่ อ้าเภอบางพลี 25,943 ไร่ พระสมุทรเจดีย์ 20,205 ไร่ อ้าเภอเมือง สมุทรปราการ 13,672 ไร่ และอ้าเภอพระประแดง 2,380 ไร่ ดังตารางท่ี 2.6 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากตาราง ดังกล่าวจะพบวา่ จังหวัดสมทุ รปราการมแี นวโน้มพืน้ ท่กี ารเกษตรลดลงอยา่ งตอ่ เน่ือง สาเหตุมาจากเจ้าของที่ดิน ท่ีให้เกษตรกรเช่าท้ากินได้เร่ิมทยอยขายที่ดินให้กับนายทุน และประกอบกับมีนิคมอุตสาหกรรมเอเชียสุวรรณ ภูมิเกดิ ข้นึ ในพ้ืนทท่ี ี่เคยท้าเกษตรกรรม ส้าหรับครัวเรือนเกษตรกรที่เพ่ิมข้ึน เนื่องจากโครงการต่าง ๆ ท่ีภาครัฐ ให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือมีหลักเกณฑ์และเง่ือนไขต้องเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) จึงท้าใหเ้ กษตรกรมาขึ้นทะเบียนครวั เรอื นเพิ่มขึน้ ตารางท่ี 1.10 แสดงข้อมลู พืนที่การเกษตรและจ้านวนครัวเรือนเกษตรกรแยกตามรายอา้ เภอ พ.ศ. 2557-2559 อา้ เภอ พืนที่ พ.ศ.2557 ครวั เรือน พนื ท่ี พ.ศ.2558 ครัวเรือน พนื ที่ พ.ศ.2559 ครัวเรือน ทังหมด พนื ที่ เกษตรกร ทงั หมด พนื ที่ เกษตรกร ทังหมด พนื ที่ เกษตรกร เมอื งฯ (ไร)่ (ครวั เรือน) (ไร่) (ครวั เรือน) (ไร)่ (ครัวเรือน) พระประแดง การเกษตร การเกษตร การเกษตร 119,093.75 (ไร่) 827 119,093.75 (ไร่) 824 119,093.75 (ไร)่ 824 บางพลี 45,856.25 968 45,856.25 991 45,856.25 1,002 บางบอ่ 16,152 12,819 13,672 พระสมทุ รเจดีย์ 152,431.25 2,321 1,508 152,431.25 3,735 1,545 152,431.25 2,380 1,545 บางเสาธง รวม 153,131.25 26,561 3,304 153,131.25 23,439 3,422 153,131.25 25,943 3,439 75,237.50 66,010 1,269 75,237.50 68,497 1,329 75,237.50 54,603 1,329 81,806.25 44,812 1,953 81,806.25 43,369 2,017 81,806.25 20,205 2,022 627,556.25 9,829 627,556.25 10,128 627,556.25 10,161 29,708 26,755 35,450 185,564 178,614 152,253 แหล่งที่มา: สา้ นกั งานเกษตรจงั หวัดสมุทรปราการ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม ตามปี พ.ศ. ขนาดพื้นท่ีแปลงจากตารางกโิ ลเมตรจากแผนพัฒนาจังหวดั สมทุ รปราการ (ปี 2557-2560)

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 25 1.2 ลักษณะการถือครองที่ดนิ ทางการเกษตร พ.ศ. 2554 – 2557 ลักษณะการถือที่ดินทางการเกษตรของจังหวัดสมุทรปราการ ในปี พ.ศ. 2557 พบว่า เน้ือท่ีของตนเอง มีเกินกว่าครึ่งของเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 57.56 ส่วนท่ีเหลือเป็นเนื้อท่ีของผู้อ่ืนโดยการ เช่าที่ดินของผู้อื่นและเป็นเนื้อที่ซ่ึงได้ท้าฟรีเท่ากับ 89,729 ไร่ นอกจากน้ีพบว่าเนื้อท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ของจงั หวดั ฯ มีเนอ้ื ท่ีลดลงอย่างต่อเน่ือง นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 เป็นต้นมา เช่นเดียวกับเน้ือที่ของตนเองและเนื้อที่ ของผู้อื่น ตารางท่ี 1.11 ลักษณะการถอื ครองท่ดี นิ ทางการเกษตร พ.ศ. 2554 – 2557 ปี เนอื ทใี่ ชป้ ระโยชน์ เนือที่ของตนเอง Owned เนือท่ีของผ้อู ืน่ Others ทางการเกษตร รวม ของ จ้านอง ขายฝาก รวม เช่าผู้อื่น รับ รบั ขาย ได้ทา้ ฟรี ตนเอง ผู้อ่นื 89,927.4 จา้ นอง ฝาก 29,159.6 89,788.1 29,092.8 2554 212,117.0 122,189.6 121,573.1 616.5 - 89,687.3 60,767.8 - - 29,032.3 89,729.6 29,042.4 2555 211,838.3 122,050.3 121,362.5 687.8 - 60,695.3 - - 2556 211,449.0 121,761.7 121,072.7 689.0 - 60,655.1 - - 2557 211,421.2 121,691.6 120,985.6 706.0 - 60,687.3 - - แหลง่ ที่มา: สา้ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 1.3 ศักยภาพการเพาะปลูกพชื เศรษฐกิจที่ส้าคัญ (1) ข้อมลู พนื้ ทก่ี ารปลกู พืชเศรษฐกจิ ท่สี ้าคัญ ในช่วงปี พ.ศ.2557-2559 จงั หวัดสมทุ รปราการมีการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ อาทิเช่น ข้าว พืชผัก ไม้ผล รวมท้ังไมด้ อกไม้ประดับ ซึง่ เป็นอาชพี สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับเกษตรกรของจงั หวดั จากตารางข้อมูลในปี 2559 ข้าว ปลูกในพื้นท่ี 2 อ้าเภอ รวม 20,670 ไร่ โดยมีพ้ืนท่ีปลูกที่อ้าเภอบางบ่อ จ้านวน 16,205 ไร่ อ้าเภอบางเสาธง 4,465 ไร่ ส้าหรับพันธุข์ า้ วทเ่ี กษตรกรส่วนใหญ่ปลูก ได้แก่ พิษณุโลก2 สุพรรณบุรี90 ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1 ฯลฯ ทั้งน้ี พ้ืนท่ีปลูกข้าวท้ังสองอ้าเภอดังกล่าวอยู่ในเขตเหมาะสมส้าหรับปลูกข้าว ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เม่ือวนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 พชื ผักทีส่ า้ คัญ ได้แก่ กระเฉด ขา่ ตะไคร้ - กระเฉด มีแหล่งปลูกที่ส้าคัญในพ้ืนท่ี 3 อ้าเภอ รวมพ้ืนท่ี 604 ไร่ ปลูกมากที่สุดท่ีอ้าเภอ บางพลี 393 ไร่ รองลงมาทีอ่ ้าเภอบางเสาธง 210 ไร่ และอ้าเภอเมืองสมทุ รปราการ 1 ไร่ - ขา่ /ตะไคร้ ส่วนใหญ่เกษตรกรนยิ มปลูกบนคันบอ่ เล้ียงปลา/ก้งุ และบริเวณบ้าน เพื่อไว้บริโภค ในครัวเรือนและเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ มีพื้นท่ีปลูกข่าทั้งส้ิน 2,897 ไร่ ปลูกมากที่อ้าเภอบางบ่อ 1,701 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 1,177ไร่ สา้ หรับตะไคร้ มีพื้นท่ีปลูกรวม 2,034 ไร่ ปลูกมากท่ีสุดที่อ้าเภอบางเสาธง 1,447 ไร่ รองลงมาอา้ เภอบางบอ่ 558 ไร่ ไม้ผล มีการปลูกกระจายอยู่ทุกอ้าเภอ ได้แก่ มะม่วง กล้วยน้าว้า กล้วยหอม มะพร้าวอ่อน มะพร้าว แก่ มะนาว - มะม่วง มีพ้ืนที่ปลูกรวมกันทุกชนิด จ้านวน 6,755 ไร่ ปลูกมากที่สุดที่อ้าเภอบางบ่อ พ้ืนที่ 2,415 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 2,113 ไร่ และอ้าเภอบางพลี 1,694 ไร่ - กล้วย เกษตรกรนิยมปลูกกล้วย 2 ชนิด คือ กล้วยน้าว้าและกล้วยหอม ส้าหรับ กล้วยน้าว้า มีพ้ืนท่ีปลูกรวมท้ังสิ้น จ้านวน 1,926 ไร่ ปลูกมากที่สุดท่ีอ้าเภอบางเสาธง จ้านวน 1,000 ไร่ รองลงมาอ้าเภอ

แผนพฒั นาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 26 บางพลี 442 ไร่ และอ้าเภอบางบ่อ 197 ไร่ และกล้วยหอม มีพ้ืนท่ีปลูกรวม 355 ไร่ ปลูกมากในพ้ืนท่ีอ้าเภอ บางเสาธง 290 ไร่ รองลงมาอา้ เภอพระประแดง 43 ไร่ และอ้าเภอบางบอ่ 13 ไร่ - มะพร้าว เกษตรกรนิยมปลูกทั้งมะพร้าวแก่ และมะพร้าวอ่อน ส้าหรับมะพร้าวอ่อนมีพ้ืนท่ี ปลูกรวม 1,352 ไร่ ปลูกมากในอ้าเภอบางบ่อ 789 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 206 ไร่ และอ้าเภอ พระประแดง 140 ไร่ มะพร้าวแก่ ปลูกมากที่อ้าเภอบางบ่อ 862 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 835 ไร่ และ อ้าเภอบางพลี 209 ไร่ - มะนาว มีพ้ืนที่ปลูกรวม 200 ไร่ ปลูกมากที่อ้าเภอพระประแดง 155 ไร่ รองลงมาที่ อ้าเภอ เมืองสมุทรปราการและอา้ เภอบางพลี มีจ้านวนพืน้ ทีป่ ลูกเทา่ กัน คือ อ้าเภอละ 13 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ ที่มีการปลูกและจ้าหน่ายในเชิงพาณิชย์สามารถสร้างรายได้และเป็นอาชีพให้กับ เกษตรกรในพืน้ ทอี่ า้ เภอพระประแดง ได้แก่ โกสน ปาลม์ ประดับ หมากผู้หมากเมียมี และไม้ประดับ โดยมีพ้ืนที่ ปลกู ไม้ดอกไม้ประดับและไม้อ่นื ทีส่ ้าคัญ - โกสน มีพืน้ ทีป่ ลกู รวม 5 ไร่ ปาลม์ ประดับ 11 ไร่ หมากผู้หมากเมีย 96 ไร่ และไม้ประดับรวม กับไม้อืน่ ประมาณ 563 ไร่ ตารางที่ 1.12 แสดงข้อมูลพืนที่การปลกู ข้าว จา้ แนกตามรายอา้ เภอ พ.ศ. 2557 – 2559 ขา้ ว อา้ เภอ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 เมอื งฯ ขา้ วนาปี ขา้ วนาปรงั ข้าวนาปี ขา้ วนาปรงั ข้าวนาปี ขา้ วนาปรงั บางบ่อ บางพลี (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร่) (ราย/ไร)่ พระประแดง พระสมทุ รเจดยี ์ -- -- -- บางเสาธง 969/22569 969/22569 727 / 16102 766 / 17093 633/13187 611/16205 รวม -- -- -- -- -- 266 355 -- -- -- 237 / 5457 237 / 5457 237 / 5457 235 / 5422 225/5401 200/4465 1206/28026 1206/28026 964 / 21559 1001 / 22515 858/18588 811/20670 แหล่งที่มา: ส้านักงานเกษตรจงั หวดั สมุทรปราการ ตารางท่ี 1.13 แสดงข้อมลู พืนท่ีการปลกู พืชไร่/พืชผัก จ้าแนกตามรายอ้าเภอ พ.ศ. 2557 – 2559 อา้ เภอ พ.ศ. 2557 พืชไร/่ พชื ผกั พ.ศ. 2559 เมืองฯ ขา่ พ.ศ. 2558 ข่า บางบอ่ (ราย/ไร่) (ราย/ไร่) กระเฉด ตะไคร้ กระเฉด ข่า ตะไคร้ กระเฉด ตะไคร้ บางพลี (ราย/ไร)่ 5 / 0.37 (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร่) (ราย/ไร่) 3/1 (ราย/ไร่) พระประแดง 1157/1796 1333/1701 พระสมุทรเจดยี ์ 2/1 18 / 9 2/1 4/1 15 / 2 2/1 15/2 บางเสาธง - 630 / 677 - 506 / 322 / 902 - 557/558 1104 รวม 140 / 543 8/6 47 / 29 137 / 455 23 / 18 29 / 31 73/393 23/18 27/24 - - 2 / 0.53 - 2/1 - - 2/1 - - - - - - 1/2 - - - 67 / 882 32 / 43 40/210 199/1177 155/1447 209/1426 1202/1845 158 / 472 45 / 274 57 / 106 154 / 950 115/604 1558/2897 757/2034 855/1188 184 / 730 590 / 522 / 1229 1886 แหล่งท่ีมา: สา้ นกั งานเกษตรจงั หวดั สมุทรปราการ

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 27 ตารางท่ี 1.14 แสดงข้อมูลพืนท่กี ารปลกู ไม้ดอกไม้ประดับ จา้ แนกตามรายอา้ เภอ พ.ศ. 2557 – 2559 ไม้ดอกไมป้ ระดบั อา้ เภอ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 โกสน ปาล์ม โกสน ปาล์ม หมากผู้ เมืองฯ (ราย/ไร)่ ประดบั หมากผู้ โกสน ปาลม์ หมากผู้ (ราย/ไร่) ประดบั หมากเมยี บางบอ่ บางพลี (ราย/ไร่) หมากเมยี (ราย/ไร่) ประดบั หมากเมยี (ราย/ (ราย/ไร)่ พระประแดง ไร่) พระสมทุ รเจดยี ์ -- (ราย/ไร่) (ราย/ไร่) (ราย/ไร่) --- บางเสาธง -- --- -- - --- --- รวม 10 / 7 21 / 12 - --- 7/5 3/11 38/96 -- - --- --- 34 / 95 9 / 14 27 / 51 41 / 187 -- - --- --- 10 / 7 21 / 12 7/5 3/11 38/96 - --- 34 / 95 9 / 14 27 / 51 41 / 187 แหลง่ ที่มา: ส้านกั งานเกษตรจงั หวดั สมุทรปราการ ตารางที่ 1.15 แสดงข้อมูลพืนทีก่ ารปลกู ไมผ้ ล จา้ แนกตามรายอา้ เภอ พ.ศ. 2557 – 2559 อ้าเภอ มะมว่ ง กลว้ ยน้าว้า กลว้ ยหอม มะพรา้ วออ่ น มะพร้าวแก่ มะนาว (ราย/ไร่) (ราย/ไร่) (ราย/ไร)่ (ราย/ไร)่ (ราย/ไร่) (ราย/ไร)่ เมอื งฯ บางบอ่ 218 / 175 2557 31 / 34 11 / 7 17 / 10 บางพลี 1644 / 3894 917 / 1272 474 / 656 1 / 0.25 พระประแดง 1291 / 3225 166 / 199 3 / 0.39 193 / 89 410 / 209 7/9 พระสมุทรเจดีย์ 663 / 648 139 / 175 56 / 53 305 / 317 บางเสาธง 114 / 304 4/4 15 / 120 41 / 132 2/3 7 / 24 113 / 108 513 / 937 6/2 รวม 1587 / 2635 489 / 689 581 / 190 1408 / 1798 1505/1994 338 / 341 5410 / 10601 เมืองฯ 414 / 319 96 / 134 21 / 48 6/5 39 / 21 บางบอ่ 210 / 222 1089 / 1125 518 / 622 9 / 13 บางพลี 1090 / 2159 1/3 - 335 / 187 10 / 18 พระประแดง 1541 / 3833 189 / 92 64 / 95 375 / 484 พระสมุทรเจดีย์ 685 / 1051 550 / 1128 209 / 289 170 / 305 24 / 19 5/7 บางเสาธง 511 / 934 13 / 9 7 / 24 1734 / 2642 893 / 617 6 / 37 1458 / 1862 451 / 552 รวม 599 / 1161 113 / 105 4132 / 8450 2558 1588 / 1712 20/8 40/13 เมืองฯ 482/862 12/10 บางบอ่ 167/101 166 / 246 3/1 29/34 410/209 9/13 บางพลี 1706/2415 693/789 337/155 พระประแดง 1137/1694 175 / 528 15 / 19 189/70 51/39 พระสมุทรเจดีย์ 143/140 41/110 - บางเสาธง 608/406 512 / 1351 12 / 18 14/113 513/835 16/9 7/26 142/206 1517/2063 414/200 รวม 439 / 481 95 / 173 1210/1352 975/2113 4600/6755 1/3 - 426 / 681 252 / 456 1719 / 3290 377 / 667 2559 171/109 - 98/197 12/13 663/442 11/9 376/175 69/43 3/3 - 550/1000 195/290 1861/1926 287/355 แหล่งท่ีมา: ส้านักงานเกษตรจงั หวดั สมุทรปราการ

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 28 จากข้อมูลพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชต้ังแต่ปี 2557- 2559 พบว่าจังหวัดสมุทรปราการมีพื้นที่ปลูกข้าว พืชผัก ไมผ้ ล และไมด้ อกไม้ประดบั ในภาพรวมลดลงอยา่ งต่อเนื่อง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่การปลูกพืชแต่ละชนิดระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2559 พบว่าจังหวัดฯ มีแนวโน้มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในขณะท่ีผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรลดลง อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงแสดงให้เห็นว่า ประชากรในภาคเกษตรมีรายได้เฉล่ียต่อหัวลดลง สะท้อนภาพของ การกระจายรายไดแ้ ละผลติ ภาพในภาคการเกษตรที่ลดลง (ปี 2558 มีพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จ้านวน 211,449 ไร่ คดิ เป็นร้อยละ 33.69 พื้นท่ีใช้ประโยชน์นอกการเกษตร จา้ นวน 407,467 ไร่ คดิ เป็น ร้อยละ 64.93) 2. ด้านการประมง 2.1 การเพาะเลียงสัตวน์ ้าจืด จากสภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสมุทรปราการมีพื้นท่ีเหมาะสมกับการท้าประมงน้าจืดและประมง ชายฝั่ง เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีบางส่วนติดชายฝ่ังทะเล ได้แก่ อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ อ้าเภอบางบ่อ และอ้าเภอ พระสมุทรเจดีย์ ประกอบกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศ เมื่อวันท่ี 9 พฤษภาคม 2556 เรื่อง การก้าหนดเขตเหมาะสมส้าหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลและสัตว์น้าจืด) โดยวิเคราะห์ จากปัจจัยการพัฒนาพื้นท่ีเพ่ือการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าประกอบด้วยความเหมาะสมของดิน แหล่งน้า เส้นทาง คมนาคมร่วมกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการอยู่ในเขตเหมาะสมส้าหรับการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ในพื้นที่ 3 อ้าเภอ 11 ต้าบล ได้แก่ อ้าเภอบางบ่อ (ต้าบลคลองด่าน) อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ (ต้าบลนาเกลือ ในคลองบางปลากด บ้านคลองสวน แหลมฟ้าผ่า และปากคลองบางปลากด) อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ (ต้าบลท้ายบ้าน ท้ายบ้านใหม่ บางปู บางปูใหม่ ปากน้า) ส้าหรับพ้ืนท่ีเหมาะสมส้าหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จดื ในพน้ื ท่ี 6 อา้ เภอ 50 ตา้ บล การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืด ปลาน้าจืดท่ีเกษตรกรนิยมเล้ียง ได้แก่ ปลานิล ปลาสลิด และปลาเบญจพรรณ การเพาะเล้ียงสัตว์น้าจืดสามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกอ้าเภอ ส้าหรับปลานิลมีเนื้อท่ีเพาะเล้ียงรวม 46,821 ไร่ เลี้ยงมากที่สุดอ้าเภอบางบ่อ 22,398 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางเสาธง 12,187 ไร่ และอ้าเภอบางพลี 9,046 ไร่ ปลาสลิด มีพ้ืนท่ี พ้ืนที่รวม 15,803 ไร่ เล้ียงมากที่สุดท่ีอ้าเภอบางบ่อ 7,168 ไร่ รองลงมาอ้าเภอเมือง สมุทรปราการ 4,147 ไร่ และอ้าเภอบางพลี 4,027 ไร่ การเลย้ี งปลาเบญจพรรณ มีพ้ืนที่รวม 233 ไร่ เล้ียงมาก ที่อ้าเภอบางบ่อ 164 ไร่ รองลงมาอ้าเภอบางพลี 39 ไร่ และอา้ เภอบางเสาธง 19 ไร่ ดงั ตารางที่ 2.12 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางจะพบว่าเกษตรกรนิยมเพาะเล้ียงปลานิลมากกว่าปลาสลิดเนื่องจาก ระยะเวลาการเลีย้ งปลาสลดิ ใช้เวลายาวนานมากกวา่ การเล้ียงปลานลิ แตป่ ัจจุบันมีการเล้ียงผสมผสานระหว่าง การเลี้ยงปลานิลกับกุ้งขาว หรือปลาสลิดกับกุ้งขาว เนื่องจากกุ้งขาวมีระยะเวลาการเลี้ยงส้ันประมาณ 2-3 เดือนก็สามารถจบั ขายได้แล้ว ตารางที่ 1.16 แสดงข้อมูลพืนทเี่ พาะเลยี งสตั วน์ ้าจดื อา้ เภอ การเลียงปลานลิ การเลียงปลาสลดิ การเลยี งปลาเบญจพรรณ อ.เมอื ง จา้ นวน (ราย) เนือที่ (ไร)่ จา้ นวน (ราย) เนือท่ี (ไร่) จา้ นวน (ราย) เนอื ท่ี (ไร)่ อ.บางบอ่ 139 3,110 169 4,147 2 11 1,221 22,398 275 7,147 23 164

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 29 ตารางที่ 1.16 แสดงข้อมูลพืนทเี่ พาะเลยี งสัตวน์ า้ จดื (ต่อ) อา้ เภอ การเลียงปลานิล การเลียงปลาสลดิ การเลียงปลาเบญจพรรณ จ้านวน (ราย) เนือท่ี (ไร่) จา้ นวน (ราย) เนือที่ (ไร่) จา้ นวน (ราย) เนอื ท่ี (ไร)่ อ.บางพลี อ.พระสมทุ รเจดีย์ 496 9,046 150 4,027 5 39 อ.บางเสาธง 9 80 15 -- รวม 562 12,187 14 456 5 19 2,417 46,821 609 15,803 35 233 แหลง่ ที่มา: ส้านกั งานประมงจงั หวัดสมทุ รปราการ ข้อมูล ณ เดอื นมกราคม 2560 2.2 การเพาะเลียงสัตวน์ า้ ชายฝัง่ กุ้งเป็นสัตว์น้าเศรษฐกิจท่ีนิยมเลี้ยงบริเวณพ้ืนที่ท่ีติดชายฝั่ง โดยเฉพาะกุ้งกุลาด้ามีพื้นท่ีเล้ียงรวม 27,413 ไร่ เลี้ยง มากท่ีสดุ ในอา้ เภอพระสมทุ รเจดยี ์ รองลงมาอ้าเภอบางบ่อ 365 ไร่ และอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ 86 ไร่ ส้าหรับกุ้งขาวแวนาไม เกษตรกรนิยมเล้ียงร่วมกับปลาชนิดอ่ืนๆ มีเน้ือท่ีเลี้ยงรวม 4,856 ไร่ เลี้ยงมาท่ีสุดในพ้ืนท่ีอ้าเภอบางบ่อ 3,520 ไร่ รองลงมา อ้าเภอพระสมุทรเจดยี ์ 790 ไร่ และอา้ เภอเมืองสมุทรปราการ 108 ไร่ ดงั ตารางท่ี 1.17 ตารางที่ 1.17 แสดงข้อมูลพืนทเ่ี พาะเลียงสัตวน์ ้าชายฝั่ง 1 อา้ เภอ ชนิดของก้งุ เมืองฯ กุง้ ขาวแวนาไม ก้งุ กุลาด้า บางบ่อ บางพลี จ้านวน (ราย) เนอื ท่ี (ไร)่ จา้ นวน (ราย) เนือท่ี (ไร่) พระสมทุ รเจดยี ์ บางเสาธง 8 108 2 86 รวม 195 3,520 6 365 17 347 - - 38 790 1,112 26,962 5 91 - 263 4,856 1,120 27,413 แหล่งที่มา: ส้านักงานประมงจงั หวัดสมทุ รปราการ ข้อมลู ณ เดอื นมกราคม 2560 นอกจากสัตวน์ ้าเศรษฐกจิ ทีส่ ้าคญั ดังกลา่ วขา้ งต้นแล้ว จังหวัดสมุทรปราการยังมีสัตว์น้าอ่ืนๆ ที่ท้ารายได้ ให้กบั จังหวดั เช่น หอยแครง หอยแมลงภู่ ปทู ะเล ปลากะพง จระเข้ ปลาสวยงาม ฯลฯ ตารางที่ 1.18 แสดงข้อมูลพืนทเี่ พาะเลยี งสัตว์น้าชายฝั่ง 2 อา้ เภอ ชนิดหอยทะเล ปลากะพงขาว เมอื งฯ จา้ นวน(ราย) เนือที่ (ไร)่ หอยแครง หอยแมลงภู่ -- จา้ นวน เนอื ที่ จ้านวน เนอื ท่ี (ราย) (ไร)่ (ราย) (ไร)่ 19 667 34 425 บางบ่อ 108 3,547 - - 98 1,554 - - บางพลี - - - - 111 - 1,703 พระสมทุ รเจดีย์ 349 6,372 34 780 - 209 3,257 บางเสาธง ---- รวม 476 10,586 68 1205 แหลง่ ท่ีมา: ส้านกั งานประมงจงั หวัดสมุทรปราการ ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2560

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 30 3. ด้านปศสุ ัตว์ ในปี พ.ศ. 2559 จังหวัดสมุทรปราการมีเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ จ้านวน 2,085 ครัวเรือน จากข้อมูลปี พ.ศ.2558-2559 พบว่าจา้ นวนครัวเรือนผู้เล้ียงสัตว์ลดลง เน่ืองจากการเล้ียงสัตว์ของจังหวัดสมุทรปราการเป็น การเลี้ยงแบบรายย่อย มิได้เลี้ยงเป็นฟาร์มขนาดใหญ่หรือเชิงพาณิชย์ แต่กลับมีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป หลายแห่งตั้งอยู่ในจังหวัด โดยการน้าเข้าจากแหล่งอ่ืนมาแปรรูปในจังหวัด มีเกษตรกรที่เล้ียงสัตว์ในอ้าเภอ เมืองมากท่ีสุด 438 ครัวเรือน รองลงมาอ้าเภอพระประแดง 423 ครัวเรือน และอ้าเภอบางพลี 406 ครัวเรือน สว่ นใหญ่เป็นการเลี้ยงสัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่ และสตั วเ์ ลย้ี งอืน่ ๆ ตารางท่ี 1.19 แสดงข้อมูลจ้านวนเกษตรกรผูเ้ ลียงสตั ว์ จ้าแนกตามอา้ เภอ พ.ศ. 2557-2559 อา้ เภอ จา้ นวนเกษตรกรผูเ้ ลยี งสตั ว(์ ครัวเรือน) เมืองสมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2558 ปี พ.ศ. 2559 บางบอ่ 550 บางพลี 292 520 438 พระประแดง 360 พระสมทุ รเจดีย์ 440 349 328 บางเสาธง 198 282 379 406 รวม 2,122 438 423 210 274 257 216 2,153 2,085 แหล่งที่มา: ส้านักงานปศุสตั ว์จังหวัดสมุทรปราการ ตารางที่ 1.20 แสดงข้อมูลจ้านวนครวั เรอื นผู้เลียงสตั ว์ปีกเฉพาะทสี่ า้ คัญ พ.ศ. 2557-2559 ปี อา้ เภอ ไก่ เกษตรกร เป็ด ห่าน จา้ นวน (ตัว) (ราย) จา้ นวน (ตัว) เกษตรกร จา้ นวน เกษตรกร 2557 เมือง (ตวั ) (ราย) บางบอ่ 10,617 506 (ราย) บางพลี 9,098 256 536 34 -- พระประแดง 5,141 875 31 7100 4 พระสมุทรเจดีย์ 9,045 311 บางเสาธง 11,111 385 725 35 - รวม 5,754 181 708 44 21 50,766 242 401 12 -- 2558 เมือง 10,109 1,881 1294 27 -- บางบอ่ 9,883 487 4539 168 7102 5 บางพลี 5,915 287 326 20 พระประแดง 22,029 1,064 49 7,000 4 พระสมทุ รเจดยี ์ 17,899 830 บางเสาธง 5,328 373 782 37 10 1 รวม 71,163 198 687 36 220 344 11 7,010 5 189 1,024 21 4,227 174

แผนพัฒนาจังหวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 31 ตารางท่ี 1.20 แสดงข้อมูลจ้านวนครัวเรอื นผู้เลียงสัตว์ปีกเฉพาะทีส่ า้ คญั พ.ศ. 2557-2559 (ต่อ) ปี อา้ เภอ ไก่ เกษตรกร เปด็ ห่าน จ้านวน (ตัว) (ราย) จา้ นวน (ตวั ) เกษตรกร จ้านวน เกษตรกร 2559 เมอื ง (ตวั ) (ราย) บางบอ่ 10,012 419 (ราย) บางพลี 11,564 295 241 8 -- พระประแดง 7,002 1,562 83 7,000 4 พระสมุทรเจดยี ์ 6,143 317 บางเสาธง 10,934 252 720 36 20 1 รวม 5,691 260 702 39 51,346 207 257 7 7,020 5 1,750 422 8 3,904 181 แหลง่ ท่ีมา: ส้านกั งานปศสุ ัตวจ์ งั หวดั สมทุ รปราการ ตารางที่ 1.21 แสดงข้อมูลจ้านวนสตั ว์ใหญ่และครัวเรอื นเฉพาะทส่ี า้ คญั พ.ศ. 2557-2559 ปี อา้ เภอ โคเนอื กระบือ สกุ ร แพะ แกะ 2557 เมอื ง จ้านวน เกษตรกร จา้ นวน เกษตรกร จ้านวน เกษตรกร จ้านวน เกษตรกร จ้านวน เกษตรกร บางบ่อ (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตวั ) (ราย) บางพลี พระประแดง 90 8 31 77 2 92 20 1 พระสมุทรเจดยี ์ 157 10 -- - 135 7 -- บางเสาธง รวม 143 8 19 2 - 129 4 -- 28 3 -- 92 94 10 71 2558 เมือง 98 4 -- 21 -- -- บางบอ่ 144 5 -- -- 116 6 24 2 บางพลี 660 38 22 3 88 5 483 29 51 4 พระประแดง 82 6 -- 56 2 82 91 พระสมทุ รเจดยี ์ 92 92 15 1 82 8 -- บางเสาธง รวม 154 6 27 3 -- 80 5 13 1 41 -- 12 1 105 12 41 2559 เมอื ง 94 2 -- -- -- บางบ่อ -- 57 3 -- 11 1 บางพลี 148 4 36 5 140 7 128 7 37 4 พระประแดง 491 21 -- 52 2 403 34 93 พระสมทุ รเจดยี ์ 55 4 41 -- 12 1 -- บางเสาธง 105 8 108 10 รวม 27 3 61 21 2 148 7 -- -- 89 4 62 41 -- 342 4 120 12 -- 86 2 -- -- 300 1 33 2 31 4 400 7 446 5 69 9 111 5 1,075 33 509 27 แหล่งที่มา: ส้านักงานปศุสตั วจ์ ังหวดั สมทุ รปราการ 2.5) ข้อมูลเศรษฐกิจภาคการท่องเท่ียว จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีท่องเที่ยวที่ส้าคัญท่ีหลากหลาย อาทิ เช่น สถานที่ท่องเที่ยว เชิงศิลปวัฒนธรรม เชิงศาสนา เชิงประวัติศาสตร์ เชิงนิเวศ และประเพณีที่ส้าคัญ เนื่องจากมีพ้ืนท่ีติดต่อกับ กรุงเทพฯ และจังหวัดปริมณฑลท่ีมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีหลากหลายเชื่อมโยงเป็นเส้นทางการท่องเที่ยว ท้ังนี้ สามารถเดินทางไปกลับได้เพียง 1 วันจึงท้าให้นักท่องเที่ยวมีความสะดวกในการเดินทาง และในอนาคตจะมี

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 32 นักท่องเท่ียวเพ่ิมข้ึนอย่างก้าวกระโดด ซึ่งเป็นผลมาจากการเดินทางที่สะดวกจากรถไฟฟ้า และการจัดระบบ จราจรที่มีประสิทธิภาพผนวกกับนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว แบบ One Day Trip และศักยภาพ ด้านแหล่งท่องเทย่ี วในพน้ื ที่ โดยสามารถจา้ แนกแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทส่ี ้าคัญได้ แหล่งท่องท่องเที่ยวที่ส้าคัญในจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีส้าคัญ ทห่ี ลากหลาย โดยสามารถจา้ แนกแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทสี่ า้ คญั และมีชื่อเสียง ได้ดงั น้ี ตารางท่ี 1.22 แสดงแหล่งท่องเที่ยวท่ีสา้ คัญด้านตา่ ง ๆ ท่ี แหล่งทอ่ งเท่ยี ว ความเป็นมา/กิจกรรมส้าคญั ท่ีตงั แหลง่ ท่องเทย่ี วดา้ นโบราณสถาน 1 เมอื งโบราณ เป็นพิพธิ ภณั ฑก์ ลางแจ้งทใ่ี หญท่ ่ีสุดในโลกปัจจุบันมีส่ิงก่อสร้าง ถ.สขุ มุ วิท กม. 33 สถานท่ีส้าคัญๆ ทั้งที่เป็นแบบจ้าลองจากภาคเหนือ ต.บางปใู หม่ อ.เมอื งฯ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลางและใต้ ซ่ึงสิ่งก่อสร้างมีทั้งขนาด ยอ่ สว่ นและเทา่ ขนาดจริง 2 อุทยานประวัติศาสตร์ เป็นป้อมท่ีทันสมัยและมีบทบาทส้าคัญย่ิงในการปกป้องอธิปไตย รมิ ปากแมน่ า้ เจา้ พระยา ทหารเรือ หรือป้อมพระ ของชาติ ซงึ่ เป็นที่ท้าการยิงต่อสู้กับอริราชศัตรูมาแล้วคร้ังหน่ึงเมื่อ ต.แหลมฟ้าผา่ จุลจอมเกล้าฯ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) และท่ีจารึกอยู่ในความทรงจ้าของคนไทย อ.พระสมุทรเจดีย์ 3 ป้อมแผลงไฟฟ้า เป็นป้อมปราการแห่งหนึ่งของ ฐานทัพเมืองนครเขื่อนขันธ์ ต้าบลตลาด เป็นเสมือนหนึ่งฐานทัพด้านปากแม่น้าเจ้าพระยา และเป็น ติดกับโรงเรียนเทศบาล เมืองท่ีมีป้อมปราการหลายแห่ง เนื่องด้วย พระบาทสมเด็จ พระประแดง พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลท่ี 1) มีพระราชด้าริ ที่จะใช้ป้องกันพระราชอาณาจักร ปัจจุบันเทศบาลเมืองพระ ประแดงได้ท้าการบูรณะเป็นท่ีพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน โดยบรเิ วณขา้ งบนของปอ้ มไดจ้ ัดปนื ใหญโ่ บราณหลายกระบอก ตั้งไวใ้ หช้ มรอบๆ บรเิ วณจดั ปลกู ต้นไม้รม่ ร่ืน แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วด้านสถาปัตยกรรม 1 องค์พระสมุทรเจดีย์ พระเจดยี น์ ต้ี ้งั อยู่บนเกาะกลางปากแม่น้าเจา้ พระยา ท้ายป้อมผีเสื้อ ถ.สุขสวสั ดิ์ สมุทร รูปทรงพระเจดีย์เป็นแบบระฆังคว่้า สูง 38 เมตร ภายใน ต.ปากคลองบางปลากด บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตพุ ระชัยวัฒน์และพระปางหา้ มสมทุ ร อ.พระสมทุ รเจดีย์ 2 พิพธิ ภณั ฑช์ า้ งเอราวณั เป็นสถานท่ีเก็บรักษาศิลปวัตถุ มรดกทางวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ ซึ่ง ถ.สุขุมวทิ ช้างเอราวัณหรือช้างสามเศียร เป็นประติมากรรมลอยตัวด้วยวิธี ต.บางเมอื งใหม่ เคาะมือแห่งแรกท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลกท้าจากโลหะทองแดง แผ่น อ.เมอื ง เล็กสุดขนาดเท่าฝ่ามอื 3 ศาลเจา้ มูลนธิ ิธรรมกตัญญู เป็นศาลเจ้าท่ีสวยงาม สถาปัตยกรรมเพียบพร้อมไปด้วย ถนนสุขมุ วทิ (เสียนหลอไต้เทยี นกง) ศิลปวัฒนธรรมของชาวจีนโบราณ ฝีมอื แกะสลักหนิ อนั ปราณีต เป็น ต้าบลบางปูใหม่ ท่ีประดิษฐานเทพเจ้าขุนศึกท่ีศักดิ์สิทธิ์ของชาวไต้หวัน 5 องค์ คือ อ้าเภอเมอื ง เทพเจ้าตระกูลหล่ี เทพเจ้าตระกูลฉือ เทพเจ้าตระกูลอู่ เทพเจ้า ตระกูลจู และเทพเจ้าตระกูลฟ่าน ซึ่งเรียกช่ือรวมกันว่า \"อู๋ฟุ่เซียน ส้วย\" (โหวงหวังเอ้ยี ) ภายในบริเวณศาลเจ้าสามารถชมภาพแกะสลัก หนิ เขยี ว เก่ยี วกับเทพนิยายจีน และตะเกียงไม้ชุบทองค้าซึ่งตกแต่ง อยู่บนฝ้าเพดาน นอกจากน้ียังมีศาลเจ้าแม่กวนอิมและเทพเจ้าองค์ อ่ืนๆ เพื่อให้ประชาชนสักการะ เทพเจ้าตระกูลทั้ง 5 หรือ โหวง หวังเอยี้ เปน็ ยอดขุนพลที่มคี วามสจุ ริตมาก เปน็ ขุนนางที่จงรักภักดี สมัยราชวงศ์หมิงได้เสด็จเดินทางลงใต้จากมณฑล ฮกเกี้ยนถึงเกาะ หนานคุนเซินประเทศไต้หวัน เป็นท่ีเล่ือมใสในหมู่ประชาชน แต่สิ่ง ที่เป็นจุดเด่นท่ีนักท่องเท่ียวจะต้องชมและเก็บภาพไว้เป็นท่ีระลึก คือ สิงโตคู่ ใหญ่ท่สี ดุ ในประเทศไทย แกะสลักจากหินหยกเขยี ว

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 33 ตารางที่ 1.22 แสดงแหล่งท่องเที่ยวท่ีสา้ คัญดา้ นตา่ ง ๆ (ต่อ) ท่ี แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ความเป็นมา/กจิ กรรมสา้ คญั ที่ตัง แหล่งท่องเทีย่ วด้านสถาปัตยกรรม คือ สิงโตคู่ ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย แกะสลักจากหินหยกเขียว น้าเข้าจากประเทศจีน สิงโตคู่ตามความเช่ือของชาวจีน ถือว่าเป็น ส่งิ ที่สร้างข้ึนเพื่อเป็นสิริมงคล มีสง่าราศี มองดูน่าเกรงขามย่ิงใหญ่ เกรียงไกร 4 พิพิธภณั ฑท์ หารเรอื เป็นสถานท่ีรวบรวมและอนุรักษ์วัตถุส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ และ ถ น น สุ ขุ ม วิ ท ต้ า บ ล รวบรวมขอ้ มลู ทางประวัติศาสตรเ์ ก่ียวกับกองทัพเรือไทยและยุทธนาวี ปากน้า ตรงข้ามกับ ครั้งส้าคัญ แบ่งเป็น 2 อาคาร คือ อาคาร 1 จัดแสดงประวัติ โรงเรยี นนายเรอื บุคคลส้าคญั ทีเ่ ก่ยี วกับกองทัพเรือ อาทิ สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ องค์พระบิดาของ ทหารเรือไทย และห้องจัดแสดงเคร่ืองแบบต่างๆ ของ ทหารเรือไทย อาคาร 2 ชั้นล่างจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ชั้น 2 จัดแสดงเกี่ยวกับเรือพระราชพิธี ช้ัน 3 เป็นการจัดแสดง นิทรรศการพเิ ศษ หมุนเวยี นตามช่วงเวลาและเหตุการณ์ส้าคัญ เชน่ ยุทธนาวีที่เกาะชา้ ง สงครามเอเชียมหาบูรพา วีรกรรมท่ีดอน น้อย เรือด้าน้าแห่งราชนาวี และการปฏิบัติการของทหารนาวิก โยธิน เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีการจัดแสดงวัตถุอาวุธ ยุทโธปกรณ์ขนาดใหญ่ในบริเวณโดยรอบ อาทิ เรือด้าน้า รถ สะเทินน้าสะเทินบก รวมท้ังยังสามารถชมประภาคารแห่งแรก ของประเทศไทยได้ แหลง่ ท่องเที่ยวด้านประตมิ ากรรม 1 พระมาลยั หนา้ อุโบสถเกา่ มีลกั ษณะเหมอื นพระสงฆธ์ รรมดา วดั พิชัยสงคราม วดั พชิ ัยสงคราม ต.ปากน้า อ.เมอื ง ฯ 2 พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรปู ส้ารดิ สมัยสุโขทัย วดั ชัยมงคล วดั ชัยมงคล ต.ปากน้า อ.เมือง ฯ 3 พระประธานในอโุ บสถเก่า เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 205 ซ.ม. สร้างด้วย วัดกลางวรวิหาร วดั กลางวรวหิ าร ศิลาแลง หุ้มปูนปิดทอง และใบเสมาท่ีแกะสลักจากหินแกรนิต ต.ปากน้า อ.เมอื ง ฯ ส่วนยอดแกะสลักเป็นพระเก้ียว ซุ้มเสมารูปกูบ เอวเสมาคอดเล็ก มลี ายนาคสามเศยี รเป็นตัวเหงา ตัวเสมาตรงกลางแกะสลักเป็น แถวยาว กลางแถบเป็นลายประจ้ายาม ดา้ นบนมลี ายรูปดอกไม้ 4 หลวงพอ่ สินสมทุ ร เป็นพระประธานในอุโบสถวัดอโศการามเป็นพระพุทธรูป วดั อโศการาม ทองเหลือง ปางสมาธอิ ย่างอินเดีย ต.บางปใู หม่ อ.เมอื งฯ 5 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย พระบาทสมเด็จพระ วดั ทรงธรรมวรวิหาร วัดทรงธรรมวรวหิ าร จุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัวพระราชทานให้ อ.พระประแดง 6 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปปูนปนั้ บุทอง วัดไพชยนต์พลเสพย์ วดั ไพชยนต์พลเสพย์ แหล่งทอ่ งเทีย่ วด้านประตมิ ากรรม 7 พระพุทธรูปปางห้าม สร้างในรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและมีพระพุทธรูปปางนี้ใน วดั พระสมุทรเจดีย์ สมุทรในพระวิหารหน้า พระอุโบสถวดั โปรดเกศเชษฐาราม อกี สององค์ วดั โปรดเกศเชษฐาราม พระสมุทรเจดีย์ อ.พระสมทุ รเจดีย์ 8 หลวงพอ่ โต เปน็ พระพุทธรูปสา้ รดิ ตามประวตั มิ วี ่าลอยน้ามาจากกรงุ เกา่ วดั บางพลใี หญใ่ น ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี 9 พระประธานในอุโบสถ เป็นพระปูนป้ัน ลงรักปิดทอง ปางมารวิชัย ประดิษฐาน วัดปา่ เกด วัดป่าเกด ปนู ปน้ั ปดิ ทอง ประดบั กระจก

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 34 ตารางที่ 1.22 แสดงแหล่งท่องเที่ยวที่ส้าคญั ดา้ นต่าง ๆ (ตอ่ ) ท่ี แหลง่ ทอ่ งเท่ียว ความเปน็ มา/กิจกรรมสา้ คญั ท่ีตงั 10 พระไสยาสน์ (พระนอน) พระพุทธรูปปางไสยาสน์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ยาว วัดบางพลใี หญก่ ลาง ประมาณ 53 เมตร แล้วสร้างพระวิหารคลุมทีหลัง ความสูง ต.บางพลีใหญ่ อ.บาง ของวหิ ารเทา่ อาคาร 4 ชั้น ภายในองค์พระใหญ่พอที่จะแบ่งให้ พลี มีหอ้ งปฏบิ ัติธรรม เสาและผนงั มภี าพเขยี นเร่ืองราวของเทวดา นรก สวรรค์ คตธิ รรม จา้ นวนมากมาย กวา่ 100 รปู และมีห้อง หัวใจพระซึ่งประชาชนนยิ มมาปิดทองเพ่ือเป็นศิริมงคล 11 เจดียห์ ลวงปู่เผอื ก รอบองค์เจดียป์ ระดบั ดว้ ยกระเบื้องสสี ม้ และประดับด้วย ครุฑ วดั ก่ิงแกว้ ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี 12 หลวงพอ่ สุจิตดาราม เริม่ สร้างตั้งแต่สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี เดมิ เรยี กวา่ “วดั วดั บางด้วนนอก (หลวงพ่อดา้ ) สจุ ติ ดาราม”ซึง่ ในสมัยนั้นยังไม่มีความเจริญเท่าใดนักต่อมาถึง ต.บางดว้ น อ.เมือง สมัยกรุงตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร ญาณวโรรสได้เสด็จมา ณ วัดสุจิตตาราม พระองค์ได้ทราบว่า ประชาชนแถบนี้ เรียกท้องถิ่นนี้ว่า “บางด้วน” ดังนั้นพระองค์ จึงคิดที่จะขนานชื่อ วดั สจุ ิตตาราม เสียใหม่ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วประเภทการละเล่นพืนบา้ น 1 สะบ้ามอญ เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ดั้ ง เ ดิ ม ข อ ง ช า ว ม อ ญ ที่ อ.พระประแดง พระประแดงเพื่อให้หนุ่มสาวพบปะพูดคุยกัน โดยจะเล่นในวัน นกั ขัตฤกษ์ 2 สะบ้าทอย เป็นการละเล่นของผชู้ ายในวันสงกรานตพ์ ระประแดง แตกต่าง วัดทรงธรรมวรวหิ าร จากสะบา้ มอญตรงท่เี ปน็ เรอื่ งของผู้ชาย เปน็ การประลองความ อ.พระประแดง แขง็ แรงและความแม่นยา้ ของการทอยสะบา้ ขนบธรรมเนียมและประเพณีท้องถ่นิ 1 ประเพณีรับบัว เกดิ จากชาวมอญพระประแดงท่ีไปท้านาในฤดู ท้านา ณ อ้าเภอ วัดบางพลใี หญใ่ น บางพลี และเม่ือหมดฤดูก็จะกลับไปพระประแดง ซึ่งจะพอดีกับ ต.บางพลใี หญ่ เทศกาลออกพรรษา จึงเก็บดอกบัวที่มีอยู่มากมายท่ีต้าบลบาง อ.บางพลี พลีใหญ่กลับไปด้วย ต่อมาชาวอ้าเภอบางพลีเห็นว่าชาวมอญ มักจะเก็บดอกบัวกลับไปทุกปี จึงเก็บดอกบัวเตรียมไว้ให้ด้วย ความเอ้ือเฟ่ือเผ่ือแผ่ ต่อมาเกิดความคุ้นเคยกันมากข้ึน จึงโยน บัวให้กันหากอยู่ไกล ต่อมาชาวบ้านซึ่งนิยมถวายดอกบัวแก่พระ ในวนั ออกพรรษาจึงไดส้ รา้ งกิจกรรม งานประเพณีรับบัว ให้ได้มี การระลึกถึงกันและเป็นโอกาสให้ได้ร่วมท้าบุญท้ากุศล อีกท้ังยัง เป็นการรว่ มสนกุ กันเปน็ ประจ้าทกุ ปี 2 สงกรานตพ์ ระประแดง เป็นงานประเพณีสงกรานต์ท่ียิ่งใหญ่ จัดโดยชาวไทยเช้ือสาย อ.พระประแดง มอญ โดยจะเริ่มในวันอาทิตย์แรกหลังวันที่ 13 เมษายน ซ่ึง เดมิ เรียกวา่ สงกรานตป์ ากลัด ในงานมีขบวนแห่นางสงกรานต์ การละเล่นพ้ืนเมืองของชาวมอญ เช่น การสรงน้าพระ รดน้า ขอพรผู้ใหญ่ ปล่อยนกปล่อยปลา การเล่นสะบ้า และเล่นสาด น้ากันอย่างสนุกสนาน ขบวนแห่นางสงกรานต์จะมีสาวงาม แตง่ ชุดไทยหรอื ชดุ รามญั (มอญ)

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 35 ตารางท่ี 1.22 แสดงแหล่งท่องเท่ียวที่ส้าคัญดา้ นต่าง ๆ (ตอ่ ) ท่ี แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว ความเป็นมา/กจิ กรรมสา้ คัญ ทตี่ ัง 3 งานนมสั การหลวงพอ่ ปาน เป็นงานประจ้าปีของชาวอ้าเภอบางบ่อ งานนี้เกิดขึ้นจากคุณ วดั มงคลโคธาวาส วัดมงคลโคธาวาส ความดีแลคณุ ธรรมอนั สงู สง่ ของหลวงพ่อปาน พุทธศาสนิกชน อ.บางบ่อ หล่ังไหลกันมาวัดมงคลโคธาวาส เพ่ือนมัสการรูปหล่อจ้าลอง ของหลวงพอ่ ปาน ทกุ ปีงานนมัสการหลวงพ่อปาน จัดข้ึนในวัน ขึ้น 5-7 ค้่า เดือน 12 ของปี รวม 3 วัน 3 คืน โดยในวันแรก ของงานจะมีการอันเชิญรูปหล่อของหลวงพ่อปานแห่ทางเรือ ไปตามลา้ คลองปีกกา เพื่อใหป้ ระชาชนสักการะแล้วแห่กลับวัด มงคลโคธาวาส หลังจากเสร็จสิ้นการกราบไหว้บูชาแล้ว ประชาชนจะสนุกสนานรนื่ เริงกบั มหรสพต่าง ๆ 4 งานนมัสการ เป็นงานประเพณีที่สืบสานกันมายาวนานกว่า 185 ปี เพราะ อา้ เภอพระสมุทรเจดยี ์ องค์พระสมุทรเจดีย์ องคพ์ ระสมุทรเจดีย์เป็นที่เคารพสักการะที่ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา ชาว สมุทรปราการจึงจัดให้มีการสมโภชเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน ตั้งแต่วันแรม 5 ค่้า เดือน 11 ในงานประเพณีจะมีมหรสพ สมโภชมกี ารแขง่ เรอื และการจา้ หนา่ ยสินค้าชุมชน 5 งานประเพณี มีมานานกว่า 30 ปี จะจัดข้ึนทุกวันท่ี 13 เมษายนของทุกปี อ้าเภอพระประแดง แหห่ งสธ์ งตะขาบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือร้าลึกถึงบรรพบุรุษชาวมอญ หงส์ เป็น สัญลักษณ์ตัวแทนตา้ นานการก้าเนิดถ่ินฐานของมอญ ณ กรุง หงสาวดี และตะขาบเป็นสญั ลักษณ์ของคติธรรม ความเชื่อทาง พุทธศาสนาทเ่ี ปรียบดังสดั ส่วนในอวัยวะ ต่าง ๆ ของตัวตะขาบ ชาวมอญท้ัง 7 หมู่บ้าน จะร่วมกันจัดท้าธงตะขาบของ หมบู่ ้านตน และหมนุ เวียนกันเป็นเจ้าภาพ โดยมารวมตัวกันท่ี ศูนย์วัฒนธรรมอ.พระประแดง ตั้งขบวนแห่ไปตามจุดต่าง ๆ ของตลาดพระประแดงหลังจากเสร็จการแห่ ชาวมอญแต่ละ หมู่บ้านก็จะน้าธงตะขาบไปแขวนที่เสาหงส์ของแต่ละวัดใน หมูบ่ า้ น แหลง่ ท่องเทย่ี วเชิงนิเวศและสันทนาการ 1 ตลาดโบราณบางพลี เดิมชอื่ “ตลาดศิรโิ สภณ” เปน็ ตลาดเก่าแก่ตลาดหนึ่งพื้นตลาด ริมคลองส้าโรงติดกับ ท้าจากพ้ืนไม้ สามารถเดินติดต่อกันได้ถึง 500 เมตร มีอายุ วัดบางพลใี หญใ่ น ป ร ะ ม า ณ 1 4 1 ปี ต ล า ด น้ี ตั้ ง อ ยู่ บ น ฝ่ั ง เ ห นื อ ข อ ง ต.บางพลใี หญ่ คลองส้าโรงชว่ งอา้ เภอบางพลี อ.บางพลี 2 ตลาดคลองสวน 100 ปี ก่อตั้งข้ึนโดยชาวจีนกลุ่มหนึ่งเม่ือราว พ.ศ. 2444 นับถึง ต.คลองสวน ปัจจุบันเป็นเวลามากกว่า 100 ปี ตลาดแห่งน้ีต้ังอยู่บนฝั่ง อ.บางบอ่ คลองประเวศบุรีรมย์เชื่อมต่อคลองพระยานาคราช ตลาด คลองสวนเป็นศูนย์รวมของการติดต่อค้าขาย และแลกเปลี่ยน สินค้าของผู้คนจากหมู่บ้านต่าง ๆ หลายหมู่บ้าน บริเวณใกล้ กับตลาดคลองสวนมีฟาร์มเพาะเล้ียงเป็ดมากกว่า 10 แห่ง อาหารขน้ึ ช่ือของทน่ี ี้คือ เป็ดพะโล้

แผนพัฒนาจังหวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 36 ตารางที่ 1.22 แสดงแหล่งท่องเท่ียวท่ีส้าคัญด้านต่าง ๆ (ต่อ) ที่ แหลง่ ท่องเทยี่ ว ความเป็นมา/กจิ กรรมส้าคญั ทตี่ ัง 3 ตลาดน้าบางนา้ ผง้ึ จัดตั้งข้ึนในปี พ.ศ. 2547 นับเป็นตลาดใกล้กรุงท่ีมีสินค้า หมู่ 10 หลากหลายทงั้ ของกนิ ของใชข้ องฝากนานาชนิด จดั เปน็ ซมุ้ ให้มี ทางเดนิ ยาวกว่า 2 กิโลเมตร ขนานไปกับคลองซอยสายเล็ก ๆ ทแี่ ตกแขนงจากแมน่ ้าเจ้าพระยาเขา้ มาในพ้ืนที่ที่ท้าการเกษตร ของชาวบ้าน จัดจ้าหน่ายต้นไม้นานาพันธ์ุ, ปลาสวยงามหลาก ชนิด, และผลิตผลของชาวบ้าน นอกจากน้ียังเป็นศูนย์รวม สินค้า OTOP ท่ีสร้างสรรค์จากคนในชุมชนบางน้าผึ้งและ ต้าบลใกลเ้ คยี งในจังหวัด สมทุ รปราการ เชน่ ดอกไม้เกล็ดปลา บ้านธูปสมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากทะเล โมบายล์ ลูกตีนเป็ด รปู ร่างแปลกตา เป็นต้น 4 สถานตากอากาศบางปู เปน็ สถานทีพ่ กั ผ่อน ซ่ึงบรเิ วณโดยรอบปกคลุมล้อมรอบด้วยปา่ เลขที่ 164 ชายเลนที่ยังคงความสมบูรณ์ตามระบบนิเวศวิทยา “สะพาน หมู่ 2 ถ.สุขมุ วิท สุขตา” ยนื ออกไปสู่ทะเลประมาณ500 เมตร และมี “ศาลา สุขใจ” ซ่ึงเป็นร้านอาหารสวัสดิการของกองอ้านวยการสถาน พักผ่อนกรมพลาธิการทหารบก สามารถน่ังรับประทานอาหาร พร้อมทั้งชมทัศนียภาพอ่าวไทยได้ นอกจากนี้ยังมีเส้นทาง การศกึ ษาธรรมชาติใหป้ ระชาชนอกี ด้วย 5 ฟ า ร์ ม จ ร ะ เ ข้ แ ล ะ ส ว น โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2493 ปัจจุบันเป็นฟาร์มจระเข้ 555 หมู่ 7 สัตว์สมทุ รปราการ ทีใ่ หญ่ท่ีสดุ ในโลก ภายในเปน็ สถานเพาะเลี้ยงจระเข้ขนาดต่างๆ กว่า ถ.ทา้ ยบา้ น 60,000ตั ว เ สื อ ลิ ง ชิ ม แ ป น ซี ช ะ นี เ ต่ า งู น ก อู ฐ ต.ท้ายบ้าน อ.เมืองฯ ฮิปโปโปเตมัส กวาง และปลาจา้ นวนมาก 6 บงึ ตะโก้ เป็นบึงที่นักท่องเท่ียวนิยมเล่นกีฬาทางน้า ได้แก่ เคเบ้ิลสกี 175/1 หมู่ 12 7 สวนศรีนครเข่ือนขันธ์ และวนิ ด์เชิรฟ์ ถ.บางนา – ตราด กม.13 ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี เป็นสวนสาธารณะท่ีมีเนื้อท่ี 200 ไร่เศษ แวดล้อมไปด้วยสวน ถ.เพช็ รหึงษ์ หมากสวนผลไม้ และเป็นพื้นที่สีเขียวที่รัฐบาลก้าหนดให้เป็น ต.บางกระเจ้า ปอดของประชาชนอีกแห่งหนงึ่ เปน็ สถานที่พักผ่อน ออกก้าลัง อ.พระประแดง กายและศึกษาระบบนเิ วศน์ของพนั ธ์พุ ชื และพันธ์สุ ตั ว์ 2.6) สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจภาคทอ่ งเทย่ี ว 1. ดา้ นการทอ่ งเที่ยวและบริการ จากขอ้ มลู สถติ ิด้านการท่องเทย่ี วของจังหวัดสมุทรปราการ พบว่า จ้านวนผู้เยี่ยมเยือนมีสถิติเพิ่มสูงข้ึน ทุกปี ท้ังในส่วนนักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร ซึ่งผู้เยี่ยมเยือนส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเกินกว่าครึ่งคิดเป็นร้อยละ 64.35 ซ่ึงในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดสมุทรปราการ มีจ้านวนเพ่ิมสูงขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 18.3 โดยมีจ้านวนผู้เย่ียมเยือน 2.7 ล้านคนเศษ โดยนักท่องเท่ียวมีระยะเวลาพ้านักเฉล่ีย ไม่เปล่ียนแปลงไปจากเดิม ซึ่งมีระยะเวลาพ้านักเฉล่ียจ้านวน 2 วัน ในส่วนการใช้จ่ายของผู้เยี่ยมเยือนพบว่า มกี ารใช้จา่ ยสงู ข้ึนทกุ ปี ในปี 2558 มกี ารใช้จ่ายเพิม่ ขนึ้ จากปีก่อนร้อยละ 6 ในปี 2557 มีการใช้จ่ายเพิ่มข้ึนร้อยละ 3.2 โดยมีค่าใช้จ่ายเฉล่ีย 1,353 บาท และ 1,276 บาทต่อคนต่อวัน ตามล้าดับ โดยนักท่องเที่ยวใช้จ่ายต่อคน ต่อวันเฉล่ียมากที่สุด จ้านวน 1,710 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 5.8 นอกจากน้ีพบว่า รายได้จากการ

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 37 ท่องเท่ียวมีสถิติเพิ่มสูงข้ึนทุกปี ในปี 2558 จังหวัดสมุทรปราการมีรายได้จากการท่องเที่ยว 4,901 ล้านบาท เพิ่มสูงข้ึนจากปีก่อนร้อยละ 21.2 โดยรายได้สว่ นใหญ่มาจากชาวไทย จ้านวน 2,539 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 51.8 ตารางท่ี 1.23 สถิติการท่องเที่ยวของจงั หวัดสมทุ รปราการ พ.ศ. 2556 – 2558 รายการ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) Percentage change 1. จ้านวนสถานพกั แรม (แหง่ ) 3,078 3,371 4,012 2557 2558 จ้านวนห้อง (หอ้ ง) 2,204,073 2,350,340 2,780,429 1,386,215 1,513,750 1,789,272 9.5 19.0 2. จ้านวนผูเ้ ยีย่ มเยือน 6.6 18.3 ชาวไทย 817,858 836,590 991,157 9.2 18.2 ชาวต่างประเทศ 703,487 752,570 874,060 2.3 18.5 408,393 448,551 521,070 7.0 16.1 2.1 จ้านวนนักทอ่ งเท่ยี ว1 295,094 304,019 352,990 9.8 16.2 ชาวไทย 1,500,586 1,597,770 1,906,369 3.0 16.1 ชาวต่างประเทศ 977,822 1,065,199 1,268,202 6.5 19.3 522,764 532,571 638,167 8.9 19.1 2.2 จ้านวนนักทศั นาจร2 1.9 19.8 ชาวไทย 2.0 2.0 2.0 0.0 0.0 ชาวต่างประเทศ 2.0 2.0 2.0 0.0 0.0 3. ระยะเวลาพา้ นกั เฉล่ยี ของนกั ทอ่ งเท่ียว 2.0 2.0 2.0 0.0 0.0 (วนั ) 1,237.0 1,276.0 1,353.0 3.2 6.0 ชาวไทย 1,072.0 1,108.0 1,173.0 3.4 5.9 ชาวตา่ งประเทศ 1,473.0 1,521.0 1,609.0 3.3 5.8 1,557.0 1,616.0 1,710.0 3.8 5.8 4. ค่าใชจ้ า่ ยเฉล่ียของนักท่องเท่ียว (บาท/ 1,385.0 1,454.0 1,548.0 5.0 6.5 คน/วนั ) 1,751.0 1,810.0 1,900.0 3.4 5.0 1,008.0 2.4 8.5 ผเู้ ยย่ี มเยือน 907.0 929.0 2.8 9.0 ชาวไทย 810.0 833.0 908.0 3.0 7.8 ชาวต่างประเทศ 1,088.0 1,121.0 1,208.0 7.3 21.2 4.1 นักท่องเท่ียว 3,769.0 4,045.0 4,901.0 9.9 19.8 ชาวไทย 1,929.0 2,120.0 2,539.0 4.6 22.8 ชาวต่างประเทศ 1,840.0 1,924.0 2,363.0 4.2 นกั ทัศนาจร ชาวไทย ชาวต่างประเทศ 5. รายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยว (ล้านบาท) ผเู้ ยย่ี มเยือน ชาวไทย ชาวตา่ งประเทศ หมายเหตุ 1) นักท่องเที่ยว หมายถึง ผู้ที่เดินทางไปเยือนจังหวัดนั้น โดยวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่การไปท้างานประจ้า การศึกษาและไมใ่ ชค่ นท้องถิน่ ทม่ี ภี ูมลิ า้ เนาหรอื ศกึ ษาอยู่ท่ีจังหวัดนนั้ ทัง้ น้ตี อ้ งพักคา้ งคนื อย่างน้อย 1คนื 2) นกั ทศั นาจร หมายถงึ ผเู้ ยยี่ มเยอื นที่ไมพ่ ักค้างคืน แหลง่ ท่ีมา: กรมการทอ่ งเท่ยี ว

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 38 2. ดา้ นการจา้ หน่ายสินค้า OTOP ส้าหรับศักยภาพในด้านการจ้าหน่ายสินค้า OTOP พบว่า ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557 – 2559 จังหวัดฯ มียอด จ้าหน่ายสินค้า OTOP เพ่ิมสูงข้ึนเร่ือย ๆ ทุกปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จังหวัดสมุทรปราการ มียอดจ้าหน่ายสินค้า OTOP ทั้งในประเทศและต่างประเทศของผลิตภัณฑ์ทุกประเภทจ้านวน 2,606,092,042 ล้านบาท ไตรมาสที่ 2 มียอดการจ้าหน่ายสูงสุด โดยอ้าเภอบางพลี มียอดจ้าหน่ายสินค้า OTOP สูงที่สุด รองลงมาเปน็ อ้าเภอเมอื งสมุทรปราการ และบางบอ่ ตามล้าดับ ตารางท่ี 1.24 แสดงยอดจา้ หน่ายสินคา้ OTOP ของผลติ ภณั ฑท์ ุกประเภท ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 – 2559 ปงี บประมาณพ.ศ. ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 รวม 4 ไตรมาส (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 2556 2557 369.9949 377.5035 628.2568 804.4070 2,180.1623 2558 592.9081 578.7918 573.2122 340.9034 2,085.7436 563.2436 630.5466 623.9429 508.3880 2,326.1212 2559 570.9757 767.5364 671.6412 595.9385 2,606.0920 แหล่งที่มา: ศูนย์ข้อมูลกลาง กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ตารางที่ 1.25 แสดงยอดจ้าหนา่ ยสินค้า OTOP แยกตามรายอา้ เภอ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 อ้าเภอ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 รวม 4 ไตรมาส (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) เมืองสมุทรปราการ บางบอ่ 133,152,728 190,454,850 179,972,254 167,135,280 670,715,112 บางพลี 94,270,000 115,833,200 102,886,800 100,090,000 413,080,000 พระประแดง 153,349,462 194,708,700 176,159,279 163,519,559 687,737,000 พระสมทุ รเจดยี ์ 84,439,900 103,383,000 88,561,490 84,669,640 361,054,030 บางเสาธง 61,490,000 86,880,700 55,121,100 27,680,000 231,171,800 รวม 44,273,700 76,276,000 68,940,300 52,844,100 242,334,100 570,975,790 767,536,450 671,641,223 595,938,579 2,606,092,042 แหล่งที่มา: ศูนย์ขอ้ มูลกลาง กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 3) บทวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นเศรษฐกิจ/รายไดใ้ นระดับมหภาคและครัวเรือน จังหวดั สมทุ รปราการ มีฐานเศรษฐกจิ สว่ นใหญ่ อยู่ในภาคอุตสาหกรรมและภาคพาณิชยกรรม โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ ช้ินส่วนยานยนต์ อุปกรณ์เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ พลาสติก เคร่ืองใช้ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป การขนส่งสินค้าและบริการ (Logistics) และธุรกิจค้าขายของ ภาคเอกชน ซ่ึงจากการวิเคราะห์ข้อมูล GPP พบว่าในปี พ.ศ. 2558 จังหวัดฯ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) จากกิจกรรมการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดในพื้นที่จังหวัดฯ จ้านวน 685,392 ลา้ นบาท สงู เป็นอันดับ 4 ของประเทศ (GDP ของประเทศไทยจ้านวน 13,672,851 ล้านบาท) คิดเป็นร้อย ละ 5.02 รองจากกรุงเทพมหานคร ระยอง และ ชลบุรี โดยมีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) สูงขึ้นจากปี พ.ศ. 2557 จ้านวน 30,088 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.6 และ (GPP Per Capita) อยู่ที่ 339,972 บาท สูงเป็นอันดับ 8 ของประเทศ รองจากระยอง กรุงเทพฯ ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร และปราจีนบุรี จากการวิเคราะห์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2558 ณ ราคาประจ้าปี พบว่า สัดส่วนโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2558 ส่วนใหญ่เป็นภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 45 การขนส่งร้อยละ 22 การขายส่งขายปลีกร้อยละ 14 และการบรกิ าร ด้านอสังหาริมทรพั ย์ฯ ร้อยละ 6

แผนพฒั นาจงั หวัดจังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 39 ตารางที่ 1.26แสดงมูลค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั (GPP : Gross Provincial Product) สงู สดุ 5 อันดบั แรก ลา้ ดับท่ี จังหวดั GPP (ล้านบาท) สัดสว่ นต่อประเทศไทย (ร้อยละ) 4,437,405 1 กรงุ เทพมหานคร 862,613 32.45 806,480 6.30 2 ระยอง 685,392 5.90 413,158 5.02 3 ชลบุรี 3.02 4 สมุทรปราการ 5 พระนครศรอี ยุธยา แหล่งท่ีมา: สา้ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ จากการวิเคราะห์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) ในช่วงปี พ.ศ. 2548 - 2557 พบว่ามูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดสมุทรปราการ มีแนวโน้มสูงข้ึนเร่ือย ๆ โดยมีมูลค่าสูงสุด ในปี พ.ศ. 2555 มูลค่าเท่ากับ 701,250 ล้านบาท และลดลงร้อยละ 7.05 ในปี พ.ศ. 2556 (มูลค่า GPP จ้านวน 651,809 ล้านบาท) ขณะทีป่ ี พ.ศ. 2557 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพิ่มข้ึนเล็กน้อยจากเดิมร้อยละ 0.53 โดยมีมูลค่าเท่ากับ 655,304 ล้านบาท และในปี พ.ศ. 2558 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดจ้านวน 685,392 ล้านบาท เพ่มิ ขน้ึ อย่างตอ่ เนื่อง จากปี พ.ศ. 2557 รอ้ ยละ 4.6 ดังภาพท่ี 1.26 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั (ล้านบาท) เชิงเส้น (ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั (ล้านบาท)) 800,000 701,250 y = 26520x + 438069 700,000 600,000 662,320 602,275 500,000 400,000 572,923 591,130 651,809 655,304 685,392 300,000 200,000 452,179 536,797 100,000 413,321 0 ภาพที่ 1.22 แสดงมูลคา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวม (GPP) สมุทรปราการ ณ ราคาประจา้ ปี พ.ศ. 2548-2558 หากเปรียบเทียบมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉล่ียต่อคน (GPP per capita) พบว่า จังหวัด สมุทรปราการมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉล่ียต่อคน ปี พ.ศ. 2558 อยู่ที่ 339,972 บาท ซ่ึงมีมูลค่าสูง เปน็ อันดบั 8 ของประเทศ รองจากระยอง กรุงเทพมหานคร ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร และปราจนี บรุ ี โดยในชว่ งปี พ.ศ. 2554-2557 มีมูลคา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดเฉลี่ยต่อคนสูงกว่า 3 แสนบาท ซ่ึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉลี่ยต่อคนในปี พ.ศ. 2558 เพ่ิมขึ้นจากปี พ.ศ. 2557 จ้านวน 8,830 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.67 ในขณะที่จังหวัดสมุทรปราการมีประชากรในปี พ.ศ. 2558 เพ่ิมสูงขึ้น จากปี พ.ศ. 2557 ร้อยละ 1.39 ในขณะที่จังหวัดฯ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) เพ่มิ สูงขนึ้ จากเดิมรอ้ ยละ 4.60 จะเห็นว่าผลิตภาพในการผลิตของวัยแรงงานเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด เฉล่ียตอ่ คน (GPP per capita) ในปี พ.ศ. 2558 สูงกว่า ปี พ.ศ. 2557

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 40 ตารางท่ี 1.27 แสดงมูลคา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั เฉลี่ยต่อคน (GPP per capita) สูงสุด 10 อนั ดับแรก ลา้ ดับท่ี จังหวัด GPP per capita 1 ระยอง (บาท) 2 กรุงเทพมหานคร 3 ชลบุรี 982,500 4 พระนครศรีอยธุ ยา 513,397 5 ฉะเชงิ เทรา 491,971 6 สมทุ รสาคร 475,795 7 ปราจีนบรุ ี 399,194 8 สมทุ รปราการ 364,354 9 ภเู กต็ 345,795 10 นครปฐม 339,972 306,779 288,820 แหล่งที่มา: ส้านกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ตอ่ คน (บาท) 400,000 366,594 358,891 362,533 368,396 339,972 350,000 300,000 309,375 322,897 335,755 331,142 250,000 200,000 294,169 305,078 150,000 100,000 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 50,000 ปี พ.ศ. 0 ภาพที่ 1.23 แสดงมูลคา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว (GPP per capita) สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 –2558 แหล่งที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ส้าหรับการวิเคราะห์โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการ พบว่า โครงสร้าง ทางเศรษฐกิจหลักของจังหวัดฯ ในปี พ.ศ. 2558 ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร (มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จงั หวัดนอกภาคเกษตร จา้ นวน 683,056 ล้านบาท และมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในภาคเกษตรจ้านวน 2,336 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 99.659 ต่อ 0.341) โดยผลิตภัณฑ์นอกภาคเกษตรที่ มีมูลค่าสูงที่สุด ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมการผลติ จ้านวน 311,240 ล้านบาท รองลงมา ได้แก่ การขนส่ง/คมนาคม และสถานท่ีเก็บสินค้า (Logistics) จ้านวน 150,050 ล้านบาท การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วน บุคคลและของใช้ในครัวเรือน จ้านวน 97,955 ล้านบาท บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทาง ธุรกิจ จ้านวน 42,272 ล้านบาท ส้าหรับผลิตภัณฑ์ภาคเกษตรมีมูลค่าเพียง 2,336 ล้านบาท ร้อยละ 0.341 ของผลิตภัณฑ์จังหวัด โดยรายได้ภาคเกษตรกรรมส่วนใหญ่มาจากสาขาการประมง มูลค่า 1,615 ล้านบาท ร้อยละ 0.236 ของมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 41 ตารางที่ 1.28 แสดงมูลคา่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2558 ณ ราคาประจา้ ปี สาขาการผลิต มูลค่า สัดสว่ นโครงสร้าง (ล้านบาท) (ร้อยละ) ภาคเกษตร 0.34 เกษตรกรรม การล่าสตั วแ์ ละการปา่ ไม้ 2,336 0.11 การประมง 721 0.26 ภาคนอกเกษตร 99.66 การท้าเหมอื งแร่และเหมืองหนิ 1,615 0.00 อตุ สาหกรรม 683,056 45.41 การไฟฟา้ แก๊ส และการประปา 2.27 การกอ่ สรา้ ง 8 1.34 การขายสง่ การขายปลกี การซอ่ มแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบคุ คล 311,240 14.30 และของใช้ในครัวเรอื น 15,592 โรงแรมและภตั ตาคาร การขนส่ง สถานท่ีเกบ็ สินคา้ และการคมนาคม 9,209 ตวั กลางทางการเงนิ 97,955 บริการดา้ นอสังหารมิ ทรพั ย์ การใหเ้ ชา่ และบรกิ ารทางธุรกิจ การบรหิ ารราชการและการป้องกนั ประเทศ รวมท้ังการประกนั สงั คมภาคบงั คบั 8,876 1.30 การศึกษา 150,050 21.90 การบรกิ ารด้านสุขภาพและสงั คม 20,121 2.94 การให้บริการดา้ นชมุ ชน สังคมและบรกิ ารส่วนบคุ คลอนื่ ๆ 42,272 6.17 ลูกจา้ งในครวั เรอื นส่วนบคุ คล 10,860 1.58 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั 0.57 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ต่อคน (บาท) 3,917 1.19 ประชากร (1,000 คน) 8,164 0.58 3,999 0.12 100 794 685,392 339,972 2,016 แหล่งท่ีมา: สา้ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ บรกิ ารด้าน อื่นๆ 12.22 % อสงั หารมิ ทรพั ย์ การ ใหเ้ ชา่ และบริการทาง ธรุ กจิ 6.17 % การขายส่ง การขาย อตุ สาหกรรม ปลีก การซ่อมแซม 45.41 % ยานยนต์ จักรยานยนต์ 14.30 % การขนส่ง สถานทเ่ี ก็บ สนิ คา้ และการ คมนาคม 21.90 % ภาพที่ 1.24 แสดงสดั ส่วนผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลติ ปี 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook