Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์ของพระราชา

ศาสตร์ของพระราชา

Description: ศาสตร์ของพระราชา

Search

Read the Text Version

โครงการ ๙๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงปลูกและขยายพันธุ์หญ้าแฝกในพื้นที่รูปแบบต่างๆ ๒. ทรงศึกษาเอกสารของธนาคารโลกเกี่ยวกับ การอนุรักษ์หน้าดินด้วยหญ้าแฝก จึงให้ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ทำ�การศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ หน้าดิน โดยปลูกและขยายพันธุ์หญ้าแฝกในพื้นที่ รูปแบบต่างๆ เช่น ขอบร่องนํ้า แปลงมะม่วงหิมพานต์ บริเวณที่ลาดชัน หรือตามร่องนํ้าธรรมชาติ นำ�หิน ไปกั้นเป็นฝายเล็กๆ แล้วปลูกหญ้าแฝกด้านหน้า หรือในพื้นที่ทำ�การเกษตร เช่น แปลงปลูกข้าวโพด เป็นต้น ทั้งนี้ ให้บันทึกภาพก่อนดำ�เนินการ และ หลังดำ�เนินการไว้เป็นหลักฐานและให้ทุกโครงการ ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ ทำ�เป็นตัวอย่าง วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ โครงการหลวง ณ ที่ทำ�การที่ตำ�บลห้วยแก้ว อำ�เภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ และบรเิ วณแปลงขยายพนั ธห์ุ ญา้ แฝก ณ สำ�นักงานพัฒนาที่ดินเขต ๖ จังหวัดเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดำ�ริ ความว่า “... หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีระบบรากลึกแผ่กระจายลงไป ในดินตรงๆ เป็นแผงเหมือนกำ�แพงช่วยกรองตะกอน ดินและรักษาหน้าดินได้ดี จึงควรนำ�มาศึกษาและ ทดลองปลูก…”

๑๐๐ โครงการปลูกหญ้าแฝก แก้ปัญหาการพังทลายของหน้าดิน “...การปลูกหญ้าแฝก ควรปลูกเป็นแถวเดี่ยว ระยะ แล้วปูซีเมนต์ พืชนี่จะเป็นเขื่อนที่มีชีวิต แล้วในที่สุด ระหว่างต้นห่างกัน ๑๐ – ๑๕ ซม. ทำ�ให้ไม่เปลือง เนื้อที่ตรงนี้ก็จะเกิดเป็นดินผิวได้ เมื่อเกิดผิวดิน พื้นที่ การดูแลรักษาง่าย ควรทำ�การทดลองปลูก เราจะปลูกอะไรก็ได้ ปลูกต้นไม้ก็ได้ ปลูกผัก ในร่องนํ้าและบนพื้นที่ลาดชันให้มากเพื่อช่วย ปลูกหญ้าแฝกก็ได้ทั้งนั้น...” ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน...” “...การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวความคิดใหม่ ควรปลูก “...หญ้าแฝกเป็นพืชท่ีมีระบบรากลึก โดยไม่ต้องหวังผลอะไรมากนัก แต่ผลที่ได้จะดีมาก แผ่กระจายลงไปในดินตรงๆ เป็นแผง และการปลูกไม่จำ�เป็นต้องไปปลูกในที่ของเกษตรกร เหมือนกำ�แพงช่วยกรองตะกอนดิน ขอให้ปลูกกันในสถานีพัฒนาที่ดินเพื่อเป็นแบบอย่าง เพื่อคัดพันธุ์ หาพันธุ์ที่ดีที่ไม่ขยายพันธุ์โดยออกดอก และรักษาหน้าดินได้ดี ต้องดูว่าปลูกแล้วมีพันธุ์ไหนที่ทนแล้ง ในหน้าแล้ง จึงควรนำ�มาศึกษาและทดลองปลูก…” ยังเขียวอยู่ก็ใช้ได้ โดยขอให้ปลูกก่อนฤดูฝน จะทำ�ให้ เกษตรกรในพื้นที่ข้างเคียงเห็น…” พระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ โครงการหลวง ณ ที่ทำ�การที่ตำ�บลห้วยแก้ว อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๕ เสด็จฯ ปลกู หญา้ แฝก ณ พนื้ ทศี่ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทราย “...การปลูกหญ้าแฝก ควรปลูกเป็นแถวเดี่ยว อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดเพชรบุรี และ ระยะระหว่างต้นห่างกัน ๑๐ - ๑๕ ซม. พระราชทานพระราชดำ�ริ ความว่า “...ดินแข็ง ทำ�ให้ไม่เปลืองพ้ืนที่ การดูแลรักษาง่าย อย่างนี้ใช้งานไม่ได้ แต่ถ้าเราทำ�แนวปลูกแฝก ควรทำ�การทดลองปลูกในร่องนํ้า ที่เหมาะสมมีฝนลงมา ความชื้นจะอยู่ในดิน และบนพื้นท่ีลาดชันให้มาก รากแฝกมันลึกมาก ถึงให้เป็นเขื่อนกั้นแทนที่จะขุด เพื่อช่วยป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน...”

โครงการ ๑๐๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น มีการอบรมให้ความรู้และจัดทำ�สาธิตวิธีการปลูกหญ้าแฝกลักษณะต่างๆ ไว้ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ “...การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวความคิดใหม่ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ควรปลูกโดยไม่ต้องหวังผลอะไรมากนัก ได้มีพระราชดำ�รัส ความว่า แต่ผลที่ได้จะดีมาก และการปลูกไม่จำ�เป็น “...หญ้าแฝกนี้ได้ศึกษามาเป็นเวลาถึงสิบเจ็ดปี ต้องไปปลูกในท่ีของเกษตรกร อย่างที่ท่านองคมนตรีได้กล่าวเมื่อตะกี้ ซึ่งก็นับว่า ขอให้ปลูกกันในสถานีพัฒนาที่ดินเพื่อเป็นแบบอย่าง เป็นเวลาช้านาน แต่เป็นเวลาที่เป็นประโยชน์มาก และได้ผลอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่น่ามหัศจรรย์ที่หญ้า เพ่ือคัดพันธ์ุ หาพันธ์ุท่ีดีท่ีไม่ขยายพันธ์ุ ชนดิ เดยี วไดร้ บั การศกึ ษานานถงึ ขนาดสบิ เจด็ ปี แตต่ อ้ ง โดยออกดอก ต้องดูว่าปลูกแล้วมีพันธุ์ไหนที่ทนแล้ง เข้าใจว่าหญ้าแฝกมีหลายชนิด และถ้าไม่ได้ศึกษาก็ ไม่ได้ประโยชน์ขึ้นมาอย่างที่ได้เกิดขึ้น สิบเจ็ดปีนี่ ในหน้าแล้งยังเขียวอยู่ก็ใช้ได้ เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะว่าเวลาทดลองต่างๆ โดยขอให้ปลูกก่อนฤดูฝน ได้ปรากฏว่าหญ้าแฝก หรือหญ้าที่คล้ายๆ หญ้าแฝก จะทำ�ให้เกษตรกรในพ้ืนที่ข้างเคียงเห็น…” ได้ทำ�ประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึ่งน่ามหัศจรรย์ที่หญ้า เพียงบางชนิด ได้ประโยชน์ในที่ต่างๆ หญ้าแฝก พระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ โครงการหลวง บางชนิดได้เกิดประโยชน์ในที่ลักษณะเป็นที่ราบ ณ ที่ทำ�การที่ตำ�บลห้วยแก้ว อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ บางแหง่ กไ็ ดป้ ระโยชนใ์ นที่ตา่ งกันเช่นบนภูเขาดนิ ลกึ ก็มี ดินตื้นก็มี เรื่องดินลึกนั้นได้ปรากฏว่า รากได้หยั่ง วันจันทร์ที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ นายอำ�พล ลงไปถึงห้าหกเมตร แล้วก็ลงไปได้ ซึ่งแต่ก่อนนี้ไม่ได้ เสนาณรงค์องคมนตรีและประธานกรรมการพฒั นาและ นึกว่าหญ้าจะลงไปลึก ข้อสำ�คัญ หญ้านี้ได้หยั่งลงไป รณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ห้าหกเมตร และไม่ได้แผ่ออกไปข้างๆ แสดงว่าไม่ไป นำ�คณะผู้ปฏิบัติงานโครงการพัฒนาและรณรงค์ รังควานรากของพืชที่เป็นประโยชน์...” การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำ�หนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล พระบาทสมเด็จ

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๐๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น “ ...ให้ใช้หญ้าแฝกในการพัฒนา ปรับปรุงบำ�รุงดิน เส่ือมโทรม ดำ�เนินการขยายพันธ์ุ ทําให้มีกล้าหญ้าแฝก ห ญ้ า แ ฝ ก ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ น้ํ า แ ล ะ เ พ่ื อ ท ี่มีศักยภาพในการขยายพันธุ์ ให้ความร่วมมือกับ ”ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ เ พี ย ง พ อ... โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่อง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ มาจากพระราชดำ�ริ เ ป็ น ส ถ า น ที่ ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร “…ให้ใช้หญ้าแฝกในการพัฒนา ปรับปรุงบำ�รุงดิน มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน ฟื้นฟูดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และแก้ปัญหาดิน พระราชดำ�ริให้ตั้งขึ้นตามภูมิภาคต่างๆ ไว้ ๖ ศูนย์ เสอ่ื มโทรม ด�ำ เนนิ การขยายพนั ธ์ุ ท�ำ ใหม้ กี ลา้ หญา้ แฝก เพื่อเป็นต้นแบบของความสำ�เร็จของการพัฒนา เพียงพอด้วย ที่สำ�คัญต้องไม่ลืมหน้าที่ของหญ้าแฝก แบบผสมผสานที่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป ในการอนุรักษ์ดินและนํ้า และเพื่อการรักษาดิน สามารถเข้าไปศึกษา แล้วนำ�ไปเป็นแนวทาง ให้ทุกหน่วยงานและหน่วยงานราชการที่มีศักยภาพ ในการประกอบอาชีพได้ จึงเป็นสถานที่สำ�คัญ ในการขยายพันธุ์ ให้ความร่วมมือกับกรมพัฒนาที่ดิน ในการศกึ ษา ทดลอง และด�ำ เนนิ การสนองพระราชด�ำ ริ ในการผลิตกล้าหญ้าแฝก และแจกจ่ายกลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับ “หญ้าแฝก” มีกิจกรรมการศึกษา ทดลอง ทต่ี อ้ งการใหเ้ พยี งพอ...” พระราชด�ำ รสั พระบาทสมเดจ็ วิจัยต่างๆ เช่น การรวบรวมและเปรียบเทียบสายพันธุ์ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หญ้าแฝกจากแหล่งต่างๆ มีการเพาะในแปลง ณ ศาลาเริง วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัด ขยายพันธุ์ การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การนำ�ไปใช้ ประจวบครี ขี นั ธ์ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๔๖ ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนการขยายผล

โครงการ ๑๐๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น ฟื้นฟูดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และแก้ปัญหาดิน เ พี ย ง พ อ ด้ ว ย ที่ สํ า คั ญ ต้ อ ง ไ ม่ ลื ม ห น้ า ที่ ข อ ง การรักษาดิน ให้ทุกหน่วยงานและหน่วยงานราชการ กรมพัฒนาท่ีดิน ในการผลิตกล้าหญ้าแฝกและแจกจ่าย พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ ศาลาเริง วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๖ ไปสู่เกษตรกร ทั้งนี้ ยังมีการอบรมให้ความรู้และ ตามแนวขวางของความลาดชันและในร่องนํ้าของ จัดทำ�สาธิตวิธีการปลูกหญ้าแฝกลักษณะต่างๆ ภูเขาเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินและ ไว้ในศูนย์ศึกษาพัฒนาฯ เพื่อให้ประชาชนผู้สนใจ ช่วยเก็บความชื้นในดินไว้ การปลูกหญ้าแฝก ทัว่ ไปไดศ้ กึ ษาเรยี นรู้และมกี ารแจกจ่ายพันธุ์หญ้าแฝก เหนือบริเวณแหล่งนํ้า ปลูกแฝกเป็นแนวป้องกัน ให้กับผู้ที่สนใจนำ�ไปปลูกอีกด้วย ตะกอนดนิ และกรองของเสยี ตา่ งๆ ทไ่ี หลลงในแหลง่ นา้ํ ก า ร ป ลู ก ห ญ้ า แ ฝ ก บ ริ เ ว ณ แ ห ล่ ง นํ้ า ข น า ด เ ล็ ก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ จังหวัดเพชรบุรี สภาพพื้นที่มีปัญหาดิน ให้ปลูกเป็นรูปตัว “^” (ตัววีควํ่า) โดยให้ปลายแหลม ถูกชะล้าง จึงได้นำ�แนวพระราชดำ�ริไปดำ�เนินการ จนประสบผลสำ�เร็จ โดยการปลูกหญ้าแฝกตาม ชี้ขึ้นในทางต้นนํ้า ขา ๒ ข้างพาดวางร่องนํ้าไปตาม ลักษณะของพื้นที่ ดังนี้ ปลูกโดยรอบแปลง ความลาดชันเพื่อกั้นดินและกระจายการไหลของนํ้า เกษตรกรรม ปลูกลงในแปลง แปลงละ ๑ แถว ประโยชน์ที่ได้รับ คือ หน้าดินถูกชะล้างน้อยลง สำ�หรับแปลงพืชไร่ให้ปลูกตามร่องสลับกับพืชไร่ สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้หลากหลาย และยังช่วย การปลูกหญ้าแฝกบนพื้นที่ภูเขา โดยปลูกหญ้าแฝก ไม่ให้เกิดนํ้าป่าไหลหลาก ก่อความเสียหายแก่พืชผล ไร่นาของราษฎรบริเวณใกล้เคียง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๐๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น นั บ ต้ั ง แ ต่ ปี พ. ศ. ๒ ๕ ๓ ๕ จนถึงปัจจุบัน ได้มีการผลิต ๓ต้น,๐พัน๐ธ๐ุ์หญล้า้ แา ฝ ก ทั้ ง สิ้ น ก ว่ า น ต้ น โ ด ย มี กรมพัฒนาท่ีดินเป็นหน่วยงาน หลักในการรับผิดชอบ ทรงส่งเสริมให้เกษตรกรใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและนํ้า ในพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้างพังทลายของดินสูง และพื้นที่การเกษตรทั่วไป นับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๕ จนถึงปัจจุบัน ได้มีการผลิต พันธุ์พืช กรมป่าไม้ กองทัพบก หน่วยบัญชาการ ต้นพันธุ์หญ้าแฝกทั้งสิ้นกว่า ๓,๐๐๐ ล้านต้น โดยมี ทหารพัฒนา กองบัญชาการตำ�รวจตระเวนชายแดน กรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบใน ได้ผลิตกล้าเพื่อปลูกและแจกจ่ายให้ผู้ที่สนใจ และ การผลิตกล้าหญ้าแฝกในรูปแบบต่างๆ ทั้งจากการ ปัจจุบัน ดำ�เนินการโดยพัฒนาและรณรงค์การใช้ แยกหน่อเพาะชำ� การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแล้วนำ�ไป หญ้าแฝกตามกรอบแผนแม่บทการพัฒนาและรณรงค์ ส่งเสริมและแจกจ่ายพันธุ์ ให้แก่หน่วยงานราชการ การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ฉบับที่ ๖ เอกชน เกษตรกร และประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ (พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๒) ได้ดำ�เนินงานโครงการสาธิตและส่งเสริมการปลูก หญ้าแฝกในพื้นที่สถาบันการศึกษาภายใต้การ นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมให้ ด�ำ เนนิ งานโครงการหญา้ แฝกโรงเรยี นกวา่ ๓,๐๐๐แหง่ เกษตรกรใช้หญ้าแฝกในการ ทั่วประเทศ เช่น โรงเรียนในสังกัดตำ�รวจตระเวน อ นุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ นํ้ า ใ น ชายแดน และโรงเรียนในเขตพื้นที่สำ�นักงานการ พื้ น ที่ ที่ มี ปั ญ ห า ศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะเวลา ก า ร ช ะ ล้ า ง การดำ�เนินงานตามกรอบแผนแม่บทการพัฒนาและ รณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้มีหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมชลประทาน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและ

โครงการ ๑๐๕ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น ปั จ จุ บั น มี พ้ื น ท่ี ท่ี มี ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น รุ น แ ร ง แ ล ะ ป า น ก ล า ง อั ต ร า สู ญ เ สี ย ดิ น ๕ ถึง ๒๐ ตัน/ไร/่ ปี รวมทั้งส้ิน ๑๐,๔๗๘,๙๓๕ ไร่ ทรงทดลอง วิจัย เพื่อการพัฒนาการเกษตรในด้านต่างๆ เช่น การเกษตรผสมผสาน วนเกษตรการปลูกพืชสมุนไพร การผสมพันธุ์ พืชสองชั้น เพื่อคัดเลือกพันธุ์แท้ให้กับราษฎร พังทลายของดินสูงและพื้นที่การเกษตรทั่วไป เกิดภัยพิบัติเป็นหลัก เนื่องจากการสำ�รวจพบว่า สร้างความรู้และความเข้าใจเรื่องหญ้าแฝกกับ ปัจจุบันมีพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินรุนแรง การอนุรักษ์ดินและนํ้าให้เกษตรกรได้ตระหนักถึง และปานกลาง (อัตราสูญเสียดิน ๕ ถึง ๒๐ ตัน/ไร่/ปี) ความส�ำ คญั ในการปอ้ งกนั การสญู เสยี หนา้ ดนิ จากการ รวมทั้งสิ้น ๑๐,๔๗๘,๙๓๕ ไร่ ถูกชะล้างพังทลายโดยกระแสนํ้า สร้างรายได้เสริม ในด้านหัตถกรรมโดยใช้วัตถุดิบจากใบหญ้าแฝก การจัดตั้งเครือข่ายหญ้าแฝก จำ�นวน ๒ เครือข่ายดังนี้ การดำ�เนินงานส่งเสริมและขยายผลการปลูก (๑) เครือข่ายหญ้าแฝกบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก หญ้าแฝกในระยะต่อไปจะให้ความสำ�คัญ (Pacific Rim Vetiver Network) ได้เผยแพร่ข้อมูล กับการส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกแก่ ในพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้าง ประเทศสมาชิกที่อยู่รอบบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก พังทลายสูง พื้นที่วิกฤติ รวม ๒๒ ประเทศ ทั้งในรูปแบบของจดหมายข่าว ต่างๆ และพื้นที่ที่ และเอกสารวิชาการ ซึ่งที่ผ่านมาได้จัดพิมพ์เผยแพร่ เสี่ยงต่อการ ไปแล้วกว่า ๗๐,๐๐๐ ฉบับ นอกจากนี้ได้มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านทาง Website (http://prvn.rdpb.go.th) (๒) เครือข่ายหญ้าแฝกประเทศไทย (Thailand Vetiver Network) สำ�นักงาน กปร. ได้จัดตั้ง ทดลองการปลูกหญ้าแฝก เพื่อป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินในลักษณะของ “เขื่อนที่มีชีวิต” ในพื้นที่ต่างๆ

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๐๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น เครือข่ายหญ้าแฝกบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Rim Vetiver Network) ไ ด้ เ ผ ย แ พ ร่ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ห ญ้ า แ ฝ ก แ ก่ ป ร ะ เ ท ศ ๒๒ส ม า ชิ ก ที่ อ ยู่ ร อ บ บ ริ เ ว ณ ม ห า ส มุท ร แ ป ซิ ฟิ ก ร ว ม ป ร ะ เ ท ศ ทั้ ง ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง จ ด ห ม า ย ข่ า ว แ ล ะ เ อ แกลส้วากรวว่าิ ช๗า ก๐า,ร๐๐ซึ่ ๐ง ทฉี่ ผบ่ าับน ม า ไ ด้ จั ด พิ ม พ์ เ ผ ย แ พ ร่ ไ ป เครือข่ายหญ้าแฝกประเทศไทยขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๔๐ IUSS) ได้ร่วมกับกรมพัฒนาที่ดินเป็นเจ้าภาพจัดการ เพื่อเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักวิชาการ ประชุมดินโลกเม่ือปี พ.ศ.๒๕๔๕ ท่กี รุงเทพมหานคร หญา้ แฝกของประเทศไทยสมาชกิ เครอื ขา่ ยประกอบดว้ ย IUSS ซาบซึ้งในพระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีการดำ�เนินงาน พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับหญ้าแฝก จำ�นวนกว่า ๕๐ หน่วยงาน และมี ที่ทรงศึกษาค้นคว้าวิธีการจัดการดิน สมาชิกที่เป็นนักวิชาการและผู้ปฏิบัติงานหญ้าแฝก และแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน กว่า ๓๐๐ คน โดยได้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เ พื่ อ ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ในลักษณะของ ได้อยู่ดีกินดี จดหมายข่าว เอกสารวิชาการ ที่ผ่านมาได้จัดพิมพ์ เผยแพร่ไปแล้วกว่า ๔๐,๐๐๐ ฉบับ นอกจากนี้ ได้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ผ่านทาง Website (http://thvn.rdpb.go.th) ให้แก่สมาชิกเครือข่ายจากหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนผู้สนใจ ทว่ั ไปไดใ้ ชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดิน นานาชาติ (International Union of Soil Science :

โครงการ ๑๐๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น สํานักงาน กปร. ได้จัดต้ังเครือข่ายหญ้าแฝกประเทศไทย (จแไTดําล้จนhะัดaวผiพนู้lปิมaกnฏพวิ่dา์บเผั๕ตVยิ งแe๐าtพiนvหรห่ไeนปrญ่วแ้ยNาลงแ้eวาฝtนกwกวแ่กาoลวrะ๔่ kามี)๐ส๓มข,า้ึ๐๐นชิใก๐๐นท่ีป๐เคปี ็นนพฉน.บศัทกับ.ี่ วผ๒ิช่ า๕านก๔มา๐รา จงึ เสนอใหว้ นั ที่๕ธนั วาคมของทกุ ปเี ปน็ “วนั ดนิ โลก” และเมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ประชุม สมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญที่ ๖๘ ได้มีมติ รับรองให้วันดินโลก (World Soil Day) ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคมของทุกปี และให้ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เป็นปีดินสากล (International Year of Soil in 2015) การปลูกหญ้าแฝกขวางตามแนว ระดับให้กอชิดติดกันตามความเหมาะสม ของพื้นที่ลาดชัน เพื่อช่วยลดความเร็ว ของกระแสน้ำ� ที่เกิดจากการชะล้าง ของหน้าดินในบริเวณร่องน้ำ�

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๐๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรดิน ๑. กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ ประมวลกฎหมาย ท่ีดิน พ.ศ.๒๔๙๗ ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗ ให้คำ�นิยามที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาจัดการดิน ๒. ดังนี้ พระราชบัญญัติ การพัฒนาที่ดิน “การพัฒนาที่ดิน” หมายความว่า การกระทำ�ใดๆ ต่อดิน หรือที่ดินเพื่อเพิ่ม พ.ศ.๒๕๕๑ ประสิทธิภาพและคุณภาพของดิน หรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรให้ สูงขึ้น และหมายความรวมถึงการปรับปรุงดินของที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ทางธรรมชาติ หรือขาดความอุดมสมบูรณ์ เพื่อการใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ดิน และนํ้า เพื่อรักษาดุลยภาพหรือเพื่อความเหมาะสมในการใช้ที่ดินต่อเกษตรกรรม “การอนุรักษ์ดินและนํ้า” หมายความว่า การกระทำ�ใดๆ ที่มุ่งให้เกิดการระวัง ป้องกันรักษาดินและที่ดินไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน และการรักษานํ้าในดินหรือบนผิวดินให้คงอยู่ เพื่อรักษาดุลยธรรมชาติให้เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ที่ดินในภาวะเกษตรกรรม พระราชบัญญัติการพัฒนาที่ดิน พ.ศ.๒๕๕๑ กำ�หนดหลักการในการแก้ไขปัญหา ความเสื่อมโทรมของดิน เมื่อไม่มีการอนุรักษ์ดินและนํ้า ทำ�ให้เกิดการชะล้าง พังทลายของดิน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคมให้หน่วยงานของ รัฐสามารถเข้าไปดำ�เนินการป้องกันรักษาสภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด แผ่นดินถล่ม และเกิดการชะล้างพังทลายของดินอย่างรุนแรง เพื่อให้การใช้ที่ดิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด กำ�หนดมาตรการทางกฎหมาย ที่เกี่ยวกับการสร้างความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสม แก่การใช้ประโยชน์ของดิน การอนุรักษ์ดินและนํ้า การวิเคราะห์ตรวจสอบ ตัวอย่างที่ดินและการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ซึ่งเป็นกลไกที่สำ�คัญในการพัฒนาดิน เพื่อพลิกผันดินเสียให้เป็นดินที่สามารถใช้ประโยชน์ได้

โครงการ ๑๐๙ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรดิน ๓. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กฎกระทรวงแบ่งส่วน พ.ศ.๒๕๕๗ กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินเกี่ยวกับการกำ�หนด ราชการกรมพัฒนา นโยบายและวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่เกษตรกรรม การสำ�รวจ การจำ�แนกดิน ท่ีดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ การกำ�หนดบริเวณการใช้ที่ดิน การควบคุมการใช้ที่ดินบริเวณที่มีการใช้หรือ พ.ศ. ๒๕๕๗ ทำ�ให้เกิดการปนเปื้อนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด การอนุรักษ์ดินและนํ้า การปรับปรุงบำ�รุงดิน การผลิตแผนที่และทำ�สำ�มะโนที่ดิน การให้บริการและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน ข้อมูลดิน และการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๑๐ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (๓) การสร้างคันดินเบนนํ้า เพื่อเชื่อมต่อคันดินกั้นนํ้า อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ที่สามารถเชื่อมต่อกันได้เป็นแนวขวางทางนํ้าในพื้นที่ ด้านการปรับปรุงดิน การฟื้นฟูสภาพป่า และ โดยบริเวณที่ตํ่าจะใช้ดินถมเสริมขึ้นเป็นคันดิน การบริหารจัดการนํ้า โดยเฉพาะเรื่องหญ้าแฝก ส่วนบริเวณที่สูงจะใช้วิธีขุดร่อง เพื่อจัดระดับนํ้าให้ ซึ่งมีงานวิจัยไม่น้อยกว่า ๒๒๕ เรื่องในหลากหลาย ไหลถ่ายเทเข้าหากัน เมื่อมีการสร้างคันดินเบนนํ้า มิติ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ (ชนิดพันธุ์ การเติบโต โดยวางระดบั ในระยะทเ่ี หมาะสมจะท�ำ ใหเ้ กดิ ความชมุ่ ชน้ื การขยายพนั ธ)์ุ ดา้ นเกษตรกรรมและการปลกู หญา้ แฝก ที่กระจายครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ส่งผลเกื้อกูลกับ เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของดินในสวนไม้ผลและ การปลูกและฟื้นฟูสภาพป่า ไม้ยืนต้น ด้านการอนุรักษ์ดินและนํ้า ด้านสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการนํ้าและการพัฒนาแหล่งนํ้าด้วย ด้านการส่งเสริมการปลูก และการใช้ประโยชน์ ระบบเครือข่ายอ่างเก็บนํ้าตามแนวพระราชดำ�ริ ระบบเครือข่ายอ่างเก็บนํ้าเป็นการผันนํ้าจาก การปรับปรุงดินที่แข็งเป็นดานให้สามารถปลูก อ่างเก็บนํ้าที่มีปริมาณมากมาเพิ่มเติมปริมาณนํ้า ไม้ยืนต้นได้โดยใช้หญ้าแฝกเป็นพรรณไม้บุกเบิก ให้อ่างเก็บนํ้าที่มีนํ้าน้อยกว่า จัดเป็นการใช้นํ้า ที่เติบโตได้ในสภาพดินเสื่อมโทรม โดยจะช่วยรักษา อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถช่วยเหลือพื้นที่ ความชื้นในดิน ระบบรากของหญ้าแฝกจะชอนไช การเกษตรได้เป็นวงกว้างและทั่วถึง รวมถึงฟื้นฟู ทำ�ให้เกิดรูพรุน ลดความหนาแน่นรวมของดิน สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ให้น้อยลงจนพืชชนิดอื่นสามารถเจริญเติบโตได้ การฟนื้ ฟสู ภาพปา่ ไมบ้ นพน้ื ทภ่ี เู ขาดว้ ยระบบปา่ เปยี ก การสร้างระบบกระจายความชุ่มชื้นในระบบนิเวศ หรือป่าภูเขาโดยจัดตั้งสถานีสูบนํ้าด้วยพลังงาน ประกอบด้วย ฝายชะลอความเร็วของนํ้า การสร้าง แสงอาทิตย์ สำ�หรับสูบนํ้าจากระบบชลประทาน คันดินกั้นนํ้า และการสร้างคันดินเบนนํ้า ของระบบเครือข่ายอ่างเก็บนํ้า แล้วส่งขึ้นไปบนเขา ในระดับที่สูงที่สุดเท่าที่จะสามารถส่งไปถึง (๑) ฝายชะลอความเร็วของนํ้าทำ�ให้นํ้าไหลลงไป ผลสมั ฤทธอ์ิ กี ประการหนงึ่ คอื การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ สู่เบื้องล่าง สังเกตได้จากการกัดเซาะตามร่องนํ้าต่างๆ และถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สาธารณะ ด้วยการจัดสรร ลดลง นอกจากนี้ ยังมีตะกอนดินและเศษกิ่งไม้ พื้นที่สาธิตภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ที่สะสมเพิ่มขึ้นในแต่ละปีแทรกเข้าไปอยู่ในผนังของ อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริโดยสรา้ งสถานกี ารเรยี นรู้ ฝาย นํ้าจะซึมลงไปในดินช้าๆ เนื่องจากพื้นดินบริเวณ ในแต่ละด้าน อาทิ งานพัฒนาดินที่แข็งเป็นดาน ฝายมีความชุ่มชื้นสะสมมากขึ้นในแต่ละปี ซึ่งสังเกต งานพัฒนาที่ดิน (หญ้าแฝก) งานพืชผักผสมผสาน ได้จากการที่มีพืชจำ�พวกหญ้าขึ้นอยู่รอบๆ งานปศุสัตว์ งานเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์สัตว์ป่า (สวนสัตว์) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุง (๒) การสร้างคันดินกั้นนํ้า เลือกพื้นที่รับนํ้า จากนั้น เส้นทางพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต โดยปลูกพืช ข ย า ย พื้ น ที่ ใ ห้ ก ว้ า ง แ ล ะ ลึ ก เ พื่ อ เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ สมนุ ไพรในพน้ื ทแ่ี ละปลกู ไมพ้ มุ่ บรเิ วณโคนตน้ ไมใ้ หญ่ ในการกักเก็บ ทั้งนี้ ต้องไม่ขุดดินขวางทางนํ้าไหล เข้าสู่พื้นที่รับนํ้าตามธรรมชาติ

โครงการ ๑๑๑ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น การฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้บนพื้นที่ภูเขาเสวยกะปิ เขารังแร้ง ตามพระราชดำ�ริในการขยายผลการดำ�เนินงานของ และเขาบ่อขิง โดยสูบนํ้าจากระบบชลประทานของ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก ระบบเครือข่ายอ่างเก็บนํ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ พระราชดำ�ริ คือดำ�เนินงานแบบค่อยเป็นค่อยไป และติดตั้งระบบกระจายนํ้าเพื่อสร้างความชุ่มชื้น อีกทั้งประชาชนในพื้นที่โดยรอบได้น้อมนำ�แนวทาง และฟื้นฟูสภาพป่าไม้บริเวณเขารังแร้งและเขาบ่อขิง ตามพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร เป็นผลให้พื้นที่บริเวณภูเขาทั้ง ๓ แห่งมีความอุดม มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยเฉพาะ สมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ม า ใช้ ในการดำ�เนินชีวิต อีกประการหนึ่งที่สำ�คัญ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนโดยรอบพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา จุดเด่นและเอกลักษณ์ของ ห้วยทรายฯ อาทิ การสนับสนุนเกษตรกรให้เป็น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย เกษตรกรตัวอย่าง จำ�นวน ๑๔ ราย การสนับสนุน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ คือ พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ เช่น พันธุ์ปลาดุก ๘,๐๐๐ ตัว การฟื้นฟูระบบนิเวศป่า ดิน และนํ้า แก่เกษตรกรจำ�นวน ๖๐ ราย การสนับสนุนไก่พื้นเมือง โดยใช้หญ้าแฝกปรับปรุงดินท่ีมีลักษณะเป็น ๑๕๐ ตัว สำ�หรับเป็นอาหารกลางวันของโรงเรียน ดินดาน รวมท้ังการยึดหลักแนวคิดว่า เป็นต้น คนอยู่ร่วมกับป่าได้ จึงทำ�ให้การบุกรุก ทำ�ลายป่ายุติลง ผลประโยชน์ทางอ้อมต่อระบบนิเวศ คือ ภายหลัง การพฒั นาปรบั ปรงุ ทด่ี นิ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ซง่ึ เปน็ ไป ตามหลักวิชาการ ส่งผลให้การชะล้างพังทลาย ของดินลดลง การสูญเสียหน้าดินลดลง ทำ�ให้ดิน มีความอุดมสมบูรณ์ในที่สุด จึงมีความเหมาะสมกับ การเจริญเติบโตของพืชพรรณในป่า พันตำ�รวจโท ชาญ รามัญอุดม ซึ่งปฏิบัติงานที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริมายาวนานกว่า ๑๐ ปี ได้ให้สัมภาษณ์ ว่าจุดเด่นและเอกลักษณ์ของศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยทรายฯ คือ การฟื้นฟูระบบนิเวศป่า ดิน และนํ้า โดยใช้หญ้าแฝกปรับปรุงดินที่มีลักษณะเป็นดินดาน รวมทั้งการยึดหลักแนวคิดว่าคนอยู่ร่วมกับป่าได้ จงึ ท�ำ ใหก้ ารบกุ รกุ ท�ำ ลายปา่ ยตุ ลิ ง ปจั จยั สคู่ วามส�ำ เรจ็ ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ คือ แนวทาง



โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริด้านการเกษตร เกิดข้ึนจากพระราชประสงค์หลักคือ ทำ�ให้เกษตรกรสามารถพ่ึงตนเองได้ ทรงมุ่งให้พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศในระยะยาว โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้านการเกษตร

ó¾×ªäË ¾×ªÊǹ ʋǹ ‹Êǹ ʋǹ óÊÃйéÓ Ê‹ Ç ¹ó¹Ò¢ŒÒÇ ñ·Õè Í ÂÙ‹ Í Ò ÈÑ Â

โครงการ ด้านการเกษตร ความเจริญของประเทศ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ต้องอาศัยความเจริญ ของภาคเกษตรเป็นสําคัญ แ น ว พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร เ ก ษ ต ร ท่ี สํ า คั ญ คือการท่ีทรงเน้นเร่ืองการศึกษาค้นคว้า ทดลอง และวิจัย ทรงยึดหลักการและเทคโนโลยีเรียบง่าย ไ ม่ ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น ร า ค า ถู ก แ ล ะ ไ ม่ ยึ ด ติ ด ตํ า ร า เกษตรกรสามารถทําได้เอง และอาจประหยัด ค่าใช้จ่ายในการทําโดยใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ และอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติ การดําเนินการต้อง ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป ต า ม ลํ า ดั บ ขั้ น ต อ น แ ล ะ ต า ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง แ ต่ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ท ร ง เ น้ น อ ยู่ เ ส ม อ ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า ท้ั ง ห ม ด ต้ อ ง ช้ี แ จ ง ใ ห้ ร า ษ ฎ ร ซ่ึ ง เ ป็ น ผู้ ไ ด้ รั บ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ มี ส่ ว น ร่ ว ม และลงมือลงแรงด้วย การดูแลทรัพยากรธรรมชาติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ก็ เ ป็ น อี ก ปั จ จั ย ห น่ึ ง ท่ี จ ะ ช่ ว ย เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ผ ลิ ต เ มื่ อ ป่ า ดี นํ้ า ดี ดิ น ดี ก า ร ทํ า ม า ห า กิ น ก็ จ ะ ดี

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๑๖ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร ไ ด้ ท ร ง ใ ช้ พื้ น ท่ี พ ร ะ ร า ช ฐ า น สวนจิตรลดาฯ เป็นสถานีศึกษา ค้นคว้า ทดลอง แล ะ วิ จัย ท า ง กา ร เกษต ร ใ นทุ กๆ ด้ า นม า ตั้ ง แ ต่ ปี พ.ศ. ๒๕o๕ โดยทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ในการดําเนินงานศึกษาทดลองเม่ือทรงแน่พระทัยว่า ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ป ร ะ ส บ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ไ ด้ ผ ล ดี เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ป ร ะ ช า ช น อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว ก็ จ ะ พ ร ะ ร า ช ท า น แ ก่ ร า ษ ฎ ร นํ า ไ ป ป ฏิ บั ติ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ซ่ึ ง มี อ ยู่ ๖ แ ห่ ง ท่ั ว ทุ ก ภู มิ ภ า ค ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ป็ น ศูนย์ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิจัยเพ่ือการพัฒนา โ ด ย เ น้ น ค ว า ม จ ริ ง ข อ ง ศั ก ย ภ า พ ข อ ง แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ และความเหมาะสมกับคนในพ้ืนท่ีน้ันๆ พระองค์ ท ร ง ผ ส ม ผ ส า น วิ ท ย า ก า ร ส มั ย ใ ห ม่ ท่ี เ รี ย บ ง่ า ย กั บ

โครงการ ๑๑๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และทรงเน้นการพัฒนาท่ีย่ังยืน คื อ ร า ษ ฎ ร ส า ม า ร ถ พึ่ ง ต น เ อ ง ไ ด้ ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น เ ส มื อ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ธ ร ร ม ช า ติ ท่ี มี ชี วิ ต แ ล ะ เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร พั ฒ น า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร แนวพระราชดําริเร่ือง “เกษตรทฤษฎีใหม่” เป็น ทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการท่ีดินและแหล่งน้ํา เพ่ือการเกษตรโดยการแบ่งสัดส่วนการใช้ประโยชน์ จากพ้ืนท่ีท่ีมีอยู่จํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด และ ขณะเดียวกันก็สามารถเก็บกักน้ําไว้ใช้ได้ตลอดท้ังปี ท ร ง ใ ช้ ท้ั ง ห ลั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ คิดคํานวณพ้ืนท่ีและปริมาณน้ําอย่างละเอียดถ่ีถ้วน แ ล้ ว พ ร ะ ร า ช ท า น แ น ว ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง เ รี ย บ ง่ า ย ไม่ซับซ้อนให้ทุกคนนําไปปฏิบัติได้ การทําเกษตร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ยึ ด ห ลั ก ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ข อ ง ค รั ว เ รื อ น แ ล ะ ค ว า ม ส า มั ค คี ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๑๘ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร (ความตอนหนึ่งในพระราชดำ�รัส พระราชทานแก่คณะผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๙) “...คต้วอางมอเาจศรั ยิ ญคขวอา มง ปเ จรระิ ญเ ท ศ “ ข อ ง ภ า ค เ ก ษ ต ร เ ป็ น สํ า คั ญ... ภาพรวมของโครงการ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรนั้น ส่วนใหญ่มักเป็น “...ความเจริญของประเทศ ต้องอาศัยความเจริญ เขตเกษตรล้าหลังที่อาศัยการผลิตแบบดั้งเดิม ของภาคเกษตรเป็นสำ�คัญ...” (ความตอนหนึ่งใน คือ เพาะปลูกปีละครั้งโดยอาศัยนํ้าฝน ประสิทธิภาพ พระราชดำ�รัส พระราชทานแก่คณะผู้อำ�นวยการ การผลิตตํ่า ผลิตได้ไม่พอกิน บางพื้นที่พ้นจาก สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน ลักษณะเขตล้าหลังและพอจะทำ�การผลิตเพื่อ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๑๗ การค้าได้บ้าง แต่เกษตรกรก็ยังขาดการรวมตัว มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๙) กันเป็นกลุ่ม และขาดความรู้เชิงพาณิชย์ทำ�ให้ถูก พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร เอารัดเอาเปรียบในการติดต่อกับพ่อค้าภายใต้กลไก มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ข้างต้นนี้ ตลาดปัจจุบัน ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ทำ�ให้เกษตรกร แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความสำ�คัญของภาค มีรายได้ตํ่า มีหนี้สินและยากจน การเกษตรที่มีต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทย นอกจากน้ี การเรง่ รดั พฒั นาในชว่ งทผ่ี า่ นมาไดท้ �ำ ลาย การพัฒนาการเกษตรเป็นเป้าหมายที่สำ�คัญของ สภาพความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาประเทศมาโดยตลอด ปัญหาหลัก เป็นอย่างมาก ทำ�ให้ที่ดิน แหล่งนํ้า ป่าไม้ ตลอดจน ประการหนึ่งของการพัฒนาการเกษตรในปัจจุบัน ทรัพยากรประมงมลี กั ษณะเสือ่ มโทรมไมส่ ามารถเพิ่ม คือ เรื่องของประสิทธิภาพการผลิตที่โยงไปถึง ประสิทธิภาพการผลิตอย่างต่อเนื่องเช่นในอดีตได้ เรื่องการตลาด บางพื้นที่ถือเป็นเขตเกษตรก้าวหน้า การช่วยเหลือจากรัฐบาลมีอุปสรรคและมีข้อขัดข้อง อาจจะไม่มีปัญหาในเรื่องนี้ แต่ในพื้นที่ที่พระบาท หลายประการ ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร

พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชประสงค์หลัก คือทำ�ให้เกษตรกรสามารถ พึ่งตนเองได้ โดยเฉพาะ ในด้านอาหารเป็นอันดับแรก มมี ากมายหลายดา้ นและงบประมาณส�ำ หรบั การพฒั นา เทคนิควิธีการดูแลต่างๆ นั้น จะต้องเหมาะสมกับ ก็มีอยู่จำ�กัด รัฐจึงไม่สามารถพัฒนาการเกษตร สภาพสังคมและสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้นๆ ได้อย่างกว้างขวาง เพียงพอ และทันการณ์ อีกทั้ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การสนับสนุนด้านการวิจัยและการค้นคว้าทดลอง บรมนาถบพิตร มีพระราชประสงค์หลัก คือ ทำ�ให้ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำ�คัญของการพัฒนาการเกษตร เกษตรกรสามารถพง่ึ ตนเองได้ โดยเฉพาะในดา้ นอาหาร มีน้อยมาก สิ่งเหล่านี้ย่อมเป็นอุปสรรคต่อ เป็นอันดับแรก เช่น ข้าว พืชผัก และผลไม้ การพัฒนาการเกษตรและส่งเสริมเกษตรกรโดยทั่วไป นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเห็นว่า การพัฒนาฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติจะมีผลโดยตรงต่อการพัฒนา แนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับการพัฒนาประสิทธิภาพ การเกษตร จึงทรงมุ่งให้พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากร การผลิตทางการเกษตรที่สำ�คัญ คือ การที่ทรงเน้น ธรรมชาติ ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ ในเรื่องของการค้นคว้าทดลองและวิจัยหาพันธุ์พืช ในระยะยาว พระองค์สนพระราชหฤทัยอย่างยิ่ง ใหม่ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น หม่อนไหม ยางพารา ต่อการทะนุบำ�รุง และปรับปรุงสภาพของทรัพยากร พืชเพื่อการปรับปรุงบำ�รุงดิน และพืชสมุนไพร ธรรมชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ ที่ดิน แหล่งนํ้า ฯลฯ ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช รวมทั้ง ให้อยู่ในสภาพที่จะมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ พันธุ์สัตว์ต่างๆ ที่เหมาะสม เช่น โค กระบือ แพะ แกะ การผลิตให้มากที่สุด พันธุ์ปลา และสัตว์ปีกทั้งหลายด้วย เพื่อให้เกษตรกร จากแนวทางและเป้าหมายต่างๆ ดังกล่าว พระบาท นำ�ไปใช้ได้ในราคาที่ถูกและด้วยเทคโนโลยีที่ง่าย สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร ไม่สลับซับซ้อน ที่สำ�คัญ คือ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ หรือ

๑๒๐ โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เขตพระราชฐาน สวนจิตรลดาบางส่วน ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร เป็นสถานีค้นคว้าทดลองทางการเกษตรในทุกๆ ด้านมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเน้นความจำ�เป็นที่จะลดค่าใช้จ่ายในการทำ�มาหากินของเกษตรกร ให้มากที่สุด โดยอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติเป็นปัจจัยสำ�คัญ มีแนวพระราชดำ�ริที่ถือเป็นหลักเกณฑ์หรือเทคนิค พึ่งตนเองได้ ในเรื่องนี้ได้พระราชทานคำ�แนะนำ�ว่า วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายนั้นหลายประการ การรวมกลุ่มกันของเกษตรกรเป็นปัจจัยสำ�คัญ ประการแรก ทรงเห็นว่า การพัฒนาการเกษตรที่จะ ประการหนึ่งที่จะช่วยได้เป็นอย่างดี ได้ผลจริงจังนั้น จะต้องลงมือทดลองค้นคว้า ในเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตนั้น ต้องปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป และไม่ยึดติดตำ�รา นอกเหนือจากทรงเน้นในเรื่องการผลิตอาหาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใ ห้ เ พี ย ง พ อ แ ล้ ว ท ร ง ใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ บรมนาถบพิตร ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในระยะยาว เขตพระราชฐาน สวนจิตรลดาบางส่วนเป็นสถานี มีพระราชประสงค์ที่จะให้เกษตรกรมีความเจริญ ค้นคว้าทดลองทางการเกษตรในทุกๆ ด้าน ก้าวหน้าอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีสภาพชีวิต มาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๕ พระองค์ทรงเน้นให้มี ที่มีความสุข ไม่เคร่งเครียดกับการเร่งรัดให้เกิด การค้นคว้าทดลองทั้งก่อนการผลิต และหลังจากผลิต ความเจริญโดยเร็ว ดังพระราชดำ�รัสเมื่อวันที่ ๔ ให้พิจารณาตั้งแต่เรื่องความเหมาะสมของพืช กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ความว่า “...ไม่จำ�เป็นต้อง ความเหมาะสมของดิน พืชใดจะเหมาะสมกับดิน ส่งเสริมผลผลิตให้ได้ปริมาณสูงสุดแต่เพียงอย่างเดียว ประเภทใด รวมทั้งการค้นคว้าเกี่ยวกับความต้องการ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองค่าโสหุ้ย และทำ�ลาย ของตลาด คือ การปลูกพืชที่ตลาดต้องการผลิต คุณภาพดิน แต่ควรศึกษาสภาวะตลาดการเกษตร ออกมาแล้วมีที่จำ�หน่าย ส่วนการค้นคว้าวิจัยหลัง ตลอดจนการควบคุมราคาผลิตผล ไม่ให้ประชาชน การผลิต ให้ดูแลเรื่องความสอดคล้องของตลาด ได้รับความเดือดร้อน...” คุณภาพของผลผลิต หรือทำ�อย่างไรจึงจะช่วยให้ การพฒั นาการเกษตรของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร เกษตรกรมีความรู้เบื้องต้นในด้านการบัญชี และ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร อีกประการหนึ่ง ธุรกิจการเกษตรในลักษณะที่พอจะทำ�ธุรกิจแบบ

โครงการ ๑๒๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร “... ไ ม่ จ ำ� เ ป็ น ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ผ ล ผ ลิ ต ใ ห้ ไ ด้ ป ริ ม า ณ สูงสุดแต่เพียงอย่างเดียว เพราะเป็นการส้ินเปลือง ค่าโสหุ้ย และทําลายคุณภาพดิน แต่ควรศึกษาสภ าวะ ตลาดการเกษตร ตลอดจนการควบคุมราคาผลิตผล ไ ม่ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ดื อ ด ร้ อ น... ”พระราชดำ�รัสเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๕ กค็ อื ทรงเนน้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ดุ ของดินในระยะยาว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรง เช่น การใช้ที่ดินที่ปล่อยทิ้งไว้เปล่าๆ ให้เป็นประโยชน์ แนะนำ�เรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพอันจะมีผลดี หรือการค้นหาประโยชน์จากธรรมชาติในสิ่งที่ผู้อื่น ทั้งในด้านเชื้อเพลิงและปุ๋ย รวมทั้งทรงเน้นอยู่เสมอ นึกไม่ถึง เช่น ครั้งหนึ่งทรงสนับสนุนให้มีการทำ�ครั่ง ที่ จ ะ ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร มี ร า ย ไ ด้ เ ส ริ ม ห รื อ ร า ย ไ ด้ จ า ก ต้ น จ า ม จุ รี ที่ ขึ้ น อ ยู่ ริ ม ท า ง ห ล ว ง เ ส้ น ท า ง นอกการเกษตรจากการหาวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ที่เสด็จพระราชดำ�เนินไปพระราชวังไกลกังวล ได้แก่ ไผ่ ยางพารา ฯลฯ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โดยนำ�เอาต้นก้ามปูมาเป็นวัตถุดิบ การจักสานโดยใช้วัสดุธรรมชาติเป็นอาชีพเสริม การมงุ่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาตมิ ลี กั ษณะสอดคลอ้ ง เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร กับหลักที่สำ�คัญอีกประการหนึ่งของพระองค์ คือ โครงการพัฒนาด้านการเกษตรอันเนื่องมาจาก การประหยดั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล พระราชดำ�ริประกอบด้วยงานหลายประเภท อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเน้นความจำ�เป็น โดยทั่วๆ ไปแล้ว จะเป็นงานเกี่ยวกับการศึกษา ที่จะลดค่าใช้จ่ายในการทำ�มาหากินของเกษตรกร ค้นคว้า ทดลอง วิจัย หาพันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์ต่างๆ ให้มากที่สุด โดยอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติเป็นปัจจัย ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่นั้นๆ และนำ�ผลสำ�เร็จ สำ�คัญ ตั้งแต่การสนับสนุนให้เกษตรกรใช้วัวควาย จากการศึกษาทดลองไปถ่ายทอดสู่ประชาชน และ ในการทำ�นาแทนการใช้เครื่องจักร การปลูกพืช งานในด้านการฝึกอบรมให้เกษตรกรมีความรู้ หมุนเวียน โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เพื่อลดค่าใช้จ่าย ในวิชาการเกษตรแผนใหม่ การทำ�ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เรื่องปุ๋ย ในกรณีที่ต้องใช้ปุ๋ย ก็ทรงสนับสนุน รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการถนอมอาหารและ ให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมีซึ่งมี การแปรรูปอาหาร และการผลิตอาหารเพื่อ ราคาแพง และมีผลกระทบต่อสภาพและคุณภาพ โภชนาการด้วย

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๒๒ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร “ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชวินิจฉัยว่าปัญหาสําคัญ ประการหน่ึงของเกษตรกรในชนบท คือ การขาดแบบฉบับ หรือตัวอย่างการพัฒนา เกษตรกรมักจะประกอบอาชีพ ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ป ต า ม แ บ บ เ ดิ ม ท่ี คุ้ น เ ค ย ไ ม่ รู้ จั ก วิ ธี การปรับปรุงและพั ฒ น า ผ ลิ ต ผ ล ใ ห้ มี ป ริ ม า ณ แ ล ะ ”คุ ณ ภ า พ ดี ยิ่ ง ข้ึ น โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พระราชดำ�ริ มีทั้งหมด ๖ แห่งทั่วประเทศ ตามสภาพภูมิศาสตร์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ที่แตกต่างกัน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นแหล่งศึกษา แสดงถงึ ความหว่ งใยของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร สรรพวิชา ค้นคว้า ทดลอง และสาธิต เปิดให้เกษตรกร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทท่ี รงมตี อ่ ราษฎร และประชาชนทั่วไปมาศึกษาดูงาน ทุกศูนย์ศึกษา และพระปรีชาสามารถในการพัฒนาการเกษตร การพฒั นาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ มกี ารคน้ ควา้ มีพระราชวินิจฉัยว่าปัญหาสำ�คัญประการหนึ่งของ วิจัย ทดลอง และสาธิตวิธีการพัฒนาเพื่อช่วยให้ เกษตรกรในชนบท คอื การขาดแบบฉบบั หรอื ตวั อยา่ ง เกษตรกรสามารถศึกษาหาความรู้และนำ�ไปปฏิบัติ การพัฒนา เกษตรกรมักจะประกอบอาชีพการเกษตร ไดจ้ รงิ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ไปตามแบบเดิมที่คุ้นเคย ไม่รู้จักวิธีการปรับปรุงและ มีลักษณะเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต ช่วยให้ พัฒนาผลิตผลให้มีปริมาณและคุณภาพดียิ่งขึ้น เกษตรกรสามารถนำ�เอาความรู้ไปใช้เป็นแนวทาง ๑ ๒ในการประกอบอาชีพและสามารถพึ่งตนเองได้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่อง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บล มาจากพระราชดำ�ริ ตง้ั อยทู่ ต่ี ำ�บลกะลวุ อเหนอื เขาหินซ้อน อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัด อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่ ฉะเชิงเทรา จัดตั้งขึ้นตามพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๘ ดำ�เนินการประมาณ ๑,๗๔๐ ไร่ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๒ มีพื้นที่รวมประมาณ ๑,๘๙๕ ไร่

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร มีแนวพระราชดำ�ริที่ถือเป็นหลักเกณฑ์คือ การพัฒนา การเกษตรที่จะได้ผลจริงจังนั้น จะต้องลงมือ ทดลอง ค้นคว้า ต้องปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป และไม่ยึดติดตำ�รา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ด้านการประมง การพัฒนาด้านไม้ดอกไม้ผล และ มีทั้งหมด ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ในภาคต่างๆ ๔ ภาค คือ การจัดการด้านสหกรณ์ เป็นต้น ศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจาก มีศูนย์สาขา คือ โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ พระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลเขาหินซ้อน อำ�เภอ เขาชะโงก จังหวัดนครนายก และโครงการพัฒนา พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จัดตั้งขึ้นตาม ส่วนพระองค์ที่อำ�เภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี พระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๒ มีพื้นที่รวมประมาณ ๑,๘๙๕ ไร่ มีภารกิจหลัก ๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจาก ในด้านการปรับปรุงฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เช่น พระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลกะลุวอเหนือ อำ�เภอเมือง การปรับปรุงบำ�รุงดิน การปลูกป่าไม้ และการพัฒนา จังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งข้ึนจากการที่พระบาทสมเด็จ ปศุสัตว์ การจัดตั้งธนาคารโค-กระบือ การส่งเสริม พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๓ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน ๔ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่อง อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ ตง้ั อยทู่ ต่ี ำ�บล มาจากพระราชดำ�ริ บ้านนานกเค้า ตำ�บล สนามไชย อำ�เภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ห้วยยาง อำ�เภอเมือง จังหวัดสกลนคร พื้นที่ประมาณ ๘๕,๒๓๕ ไร่ มีพื้นที่โครงการประมาณ ๒,๓๐๐ ไร่

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๒๔ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลกะลุวอเหนือ อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ที่ตำ�บลสนามไชย อำ�เภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี มีพระราชดำ�ริระหว่างเสด็จฯ แปรพระราชฐานไป เขาตันหยง อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ๒) โครงการ ประทับ ณ พระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์ ระหว่าง พัฒนาหมู่บ้านปิแนมูดอ อำ�เภอระแงะ จังหวัด วันที่ ๑๘ สิงหาคม ถึง ๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ นราธิวาส ๓) โครงการหมู่บ้านเกษตรปศุสัตว์มูโนะ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แห่งนี้มีพื้นที่ดำ�เนินการ อำ�เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ๔) ศูนย์สาขา ประมาณ ๑,๗๔๐ ไร่ ภารกิจหลักของศูนย์นี้ ได้แก่ บ้านโคกอิฐ-โคกใน บ้านยูโย อำ�เภอตากใบ จังหวัด การศกึ ษา วจิ ยั และการพฒั นาสภาพของดนิ ทมี่ ปี ญั หา นราธิวาส และ ๕) โครงการพัฒนาลุ่มนํ้าปากพนัง และใช้ประโยชน์ไม่ได้ให้นำ�กลับมาใช้ประโยชน์ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทางด้านเกษตรกรรมได้อีก เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์ และดินเปรี้ยวด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่อง เพื่อใช้นํ้าชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุ มาจากพระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลสนามไชย อำ�เภอ การอนุรักษ์และบำ�รุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลอง ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี พระบาทสมเด็จพระปรมินทร ด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนไม้ดอก ไม้ประดับ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ได้พระราชทาน เปน็ ตน้ มศี นู ยส์ าขาอยู่ ๕ แหง่ คอื ๑) โครงการสวนยาง พระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ความว่า “...ให้พิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสมจัดทำ� ๕ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ก่อตั้งขึ้น ๖ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๕ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ มีพื้นที่ดำ�เนินการประมาณ ๘,๕๐๐ ไร่ ตำ�บลสามพระยา อำ�เภอชะอำ� จังหวัด เพชรบุรี มีพื้นที่โครงการประมาณ ๔๒,๖๔๐ ไร่

โครงการ ๑๒๕ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ บ้านนานกเค้า ตำ�บลห้วยยาง อำ�เภอเมือง จังหวัดสกลนคร โครงการพัฒนาด้านอาชีพการประมงและการเกษตร สภาพแวดล้อมชายฝั่ง การบำ�บัดนํ้าเสียจาก ในเขตพื้นที่ชายฝั่งตะวันออกของจังหวัดจันทบุรี...” การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ� การอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์ไม้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ แห่งนี้ มีพื้นที่โครงการ ป่าชายเลน การวิจัยและทดสอบระบบการเกษตร รวมพื้นที่ขยายผล จำ�นวน ๓๓ หมู่บ้าน รวมเป็นพื้นที่ ผสมผสาน การส่งเสริมอาชีพด้านการประมง ประมาณ ๘๕,๒๓๕ ไร่ ดำ�เนินกิจกรรมด้านค้นคว้า การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการสหกรณ์ และ ศึกษา ทดลอง วิจัย และสาธิตการพัฒนาและอนุรักษ์ การอบรมปศุสัตว์ เป็นต้น ๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก “...ใ ห้ พิ จ า ร ณ า พื้ น ที่ ที่ เ ห ม า ะ ส ม พระราชดำ�ริ บ้านนานกเค้า ตำ�บลห้วยยาง จั ด ท ำ� โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ด้ า น อ า ชี พ ก า ร ป ร ะ ม ง อำ�เภอเมือง จังหวัดสกลนคร ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๕ มีพื้นที่โครงการประมาณ แ ล ะ ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น เ ข ต พื้ น ที่ ช า ย ฝั่ ง ๒,๓๐๐ ไร่ และเขตปริมณฑลเพื่อการพัฒนาอีก ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี...” ประมาณ ๑๑,๐๐๐ ไร่ ภารกิจหลัก คือ การพัฒนา ระบบชลประทาน พัฒนาระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริมีทั้งหมด ๖ แห่งทั่วประเทศ มี ก า ร ค้ น ค ว้ า วิ จั ย ท ด ล อ ง แ ล ะ ส า ธิ ต วิ ธี ก า ร พั ฒ น า เ พื่ อ ช่ ว ย ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร ส า ม า ร ถ ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ นํ า ไ ป ป ฏิ บั ติ ไ ด้ จ ริ ง

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๒๖ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง และแสวงหารูปแบบในการพัฒนา พื้นที่บริเวณต้นนํ้าลำ�ธารของภาคเหนือ เพื่อเป็น “ต้นแบบ” ในการพัฒนา ลุ่มนํ้าอื่นๆ ในภูมิภาค การทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ การศึกษาระบบนิเวศวิทยา เข้าเสริม การปลูกไม้ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ของป่า การปรับปรุงบำ�รุงดินและการพัฒนาส่งเสริม เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และเน้นเรื่องการพัฒนา ด้านปศุสัตว์และประมง เป็นต้น มีศูนย์สาขา ๓ แห่ง ป่าไม้พื้นที่ต้นนํ้าลำ�ธารให้สมบูรณ์เป็นหลัก โดยให้ คือ ๑) โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มนํ้าห้วยบางทราย ปลายทางเป็นการศึกษาด้านประมงตามอ่างเก็บนํ้า ตอนบนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอดงหลวง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก จังหวัดมุกดาหาร ๒) โครงการพัฒนาลุ่มนํ้ากํ่า พระราชดำ�ริแห่งนี้ มีพื้นที่ดำ�เนินการประมาณ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดสกลนคร และ ๘,๕๐๐ ไร่ เดิมเป็นพื้นที่แล้ง ทุรกันดาร จึงปลอดจาก จังหวัดนครพนม ๓) โครงการขุดสระเก็บกักนํ้า การบุกรุก ภายหลังการพัฒนาโครงการประสบผล ตามทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอ สำ�เร็จเป็นอย่างดี กลายเป็นที่อุดมสมบูรณ์และเป็น เขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ และ ๔) โครงการศูนย์พัฒนา พื้นที่สีเขียว ศูนย์ศึกษาฯ แห่งนี้ ได้รับความสนใจ การเกษตรภูสิงห์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เป็นอย่างมาก เป็นสถานที่ศึกษา ดูงาน และเยี่ยมชม จังหวัดศรีสะเกษ จากผู้นำ�และประมุขของประเทศต่างๆ นับครั้ง ๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่อง ไม่ถ้วน มาจากพระราชดำ�ริ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก พ.ศ.๒๕๒๕ ที่บริเวณพื้นที่ป่าขุนแม่กวง อำ�เภอ พระราชดำ�ริ มีศูนย์สาขา ๕ แห่ง ได้แก่ ๑) โครงการ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระราชประสงค์ ศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ดอกไม้ผลบ้านไร่ ที่จะให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง และ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอหางดง จังหวัด แสวงหารูปแบบในการพัฒนาพื้นที่บริเวณต้นนํ้า เชียงใหม่ ๒) โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มนํ้าสาขา ล�ำ ธารของภาคเหนอื เพือ่ เปน็ “ตน้ แบบ”ในการพฒั นา แม่ปิงอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอบ้านโฮ่ง ลุ่มนํ้าอื่นๆ ในภูมิภาค โดยใช้ระบบชลประทาน จังหวัดลำ�พูน และอำ�เภอจอมทอง อำ�เภอฮอด จังหวัด

โครงการ ๑๒๗ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร การศกึ ษาทดลองวธิ ปี ลกู หญา้ แฝก พชื ทส่ี ามารถพฒั นาดนิ ทแ่ี ขง็ เปน็ ดาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้กลับมาใช้เพาะปลูกได้ ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ทรงงาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลสามพระยา อำ�เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี เชียงใหม่ ๓) โครงการพัฒนาพื้นที่ป่าขุนแม่กวง เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๖ ให้พัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอดอยสะเก็ด พื้นที่ดังกล่าวเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่ ๔) โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ เอนกประสงค์ ศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรกรรม ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอ ที่เหมาะสมควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และปลูกป่า แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ๕) โครงการพัฒนา จัดหาแหล่งนํ้า ศึกษาระบบป้องกันไฟป่า ระบบ พื้นที่ห้วยลานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอ “ป่าเปียก” และให้ราษฎรที่บุกรุกแสวงหาที่ทำ�กิน สันกำ�แพง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมิชอบเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ เพื่อร่วมกัน ๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พัฒนา อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร พระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลสามพระยา อำ�เภอชะอำ� อย่างถูกต้อง เกื้อกูลกัน ระหว่างคนกับธรรมชาติ จังหวัดเพชรบุรี เดิมเป็นเขตพระราชนิเวศน์ มีพื้นที่โครงการประมาณ ๔๒,๖๔๐ ไร่ มีศูนย์สาขา มฤคทายวัน อันเป็นพื้นที่ซึ่งพระบาทสมเด็จ อยู่ที่โครงการศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ เขาชะงมุ้ อนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ อ�ำ เภอโพธาราม ประกาศให้เป็นที่หลวงและเป็นที่อภัยทานสัตว์ จังหวัดราชบุรี ภายหลังมีประชาชนเข้าบุกรุกแผ้วถางทำ�ลายป่า ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรมอย่างผิดหลักวิชาการ ทั้ง ๖ แห่ง มีภารกิจในการศึกษาวิจัยและพัฒนา จึงกลายเป็นที่อับฝน แห้งแล้ง เกิดการพังทลายของ ในหลายด้าน จะขอยกตัวอย่างการพัฒนาด้านพืช ผิวหน้าดิน และขาดความอุดมสมบูรณ์ พระบาท ด้านการประมง ด้านดิน และด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร ทรงมพี ระราชกระแสในเรอ่ื งนว้ี า่ หากปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ ะกลาย เป็นทะเลทรายในที่สุด จึงได้ทรงมีแนวพระราชดำ�ริ

๑๒๘ โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ เห็ดนางรมทอง ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ต้นข้าว ศูนย์ศึกษาการพัฒนา เห็ดนางรมหลวง มีการปลูกพืชไร่หมุนเวียน ภูพานฯ มีการปรับปรุง ตามฤดูกาล เช่น ถั่วลิสง เทคนิควิธีการเพาะเห็ด ชนิดต่างๆ ด้านพืช แต่ละชนิด เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ การดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่อง ของเกษตรกรให้ดีขึ้น ให้เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคม มาจากพระราชดำ�ริมีกิจกรรมต่างๆ หลากหลาย (๑) การปรับปรุงพันธุ์พืช สาขา ตั้งแต่การพัฒนาระบบชลประทาน การศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ระบบนิเวศของป่า การปรับปรุงบำ�รุงดิน การส่งเสริม บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานแนวพระราชดำ�ริ ด้านปศุสัตว์และประมง และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการปรับปรุงพันธุ์พืช ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญ การด�ำ เนินการด้านการผลิตพืช การปรับปรุงพันธ์ุพืช ใ น ก า ร เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล ผ ลิ ต ระบบเกษตรผสมผสาน และการแปรรูปผลผลิต โดยการคัดเลือกพันธุ์ต้องทนทานต่อสภาพแวดล้อม ทางการเกษตร หรือต้านทานโรคแมลงศัตรูพืช ให้ผลผลิตสูง ทำ�ให้เกิดองค์ความรู้และเกิดการพัฒนาให้ประชาชน และทนทานต่อสภาพพื้นที่ปลูกที่แตกต่างกัน เช่น สามารถน�ำ ไปปรบั ใช้ และมรี ายไดม้ ากขน้ึ ยกตวั อยา่ ง พื้นที่สูง พื้นที่ดินเปรี้ยว พื้นที่ดินเค็ม เป็นต้น เช่น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก นอกจากนี้ยังได้พระราชทานพระราชดำ�ริให้ พระราชดำ�ริ เริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ดำ�เนินการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างพันธุ์พืชลูกผสม โดยยึดตามแนวพระราชดำ�ริที่พระราชทานไว้ ของไทยโดยไม่ต้องพึ่งพาต่างประเทศเพราะ เมื่อครั้งเสด็จฯ ไปทรงติดตามการดำ�เนินงานของ อาจมีปัญหาในด้านสิทธิบัตร ศูนย์ภูพานฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๖ ถึง พ.ศ.๒๕๓๓ (๒) กิจกรรมพืชไร่ พืชผัก และพืชสวน แนวทางการดำ�เนินงานโดยพิจารณาข้อจำ�กัด กิจกรรมนี้สาธิตแปลงปลูกพืชไร่พันธุ์ดีที่ได้จาก สภาพปัญหาด้านการผลิตพืชเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การวิจัยปรับปรุงพันธุ์ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา และการพัฒนาการผลิตพืชและระบบการผลิตพืช ภพู านอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ เพอ่ื เปน็ แปลงตน้ แบบ

โครงการ ๑๒๙ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ถั่วเหลือง มีการนำ�ลิ้นจี่ พันธุ์ นพ. ๑ ที่ได้จากการคัดเลือกมาปลูก สาธิตในพื้นที่ศูนย์ ศึกษาภูพานฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ข้าวโพดหวาน พิกุลทองอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ตำ�บล กะลุวอเหนือ อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกษตรกรที่มาศึกษาดูงาน ใกล้เคียง เพื่อสนองพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จ ในพน้ื ท่ีโดยด�ำ เนนิ การปลกู พชื ไรห่ มนุ เวยี นตามฤดกู าล พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เช่น ข้าวโพดหวาน ถั่วลิสง ถั่วเหลืองฝักสด ถั่วเขียว ที่ได้พระราชทานแนวทางไว้ โดยได้นำ�ข้อมูลที่ได้ เป็นต้น สำ�หรับกิจกรรมพืชสวนได้นำ�พันธุ์พืชสวน จากงานวิจัยมาทำ�การศึกษาพัฒนากับการเพาะเห็ด ที่ได้จากการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์มาปลูกสาธิต ในสภาพแวดล้อมของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาภูพานฯ ได้แก่ ลิ้นจี่ พันธุ์ นพ. ๑ โดยศึกษาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหลายชนิด เป็นพันธุ์ที่ผ่านการคัดเลือก และปรับปรุงบำ�รุงพันธุ์ เพื่อนำ�มาเป็นวัสดุเพาะเห็ด และปรับปรุงเทคนิค มีลักษณะประจำ�พันธุ์ คือ ผลมีขนาดใหญ่ รสหวาน วิธีการเพาะเห็ดชนิดต่างๆ ท้ังเห็ดเศรษฐกิจ เช่น อมเปรี้ยวเล็กน้อย เป็นพันธุ์เบา ออกดอกในเดือน เห็ดฟาง เห็ดสกุลนางรม เห็ดหอม เห็ดพื้นเมือง ธันวาคม และเก็บเก่ยี วได้ในเดือนเมษายน ออกดอก ที่ประชาชนในท้องถิ่นนิยมบริโภค เช่น เห็ดกระด้าง ติดผลทุกปี และจะมีผลผลิตเพิ่มขึ้นตามอายุของต้น (บด) เห็ดขอนขาว เห็ดตีนแรด และเห็ดสมุนไพร และขนาดของทรงพุ่ม นับเป็นไม้ผลที่มีศักยภาพ ได้แก่ เห็ดหลินจือ เป็นต้น โดยการทำ�แปลงตัวอย่าง ชนิดหนึ่งในพื้นที่เขตนี้ นอกจากนี้ยังมีมะม่วงแก้ว สาธิตให้เกษตรกรได้ศึกษาและเลือกนำ�ไปใช้ ที่ผ่านการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ สามารถปลูก ตลอดจนการนำ�วัสดุที่มีในท้องถิ่นมาศึกษา ปรับปรุง ได้ดี เหมาะสำ�หรับการแปรรูป ใช้เป็นวัสดุสำ�หรับผลิตเชื้อเห็ดเพื่อบริการเกษตรกร (๓) กิจกรรมการเพาะเห็ด (๔) กิจกรรมระบบเกษตรผสมผสาน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ได้ดำ�เนินการพัฒนา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เทคโนโลยีการผลิตเห็ดชนิดต่างๆ ให้สามารถ บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดำ�ริ เมื่อครั้ง เพาะเห็ดได้ในเขตพื้นที่จังหวัดสกลนครและพื้นที่ เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรการด�ำ เนนิ งานของศนู ยศ์ กึ ษา

๑๓๐ โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ สบู่ใสบำ�รุงผิว ผสมสารสกัด ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร จากใบมะกอก สลัดผัก โครงการส่วน ตามฤดูกาล พระองค์ โครงการหลวง สวนจิตรลดา การพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ และกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยอาศัยหลัก วันที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๓๒ ความตอนหนึ่งว่า การอยู่รวมกันระหว่างพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม “...การดำ�เนินงานแบบไร่นาสวนผสมในกิจกรรม การอยรู่ วมกนั อาจจะอยใู่ นรปู ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพชื ระบบการฟาร์มนั้น จะได้ผลดีมากในเขตที่มี กับพืช พืชกับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ก็ได้ ระบบเกษตร นํ้าชลประทาน ซึ่งในศูนย์ศึกษาฯ นี้ การเพาะปลูกพืช ผสมผสานจะประสบผลสำ�เร็จได้จะต้องมีการวาง ต่างๆ ก็ได้ผลดีพอสมควร ก็จะเป็นส่วนที่น่าสนใจ รปู แบบและด�ำ เนนิ การโดยใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ กจิ กรรม สำ�หรับแสดงให้ประชาชนทั่วไปมาศึกษาดูงานได้...” แต่ละชนิดอย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และ “…การดำ�เนินงานในพื้นที่ที่นํ้าชลประทาน ทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม มีการใช้แรงงาน สมบูรณ์ดีแล้วนั้น จะต้องแสดงให้เกษตรกรเห็นว่า เงินทุน ที่ดิน ปัจจัยการผลิต และทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อมีนํ้าชลประทานสมบูรณ์แล้วเกษตรกรสามารถ อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรู้จักนำ�วัสดุเหลือใช้ ไดผ้ ลผลติ เพม่ิ มากขน้ึ มรี ายไดเ้ พม่ิ มากขน้ึ การปลกู พชื จากการผลิตชนิดหนึ่งมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์กับ เพียง ๒ ไร่ ก็จะสามารถได้ผลผลิตเท่ากับปลูกพืช การผลิตอีกชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดภายในไร่นา จำ�นวน ๑๐ ไร่...” จึงได้มีการดำ�เนินงานเพื่อสนอง แบบครบวงจร ตัวอย่างกิจกรรมดังกล่าว เช่น แนวพระราชดำ�ริสร้างกิจกรรมศึกษาและพัฒนา การเลย้ี งไก่ หรอื สกุ รบนบอ่ ปลา การเลย้ี งปลาในนาขา้ ว ระบบเกษตรผสมผสาน ทั้งการศึกษาทดสอบ และ การเลี้ยงผึ้งในสวนผลไม้ เป็นต้น แนวคิดระบบเกษตร การสาธิตระบบเกษตรผสมผสาน ผสมผสานมีหลักการพื้นฐานที่สำ�คัญ ๒ ประการ คือ ระบบเกษตรผสมผสาน เป็นระบบการเกษตรที่มี ๑) ต้องมีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ ๒ กิจกรรมขึ้นไป การเพาะปลูกพืชหรือการเลี้ยงสัตว์ต่างชนิดอยู่ใน ๒) ต้องเกิดการเกื้อกูลประโยชน์ระหว่างกิจกรรม พื้นที่เดียวกันภายใต้การเกื้อกูลประโยชน์ต่อกัน ต่างๆ อันจะเอื้อให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ จากพื้นที่ทำ�กินขนาดเล็ก เพื่อลดความเสี่ยงจาก

โครงการ ๑๓๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร นํ้าผึ้งจาก โครงการหลวง ศูนย์ศึกษาการ ข้าวกล้องดอย พัฒนาภูพาน จากโครงการหลวง อันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ กิจกรรมปรับ รูปแปลงนา นมจาก โครงการหลวง การผลิต ลดการพึ่งพิงเงินทุน ปัจจัยการผลิตและ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๗ ความว่า อาหารจากภายนอก นำ�เอาเศษพืชและมูลสัตว์ “…โรงงานผลิตวุ้นเส้นให้ทำ�เป็นตัวอย่างขนาดเล็ก ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกิจกรรมการผลิตไปใช้ให้ ในหมู่บ้าน โดยรวบรวมราษฎรสัก ๕ - ๖ ครัวเรือน เกิดประโยชน์ในไร่นา ช่วยเพิ่มผลผลิตและรายได้ เพราะถ้าทำ�เล็กเกินไปก็จะเสียเวลาและไม่คุ้มกัน การดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับระบบเกษตรผสมผสานนี้ และไม่ทำ�ให้ใหญ่โตเพราะจะทำ�ให้กลายเป็นระบบ แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ ทดสอบภายในพื้นที่บริเวณ ธุรกิจการค้าไป...” ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ และทดสอบในพื้นที่ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ได้ดำ�เนินงานเพื่อสนอง หมู่บ้านรอบศูนย์ฯ โดยในการดำ�เนินกิจกรรมระบบ พระราชดำ�ริศึกษาการผลิตวุ้นเส้นจากถั่วเขียว เกษตรผสมผสานนี้มีระบบข้าวเป็นพืชหลัก ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๘ ดำ�เนินการสาธิตการแปรรูป (๕) กิจกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ผลิตผลทางการเกษตร ที่ได้จากการวิจัยพัฒนาของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กรมวิชาการเกษตร โดยนำ�ผลผลิตทางการเกษตร บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดำ�ริ เมื่อเดือน ที่ได้จากพันธุ์พืชที่ปลูกในพื้นที่มาสาธิตการแปรรูป พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๖ ความว่า “…สำ�หรับ ผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมอาชีพ พืชพันธุ์ถั่วที่จะทดลองอาจพัฒนาไปถึงขั้นเกษตร- ให้เกษตรกร และเป็นการสาธิตการถนอมอาหาร อุตสาหกรรม (Agro-Industry) เช่น การดำ�เนินงาน เช่น วุ้นเส้นจากถั่วพุ่มผิวดำ� วุ้นเส้นจากถั่วเขียว โรงงานวุ้นเส้น ซึ่งต้องพิจารณาว่าจะตั้งขนาดกลาง นํ้าอ้อยสดจากนํ้าตาลแดง อ้อยงบจากอ้อยคั้นนํ้า หรือขนาดเล็ก หากเป็นขนาดเล็กก็ให้ดำ�เนินงาน พันธุ์สุพรรณบุรี ๕๐ ข้าวเกรียบจากเห็ด ข้าวเกรียบ ในระดับหมู่บ้าน แต่ก็อาจมีปัญหาการควบคุม ดอกอัญชัน กระท้อนแช่อิ่ม แหนมเห็ดนางฟ้า คุณภาพได้ ดังนั้น จึงอาจจะจำ�เป็นต้องก่อสร้าง เห็ดแดดเดียว ขนมธัญพืชอัดแท่ง ถั่วทอดสมุนไพร ขนาดกลางก็ได้...” และพระราชทานพระราชดำ�ริ และนํ้าหม่อนพร้อมดื่ม เป็นต้น

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๓๒ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร การศึกษาการบำ�บัดนํ้าทิ้งจากฟาร์มเลี้ยงกุ้ง กุลาดำ�ด้วยพรรณไม้ป่าชายเลน ด้านการประมง เพื่อเพิ่มผลผลิตพันธุ์สัตว์นํ้าในแหล่งนํ้าธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ส่งเสริมและสาธิตการเลี้ยงกุ้งทะเล ศึกษาผลกระทบ บรมนาถบพิตร ทรงห่วงใยราษฎรที่ประสบปัญหา ของสิ่งแวดล้อม ค้นคว้าทางวิชาการและเทคโนโลยี การเสื่อมโทรมของพื้นที่เพาะปลูก และทรัพยากร การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า และเพื่ออบรมและถ่ายทอด ธรรมชาตชิ ายฝง่ั ถกู ท�ำ ลายท�ำ ใหผ้ ลผลติ ดา้ นการเกษตร ความรู้ด้านอาชีพประมงให้แก่เกษตรกร นักเรียน และ และการประมงลดตํ่าลง จึงมีพระราชดำ�ริที่จะทำ� นักศึกษา ปัจจุบันมีหมู่บ้านรอบศูนย์ฯ จำ�นวน ๓๓ การศึกษาพัฒนาพื้นที่ในเขตที่ดินชายทะเล เพื่อให้ หมู่บ้าน หมู่บ้านเหล่านี้เป็นตัวอย่างให้แก่เกษตรกร ความรู้แก่ประชาชนและกระตุ้นให้ตระหนักถึง ในการพฒั นาอาชพี และเพม่ิ ผลผลติ ในพน้ื ทข่ี องตนเอง ความสำ�คัญของการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม ดังนั้นศูนย์ศึกษา การเลี้ยงกุ้งทะเลรอบอ่าวคุ้งกระเบนเป็นการเลี้ยงกุ้ง การพฒั นาอา่ วคงุ้ กระเบนอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ แบบพัฒนา เป็นการเลี้ยงกุ้งระบบปิดที่มีระบบ จังหวัดจันทบุรี จึงมีหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และ การถ่ายเทนํ้าเพื่อควบคุมโรค โดยการจัดทำ�ระบบ สาธิตการพัฒนาด้านการประมงและการเพาะเล้ียง คลองส่งนํ้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลอ่าวคุ้งกระเบน สัตว์นํ้าชายฝั่ง ควบคู่กับการทำ�การเกษตรผสมผสาน ประกอบดว้ ย คลองสง่ นาํ้ ทะเลเขา้ สพู่ น้ื ทเ่ี ลย้ี งกงุ้ ทะเล รวมทั้งพัฒนาด้านการใช้และอนุรักษ์ทรัพยากร รอบอ่าวคุ้งกระเบนมีความยาวตลอดโครงการ ธรรมชาติชายฝั่งให้เกิดความสมดุลตามระบบ ประมาณ ๘,๘๒๐ เมตร และไหลลงบ่อเลี้ยงตาม นิเวศวิทยา เพื่อให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิต แนวโนม้ ถว่ งของโลก คลองบ�ำ บดั นา้ํ ทง้ิ ทผ่ี า่ นการเลย้ี ง และพัฒนาตนเองได้ในระยะยาว โดยมีกรมประมง เพื่อบำ�บัดคุณภาพนํ้าก่อนระบายลงสู่อ่าวคุ้งกระเบน เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานในพื้นที่ ทำ�ให้สภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเลไม่เสื่อมโทรม และ

โครงการ ๑๓๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ปลานิลจิตรลดา โคเนื้อภูพาน ไก่ดำ�ภูพาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำ�ริที่จะทำ�การศึกษาพัฒนา พื้นที่ในเขตที่ดินชายทะเล เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน ผู้เพาะเลี้ยงกุ้งทะเลประสบผลสำ�เร็จในการเลี้ยง นา้ํ ซมึ ผา่ นยากเนอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ รว่ นปนทรายปนกรวดหนิ ปัจจุบันมีการรวมตัวเป็นกลุ่มสมาชิกผู้เลี้ยงกุ้งทะเล ท�ำ ใหค้ วามสามารถในการอมุ้ นา้ํ และความอดุ มสมบรู ณ์ ๑๙๗ ราย มีพื้นที่ดำ�เนินการ ๑,๐๐๕ ไร่ สามารถผลิต ของดินตํ่า จึงเป็นข้อจำ�กัดในการเจริญเติบโต กุ้งทะเลได้เฉลี่ย ๔๐๑ เมตริกตันต่อปี มีมูลค่าเฉลี่ย และการสร้างผลผลิตของพืช ๗๕ ล้านบาทต่อปี ทำ�ให้กิจกรรมการเลี้ยงกุ้งทะเล เกิดความยั่งยืน การดำ�เนินงานสนองแนวพระราชดำ�ริที่ผ่านมา ได้ทำ� การศึกษา ทดลอง หาวิธีการปรับปรุงดินเสื่อมโทรม ด้านดิน ปรับปรุงปัญหาดินลูกรัง และจัดระดับให้เหมาะสม ศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม เพื่อให้มีนํ้าใช้ โดยได้จัดทำ�ระบบอนุรักษ์ดินและนํ้า อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เป็นหนึ่งในศูนย์สาขา เริ่มแรกได้สร้างคันดิน ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างขวาง ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก ความลาดเทของพืน้ ที่ โดยจะแบ่งพื้นทีอ่ อกเป็นชว่ งๆ พระราชดำ�ริ จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่โครงการเริ่มแรก เพื่อกักเก็บนํ้าที่ไหลบ่าหรือเบนนํ้าที่ไหลบ่า เพื่อเพิ่ม มีปัญหาความเสื่อมโทรมของที่ดินที่เกิดจากป่าไม้ ความชุ่มชื้นแก่ดินและป้องกันการชะล้างพังทลาย ถกู ตดั ท�ำ ลายแหง้ แลง้ ท�ำ ใหข้ าดแคลนนา้ํ พน้ื ทบ่ี างสว่ น ของดิน การศึกษาการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกรูปแบบ เปน็ บอ่ ลกู รงั เกา่ จงึ ท�ำ ใหส้ ภาพหนา้ ดนิ เปน็ หลมุ เปน็ บอ่ ต่างๆ ศึกษาวิธีการปรับปรุงบำ�รุงดิน โดยมี และเกิดการชะล้างพังทลายของดินสูง ประกอบกับ แปลงสาธิตและจุดเรียนรู้ต่างๆ เช่น แปลงสาธิต เป็นดินตื้น ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเก็บรักษาความชื้น การทำ�เกษตรทฤษฎีใหม่ แปลงสาธิตเกษตรอินทรีย์ การไหลบ่าของนํ้าสูง ชั้นล่างพบชั้นดานแข็งแน่นทึบ แปลงสาธิตการปลูกไม้ผลในพื้นที่อับฝน แปลงสาธิต ซึ่งยากต่อการไถพรวนและการชอนไชของรากพืช การปลูกพืชปุ๋ยสด แปลงรวบรวมสายพันธุ์หญ้าแฝก

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๓๔ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ๒๘ สายพันธุ์ แปลงต้นแบบระบบปลูกพืชแบบ ผสมผสาน จุดเรียนรู้การทำ�ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ จุดเรียนรู้ความลับของดิน และได้ขยายผลสู่เกษตรกร ในหมู่บ้านรอบโครงการ ๑๒ หมู่บ้าน ครอบคลุมพื้นที่ ๖๐,๐๐๐ กว่าไร่ ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ แนวคิดและทฤษฎีที่สำ�คัญในด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีกประการหนึ่ง ก็คือ ทฤษฎีในการแก้ไขปัญหาความแห้งแล้งและ การขาดแคลนนํ้าเพื่อเกษตรกรรม โดยดำ�เนินการ ตามแนว “ทฤษฎีใหม่” อันเป็นการใช้ประโยชน์ จากพื้นที่ซึ่งมีอยู่จำ�กัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ขณะเดียวกันก็มีนํ้าไว้ใช้ตลอดปี เป็นประโยชน์ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปด้วย “ทฤษฎีใหม่” อันเกิดจากพระปรีชาสามารถและ พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีหลักสำ�คัญ ง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน สรุปได้ว่า พื้นที่ถือครองโดย ถัวเฉลี่ยของเกษตรกรไทยอนุมานว่าจะมีเนื้อที่ ประมาณ ๑๕ ไร่ แบ่งพื้นที่ตามทฤษฎีใหม่จะเป็น นาข้าว ๕ ไร่ พืชไร่ พืชสวน ๕ ไร่ ที่อยู่อาศัยและอื่นๆ ๒ไร่สระนา้ํ ๓ไร่(ลกึ ประมาณ๔เมตร)จนุ า้ํ ไดป้ ระมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร หรือสูตร ๓๐ – ๓๐ – ๓๐ – ๑๐ ในที่นี้ใคร่ขอน้อมนำ�แนวคิดเรื่องทฤษฎีใหม่ที่ได้รับ พระราชทานรายละเอียดในพระราชหัตถเลขาให้ไว้ แก่มูลนิธิชัยพัฒนาเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ดังนี้ “(๑) ถ้าพูดอย่างสรุปที่สุด เป็นวิธีปฏิบัติของเกษตรกร ที่เป็นเจ้าของที่ดินจำ�นวนน้อย แปลงเล็ก (ประมาณ พื้นที่ทดลองการเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการ ๑๓๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ป้ายโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ ๑๕ ไร่) ซึ่งเป็นอัตราถือครองโดยเฉลี่ยของเกษตรกร วัดมงคลชัยพัฒนา โดยทั่วๆ ไป สระเก็บน้ำ�ตามแนวการเกษตรทฤษฎีใหม่ (๒) หลักสำ�คัญ : ให้เกษตรกรมีความพอเพียงโดย เลย้ี งตวั เองได้(Self-Sufficiency)ในระดบั ทป่ี ระหยดั กอ่ น ทั้งนี้ต้องมีความสามัคคีในท้องถิ่น (๓) มีการผลิตข้าวบริโภคพอเพียงประจำ�ปีโดยถือว่า ครอบครัวหนึ่งทำ�นา ๕ ไร่ จะมีข้าวพอกินตลอดปี ข้อนี้เป็นหลักสำ�คัญของทฤษฎีนี้ (๔) เพื่อการนี้ จะต้องใช้หลักเกณฑ์เฉลี่ยว่าต้องมี นา้ํ ใชร้ ะหวา่ งชว่ งฤดแู ลง้ ประมาณ๑,๐๐๐ลกู บาศกเ์ มตร ต่อ ๑ ไร่ หากแต่ละแปลงเกษตรมีเนื้อที่ ๕ ไร่ และแบ่งตามสัดส่วน ๓๐ – ๓๐ – ๓๐ – ๑๐ จะมีพื้นที่ การเกษตรที่ต้องการนํ้าอยู่ ๒ ส่วนใหญ่ๆ คือ นาข้าว ๕ ไร่ จึงต้องมีนํ้า ๕ x ๑,๐๐๐ = ๕,๐๐๐ ม.³ พืชไร่ หรือไม้ผล ๕ ไร่ จึงต้องมีนํ้า ๕ x ๑,๐๐๐ = ๕,๐๐๐ ม.³ รวม ๑๐,๐๐๐ ม.³ ฉะนั้น จึงมีความจำ�เป็น ต้องมีนํ้าสำ�รองไว้หน้าแล้ง โดยเฉลี่ยประมาณ ๑๐,๐๐๐ ม.³ จึงได้ตั้งสูตรคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลง ประกอบด้วย สระนํ้าเนื้อที่ ๓ ไร่ ขุดลึก ๔ เมตร จะมีนํ้าจุได้ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ม.³ ที่อยู่อาศัยและอื่นๆ ๒ ไร่ นาข้าว ๕ ไร่ พืชไร่ พืชสวน ๕ ไร่ รวมทั้งแปลง เนื้อที่ ๑๕ ไร่ (๕) อุปสรรคสำ�คัญที่สุด คือ อ่างเก็บนํ้าหรือสระ ที่มีนํ้าเต็ม และได้รับนํ้าให้เต็มเพียงปีละหนึ่งครั้ง ในหน้าฝน และจะมีการระเหยวันละ ๑ เซนติเมตร โดยเฉลี่ยในวันที่ไม่มีฝนตก หมายความว่า ในปีหนึ่ง ถ้านับว่าฝนไม่ตก ๓๐๐ วัน ระดับของสระจะลดลง ๓ เมตร (ในกรณีนี้ ๓/๔ ของ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร นํ้าที่ใช้จะเหลือ ๔,๗๕๐ ลูกบาศก์เมตร) จึงต้องมี การเติมนํ้าเพื่อให้เพียงพอ

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๓๖ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร (๖) ด้วยเหตุนี้ หากจะให้ทฤษฎีสมบูรณ์ สระนํ้า จึงเห็นได้ว่า หมิ่นเหม่มาก แต่ถ้าคำ�นึงว่า ๘.๗๕ ไร่นั้น ทำ�หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ จะท�ำ เกษตรกรรมอยา่ งสมบรู ณไ์ ดอ้ กี ๖.๒๕ ไร่ จะตอ้ ง ก็มีความจำ�เป็นต้องมีแหล่งนํ้าใหญ่มาคอยเติม อาศัยเทวดาเลี้ยง แต่ถ้าคำ�นึงถึงว่าในระยะที่ไม่มี เปรียบเสมือนมีแทงก์นํ้าใหญ่มาคอยเติมตุ่มนํ้าเล็ก ความจำ�เป็นที่จะใช้นํ้าหรือมีฝนตก นํ้าฝนที่ตกมาจะ ใหเ้ ตม็ อยเู่ สมอ ในกรณขี องโครงการวดั มงคลชยั พฒั นา เก็บไว้ได้ในอ่างและสระ สำ�รองไว้สำ�หรับเมื่อต้องการ จังหวัดสระบุรี จึงมีการสร้างอ่างเก็บนํ้าห้วยหินขาว อ่างและสระนํ้าจะทำ�หน้าที่เฉลี่ยนํ้าฝน (Regulator) โดยมีความจุ ๘๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งถ้าใช้วิธี จึงเข้าใจว่าในระบบนี้นํ้าจะพอ จ่ายนํ้าเข้าแปลงตามแบบเดิม จะเลี้ยงพื้นที่การเกษตร ได้เพียง ๖๐๐ – ๘๐๐ ไร่ แต่ถ้าใช้ทฤษฎีใหม่จะเลี้ยง (๘) ปัญหาใหญ่อีกข้อหนึ่ง คือ ราคาการลงทุน พื้นที่ได้ถึง ๓,๐๐๐ ไร่ หรือ ๕ เท่า ค่อนข้างสูง เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือ จากภายนอก (ทางราชการ ทางมูลนิธิ และเอกชน) (๗) ลำ�พังอ่างเก็บนํ้า ๘๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร แต่ค่าดำ�เนินการไม่สิ้นเปลืองสำ�หรับเกษตรกร” จะเลี้ยงได้ ๘๐๐ ไร่ (โครงการวัดมงคลฯ มีพื้นที่ ๓,๐๐๐ ไร่ แบ่งเป็น ๒๐๐ แปลง) อ่างนี้จึงเลี้ยงได้ ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก ๔ ไร่ ต่อแปลง ลำ�พังสระในแปลงเลี้ยงได้ ๔.๗๕ ไร่ พระราชดำ�ริแต่ละแห่งได้จัดทำ�แปลงตัวอย่างเกษตร (๔.๗๕ + ๔ ไร่ = ๘.๗๕ ไร่) ทฤษฎีใหม่ไว้เป็นศูนย์ความรู้ให้ประชาชนได้เข้ามา ศึกษาเรียนรู้และนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมในพื้นที่ของตนเอง

โครงการ ๑๓๗ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการเกษตร กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ ๑. พระราชบัญญัติโอนอำ�นาจหน้าที่บางส่วนของสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ พระราชบัญญัติ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ มายงั สำ�นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงาน โอนอำ�นาจหน้าที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ ๒. เป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมกำ�กับการนำ�เข้าและส่งออกพันธุ์พืช การนำ�เข้า พระราชบัญญัติ พันธุ์พืชเพื่อนำ�มาศึกษาวิจัยในการปรับปรุงพันธุ์พืช การส่งออกพันธุ์พืชที่ได้ กักพืช พ.ศ.๒๕๐๗ จากงานวิจัย มีการตรวจสอบการนำ�เข้า – ส่งออกพันธุ์พืช และวัสดุการเกษตร และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชที่อาจติดมาทั้ง ส่งออกและนำ�เข้า ๓. เป็นกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองเกษตรกรให้ได้ปุ๋ยตามเกณฑ์มาตรฐาน ควบคุม พระราชบัญญัติ ผู้ผลิตและผู้จำ�หน่ายปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้ในการผลิตพืช ให้มีเกณฑ์มาตรฐาน ปุ๋ย พ.ศ.๒๕๑๘ ตามกระทรวงเกษตรฯ กำ�หนด และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ๔. เป็นกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองเกษตรกรให้ได้พืชพันธุ์ดีตรงตามพันธุ์ ควบคุม พระราชบัญญัติ ผู้ผลิตและผู้จำ�หน่ายพันธุ์พืช ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงเกษตรฯ กำ�หนด พันธุ์พืช พ.ศ.๒๕๑๘ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม เป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมวัตถุอันตราย (สารกำ�จัดศัตรูพืช) ที่เกษตรกรใช้ ๕. ในการผลิตพืช ทั้งการนำ�เข้า การผลิต การจำ�หน่าย การมีไว้ในครอบครองเพื่อให้ พระราชบัญญัติ ปลอดภัยกับผู้ใช้ ผู้บริโภค และไม่เกิดความเสียหายกับสภาพแวดล้อม วัตถุอันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๓๘ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร กฎหมายที่เก่ียวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการเกษตร ๖. เป็นกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืชที่ได้จากการวิจัยพัฒนา พระราชบัญญัติ ปรับปรุงพันธุ์ การจดทะเบียนพันธุ์พืช การผลิตพืชพันธุ์ใหม่ๆ คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.๒๕๔๒ ได้กำ�หนดให้กรมพัฒนาที่ดินมีหน้าที่ในการสำ�รวจและวิเคราะห์ ตรวจสอบดิน ๗. หรือที่ดินเพื่อให้ทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่ พระราชบัญญัติ การใช้ประโยชน์ที่ดินหรือภาวะเศรษฐกิจที่ดิน หรือเพื่อประโยชน์ในการจำ�แนก การพัฒนาที่ดิน ประเภทที่ดิน การพัฒนาที่ดิน การกำ�หนดบริเวณการใช้ที่ดิน การกำ�หนดเขต พ.ศ.๒๕๕๑ การอนุรักษ์ดินและนํ้า และการทำ�สำ�มะโนที่ดิน ถือเป็นภารกิจและพันธกิจที่สำ�คัญ ของหน่วยงานดังกล่าวในการสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ๘. ในการพัฒนาที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรทั่วประเทศ เช่นพื้นที่บริเวณ พระราชกำ�หนด ศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มที่มีปัญหาดินตื้น เนื้อดิน การประมง มีกรวดหินปะปนมาก มีชั้นดานแข็งอยู่ข้างล่างลึก หน้าดินเสียหาย มีการชะล้าง พ.ศ.๒๕๕๘ พังทลายของดินสูง และที่ดินเสื่อมโทรมแห้งแล้ง เป็นต้น โดยเฉพาะบทบัญญัติในหมวดการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าไว้เพื่อเป็นแหล่ง ผลผลิตของสัตว์นํ้าอีกทางเลือกหนึ่ง ชาวประมงสามารถเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าใน บริเวณชายฝั่งทะเลของไทยได้ ซึ่งพระราชกำ�หนดการประมง พ.ศ.๒๕๕๘ มีสาระ ครอบคลุมทั้งการประมงในน่านนํ้า การประมงนอกน่านนํ้า การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า และการมีส่วนร่วมของชุมชน ช่วยให้การอนุรักษ์และบริหารทรัพยากรประมง มีความสอดคล้องกับมาตรการสากลที่ทั่วโลกยอมรับ โดยประเด็นสำ�คัญที่กำ�หนด ในกฎหมายฉบับนี้ ได้แก่ การบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์นํ้า มีการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรนํ้าใหม่ โดยกำ�หนดเขตทำ�การประมงออกเป็น ๓ เขต คือ (๑) เขตประมงนํ้าจืด คือ เขตแหล่งนํ้าที่อยู่บนแผ่นดินทั้งหมด (๒) เขตประมงทะเลชายฝั่ง คือ เขตแหล่งทำ�การประมงที่อยู่ในทะเล ซึ่งมีระยะตั้งแต่ชายฝั่งทะเลออกไป ๓ ไมล์ทะเล ซึ่งอาจขยายออกไปได้ไม่เกิน ๑๒ ไมล์ทะเล โดยอำ�นาจของรัฐมนตรี (๓) เขตประมงทะเลนอกชายฝั่ง คือ เขตแหล่งทำ�การประมงที่มีระยะตั้งแต่ พ้นระยะเขตประมงทะเลชายฝั่งออกไปจนสุดเขตน่านนํ้าของประเทศไทย

โครงการ ๑๓๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการเกษตร การกำ�หนดเขตการประมงในลักษณะนี้ เป็นการกำ�หนดตามความสามารถ ในการจับสัตว์นํ้าของชาวประมง และชนิดของเครื่องมือทำ�การประมง เพื่อมิให้ มีข้อขัดแย้งกันระหว่างกลุ่มชาวประมงซึ่งมีมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากทรัพยากร สัตว์นํ้ามีจำ�นวนลดน้อยลง และเพื่อการบริหารจัดการประมงที่มีประสิทธิภาพ กฎหมายจึงกำ�หนดบทบัญญัติในเรื่องการห้ามครอบครองเครื่องมือประมงที่เป็น อันตรายต่อพันธุ์สัตว์นํ้าอย่างร้ายแรง อันเป็นการช่วยคุ้มครองรักษาและพัฒนา อาชีพทำ�การประมงของประชาชน ๙. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการ สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน พระราชกฤษฎีกา โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ แบ่งส่วนราชการ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน ๑๐. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๕๑ กฎกระทรวง สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก แบ่ง ส่วนราชการ พระราชดำ�ริ เป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง สำ�นักงาน มีฐานะเป็นกรม อยู่ในสายการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีอำ�นาจหน้าที่ คณะกรรมการพิเศษ ประการหนึ่ง ในการสนับสนุนการดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่อง เพ่ือประสานงาน มาจากพระราชดำ�ริ กำ�กับ ดูแล ติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้เป็นไป โครงการอันเน่ือง ตามพระราชดำ�ริ และนโยบายของคณะกรรมการบริหาร โครงการศูนย์ศึกษา มาจากพระราชดำ�ริ การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ซึ่งมีองคมนตรีเป็นประธานกรรมการ พ.ศ.๒๕๕๑ ๑๑. ซึ่งกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินเกี่ยวกับการกำ�หนดนโยบายและ กฎกระทรวงแบ่งส่วน วางแผน การใช้ที่ดินในพื้นที่เกษตรกรรม การสำ�รวจ และจำ�แนกดิน การกำ�หนด ราชการกรมพัฒนา บริเวณการใช้ที่ดิน การควบคุมการใช้ที่ดินบริเวณที่มีการใช้หรือทำ�ให้เกิด ที่ดิน กระทรวง การปนเปื้อนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด การอนุรักษ์ดินและนํ้า การปรับปรุง เกษตรและสหกรณ์ บำ�รุงดิน การผลิตแผนที่และทำ�สำ�มะโนที่ดิน การให้บริการและถ่ายทอด พ.ศ.๒๕๕๗ เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน ข้อมูลดิน และการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๔๐ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร กฎหมายที่เก่ียวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการเกษตร ๑๒. ซึ่งกำ�หนดให้กรมประมงมีภารกิจเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย และพัฒนา กฎกระทรวงแบ่งส่วน ด้านการประมงเพื่อการจัดการทรัพยากรประมง ควบคุมการทำ�ประมง การผลิต ราชการกรมประมง สัตว์นํ้า และผลิตภัณฑ์ประมงที่มีมาตรฐานถูกสุขอนามัยให้มีปริมาณเพียงพอ กระทรวงเกษตร ต่อการบริโภคภายในประเทศ และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ตลอดจน และสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๕๙ ใช้ทรัพยากรประมงและทรัพยากรที่เกี่ยวเนื่องอย่างยั่งยืน

โครงการ ๑๔๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ได้รับคุณค่าทางโภชนาการที่ดีขึ้น มีสุขภาพและ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล พระราชดำ�ริ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและ มีรายได้เพิ่มขึ้น โครงการช่วยลดความขัดแย้งของ สังคม ดังต่อไปนี้ ชาวประมงชายฝั่งกับชาวประมงราษฎรมีความรู้ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการทรัพยากร ๑. ลักษณะการดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนา อย่างถูกวิธี และการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า มีสำ�นึกรัก อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่ประกอบด้วยกิจกรรม และหวงแหนทรัพยากรประมง และรู้จักใช้ประโยชน์ ด้านการเกษตรในหลากหลายสาขา เช่น การปรับปรุง จากทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืน บำ�รุงดิน การพัฒนาด้านพืช เริ่มตั้งแต่กระบวนการ พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืชจนถึงการแปรรูป ๒.๒) มสี ว่ นชว่ ยสง่ เสรมิ ใหก้ งุ้ ทะเลเปน็ สนิ คา้ สง่ ออก ผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาระบบชลประทาน อันดับต้นๆ ของประเทศไทย และสามารถแปรรูปเป็น การพัฒนาส่งเสริมด้านการประมง ตลอดจนเกษตร ผลิตภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม และเป็นฐานเศรษฐกิจ ทฤษฎีใหม่ ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่เหมาะสมและ ที่สำ�คัญของประเทศ สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคม อีกทั้งช่วยพัฒนาและ ส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ๒.๓) ช่วยคงความหลากหลายของทรัพยากรประมง ทะเลของไทย และช่วยให้ระบบนิเวศทะเลไทยมี ๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่อง ความสมดุล ยั่งยืน ประเทศชาติมีความมั่นคงทาง มาจากพระราชดำ�ริ มีพื้นที่ประมาณ ๔,๐๐๐ ไร่ เศรษฐกจิ และเปน็ ประเทศหนง่ึ ทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำ ในการสง่ ออก เป็นส่วนหนึ่งของป่าสงวนแห่งชาติ ในปัจจุบัน สินค้าสัตว์นํ้า จัดว่าเป็นป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์และสวยงาม แห่งหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี มีชายฝั่งโค้งยาวไปตาม ๓. ศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม ขอบอ่าวเป็นระยะทางถึง ๕ กิโลเมตร จึงเป็นแหล่ง อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม เลี้ยงสัตว์นํ้าวัยอ่อนแหล่งใหญ่ที่มีความสำ�คัญต่อ โดยวิธีการเสริมสร้างแหล่งนํ้าให้อยู่ในสภาพปกติ การประมง หลังการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ปรับปรุงบ่อดิน แก้ไขดินลูกรัง เพื่อให้สามารถใช้ ด้านการประมงชายฝั่งและการอนุรักษ์ทรัพยากร ประโยชน์ได้ รวมทั้งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติใน ปา่ ชายเลนเพอ่ื ใหส้ ตั วน์ า้ํ ไดเ้ จรญิ เตบิ โตและเจรญิ พนั ธ์ุ ลักษณะป่าปลูกโดยไม่ต้องปลูก ทำ�ให้เกิดความอุดม บริเวณนี้ได้กลายไปเป็นแหล่งอาหารสัตว์นํ้าทะเล สมบูรณ์ตามธรรมชาติ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ ที่สมบูรณ์ ราษฎรรอบอ่าวได้รับประโยชน์จาก ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ทรัพยากรประมงจากอ่าวคุ้งกระเบนเป็นอย่างมาก การประกอบอาชพี การเพาะเลย้ี งกงุ้ ทะเลประสบผลส�ำ เรจ็ ๓.๑) เกษตรกรที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ศูนย์ฯ โครงการได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี้ และประชาชนทั่วไปได้เข้ามาเรียนรู้วิธีการจัดการดิน แนวทางการแกไ้ ขปญั หาดนิ เสอ่ื มโทรม และแนวปฏบิ ตั ิ ๒.๑) ราษฎรรอบอ่าวคุ้งกระเบนมีแหล่งผลิตอาหาร ในการป้องกันการทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติ โปรตีนประเภทสัตว์ทะเลสำ�หรับบริโภคเพิ่มขึ้น

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๔๒ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ๓.๒) เปน็ การสรา้ งทศั นคติ และส�ำ นกึ ความรบั ผดิ ชอบ ในชุมชน ให้มีความรู้สึกรักและหวงแหน มีความเป็น ที่ดีให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ให้มีความหวงแหน เจ้าของร่วมกันและช่วยกันเฝ้าระวังการกระทำ�ผิด และช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรดิน นํ้า และป่า ทำ�ให้ ในการใช้ทรัพยากร อีกทั้งให้ชุมชนมีส่วนร่วม รัฐสามารถลดงบประมาณในการแก้ไขปัญหา ในการฟนื้ ฟคู วามเสอื่ มโทรมทเี่ กดิ ขน้ึ ซงึ่ จะสมั ฤทธผิ์ ล ทรัพยากรดิน นํ้า และป่าไม้ มากกว่าหน่วยงานภาครัฐดำ�เนินการเองโดยลำ�พัง ๓.๓) ทรัพยากรดิน นํ้า ป่าไม้ และพืชพรรณธรรมชาติ ๓. รัฐควรให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาทรัพยากรดิน ได้รับการฟื้นฟูและพัฒนา มีพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ปลุกจิตสำ�นึกให้ประชาชน เกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น มีแหล่งผลิตอาหารของ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ใ น ชุ ม ช น เ ข้ า ใ จ บ ท บ า ท ข อ ง ต น ประชากรเพิ่มขึ้น ในการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน และการใช้ทรัพยากรดิน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ข้อเสนอแนะ ๑. การด�ำ เนนิ งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ๔.ควรสง่ เสรมิ ประชาชนให้มสี ่วนรว่ มในการวางแผน ดา้ นการเกษตรไดน้ อ้ มน�ำ เอาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ใ น ท้ อ ง ถิ่ น พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล ของตนเองให้ทันต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เข้าเป็นส่วนหนึ่งของ การพัฒนาจะประสบความสำ�เร็จและยั่งยืนได้ด้วย ทุกกิจกรรมเพื่อให้ราษฎร เด็ก และเยาวชนเห็นถึง ความร่วมมือร่วมใจของประชาชนในท้องถิ่น ความสำ�คัญ และก่อเกิดเป็นอุปนิสัยในการดำ�รงชีวิต และการประกอบอาชีพ ภาครัฐควรจัดทำ�สื่อเผยแพร่ ๕. ควรให้มีการบังคับใช้กฎหมายกำ�กับควบคุมพื้นที่ อยา่ งงา่ ยเพอ่ื ใหท้ กุ คนไดเ้ ขา้ ใจหลกั ปรชั ญาอยา่ งถอ่ งแท้ ที่มีศักยภาพไม่ให้ถูกทำ�ลาย เช่น การทำ�บ่อลูกรัง ควบคุมดูแลและกำ�หนดแนวทางฟื้นฟูหลังเลิกกิจการ ๒. ภาครัฐควรมีกิจกรรมการสร้างจิตสำ�นึกให้ชุมชน เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาต่อคนในพื้นที่ เช่น ปลูกป่าหลัง เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร ยุติกิจการ เป็นต้น

โครงการ ๑๔๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ใ ห้ เ ก“ษต..ร.กหรลมั กี คสวํ า าคมั ญพ: อ เ พี ย ง โดยเล้ียงตัวเองได้ (Self-Sufficiency) ในระดับท่ีประหยัดก่อน ท้ังน้ี ต้องมีความสามัคคีในท้องถ่ิน มีการผลิตข้าวบริโภคพอเพียงประจําปี โดยถือว่าครอบครัวหนึ่งทํานา ๕ ไร่ จะมีข้าวพอกินตลอดปี ข้อน้ีเป็นหลักสําคัญของทฤษฎีน.้ี ..” แนวพระราชดำ�ริเรื่องทฤษฎีใหม่ ที่ได้รับพระราชทานรายละเอียด ในพระราชหัตถเลขาให้ไว้แก่ มูลนิธิชัยพัฒนาเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๗



โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริด้าน การส่งเสริมอาชีพ เกิดขึ้นจากความแปรปรวนของตลาด และความไม่แน่นอนของธรรมชาติ เกษตรกรไม่ควรพ่ึงพาพืชเกษตรเพียงอย่างเดียว วิธีการสหกรณ์ได้มุ่งพัฒนาให้ประชาชน สามารถพ่ึงตนเองได้ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้านการส่ งเสริมอาชีพ

¡Ô¨¡ÒÃÅŒÁ ¤ÇÒÁäÁ‹á¹‹¹Í¹ äÁ‹¡ŒÒÇ˹ŒÒ ¢ Í § ¸ à à Á ª Ò µÔ Ã Ò Â ä ´Œ Å ´ Å § ä Á‹ ÁÕ ·Õè ´Ô ¹ · Ó ¡Ô ¹ ¤Ø ³ À Ò ¾ ªÕ ÇÔ µ µ Óè ä Á‹ ¾ Í à ÅéÕ Â § µ ¹ ¤ÇÒÁá»Ã»Ãǹ ¢ Ò ´ ·Ø ¹ · ÃÑ ¾  ¢Í§µÅÒ´ Ê À Ò ¾ »˜ Þ Ë Ò ÇÔ ¸Õ ¡ Ò Ã Ê Ë ¡ à ³ ¤Ø ³ À Ò ¾ ªÕ ÇÔ µ ´Õ Ã Ò Â ä ´Œ à Ê ÃÔ Á ¾Ñ ² ¹ Ò Í Ò ªÕ ¾ ¾ Í à ¾Õ Â § ¡Ñ º ÊØ ¨ ÃÔ µ ¤ Ã Í º ¤ ÃÑ Ç Ê Ò ÁÑ ¤ ¤Õ ª‹ Ç Â à Ë Å× Í ¾Öè § µ ¹ à Í § á Å ¡ à » ÅèÕ Â ¹ ¤ Ç Ò Á ¤Ô ´

โครงการ ด้านการส่งเสริมอาชีพ วิธีการสหกรณ์ ทําให้เกิดการรวมกลุ่ม อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ของราษฎรบนพ้ืนฐานแห่งการช่วยตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการทำ�งานสหกรณ์นั้นทุกคนต้อง รู้รักสามัคคีและมีความซ่ือสัตย์สุจริต พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดําริว่า เ ก ษ ต ร ก ร ไ ม่ ค ว ร พ่ึ ง พ า พื ช เ ก ษ ต ร แ ต่ เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว เ น่ื อ ง จ า ก ค ว า ม ไ ม่ แ น่ น อ น ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ค ว า ม แ ป ร ป ร ว น ข อ ง ต ล า ด เ ก ษ ต ร ก ร ค ว ร มี ร า ย ไ ด้ เ ส ริ ม จ า ก ท้ั ง ใ น แ ล ะ นอกภาคการเกษตร พระองค์มีรับส่ังให้ใช้ “วิธีการสหกรณ์” เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่ม ข อ ง ร า ษ ฎ ร บนพ้ืนฐาน แ ห่ ง ก า ร ช่ ว ย ต น เ อ ง และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ในการทํางาน ส ห ก ร ณ์ นั้ น ทุ ก ค น ต้ อ ง รู้ รั ก ส า มั ค คี แ ล ะ มี ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๑๔๘ ด้ า น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อ า ชี พ “...คําว่า สหกรณ์ แปลว่า การทํางานร่วมกัน การทำ�งาน ร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว่าจะต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทั้งในด้านงานการที่ทำ�ด้วยร่างกาย ท้ังในด้านงานการ ท่ีทําด้วยสมอง และงานการท่ีทําด้วยใจ ทุกอย่างน้ีขาดไม่ได้ ต้องพร้อม งานท่ีทำ�ด้วยร่างกายถ้าแต่ละคนทำ�ก็เกิดผล ข้ึนมาได้ เช่น การเพาะปลูกก็มีผลขึ้นมา สามารถท่ีจะ ใช้ผลน้ันในด้านการบริโภค คือ เอาไปรับประทาน หรือ เอาไปไว้ใช้หรือเอาไปจำ�หน่ายเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงชีพได้ ถ้าแต่ละคนทำ�ไปโดยลําพังแต่ละคน งานท่ีทํานั้นผลอาจ ไม่ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย และอาจไม่พอเพียงในการเล้ียง ตัวเอง ทําให้มีความเดือดร้อน ฉะน้ันจะต้องร่วมกัน แม้ในข้ัน ท่ีทำ�ในครอบครัวก็จะต้องช่วยกัน ทุกคนในครอบครัว ก็ช่วยกันทำ�งานทำ�การเพ่ือที่จะเลี้ยงครอบครัวให้มีชีวิต อยู่ได้ แต่ว่าถ้าร่วมกันหลายๆ คน เป็นกลุ่มเป็นก้อน ก็ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มีความสามารถ มีผลได้มากข้ึน...”พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำ�รัสแก่ผู้นำ�สหกรณ์ทั่วประเทศ เมื่อครั้งเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook