Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์ของพระราชา

ศาสตร์ของพระราชา

Description: ศาสตร์ของพระราชา

Search

Read the Text Version

โครงการ ๔๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า “เขือ่ นขุนดา่ นปราการชล” มคี วามหมายว่า เขื่อนขุนด่าน ซึ่งเป็นกำ�แพงนํ้า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร โยกย้ายถิ่นฐานของชุมชนและสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ใน มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พื้นที่เดิม ได้พระราชทานนามเขื่อนคลองท่าด่านว่า ขั้นตอนการขออนุมัติเปิดโครงการ ภายหลังจากมีมติคณะรัฐมนตรีให้ดำ�เนินการก่อสร้าง “เขื่อนขุนด่านปราการชล” เขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๙ ในวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ ได้มีคำ�สั่ง ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรที ่ี๕๕/๒๕๔๐ลงวนั ท่ี๔กมุ ภาพนั ธ์ ผลกระทบดังกล่าว การจ่ายค่าทดแทนที่ดิน พ.ศ.๒๕๔๐ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และทรัพย์สิน จากนั้น จึงได้ดำ�เนินงานก่อสร้าง เขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ตัวเขื่อนและอาคารประกอบ โดยใช้เทคโนโลยี ท�ำ หนา้ ทคี่ วบคมุ ก�ำ กบั ดแู ล ใหค้ �ำ ปรกึ ษา และแนะน�ำ และวัสดุที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้งาน ในการดำ�เนินงานด้านต่างๆ โดยมีการแต่งต้ัง ภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ ยังต้องมีการดูแลบำ�รุง คณะอนกุ รรมการรวม ๔ คณะ รักษาอย่างสมํ่าเสมอและถูกต้องตามหลักวิชาการ ขั้นตอนการจัดหาที่ดิน เ พื่ อ ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ค ว า ม มั่ น ค ง แ ข็ ง แ ร ง แ ล ะ ทด่ี นิ ในพน้ื ทโ่ี ครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื นขนุ ดา่ นปราการชล ความปลอดภัยของเขื่อนเป็นสำ�คัญ และจะต้อง อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริมีจำ�นวน ๔๙๐ แปลง มีระบบการบริหารจัดการนํ้าที่ดีมีประสิทธิภาพ เนื้อที่ ๓,๐๓๐ ไร่ ๑ งาน ๕๘ ตารางวา แต่เนื่องจาก เพื่อให้การใช้นํ้าทุกกิจกรรมเกิดประโยชน์สูงสุด รัฐบาลไม่สามารถจัดหาที่ดินมาเพื่อจัดแปลงอพยพ นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ให้กับราษฎรได้ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ ๓๐ ต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อประโยชน์ในการวางแผนอพยพ

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๕๐ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า อ่างเก็บนํ้าเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และแหล่งประมงขนาดใหญ่ ได้แก่ ปลานํ้าจืดและกุ้งก้ามกราม ซึ่งให้ผลผลิตประมาณ ๕๘ ตันต่อปี พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒ อนุมัติให้จ่ายเงินชดเชย อุทยานแห่งชาติต่อกรมป่าไม้ (ปัจจุบันกรมอุทยาน เป็นกรณีพิเศษแทนการจัดแปลงอพยพให้กับราษฎร แห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช) คณะกรรมการอุทยาน ผู้มีสิทธิ จำ�นวน ๒๓๖ ครอบครัว เป็นเงิน ๕๗.๔๗ แห่งชาติจึงได้มีมติให้เพิกถอนพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ล้านบาท ส่วนราษฎรที่มีบ้านเรือน แต่ไม่มีที่ดินทำ�กิน เขาใหญ่เนื้อที่ไม่เกิน ๑,๙๓๙ ไร่ และคณะรัฐมนตรี เป็นของตนเอง และได้รับผลกระทบจากโครงการฯ มีมติเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๑ เห็นชอบ จำ�นวน ๒๗ ครอบครัว ซึ่งไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย และมีมติให้กรมชลประทานใช้พื้นที่ดังกล่าว การอพยพ จังหวัดนครนายก ร่วมกับกรมชลประทาน ในการก่อสร้างเขื่อน หลังจากที่การก่อสร้าง ได้ติดต่อวัดนางรอง ขอให้ราษฎรทั้ง ๑๗ ครอบครัว เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เช่าที่ดินครอบครัวละ ๒๐๐ ตารางวา สำ�หรับอยู่อาศัย แลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ กรมชลประทานไดม้ หี นงั สอื ให้บริเวณบ้านท่าชัย หมู่ที่ ๔ ตำ�บลหินตั้ง อำ�เภอเมือง ลงวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๑ ส่งมอบคืนพื้นที่ จังหวัดนครนายก โดยส่วนราชการติดตั้งระบบไฟฟ้า อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ให้กรมอุทยานแห่งชาติ และมอบวัสดุสร้างบ้านบางส่วนให้ รวมท้ังส่งเสริม สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เนื้อที่ ๑,๐๔๒ ไร่ ๑ งาน ให้ทำ�อาชีพเกษตรผสมผสาน ทดแทนอาชีพเดิม ๘๘ ตารางวา เพื่อกำ�หนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ทเ่ี กบ็ ของปา่ บนภเู ขามาขายซง่ึ เปน็ อาชพี ทผ่ี ดิ กฎหมาย ต่อไป ทั้งนี้ กรมชลประทานได้กันพื้นที่ ๘๘๒ ไร่ กรมชลประทานได้ขออนุญาตสร้างเขื่อนขุนด่าน ๓ งาน ๘๕ ตารางวา ที่เป็นบริเวณหัวงานเขื่อน ปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริในพื้นที่ บริเวณอาคารรับเสด็จ และบริเวณหน้าเขื่อน

โครงการ ๕๑ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า แผนที่แสดงที่ตั้งและขอบเขตโครงการ เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดนครนายก ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตรไว้เพื่อเป็นสถานที่ ซึ่งเป็นวิธีการก่อสร้างเช่นเดียวกับวิธีการก่อสร้าง ในการตรวจสอบความปลอดภัยเขื่อน การดูแลรักษา เขื่อนดิน ทำ�ให้การก่อสร้างรวดเร็วใช้เวลาน้อยกว่า และการบริหารจัดการนํ้า การเทคอนกรีตธรรมดาถึง ๑๐ เท่า ความโดดเด่น ของเขอ่ื นแหง่ น้ี เปน็ เขอ่ื นคอนกรตี บดอดั (RCC Dam) ขั้นตอนการก่อสร้าง ที่ยาวที่สุดในโลกในขณะนั้น (พ.ศ.๒๕๔๙) ที่สำ�คัญ เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ คือ ในการก่อสร้างเขื่อนได้มีการนำ�เถ้าลอยลิกไนต์ มีความยาวสันเขื่อน ๒,๕๙๔ เมตร หรือเกือบ จากโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์แม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง ๓ กโิ ลเมตร ตวั เขอ่ื นมคี วามสงู ๙๓ เมตร และมปี รมิ าณ มาใช้ เป็นการนำ�วัสดุเหลือทิ้งที่มีความแข็งแกร่ง นํา้ เกบ็ กกั ๒๒๔ลา้ นลกู บาศกเ์ มตรลกั ษณะของเขือ่ น ทำ�ให้ตัวเขื่อนมีความแข็งแรง และทนทานมาก เป็นคอนกรีตบดอัดหรือ RCC Dam (Roller Compacted Concrete Dam) ซึ่งเป็นการผสมผสาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง ๒ รูปแบบ ระหว่าง เทคโนโลยีการก่อสร้างเขื่อนดินและเทคโนโลยี การก่อสร้างเขื่อนคอนกรีต กรรมวิธีการก่อสร้าง คือ การใช้คอนกรีตที่ใช้นํ้าน้อยเป็นวัสดุหลัก ในการกอ่ สรา้ ง ในขณะทใี่ ชว้ ธิ กี ารบดอดั แนน่ เปน็ ชน้ั ๆ

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๕๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ กับโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ พระราชบัญญัติว่าด้วย การชลประทานหลวง การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.๒๕๓๐ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อย พุทธศักราช ๒๔๘๕ แห่งชาติ (รสช.) ฉบับที่ ๔๔ ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๔ เรื่อง การแก้ไข เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ และพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งได้นำ�เสนอไว้ในหัวข้อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ในตอนต้นแล้ว

โครงการ ๕๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ สามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่นาหว่านให้เป็นนาดำ�หรือ เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ นาหว่านนํ้าตม ส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกโดยรวม เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เพิ่มขึ้นกว่าแสนไร่ และได้ผลผลิตดีขึ้น ทำ�ให้ มีความสูง ๙๓ เมตร ยาว ๒,๕๙๔ เมตร ระดับ ประชาชนที่อาศัยในเขตเมืองนครนายกและ สันเขื่อน + ๑๑๒ เมตร ที่ระดับนํ้าทะเลปานกลาง เขตส่งนํ้าของโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล พื้นที่ผิวอ่าง ๓,๐๘๗ ไร่ สามารถเก็บกักนํ้าได้ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ มีนํ้าอุปโภค-บริโภค ๒๒๔ ล้านลูกบาศก์เมตร เริ่มเก็บกักนํ้าตั้งแต่ รวมถึงนํ้าใช้สำ�หรับภาคอุตสาหกรรมด้วย เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗ ทำ�หน้าที่เป็นแหล่งนํ้า ขนาดใหญ่ พร้อมด้วยระบบชลประทานที่มี การมีนํ้าเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดความหลากหลาย ประสิทธิภาพสูง สามารถกักเก็บนํ้าและจัดสรรนํ้า ในการทำ�การเกษตร และสร้างอาชีพประมงให้แก่ เพื่อดำ�เนินกิจกรรมทุกประเภทในลุ่มนํ้านครนายก ชาวบา้ น เนอ่ื งจากอา่ งเกบ็ นา้ํ เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธป์ุ ลา และพื้นที่ใกล้เคียง และแหล่งประมงขนาดใหญ่ ได้แก่ ปลานํ้าจืดและ เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ กุ้งก้ามกราม ซึ่งให้ผลผลิตประมาณ ๕๘ ตันต่อปี มีพื้นที่รับประโยชน์ของโครงการ รวมทั้งสิ้น ช่ ว ย ล ด ร า ย จ่ า ย แ ล ะ เ พิ่ ม ร า ย ไ ด้ ใ ห้ ค รั ว เ รื อ น ๑๘๕,๐๐๐ ไร่ แยกเป็น (๑) พื้นที่การเกษตร ในโครงการ รวมถึงการพัฒนาส่งเสริมอาชีพ โครงการส่งนํา้ และบำ�รงุ รกั ษานครนายก๑๖๕,๐๐๐ไร่ ทั้งในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร การพัฒนา ในฤดูฝน และพื้นที่ ๔๒,๐๐๐ ไร่ ในฤดูแล้ง (๒) พื้นที่ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเกษตรโครงการส่งนํ้าและบำ�รุงรักษาท่าด่าน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต จำ�นวน ๒๐,๐๐๐ ไร่ โดยมีแผนการปลูกพืช ได้แก่ การพัฒนาแหล่งประมง และการพัฒนาปศุสัตว์ ข้าว ไม้ผล เช่น ส้มโอ มะปราง มังคุด มะม่วง ช่วยลดรายจ่ายให้ครัวเรือนได้ มะยงชิด ฯลฯ และพืชไร่พืชผัก เช่น ข้าวโพดหวาน บวบ พริก คะน้า ฯลฯ (มีการปลูกซํ้าในพื้นที่) อีกทั้ง ปริมาณนํ้าที่ส่งจากเขื่อนขุนด่านปราการชล ยั ง ช่ ว ย บ ร ร เ ท า อุ ท ก ภั ย ใ น พื้ น ที่ ส อ ง ฝั่ ง แ ม่ นํ้ า อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ช่วยรักษาระดับนํ้าใต้ดิน นครนายก โดยลดความเสียหายได้ร้อยละ ๓๕ หรือ และให้ความชุ่มชื้นกับดิน รวมทั้งแก้ไขปัญหา คิดเป็นมูลค่าประมาณ ๓๐ ล้านบาทต่อปี ยังผลให้ ดนิ เปรีย้ วไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ไร่โดยมปี ริมาณนํา้ สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในพื้นที่ ช่วยในการช�ำ ระลา้ งดินเปรี้ยวท�ำ ให้ดินมีความชุ่มชืน้ ได้รับการฟื้นฟูให้ดีขึ้น ตามลำ�ดับ สูงขึ้น สารประกอบไพไรท์ในดินไม่สัมผัสอากาศ เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ และไม่เกิดกรดกำ�มะถัน ทำ�ให้สามารถปรับปรุง มีระบบการบริหารจัดการนํ้าในเขื่อน ทำ�ให้มีนํ้า บำ � รุ ง ดิ น เ พื่ อ ล ด ค ว า ม เ ป็ น ก ร ด ไ ด้ ส ะ ด ว ก ขึ้ น เพียงพอตลอดทั้งฤดูกาล และสามารถจัดสรรนํ้าได้ และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้ปุ๋ยพืชสด อย่างเป็นระบบ ช่วยบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ซึ่งทำ�ให้ ให้ทำ�การเพาะปลูกได้ ช่วยรักษาระบบนิเวศในลำ�นํ้า การทำ�นาปีทำ�ได้ตามแผนการปลูกพืชที่วางไว้และ นครนายกและผลักดันนํ้าเค็มในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายนประมาณ ๒ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๕๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า โดยมแี ผนการระบายนา้ํ ประมาณ๒๐ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ พบว่า โครงการ เพื่อช่วยเหลือการเกษตรในพื้นที่ชลประทานสองฝั่ง เขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ แม่นํ้านครนายกและประมาณ ๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นโครงการที่มีความซับซ้อนทางด้านวิศวกรรม เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาภัยแล้ง รักษาระบบนิเวศและ ในการก่อสร้างเป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดแน่น ผลักดันนํ้าเค็มนํ้าเสียที่รุกเข้ามาทางแม่นํ้าปราจีนบุรี ขนาดใหญ่และยาวมากแห่งหนึ่งในโลก เนื่องจาก ใ ห้ ไ ห ล ก ลั บ ไ ป แ ม่ นํ้ า บ า ง ป ะ ก ง แ ล ะ ล ง ท ะ เ ล พื้นที่บริเวณที่จะสร้างเขื่อนมีดินน้อย จึงต้องใช้ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา คอนกรีตบดอัดแน่น ซึ่งได้จากขี้เถ้าลิกไนต์ และเป็น โครงการที่ประสบความสำ�เร็จและบรรลุเป้าหมาย ก า ร ร ะ บ า ย นํ้ า ข อ ง เ ขื่ อ น ขุ น ด่ า น ป ร า ก า ร ช ล ในการแก้ปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง และดินเปร้ียว อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ลงล�ำ นา้ํ เดมิ ในปรมิ าณนา้ํ บริเวณพ้ืนท่ีจังหวัดนครนายกและบางประกง ประมาณปีละ ๑ ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งผลประโยชน์ ได้อย่างดีเยี่ยม ทางออ้ มตอ่ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยนกั ทอ่ งเทย่ี ว สามารถล่องแก่งได้ตลอดปี (เดิมล่องแก่งได้ ปัจจัยสู่ความสำ�เร็จนั้น พบว่า พระบาทสมเด็จ ๔ - ๕ เดือน) อีกทั้งภูมิทัศน์บริเวณเขื่อนขุนด่าน พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ปราการชลได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่ ได้ทรงกำ�หนดบริเวณการสร้างเขื่อนได้เหมาะสมกับ พักผ่อนหย่อนใจ ส่งผลดีต่อการท่องเที่ยว ทั้งที่พัก สภาพพื้นที่ที่อยู่ท้ายอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำ�ให้ ร้านอาหาร และผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว การศึกษาวิเคราะห์โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล และช่วยให้ประชาชนในพื้นที่มีชีวิตความเป็นอยู่ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ไม่ยุ่งยาก ค่าใช้จ่าย ที่ดีขึ้น ในการก่อสร้างไม่สูง และสามารถแก้ปัญหาได้ทั้ง อุทกภัยและภัยแล้ง ทำ�ให้ลุ่มนํ้านครนายกไม่ประสบ จากการสัมภาษณ์ นายปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดี ปัญหานํ้าท่วมและนํ้าแล้งอีกเลย มีผลตอบแทนคุ้มค่า กรมชลประทาน เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙ อย่างมากในทุกด้าน และนายสุเทพ น้อยไพโรจน์ อธิบดีกรมชลประทาน

โครงการ ๕๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงกําหนดบริเวณการสร้างเข่ือน ได้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี ท่ีอยู่ท้ายอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำ�ให้การศึกษาวิเคราะห์โครงการ เข่ือนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ ไม่ยุ่งยาก ค่าใช้จ่าย ในการก่อสร้างไม่สูง และสามารถ แก้ปัญหาได้ทั้งอุทกภัยและภัยแล้ง ทําให้ลุ่มน้ํานครนายกไม่ประสบปัญหา น้ําท่วมและนํ้าแล้งอีกเลย มีผลตอบแทนคุ้มค่าอย่างมาก ในทุกด้าน

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๕๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า โครงการฝนหลวง จากนํ้าท่วม ทรงเห็นว่าเป็นการแปลก เพราะพื้นที่ พระราชบนั ทกึ “The Rainmaking Story”พระราชทาน โดยรอบดูคล้ายทะเลทรายที่มีฝุ่นฟุ้งกระจายทั่วไป ผ่านกองงานส่วนพระองค์แก่ นายเมธา รัชตะปีติ เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๓ ได้ให้ข้อมูล แท้ที่จริงแล้วราษฎรเหล่านั้นมีทั้งนํ้าท่วมและฝนแล้ง เกี่ยวกับที่มาและจุดเริ่มต้นโครงการฝนหลวง ดังนี้ นั่นคือ ทำ�ไมประชาชนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงยากจนนัก ระหว่างวันที่ ๒ ถึงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ปัญหาหนึ่งที่ยังคงดำ�รงอยู่ คือ ภาคตะวันออก พ.ศ.๒๔๙๘ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม ๑๕ จังหวัด เฉียงเหนือทั้งภาคมีชื่อเสียงว่าเป็นภาคที่แห้งแล้ง ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในวันจันทร์ที่ ๑๔ ขณะนน้ั ทรงแหงนพระพกั ตรข์ น้ึ ทอดพระเนตรทอ้ งฟา้ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๘ เสด็จฯ โดยรถยนต์ และทรงพบว่ามีเมฆจำ�นวนมาก แต่เมฆเหล่านั้น (เดลาเฮย์ ซีดาน สีเขียว) จากนครพนมไปกาฬสินธุ์ ถกู พดั ผา่ นพน้ื ทแ่ี หง้ แลง้ ไป วธิ แี กอ้ ยทู่ วี่ า่ จะท�ำ อยา่ งไร ผ่านสกลนครและเทือกเขาภูพาน ทรงหยุด ที่จะทำ�ให้เมฆเหล่านั้นรวมตัวตกลงมาเป็นฝน อย่างเป็นทางการที่ทางแยกอำ�เภอกุฉินารายณ์และ ในทอ้ งถน่ิ นน้ั ทรงบนั ทกึ ไวว้ า่ ความคดิ นน้ั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ สหัสขันธ์ ณ ที่นั้นทรงสอบถามราษฎรเกี่ยวกับ ของโครงการฝนเทียม (ปัจจุบันเรียกอย่างเป็นทาง ผลผลิตข้าว ทรงคิดว่าต้องเสียหายเพราะความ ราชการตามมติคณะรัฐมนตรีว่า โครงการฝนหลวง แห้งแล้ง แต่ต้องทรงประหลาดพระราชหฤทัย มาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๗) ซึ่งประสบความสำ�เร็จไม่นาน ที่ราษฎรเหล่านั้นกราบบังคมทูลว่า เดือดร้อนเสียหาย ในภายหลัง

โครงการ ๕๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า “ฝนหลวง” กำ�เนิดขึ้น จากพระราชดำ�ริ โดยประยุกต์จากผลการวิจัย ค้นคว้าทางวิชาการ ด้านทำ�ฝนเทียมของ ประเทศต่างๆ การปฏิบัติการทดลองจริงในท้องฟ้า ตราฝนหลวงพิเศษ เริ่มต้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๙ ถึงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๒ ณ สนามบินหนองตะกู วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อำ�เภอปากช่องเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่จะเริ่มต้นการค้นคว้าทดลอง การประดิษฐ์คิดค้น บรมนาถบพิตร มิเพียงแต่ทรงเกิดประกายความคิด และการปฏิบัติการค้นคว้าทดลองจริงในท้องฟ้า ขน้ึ มาเทา่ นน้ั แตท่ รงขยายผลเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ ไปได้ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซง่ึ มีดร.แสวงกลุ ทองค�ำ ในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อเสด็จฯ กลับถึง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ม.จ.จักรพันธุ์ กรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เพ็ญศิริ จักรพันธ์ อธิบดีกรมการข้าวในขณะนั้น ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ซึ่งเป็นวิศวกรประดิษฐ์ รับใส่เกล้าฯ สนองพระราชประสงค์ การปฏิบัติการ ควายเหล็ก ที่มีชื่อเสียงเข้าเฝ้าฯ และพระราชทาน ท ด ล อ ง จ ริ ง ใ น ท้ อ ง ฟ้ า จึ ง เ ริ่ ม ต้ น เ ป็ น ค รั้ ง แ ร ก แนวความคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เมื่อวันที่ ๑๙ ถึงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๒ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้กราบบังคมทูลสัญญาว่า ณ สนามบินหนองตะกู วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จะศึกษาปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว ทรงพระกรุณา อำ�เภอปากช่องเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา โปรดเกล้าฯ ให้ ฯพณฯ ม.ล.เดช สนิทวงศ์ องคมนตรี “ฝนหลวง” จงึ ก�ำ เนดิ ขน้ึ จากพระราชด�ำ ริ โดยประยกุ ต์ อญั เชญิ เอกสารทท่ี รงศกึ ษาทบทวนแลว้ มาพระราชทาน จากผลการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการด้านทำ�ฝนเทียม แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้ศึกษาทบทวนและ ของประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ท�ำ ความเขา้ ใจกบั เอกสารพระราชทานควบคกู่ นั ไปดว้ ย และอิสราเอล ภายใต้การพระราชทานข้อแนะนำ� จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล หลายปีต่อมา ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้กลับมากราบ อดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร อยา่ งใกลช้ ดิ ตอ่ มามกี ารตง้ั บงั คมทลู พรอ้ มกบั ความคดิ เรม่ิ แรกและความเปน็ ไปได้

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๕๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๕ เชิดชูและเทิดทูนพระเกียรติ ในฐานะ “พระบิดาแห่งฝนหลวง” สำ�นักสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลกทูลเกล้าฯ ถวาย แห่งประเทศไทยได้ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตร รางวัลผู้นำ�โลกด้านทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อวันที่ ๒๙ “การดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดฝน” มกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ ในฐานะที่ทรงเป็นนักประดิษฐ์ เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๕ คิดค้นและทรงมีบทบาทในการส่งเสริมการใช้ทรัพย์สิน ทางปัญญาเพื่อการพัฒนาชุมชนในชนบทของไทย ส่วนราชการ “สำ�นักงานปฏิบัติการฝนหลวง” ขึ้น ห รื อ ก า ร ทำ � ฝ น ว่ า เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สำ � คั ญ รับผิดชอบการปฏิบัติการฝนหลวงช่วยเหลือราษฎร อันหนึ่งในกระบวนการจัดการทรัพยากรแหล่งนํ้า ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ และได้ยกฐานะเป็น “สำ�นัก เป็นการเพิ่มปริมาณนํ้าให้แก่แหล่งเก็บกักนํ้าต่างๆ ฝนหลวงและการบินเกษตร” ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ต่อมา การบรรเทาปัญหามลภาวะ และการเพิ่มปริมาณนํ้า ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมฝนหลวง เพอ่ื การสาธารณปู โภคและ(๓)ทรงเนน้ วา่ ความรว่ มมอื และการบินเกษตร” และใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน ประสานงานอย่างเต็มที่ระหว่างหน่วยงานและ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ที่จะเป็นกุญแจสำ�คัญ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในอันที่จะทำ�ให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของ บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราโชบาย โครงการได้ ในการพัฒนาโครงการพระราชดำ�ริ “ฝนหลวง” ไว้ ๓ ประการ คือ (๑) ทรงเน้นถึงความจำ�เป็น หลังจากเทคโนโลยีฝนหลวงประสบความสำ�เร็จ ในด้านการพัฒนาและการดำ�เนินการปรับปรุง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วิธีการทำ�ฝนด้วยการออกแบบการปฏิบัติการ บรมนาถบพิตร ทรงประดิษฐ์แผนภาพประมวล การตดิ ตามและประเมนิ ผลทม่ี ลี กั ษณะเปน็ กระบวนการ ขั้นตอนกรรมวิธีเทคโนโลยีฝนหลวง ท้งั ๖ ข้นั ตอน ทางวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น ตลอดจนการนำ� ไว้ใน ๑ หน้ากระดาษ พระราชทานแก่นักวิชาการ คอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษารูปแบบของเมฆ และผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นตำ�ราฝนหลวงจนถึงปัจจุบัน และการปฏิบัติการทำ�ฝนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และโปรดเกล้าฯ ให้ย่อส่วนแผนภาพดังกล่าว (๒)ทรงเนน้ ยา้ํ ถงึ บทบาทของการดดั แปรสภาพอากาศ สำ�หรับพกพาติดตัวเพื่อเตือนความจำ�นักวิชาการ

โครงการ ๕๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทร บรมนาถบพิตร ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ถวายรางวัลยอดเยี่ยม และประกาศนียบัตร เป็นพระมหากษัตริย์ ประกาศพระเกียรติคุณในพระอัจฉริยภาพ พระองค์แรกและพระองค์เดียว และพระปรีชาสามารถจากองค์กรนานาชาติ ที่ทรงได้รับพระราชสมัญญานาม “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์โลก” และนักบินฝนหลวงให้ปฏิบัติตามขั้นตอนกรรมวิธี ๑ ➞ ๖ อยา่ งครบถว้ นเทคโนโลยกี ารท�ำ ฝนหลวงนวตั กรรมใหม่ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก่อกวน ➞ การ โจมตีเ มฆเย็น➞ บรมนาถบพิตร ทั้ง ๖ ขั้นตอน คือ แบบซูปเปอร์แซนด์วิช ๒ ➞ ➞ ขั้นตอนที่ ๑ ก่อกวน ๕ เป็นการเร่งให้เมฆเกิดใหม่ก่อตัวเร็วขึ้น หรือเสริม เลี้ยงให้อ้วน เมฆเดิมที่ก่อตัวอยู่แล้วให้มีปริมาณมากขึ้นและ การโจมตีเมฆเย็น เจริญเติบโต ด้วยการก่อกวนสภาวะสมดุลหรือ ๓ ด้วยพลุซิลเวอร์ไอโอไดด์ สภาวะเสถียรของมวลอากาศ โจมตี ๔➞ ขั้นตอนที่ ๒ เลี้ยงให้อ้วน การเพ่ิมปริมาณ เป็นการเร่งการเจริญเติบโตของเมฆเกิดใหม่และ น้ําฝนท่ีตกลงสู่พื้น เมฆเดมิ ในขน้ั ตอนท่ี ๑ ใหม้ ขี นาดใหญข่ น้ึ (ทง้ั ฐานเมฆ กว้างขึ้นและก่อยอดสูงขึ้น) และก่อให้เกิดเมฆใหม่ เพิ่มขึ้น ขนาดของหยดนํ้าเล็กๆ ในเมฆเจริญเติบโต ใหญ่ขึ้นเป็นหยดเมฆมากและหนาแน่นขึ้น เร็วกว่า การปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๖๐ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ขั้นตอนที่ ๓ โจมตี ขน้ั ตอนท่ี ๕ การโจมตเี มฆเยน็ ดว้ ยพลซุ ลิ เวอรไ์ อโอไดด์ เมื่อกลุ่มเมฆในขั้นตอนที่ ๒ เคลื่อนตัวเข้าใกล้พื้นที่ เปน็ การโจมตเี มฆทเ่ี กดิ ขน้ึ ในขน้ั ตอนท่ี ๒ เมอ่ื เคลอ่ื นท่ี เป้าหมายหวังผลที่กำ�หนด เลือกกลุ่มเมฆที่เกาะ ตามทิศทางลมไปใกล้บริเวณเป้าหมาย และยอดเมฆ กลุ่มกันหนาแน่นมากที่สุดที่อยู่เหนือลมของพื้นที่ สูงเกินระดับเยือกแข็ง หรือประมาณ ๒๐,๐๐๐ ฟุต เป้าหมายทำ�การโจมตีหรือบังคับให้ฝนตกลงสู่ มีการเจริญเติบโตดี รูปทรงของเมฆมีความชัดเจน พื้นที่เป้าหมายหวังผล โดยการโจมตีด้วย “เทคนิค ในขั้นตอนนี้จะทำ�การยิงพลุซิลเวอร์ไอโอไดด์เข้าที่ แซนด์วิช” จุดมุ่งหมายของขั้นตอนนี้เพื่อตอบสนอง ยอดเมฆไปกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในกอ้ นเมฆ ความต้องการใน ๒ ประเด็น คือ เพื่อเพิ่มปริมาณ ฝนตกให้กับพื้นที่ และเพื่อให้เกิดการกระจายการตก ขั้นตอนที่ ๖ การโจมตีเมฆเย็นแบบซูปเปอร์แซนด์วิช ของฝน เป็นการโจมตีเมฆที่เกิดขึ้นในขั้นตอนที่ ๒ เมื่อ เคลื่อนที่ตามทิศทางลมไปใกล้บริเวณเป้าหมาย ขั้นตอนที่ ๔ การเพิ่มปริมาณนํ้าฝนที่ตกลงสู่พื้น และยอดเมฆสูงเกินระดับเยือกแข็ง หรือประมาณ เป็นการคงขั้นตอนที่ ๓ ไว้ และเพิ่มปริมาณ ๒๐,๐๐๐ ฟุต มีการเจริญเติบโตดี รูปทรงของเมฆ นํ้าฝนที่จะตกลงสู่พื้นดิน นอกจากนี้ ยังช่วยเพิ่ม มีความชัดเจน การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้เป็น เวลาฝนตกโดยทำ�ให้มวลอากาศใต้ฐานเมฆเย็นลง การใช้ปฏิบัติการขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ และ หยุดการลอยตัวขึ้น เพิ่มกระแสอากาศไหลลง ขั้นตอนที่ ๕ ร่วมกัน เป็นการรวมเทคนิคการโจมตี เพิ่มความชื้นสัมพัทธ์และลดการระเหยของหยดฝน ทั้งเมฆอุ่นและเมฆเย็นเข้าด้วยกัน และปฏิบัติการ ขั้นตอนนี้จะทำ�เมื่อเมฆที่ได้ตามขั้นตอนที่ ๓ ในขั้นตอนเหล่านี้ไปพร้อมๆ กัน ทำ�ให้มีระยะเวลา เคลื่อนตัวตามทิศทางลมไปปกคลุมพื้นที่เป้าหมาย และปริมาณฝนตกในพื้นที่เป้าหมายมากและยาวนาน

โครงการ ๖๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า ขั้นตอนที่ ๑ ก่อกวน เพื่อเร่งให้เมฆเกิดใหม่ ก่อตัวเร็วขึ้น ขั้นตอนที่ ๒ เร่งการเจริญเติบโต ของเมฆเกิดใหม่และเมฆเดิม ให้ใหญ่ขึ้น ขั้นตอนที่ ๓ โจมตีด้วย “เทคนิคแซนด์วิช” เพื่อเพิ่ม ปริมาณฝนตกให้กับพื้นที่ และเพื่อให้เกิดการกระจาย การตกของฝน ขั้นตอนที่ ๔ เพิ่มปริมาณนํ้าฝน ที่ตกลงสู่พื้น เพิ่มเวลาฝนตก หยุดการลอยตัวขึ้น เพิ่มกระแส อากาศไหลลง เพิ่มความชื้นสัมพัทธ์ และลดการระเหยของหยดฝน ขั้นตอนที่ ๕ โจมตีเมฆเย็น ด้วยพลุซิลเวอร์ไอโอไดด์ กระตุ้น ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในก้อนเมฆ ขั้นตอนที่ ๖ โจมตีเมฆเย็น แบบซูปเปอร์แซนด์วิช ทำ�ให้มีระยะเวลาและปริมาณฝนตก ในพื้นที่เป้าหมายมากและยาวนาน

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๖๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับโครงการ โครงการฝนหลวง กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ ๑. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๕๖ ยกฐานะ พระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง สำ�นักฝนหลวงและการบินเกษตร สังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ ทบวงกรม สหกรณ์ ให้เป็นกรมฝนหลวงและการบินเกษตร สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ฉบับท่ี ๑๐) โดยมกี ารแบง่ สว่ นราชการซง่ึ เปน็ ไปตามกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการกรมฝนหลวง พ.ศ.๒๕๕๖ และการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๕๖ กฎกระทรวง แบง่ สว่ นราชการส�ำ นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๖ และกฎกระทรวงว่าด้วยกลุ่มภารกิจ (ฉบับที่ ๘) พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่งได้ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๔๐ ก วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ๒. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำ�นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและ พระราชกฤษฎีกา สหกรณ์ พ.ศ.๒๕๑๘ ก่อตั้งสำ�นักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในสำ�นักงาน แบ่งส่วนราชการ ปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำ�นักงานปลัด กระทรวง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๑๘ ๓. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำ�นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและ พระราชกฤษฎีกา สหกรณ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ ยกฐานะเป็นสำ�นักฝนหลวงและการบินเกษตร แบ่งส่วนราชการ สังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำ�นักงานปลัด กระทรวง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๕

โครงการ ๖๓ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เมื่อการขาดปริมาณนํ้าเกิดขึ้นก็ส่งผลมาถึงระดับนํ้า โครงการฝนหลวงช่วยแก้ไขปัญหาขาดแคลนนํ้า ในแม่นํ้าลดตํ่าลง บางแห่งตื้นเขินจนไม่สามารถ ในช่วงภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงยาวนาน ซึ่งมี สัญจรไปมาทางเรือได้ เช่น ทางนํ้าในแม่นํ้าเจ้าพระยา ผลกระทบต่อแหล่งเกษตรกรรมที่กำ�ลังให้ผลผลิต การทำ�ฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณนํ้าให้กับบริเวณ เช่น จังหวัดจันทบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ดงั กลา่ ว จงึ นบั เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ยง่ิ เพราะการขนสง่ สนิ คา้ และเพิ่มปริมาณนํ้าให้กับพื้นที่ลุ่มรับนํ้าของแม่นํ้า ทางนํ้าเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าทางอื่น และการจราจร สายต่างๆ ที่มีปริมาณนํ้าต้นทุนลดน้อยลง เช่น แม่นํ้า ทางบกนับวันจะมีปัญหารุนแรงมากขึ้น ช่วยแก้ไข ปิง วัง ยม น่าน เป็นต้น ช่วยเพิ่มปริมาณนํ้าต้นทุน ปญั หาคณุ ภาพนา้ํ โดยเฉพาะภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ให้แก่อ่างและเขื่อนกักเก็บนํ้าเพื่อการชลประทาน ที่มีแหล่งหินเกลือจำ�นวนมากและครอบคลุมพื้นที่ และการผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น ในปีที่เกิดวิกฤติ กว้างขวาง ซึ่งอ่างเก็บนํ้าขนาดเล็กและขนาดกลาง ขาดแคลนนํ้าที่เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถ ไม่มีทางระบายออก ทำ�ให้หินเกลือด้านล่างลอยตัว จัดเก็บนํ้าจากฝนหลวงนับตั้งแต่วันที่ ๒๘ มกราคม เคลื่อนที่มาบนผิวดิน ทำ�ให้เกิดปัญหานํ้ากร่อย พ.ศ.๒๕๓๖ ถึง ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๖ อันเป็น หรือเค็มได้ ป้องกันและบำ�บัดภาวะมลพิษของ วันสุดท้ายของการปฏิบัติงานฝนหลวงในปีนั้นได้ถึง สิ่งแวดล้อม หากนํ้าในแม่นํ้าเจ้าพระยาลดน้อยลง ๔,๒๐๔.๑๘ ล้านลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ก่อนทำ� เมื่อใด นํ้าเค็มจากทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนุนเนื่อง ฝนหลวงมีนํ้าเหลือเพียง ๓,๔๙๗.๗๙ ล้านลูกบาศก์ เขา้ ไปแทนทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ นา้ํ กรอ่ ยขน้ึ และเกดิ ความเสยี หาย เมตรเท่านั้น ช่วยพื้นที่เกษตรกรรมและป่าไม้ได้เฉลี่ย แก่เกษตรกรเป็นจำ�นวนมาก จึงจำ�เป็นที่ต้อง จำ�นวน ๒๑๖ ล้านไร่ต่อปี มีการปล่อยนํ้าจากเขื่อนภูมิพล เพื่อผลักดันนํ้าเค็ม มิให้หนุนเข้ามาทำ�ความเสียหายต่อการอุปโภค ฝนหลวง ช่วยเรื่องการอุปโภค บริโภค ซึ่งภาวะความ บรโิ ภคและเกษตรกรรมรวมทง้ั บรรเทาภาวะสง่ิ แวดลอ้ ม ต้องการนํ้าทั้งจากนํ้าฝนและอ่างเก็บนํ้า ห้วย หนอง ที่เป็นพิษอันเกิดจากการระบายนํ้าเสียทิ้งลงสู่แม่นํ้า คลอง บึง เป็นความต้องการพื้นฐานของราษฎร เจ้าพระยาและขยะมูลฝอยที่ผู้คนทิ้งลงในสายนํ้า การขาดแคลนนํ้ากิน นํ้าใช้ มีความรุนแรงมาก ปริมาณนํ้าจากฝนหลวงจะช่วยผลักดันขยะมูลฝอย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากคุณสมบัติของ ออกสู่ท้องทะเล ทำ�ให้ภาวะมลพิษจากนํ้าเสีย ดินในภูมิภาคนี้เป็นดินร่วนปนทรายไม่สามารถ เจือจางลง สังเกตเห็นได้ชัดเจนจากขยะมูลฝอยและ อุ้มซับนํ้าได้ จึงไม่สามารถเก็บกักนํ้าได้ดีเท่าที่ควร กระแสนํ้าเสียต่างสีในบริเวณปากนํ้าจนถึงเกาะล้าน บรรเทาหมอกควันจากไฟป่าในภาคเหนือที่เกิดขึ้น เมืองพัทยา เป็นประจำ�ทุกปี และทำ�ลายหรือยับยั้งความรุนแรง ของพายุลูกเห็บที่มักเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของทุกปี นอกจากนี้ ฝนหลวงยังช่วยบรรเทาปัญหาอื่นๆ ได้แก่ ซึ่งเกิดถี่และรุนแรงขั้นวิกฤติ สร้างความเสียหาย โรคระบาด อหิวาตกโรค การระบาดของศัตรูพืช ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากขึ้นเรื่อยๆ บางชนิด เช่น เพลี้ย ตั๊กแตนปาทังก้า เป็นต้น เสริมสร้างเส้นทางคมนาคมทางนํ้า ช่วยทำ�นุบำ�รุงป่าไม้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๖๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ความชุ่มชื้นที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากฝนหลวงช่วยลด ทั้งในระดับนานาชาติและระดับโลก พระบาทสมเด็จ การเกิดไฟป่าได้เป็นอย่างมาก ซึ่งต่างประเทศได้รับรู้ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ถึงความสำ�เร็จของเทคโนโลยีฝนหลวงและตำ�รา ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลยอดเยี่ยม ฝนหลวงพระราชทาน ประเทศต่างๆ ที่ประสบปัญหา แ ล ะ ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร ป ร ะ ก า ศ พ ร ะ เ กี ย ร ติ คุ ณ ภัยแล้งทั้งประเทศในกลุ่มเอเชีย กลุ่มประเทศอาหรับ ในพระราชอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถจาก ประเทศออสเตรเลีย อิสราเอล และสาธารณรัฐ องค์กรนานาชาติ ในฐานะทรงเป็นนักประดิษฐ์ ประชาชนจีน ได้ขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและ คิดค้น เทคโนโลยีฝนหลวง ซึ่งเป็นนวัตกรรม ความเชี่ยวชาญในการทำ�ฝนมากขึ้นตามลำ�ดับ อีกทั้ง แนวคิดและทฤษฎีใหม่ ที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์ ได้มีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีความเชี่ยวชาญและ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และมวลมนุษยชาติ ประสบการณ์กับประเทศในวงการดัดแปรสภาพ ในโลก อากาศอีกมาก เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๐ องค์การ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อตุ นุ ยิ มวทิ ยาโลก(World Meteorology Organization: บรมนาถบพิตรทรงใหค้ วามสำ�คญั ในการจดสทิ ธิบัตร WMO) ซึ่งมีสมาชิก ๑๗๘ ประเทศ ทูลเกล้าฯ ถวายโล่ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีฝนหลวงเป็นของ สัญลักษณ์และประกาศนียบัตรเกียรติคุณสดุดี ประเทศไทย ของคนไทย คนไทยคิดเอง และทำ�เอง พระราชอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถที่ทรงนำ� จึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สำ�นักงาน ความรแู้ ละความเชย่ี วชาญดา้ นอตุ นุ ยิ มวทิ ยาแกป้ ญั หา คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ดำ�เนินการจดสิทธิบัตร ภัยธรรมชาติและลดผลกระทบที่เกิดแก่ประชาชน ในพระปรมาภิไธยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ชาวไทยให้น้อยลง โดยในประเทศไทย สำ�นักสิทธิบัตร กรมทรัพย์สิน องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual ทางปญั ญาแหง่ ประเทศไทย ไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวายสทิ ธบิ ตั ร Property Organization: WIPO) ซึ่งมีประเทศสมาชิก “การดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดฝน” เมื่อวันที่ ๒๙ รวม ๑๘๓ ประเทศ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลผู้นำ�โลก พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๕ และในต่างประเทศ ด้านทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม สำ�นักสิทธิบัตรยุโรปได้ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตร พ.ศ.๒๕๕๐ ในฐานะที่ทรงเป็นนักประดิษฐ์คิดค้น ภายใต้ชื่อ Weather Modification by Royal และทรงมีบทบาทในการส่งเสริมการใช้ทรัพย์สิน Rainmaking Technology เมื่อวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ทางปัญญาเพื่อการพัฒนาชุมชนในชนบทของไทย พ.ศ.๒๕๔๘ และสำ�นักงานสิทธิบัตรแห่งเขต เช่น โครงการกังหันนํ้าชัยพัฒนา และเทคโนโลยี การปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝนหลวง เป็นต้น ได้ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรเมื่อวันที่ ๗ เมษายน คณะรัฐมนตรีในฐานะตัวแทนปวงชนชาวไทย มีมติ พ.ศ.๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๕ เชิดชูและ นับได้ว่าเทคโนโลยีฝนหลวง เป็นผลงานอันยอดเยี่ยม เทิดพระเกียรติในฐานะ “พระบิดาแห่งฝนหลวง” และ เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในหมู่นักวิทยาศาสตร์ มีมติให้วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปีเป็น และองคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ดา้ นการดดั แปรสภาพอากาศ

โครงการ ๖๕ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า วันพระบิดาแห่งฝนหลวง และต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ในการแก้ปัญหาภัยแล้งในต่างประเทศตามที่ ได้มีมติเชิดชูพระเกียรติในฐานะทรงเป็น “พระบิดา ขอพระราชทานมา แห่งการประดิษฐ์ไทย” ด้วย จากการสัมภาษณ์ นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ อธิบดีกรมฝนหลวงและการบินเกษตร เมื่อวันที่ นายโคฟ่ี อนั นนั เลขาธกิ ารสหประชาชาติ ไดท้ ลู เกลา้ ฯ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สามารถสรุปจุดเด่น ถวายถ้วยรางวัลความสำ�เร็จสูงสุดด้านการพัฒนา และเอกลักษณ์ของโครงการได้ว่า พระบาทสมเด็จ มนษุ ยข์ องโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ (Human พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร Development Lifetime Achievement Award ท ร ง ศึ ก ษ า แ ล ะ ค้ น ค ว้ า เ ท ค นิ ค ใ น ก า ร ดั ด แ ป ร : UNDP) เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๙ สภาพอากาศเพื่อทำ�ให้เกิดฝนจากเอกสารอ้างอิง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทร ตำ�ราวิชาการต่างๆ จนทรงเชื่อมั่นถึงความเป็นไปได้ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในพระปรีชา ที่จะประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีการทำ�ให้เกิดฝน สามารถและพระราชกรณียกิจทั้งปวงในการพัฒนา ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีของพสกนิกรไทย ของโครงการฝนหลวง นับจากนั้นการปฏิบัติการ ซึ่งโครงการฝนหลวงรวมอยู่ในพระราชกรณียกิจ ฝ น ห ล ว ง ก็ มี ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ม า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ที่ทรงคุณค่าแก่มนุษยชาติโดยตรง พระบาทสมเด็จ ซึ่งสื่อมวลชนได้เผยแพร่ความสำ�เร็จในการประดิษฐ์ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร คิดค้นและการปฏิบัติการทำ�ฝนสู่สาธารณชน ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเกียรติยศพิเศษนี้ ในประเทศอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง โดยเฉพาะ เป็นพระองค์แรกของโลก เกษตรกรและชาวชนบทผู้ยากไร้ที่อยู่ในท้องถิ่น ทุรกันดารและห่างไกลในทุกภาคส่วนของประเทศ สมาพันธ์นักประดิษฐ์นานาชาติ (The international รวมทั้งได้เผยแพร่ข้อมูลนี้ออกไปยังนานาประเทศ Federation of Inventors’ Associations: IFIA) ซึ่งมี ที่มีกิจกรรมการดัดแปรสภาพอากาศด้วย ประเทศสมาชิก ๑๘๔ ประเทศทั่วโลก และสมาคม ปัจจัยสู่ความสำ�เร็จของโครงการฝนหลวง เกิดจาก ส่งเสริมการประดิษฐ์เกาหลีใต้ (Korea Invention ความรว่ มมอื ประสานงานอยา่ งเตม็ ทร่ี ะหวา่ งหนว่ ยงาน Promotion Association: KIPA) มีมติเป็นเอกฉันท์ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเครือข่าย เมอ่ื ปีพ.ศ.๒๕๕๐ทลู เกลา้ ฯถวายพระราชสมญั ญานาม อาสาสมัครฝนหลวงที่เข้มแข็ง เป็นกุญแจสำ�คัญที่จะ “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์โลก” แด่พระบาทสมเด็จ ทำ�ให้โครงการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ มีระบบ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร การพยากรณ์สภาพอากาศที่ถูกต้อง และมีอุปกรณ์ที่มี โดยทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกและ ความพร้อมในการวางแผนการขึ้นทำ�ฝนหลวง ซึ่งจะ พระองค์เดียวที่ทรงได้รับพระราชสมัญญานาม ส่งผลให้เกิดฝนตามเป้าประสงค์ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง อันทรงเกียรตินี้ เพื่อเชิดชูพระเกียรติที่ทรงงาน มีใจรักที่จะสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จ ดา้ นการประดษิ ฐม์ ายาวนานและกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร แก่ชาวไทยและมนุษยชาติในโลก เช่น โครงการ ในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนหลวง ซึ่งมีพระบรมราชานุญาตให้นำ�ไปใช้

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๖๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า พระบรมราโชบายในการพัฒนาฝนหลวงของ อุตุนิยมวิทยาและการใช้ประโยชน์จากกลไก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช องค์ประกอบของลุ่มนํ้า เช่น ภูเขา ป่าไม้ เขื่อน บรมนาถบพติ ร ทพี่ ระราชทานแกผ่ บู้ รหิ าร นกั วชิ าการ อา่ งเกบ็ นา้ํ ระบบชลประทาน และสภาพการเพาะปลกู และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานฝนหลวง สรุปได้ดังนี้ รวมไปถึงการใช้ศิลปะในการวางแผน ปรับแผน และ (๑) การวิจัยและค้นคว้าทดลองเป็นสิ่งสำ�คัญ การประสานงานให้เป็นไปตามแผน ซึ่งต้องอาศัย ที่ต้องดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องไปไม่มีที่สิ้นสุด ความร่วมมือร่วมใจของผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงาน อย่าท้อใจต่อข้อวิพากษ์วิจารณ์ ให้มุ่งมั่นพัฒนา ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และการวเิ คราะหผ์ ลงานของวนั ทผ่ี า่ นๆ มา ต่อไป โดยให้รวบรวมผลการปฏิบัติการและ และ (๔) เป้าหมายในช่วงฤดูแล้งอยู่ที่การสร้าง ประสบการณ์ แล้วบันทึกไว้เป็นตำ�รา (๒) ฝนหลวง ความชมุ่ ชน้ื ใหพ้ น้ื ทเ่ี กษตรกรรมและปา่ ไม้ สว่ นในชว่ ง มีบทบาทเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการจัดการ ฤดูฝนต้องรักษาความสมํ่าเสมอของฝนไม่ให้ทิ้งช่วง ทรัพยากรนํ้าของประเทศ จึงต้องพัฒนาในแนวทาง นานเกินไปและทำ�ฝนเติมนํ้าในเขื่อนให้ได้ไม่ตํ่ากว่า ที่เป็นวิทยาศาสตร์สากล (๓) ฝนหลวงทำ�ได้ทุกฤดู ร้อยละ ๘๐ ก่อนสิ้นฤดูฝนเพื่อเก็บไว้ใช้ในฤดูแล้ง ๑และความสำ�เร็จขึ้นอยู่กับความรู้ความเข้าใจเรื่อง ➞ ๔ การวิจัยและค้นคว้าทดลอง เ ป้ า ห ม า ย ใ น ช่ ว ง ฤ ดู แ ล้ ง เป็นส่ิงสําคัญที่ต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่องไป อยู่ท่ีการสร้างความชุ่มช้ืนให้พ้ืนท่ี ไม่มีที่ส้ินสุด อย่าท้อใจต่อข้อวิพากษ์วิจารณ์ เกษตรกรรมและป่าไม้ ให้มุ่งม่ันพัฒนาต่อไป ส่วนในช่วงฤดูฝน โดยให้รวบรวมผลการปฏิบัติการ ต้องรักษาความสม่ําเสมอของฝน และประสบการณ์ แล้วบันทึกไว้เป็นตํารา ไม่ให้ทิ้งช่วงนานเกินไป และทำ�ฝนเติมนํ้าในเข่ือน ➞ ให้ได้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ก่อนสิ้นฤดูฝน เพื่อเก็บไว้ใช้ในฤดูแล้ง ๒➞ ๓➞ ฝนหลวงมีบทบาทเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของการจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศ จึงต้องพัฒนาในแนวทางที่เป็น ฝนหลวงทําได้ทุกฤดูและความสําเร็จ วิทยาศาสตร์สากล ขึ้นอยู่กับความรู้ความเข้าใจเร่ืองอุตุนิยมวิทยา และการใช้ประโยชน์จากกลไกองค์ประกอบ ของลุ่มนา้ํ เช่น ภูเขา ป่าไม้ เขื่อน อ่างเก็บนํ้า ระบบชลประทาน และสภาพการเพาะปลูก รวมไปถึงการใช้ศิลปะในการวางแผน ปรับแผน และการประสานงานให้เป็นไปตามแผน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของผู้ปฏิบัติงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ การวิเคราะห์ผลงานของวันที่ผ่านๆ มา

โครงการ ๖๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า เทคโนโลยีฝนหลวง เป็นผลงาน อันยอดเย่ียมเป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวาง ในหมู่นักวิทยาศาสตร์และองค์กรท่ีเกยี่ วข้อง กับด้านการดัดแปรสภาพอากาศ ท้ังในระดับนานาชาติและระดับโลก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลยอดเยี่ยม และประกาศนียบัตร ประกาศพระเกียรติคุณในพระราชอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถจากองค์กร นานาชาติ ในฐานะทรงเป็นนักประดิษฐ์ คิดค้น เทคโนโลยีฝนหลวง ซ่ึงเป็นนวัตกรรมแนวคิดและทฤษฎีใหม่ ท่ีเป็นประโยชน์อเนกอนันต์ต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และมวลมนุษยชาติในโลก



ปลูกป่าในใจคน ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก และปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง ซึ่งท�ำ ให้เกิดการพัฒนา และการอนุรักษ์ป่าไม้ที่ย่ังยืน โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้านทรัพยากรป่าไม้

½ Ò Â ª Ð Å Í ¤ Ç Ò Á ª‹Ø Á ªé× ¹ ¡ Ò Ã Í ¹Ø ÃÑ ¡ ɏ ¡ Ò Ã à ¾ Ò Ð à ÅéÕ Â § ÊÑ µ Ǐ »† Ò á Å Ð Ê § Ç ¹ ¾Ñ ¹ ¸Ø ÊÑ µ Ǐ »† Ò ¤ ¹ Í ÂÙ‹ ¡Ñ º »† Ò »ÅÙ¡»†Ò ó Í‹ҧ Í ¹Ø ÃÑ ¡ ɏ µŒ ¹ ¹ Óé ä´Œ»ÃÐ⪹ ô Í‹ҧ ¹Ô à Ç È » ÅÙ ¡ »† Ò ã ¹ ã ¨ ¤ ¹ ¡ Ò Ã ã ªŒ » à Рâ  ª ¹ Ẻǹà¡ÉµÃ ¡ Ò Ã » ÅÙ ¡ »† Ò · ´ á · ¹ »† Ò à »‚  ¡ ¡Ñ ¹ ä ¿ ¡ Ò Ã ÇÔ ¨Ñ  ´Œ Ò ¹ »† Ò ä ÁŒ »† Ò »ÃлÒÀÙà¢Ò » ÅÙ ¡ »† Ò â ´  ä Á‹ µŒ Í § » ÅÙ ¡ ¾× ª ¤ ÅØ Á ´Ô ¹ ÇÔ ¨Ñ  à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ » ÃÑ º » ÃØ § ´Ô ¹ à¡ÉµÃ »Ø‰  ÍÔ ¹ · ÃÕ Â Ê Ò ¸Ô µ á Å Ð ¾Ñ ² ¹ Ò

โครงการ ด้านทรัพยากรป่าไม้ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ท่ีย่ังยืนนั้น อันเนื่องมาจากพระราชดําริ คนกับป่าต้องอยู่ร่วมกันอย่างพึ่งพาอ าศัย ซ่ึงกันและกัน โดยมีทฤษฎีการปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก อาศัยระบบวงจรป่าไม้ และการทดแทนโดยธรรมชาติ และทฤษฎี การปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานปรัชญาเก่ียวกับการพัฒนาป่าไม้ ว่าการพัฒนา ป่ า ไ ม้ ต้ อ ง เ ริ่ ม ต้ น ด้ ว ย ก า ร ป ลู ก ฝั ง จิ ต ส ำ� นึ ก ใ ห้ ร า ษ ฎ ร รั ก แ ล ะ ห ว ง แ ห น ต้ น ไ ม้ เ สี ย ก่ อ น โ ด ย พ ร ะ อ ง ค์ มี พ ร ะ ร า ช ด ำ� รั ส แ ก่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ป่ า ไ ม้ เ มื่ อ ค ร า ว เ ส ด็ จ ฯ ไ ป ห น่ ว ย ง า น พั ฒ น า ต้นน้ําทุ่งจ๊อ จังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ.๒๕๑๙ ความตอนหน่ึงว่า “. . . เ จ้ า ห น้ า ที่ ป่ า ไ ม้ ค ว ร จ ะ ป ลู ก ต้ น ไ ม้ ล ง ใ น ใ จ ค น เ สี ย ก่ อ น แ ล้ ว ค น เ ห ล่ า น้ั น ก็ จ ะ พ า กั น ป ลู ก ต้ น ไ ม้ ล ง บ น แ ผ่ น ดิ น และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...” และในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่ า ไ ม้ ท่ี ย่ั ง ยื น น้ั น ค น กั บ ป่ า ต้ อ ง อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า งพ่ึ ง พ า อ า ศั ย ซ่ึงกันและกัน แนวพระราชดำ�ริในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ มิได้เป็นกิจกรรมท่ีดำ�เนินไปอย่างเป็นเอกเทศ หากแต่รวม เ อ า ง า น พั ฒ น า ท่ี เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั น ทั้ ง ห ม ด เ ข้ า ไ ป ท ำ� ง า น ใ น พื้ น ท่ี อ ย่ า ง ป ร ะ ส า น สั ม พั น ธ์ กั น เ พ่ื อ ส ร้ า ง ค ว า ม ส ม ดุ ล แ ก่ ธ ร ร ม ช า ติ อย่างย่ังยืน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานทฤษฎีการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ตามหลักการฟ้ืนฟูสภาพป่าด้วยกฎธรรมชาติ โดยอาศัยระบบ วงจรป่าไม้และการทดแทนโดยธรรมชาติ และทฤษฎีการปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง คือ ได้ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และ ไม้ฟืน และป่ายังสามารถช่วยอนุรักษ์ดิน และต้นน้ําลำ�ธารอีกด้วย

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๗๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ (พระราชดำ�รัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสโมสร ไลออนส์สากล ภาค ๓๑๐ ณ พระตำ�หนักจิตรลดา รโหฐานเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๑๒) “...จําได้ว่าเม่ืออายุ ๑๐ ขวบ ท่ีโรงเรียนมีครูคนหน่ึง ซ่ึงเด๋ียวน้ีตายไป แล้ว สอนเร่ืองวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้อย่างน้ัน เม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทําให้ไหลตามนํ้าไป ไปทำ�ให้เสียหาย ดินหมดจากภูเขา เพราะไหลตามสายนํา้ ไป ”ก็เป็นหลักของป่าไม้เรื่องการอนุรักษ์ดิน... โครงการพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรป่าไม้ “…อาจมีบางคนเข้าใจว่าทำ�ไมถึงสนใจเรื่อง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ชลประทาน หรือเรื่องป่าไม้ จำ�ได้ว่าเมื่ออายุ ๑๐ ขวบ บรมนาถบพิตร ทรงสนพระทัยเรื่องของการอนุรักษ์ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่ง ซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้ มาตง้ั แตย่ งั ทรงพระเยาว์ทง้ั น้ีจะเหน็ ไดจ้ ากพระราชด�ำ รสั เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้อย่างนั้น เม็ดฝนลงมา ทพ่ี ระราชทานแกค่ ณะกรรมการสโมสรไลออนสส์ ากล แล้วจะชะดินลงมาเร็วทำ�ให้ไหลตามนํ้าไป ไปทำ�ให้ ภาค ๓๑๐ ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน เสียหาย ดินหมดจากภูเขา เพราะไหลตามสายนํ้าไป เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๑๒ ความว่า ก็เป็นหลักของป่าไม้เรื่องการอนุรักษ์ดิน และ

โครงการ ๗๓ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ “...หลักสำ�คัญของความเรียบง่าย ข้างบนจะทำ�ให้เดือดร้อนตลอด ตั้งแต่ภูเขา “Simplify” หรือ “Simplicity” จะหมดไปจนกระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมา คือ จะต้องเรียบง่าย ไม่ยุ่งยาก ในเขื่อน มีตะกอนลงมาในแม่นํ้าทำ�ให้นํ้าท่วมที่นะ ทั้งแนวความคิด ด้านเทคนิควิชาการ เรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ…” ต้องสมเหตุสมผล ทำ�ได้รวดเร็วและสามารถ แก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริง...” แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก จากการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล พระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร อดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าฯ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร นน้ั จะทรงมงุ่ เนน้ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ ให้ผลการดำ�เนินงานสู่ประชาชนโดยตรงในเบื้องแรก พระราชกรณียกิจ และทรงเยี่ยมเยียนราษฎร เพอ่ื เปน็ การบรรเทาปญั หาความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ ในท้องถิ่นทุรกันดาร ได้ทรงทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น นั่นก็คือ เพื่อความ “พออยู่ พอกิน” ในขณะเดียวกัน กับทรัพยากรป่าไม้ ได้มีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะ ก็ทรงปูพื้นฐานไว้สำ�หรับการ “อยู่ดี กินดี” ต่อไป แก้ไขปรับปรุงและพัฒนาป่าไม้ให้อยู่ในสภาพ ในอนาคต โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�รินั้น ที่สมบูรณ์ดังเช่นในอดีตเพื่อเป็นการยังประโยชน์ มีอยู่มากมายหลากหลายประเภทแตกต่างกันไปตาม ให้แก่ประชาชนเป็นหลัก แนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับ ลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการ ส่วนมากจะ การพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ที่กล่าวมาสรุปประเด็นได้ เป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการทำ�มาหากิน ของประชาชนเป็นสำ�คัญ ดังที่ทราบกันดีว่าประชากร ๑ดังนี้ ของประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทำ� แนวพระราชดําริ เกษตรกรรมเป็นหลัก ดังนั้น โครงการอันเนื่องมาจาก ในด้านการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ พระราชดำ�ริจึงเน้นการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานที่ ส่งผลต่อการผลิตต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แนวพระราชดำ�ริในด้านการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ เช่น ดิน นํ้า ที่ทำ�กิน ทุน ความรู้ด้านเกษตรกรรม (๑) ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คำ�ว่า “ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก” เป็นพระราชดำ�รัส เป็นต้น แนวคิดและทฤษฎีที่ได้พระราชทาน ที่สะท้อนให้เห็นความเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้ง พระราชดำ�ริเพื่อแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนา จะยึดถือ ถึงวิถีแห่งธรรมชาติโดยที่ได้พระราชทานแนวคิดว่า หลักสำ�คัญของความเรียบง่าย ดังที่ได้ทรงใช้คำ�ว่า บางครั้งป่าไม้ก็เจริญเติบโตขึ้นเองตามธรรมชาติ “Simplify” หรือ “Simplicity” คือ จะต้องเรียบง่าย ขอเพียงอย่าเข้าไปรบกวนและทำ�ลายโดยรู้เท่า ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทั้งแนวความคิด ด้านเทคนิค ไม่ถึงการณ์ หากปล่อยไว้ตามธรรมชาติระยะเวลา วิชาการต้องสมเหตุสมผล ทำ�ได้รวดเร็วและสามารถ หนึ่งป่าไม้ก็จะขึ้นสมบูรณ์เอง การระดมปลูกป่า แก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริง ตลอดจนต้องมุ่ง ไปสู่วิถีแห่งการพัฒนาแบบยั่งยืนอีกทางหนึ่ง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๗๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ด้วยความไม่เข้าใจ เช่น ปอกเปลือกหน้าดิน ซึ่งมี “...ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมนั้น คุณค่ามากออกไป และปลูกพันธุ์ไม้ ซึ่งไม่เหมาะสม ความจริงไม่ต้องทำ�อะไร เพราะตอไม้ กับสภาพท้องถิ่นและระบบนิเวศบริเวณนั้น นอกจาก ก็จะแตกก่ิงออกมาอีก ถึงแม้ต้นไม่สวย ต้นไม้ที่ปลูกไว้จะตายโดยไม่ได้ประโยชน์แล้ว แต่ก็เป็นต้นไม้ใหญ่ได้ ตามพื้นที่ก็มีต้นไม้เล็ก ยังทำ�ลายสภาพแวดล้อมอีกด้วย แนวความคิด หรือเมล็ดก็จะงอกงามขึ้นมาอีก อย่าให้ใครเข้าไป ที่ลึกซึ้งนี้ จึงเป็นพระราชดำ�รัสที่ยึดถือกันในหมู่ บุกรุกทำ�ลายอีก ป่าก็จะกลับคืนสภาพได้...” ผู้ปฏิบัติงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ การปลูกป่าตามแนวพระราชดำ�รินี้เป็นการพัฒนา พระราชดำ�รัสเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ฟื้นฟูสภาพป่าโดยวัฏธรรมชาติ ดังมีพระราชดำ�รัส ต่อไปนี้ “...วัชพืชที่คลุมพ้ืนที่อยู่อย่าเอาออก พระราชดำ�รัสเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ เพรา ะจะเป็นสิ่งป้องกันการเซาะพังทลายของ ความว่า “...ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมนั้น หน้าดินเป็นอย่างดี และเก็บความชื้นไว้ได้ด้วย ความจริงไม่ต้องทำ�อะไร เพราะตอไม้ก็จะแตกกิ่ง ออกมาอีก ถึงแม้ต้นไม่สวยแต่ก็เป็นต้นไม้ใหญ่ได้ ถ้าจะปลูกแซมก็เพียงแต่เจาะวงกลม ตามพน้ื ทก่ี ม็ ตี น้ ไมเ้ ลก็ หรอื เมลด็ กจ็ ะงอกงามขน้ึ มาอกี ประมาณ ๕๐ เซนติเมตร แล้วก็ปลูกต้นไม้ อย่าให้ใครเข้าไปบุกรุกทำ�ลายอีก ป่าก็จะกลับคืน วัชพืชทอ่ี ยู่รอบๆ ก็จะเป็นบังไพร กันแดดให้ด้วย...” สภาพได้...” “...วัชพืชขนาดใหญ่และหนา เช่น ดงหญ้า “...วัชพืชที่คลุมพื้นที่อยู่อย่าเอาออก เพราะจะเป็น คงต้องกำ�จัดบ้างก่อนปลูกป่า แต่วัชพืชในป่าเต็งรัง สิ่งป้องกันการเซาะพังทลายของหน้าดินเป็นอย่างดี และเก็บความชื้นไว้ได้ด้วย ถ้าจะปลูกแซมก็เพียงแต่ ในป่าต้นนํ้าลำ�ธารไม่ต้องขจัด...” เจาะวงกลม ประมาณ ๕๐ เซนติเมตร แล้วก็ปลูกต้นไม้ วัชพืชที่อยู่รอบๆ ก็จะเป็นบังไพร กันแดดให้ด้วย...” “...ท้ิงป่าน้ันไว้ ๕ ปี ตรงน้ัน โดยไม่ต้องไปทำ�อะไรเลย “...วัชพืชขนาดใหญ่และหนา เช่น ดงหญ้า คงต้อง แต่ป่าเจริญเติบโตเป็นป่าสมบูรณ์ กำ�จัดบ้างก่อนปลูกป่า แต่วัชพืชในป่าเต็งรัง ในป่า ต้นนํ้าลำ�ธารไม่ต้องขจัด...” ไม่ต้องปลูกสักต้นเดียว คือว่าการปลูกป่าน้ัน พ ร ะ ร า ช ดำ � รั ส พ ร ะ ร า ช ท า น เ นื่ อ ง ใ น วั น เ ฉ ลิ ม สำ�คัญอยู่ท่ีปล่อยให้เขาข้ึนเอง...” พระชนมพรรษาฯ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ความว่า “...ทิ้งป่านั้นไว้ ๕ ปี ตรงนั้น โดยไม่ต้อง “...ถ้าพูดเร่ืองปลูกป่านี้จะยืดยาวมากไม่ส้ินสุด ไปทำ�อะไรเลย แต่ป่าเจริญเติบโตเป็นป่าสมบูรณ์ แต่จะต้องอธิ บายอ ย่างนี้ว่า ไม่ต้องปลูกสักต้นเดียว คือว่าการปลูกป่านั้น สำ�คัญ อยู่ที่ปล่อยให้เขาขึ้นเอง...” ถ้าได้เลือกท่ีท่ีเหมาะสม แล้วก็ท้ิงให้อยู่อย่างน้ัน โดยไม่ไปรังแกป่า ต้นไม้น้ีจะขึ้น...” พระราชดำ�รัสพระราชทานเนื่องใน วันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๗

โครงการ ๗๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ “…แต่ป่าไม้ท่ีจะปลูกน้ัน สมควรที่จะปลูกแบบป่า “...ถ้าพูดเรื่องปลูกป่านี้จะยืดยาวมาก ไม่สิ้นสุด แต่จะ สำ�หรับใช้ไม้หนึ่ง ป่าสําหรับใช้ผลหน่ึง ต้องอธิบายอย่างนี้ว่า ถ้าได้เลือกที่ที่เหมาะสมแล้วก็ ทิ้งให้อยู่อย่างนั้นโดยไม่ไปรังแกป่า ต้นไม้นี้จะขึ้น...” ป่าสําหรับใช้เป็นฟืนอย่างหน่ึง อันนี้แยกออกไป (๒) ปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง เป็นกว้างๆ ใหญ่ๆ การท่ีจะปลูกต้นไม้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สําหรับได้ประโยชน์ ดังนี้ บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราโชวาท ใ น วั น ปิ ด ก า ร สั ม ม น า ก า ร เ ก ษ ต ร ภ า ค เ ห นื อ ในคำ�วิเคราะห์ของกรมป่าไม้รู้สึกจะไม่ใช่ป่าไม้ ณ สำ�นักงานเกษตรภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสวนหรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๔ ความว่า “…แต่ป่าไม้ที่จะปลูกนั้น สมควรที่จะปลูกแบบป่า แต่ว่าในความหมายของการช่วยเพื่อต้นนํ้า สำ�หรับใช้ไม้หนึ่ง ป่าสำ�หรับใช้ผลหนึ่ง ป่าสำ�หรับ ลำ�ธารน้ัน ป่าไม้เช่นน้ีจะเป็นสวนผลไม้ก็ตาม ใช้เป็นฟืนอย่างหนึ่ง อันนี้แยกออกไปเป็นกว้างๆ ใหญ่ๆ การที่จะปลูกต้นไม้สำ�หรับได้ประโยชน์ ดังนี้ หรือเป็นสวนไม้ฟืนก็ตาม น่ันแหละ ในคำ�วิเคราะห์ของกรมป่าไม้รู้สึกจะไม่ใช่ป่าไม้ เป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง เพราะทําหน้าที่เป็นป่าคือ เป็นสวนหรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ แต่ว่า เป็นต้นไม้ และทําหน้าที่เป็นทรัพยากรในด้าน ในความหมายของการช่วยเพื่อต้นนํ้าลำ�ธารนั้น สําหรับเป็นผลท่ีมาเป็นประโยชน์แก่ประชาชนได…้ ” ป่าไม้เช่นนี้จะเป็นสวนผลไม้ก็ตาม หรือเป็นสวน ไม้ฟืนก็ตาม นั่นแหละเป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง เพราะ พระบรมราโชวาทในวันปิดการสัมมนาการเกษตร ทำ�หน้าที่เป็นป่าคือเป็นต้นไม้ และทำ�หน้าที่เป็น ภาคเหนือ ณ สำ�นักงานเกษตรภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ทรัพยากรในด้านสำ�หรับเป็นผลที่มาเป็นประโยชน์ แก่ประชาชนได้…” เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๔ “…เรื่องป่า ๓ อย่าง คือ ไม้ฟืน ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน ประชาชนมีความรู้ทั้งคนที่อยู่บนภูเขา ทั้งคนที่อยู่ใน “…เร่ืองป่า ๓ อย่าง คือ ไม้ฟืน ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน ที่ราบ เขามีความรู้ เขาทำ�งานมาตั้งหลายชั่วคนแล้ว ประชาชนมีความรู้ทั้งคนท่ีอยู่บนภูเขา เขาทำ�กันอย่างดี เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่า ตรงไหนควรจะทำ�กสิกรรม เขารู้ว่าที่ไหนควรจะเก็บ ท้ังคนที่อยู่ในที่ราบ เขามีความรู้ เขาทํางานมา ไม้ไว้ แต่ว่าที่เสียไปเพราะว่าพวกที่ไม่รู้เรื่อง ไม่ได้ทำ� ต้ังหลายชั่วคนแล้ว เขาทํากันอย่างดี มานานแล้ว ทิ้งมานานแล้ว ทิ้งกสิกรรมมานานแล้ว ก็ไม่รู้เรื่อง แล้วก็มาอยู่ในที่ที่มีความสะดวกก็เลย เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่าตรงไหนควร ทำ�ให้ลืมว่าชีวิตมันเป็นไปได้โดยที่ทำ�กสิกรรม จะทํากสิกรรม เขารู้ว่าท่ีไหนควรจะเก็บไม้ไว้ ที่ถูกต้อง…” ประโยชน์อย่างที่สี่ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญ คือ สามารถช่วยอนุรักษ์ดินและต้นนํ้าลำ�ธาร แต่ว่าท่ีเสียไปเพราะว่าพวกที่ไม่รู้เร่ือง ไม่ได้ทํามานานแล้ว ทิ้งมานานแล้ว ท้ิงกสิกรร มมานานแลว้ ก็ไม่รู้เร่ือง แล้วก็มาอยู่ ในท่ีท่ีมีความสะดวกก็เลยทำ�ให้ลืมว่าชีวิต มันเป็นไปได้โดยท่ีทํากสิกรรมท่ีถูกต้อง…”

๗๖ โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ (๓) ฝายชะลอความชุ่มชื้น ฝายชะลอความชุ่มชื้นก็เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่เกิดจาก ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ได้ทรง ๓ คิดค้นขึ้นเพื่อเป็นวิธีการในการสร้างความชุ่มชื้น ให้กับพื้นที่ป่าไม้ด้วยวิธีง่ายๆ ประหยัดและได้ผลดี แนวพระราชดําริ นั่นคือ การสร้างฝายเล็กๆ ให้สอดคล้องกับ ในด้านการวิจัยด้านป่าไม้ สภาพธรรมชาติ โดยใช้วัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่าย ในท้องถิ่น ฝายชะลอความชุ่มชื้น มี ๒ ประเภท คือ แนวพระราชดำ�ริในด้านการวิจัยด้านป่าไม้ ๑) ฝายต้นนํ้าลำ�ธารสำ�หรับกั้นกระแสนํ้าไว้ให้ แนวพระราชดำ�ริในด้านนี้ ประกอบด้วย การดำ�เนิน ไหลช้าลงและซึมลงใต้ผิวดินเพื่อสร้างความชุ่มชื้น การศึกษาวิจัยด้านป่าไม้ในรูปแบบที่แตกต่างกัน ในบริเวณนั้น และ ๒) ฝายดักตะกอนดินและทราย ตามสภาพท้องถิ่น การศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ มิให้ไหลลงสู่แหล่งนํ้าเบื้องล่าง ฝายทั้ง ๒ ประเภท ของป่าไม้กับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น ป่าไม้กับประมง สามารถสร้างความชุ่มชื้นและชะลอความชุ่มชื้น ในพื้นที่ป่าชายเลน การพัฒนาป่าไม้ด้วยระบบ อย่างเป็นระบบครบวงจร ซึ่งเป็นการลดปัญหา ชลประทานโดยการจ่ายนํ้าจากแหล่งนํ้าในช่วง การพังทลายของดินและความรุนแรงของกระแสนํ้า ฤดูแล้งเพื่อให้มีความชุ่มชื้นและทำ�ให้ป่าต้นนํ้า ในลำ�ห้วย ซึ่งส่งผลไปสู่การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้ ลำ�ธารมีความชุ่มชื้นตลอดทั้งปี การศึกษาเกี่ยวกับ การป้องกันไฟป่าโดยใช้ความชื้นหรือที่เรียกว่า ๒ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง “ป่าเปียก” เป็นวิธีที่ทรงคิดค้นขึ้นเพื่อป้องกัน แนวพระราชดําริ ไฟไหม้ป่าในระยะยาว ทรงแนะนำ�ให้ศูนย์ศึกษา ในด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ศึกษาทดลอง จนได้ผลสำ�เร็จเป็นที่น่าพอใจ วิธีการสร้างป่าเปียก แนวพระราชดำ�ริในด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า คือ ปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแนวคลองส่งนํ้า แนวพระราชดำ�ริในด้านนี้ ประกอบด้วย การสงวน สร้างระบบควบคุมไฟป่าด้วยการปลูกไม้โตเร็ว พันธุ์สัตว์ป่าและเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าบางชนิดที่หายาก คลุมแนวร่องนํ้าเพื่อให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ ทวีขึ้น และกำ�ลังจะสูญพันธุ์ และให้ดำ�เนินการเกี่ยวกับ และแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้างร่องนํ้า ซึ่งจะทำ�ให้ สวนสตั วเ์ ปดิ เพือ่ ใหเ้ ปน็ ทีป่ ระชาชนไดเ้ ขา้ ไปเทีย่ วชม พร้อมทั้งส่งเสริมให้ราษฎรทำ�การเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ๔ต้นไม้งอกงามและมีส่วนช่วยในการป้องกันไฟป่าได้ เป็นอาชีพ แนวพระราชดําริ ในด้านการปลูกป่าทดแทน แนวพระราชดำ�ริในด้านการปลูกป่าทดแทน แนวพระราชดำ�ริในด้านนี้ ประกอบด้วย การปลูกป่า ทดแทนพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถางและพื้นที่

โครงการ ๗๗ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ปา่ เสอ่ื มโทรม การปลกู ปา่ บนภเู ขาสงู เนอ่ื งจากสภาพปา่ อยู่แล้วไม่เป็นการเสี่ยงต่อภาวะการรอดตายและ บนที่เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งมีผลกระทบต่อลุ่มนํ้า เป็นที่รู้จักของราษฎรในท้องถิ่นอย่างดี พื้นที่ ตอนล่าง การปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มนํ้าและแหล่งนํ้า ที่เหมาะสมแก่การปลูกไม้ป่าดังกล่าวควรเป็น ให้มีนํ้าสะอาดบริโภค การปลูกป่าเพื่อให้ราษฎร พื้นที่ที่มีสภาพเสื่อมโทรมหรือเป็นบริเวณป่า มีรายได้เพิ่มขึ้นโดยใช้ราษฎรในท้องที่นั้นๆ และ เ พื่ อ ก า ร พึ่ ง พิ ง ข อ ง ร า ษ ฎ ร ที่ อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ ๆ เป็นการสร้างความเข้าใจให้ราษฎรเห็นความสำ�คัญ หมู่บ้าน วิธีการปลูกก็ให้ปลูกเสริมในลักษณะ ของการปลูกป่า และการปลูกป่าเสริมธรรมชาติ ธรรมชาติโดยไม่จับต้นไม้เข้าแถว ซึ่งการปลูกเสริม เป็นการเพิ่มที่อาศัยแก่สัตว์ป่า พระองค์พระราชทาน ตามลักษณะธรรมชาตินี้เมื่อต้นไม้โตขึ้นก็จะมี แนวทางการปลูกป่าว่า ควรพิจารณาดำ�เนินการปลูก สภาพเป็นป่าตามธรรมชาติโดยจะไม่มีลักษณะ ในพน้ื ทป่ี า่ ทถ่ี กู ลอบท�ำ ลายไวแ้ ลว้ กอ่ นและการปลกู ปา่ เป็นสวนป่าที่มีต้นไม้เรียงเป็นแถว จะทำ�ให้เกิด ตามแนวถนนในเขตโครงการที่ก่อสร้างไว้แล้ว ป่าไม้แบบผสมผสาน และสร้างความสมดุลแก่ หรอื ทจ่ี ะกอ่ สรา้ งตอ่ ไป ซง่ึ ตน้ ไมบ้ างสว่ นถกู ท�ำ ลายไป ธรรมชาติสามารถตอบสนองความต้องการของรัฐ เนื่องจากการก่อสร้างถนน ควรพิจารณาดำ�เนินการ และวิถีประชาในชุมชน พระองค์ได้มีพระราชดำ�รัส ปลูกต้นไม้ชนิดที่ใช้ประกอบในการทำ�อาหารได้ เช่น พระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ในวันที่ ๕ เมษายน ต้นแค ต้นขี้เหล็ก ต้นมะรุม ต้นสะเดา ต้นมะม่วง พ.ศ.๒๕๒๖ ความว่า “...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะ เป็นต้น โดยปลูกให้เป็นหย่อมๆ เพื่อความสวยงาม ปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อนแล้วคนเหล่านั้นก็จะ และใช้ประโยชน์ได้ด้วย พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วย ตนเอง...” อันเป็นปรัชญาและทฤษฎีการพัฒนาป่าไม้ ๕ ที่มีความยั่งยืนอย่างแท้จริง ปลูกป่าในใจคน ปลูกป่าในใจคน แนวพระราชดำ�ริในการแก้ปัญหาป่าเสื่อมโทรม ซงึ่ กอ่ ผลกระทบในดา้ นตา่ งๆ ไมเ่ ฉพาะดา้ นดนิ และนาํ้ เทา่ นน้ั แตเ่ กย่ี วโยงไปสปู่ ญั หาทางสงั คม เศรษฐกจิ ฯลฯ นั้น พระองค์มีพระราชดำ�ริในการแก้ไขปัญหาโดย ให้ดำ�เนินการในลักษณะบูรณาการงานพัฒนาที่ เกี่ยวเนื่องกัน ส�ำ หรับการปลูกต้นไม้นั้น ทรงเน้นให้ใช้ พันธุ์ไม้ที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นเพราะเป็นไม้ที่สามารถ เจริญเติบโตได้ดี มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๗๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ (พระราชดำ�รัสพระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ในวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๖) “...เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคน เสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ ”ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง... โ ค ร ง ก า ร ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ห้ ว ย ฮ่ อ ง ไ ค ร้ บ ริ เ ว ณ ต้ น นํ้ า ห้ ว ย ฮ่ อ ง ไ ค ร้ เ ห นื อ อ่ า ง เ ก็ บ นํ้ า อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ห้วยฮ่องไคร้ ๑ ที่เร่งรัดพัฒนาชนบทได้ก่อสร้าง ก่อกำ�เนิดศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ไว้แล้ว เพื่อใช้เป็นแหล่งนํ้าสำ�หรับการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พื้นที่ต้นนํ้าห้วยฮ่องไคร้ต่อไป...” และเมื่อวันที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทอดพระเนตรศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหพ้ ระเจา้ วรวงศเ์ ธอ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ได้พระราชทาน พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (พระอิสริยยศ พระราชดำ�ริเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางในการวางแผน ในขณะนั้น คือ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธ์ การดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ องคมนตรี) อธิบดีกรมชลประทาน และเลขาธิการ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ความว่า “...ทำ�การศึกษา คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ การพัฒนาป่าไม้พื้นที่ต้นนํ้าลำ�ธารให้ได้ผลอย่าง อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ สมบูรณ์เป็นหลัก เป็นต้นทางและปลายทาง เข้าเฝ้าฯ ณ กรมราชองครักษ์ สวนจิตรลดา ในการนี้ เป็นการศึกษาการประมงตามอ่างเก็บนํ้าต่างๆ ได้พระราชทานพระราชดำ�ริให้กรมชลประทาน ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อราษฎรอย่างแท้จริง พิจารณาวางโครงการและดำ�เนินการจัดหานํ้า ผสมกับการศึกษาด้านสหกรณ์ ด้านเกษตรกรรม ส นั บ ส นุ น ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ห้ ว ย ฮ่ อ ง ไ ค ร้ ด้านปศุสัตว์ (รวมโคนม) และด้านเกษตรอุตสาหกรรม อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอดอยสะเก็ด รวมทง้ั ดา้ นตลาดอกี ดว้ ย เพอ่ื ใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา จังหวัดเชียงใหม่ โดยเร่งด่วน มีใจความดังนี้ ห้วยฮ่องไคร้แห่งนี้ เป็นศูนย์ที่สมบูรณ์แบบก่อให้เกิด “...ควรพิจารณาวางโครงการและก่อสร้างอ่างเก็บนํ้า

โครงการ ๗๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ประโยชน์ต่อราษฎรที่จะเข้ามาศึกษากิจกรรมต่างๆ เมื่อร่องนํ้ามีความชุ่มชื้นขึ้น ลำ�ดับต่อไปก็ควรสร้าง ภายในศูนย์แล้วนำ�ไปใช้ปฏิบัติอย่างได้ผลต่อไป...” ฝายตน้ นา้ํ เปน็ ระยะๆเพอ่ื คอ่ ยๆกกั นา้ํ ไวแ้ ลว้ ตอ่ ทอ่ ไมไ้ ผ่ ส่งออกทั้งสองฝั่งร่องนํ้า อันเป็นการช่วยแผ่ขยาย การพฒั นาทรพั ยากรปา่ ไมต้ ามแนวพระราชด�ำ ริ ความชุ่มชื้นออกไปตลอดแนวร่องนํ้า...” พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทำ�ให้ ดังนั้น การพัฒนาป่าไม้ในศูนย์ศึกษาการพัฒนา โครงการนี้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ได้แก่ หว้ ยฮอ่ งไครอ้ นั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริจงึ ประกอบดว้ ย พระราชดำ�รัส เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ (๑) การพัฒนาป่าไม้ในเขตชลประทาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก การพัฒนาป่าไม้ด้วยนํ้าชลประทานโดยการปล่อย พระราชดำ�ริ ความว่า “...การฟื้นฟูและอนุรักษ์ นํ้าจากอ่างเก็บนํ้าลงสู่พื้นที่ป่า ซึ่งในพื้นที่ให้ทำ�คูนํ้า บริเวณต้นนํ้าซึ่งมีสภาพแห้งแล้งโดยเร่งด่วน ระบบก้างปลา พื้นที่ป่าและพื้นที่ตามริมลำ�ห้วย โดยทดลองใช้วิธีใหม่ เช่น การผันนํ้าจากอ่างเก็บนํ้า ธรรมชาติจะได้รับนํ้าซึมจากคูนํ้านี้ ในช่วงที่ขาดฝน ในระดับบนลงไปตามแนวร่องนํ้าต่างๆ เพื่อช่วยให้ และตลอดฤดูแล้งจะทำ�ให้ป่าไม้ในพื้นที่นี้ได้รับนํ้า ความชุ่มชื้นค่อยๆ แผ่ขยายออกไป สำ�หรับนํ้า ตลอดปี ซึ่งต้นไม้จะเขียวชอุ่มตลอดปี นอกจากนี้ ส่วนที่เหลือก็จะไหลลงอ่างเก็บนํ้าในระดับตํ่าลงไป พื้นที่ดินยังชุ่มชื้นตลอดทั้งปีอีกด้วย บริเวณนี้จะเป็น เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ทางด้านงานเกษตรกรรม แนวป้องกันไฟ (ป่าเปียก) ทั้งผืน ควรปลูกป่าทดแทนตามแนวร่องนํ้า ซึ่งมีความชุ่มชื้น (๒) การพัฒนาป่าไม้นอกเขตชลประทาน มากกว่าบริเวณสันเขาจึงจะทำ�ให้เห็นผลเร็ว การพัฒนาป่าไม้นอกเขตชลประทานโดยสร้าง เป็นการประหยัดกล้าไม้ และปลอดภัยจากไฟป่า ฝายเกบ็ นา้ํ ตามรอ่ งหว้ ยธรรมชาตพิ น้ื ทน่ี จ้ี ะไดร้ บั นา้ํ ซมึ

๘๐ โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ รูปแบบของการฟื้นฟูต้นนํ้าตามแนวพระราชดำ�ริ โดยมีแนวคิดรวบยอด “ต้นทางเป็นป่าไม้ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ปลายทางเป็นประมง ระหว่างทางเป็นเกษตรกรรม” ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จากฝายเก็บนํ้าที่สร้างขึ้น ฝายเก็บนํ้าเหล่านี้ควร ไว้เปรียบเทียบกัน...” และได้มีพระราชดำ�รัส ต่อท่อชักนํ้าทั้งสองฝั่ง (อาจจะใช้ท่อไม้ไผ่) เพื่อชักนํ้า เพิ่มเติม ความว่า “...ในเขตของศูนย์ฯ แห่งนี้ จากเหนือฝายกระจายนํ้าออกไปตามสันเนินเพื่อ ควรจะต้องมีการแสดงการศึกษาทดลองเปรียบเทียบ ให้นํ้าซึมลงไปในดินเพิ่มความชุ่มชื้นในดินสำ�หรับ ใหเ้ หน็ ชดั โดยแบง่ พน้ื ทท่ี ม่ี กี ารใชร้ ะบบนา้ํ ชลประทาน สนับสนุนการปลูกป่าไม้ตามร่องห้วยธรรมชาติและ ส่วนหนึ่ง พื้นที่ที่ได้รับเฉพาะนํ้าฝนโดยมีฝาย ชายเนินต่อไป ซึ่งต้นไม้ตามร่องห้วยและชายเนินนี้ ช่วยกักนํ้าฝนไว้ส่วนหนึ่งและพื้นที่ที่ปล่อยไว้ จะเติบโตเร็วคลุมร่องห้วยไว้ทำ�ให้พื้นดินชุ่มชื้น โดยธรรมชาติอีกส่วนหน่ึง ต้นไม้ต่างๆ ในศูนย์ฯ ตลอดเวลามีลักษณะเป็นแนวป้องกันไฟ (ป่าเปียก) จะเจริญเติบโตหรือหงิกงอก็ไม่เป็นไร เพราะนั่น เป็นแนวไปตามร่องห้วยต่างๆ เป็นการทดลองเปรียบเทียบให้เน้นข้อแตกต่าง (๓) การพัฒนาป่าไม้ด้วยฝายชะลอความชุ่มชื้น ซึ่งเป็นจุดประสงค์ที่สำ�คัญของศูนย์ฯ...” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำ�รัสเมื่อวันที่ ๑๕ ผลจากการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชดำ�ริที่ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๒ ความว่า “...ควรสร้างฝาย ดำ�เนินการมาเป็นระยะเวลาสามทศวรรษของ บริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์ฯ เพื่อช่วย ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก เก็บนํ้าไว้สำ�หรับชะลอความชุ่มชื้นลงไปสู่ด้านล่าง พระราชดำ�รินำ�มาซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของ เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์ป่าไม้ต้นนํ้าลำ�ธาร ทรัพยากรป่าไม้ การฟื้นฟูระบบนิเวศที่ปรากฏ โดยแบ่งออกเป็น ๒ บริเวณ คือ บริเวณที่อาศัย ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงประจักษ์ สังคมพืชป่าไม้ นํ้าชลประทานกับบริเวณที่ได้รับนํ้าฝนตามสภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพไดเ้ พม่ิ พนู ขน้ึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ธรรมชาติเพยี งอยา่ งเดยี ว เพอ่ื ทดสอบดคู วามแตกตา่ ง ทั้งชนิดพันธุ์ไม้ จำ�นวนหรือความหนาแน่นของ

สังคมพืช การกระจายของสังคมพืช ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ความเปลี่ยนแปลงทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ปรากฏ การเผยแพร่องค์ความรู้ไปสู่สถาบันการศึกษา ให้เห็นอย่างเด่นชัด จึงนับได้ว่าแนวทางการฟื้นฟู ในทุกระดับชั้นควรดำ�เนินการควบคู่กันไป เพื่อเป็น ทรัพยากรป่าไม้ตามแนวพระราชดำ�ริได้นำ�ไปสู่ การปลูกฝังให้เยาวชนได้ตระหนักถึงคุณค่าจาก ความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะนำ�ไปสู่การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างแพร่หลายต่อไป และสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน การอยู่ร่วมกัน คนอยู่กับป่าได้อย่างยั่งยืน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ หมบู่ า้ นรอบบรเิ วณศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไคร้ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้นอกจากจะส่งผลต่อ อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริได้รับการถ่ายทอด ความยั่งยืนในการใช้ประโยชน์ความหลากหลาย องค์ความรู้จากการศึกษา ทดลอง และวิจัย และ ทางชีวภาพแล้ว ยังนำ�ไปสู่ความสมดุลของนํ้า ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ในระบบนิเวศลุ่มนํ้า อันได้แก่ ปริมาณนํ้าในลำ�ธาร โ ด ย ไ ด้ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ป่ า ไ ม้ ที่เพิ่มขึ้น นํ้ามีคุณภาพดี และการไหลของนํ้ามี ตามแนวพระราชดำ�ริร่วมกับศูนย์ศึกษาการพัฒนา ความสมา่ํ เสมอซง่ึ จะชว่ ยลดความรนุ แรงในการไหลบา่ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รอิ ย่างต่อเนื่อง จนสามารถ ของนํ้าในฤดูฝน และลดปัญหาการขาดแคลนนํ้า เห็นผลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงฤดูแล้งได้อย่างยั่งยืน องค์ความรู้ดังกล่าวนี้ ปญั หาความแหง้ แลง้ ไดร้ บั การบรรเทาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม สามารถประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือให้หน่วยงาน อาทิระบบประปาภเู ขาท�ำ ใหช้ มุ ชนมนี า้ํ ใชอ้ ยา่ งเพยี งพอ ที่เกี่ยวข้องนำ�ไปใช้ในเชิงบูรณาการในการจัดการ ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้การดำ�รงชีวิต

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๘๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ แนวพระราชดำ�ริที่ผสมผสานสอดคล้อง กับหลักปฏิบัติในการจัดการลุ่มนํ้า และการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ให้อุดมสมบูรณ์ “ต้นทางเป็นป่าไม้ ปลายทางเป็นประมง ระหว่างทางเป็นเกษตรกรรม ” โดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จึงนับได้วา่ รูปแบบของการฟื้นฟูต้นนํ้าตามแนวพระราชดำ�ริ ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษา โดยมีแนวคิดรวบยอด “ต้นทางเป็นป่าไม้ ปลายทาง การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ เป็นประมง ระหว่างทางเป็นเกษตรกรรม” เป็นแนว ที่มุ่งเน้นไปสู่ความเป็นอยู่ของราษฎรในชนบทนั้น พระราชดำ�ริที่ผสมผสานสอดคล้องกับหลักปฏิบัติ ได้ส่งผลดีต่อการดำ�รงชีวิตของราษฎรในพื้นที่ ในการจัดการลุ่มนํ้า และการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ อย่างแท้จริง องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการศึกษา ให้อุดมสมบูรณ์ แนวพระราชดำ�รินำ�มาซึ่งความยั่งยืน ทดลอง วิจัย และสาธิตในศูนย์ศึกษาการพัฒนา ของการด�ำ รงชวี ิตของชมุ ชนทีอ่ าศยั อยู่ในพืน้ ทีต่ น้ นํา้ ห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ นำ�มา ผลการด�ำ เนนิ งาน จงึ ปรากฏใหเ้ หน็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ซึ่งประโยชน์นานาประการ เป็นแหล่งเรียนรู้สำ�หรับ สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นพน้ื ทต่ี า่ งๆได้ทง้ั การฟนื้ ฟู ประชาชนโดยทั่วไปที่สามารถเข้าไปศึกษาดูงาน ทรัพยากรป่าไม้โดยชุมชนมีส่วนร่วมโดยอาศัย ได้ตลอดเวลา เป็นแหล่งให้บริการองค์ความรู้ หลกั การดงั กลา่ ว และการเรยี นรแู้ นวทางการด�ำ รงชวี ติ ทุกแขนงภายในพื้นที่เดียวกันที่เรียกว่า การให้ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพ้ืนท่ี บริการองค์ความรู้ ณ จุดเดียว จึงมีคณะบุคคล ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจาก ต่างๆ ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเดินทาง พระราชดำ�ริ ผลสำ�เร็จดังกล่าวนับได้ว่าเป็นต้นแบบ ไปศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง แห่งความสำ�เร็จของการจัดการต้นนํ้าที่ยั่งยืน

โครงการ ๘๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรป่าไม้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนกับการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ ๑. พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ ให้อำ�นาจแก่อธิบดีกรมป่าไม้ พระราชบัญญัติ ในการอนุญาตเป็นหนังสือแก่กระทรวง ทบวง กรม หรือบุคคลอื่นใด ป่าสงวนแห่งชาติ ในการกระท�ำ การอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาตไิ ด้ ตามระเบยี บทอ่ี ธบิ ดี พ.ศ.๒๕๐๗ กำ�หนด หากการกระทำ�ดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการศึกษาหรือวิจัย ทางวิชาการ โดยพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวง ในการดำ�เนินการ ได้มีการขออนุญาตตามขั้นตอนของกฎหมายทุกประการ และกรมป่าไม้ ซึ่งเป็น หน่วยงานกำ�กับดูแลพื้นที่ได้อนุญาตให้โครงการเข้าดำ�เนินการได้ ๒. พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ.๒๕๐๗ เป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมกำ�กับ พระราชบัญญัติ การนำ�เข้าและส่งออกพันธุ์พืช การนำ�เข้าพันธุ์พืชเพื่อนำ�มาศึกษาวิจัย กักพืช ในการปรับปรุงพันธุ์พืช การส่งออกพันธุ์พืชที่ได้จากงานวิจัย มีการตรวจสอบ พ.ศ.๒๕๐๗ การน�ำ เขา้ –สง่ ออกพนั ธพ์ุ ชื และวสั ดกุ ารเกษตร เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด ของโรคและแมลงศัตรูพืชที่อาจติดมาทั้งส่งออกและนำ�เข้า ๓. พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ.๒๕๑๘ เป็นกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองเกษตรกร พระราชบัญญัติปุ๋ย ให้ได้ปุ๋ยตามเกณฑ์มาตรฐาน ควบคุมผู้ผลิตและผู้จำ�หน่ายปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ พ.ศ.๒๕๑๘ ที่ใช้ในการผลิตพืช ให้มีเกณฑ์มาตรฐานตามกระทรวงเกษตรฯ กำ�หนด ๔. พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ.๒๕๑๘ เป็นกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครอง พระราชบัญญัติ เกษตรกรให้ได้พืชพันธุ์ดีตรงตามพันธุ์ ควบคุมผู้ผลิตและผู้จำ�หน่ายพันธุ์พืช พันธุ์พืช พ.ศ.๒๕๑๘ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงเกษตรฯ กำ�หนด ๕. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ เป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุม พระราชบัญญัติวัตถุ วัตถุอันตราย (สารกำ�จัดศัตรูพืช) ที่เกษตรกรใช้ในการผลิตพืช ทั้งการนำ�เข้า อันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ การผลิต การจำ�หน่าย การมีไว้ในครอบครองเพื่อให้ปลอดภัยกับผู้ใช้ ผู้บริโภค และไม่เกิดความเสียหายกับสภาพแวดล้อม

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๘๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรป่าไม้ ๖. พระราชบัญญัติโอนอำ�นาจหน้าที่บางส่วนของสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา พระราชบัญญัติโอน การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มายังสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ อำ�นาจหน้าที่บางส่วน ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ ข องสำ�นักงาน คณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มายังสำ�นักงาน คณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ ๗. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นกฎหมายที่ใช้ในการ พระราชบัญญัติ คุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืชที่ได้จากวิจัยพัฒนา ปรับปรุงพันธุ์ การจดทะเบียน คุ้มครองพันธุ์พืช พันธุ์พืช การผลิตพืชพันธุ์ใหม่ๆ พ.ศ.๒๕๔๒ พระราชกำ�หนดการประมง พ.ศ.๒๕๕๘ โดยเฉพาะบทบัญญัติในหมวด ๘. การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าไว้เพื่อเป็นแหล่งผลผลิตของสัตว์นํ้าอีกทาง พระราชกำ�หนด เลอื กหนง่ึ ชาวประมงสามารถเพาะเลย้ี งสตั วน์ า้ํ ในบรเิ วณชายฝง่ั ทะเลของไทยได้ การประมง ซึ่งพระราชกำ�หนดการประมง พ.ศ.๒๕๕๘ มีสาระครอบคลุมทั้งการประมง พ.ศ.๒๕๕๘ ในน่านนํ้า การประมงนอกน่านนํ้า การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า และการมีส่วนร่วม ของชุมชน ช่วยให้การอนุรักษ์และบริหารทรัพยากรประมงมีความสอดคล้อง กับมาตรการสากลที่ทั่วโลกยอมรับ โดยประเด็นสำ�คัญที่กำ�หนดในกฎหมาย ฉบับนี้ ได้แก่ การบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์นํ้า มีการปรับปรุงระบบ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา้ํ ใหม่ โดยก�ำ หนดเขตท�ำ การประมงออกเปน็ ๓ เขต คือ (๑) เขตประมงนํ้าจืด คือ เขตแหล่งนํ้าที่อยู่บนแผ่นดินทั้งหมด (๒) เขต ประมงทะเลชายฝั่ง คือ เขตแหล่งทำ�การประมงที่อยู่ในทะเล ซึ่งมีระยะตั้งแต่ ชายฝั่งทะเลออกไป ๓ ไมล์ทะเล ซึ่งอาจขยายออกไปได้ไม่เกิน ๑๒ ไมล์ทะเล โดยอ�ำ นาจของรฐั มนตรี(๓)เขตประมงทะเลนอกชายฝง่ั คอื เขตแหลง่ ท�ำ การประมง

โครงการ ๘๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรป่าไม้ ที่มีระยะตั้งแต่พ้นระยะเขตประมงทะเลชายฝั่งออกไปจนสุดเขตน่านนํ้า ของประเทศไทย ซึ่งการกำ�หนดเขตการประมงในลักษณะนี้ เป็นการกำ�หนด ตามความสามารถในการจับสัตว์นํ้าของชาวประมง และชนิดของเครื่องมือ ทำ�การประมง เพื่อมิให้มีข้อขัดแย้งกันระหว่างกลุ่มชาวประมงซึ่งมีมากขึ้น ในปัจจุบัน เนื่องจากทรัพยากรสัตว์นํ้ามีจำ�นวนลดน้อยลง และเพื่อการบริหาร จัดการประมงที่มีประสิทธิภาพ กฎหมายจึงกำ�หนดบทบัญญัติในเรื่องการห้าม ครอบครองเครื่องมือประมงที่เป็นอันตรายต่อพันธุ์สัตว์นํ้าอย่างร้ายแรง อันเป็นการช่วยคุ้มครองรักษาและพัฒนาอาชีพทำ�การประมงของประชาชน ๙. พระราชกฤษฎกี าแบง่ สว่ นราชการ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงาน พระราชกฤษฎีกา โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ แบ่งส่วนราชการ สำ�นักงาน คณะกรรมการพิเศษ เพ่ือประสานงาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๓๘ ๑๐. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน กฎกระทรวงแบ่งส่วน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พ.ศ.๒๕๕๑ สำ�นักงานคณะกรรมการ ราชการสำ�นักงาน พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เป็นส่วนราชการ คณะกรรมการพิเศษ ไม่สังกัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม เพื่อประสานงาน อยู่ในสายการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีอำ�นาจหน้าที่ประการหนึ่ง โครงการอันเน่ือง มาจากพระราชดำ�ริ ในการสนับสนุนการดำ�เนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พ.ศ.๒๕๕๑ พระราชดำ�ริ กำ�กับ ดูแล ติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้เป็นไปตาม พระราชดำ�ริ และนโยบายของคณะกรรมการบริหาร โครงการศูนย์ศึกษา การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ซึ่งมีองคมนตรีเป็นประธานกรรมการ

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๘๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ๓๑ เรื่อง ป่าไม้ ๓๓ เรื่อง แหล่งนํ้า ๑๑ เรื่อง องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาของโครงการ และเรื่องอื่นๆ ๑๕ เรื่อง โดยองค์ความรู้ที่สำ�คัญ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก เช่น การเลี้ยงปลาระบบนํ้าไหลผ่าน โดยศึกษา พระราชด�ำ ริ ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๕๒ ถงึ ปี พ.ศ.๒๕๕๙ วางระเบียบบริหารเกี่ยวกับการจับปลาในอ่างเก็บนํ้า มีจำ�นวนทั้งสิ้น ๒๖๖ เรื่อง แบ่งเป็นการปรับปรุง รวมทั้งเทคนิคควบคุมการจับปลา เพื่อให้ราษฎร บำ�รุงดิน ๓๘ เรื่อง เกษตรกรรม (พืช) ๑๐๑ เรื่อง ได้รับประโยชน์จากปลาในอ่างเก็บนํ้าอย่างแท้จริง ปศุสัตว์ ๓๗ เรื่อง ประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า เพื่อที่จะมีการส่งเสริมการเลี้ยงปลา ทำ�ประมง องค์ความรู้ เรื่องแหล่งนํ้า องค์ความรู้ องค์ความรู้ เร่ืองป่าไม้ เรื่องปศุสัตว์ องค์ความรู้ เร่ืองปรับปรุง องค์ความรู้ บำ�รุงดิน เรื่องประมง และเพาะเล้ียง สัตว์นํ้า องค์ความรู้ องค์ความรู้ เรื่องเกษตรกรรม (พืช) เรื่องอื่นๆ

โครงการ ๘๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ โดยไม่เอาเปรียบกัน ไม่ทำ�ลายพันธุ์ปลาและทำ�ให้ การเผยแพร่องค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี เกิดการสูญพันธุ์ และยังสามารถใช้เป็นแนวทาง สู่สาธารณชน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ปฏิบัติสำ�หรับอ่างเก็บนํ้าแห่งอื่นๆ ต่อไป อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริมีศูนย์เรียนรู้ตามแนว พระราชดำ�ริฯ จำ�นวน ๓๕ แห่ง มีหมู่บ้านรอบ ๑ ๒➞ ศูนย์เรียนรู้ตามแนวพระราชดำ�ริ จำ�นวน ๑๘ แห่ง และ การเล้ียงปลา การเล้ียงปลา มปี ระชากรจ�ำ นวน๔,๐๐๓ครวั เรอื น(หรอื ๑๖,๐๑๕คน) ผู้ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม ใ น ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ในบ่อซีเมนต์ ในกระชัง ห้ ว ย ฮ่ อ ง ไ ค ร้ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดำ � ริ ใ น ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๙ มีจำ�นวนทั้งสิ้น ๔๕,๔๒๗ คน และมี ผู้ศึกษาดูงาน จำ�นวน ๒๘๖,๑๖๒ คน มีการจัดทำ� วธิ กี ารด�ำ เนนิ การ แบง่ เปน็ ๒ รปู แบบ คอื การเลย้ี งปลา หลักสูตรฝึกอบรม จำ�นวน ๓๑ หลักสูตร แบ่งเป็น หลักสูตรหลัก ๑๖ หลักสูตร หลักสูตรเสริม ในบ่อซีเมนต์ และการเลี้ยงปลาในกระชัง ซึ่งพบว่า ๗ หลักสูตร และหลักสูตรอื่นๆ ๓ หลักสูตร มีผู้เข้า รับการฝึกอบรมทั้งหมด จำ�นวน ๗,๘๑๗ ราย การเลี้ยงปลากดหลวงในบ่อซีเมนต์กลมระบบ ๑หลักสตู รทีไ่ ด้รบั ความสนใจมากตามลำ�ดับ มีดังนี้ นํ้าไหลผ่าน จากการเลี้ยงในระยะเวลา ๑๒๘ วัน อันดับ ๑ หลักสูตร ฝายต้นนํ้าลำ�ธารเพือ่ การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาทย่ี ั่งยนื ทำ�ให้ได้ปลากดหลวงขนาดนํ้าหนักเฉลี่ย ๕๒๒ กรัม ๒ ความยาวเฉลี่ย ๓๕.๗ เซนติเมตร อัตราการรอดตาย อันดับ ๒ หลักสูตร ร้อยละ ๙๖.๕ ปลากดหลวงมีอัตราการรอดตายสูง ๓การเลี้ยงปลาเพื่อยังชีพ สามารถเลี้ยงในบ่อซีเมนต์กลมระบบนํ้าไหลผ่าน อันดับ ๓ หลักสูตร ตลอดได้ ๔การเพาะเลี้ยงกบและขยายพันธุ์กบ ๗ รุ่น อันดับ ๔ หลักสูตร การเพาะเห็ดเศรษฐกิจในถุงพลาสติก แบบครบวงจร การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ การผลิต ประกอบด้วยขั้นตอนสำ�คัญ คือ การผลิต เชื้อบริสุทธิ์ (นํ้าเชื้อ) การผลิตหัวเชื้อของเมล็ดธัญพืช (หัวเชื้อ) การผลิตก้อนเชื้อและการเปิดดอก (ก้อนเชื้อ เห็ด) เกษตรกรสามารถนำ�ไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเลี้ยงกบบูลฟร็อก โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ลักษณะทั่วไปของกบบูลฟร็อกเป็นกบขนาดกลาง ถึงขนาดใหญ่ มีถิ่นกำ�เนิดในทวีปอเมริกาเหนือทาง ด้านตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกาจนถึง ตอนกลางของประเทศ ต่อมามีการนำ�ไปเลี้ยงแพร่ กระจายทางดา้ นตะวนั ตกของประเทศ และไดช้ อ่ื สามญั ว่า กบบูลฟร็อกหรือกบกระทิง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๘๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ ๕ ความชุ่มชื้นที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ต้นนํ้าจะเป็นประโยชน์ ต่อการฟื้นฟูระบบนิเวศลุ่มนํ้า และเป็นวิธีการอนุรักษ์ อันดับ ๕ หลักสูตร ดินและนํ้าวิธีการหนึ่ง การทำ�และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุน ผลประโยชน์ทางอ้อมของโครงการที่มีมูลค่าทาง การผลิตทางการเกษตร เศรษฐกิจ อาทิ การเลี้ยงกบบูลฟร็อก โดยวิธีเกษตร ธรรมชาติ สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้เป็น อันดับ ๑ หลักสูตรฝายต้นนํ้าลำ�ธารเพื่อการอนุรักษ์ อย่างดีและการผลิตเห็ดในโรงเรือนเปิดดอก ขนาด และพัฒนาที่ยั่งยืน จำ�นวน ๑,๙๔๔ ราย อันดับ ๒ ๔x๖ เมตร มีต้นทุนระหว่าง ๕,๐๐๐ - ๑๒,๐๐๐ บาท หลักสูตรการเลี้ยงปลาเพื่อยังชีพ จำ�นวน ๘๖๘ ราย แล้วแต่ชนิดของเห็ด เมื่อเก็บผลผลิตขายสู่ตลาด อนั ดบั ๓หลกั สตู รการเพาะเลีย้ งกบและขยายพนั ธุก์ บ สามารถทำ�กำ�ไรเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้ว อยู่ระหว่าง ๗ รุ่น จำ�นวน ๒๑๐ ราย อันดับ ๔ หลักสูตร ๔,๐๐๐ – ๘,๕๒๐ บาท ส่วนผลประโยชน์ทางอ้อม การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จำ�นวน ๕๖๗ ราย อันดับ ๕ ของโครงการที่มีต่อระบบนิเวศ การอนุรักษ์ระบบ หลักสูตรการทำ�และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุน นิเวศลุ่มนํ้าอย่างยั่งยืนด้วยการบูรณาการ ทั้งการใช้ การผลิตทางการเกษตร จำ�นวน ๓๙๙ ราย ประโยชน์และการรักษาป่าตามแนวพระราชดำ�ริ ปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง และการใช้ การอนุรักษ์นิเวศลุ่มนํ้าอย่างยั่งยืน โดยพัฒนาให้ ประโยชน์ป่าไม้แบบวนเกษตร ตลอดจนการสร้าง คนอยู่กับป่าได้อย่างเกื้อกูล เป็นรูปแบบการพัฒนา ฝายต้นนํ้าลำ�ธารช่วยให้สามารถฟื้นฟูระบบนิเวศ ที่เชื่อมโยงและสัมพันธ์กันบนพื้นฐานความอุดม ลุ่มนํ้าในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ สมบูรณ์ของนิเวศลุ่มนํ้าเป็นองค์รวม “ต้นทาง อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริให้ฟื้นคืนสภาพกลับไปสู่ เป็นป่าไม้ ปลายทางเป็นประมง ระหว่างทางเป็น สภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งความหลากหลาย เกษตรกรรมและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง” องค์ความรู้ ทางชีวภาพที่ให้บริการทางนิเวศและผลประโยชน์ ในการจัดการทรัพยากรลุ่มนํ้า อันเป็นแหล่งต้นนํ้า ตอบแทนเชิงเศรษฐกิจกับประชาชนที่อาศัยและ ล�ำ ธารตามแนวพระราชด�ำ รทิ ส่ี �ำ คญั คอื การพฒั นาปา่ ใช้ประโยชน์จากป่า ได้แก่ (๑) ปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง (๒) ปลูกป่าในใจคน และ (๓) การใช้ประโยชน์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ทรัพยากรป่าไม้แบบวนเกษตร ฝายต้นนํ้าลำ�ธาร อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ เพื่อการฟื้นฟูนิเวศลุ่มนํ้า เป็นสิ่งก่อสร้าง ขวางกั้นร่องนํ้าหรือห้วยขนาดเล็กบนพื้นที่ต้นนํ้า เป็นต้นแบบการพัฒนาอย่างย่ังยืนและสมดุล ลำ�ธารซึ่งมีสภาพเสื่อมโทรม เพื่อทำ�หน้าที่ช่วย ระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ชะลอการไหลหลากและความรุนแรงในการไหล ทรัพยากรธรรมชาติ ของนํ้าให้ช้าลง รวมทั้งช่วยกักตะกอนหน้าดินไม่ให้ สูญเสียไปทับถมบริเวณพื้นที่ลุ่มนํ้าตอนล่าง ทั้งนี้ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ในการอนุรักษ์นิเวศลุ่มน้ํา อย่างย่ังยืนตามแนวพระราชดำ�ริ เพ่ือการพัฒนาใหค้ นอยู่กับป่า ได้อย่างเก้ือกูล

โครงการ ๘๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไ ม้ “การพัฒนาป่า ๓ วิธี (๑) ปลูกป่าในใจคน (๒) ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก (๓) ปลูกป่า ๓ อย่าง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง ” นายวิริยะ ช่วยบำ�รุง อดีตข้าราชการกรมอุทยาน ที่เชื่อมโยงในลักษณะที่ต้นทางเป็นป่าไม้ ปลายทาง แห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ เป็นประมง ระหว่างทางเป็นเกษตรกรรม ศูนย์ศึกษา ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พระราชดำ�ริ ตั้งแต่เริ่มแรก กล่าวว่า ศูนย์ศึกษา ทำ�หน้าที่เสมือนพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ หรืออีกนัยหนึ่งเป็นสรุปผลการพัฒนาที่ประชาชน เป็นต้นแบบการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสมดุล จะเขา้ ไปเรยี นรแู้ ละน�ำ ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ซง่ึ พระราชอจั ฉรยิ ภาพ ระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากร และหลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร ธรรมชาติ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ในการอนุรักษ์นิเวศ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ รในการ“บรู ณาการ” ลมุ่ นา้ํ อยา่ งยง่ั ยนื ตามแนวพระราชด�ำ รเิ พอ่ื การพฒั นา เป็นปัจจัยที่ทำ�ให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ให้คนอยู่กับป่าได้อย่างเกื้อกูล เป็นรูปแบบการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริประสบผลสำ�เร็จ



โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรดิน เกิดข้ึนจากปัญหา ดินที่แห้งแล้ง ขาดความอุดมสมบูรณ์ ไม่สามารถผลิตพืชพันธุ์ ธัญญาหารได้ จึงมีการใช้กลวิธีทางธรรมชาติเพื่อแก้ไข เช่น การปลูกหญ้าแฝก เพ่ือป้องกันการพังทลายของหน้าดิน โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้านทรัพยากรดิน

หญาแฝก หญาพระราชา ส ร า ง ดิ น ใ ห มี ชี วิ ต ดินทราย : ตองเพิ่ม กันชนใหดิน ดินเปนหิน กรวดทราย และแหงแลง : ตองยึดดิน และชวยใหดินช้ืน ดินดาน ดินแข็ง และดินลูกรัง : ตองสรางของดี ซอนบนของเลว ดินถูกชะลาง : ชวยเหลือดวย กำแพงท่ีมีชีวิต ดินเปร้ียว หรือ ดินพรุ : ทำใหดินโกรธ โดยแกลงดิน

โครงการ ด้านทรัพยากรดิน การใช้หลักธรรมชาติช่วยสร้าง อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และรักษาสมดุลของระบบนิเวศและช่วย “สร้างดินให้มีชีวิต” หน่ึงในแนวพระราชดำ�ริ ในการแก้ไขปัญหาเร่ืองดิน คือ การใช้หญ้าแฝก หญ้าแฝกทำ�หน้าท่ีเป็นเสมือนกำ�แพงท่ีมีชีวิต ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ช่วยเก็บความชุ่มช้ืนไว้ในดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเน้นเร่ืองความสมดุลของธรรมชาติ ทรงเห็นว่าธรรมชาติ ท้ังดิน น้ํา ป่าไม้ และส่ิงมีชีวิตต่างพ่ึงพิงกันและเช่ือมโยงกัน ด้วยวิถีธรรมชาติอย่างเป็นวัฏจักร หากส่ิงใดเกิดผลกระทบ ก็ จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ เ น่ื อ ง อ ย่ า ง เ ป็ น ว ง จ ร แ ล ะ สุ ด ท้ า ย จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ม นุ ษ ย์ พ ร ะ อ ง ค์ จึ ง ท ร ง ศึ ก ษ า แ ล ะ มี แ น ว พ ร ะ ร า ช ด ำ� ริ ใ น ก า ร บ ำ� รุ ง รั ก ษ า แ ล ะ ฟ้ื น ฟู ดิ น ด้ ว ย ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ วิ ธี ท า ง ธรรมชาติ การใช้หลักธรรมชาติช่วยสร้างและรักษาสมดุล ของระบบนิเวศและช่วย “สร้างดินให้มีชีวิต” พระราชดําริ ใ น ก าร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เ ร่ื อ ง ดิ น มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น ต า ม ลั ก ษ ณะ ภู มิ ศ า สต ร์ แ ล ะ ส ภ า พ พื้ น ผิ ว ข อ ง ดิ น ใ น ทุ ก ส ภ า พ ภู มิ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ช นิ ด ข อ ง ดิ น ท ร ง ใ ช้ ก ล วิ ธี ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ เ ป็ น ห ลั ก ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ห นึ่ ง ใ น แ น ว พ ร ะ ร า ช ด ำ� ริ ในการแก้ไขปัญหาเรื่องดิน คือ การใช้หญ้าแฝก หญ้าแฝก ทํ า ห น้ า ที่ เ ป็ น เ ส มื อ น ก ำ� แ พ ง ที่ มี ชี วิ ต ป้ อ ง กั น ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น แ ล ะ ช่ ว ย เ ก็ บ ค ว า ม ชุ่ ม ชื้ น ไ ว้ ใ น ดิ น ข้ั น ต อ น ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น เ ป็ น วิ ธี ก า ร แ บ บ ง่ า ยๆ ป ร ะ ห ยั ด และที่สำ�คัญ คือ เกษตรกรสามารถทำ�ได้เอง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๙๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น “ ...ฝ่ า ย ก ร ม ก อ ง ต่ า ง ๆ ก็ บ อ ก ว่ า แ ถ ว นี้ ดิ น มั น ไ ม่ ดี ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ ไ ม่ ค ว ร จ ะ ท ำ� โ ค ร ง ก า ร ไ ม่ คุ้ ม แ ต่ ว่ า ก็ได้พูดว่า ดินไม่ดีนั่นเอง มีเยอะแยะในประเทศ ไ ท ย ถ้ า ห า ก ว่ า บ อ ก ว่ า ที่ นี่ ดิ น ไ ม่ ดี ไ ม่ ช่ ว ย กั น ท ำ� ล ง ท้ า ย ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ทั้ ง ป ร ะ เ ท ศ ก็ จ ะ ก ล า ย เ ป็ น ทะเลทรายหมด เจ้าหน้าท่ีก็เข้าใจ ก็เลยพยายาม ห า วิ ธี ที่ จ ะ ฟื้ น ฟู ดิ น ใ ห้ เ ป็ น ดิ น ที่ ใ ช้ ก า ร ไ ด้... ”พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (หนังสือสถาปนากรมพัฒนาที่ดิน ครบรอบปีที่ ๔๔ ด้วยพระบารมี ฟื้นฟูปฐพีไทย : กรมพัฒนาที่ดิน) โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รดิ า้ นทรพั ยากรดนิ และสภาพพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ โดยทรงใช้กลวิธี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทางธรรมชาติเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาเรื่องดิน บรมนาถบพิตร ทรงให้ความสำ�คัญกับ “ดิน” ด้วยทรง ของประเทศ และทรงทำ�เป็นต้นแบบผ่านโครงการ เห็นว่าดินเป็นปัจจัยพื้นฐานเช่นเดียวกับ “นํ้า” อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่มีอยู่ทั่วประเทศ ท ร ง ริ เ ริ่ ม โ ค ร ง ก า ร จั ด แ ล ะ พั ฒ น า ที่ ดิ น เ มื่ อ ปี ทั้งนี้ เพื่อนำ�ผลจากการแก้ไขปัญหาที่พิสูจน์แล้ว พ.ศ.๒๕๑๑ เพื่อพลิกผืนดินที่แห้งแล้ง และขาด ไปปรับใช้ในพื้นที่ที่มีปัญหาเฉกเช่นเดียวกันได้อย่าง ความอุดมสมบูรณ์ ให้สามารถผลิตพืชพันธุ์ เหมาะสมและง่ายยิ่งขึ้น ธัญญาหารได้ พร้อมกับพระราชทานพระราชดำ�ริ “…ฝ่ายกรม กองต่างๆ ก็บอกว่าแถวนี้ดินมันไม่ดี ให้ศึกษาทดลอง หาวิธีการต่างๆ เพื่อปรับปรุง ใช้ไม่ได้ ไม่ควรจะทำ�โครงการ ไม่คุ้ม แต่ว่าก็ได้พูดว่า บำ�รุงดิน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นวิธีการตามธรรมชาติ ดินไม่ดีนั่นเอง มีเยอะแยะในประเทศไทย ถ้าหากว่า ที่เป็นหนทางสร้างความสมดุลของสภาพแวดล้อม บอกว่าที่นี่ดินไม่ดี ไม่ช่วยกันทำ� ลงท้ายประเทศไทย ให้เกิดขึ้น ดังนั้น พระราชดำ�ริในการแก้ไขปัญหา ทั้งประเทศก็จะกลายเป็นทะเลทรายหมด เจ้าหน้าที่ เรื่องดิน จึงมีความแตกต่างกันตามลักษณะภูมิศาสตร์ ก็เข้าใจ ก็เลยพยายามหาวิธีที่จะฟื้นฟูดินให้เป็น

โครงการ ๙๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น ดินที่ใช้การได้ ....” พระราชดำ�รัส พระบาทสมเด็จ เป็นไปตามหลักวิชาการทางปฐพีศาสตร์ ถึงแม้จะ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มิได้ทรงเป็นนักปฐพี แต่ได้พระราชทานพระราชดำ�รัส (หนังสือสถาปนากรมพัฒนาที่ดิน ครบรอบปีที่ ๔๔ และให้คำ�จำ�กัดความที่เข้าใจได้ง่ายว่า ดินที่เหมาะสม ด้วยพระบารมี ฟื้นฟูปฐพีไทย : กรมพัฒนาที่ดิน) สำ�หรับการเกษตรกรรมต้องมีคุณสมบัติอย่างไร ในเรอ่ื งการพฒั นาดนิ ของประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ ทรงวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาของดินในแต่ละพื้นที่ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยเฉพาะในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่อง ได้พระราชทานพระราชดำ�ริไว้หลากหลายรูปแบบวิธี มาจากพระราชดำ�ริ ทั้ง ๖ แห่งทั่วประเทศ ในพระแบผานทภสามพเสด็รจุปพขร้อะคปวรามมินใทนรโมทหรสาภารูมพิพรละอรดาุชลทยาเดนชเรบ่ือรงม\"นดิานถ\"บพิตร ๑. ๒.แร่ธาตุ ที่เรียกว่า \"ปุ๋ย\" ส่วนประกอบสำ�คัญ คือ ➞ N (nitrogen) P (phosphorus) ในรูป nitrate (ไนเตรท) ในรูป phosphate (ฟอสเฟต) ➞๓. ➞ K (potassium) หรือโพแตสเซียม และแร่ธาตุอื่นๆ O H Mg Fe ได้แก่ O (oxygen), H (hydrogen) Mg (magnesium), Fe (iron) มีระดับเ ปร้ียว ด่างใกล้เป็นกลาง (pH7) มีความเค็มตำ่ � มีความชื้นพอเหมาะ (ไม่แห้งไม่แฉะ) มีความโปร่งพอเหมาะ (ไม่แข็ง)

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๙๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น “…เราสร้างของดี ซ้อนบนของเลวนั้นต้องสร้างผิวดินใหม่ขึ้นมา...” พระราชดำ�รัส เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จ. เ ชี ย ง ใ ห ม่ จ. ส ก ล น ค ร ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไคร้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาภพู าน อันเน่อื งมาจากพระราชดำ�ริ : อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ : หนิ กรวด แหง้ แลง้ ดินทราย ดินเคม็ ขาดนํา้ จ. เ พ ชร บุ รี จ. ฉ ะ เ ชิ ง เ ท ร า ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยทราย ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหนิ ซ้อน อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ : อนั เน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดนิ ดาน ดนิ ทรายมีแรธ่ าตุนอ้ ย จ. น ร า ธิ ว า ส จ. จั น ท บุ รี ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกลุ ทอง ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาอ่าวค้งุ กระเบน อนั เน่อื งมาจากพระราชดำ�ริ : อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ : ดินเค็ม ดินเปรีย้ วจัด ๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : ดินทรายมีแร่ธาตุน้อย ๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : หิน กรวด แห้งแล้ง ๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : ดินเปรี้ยวจัด ๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดินดาน ๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : ดินทราย ดินเค็ม ขาดนํ้า ๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ : ดินเค็ม ๗. โครงการเขาชะงุ้ม : ดินแข็ง ดิน-หินลูกรัง ๘. โครงการวัดมงคลชัยพัฒนา : ขาดนํ้า ๙. โครงการปากพนัง นํ้าเค็ม : ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด ๑๐. ที่ดิน ต.บ้านพริก อ.บ้านนา : ดินเปรี้ยว นํ้าท่วม นํ้าแล้ง ๑๑. โครงการหนองพลับ - กลัดหลวง : ดินลูกรัง ดินดาน ๑๒. โครงการหุบกะพง - ดอนขุนห้วย : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดินดาน ขาดนํ้า ๑๓. โครงการสหกรณ์สันกำ�แพง : ดินลูกรัง ขาดนํ้า

โครงการ ๙๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น ๑ แนวพระราชดำ�ริในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรดินในประเทศไทย ดิ น ท ร า ย ดินทราย: ต้องเพิ่มกันชนให้ดิน ดินทราย มีลักษณะโปร่งนํ้าและรากพืชผ่านไปได้ง่าย มีอาหารพืชอยู่ ๒ น้อยในฤดูฝน ต้นไม้ที่ปลูกจะงอกงามดีเพราะมีนํ้าบริบูรณ์แต่ฤดูแล้ง มีนํ้าไม่เพียงพอ ต้นไม้มักเหี่ยวแห้ง ต้นไม้ที่ปลูกใหม่มักจะตาย เพราะ ดิ นแหลิ นะ กแ รหว้ งดแ ลท้ งร า ย ร้อนและแห้งจัด วิธีแก้ไขก็ต้องเพิ่มความชุ่มชื้นและเพิ่มอินทรียวัตถุที่จะ ทำ�หน้าที่เสมือนกันชนให้แก่ดินมากขึ้น ๓ ดินเป็นหิน กรวด ทราย และแห้งแล้ง : ต้องยึดดินและช่วยให้ชื้น ดแิ นลดะาดนิ นดลิ นู กแรขั ง็ ง ดินเป็นหิน กรวด มีลักษณะเช่นเดียวกับดินทราย หน้าดินถูกชะล้าง จนเกลี้ยง เหลือแต่หินและกรวด ซึ่งพืชไม่สามารถจะเจริญเติบโตได้ ๔ ดินดาน ดินแข็ง และดินลูกรัง : ต้องสร้างของดีซ้อนบนของเลว ดิ น ถู ก ช ะ ล้ า ง ดนิ ดาน หรอื ดนิ แขง็ และดนิ ลกู รงั มลี กั ษณะเปน็ ดนิ เนอ้ื ละเอยี ด นา้ํ หนกั มาก นํ้าและอากาศผ่านเข้าออกได้ยาก ฤดูแล้งจะแห้งแข็งแตกระแหง รากไม้ ๕ แทรกเข้าไปได้ยาก จึงปลูกพืชได้ไม่ค่อยเจริญเติบโต หดิรนื อเดปิ นรี้ ยพวรุ ดินถูกชะล้าง : ช่วยเหลือด้วยกำ�แพงที่มีชีวิต ดินถูกชะล้าง คือ ดินที่อุดมสมบูรณ์ แต่ถูกกระแสนํ้าและลมพัดพาเอา หนา้ ดนิ ทมี่ อี นิ ทรยี วตั ถอุ นั เปน็ ประโยชนต์ อ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ไปหมด ดินเปรี้ยว หรือ ดินพรุ : ทำ�ให้ดินโกรธ โดยแกล้งดิน พรุ คือ ที่ลุ่มสนุ่น (สนุ่น คือ ซากผุพังของพืชพรรณทับถมอยู่มาก) ส่วนที่ ดินพรุตามระบบอนุกรมวิธาน ทางปฐพีวิทยา หมายถึง ดินที่มีอินทรียวัตถุ สะสมอยู่เป็นจำ�นวนมาก เป็นชั้นหนาอย่างน้อย ๕๐ เซนติเมตร และ นํ้าท่วมขังพื้นที่พรุ มีสภาพความเป็นกรดระหว่าง ๔.๕ -๖.๐ อินทรียวัตถุ ที่ทับถมกันเป็นเวลานาน จนแปรสภาพเป็นดินอินทรีย์นั้น มีสภาพเป็น อินทรีย์คาร์บอนที่มีความเป็นกรดกำ�มะถันสูง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๙๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ดิ น รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดิน เพื่อมนุษยธรรม (The Humanitarian Soil Scientist) องค์การสหประชาชาติ เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “...ให้ศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกัน บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดำ�ริในการแก้ไข การพงั ทลายของหนา้ ดนิ ในพน้ื ทศ่ี นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา ปัญหาหน้าดินถูกชะล้างโดยใช้ “หญ้าแฝก” อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริและพื้นที่อื่นๆ โดยมีหน่วยงานต่างๆ ที่เหมาะสม...” ไ ด้ ศึ ก ษ า ดำ � เ นิ น ง า น วันดินโลก (องั กฤษ : World Soil Day) ตรงกับ วั น ที่ ๕ ก ร ก ฎ า ค ม พัฒนาและรณรงค์การใช้ วนั ที่ ๕ ธันวาคมของทกุ ปี จากการประชุมขององค์การ พ.ศ.๒๕๓๔ณวงั ไกลกงั วล หญา้ แฝก อาทิ กรมพฒั นา อำ�เภอหัวหิน จังหวัด ที่ดิน กรมป่าไม้ โครงการ อาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ป ร ะ จ ว บ คี รี ขั น ธ์ พัฒนาดอยตุง (พื้นที่ คร้งั ที่ ๑๔๔ ระหว่างวันท่ี ๑๑-๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕ แนวพระราชด�ำ รสิ รปุ ได้ดงั น้ี ทรงงาน) อันเนื่องมาจาก ๑.ไดศ้ กึ ษาวธิ กี ารอนรุ กั ษ์ พระราชดำ�ริ องค์การ ณ สำ�นักงานใหญ่องคก์ ารเกษตรและอาหาร ห น้ า ดิ น ด้ ว ย วิ ธี ท า ง สวนพฤกษศาสตร์ และ แหง่ สหประชาชาติ กรงุ โรม ประเทศอิตาลี ทป่ี ระชมุ สำ�นักงานคณะกรรมการ ไดม้ ีมติสนับสนุนและรว่ มกนั ผลกั ดนั ใหม้ ีการจัดตงั้ \"วนั ดนิ โลก\" (World Soil Day) ตรงกับวนั ที่ ๕ ธันวาคม ธรรมชาติมานานแล้ว ของทุกปี ซง่ึ ตรงกบั วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พิเศษเพื่อประสานงาน ซึ่งในแต่ละพื้นที่มักจะ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริเปน็ ตน้ ด�ำ เนนิ งาน เปิดหน้าดินแล้วทำ�การเกษตร เช่น การยกร่อง สนองพระราชดำ�ริการพัฒนาและรณรงค์การใช้ พรวนดิน ซึ่งยังถือว่าเป็นวิธีการที่ผิดธรรมชาติ หญ้าแฝก ส่งผลให้การดำ�เนินงานก้าวหน้ามากข้ึน ซึ่งจะเกิดปัญหาในอนาคต จึงทรงแนะนำ�ให้ ตามลำ�ดับ แนวพระราชดำ�ริที่ได้พระราชทานไว้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก ในโอกาสต่างๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พระราชดำ�ริ ทำ�การเกษตรอย่างไม่ทำ�ลายธรรมชาติ เช่น การไม่ไถพรวนเปิดหน้าดิน เปลือยดิน เป็นต้น เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๔ และวันที่ ๒๙ โดยให้ทุกโครงการในศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยทราย มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๔ ณ วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รทิ �ำ เปน็ ตวั อยา่ งแลว้ หาทาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ความว่า แนะนำ�ให้ราษฎรทำ�ตามต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook