Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายยาเสพติดที่มีการแก้ไข(พ.ศ.2558-2560)

กฎหมายยาเสพติดที่มีการแก้ไข(พ.ศ.2558-2560)

Published by kittisakbulawong, 2020-12-05 12:38:51

Description: กฎหมายยาเสพติดที่มีการแก้ไข(พ.ศ.2558-2560)

Search

Read the Text Version

รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลา สดุ พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบญั ญัตวิ ัตถทุ ีอ่ อกฤทธิ์ตอ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ กองกฎหมาย สาํ นักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุตธิ รรม

คํานํา ดวยในปจจุบันรัฐบาลไดมีการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายท่ีเกี่ยวของกับยาเสพติด หลายฉบับ เพือ่ ใหก ฎหมายมคี วามเหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณย าเสพติดในปจจุบัน ทง้ั ทเ่ี ปน การตรากฎหมายใหม เชน พระราชบญั ญตั วิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ อ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ คําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๓๒/๒๕๕๙ เรื่อง มาตรการลักลอบนําสารเคมี วสั ดุ หรอื เครื่องมือบางประเภทไปใชผลติ ยาเสพตดิ และทเี่ ปนการปรบั ปรงุ แกไ ขกฎหมาย เชน การปรับปรุงบทสันนิษฐานและอัตราโทษที่ใชในคดียาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด ใหโทษ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ สาํ นกั งาน ป.ป.ส. ในฐานะหนวยงานกลางในการแกไ ขปญ หา ยาเสพตดิ มหี นา ทใ่ี นการสนบั สนนุ ขอ มลู ดา นกฎหมายใหก บั หนว ยงานตา งๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ไดตระหนักถึงความสําคัญในการสรางความรับรูและความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ ท่ไี ดม กี ารปรับปรุงแกไ ขใหม จงึ ไดจ ัดทาํ หนงั สอื รวมกฎหมายยาเสพติดฉบับนี้ขึ้น โดยรวบรวม กฎหมายและระเบียบที่ไดประกาศและมีผลใชบังคับใหมไวในหนังสือฉบับนี้ เพื่อใหเจาหนาที่ ทีเ่ กี่ยวขอ งมคี วามสะดวก สามารถนําไปใชเปน เครอ่ื งมือในการปฏิบตั ิงาน และเพอื่ ใหการบังคบั ใชก ฎหมายเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ บรรลุวัตถุประสงคของกฎหมาย สํานักงาน ป.ป.ส. หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือรวมกฎหมายยาเสพติดฉบับนี้ จะเปน ประโยชนต อ หนว ยงานและผเู กย่ี วขอ งทกุ ฝา ยทจ่ี ะนาํ ไปใชป ระโยชนเ ปน เครอ่ื งมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน เพื่อแกไขปญหายาเสพติดของประเทศใหบรรลุวัตถุประสงค ตรงตามเจตนารมณของกฎหมาย ตอไป กองกฎหมาย สาํ นกั งาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม

สารบัญ หนา ๑. พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๕ ๒. พระราชบญั ญัตวิ ตั ถทุ ีอ่ อกฤทธ์ิตอ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓๙ ๓. คําสั่งหวั หนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๓๒/๒๕๕๙ ๗๙ เรอ่ื ง มาตรการลกั ลอบนาํ สารเคมี วสั ดุ หรอื เครอ่ื งมอื บางประเภทไปใชผ ลติ ยเสพตดิ ๔. ประกาศกระทรวงยุติธรรม เรือ่ ง กําหนดช่อื สารเคมี พื้นทค่ี วบคุม และหนาทีข่ อง ๘๒ ผทู ําธรุ กรรม ภายใตม าตรการปองกนั การลกั ลอบนําสารเคมี วัสดุ หรือเครือ่ งมือบาง ประเภทไปใชผ ลิตยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕. ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ วา ดว ยการแตง ตง้ั การปฏบิ ตั ิ ๘๕ หนา ทแี่ ละการกํากับดูแลการปฏบิ ัติหนา ทีข่ องเจา พนกั งาน ป.ป.ส. พ.ศ. ๒๕๔๕ ๖. ระเบยี บสาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ วา ดว ยรายละเอยี ด ๙๓ และแบบหนงั สอื เพ่ือปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปราม ยาเสพตดิ วา ดว ยการตกั เตอื น การเปรยี บเทยี บปรบั และการปด ชว่ั คราวสถานประกอบ การหรอื การพกั ใชใ บอนญุ าตประกอบการ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๗. กฎกระทรวงกาํ หนดชอ่ื ยาเสพตดิ ตามกฎหมายวา ดว ยมาตรการในการปราบปราม ๙๖ ผูกระทาํ ความผิดเกยี่ วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๘. คําสั่งศูนยอ าํ นวยการปองกันและปราบปรามยาเสพตดิ แหงชาติ ท่ี ๑๔ / ๒๕๕๙ ๙๘ เรื่อง แนวทางการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ดวยวิธีการ ครอบครองหรอื ใหม ีการครอบครองยาเสพตดิ ภายใตก ารควบคมุ ๙. ประกาศสํานักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ เรอื่ ง กําหนด ๑๐๑ แบบหนังสือขออนุญาต หนังสืออนุญาต หนังสือขอแกไขหรือเพิ่มเติมระยะเวลา หรือรายการที่ไดรับอนุญาตและรายงานผลการครอบครองหรือใหมีการครอบครอง ยาเสพติด ภายใตการควบคมุ (ฉบับที่ ๒)



รวมกฎหมายยาเสพติด 5 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชบัญญัติ ยาเสพติดใหโ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒๑ ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วนั ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เปน ปท่ี ๓๔ ในรัชกาลปจ จุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา โดยทเ่ี ปนการสมควรปรบั ปรุงกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโ ทษ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบัญญตั ิข้ึนไวโดยคาํ แนะนําและยินยอม ของสภานิตบิ ญั ญัตแิ หงชาติ ทาํ หนาท่รี ฐั สภา ดังตอ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ ้เี รยี กวา “พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒” มาตรา๒พระราชบัญญตั นิ ี้ใหใ ชบังคับตั้งแตว ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เปนตนไป๒ ๓มาตรา ๓ ใหย กเลกิ (๑) พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ พระพุทธศกั ราช ๒๔๖๕ (๒) พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๒) พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๙ (๓) พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๐๒ ๑ แกไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ แกไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ แกไ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ แกไขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแกไขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ (๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๙๖ ตอนท่ี ๖๓ ลงวนั ท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๒๒ ๓ พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) พระราชบัญญตั ฝิ น พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๒ (๒) พระราชบัญญัติฝน พ.ศ. ๒๔๗๒ แกไขเพ่มิ เติม พทุ ธศักราช ๒๔๗๖ (๓) พระราชบญั ญัตฝิ น แกไ ขเพ่มิ เติม พุทธศกั ราช ๒๔๗๘ (๔) พระราชบญั ญตั ิฝน (ฉบับที่ ๔) พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๑ (๕) พระราชบญั ญัติฝน (ฉบบั ที่ ๕) พุทธศกั ราช ๒๔๘๕ (๖) พระราชบญั ญัติฝน (ฉบับที่ ๖) พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๔ (๗) พระราชบญั ญตั ฝิ น (ฉบบั ท่ี ๗) พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๒ (๘) พระราชบัญญตั ิฝน (ฉบับท่ี ๘) พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓

6 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๔) พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๔ (๕) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๑๘ (๖) พระราชบญั ญัติกันชา พุทธศักราช ๒๔๗๗ (๗) พระราชบัญญตั ิพืชกระทอ ม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๖ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ ๔ “ยาเสพติดใหโ ทษ” หมายความวา สารเคมีหรือวตั ถชุ นิดใดๆ ซงึ่ เมือ่ เสพเขาสูรา งกาย ไมว าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรอื ดวยประการใดๆ แลว ทําใหเกดิ ผลตอ รา งกายและ จิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความตองการเสพทั้งทางรางกายและจิตใจ อยางรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไป จะทรดุ โทรมลง กบั ใหร วมตลอดถงึ พชื หรอื สว นของพชื ทเ่ี ปน หรอื ใหผ ลผลติ เปน ยาเสพตดิ ใหโ ทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติดใหโทษและสารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย ทง้ั น้ี ตามทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา๕ แตไ มห มายความถงึ ยาสามญั ประจาํ บา นบางตาํ รบั ตามกฎหมายวาดว ยยาท่ีมียาเสพติดใหโ ทษผสมอยู “ผลิต” หมายความวา เพาะ ปลกู ทาํ ผสม ปรงุ แปรสภาพ เปลี่ยนรปู สังเคราะหทาง วทิ ยาศาสตร และใหห มายความรวมตลอดถงึ การแบง บรรจุ หรอื รวมบรรจดุ ว ย “จําหนา ย” หมายความวา ขาย จา ย แจก แลกเปลี่ยน ให “นําเขา ” หมายความวา นําหรอื สัง่ เขา มาในราชอาณาจกั ร “สงออก” หมายความวา นาํ หรอื สง ออกนอกราชอาณาจกั ร ๖ “เสพ” หมายความวา การรับยาเสพตดิ ใหโ ทษเขา สรู า งกายไมว า ดวยวิธีใด ๗ “ติดยาเสพติดใหโทษ” หมายความวา เสพเปนประจําติดตอกันและตกอยูในสภาพ ท่ีจาํ เปน ตอ งพึ่งยาเสพติดใหโ ทษนั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเชนวา นนั้ ไดตามหลกั วชิ าการ ๘ “หนวยการใช” หมายความวา เมด็ ซอง ขวด หรือหนวยอยางอ่นื ทที่ าํ ขึน้ โดยปกติ สาํ หรับการใชเสพหนึง่ คร้งั ๙ “การบาํ บดั รกั ษา” หมายความวา การบาํ บดั รกั ษาผตู ดิ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ซง่ึ รวมตลอด ถงึ การฟน ฟูสมรรถภาพและการตดิ ตามผลหลงั การบําบัดรักษาดวย ๔ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๔ และใหใ ชค วามตอไปนแี้ ทน ๕ ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๑๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรอื่ งระบุชอื่ และประเภทยาเสพติดใหโทษ ตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ แกไ ขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ท่ี ๑๕๐ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ฉบบั ท่ี ๑๕๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ฉบบั ท่ี ๑๕๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ฉบบั ท่ี ๑๗๐ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ฉบับที่ ๑๗๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕) และประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง ระบุชือ่ และประเภทยาเสพติดใหโทษ (ฉบับท่ี ๗) (ฉบบั ที่ ๘) (ฉบับที่ ๙) (ฉบบั ท่ี ๑๐) (ฉบบั ท่ี ๑๑) (ฉบบั ท่ี ๑๒) (ฉบบั ท่ี ๑๓) (ฉบบั ท่ี ๑๔) (ฉบบั ท่ี ๑๕) (ฉบบั ท่ี ๑๖) (ฉบบั ท่ี ๑๗) (ฉบบั ท่ี ๑๘) (ฉบบั ท่ี ๑๙)พ.ศ. ๒๕๕๙ (ฉบบั ท่ี ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๙ และ (ฉบบั ท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๙ ๖ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๓ และใหใชความตอ ไปน้แี ทน ๗ บทนยิ ามคําวา “ติดยาเสพตดิ ใหโทษ” เพม่ิ เติมโดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๔ ๘ บทนยิ ามคําวา “หนวยการใช” เพิม่ เติมโดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓ ๙ บทนิยามคาํ วา “การบาํ บัดรกั ษา” เพิ่มเตมิ โดย พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๔

รวมกฎหมายยาเสพติด 7 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๐“สถานพยาบาล” หมายความวา โรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานพักฟน หรอื สถานที่อื่นใด เฉพาะที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเปนสถานที่ทําการบําบัดรักษา ผูต ดิ ยาเสพติดใหโ ทษ ๑๑“เภสัชกร” หมายความวา ผปู ระกอบวชิ าชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพ เภสัชกรรม “ตํารับยา” หมายความวา สูตรของสิ่งปรุงไมว า จะมรี ูปลักษณะใดท่มี ยี าเสพติดใหโทษ รวมอยดู ว ย ทัง้ น้ี รวมทัง้ ยาเสพตดิ ใหโ ทษทมี่ ีลักษณะเปนวัตถสุ ําเรจ็ รูปทางเภสชั กรรมซึ่งพรอ ม ทจ่ี ะนาํ ไปใชแ กค นหรือสัตวไ ด ๑๒“ขอความ” หมายความรวมถึงการกระทําใหปรากฏดวยตัวอกั ษร ภาพ ภาพยนตร แสง เสยี ง เครอ่ื งหมายหรอื การกระทาํ อยา งใดๆ ทท่ี าํ ใหบ คุ คลทว่ั ไปสามารถเขา ใจความหมายได ๑๓“โฆษณา” หมายความรวมถึงกระทาํ การไมวา ดวยวธิ ใี ดๆ ใหประชาชนเหน็ หรือทราบ ขอความเพื่อประโยชนในทางการคา แตไมหมายความรวมถึงเอกสารทางวิชาการหรือตํารา ที่เกีย่ วกับการเรียนการสอน “ผรู ับอนญุ าต” หมายความวา ผไู ดรับใบอนญุ าตตามพระราชบญั ญตั ินี้ “ผูอนุญาต” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผูซึ่งไดรับ มอบหมายจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโทษตาม พระราชบัญญัตินี้ “พนกั งานเจา หนา ท”่ี หมายความวา ผซู ง่ึ รฐั มนตรแี ตง ตง้ั ใหป ฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา “รฐั มนตร”ี หมายความวา รัฐมนตรผี รู กั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้ไมใชบังคับแกสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข แตใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข รายงานการรบั การจา ยการเกบ็ รกั ษาและวธิ กี ารปฏบิ ตั อิ ยา งอน่ื ทเ่ี กย่ี วกบั การควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโทษใหค ณะกรรมการทราบทกุ หกเดือน แลวใหค ณะกรรมการเสนอพรอมกับใหความเหน็ ตอ รัฐมนตรีเพือ่ ส่งั การตอ ไป มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตรา ตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ ท้งั น้ีเพอ่ื ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ๑๐ บทนยิ ามคําวา “สถานพยาบาล” เพิ่มเติมโดย พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔ ๑๑ บทนิยามคําวา “เภสัชกร” เพิม่ เติมโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔ ๑๒ บทนยิ ามคําวา “ขอ ความ” เพิ่มเตมิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕ ๑๓ บทนิยามคาํ วา “โฆษณา” เพ่ิมเติมโดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕

8 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมอ่ื ไดประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใ ชบังคบั ได มาตรา ๗ ยาเสพตดิ ใหโทษแบงออกเปน ๕ ประเภท คือ (๑) ประเภท ๑ ยาเสพตดิ ใหโ ทษชนิดรายแรง เชน เฮโรอีน (Heroin) (๒) ประเภท ๒ ยาเสพตดิ ใหโ ทษทัว่ ไป เชน มอรฟน (Morphine) โคคาอนี (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝน ยา (Medicinal Opium)๑๔ ๑๕(๓) ประเภท ๓ ยาเสพติดใหโทษที่มีลักษณะเปนตํารับยา และมียาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๒ ผสมอยูดว ย ตามหลักเกณฑที่รัฐมนตรปี ระกาศกําหนดในราชกจิ จานุเบกษา (๔) ประเภท ๔ สารเคมที ี่ใชใ นการผลติ ยาเสพติดใหโ ทษประเภท ๑ หรอื ประเภท ๒ เชน อาเซตคิ แอนไฮไดรด (Acetic Anhydride) อาเซตลิ คลอไรด (Acetyl Chloride) (๕) ประเภท ๕ ยาเสพติดใหโ ทษทมี่ ิไดเขา อยใู นประเภท ๑ ถึงประเภท ๔ เชน กัญชา พืชกระทอม๑๖ ทงั้ นี้ ตามท่รี ัฐมนตรปี ระกาศระบุชื่อยาเสพติดใหโ ทษตามมาตรา ๘ (๑) เพ่ือประโยชนแหง มาตราน้ี คาํ วา ฝน ยา (Medicinal Opium) หมายถงึ ฝน ทไ่ี ดผา น กรรมวิธีปรงุ แตง โดยมคี วามมงุ หมายเพ่ือใชใ นทางยา มาตรา ๘ ใหรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มีอํานาจประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา (๑) ระบุชอ่ื ยาเสพติดใหโทษวายาเสพติดใหโทษชอ่ื ใดอยูใ นประเภทใดตามมาตรา ๗๑๗ (๒) เพิกถอนหรือเปล่ยี นแปลงช่อื หรอื ประเภทยาเสพตดิ ใหโทษตาม (๑) (๓) กําหนดมาตรฐานวาดวยปริมาณ สวนประกอบ คุณภาพ ความบริสุทธิ์ หรือ ลกั ษณะอืน่ ของยาเสพติดใหโทษ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเก็บรกั ษายาเสพตดิ ใหโ ทษ๑๘ (๔) กาํ หนดจาํ นวนและจาํ นวนเพม่ิ เตมิ ซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ ทษทจ่ี ะตอ งใชใ นทางการแพทย และทางวทิ ยาศาสตรท ว่ั ราชอาณาจกั รประจาํ ป ๑๙(๕) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการกําหนดปริมาณยาเสพติดใหโทษที่ผูอนุญาต จะอนุญาตใหผลติ นําเขา จาํ หนา ย หรือมีไวใ นครอบครองได ๑๔ ฝนซึ่งเปน ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ หมายถงึ ฝนดิบ ฝน สุก หรือมลู ฝน (ดบู ญั ชที า ยประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี ๑๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๙) ยาเสพติดใหโทษประเภท ๒ ลาํ ดบั ที่ ๑๐๐) ๑๕ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๕ และใหใ ชค วามตอไปน้ีแทน ๑๖ พืชฝน และพืชเหด็ ข้ีควาย เปนยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท ๕ (ดูประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับที่ ๑๓๕) (พ.ศ. ๒๕๓๙) ยาเสพตดิ ใหโทษประเภท ๕ ลําดบั ท่ี ๓ และลําดับที่ ๔) ๑๗ ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๑๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและประเภทยาเสพติดใหโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ๑๘ ดูประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับท่ี ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๒๙) เรือ่ ง กาํ หนดมาตรฐานวา ดว ยปริมาณสวนประกอบคณุ ภาพ ความบรสิ ุทธ์ิ หรอื ลกั ษณะ อนื่ ของยาเสพติดใหโ ทษ ตลอดจนการบรรจุและการเกบ็ รกั ษายาเสพตดิ ใหโ ทษ และ ฉบบั ที่ ๙๓ (พ.ศ. ๒๕๓๑) ๑๙ ขอความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๖ และใหใ ชค วามตอ ไปนีแ้ ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 9 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๐(๖) กาํ หนดหลกั เกณฑเ กย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๗ (๓) (๗) จดั ตง้ั สถานพยาบาล (๘) กาํ หนดระเบยี บขอ บงั คบั เพอ่ื ควบคมุ การบาํ บดั รกั ษาและระเบยี บวนิ ยั สาํ หรบั สถานพยาบาล หมวด ๑ คณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโทษ ___________________ มาตรา ๙ ใหม คี ณะกรรมการคณะหนง่ึ เรยี กวา “คณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ” ประกอบดว ย ปลดั กระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดกี รมการแพทยหรอื ผูแ ทน อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทยหรือผูแทน อธิบดีกรมอนามัยหรือผูแทน อธิบดีกรมตํารวจ หรือผแู ทน อธิบดกี รมอัยการหรอื ผแู ทน อธบิ ดีกรมศุลกากรหรือผูแทน เลขาธกิ ารคณะกรรมการ กฤษฎีกาหรือผูแทน เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดหรือผูแทน ผแู ทนกระทรวงกลาโหม และผทู รงคุณวฒุ ิอนื่ อีกไมเ กนิ เจ็ดคน ซง่ึ รฐั มนตรีแตง ตง้ั เปน กรรมการ และใหเ ลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยาเปน กรรมการและเลขานกุ าร และหวั หนา กองควบคมุ วัตถุเสพติด สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาเปนกรรมการและผชู ว ยเลขานกุ าร มาตรา ๑๐ ใหก รรมการผูท รงคณุ วฒุ ิอยูในตําแหนง คราวละสองป กรรมการซงึ่ พนจากตําแหนงอาจไดรับการแตง ต้งั อกี ได มาตรา ๑๑ กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนง กอ นวาระ เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรใี หออก (๔) เปน บุคคลลมละลาย (๕) เปน คนไรค วามสามารถหรือคนเสมอื นไรความสามารถ (๖) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิด ทไ่ี ดกระทําโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ หรอื (๗) ถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ หรือใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ๒๐ ขอความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๖ และใหใชค วามตอไปน้แี ทน

10 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ เมอ่ื กรรมการผทู รงคณุ วฒุ พิ น จากตาํ แหนง กอ นวาระ รฐั มนตรอี าจแตง ตง้ั ผอู น่ื เปน กรรมการ แทนได ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงต้ังไวแลวยังมีวาระอยูใน ตําแหนงไมวาจะเปนการแตงตั้งเพิ่มขึ้นหรือแตงตั้งซอม ใหผูไดรับแตงตั้งนั้นอยูในตําแหนง เทา กับวาระทเ่ี หลืออยูของกรรมการซง่ึ แตงตั้งไวแ ลว มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา กึง่ หนงึ่ ของจํานวนกรรมการทง้ั หมด จงึ เปนองคป ระชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรอื ไมอาจปฏบิ ตั ิหนา ท่ีได ใหกรรมการที่มาประชมุ เลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในทป่ี ระชมุ การวินิจฉัยชข้ี าดของที่ประชมุ ใหถือเสยี งขา งมาก กรรมการคนหนึง่ ใหม ีเสียงหนึง่ ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสยี งเทากนั ใหประธานใน ท่ปี ระชุมออกเสียงเพ่มิ ขึ้นอีกเสียงหนง่ึ เปนเสยี งชี้ขาด มาตรา ๑๓ ใหค ณะกรรมการมีหนาที่ (๑) ใหค วามเห็นตอรัฐมนตรตี ามมาตรา ๕ (๒) ใหค วามเหน็ ชอบตอรฐั มนตรีเพอ่ื ปฏิบตั กิ ารตามมาตรา ๘ (๓) ใหค วามเหน็ ชอบตอผูอนุญาตในการสง่ั พักใชใบอนญุ าตหรือเพกิ ถอนใบอนุญาต (๔) ใหค วามเหน็ ชอบตอ รฐั มนตรใี นการกาํ หนดตาํ แหนง และระดบั ของพนกั งานเจา หนา ท่ี เพ่อื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้ (๕) ใหความเห็นตอรัฐมนตรี เพื่อวางระเบียบปฏิบัติราชการในการประสานงานกับ สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ และกระทรวง ทบวง กรมอื่น (๖) ใหค วามเห็นชอบตอรัฐมนตรีในการอนุญาตใหผลิต จาํ หนาย นาํ เขา สงออก หรือมี ไวในครอบครองซ่ึงยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ และประเภท ๕ ๒๑(๗) ปฏิบัติการอื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํานาจและ หนา ท่ีของคณะกรรมการ หรอื ตามท่รี ัฐมนตรมี อบหมาย มาตรา ๑๔ คณะกรรมการอาจตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่ง ตามท่คี ณะกรรมการจะมอบหมายกไ็ ด การประชุมของคณะอนุกรรมการ ใหน ํามาตรา ๑๒ มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม ๒๑ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๗ และใหใ ชความตอ ไปนแ้ี ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 11 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๒ การขออนญุ าตและการออกใบอนญุ าตเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ ใหโทษ ___________________ ๒๒มาตรา ๑๕ หามมิใหผใู ดผลิต นาํ เขา สง ออก จําหนา ยหรอื มไี วในครอบครอง ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ เวน แตร ฐั มนตรไี ดอ นญุ าตเฉพาะในกรณจี าํ เปน เพอ่ื ประโยชนข อง ทางราชการ การขออนญุ าตและการอนญุ าต ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วธิ ีการ และเงอื่ นไขท่กี าํ หนด ในกฎกระทรวง ๒๓การผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครองซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ ตามปริมาณดังตอไปนี้ ใหสันนิษฐานวาเปนการผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง เพื่อจําหนาย (๑) เด็กซโตรไลเซอรไยด หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณคํานวณเปนสารบริสุทธิ์ตั้งแต ศูนยจ ุดเจ็ดหามิลลิกรมั ขึ้นไป หรือมียาเสพตดิ ท่ีมีสารดังกลาวผสมอยจู าํ นวนสิบหา หนวยการใช ขึน้ ไปหรอื มนี ้ําหนกั สทุ ธิตั้งแตส ามรอ ยมลิ ลิกรัมข้ึนไป (๒) แอมเฟตามีนหรืออนุพันธแอมเฟตามีน มีปริมาณคํานวณเปนสารบริสุทธิ์ตั้งแต สามรอ ยเจด็ สบิ หา มลิ ลกิ รมั ขน้ึ ไป หรอื มยี าเสพตดิ ทม่ี สี ารดงั กลา วผสมอยจู าํ นวนสบิ หา หนว ยการใช ข้นึ ไปหรือมนี ้ําหนักสุทธติ ง้ั แตหนง่ึ จดุ หากรมั ข้ึนไป (๓) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ นอกจาก (๑) และ (๒) มีปริมาณคํานวณเปน สารบริสทุ ธติ์ ั้งแตส ามกรมั ขึ้นไป ๒๔มาตรา ๑๖ หามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสง ออกซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ เวน แตไดร บั ใบอนญุ าตจากผอู นญุ าตเฉพาะในกรณีจาํ เปน เพ่ือประโยชนข องทางราชการ การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงอ่ื นไขท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง การพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหผูขออนุญาตเปนผูรับผิดชอบชําระคาใชจาย ในการตรวจวเิ คราะห หรอื ประเมนิ เอกสารทางวชิ าการตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทค่ี ณะกรรมการ กําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๑๗ หามมิใหผูใดจําหนาย หรือมีไวในครอบครองซึ่งยาเสพติดใหโทษใน ประเภท ๒ เวนแตไ ดรบั ใบอนุญาต ๒๕การมียาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ ไวในครอบครองคํานวณเปนสารบริสุทธิ์ได ตง้ั แตหนึ่งรอ ยกรมั ข้นึ ไป ใหส นั นิษฐานวา มีไวใ นครอบครองเพอ่ื จาํ หนาย ๒๒ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘ และใหใชความตอ ไปนแ้ี ทน ๒๓ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓ และใหใชค วามตอไปนี้แทน ๒๔ ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘ และใหใชค วามตอ ไปน้แี ทน ๒๕ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ และใหใ ชค วามตอ ไปนแ้ี ทน

12 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงอ่ื นไขทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๘ บทบญั ญตั มิ าตรา ๑๗ ไมใชบังคับแก (๑) การมียาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ ไวในครอบครองไมเกินจํานวนที่จําเปน สําหรับใชรักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือ ผูประกอบโรคศลิ ปะแผนปจจบุ นั ชั้นหนึง่ ในสาขาทันตกรรมซ่ึงเปนผูใหการรักษา (๒) การมียาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ ไวในครอบครองไมเกินจํานวนที่จําเปน สาํ หรบั ใชป ระจําในการปฐมพยาบาล หรอื กรณเี กิดเหตฉุ ุกเฉินในเรือ เคร่ืองบินหรอื ยานพาหนะ อื่นใดที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศที่ไมไดจดทะเบียนในราชอาณาจักร แตถา ยานพาหนะดังกลา วจดทะเบยี นในราชอาณาจกั ร ใหย่ืนคําขอรบั ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๙ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหจําหนาย หรือมีไวในครอบครองซึ่ง ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ไดเ ม่ือปรากฏวา ผูข ออนญุ าตเปน (๑) กระทรวง ทบวง กรม องคการบริหารสวนทองถิ่น รวมทั้งกรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย หรือองคการเภสชั กรรม (๒) ผปู ระกอบการขนสง สาธารณะระหวา งประเทศ หรือ ๒๖(๓) ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผูประกอบวิชาชีพ ทันตกรรมหรอื ผูประกอบวชิ าชีพการสตั วแพทยชน้ั หนงึ่ และ (ก) มีถ่ินท่อี ยใู นประเทศไทย (ข)ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดวากระทําความผิดตามกฎหมายวาดวยยาเสพติด ใหโทษกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท กฎหมายวาดวยการปองกันการใช สารระเหย กฎหมายวาดวยมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และกฎหมายวา ดว ยยา (ค) ไมอยูระหวา งถูกสงั่ พักใชห รือเพิกถอนใบอนญุ าตเปนผูประกอบวชิ าชีพเวชกรรม ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม ใบอนญุ าตเปนผปู ระกอบวชิ าชีพการสตั วแพทย หรอื ใบอนญุ าตตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (ง) ไมเ ปนบคุ คลวกิ ลจริตหรือจิตฟนเฟอ นไมสมประกอบ (จ) ไมเปน คนไรความสามารถหรือคนเสมอื นไรค วามสามารถ ในการพจิ ารณาอนญุ าตแกบ คุ คลตามวรรคหนึง่ ผอู นุญาตจะตอ งคํานงึ ถึงความจาํ เปน ในการมีไวเพื่อจําหนายหรือมีไวในครอบครอง ในการนี้ผูอนุญาตจะกําหนดเงื่อนไขตามที่เห็น สมควรไวด วยก็ได ๒๗มาตรา ๒๐ หามมิใหผใู ดผลิต นําเขา สง ออก จําหนา ยหรือมไี วใ นครอบครองเพอื่ จาํ หนา ยซึ่งยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ เวนแตไ ดร บั ใบอนุญาตจากผูอ นุญาต ๒๖ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน ๒๗ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ และใหใชความตอไปนแี้ ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 13 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ความในวรรคหน่ึงไมใชบงั คับแก (๑) การจาํ หนา ยหรอื มีไวในครอบครองเพือ่ จําหนา ยซึง่ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมจําหนายหรือมีไวในครอบครอง เพอื่ จําหนาย เฉพาะผปู ว ยซ่ึงตนใหก ารรกั ษา (๒) การจําหนา ยหรือมีไวในครอบครองเพ่อื จาํ หนา ยซ่ึงยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่ผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทยชั้นหน่ึงจําหนายหรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนายเฉพาะ สตั วท ต่ี นบาํ บดั ทัง้ น้ี ผูประกอบวชิ าชีพเวชกรรม ผูประกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม หรือผปู ระกอบวิชาชพี การสัตวแพทยชัน้ หนงึ่ ตอ งเปนผูม คี ุณสมบัตติ ามทกี่ าํ หนดในมาตรา ๑๙ (๓) การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงือ่ นไขทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง การมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ เกินจํานวนท่รี ฐั มนตรีประกาศ กาํ หนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ใหสนั นษิ ฐานวามีไวในครอบครองเพือ่ จาํ หนาย มาตรา ๒๑ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหผลิต จําหนาย นําเขา หรือสงออกซึ่ง ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ ได เม่ือปรากฏวาผูขออนุญาต (๑) ไดร ับอนุญาตใหผลิต ขาย หรือนาํ หรือส่ังเขา มาในราชอาณาจักรซ่ึงยาแผนปจ จุบัน ตามกฎหมายวา ดว ยยา และ (๒) มีเภสัชกรอยปู ระจาํ ตลอดเวลาทาํ การ ใหผูรับอนุญาตผลิต หรือนําเขาซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ จําหนายยาเสพติด ใหโ ทษดงั กลาวท่ีตนผลติ หรอื นําเขาไดโดยไมต องรบั ใบอนญุ าตจาํ หนา ยอกี มาตรา ๒๒ ในการนาํ เขา หรือสงออกซึง่ ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ ของผูท่ไี ดร บั ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ แตละครั้งตองไดรับใบอนุญาตทุกครั้งที่นําเขาหรือสงออกจาก ผอู นญุ าตดว ย การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงอื่ นไขทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๓ ใบอนญุ าตตามมาตรา ๑๗ และมาตรา ๒๐ ใหใ ชไ ดจ นถงึ วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ของปท อ่ี อกใบอนญุ าต ถา ผรู บั ใบอนญุ าตประสงคข อตอ อายใุ บอนญุ าต ใหย น่ื คาํ ขอกอ นใบอนญุ าต สิ้นอายุ เมื่อไดยื่นคําขอแลวจะประกอบกิจการตอไปก็ไดจนกวาผูอนุญาตจะสั่งไมอนุญาตให ตอ อายใุ บอนญุ าตนั้น ถาผูรับอนุญาตไมขอตออายุใบอนุญาตหรือผูอนุญาตส่ังไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ตามความในวรรคหนึ่ง บรรดายาเสพติดใหโทษที่ผูรับอนุญาตหรือผูขอตอใบอนุญาตมีอยูใน ครอบครองใหตกเปนของกระทรวงสาธารณสุข โดยกระทรวงสาธารณสุขใหคาตอบแทนตามที่ เห็นสมควร

14 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ การขอตออายุใบอนุญาตและการอนญุ าต ใหเปน ไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไข ทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๒ ใหค มุ กันถงึ ลกู จา งหรอื ตัวแทน ของผรู ับอนญุ าตดวย ใหส นั นษิ ฐานไวก อ นวา การกระทําของลกู จา งหรือตวั แทนของผูรับอนญุ าตทีไ่ ดก ระทํา ไปตามหนาทที่ ไี่ ดรับมอบหมาย เปน การกระทําของผูรบั อนุญาตดว ย มาตรา ๒๕ ผูรับอนุญาตตามพระราชบญั ญตั ินี้ใหไ ดร ับการยกเวนไมตองปฏิบัตติ าม กฎหมายวา ดวยยาและกฎหมายวา ดวยวตั ถุทีอ่ อกฤทธ์ิตอ จิตและประสาทอีก มาตรา ๒๖ หามมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครองซึ่ง ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๔ หรอื ในประเภท ๕ เวน แตร ฐั มนตรีจะไดอนญุ าตโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการเปนราย ๆ ไป ๒๘การมยี าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ หรอื ในประเภท ๕ ไวในครอบครองมีปรมิ าณ ตงั้ แตส บิ กโิ ลกรมั ข้นึ ไป ใหสันนษิ ฐานวามีไวใ นครอบครองเพ่อื จําหนา ย การขออนญุ าตใหเปนไปตามหลักเกณฑ วธิ ีการ และเง่ือนไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ๒๙มาตรา ๒๖/๑ ปริมาณยาเสพติดใหโทษที่จะอนุญาตไดตามหมวดนี้ใหเปนไปตาม มาตรา ๘ (๕) หมวด ๓ หนา ที่ของผรู บั อนุญาต ___________________ มาตรา ๒๗ หา มมใิ หผ รู บั อนญุ าตตามมาตรา ๑๗ จาํ หนา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ นอกสถานท่ีที่ระบไุ วใ นใบอนุญาต มาตรา ๒๘ ใหผ รู ับอนุญาตตามมาตรา ๑๗ ปฏบิ ัตดิ ังตอ ไปน้ี (๑) จัดเก็บรักษายาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ ไวเปนสัดสวนในที่เก็บซึ่งมั่นคง แข็งแรงและมกี ุญแจใสไ ว หรอื เคร่อื งปองกันอยางอ่นื ที่มสี ภาพเทา เทยี มกัน (๒) ในกรณีทย่ี าเสพติดใหโ ทษในประเภท ๒ ถกู โจรกรรมหรอื สญู หาย หรือถกู ทําลาย ตองแจง เปน หนังสือใหผูอนุญาตทราบโดยมิชกั ชา มาตรา ๒๙ ใหผ ูรบั อนุญาตผลิตยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดงั ตอไปนี้ ๒๘ ขอความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕ และใหใชค วามตอไปนแี้ ทน ๒๙ มาตรา ๒๖/๑ เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๑

รวมกฎหมายยาเสพติด 15 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผยเห็นไดงาย ณ สถานที่ผลิต แสดงวาเปนสถานที่ผลิต ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ลกั ษณะและขนาดของปา ยและขอ ความทแ่ี สดงในปา ย ใหเ ปน ไปตามทก่ี าํ หนด ในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีการวิเคราะหยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่ผลิตขึ้นกอนนําออกจาก สถานท่ีผลิต โดยตองมกี ารวเิ คราะหท ุกคร้ัง และมหี ลักฐานแสดงรายละเอียดซ่ึงตองเก็บรักษา ไวไ มนอยกวา สามปน ับแตว ันวเิ คราะห (๓) จัดใหมีฉลากและเอกสารกํากับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ หรือคําเตือนหรือ ขอ ควรระวังการใชทีภ่ าชนะหรอื หีบหอบรรจุยาเสพติดในประเภท ๓ ทผ่ี ลติ ขึ้น ท้ังนี้ ใหเ ปนไป ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเง่อื นไขท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ซงึ่ ใชเพอื่ การผลติ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ตองเก็บรักษาไวใหเปนสัดสวนในท่ีเก็บซึ่งมั่นคงแข็งแรงและมีกุญแจใสไวหรือเครื่องปองกัน อยา งอน่ื ทม่ี สี ภาพเทา เทยี มกนั (๕) ในกรณีทยี่ าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ตาม (๔) ถูกโจรกรรม หรอื สูญหาย หรือ ถูกทาํ ลาย ตอ งแจงเปนหนังสอื ใหผอู นุญาตทราบโดยมิชักชา มาตรา ๓๐ ใหผ รู บั อนุญาตนําเขา หรอื สงออกซง่ึ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ปฏบิ ตั ิ ดังตอ ไปนี้ (๑) จัดใหมีปายไวใ นทเ่ี ปดเผยเหน็ ไดง าย ณ สถานท่ที ําการของผรู บั อนุญาตแสดงวา เปนสถานทนี่ าํ เขา หรอื สงออกซง่ึ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ลักษณะและขนาดของปา ยและ ขอ ความทแี่ สดงในปาย ใหเ ปน ไปตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมใี บรบั รองของผผู ลติ แหลง เดิม แสดงรายละเอยี ดผลการวเิ คราะหคณุ ภาพ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ทน่ี าํ เขาหรอื สง ออก (๓) จดั ใหม ฉี ลากท่ภี าชนะหรือหบี หอบรรจยุ าเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ (๔) จดั ใหมฉี ลากและเอกสารกาํ กับยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ หรือคําเตอื น หรอื ขอ ควรระวงั การใชทีภ่ าชนะหรอื หีบหอบรรจยุ าเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ทน่ี ําเขาหรอื สง ออก ทงั้ น้ี ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๑ ใหผ ูรับอนญุ าตจําหนายยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ปฏบิ ตั ิดังตอ ไปนี้ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผยเห็นไดงาย ณ สถานที่จําหนายแสดงวาเปนสถานที่ จําหนายยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ลักษณะและขนาดของปา ยและขอ ความท่ีแสดงในปาย ใหเปน ไปตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีการแยกเก็บยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ เปนสัดสวนจากยาหรอื วัตถอุ นื่ (๓) ดูแลใหมีฉลาก เอกสารกํากับ คําเตือน หรือขอควรระวังการใชยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ ทีภ่ าชนะหรือหีบหอ บรรจยุ าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ มใิ หชาํ รดุ บกพรอ ง มาตรา ๓๒ ใหผรู บั อนญุ าตผลติ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ปฏิบัติดงั ตอ ไปนี้

16 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผยเห็นไดงาย ณ สถานที่ผลิต แสดงวาเปนสถานที่ผลิต ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๔ ลักษณะและขนาดของปา ยและขอ ความที่แสดงในปา ยใหเ ปน ไป ตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีการวิเคราะหยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ที่ผลิตขึ้นกอนนําออกจาก สถานที่ผลิต โดยตองมีการวิเคราะหทุกครั้ง และมีหลักฐานแสดงรายละเอียดซึ่งตองเก็บรักษา ไวไมน อ ยกวา สามปน บั แตว ันวเิ คราะห (๓) จัดใหมีฉลากและเอกสารกํากับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ หรือคําเตือนหรือ ขอควรระวังการใชที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ที่ผลิตขึ้นทั้งนี้ ใหเ ปนไปตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเง่อื นไขท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๔ ซ่ึงผลิตข้ึน ตองเกบ็ รักษาไวใ หเปน สดั สว นในท่เี กบ็ ซึ่งมั่นคง แขง็ แรงและมีกญุ แจใสไ ว หรือเครือ่ งปอ งกนั อยา งอ่นื ที่มสี ภาพเทาเทยี มกัน (๕) ในกรณีท่ียาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ถกู โจรกรรม หรือสญู หาย หรือถกู ทําลาย ตองแจงเปน หนังสอื ใหผ อู นญุ าตทราบโดยมชิ กั ชา มาตรา ๓๓ ใหผรู บั อนญุ าตนําเขา หรอื สงออกซ่ึงยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๔ ปฏิบตั ิ ดังตอไปนี้ (๑) จดั ใหม ปี า ยไวในทีเ่ ปดเผยเห็นไดงาย ณ สถานที่ทําการของผูรบั อนญุ าตแสดงวา เปน สถานทน่ี ําเขา หรอื สง ออกซึ่งยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๔ ลักษณะและขนาดของปายและ ขอ ความทแี่ สดงในปายใหเ ปน ไปตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีใบรับรองของผูผลิตแหลงเดิม แสดงรายละเอียดผลการวิเคราะหคุณภาพ ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๔ ทน่ี ําเขาหรือสง ออก (๓) จัดใหมีฉลากที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ หรือ คาํ เตอื น หรอื ขอ ควรระวงั การใชท ภ่ี าชนะหรอื หบี หอ บรรจยุ าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ทน่ี าํ เขา หรอื สง ออก ทัง้ นีใ้ หเปน ไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ซง่ึ นาํ เขา หรอื สง ออก ตอ งเกบ็ รกั ษาไวใ หเ ปน สดั สว น ในทีเ่ กบ็ ซึ่งมนั่ คง แขง็ แรง และมีกญุ แจใสไว หรือเครอ่ื งปองกันอยางอน่ื ที่มสี ภาพเทา เทยี มกัน (๕) ในกรณที ยี่ าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ถูกโจรกรรม หรอื สญู หาย หรือถูกทาํ ลาย ตอ งแจงเปนหนงั สือใหผ ูอนุญาตทราบโดยมชิ กั ชา มาตรา ๓๔ ใหผ ูรับอนญุ าตจาํ หนายยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ปฏิบัตดิ งั ตอ ไปนี้ (๑) จดั ใหม ปี า ยไวใ นทเี่ ปด เผยเห็นไดง าย ณ สถานทจ่ี ําหนา ย แสดงวา เปนสถานท่ี จําหนา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ลกั ษณะและขนาดของปายและขอ ความท่แี สดงในปาย ใหเ ปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหม กี ารแยกเก็บยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๔ เปนสดั สวนจากยาหรอื วัตถอุ ่นื

รวมกฎหมายยาเสพติด 17 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๓) ดูแลใหมีฉลาก เอกสารกํากับ คําเตือน หรือขอควรระวังการใชยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๔ ท่ภี าชนะหรือหีบหอ บรรจยุ าเสพติดใหโทษในประเภท ๔ มิใหชาํ รุดบกพรอง (๔) ในกรณีที่ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ ถูกโจรกรรม หรือสูญหาย หรอื ถูกทาํ ลาย ตองแจงเปนหนังสือใหผอู นญุ าตทราบโดยมชิ กั ชา มาตรา ๓๕ ในกรณใี บอนญุ าตสูญหาย ถกู ทาํ ลาย หรอื ลบเลอื นในสาระสาํ คญั ใหผรู บั อนุญาตแจงตอ ผอู นุญาต และย่นื คําขอรบั ใบแทนใบอนุญาตภายในสบิ หา วนั นบั แตว ันที่ไดท ราบ ถงึ การสูญหาย ถูกทําลาย หรอื ลบเลือน การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเง่อื นไขท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง หมวด ๔ หนา ที่ของเภสชั กร ___________________ มาตรา ๓๖ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการผลิตยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดงั ตอไปนี้ (๑) ควบคมุ การผลิตใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๒) ควบคมุ ใหม ฉี ลากและเอกสารกาํ กบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๒๙ (๓) (๓) ควบคุมการบรรจุ และการปิดฉลากที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุใหเป็นไปตาม พระราชบญั ญตั นิ ี้ (๔) ควบคมุ การจําหนายยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ใหเ ปน ไปตามมาตรา ๓๑ (๕) ตองอยปู ระจําควบคมุ กิจการตลอดเวลาทเ่ี ปด ทาํ การ มาตรา ๓๗ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการจําหนายยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดังตอ ไปน้ี (๑) ควบคมุ การแยกเก็บยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๓๑ (๒) (๒) ควบคุมการปฏิบตั ติ ามมาตรา ๓๑ (๓) (๓) ควบคมุ การจําหนา ยใหเ ปนไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๔) ตองอยปู ระจาํ ควบคมุ กจิ การตลอดเวลาทีเ่ ปดทาํ การ มาตรา ๓๘ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการนําเขาหรือสงออกซึ่งยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ ปฏิบัติดงั ตอไปน้ี (๑) ควบคุมยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ที่นาํ เขา หรอื สง ออกใหถ กู ตอ งตามตาํ รับยา ทไี่ ดขึน้ ทะเบียนไว (๒) ควบคุมการปฏิบตั ิตามมาตรา ๓๐ (๓) และ (๔)

18 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๓) ควบคุมการจําหนา ยยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ ใหเปน ไปตามมาตรา ๓๑ (๔) ตอ งอยปู ระจาํ ควบคมุ กจิ การตลอดเวลาทเี่ ปด ทําการ หมวด ๕ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ปลอม ผิดมาตรฐาน หรอื เส่ือมคุณภาพ ___________________ มาตรา ๓๙ หามมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา หรือสงออกซึ่งยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ ดงั ตอไปน้ี (๑) ยาปลอมตามมาตรา ๔๐ (๒) ยาผดิ มาตรฐานตามมาตรา ๔๑ (๓) ยาเสื่อมคุณภาพตามมาตรา ๔๒ (๔) ยาท่ีตอ งข้นึ ทะเบยี นตาํ รับยาแตมไิ ดข ึน้ ทะเบยี นตาํ รบั ยาตามมาตรา ๔๓ (๕) ยาทรี่ ัฐมนตรีส่ังเพกิ ถอนทะเบยี นตํารบั ยาตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๐ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ หรือสง่ิ ตอ ไปนีใ้ หถ ือวา เปน ยาปลอม (๑) ยาหรือสิ่งที่ทําขึ้นโดยแสดงไมวาดวยประการใด ๆ วาเปนยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ โดยความจริงมิไดมยี าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ อยูดว ย (๒) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่แสดงชื่อวาเปนยาเสพติดใหโทษอื่น หรือแสดง เดือน ป ท่ียาเสพติดใหโทษสิน้ อายเุ กนิ ความจริง (๓) ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ที่แสดงช่อื หรอื เคร่อื งหมายของผูผลิตหรอื ทตี่ ง้ั ของ สถานท่ผี ลิต ซ่ึงมใิ ชค วามจริง (๔) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ หรือยาเสพติดใหโทษตามที่ระบุชื่อไวในประกาศ ของรฐั มนตรี ตามมาตรา ๘ (๑) หรอื ตามตํารบั ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ท่ไี ดข นึ้ ทะเบยี น ตาํ รบั ยาไว ซ่งึ ทง้ั นม้ี ิใชความจรงิ (๕) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐาน ถึงขนาดสาร ออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกวารอยละสิบของปริมาณที่กําหนดไวจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุด ตามที่ กาํ หนดไวในประกาศของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๘ (๓) หรอื ตามท่กี ําหนดไวใ นตํารับยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ ท่ไี ดข ้นึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาไว๓ ๐ มาตรา ๔๑ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ดงั ตอ ไปนีใ้ หถอื วา เปนยาเสพตดิ ใหโ ทษ ผิดมาตรฐาน ๓๐ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่ผลิตไมถูกตองตามมาตรฐานถึงขนาดสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกวาปริมาณที่กําหนดถือวา เปนยาปลอมตาม มาตรา ๔๐ (๕) แตหากผลิตไมถูกตองตามมาตรฐาน โดยสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินไมถึงรอยละสิบถือวา เปนยาเสพติดใหโทษผิดตามมาตรฐาน ตามมาตรา ๔๑ (๑)

รวมกฎหมายยาเสพติด 19 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ทผ่ี ลติ ขน้ึ ไมถ กู ตอ งตามมาตรฐาน โดยสารออกฤทธ์ิ ขาดหรือเกินกวาปริมาณที่กําหนดไวจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุดตามที่กําหนดไวในประกาศของ รฐั มนตรีตามมาตรา ๘ (๓) หรือตามทีก่ าํ หนดไวในตาํ รับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ท่ไี ดข นึ้ ทะเบียนตํารับยาไว แตไมถงึ รอ ยละสิบ (๒) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่ผลิตขึ้นโดยมีความบริสุทธิ์หรือลักษณะอื่นซึ่งมี ความสําคัญตอคุณภาพของสารออกฤทธ์ิผิดไปจากเกณฑที่กําหนดไวในประกาศของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๘ (๓) หรอื ตามท่ีกําหนดไวใ นตํารบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ท่ีไดขน้ึ ทะเบียน ตาํ รบั ยาไว มาตรา ๔๒ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ดังตอไปนี้ใหถือวาเปนยาเสพติดใหโทษ เส่ือมคณุ ภาพ (๑) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่สิ้นอายุตามที่แสดงไวในฉลากซึ่งขึ้นทะเบียน ตํารับยาไว (๒) ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ที่แปรสภาพจนมีลักษณะเชนเดียวกับยาปลอม ตามมาตรา ๔๐ หรอื ยาเสพตดิ ใหโ ทษผิดมาตรฐานตามมาตรา ๔๑๓๑ หมวด ๖ การขนึ้ ทะเบียนตาํ รบั ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ___________________ ๓๒มาตรา ๔๓ ผรู บั อนญุ าตผลติ หรอื นาํ เขา ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ จะผลติ หรอื นําเขาซึ่งยาเสพติดใหโทษดังกลาว ตองนําตํารับยาเสพติดใหโทษนั้นมาขอขึ้นทะเบียนตํารับ ยาเสพตดิ ใหโ ทษตอ พนกั งานเจา หนา ทก่ี อ น และเมอ่ื ไดร บั ใบสาํ คญั การขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษแลว จึงผลติ หรือนาํ เขาซ่งึ ยาเสพติดใหโทษนั้นได การขอขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ และการออกใบสาํ คญั การขน้ึ ทะเบยี น ตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษดงั กลา ว ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง ๓๓การพิจารณาออกใบสําคัญตามวรรคหนึ่ง ใหผูขอขึ้นทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษ เปนผูรับผิดชอบชําระคาใชจายในการตรวจวิเคราะหหรือประเมินเอกสารทางวิชาการ ตาม หลกั เกณฑและวิธกี ารที่คณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ๓๑ เปน กรณยี าเสพตดิ ใหโ ทษประเภท ๓ ที่ผลิตข้นึ ถกู ตองตามมาตรฐานแตแรก หากแตแ ปรสภาพในภายหลังจนมลี กั ษณะ เชนเดยี วกนั กับปลอมหรอื ยาเสพตดิ ใหโทษผดิ มาตรฐาน ๓๒ ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๘ และใหใชความตอไปนีแ้ ทน ๓๓ มาตรา ๔๓ วรรคสาม เพมิ่ เติมโดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๒

20 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓๔มาตรา ๔๔ ผรู ับอนญุ าตผลิตหรือนาํ เขาซึง่ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ เมือ่ ไดรบั ใบสาํ คญั การ ขึน้ ทะเบียนตาํ รับยาเสพติดใหโ ทษตามมาตรา ๔๓ แลว จะแกไ ขรายการทะเบียน ตาํ รับยาเสพตดิ ใหโทษใน ประเภท ๓ ดังกลา วไดต อ เมื่อไดร บั อนุญาตเปนหนังสอื จากผูอนุญาต การขอแกไขรายการและการอนุญาตใหแกไขรายการทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ ใหเ ปนไปตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเงอ่ื นไขทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๕ ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ใหมีอายุ หาปนับแตวันที่ออกใบสําคัญ ถาผูรับใบสําคัญประสงคจะขอตออายุใบสําคัญ จะตองยื่นคําขอ กอนใบสาํ คัญส้นิ อายุ และเมือ่ ไดย่ืนคาํ ขอแลว จะประกอบกจิ การตอ ไปก็ไดจ นกวา ผูอนุญาตจะ สง่ั ไมอ นุญาตใหตอ อายใุ บสําคัญนน้ั การขอตออายุใบสําคัญและการตออายุใบสําคัญการข้ึนทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๓ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๖ เมือ่ คณะกรรมการเหน็ วาทะเบียนตาํ รบั ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ใด ท่ีไดใบสําคญั การข้ึนทะเบียนไวแลว ตอ มาปรากฏวาไมมีสรรพคุณตามทข่ี ้นึ ทะเบยี นตํารับยาไว หรืออาจไมปลอดภยั แกผ ใู ช หรือมเี หตผุ ลอันไมสมควรท่จี ะอนุญาตใหตอไป ใหค ณะกรรมการ เสนอตอ รฐั มนตรี และใหร ฐั มนตรมี อี าํ นาจสง่ั เพกิ ถอนทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ น้นั ได โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา คําสง่ั ของรัฐมนตรีใหเ ปน ทีส่ ดุ มาตรา ๔๗ ในกรณีใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ สูญหาย ถกู ทําลาย หรอื ลบเลอื นในสาระสําคญั ใหผรู ับอนุญาตแจง ตอผูอนญุ าตและย่ืนคําขอรับ ใบแทนใบสาํ คญั การขึ้นทะเบียนตํารับยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ภายในสิบหา วันนบั แตวนั ที่ไดทราบถงึ การสูญหาย ถกู ทําลาย หรือลบเลือน การขอรับใบแทนใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ และ การออกใบแทนใบสําคัญดังกลาว ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดใน กฎกระทรวง หมวด ๗ การโฆษณา ___________________ ๓๕มาตรา ๔๘ หา มมใิ หผูใ ดโฆษณายาเสพติดใหโ ทษ เวนแต ๓๔ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๘ และใหใ ชค วามตอไปนีแ้ ทน ๓๕ ขอความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๓ และใหใ ชค วามตอไปน้ีแทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 21 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) เปน การโฆษณายาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ หรอื ประเภท ๓ ซงึ่ กระทาํ โดยตรง ตอผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทยชนั้ หนึ่ง หรือ (๒) เปนฉลากหรือเอกสารกํากับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือ ประเภท ๔ ทภ่ี าชนะหรอื หบี หอ บรรจยุ าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ โฆษณาตามวรรคหนึ่งทเ่ี ปน เอกสาร ภาพ ภาพยนตร การบันทึกเสียงหรอื ภาพตอ งได รับอนญุ าต จากผูอ นญุ าตกอ นจึงจะใชโ ฆษณาได การขออนุญาตและการออกใบอนญุ าต ใหเปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ี กาํ หนดในกฎกระทรวง ๓๖มาตรา ๔๘/๑ หามมิใหผูใดโฆษณาเกี่ยวกับการบําบัดรักษา หรือยินยอมใหผูอื่น กระทําการดังกลาวโดยใชชื่อของตน หรือชื่อหรือที่ตั้ง หรือกิจการของสถานพยาบาลของตน หรือคุณวุฒิหรือความสามารถของผูประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลของตน เวนแตไดรับ ใบอนญุ าตจากผอู นญุ าต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหน่งึ มิใหใชบ ังคับแกส ถานพยาบาลของรฐั ๓๗มาตรา ๔๘/๒ ในกรณที ่ีผอู นญุ าตเหน็ วาการโฆษณาใดฝาฝนมาตรา ๔๘ วรรคสอง หรือมาตรา ๔๘/๑ วรรคสอง หรือมีการใชขอความโฆษณาไมเปนไปตามที่ไดรับอนุญาตจาก ผอู นญุ าต ใหผ อู นญุ าตมอี าํ นาจออกคาํ สั่งอยา งใดอยางหน่ึงหรือหลายอยา งดังตอไปน้ี (๑) ใหแกไ ขขอ ความหรือวธิ กี ารในการโฆษณา (๒) หา มการใชขอ ความบางอยา งทป่ี รากฏในการโฆษณา (๓) หา มการโฆษณาหรือหามใชว ิธนี ้ันในการโฆษณา (๔) ใหโฆษณาเพื่อแกไ ขความเขาใจผดิ ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ในการออกคาํ สั่งตาม (๔) ใหผูอ นญุ าตกาํ หนดหลักเกณฑแ ละวธิ ีการโฆษณา โดยคาํ นึง ถงึ ประโยชนข องประชาชนกบั ความสุจรติ ใจในการกระทําของผทู าํ การโฆษณา หมวด ๘ พนกั งานเจา หนา ท่ี ___________________ ๓๖ มาตรา ๔๘/๑ เพิม่ เตมิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๔ ๓๗ มาตรา ๔๘/๒ เพ่มิ เตมิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๔

22 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓๘มาตรา ๔๙ ในการปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญัตินี้ ใหพ นักงานเจา หนา ทีม่ อี ํานาจ ดงั ตอไปนี้ (๑) เขาไปในสถานที่ทําการของผูรับอนุญาตนําเขาหรือสงออก สถานที่ผลิต สถานที่ จําหนาย สถานที่เก็บยาเสพติดใหโทษ หรือสถานที่ที่ตองไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ เพอื่ ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี (๒) เขาไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใดๆ เพื่อตรวจคนเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อไดตาม สมควรวา มีทรพั ยสินซงึ่ มไี วเปนความผิดหรือไดมาโดยการกระทําความผิด หรือไดใชห รือจะใช ในการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี หรอื ซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได ประกอบกบั มีเหตุอันควรเชื่อวาเนื่องจากการเนิ่นชากวาจะเอาหมายคนมาได ทรัพยสินนั้นจะถูกโยกยาย ซุกซอ น ทาํ ลาย หรอื ทาํ ใหเ ปลย่ี นสภาพไปจากเดมิ (๓) คนบุคคลหรือยานพาหนะใดๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรวามียาเสพติด ใหโทษซกุ ซอ นอยูโดยไมช อบดวยกฎหมาย (๔) คนตามบทบญั ญตั ิแหงประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา (๕) ยดึ หรอื อายัดยาเสพตดิ ใหโ ทษท่มี ไี วโ ดยไมชอบดวยกฎหมาย หรือทรัพยสินอ่ืนใด ท่ไี ดใ ชหรอื จะใชในการกระทําความผิดตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ การใชอํานาจตามวรรคหนึ่ง (๒) ใหพนักงานเจาหนาที่ผูคนปฏิบัติตามระเบียบที่ คณะกรรมการกาํ หนด แสดงความบรสิ ทุ ธก์ิ อ นการเขา คน รายงานเหตผุ ลและผลการตรวจคน ตอ ผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป บันทึกเหตุอันควรเชื่อตามสมควร และใหพนักงานเจาหนาที่แสดง เอกสารเพื่อแสดงตนและเอกสารที่แสดง อํานาจในการตรวจคน รวมทั้งเหตุอันควรเชื่อที่ทําให สามารถเขา คน ไดเ ปน หนงั สอื ใหไ วแ กผ คู รอบครองเคหสถาน สถานทค่ี น เวน แตไ มม ผี คู รอบครอง อยู ณ ทน่ี ้ัน ใหพ นักงานเจาหนาทีผ่ ูค นสง มอบสาํ เนาเอกสารและหนงั สอื น้นั ใหแกผูครอบครอง ดังกลาวทันทีที่กระทําได และหากเปนการเขาคนในเวลากลางคืน พนักงานเจาหนาที่ผูเปน หวั หนา ในการเขา คนตอ งเปนขาราชการพลเรอื นตาํ แหนงตั้งแตร ะดับ ๗ ขึ้นไป หรือขา ราชการ ตาํ รวจตาํ แหนง ต้ังแตสารวตั รหรือเทียบเทา ซงึ่ มยี ศตง้ั แตพ นั ตํารวจโทขึน้ ไป พนักงานเจาหนาท่ีตําแหนงใดหรือระดับใดจะมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีไดกําหนดไวตาม วรรคหน่งึ ทั้งหมดหรือแตบ างสวน หรือจะตอ งไดร ับอนมุ ัติจากบุคคลใดกอนดาํ เนนิ การ ใหเ ปน ไปตามที่รัฐมนตรีกําหนดดวยความเห็นชอบของคณะกรรมการ โดยทําเอกสารมอบหมายใหไว ประจาํ ตวั พนกั งานเจา หนา ทผ่ี ูไ ดร บั มอบหมายน้ัน๓๙ ๓๘ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๕ และใหใชค วามตอ ไปนแี้ ทน ๓๙ ๑. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๑๘๓) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรอ่ื ง แตง ตง้ั พนกั งานเจา หนา ทแ่ี ละกาํ หนดอาํ นาจหนา ทเ่ี พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมาย วา ดว ยยาเสพตดิ ใหโ ทษ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๑๘๕) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรอ่ื งการออกเอกสารมอบหมายใหไ วป ระจาํ ตวั พนกั งาน ฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจหรอื พนกั งานเจา หนา ทเ่ี พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา ดว ยยาเสพตดิ ใหโ ทษ

รวมกฎหมายยาเสพติด 23 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ในการปฏิบัติการของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหบุคคลที่เกี่ยวของอํานวย ความสะดวกตามสมควร ใหรฐั มนตรจี ัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิตามมาตราน้ี เสนอตอคณะรฐั มนตรเี พอ่ื รายงาน ผลการปฏบิ ตั งิ านประจําป โดยใหรายงานขอเทจ็ จริง ปญหาอุปสรรค ปรมิ าณ การปฏบิ ตั ิงาน และผลสําเร็จของการปฏิบัติงานโดยละเอียด เพื่อใหคณะรัฐมนตรีเสนอรายงานดังกลาวพรอม ขอสังเกตของคณะรฐั มนตรตี อสภาผแู ทนราษฎรและวุฒสิ ภา มาตรา ๕๐ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี พนกั งานเจา หนา ทต่ี อ งแสดงบตั รประจาํ ตวั และเอกสาร มอบหมายตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ตอบคุ คลท่เี กย่ี วขอ งทุกครงั้ บตั รประจาํ ตวั พนักงานเจาหนา ที่ ใหเปน ไปตามแบบทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๑ ในการปฏิบัติหนาที่ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา หมวด ๙ การพักใชใบอนุญาตและการเพกิ ถอนใบอนุญาต ___________________ มาตรา ๕๒ ผรู บั อนญุ าตผใู ดฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื กฎกระทรวง หรอื ประกาศทอ่ี อกตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ผอู นญุ าตโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการมอี าํ นาจ สั่งพักใชใบอนุญาตไดโดยมีกําหนดครั้งละไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน แตในกรณีที่มีการฟอง ผรู บั อนญุ าตตอ ศาลวาไดกระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญตั ิน้ี ผอู นญุ าตจะสงั่ พักใชใบอนุญาต ไวรอคาํ พพิ ากษาถึงท่ีสดุ กไ็ ด ผูถูกสั่งพักใชใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ในระหวางถูกสั่ง พกั ใชใบอนญุ าตอีกไมได มาตรา ๕๓ ถา ปรากฏวา ผูร บั อนุญาตผใู ดขาดคณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๑๙ หรือกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๓๙ ผูอนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตได ผถู กู สง่ั เพกิ ถอนใบอนญุ าตจะขอรบั ใบอนญุ าตใดๆ ตามพระราชบญั ญตั นิ อ้ี กี ไมไ ดจ นกวา จะพนสองปนับแตว ันทถ่ี กู เพกิ ถอนใบอนญุ าต มาตรา ๕๔ คําสั่งพักใชใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ใหทําเปนหนังสือ แจง ใหผ รู บั อนญุ าตทราบ ในกรณไี มพ บตวั ผถู กู สง่ั หรอื ผถู กู สง่ั ไมย อมรบั คาํ สง่ั ดงั กลา ว ใหป ด คาํ สง่ั ไว ณ ที่เปดเผยเห็นไดงายที่สถานที่ซึ่งระบุไวในใบอนุญาต และใหถือวาผูถูกสั่งไดทราบคําสั่งนั้น แลว ตง้ั แตว ันท่ีรับหรือปด คําสั่ง แลว แตกรณี มาตรา ๕๕ ใหพนักงานเจาหนาที่ยึดยาเสพติดใหโทษที่เหลือของผูถูกสั่งพักใช ใบอนญุ าตหรอื เพกิ ถอนใบอนญุ าต และใบอนญุ าตทถ่ี กู สง่ั พกั ใชห รอื เพกิ ถอนนน้ั ไปเกบ็ รกั ษาไว

24 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ท่สี าํ นักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ หรอื ในกรณจี ําเปนจะเก็บรกั ษา ไวท ่อี ื่นตามทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กาํ หนดกไ็ ด ในกรณเี พกิ ถอนใบอนญุ าต ใหย าเสพตดิ ใหโ ทษทย่ี ดึ ไวต ามวรรคหนง่ึ ตกเปน ของกระทรวง สาธารณสขุ มาตรา ๕๖ เมื่อพนกําหนดการพักใชใบอนุญาต ใหพนักงานเจาหนาที่คืนยาเสพติด ใหโทษและใบอนุญาตทีย่ ดึ ไวต ามมาตรา ๕๕ ใหผูรับอนญุ าต หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพเิ ศษ ___________________ มาตรา ๕๗ หา มมใิ หผ ูใดเสพยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ หรอื ประเภท ๕ มาตรา ๕๘ หา มมิใหผูใดเสพยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๒ เวนแตก ารเสพนัน้ เปนการ เสพเพ่ือการรักษาโรคตามคําสั่งของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะ แผนปจจบุ ันชน้ั หน่งึ ในสาขาทันตกรรมท่ีไดร ับใบอนญุ าตตามมาตรา ๑๗ ๔๐มาตรา ๕๘/๑ ในกรณจี าํ เปน และมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื ไดว า มบี คุ คลหรอื กลมุ บคุ คลใดเสพ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรอื ประเภท ๕ อนั เปน ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ นี้ในเคหสถาน สถานที่ใดๆ หรือยานพาหนะ ใหพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจ หรือ พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ มีอํานาจตรวจ หรือทดสอบ หรือสั่งใหรับการตรวจ หรอื ทดสอบวา บุคคลหรอื กลมุ บุคคลนน้ั มียาเสพติดใหโ ทษดังกลา วอยูใ นรา งกายหรือไม พนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจ หรือพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ตําแหนงใด ระดับใด หรือชั้นยศใดจะมีอํานาจหนาที่ตามที่ไดกําหนดไวตามวรรคหนึ่งทั้งหมด หรือแตบางสวน หรือจะตองไดรับอนุมัติจากบุคคลใดกอนดําเนินการ ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาํ หนดดวยความเห็นชอบของคณะกรรมการ โดยทําเอกสารมอบหมายใหไวประจาํ ตัว พนักงานฝา ยปกครอง หรอื ตาํ รวจหรือพนกั งานเจาหนาทผี่ ไู ดรบั มอบหมายนั้น๔๑ วิธีการตรวจหรือการทดสอบตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ ในประกาศดังกลาว อยางนอยตองมีมาตรการเก่ียวกับการแสดงความบริสุทธ์ิของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ๔๐ มาตรา ๕๘/๑ เพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๖ ๔๑ ๑. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๑๘๓) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรอ่ื ง แตง ตง้ั พนกั งานเจา หนา ทแ่ี ละกาํ หนดอาํ นาจหนา ทเ่ี พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมาย วาดวยยาเสพติดใหโ ทษ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับท่ี ๑๘๕) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่องการออกเอกสารมอบหมายใหไ วป ระจําตวั พนกั งานฝายปกครองหรอื ตาํ รวจหรอื พนักงานเจา หนา ท่เี พอ่ื ปฏบิ ัตกิ ารตามกฎหมายวา ดวยยาเสพติดใหโ ทษ

รวมกฎหมายยาเสพติด 25 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ หรอื พนักงานเจาหนา ที่ในการปฏบิ ตั ิหนา ท่ี และมาตรการเกีย่ วกบั การหามเปดเผยผลการตรวจ หรือทดสอบแกผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของในกรณีที่ปรากฏผลเบื้องตนเปนที่สงสัยวามียาเสพติด ใหโ ทษอยใู นรางกายจนกวาจะไดมีการตรวจยนื ยนั ผลเปน ที่แนน อนแลว๔๒ มาตรา ๕๙ ใหร ัฐมนตรกี ําหนดจํานวนยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๒ ที่จะตองใชใ น ทางการแพทยแ ละทางวทิ ยาศาสตรท ว่ั ราชอาณาจกั รประจาํ ป โดยใหป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ไมช า กวา เดอื นมกราคมของแตล ะป และใหก าํ หนดจาํ นวนเพม่ิ เตมิ ไดใ นกรณจี าํ เปน โดยใหป ระกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษาเชน กนั ๔๓มาตรา ๖๐ ในกรณีที่ผูรับอนุญาตประสงคที่จะจําหนายหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๒ เกนิ ปริมาณทก่ี าํ หนดไวต ามมาตรา ๘ (๕) ใหย นื่ คาํ ขอรับ ใบอนญุ าตเปน กรณพี ิเศษ การขอรบั ใบอนญุ าตและการออกใบอนญุ าตใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข ทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง ใหนาํ บทบัญญัตใิ นมาตรา ๘ (๕) มาใชบ ังคับโดยอนุโลม มาตรา ๖๑ ในกรณีที่ผูร ับใบอนุญาตจาํ หนา ยหรือมไี วครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ในประเภท ๒ ตายกอนใบอนญุ าตสิน้ อายุ ใหท ายาท ผูครอบครอง หรือผูจัดการมรดกแจง ให ผอู นญุ าตทราบภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทผ่ี รู บั อนญุ าตตาย และใหพ นกั งานเจา หนา ทม่ี อี าํ นาจ ยดึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษทผ่ี รู บั อนญุ าตมเี หลอื มาเกบ็ รกั ษาไวท ส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขยาเสพติดใหโทษท่ียึดไวน้ันใหกระทรวงสาธารณสุขจายคาตอบแทนตามที่ เหน็ สมควร มาตรา ๖๒ ใหผ รู บั อนญุ าตตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๖ จดั ใหม กี ารทาํ บญั ชี รับจายยาเสพติดใหโทษและเสนอรายงานตอเลขาธิการเปนรายเดือนและรายป บัญชีดังกลาว ใหเก็บรักษาไวและพรอมที่จะแสดงตอพนักงานเจาหนาที่ไดทุกเวลาในขณะเปดทําการ ทั้งนี้ ภายในหา ปนับแตว นั ทล่ี งรายการครั้งสดุ ทายในบญั ชี บญั ชรี บั จา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามแบบทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๓ เมื่อไดจัดตั้งสถานพยาบาลสําหรับบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดใหโทษตาม มาตรา ๘ (๗) แลวใหรัฐมนตรีกําหนดระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และ ระเบยี บวนิ ยั สาํ หรับสถานพยาบาลดงั กลาวดว ย ๔๒ ตามประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดใหโ ทษ เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ วิธกี าร และเงื่อนไขในการตรวจหรือทดสอบวา บคุ คลหรือกลุม บคุ คลใด มียาเสพตดิ ใหโทษอยใู นรา งกายหรอื ไม ๔๓ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๗ และใหใชค วามตอไปนี้แทน

26 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๑๑ การนาํ ผา นซ่ึงยาเสพติดใหโ ทษ๔๔ ___________________ มาตรา ๖๔ ในการนําผานซึ่งยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และประเภท ๕ ตองมีใบอนุญาตของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศที่สงออกนั้นมาพรอมกับ ยาเสพติดใหโทษ และตองแสดงใบอนุญาตดังกลาวตอพนักงานศุลกากร กับตองยินยอมให พนักงานศุลกากรเกบ็ รกั ษาหรอื ควบคมุ ยาเสพติดใหโทษนน้ั ไว ใหพนักงานศุลกากรเก็บรักษาหรือควบคุมยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และประเภท ๕ นั้นไวในที่สมควรจนกวาผูที่นําผานซึ่งยาเสพติดใหโทษจะนํา ยาเสพติดใหโทษดังกลา วออกไปนอกราชอาณาจักร ในกรณที ผ่ี นู าํ ผา นซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และประเภท ๕ ไมน าํ ยาเสพตดิ ใหโ ทษดงั กลา วออกไปนอกราชอาณาจกั รภายในกาํ หนดเวลาสามสบิ วนั นบั แต วนั นําเขา ใหพ นักงานศลุ กากรรายงานใหเ ลขาธิการทราบ เลขาธิการมอี าํ นาจออกคําส่งั ใหผ ูนํา ผานซ่ึงยาเสพติดใหโทษนํายาเสพติดใหโทษดังกลาวออกไปนอกราชอาณาจักรภายในกําหนด หกสบิ วันนบั แตวนั ท่อี อกคําสัง่ ในกรณผี ูไดร บั คาํ สงั่ ไมป ฏิบตั ิตาม ใหย าเสพตดิ ใหโทษดังกลา ว ตกเปน ของกระทรวงสาธารณสขุ ๔๕หมวด ๑๑/๑ การอุทธรณ ___________________ ๔๖มาตรา ๖๔/๑ ในกรณีที่ผูไ ดรบั คาํ ส่ังของผอู นุญาตตามมาตรา ๔๘/๒ ไมเห็นดวยกบั คําส่งั ดังกลา ว ใหมีสิทธอิ ุทธรณต อ คณะกรรมการได ๔๗มาตรา ๖๔/๒ การอุทธรณต ามมาตรา ๖๔/๑ ใหยน่ื ตอคณะกรรมการภายในสบิ สีว่ นั นับแตวันท่ผี อู ทุ ธรณไดร ับทราบคําสั่งของผอู นุญาต หลักเกณฑและวิธีการยื่นอุทธรณและวิธีพิจารณาอุทธรณ ใหเปนไปตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง การอทุ ธรณค าํ สงั่ ตามวรรคหนึง่ ยอมไมเปนการทเุ ลาการบงั คบั ตามคาํ สง่ั ของผอู นญุ าต เวน แตคณะกรรมการจะสัง่ เปนอยา งอืน่ เปน การช่วั คราวกอ นการวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ คาํ วนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการใหเปน ท่ีสุด ๔๔ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มไิ ดบ ญั ญตั นิ ยิ ามศพั ทค าํ วา “นาํ ผา น” แตส ามารถดเู ปรยี บเทยี บไดจ าก พระราชบญั ญตั วิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธ์ิ ตอ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ ๔๕ หมวด ๑๑/๑ การอทุ ธรณ เพมิ่ เตมิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๘ ๔๖ มาตรา ๖๔/๑ เพมิ่ เตมิ โดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๘ ๔๗ มาตรา ๖๔/๒ เพม่ิ เตมิ โดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๘

รวมกฎหมายยาเสพติด 27 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๑๒ บทกาํ หนดโทษ ___________________ ๔๘มาตรา ๖๕ ผใู ดผลติ นาํ เขา หรอื สง ออกซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ อนั เปน การ ฝา ฝน มาตรา ๑๕ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตส บิ ปถ งึ จาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรบั ตง้ั แตห นง่ึ ลา นบาท ถงึ หา ลา นบาท ถา การกระทําความผดิ ตามวรรคหนงึ่ เปนการกระทําเพ่อื จาํ หนาย ตองระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชีวิต และปรบั ต้งั แตหนึง่ ลานบาทถึงหาลา นบาท หรอื ประหารชวี ติ ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเปนการผลิตโดยการแบงบรรจุ หรือรวมบรรจุ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสี่ปถึงสิบหาป หรือปรับตั้งแตแปดหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรือ ท้ังจําท้งั ปรบั ถา การกระทาํ ความผิดตามวรรคสาม เปน การกระทําเพื่อจําหนา ย ตอ งระวางโทษจาํ คุก ตั้งแตส ่ีปถงึ จําคกุ ตลอดชวี ิต และปรบั ต้งั แตสี่แสนบาทถงึ หาลา นบาท ๔๙มาตรา ๖๖ ผูใดจําหนายหรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๑ โดยไมไ ดร บั อนญุ าตและมปี รมิ าณคาํ นวณเปน สารบรสิ ทุ ธ์ิ หรอื มจี าํ นวนหนว ยการใช หรือมีน้ําหนักสุทธไิ มถ ึงปริมาณทีก่ ําหนดตามมาตรา ๑๕ วรรคสาม ตอ งระวางโทษจําคกุ ต้ังแต สปี่ ถงึ สบิ หา ป หรือปรับต้ังแตแ ปดหมน่ื บาทถึงสามแสนบาท หรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรับ ถายาเสพติดใหโทษตามวรรคหน่ึงมีปริมาณคํานวณเปนสารบริสุทธิ์ตั้งแตปริมาณท่ี กําหนดตามมาตรา ๑๕ วรรคสาม แตไมเกินยี่สิบกรัม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสี่ปถึงจําคุก ตลอดชวี ิตและปรบั ตัง้ แตส่แี สนบาทถงึ หาลานบาท ถายาเสพติดใหโทษตามวรรคหน่ึงมีปริมาณคํานวณเปนสารบริสุทธิ์เกินยี่สิบกรัมข้ึนไป ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชีวิตและปรบั ตง้ั แตห นึง่ ลานบาทถึงหา ลานบาท หรอื ประหารชวี ติ ๕๐มาตรา ๖๗ ผูใดมีไวในครอบครองซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ โดยไมไดรับ อนุญาตตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป หรือปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือท้งั จําทง้ั ปรับ ๕๑มาตรา ๖๘ ผใู ดผลติ นาํ เขา หรอื สง ออกซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ อนั เปน การ ฝา ฝน มาตรา ๑๖ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห นง่ึ ปถ งึ สบิ ป และปรบั ตง้ั แตห นง่ึ แสนบาทถงึ หนง่ึ ลา นบาท ถายาเสพติดใหโทษซึ่งเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดเปนมอรฟน ฝน หรือโคคาอีน ผนู น้ั ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตย ส่ี บิ ปถ งึ จาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรบั ตง้ั แตส องลา นบาทถงึ หา ลา นบาท ๔๘ ขอความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี (๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖ และใหใชค วามตอ ไปน้แี ทน ๔๙ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙ และใหใ ชค วามตอ ไปน้แี ทน ๕๐ ขอความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗ และใหใชความตอไปนีแ้ ทน ๕๑ ขอความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๐ และใหใชความตอ ไปน้ีแทน

28 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕๒มาตรา ๖๙ ผใู ดมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ อนั เปน การฝา ฝน มาตรา ๑๗ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหาป หรอื ปรับไมเ กินหนงึ่ แสนบาท หรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรบั ผูใดจําหนาย หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๒ อนั เปน การฝา ฝน มาตรา ๑๗ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห นง่ึ ปถ งึ สบิ ป หรอื ปรบั ตง้ั แตส องหมน่ื บาท ถงึ สองแสนบาท หรือทง้ั จําทั้งปรับ ถายาเสพติดใหโทษซึ่งเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดตามวรรคสองเปนมอรฟน ฝน หรือโคคาอีน มีปริมาณคํานวณเปนสารบริสุทธิ์ไมถึงหนึ่งรอยกรัม ผูนั้นตองระวางโทษจําคุก ตัง้ แตส ามปถ งึ ยสี่ บิ ป หรือปรับตั้งแตห กหม่ืนบาทถึงสีแ่ สนบาท หรอื ทง้ั จําท้ังปรับ แตถา มอรฟ น ฝน หรือโคคาอีนนั้นมปี รมิ าณคาํ นวณเปนสารบรสิ ทุ ธ์ิต้งั แตห นงึ่ รอ ยกรัมขึน้ ไป ตอ งระวางโทษ จําคุกตั้งแตห าปถงึ จําคุกตลอดชวี ิตและปรับต้ังแตห าแสนบาทถึงหา ลานบาท ถาผูไดรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ กระทําการฝาฝนตามวรรคหนึ่ง วรรคสองหรือ วรรคสาม ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กินหาป และปรบั ไมเกินหนงึ่ แสนบาท ๕๓มาตรา ๗๐ ผูใ ดผลิตหรือนําเขา ซึ่งยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ อันเปน การฝาฝน มาตรา ๒๐ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห นง่ึ ปถ งึ สามป และปรบั ตง้ั แตห นง่ึ แสนบาทถงึ สามแสนบาท ๕๔มาตรา ๗๑ ผูใดจําหนาย มีไวใ นครอบครองเพือ่ จาํ หนาย หรือสงออกซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๓ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง โดยมีจํานวนยาเสพติดใหโทษ ไมเ กนิ ท่ีกาํ หนดตามมาตรา ๒๐ วรรคส่ี ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กนิ หน่งึ ป หรอื ปรับไมเกินสอง หมื่นบาท หรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรบั กรณตี ามวรรคหนง่ึ ถา มยี าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ เกนิ จาํ นวนตามมาตรา ๒๐ วรรคส่ี ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กนิ สองป และปรับไมเ กินสองแสนบาท ๕๕มาตรา ๗๒ ผูใดนําเขาหรือสงออกซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ อันเปนการ ฝา ฝนมาตรา ๒๒ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหน่ึงป และปรบั ไมเ กินหนง่ึ แสนบาท ๕๖มาตรา ๗๓ ผูใดผลิต นาํ เขา สงออก จาํ หนาย หรือมไี วใ นครอบครองเพอื่ จาํ หนาย ซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๖ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต หนึ่งปถงึ สิบป และปรับต้งั แต สองหม่นื บาทถงึ สองแสนบาท กรณีตามวรรคหนึ่ง ถามียาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ตั้งแตสิบกิโลกรัมขึ้นไป ตอ งระวางโทษ จาํ คกุ ตง้ั แตห นง่ึ ปถ งึ สบิ หา ปแ ละปรบั ตง้ั แตห นง่ึ แสนบาทถงึ หนง่ึ ลา นหา แสนบาท ๕๒ ขอ ความเดิมถูกยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๐ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน ๕๓ ขอ ความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ และใหใ ชค วามตอไปน้แี ทน ๕๔ ขอ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ และใหใ ชค วามตอ ไปนแ้ี ทน ๕๕ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ และใหใ ชความตอ ไปน้แี ทน ๕๖ ขอความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ และใหใชค วามตอ ไปนี้แทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 29 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕๗มาตรา ๗๔ ผูใดมีไวในครอบครองซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ อันเปนการ ฝา ฝน มาตรา ๒๖ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หา ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ หนง่ึ แสนบาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั ๕๘มาตรา ๗๕ ผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ อนั เปน การฝา ฝน มาตรา ๒๖ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตส องปถ งึ สบิ หา ป และปรบั ตง้ั แตส องแสนบาท ถึงหนง่ึ ลา นหา แสนบาท ถายาเสพติดใหโทษซ่ึงเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดดังกลาวมานั้นเปนพืชกระทอม ผนู ้นั ตอง ระวางโทษจําคกุ ไมเ กินสองป และปรบั ไมเ กนิ สองแสนบาท ๕๙มาตรา ๗๖ ผใู ดมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๕ อนั เปน การฝา ฝน มาตรา ๒๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ หาป หรือปรบั ไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถายาเสพติดใหโทษซึ่งเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดดังกลาวมาในวรรคหน่ึงนั้นเปน พชื กระทอ ม ผนู น้ั ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนง่ึ ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหมน่ื บาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั ๖๐มาตรา ๗๖/๑ ผใู ดจาํ หนายหรอื มีไวใ นครอบครองเพ่อื จาํ หนายซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโทษ ในประเภท ๕ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง โดยมีจํานวนยาเสพติดใหโทษไมถึง สิบกิโลกรัม ตองระวางโทษจําคุกตง้ั แตส องปถงึ สิบป หรอื ปรับต้งั แตส่ีหม่ืนบาทถึงสองแสนบาท หรอื ท้ังจําทง้ั ปรบั กรณีตามวรรคหนึ่ง ถามียาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ ตั้งแตสิบกิโลกรัมขึ้นไป ตองระวางโทษจําคกุ ต้งั แตสองปถ งึ สิบหา ป และปรับต้งั แตสองแสนบาทถงึ หนงึ่ ลานหา แสนบาท ถายาเสพติดใหโทษซ่ึงเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดดังกลาวมาในวรรคหนึ่งน้ันเปน พชื กระทอ ม ผนู น้ั ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ สองป หรอื ปรบั ไมเ กนิ สห่ี มน่ื บาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั ถายาเสพติดใหโทษซ่ึงเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดดังกลาวมาในวรรคสองนั้นเปน พชื กระทอม ผนู ัน้ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ สองป และปรบั ไมเ กนิ สองแสนบาท ๖๑มาตรา ๗๗ ผรู บั อนญุ าตผใู ดฝา ฝน มาตรา ๒๗ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเ กนิ สองหมน่ื บาท ๖๒มาตรา ๗๘ ผูรับอนุญาตผูใดฝาฝนมาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ หรือมาตรา ๓๑ ตองระวางโทษปรับไมเกนิ สหี่ มนื่ บาท ๖๓มาตรา ๗๙ ผูรับอนุญาตผูใดฝาฝนมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๔ ตองระวางโทษปรับ ไมเ กนิ หนึง่ แสนบาท ๕๗ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ และใหใ ชค วามตอไปนแี้ ทน ๕๘ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๒ และใหใ ชค วามตอ ไปนี้แทน ๕๙ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๒ และใหใชค วามตอไปนี้แทน ๖๐ มาตรา ๗๖/๑ เพม่ิ เติมโดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๓ ๖๑ ขอความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอ ไปนแี้ ทน ๖๒ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน ๖๓ ขอความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอไปนแี้ ทน

30 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๖๔มาตรา ๘๐ ผรู บั อนญุ าตผูใดไมป ฏบิ ัติตามมาตรา ๓๕ วรรคหนงึ่ ตองระวางโทษ ปรับไมเกนิ สองหมน่ื บาท ๖๕มาตรา ๘๑ เภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมผูใดไมปฏิบัติการใหเปนไปตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ หรอื มาตรา ๓๘ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเ กนิ สองหม่นื บาท ๖๖มาตรา ๘๒ ผูใดผลิต นําเขา หรือสง ออกซง่ึ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ปลอม อันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๙ (๑) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแต สามแสนบาทถงึ สองลานบาท ๖๗มาตรา ๘๓ ผใู ดจําหนายซ่งึ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ปลอม อนั เปนการฝาฝน มาตรา ๓๙ (๑) ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกินหา ป และปรบั ไมเ กนิ หาแสนบาท ๖๘มาตรา ๘๔ ผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ผิด มาตรฐาน หรอื ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ เสื่อมคณุ ภาพ อนั เปนการฝาฝนมาตรา ๓๙ (๒) หรือ (๓) ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ สามป หรือปรับไมเกินหกหมนื่ บาท หรอื ทัง้ จาํ ท้งั ปรับ ๖๙มาตรา ๘๕ ผูใดจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ผิดมาตรฐาน หรือ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ เสื่อมคุณภาพ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๙ (๒) หรือ (๓) ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ หนง่ึ ป หรือปรับไมเกินสองหมืน่ บาท หรือทัง้ จาํ ทงั้ ปรบั ๗๐มาตรา ๘๖ ผูใดผลิต นาํ เขา หรือสงออกซึ่งยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ท่ตี อ งขึน้ ทะเบยี นตํารับยาแตมไิ ดข้ึนทะเบียนตํารบั ยา หรือยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ที่รัฐมนตรสี ั่ง เพิกถอนทะเบียนตํารบั ยา อนั เปน การฝาฝน มาตรา ๓๙ (๔) หรือ (๕) ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กินหา ป และปรับไมเกินหาแสนบาท ๗๑มาตรา ๘๗ ผูใดจาํ หนา ยยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ทต่ี องข้ึนทะเบียนตํารบั ยา แตมไิ ดข ึ้นทะเบยี นตาํ รับยา หรอื ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ท่รี ัฐมนตรสี ั่งเพกิ ถอนทะเบยี น ตาํ รบั ยา อนั เปนการฝา ฝน มาตรา ๓๙ (๔) หรือ (๕) ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ สามป และ ปรับไมเกนิ สามแสนบาท ๖๔ ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอไปน้ีแทน ๖๕ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอ ไปนี้แทน ๖๖ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอไปนีแ้ ทน ๖๗ ขอความเดิมถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอ ไปน้แี ทน ๖๘ ขอ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใชค วามตอไปนแ้ี ทน ๖๙ ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอ ไปนีแ้ ทน ๗๐ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอ ไปนแ้ี ทน ๗๑ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอไปน้แี ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 31 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๗๒มาตรา ๘๘ ผูใดแกไขรายการทะเบียนตํารับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ อันเปนการฝาฝน มาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน สองหม่ืนบาท หรือท้ังจาํ ทง้ั ปรบั ๗๓มาตรา ๘๙ ผูใดฝา ฝนมาตรา ๔๘ หรอื มาตรา ๔๘/๑ หรอื ไมป ฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง ท่ีออกตามมาตรา ๔๘ หรอื มาตรา ๔๘/๑ หรอื ไมป ฏบิ ัตติ ามคาํ ส่งั ของผูอ นญุ าตตามมาตรา ๔๘/๒ ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสองป หรือปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือ ทัง้ จาํ ทัง้ ปรับ ๗๔มาตรา ๘๙/๑ ถา การกระทําตามมาตรา ๘๙ เปน การกระทําของเจาของสอื่ โฆษณา หรือ ผูประกอบกิจการโฆษณา ผูกระทาํ ตองระวางโทษเพียงก่งึ หนึ่งของโทษทีบ่ ญั ญัตไิ วส ําหรับ ความผดิ น้นั ๗๕มาตรา ๘๙/๒ ถาการกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๘๙ หรือมาตรา ๘๙/๑ เปน ความผดิ ตอเน่ือง ผกู ระทาํ ตองระวางโทษปรับวนั ละไมเกนิ หา พนั บาท หรอื ไมเ กนิ สองเทา ของ คาใชจา ยทใี่ ชสําหรับการโฆษณาน้นั ตลอดระยะเวลาท่ยี งั ฝา ฝน หรือไมป ฏบิ ตั ิตาม ๗๖มาตรา ๙๐ ผใู ดไมอาํ นวยความสะดวกตามสมควรแกพ นักงานเจาหนาทีซ่ ง่ึ ปฏิบัติ หนาที่ตามมาตรา ๔๙ หรือขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๕๕ ตอ งระวางโทษจําคุกไมเกนิ หกเดอื น หรอื ปรับไมเกินหนง่ึ หมนื่ บาท หรือทงั้ จําทัง้ ปรบั ๗๗มาตรา ๙๑ ผูใดเสพยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๕๗ หรอื ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ อันเปนการฝา ฝนมาตรา ๕๘ ตองระวางโทษจําคุกตง้ั แต หกเดือนถึงสามป หรือปรับตั้งแตห นงึ่ หมื่นบาทถงึ หกหม่นื บาท หรือทงั้ จําทงั้ ปรบั ๗๘มาตรา ๙๒ ผูใดเสพยาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๕๗ ตองระวางโทษ จําคกุ ไมเ กนิ หนึ่งป หรือปรับไมเ กนิ สองหมนื่ บาท หรือทง้ั จาํ ทั้งปรบั ถายาเสพติดใหโทษซึ่งเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดดังกลาวมานั้นเปนพืชกระทอม ผูนนั้ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนึง่ เดือน หรือปรับไมเ กนิ สองพันบาท ๗๒ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชค วามตอไปน้แี ทน ๗๓ ขอความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน ๗๔ มาตรา ๘๙/๑ เพิ่มเตมิ โดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ ๗๕ มาตรา ๘๙/๑ เพ่ิมเตมิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ ๗๖ ขอความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๖ และใหใ ชค วามตอไปนี้แทน ๗๗ ขอความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๖ และใหใ ชความตอไปนแ้ี ทน ๗๘ ขอ ความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๗ และใหใ ชความตอไปนแ้ี ทน

32 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๗๙มาตรา ๙๒/๑ ผูใดไมปฏบิ ตั ิตามคาํ สั่งของพนกั งานฝายปกครอง หรือตาํ รวจ หรอื พนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๕๘/๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ไมเกนิ หน่งึ หมืน่ บาท ๘๐มาตรา ๙๓ ผใู ดใชอุบายหลอกลวง ขูเ ขญ็ ใชกําลังประทษุ รา ย ใชอ าํ นาจครอบงํา ผดิ คลองธรรม หรอื ใชวิธีขมขนื ใจดวยประการอน่ื ใด ใหผูอื่นเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ ตอ งระวาง โทษจาํ คกุ ตั้งแตห นง่ึ ปถงึ สบิ ป และปรบั ตัง้ แตห นึ่งแสนบาทถึงหนง่ึ ลา นบาท ถา ไดก ระทาํ โดยมอี าวธุ หรอื โดยรว มกระทาํ ความผดิ ดว ยกนั ตง้ั แตส องคนขน้ึ ไป ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตส องปถ งึ สิบหา ป และปรับตัง้ แตส องแสนบาทถึงหนึ่งลานหา แสนบาท ถาการกระทาํ ตามวรรคหนึ่งหรอื วรรคสอง เปนการกระทาํ ตอหญงิ หรอื ตอ บุคคลซ่ึงยงั ไมบรรลุนิติภาวะ หรือเปนการกระทําเพื่อจูงใจใหผูอื่นกระทําผิดทางอาญา หรือเพื่อประโยชน แกตนเองหรือผูอื่นในการกระทําความผิดทางอาญา ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามป ถึงจําคุกตลอดชวี ิต และปรับตง้ั แตสามแสนบาทถึงหา ลานบาท ถายาเสพติดใหโทษซ่ึงเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดตามวรรคสามเปนมอรฟนหรือ โคคาอีน ผกู ระทําตองระวางโทษเพ่มิ ขึน้ อีกก่ึงหนึง่ และถาเปนการกระทําตอหญงิ หรอื ตอบคุ คล ซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะ ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแตหนึ่งลานบาท ถึงหาลานบาท ถายาเสพติดใหโทษซึ่งเปนวัตถุแหงการกระทําความผิดตามวรรคสามเปนเฮโรอีน ผูกระทําตองระวางโทษเปนสองเทา และถาเปนการกระทําตอหญิงหรือตอบุคคลซึ่งยังไมบรรลุ นิตภิ าวะ ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชวี ติ ๘๑มาตรา ๙๓/๑ ผูใดยุยงสงเสริมใหผูอื่นเสพยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ หรือ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ โดยฝา ฝน บทบญั ญตั แิ หง พระราชบญั ญตั นิ ้ี ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตั้งแตหนึง่ ปถ ึงหา ป หรือปรับตง้ั แตส องหมนื่ บาทถึงหนึง่ แสนบาท หรอื ทงั้ จําทั้งปรบั ถาการกระทําตามวรรคหน่ึงเปนการยุยงสงเสริมใหผูอื่นเสพยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๕ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนง่ึ ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหมน่ื บาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั ๘๒มาตรา ๙๓/๒ ผูใดใชอุบายหลอกลวง ขูเขญ็ ใชก าํ ลังประทษุ รา ย ใชอ าํ นาจครอบงํา ผิดคลองธรรม หรือใชวิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใดใหผูอื่นกระทําความผิดฐานผลิต นําเขา สง ออก จาํ หนา ย ครอบครอง เพอ่ื จาํ หนา ย หรอื ครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ตอ งระวางโทษ เปนสองเทา ของโทษท่ีกฎหมายบญั ญตั ิไว สําหรบั ความผดิ นน้ั ๗๙ มาตรา ๙๒/๑ เพมิ่ เตมิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๘ ๘๐ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๙ และใหใชค วามตอ ไปนแี้ ทน ๘๒ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๐ และใหใ ชความตอไปน้แี ทน ๘๓ มาตรา ๙๓/๒ เพิ่มเติมโดย พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๑

รวมกฎหมายยาเสพติด 33 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๘๓มาตรา ๙๔ ผูใดเสพยาเสพติดใหโทษ เสพและมีไวในครอบครอง เสพและมีไวใน ครอบครองเพ่ือจําหนา ย หรือเสพและจําหนายซง่ึ ยาเสพติดใหโทษตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปรมิ าณท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง และไดส มคั รใจขอเขา รับการบาํ บดั รกั ษาในสถานพยาบาล กอนความผิดจะปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ อีกทั้งได ปฏิบัติครบถวนตามระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และระเบียบวินัยสําหรับ สถานพยาบาลดังกลาว จนไดรับการรับรองเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ที่รัฐมนตรี กาํ หนดแลว ใหพน จากความผิดตามท่กี ฎหมายบัญญัติไว แตทัง้ นไ้ี มร วมถึงกรณคี วามผิดท่ีได กระทาํ ไปภายหลังการสมคั รใจเขารับการบําบดั รกั ษา การรบั เขา บาํ บดั รกั ษาในสถานพยาบาลตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ และวธิ ี การที่คณะกรรมการประกาศกาํ หนด ๘๔มาตรา ๙๔/๑ ผใู ดทําการบําบดั รกั ษาผูต ดิ ยาเสพติดใหโ ทษเปนปกตธิ ุระโดยใชยา ตามกฎหมายวาดวยยา วัตถุออกฤทธิ์ตามกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือยาเสพติดใหโทษตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ หรือกระทําการบําบัดรักษาผูติด ยาเสพตดิ ใหโทษไมว า โดยวิธีอื่นใด ซึง่ มิไดกระทําในสถานพยาบาลตามท่กี าํ หนดไวในพระราช บัญญัตินี้ ไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนหรือไมตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสามป และปรับตั้งแตหาหมืน่ บาทถึงสามแสนบาท ๘๕มาตรา ๙๕ ทายาท ผูครอบครอง หรือผูจัดการมรดกผูใดฝาฝนมาตรา ๖๑ ตองระวางโทษปรบั ไมเ กินสองพันบาท ๘๖มาตรา ๙๖ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษ ปรบั ไมเกินหนึ่งหม่ืนบาท ๘๗มาตรา ๙๗ ผูใดตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจําคุกสําหรับความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ ถากระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้อีกในระหวางที่ยังตองรับโทษอยู หรือภายในเวลาหาปนับแตวันพนโทษ หากศาลจะพิพากษาลงโทษครั้งหลังถึงจําคุก ใหเพิ่ม โทษทจ่ี ะลงแกผนู น้ั อีกกงึ่ หน่งึ ของโทษทศ่ี าลกําหนดสาํ หรับความผดิ ครง้ั หลัง ๘๘มาตรา ๙๘ ผูใดตองโทษตามมาตรา ๙๑ หรือมาตรา ๙๒ เป็นครั้งที่สาม เมอ่ื พน โทษแลว ใหพ นกั งานเจา หนา ทโ่ี ดยคาํ สง่ั รฐั มนตรนี าํ ไปควบคมุ ไว ณ สถานพยาบาลทร่ี ฐั มนตรี ๘๓ ขอความเดิมถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๒ และใหใชค วามตอไปนแ้ี ทน ๘๔ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๓ และใหใชความตอ ไปนแ้ี ทน ๘๕ ขอความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ และใหใชค วามตอไปน้แี ทน ๘๖ ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ และใหใชค วามตอไปนี้แทน ๘๗ มาตรา ๙๗ เปนบทบัญญัติเพิ่มโทษผทู ก่ี ระทําความผดิ ซ้ํา ๘๘ มาตรา ๙๘ เปนบทบัญญตั ิท่กี าํ หนดใหม กี ารบาํ บัดรักษาผตู ิดยาเสพติดใหโ ทษในระบบบังคบั รกั ษาในกรณีทีผ่ นู ้นั ตองโทษ ตามคําพิพากษาในความ ผิดฐานเสพยาเสพตดิ ใหโทษซ้ําเปนครงั้ ที่สามและพน โทษแลว

34 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะ และใหทําการบําบัดรักษาจนกวาจะไดรับการรับรองเปนหนังสือ จากพนักงานเจาหนาท่ีท่ีรัฐมนตรีกําหนดวาเปนผูไดรับการบําบัดรักษาครบถวนตามระเบียบขอ บงั คบั เพอื่ ควบคุมการบาํ บดั รักษา และระเบยี บวนิ ยั สาํ หรับสถานพยาบาลดังกลาวแลว ๘๙มาตรา ๙๙ ผูใดหลบหนีไปในระหวางทีถ่ ูกควบคมุ ไว ณ สถานพยาบาลตามมาตรา ๙๘ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนงึ่ ป หรอื ปรบั ไมเกินสองหม่นื บาท หรือทั้งจาํ ท้ังปรับ ๙๐มาตรา ๑๐๐ กรรมการหรอื พนักงานเจาหนา ทีต่ ามพระราชบัญญัตนิ ี้ หรอื ขาราชการ หรือพนักงานองคก ารหรอื หนวยงานของรฐั ผใู ดผลติ นาํ เขา สง ออก จาํ หนาย หรือมีไวใ น ครอบครองเพื่อจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษ หรือสนับสนุนในการกระทําดังกลาว อันเปนการ กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษเปนสามเทาของโทษที่กําหนดไวสําหรับ ความผิดนั้น ๙๑มาตรา ๑๐๐/๑ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ท้ี ม่ี โี ทษจาํ คกุ และปรบั ใหศ าลลงโทษ จําคุกและปรับดวยเสมอ โดยคํานึงถึงการลงโทษในทางทรัพยสินเพื่อปองปรามการกระทํา ความผิดเกีย่ วกบั ยาเสพติดใหโ ทษ ถาศาลเห็นวาการกระทําความผิดของผูใดเม่ือไดพิเคราะหถึงความรายแรงของการ กระทําความผิดฐานะของผูกระทําความผิดและพฤติการณที่เกี่ยวของประกอบแลว กรณีมีเหตุ อันสมควรเปนการเฉพาะราย ศาลจะลงโทษปรับนอยกวาอัตราโทษขั้นตําที่กําหนดไวสําหรับ ความผิดนนั้ กไ็ ด ๙๒มาตรา ๑๐๐/๒ ถาศาลเห็นวาผูกระทําความผิดผูใดไดใหขอมูลที่สําคัญและเปน ประโยชนอยางย่ิงในการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษตอพนักงาน ฝายปกครอง หรือตํารวจหรือพนักงานสอบสวน ศาลจะลงโทษผูนั้นนอยกวาอัตราโทษขั้นตํา ท่ีกาํ หนดไวส าํ หรบั ความผดิ นัน้ กไ็ ด ๙๓มาตรา ๑๐๑ ในกรณีที่มีการยึดยาเสพติดใหโทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรือ ประเภท ๓ ตามมาตรา ๔๙ (๒) หรือตามกฎหมายอืน่ และไมม ีการฟองคดตี อ ศาล ถาไมม ผี ใู ด มาอา งวา เปนเจา ของ ภายในกาํ หนดหกเดอื นนับแตว ันทีย่ ดึ ใหย าเสพติดใหโ ทษน้ันตกเปนของ กระทรวงสาธารณสุข ๘๙ ขอความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๕ และใหใ ชค วามตอไปน้แี ทน ๙๐ ขอ ความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๕ และใหใ ชค วามตอไปน้แี ทน ๙๑ ขอ ความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๖ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน ๙๒ ขอ ความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๖ และใหใ ชความตอไปน้แี ทน ๙๓ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๑ และใหใ ชค วามตอไปนแี้ ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 35 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ๙๔มาตรา ๑๐๑ ทวิ ในกรณีที่มกี ารยึดยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๔ หรือประเภท ๕ ตามมาตรา ๔๙ (๒) หรือตามกฎหมายอื่น ไมว าจะมีการฟองคดีตอ ศาลหรอื ไมก็ตาม เมื่อได มีการตรวจพิสูจนชนิดและปริมาณแลววาเปนยาเสพติดใหโทษในประเภทดังกลาว โดยบันทึก รายงานการตรวจพิสูจนไว ใหกระทรวง สาธารณสุขหรือผูซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมาย ทาํ ลายหรอื นาํ ไปใชประโยชนไดต ามระเบยี บทกี่ ระทรวง สาธารณสขุ กําหนด ๙๕มาตรา ๑๐๒ บรรดายาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ หรอื ประเภท ๕ เคร่อื งมือ เครอื่ งใช ยานพาหนะหรอื วัตถอุ ่ืน ซ่ึงบุคคลไดใ ชในการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพติดใหโทษ อนั เปนความผิดตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหริบเสยี ท้งั ส้นิ ๙๖มาตรา ๑๐๒ ทวิ ในกรณที ม่ี กี ารฟอ งคดคี วามผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ หรือในประเภท ๒ ตอศาล และไมไดมีการโตแยงเรื่องประเภท จํานวน หรือน้ําหนักของ ยาเสพตดิ ใหโ ทษถา ศาลชน้ั ตน มคี าํ พพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ใหร บิ ยาเสพตดิ ใหโ ทษดงั กลา วตามมาตรา ๑๐๒ หรือตามกฎหมายอื่น และไมมีคําเสนอวาผูเปนเจาของแทจริงไมไดรูเห็นเปนใจดวยใน การกระทําความผิดภายในกําหนดสามสิบวันนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหริบ ยาเสพติดใหโทษนั้น ใหกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายทําลาย หรอื นาํ ไปใชประโยชนไดต ามระเบียบทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกาํ หนด บทเฉพาะกาล๙๗ ___________________ ๙๘มาตรา ๑๐๓ ในขณะที่ยังไมมีประกาศระบุชื่อยาเสพติดใหโทษตามมาตรา ๘ (๑) แหงพระราชบญั ญตั ินี้ ให (๑) เฮโรอนี หรอื เกลือของเฮโรอีน ตามทบ่ี ัญญตั ิไวในมาตรา ๔ ทวิ แหงพระราช บัญญัติยาเสพติดใหโทษ พระพุทธศักราช ๒๔๖๕ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ยาเสพติดใหโทษ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๔ เปน ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑ ๙๔ ขอ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโทษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๒ และใหใ ชค วามตอไปนี้แทน ๙๕ นอกเหนอื จากทรัพยส นิ ทเ่ี ปนเครอื่ งมอื เคร่อื งใช ยานพาหนะ หรือวัตถุอืน่ ซ่งึ บคุ คลไดใ ชในการกระทําความผิดเกี่ยวกับ ยาเสพติดใหโ ทษจะถูกรอ ง ขอใหร ิบตามมาตรา ๑๐๒ นแี้ ลว ยังอาจถกู รอ งขอใหร บิ ตามมาตรา ๓๐ แหง พ.ร.บ.มาตรการ ในการปราบปรามผกู ระทาํ ความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ กไ็ ด โดยผลจะแตกตา งกนั คือ หากมกี ารรอ งขอใหร ิบ ตามมาตรา ๑๐๒ น้ี ทรัพยส นิ จะตกเปน ของแผนดิน แตหากมกี ารรองขอใหรบิ ตามมาตรา ๓๐ แหง พ.ร.บ.มาตรการฯ ทรัพยส นิ จะตกเปน ของกองทนุ ปองกันและปราบปรามยาเสพติด ๙๖ ขอความเดิมถกู ยกเลิกโดย พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ และใหใชความตอ ไปนแ้ี ทน ๙๗ มาตรา ๑๐๓ มาตรา ๑๐๕ และมาตรา ๑๐๖ ส้ินสภาพบังคบั ในทางกฎหมายแลว เนื่องจากไดป ฏิบัตติ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี และพน ระยะเวลา ทกี่ ําหนดไวในบทเฉพาะกาลนีแ้ ลว ๙๘ รายชือ่ และประเภทของยาเสพตดิ ใหโทษ เปน ไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๒) และประกาศ ฉบบั อ่นื ท่แี กไ ขเพม่ิ เติม ในภายหลงั

36 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๒) ยาเสพตดิ ใหโ ทษทม่ี ชี อ่ื ในบญั ชที า ยกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ดงั ตอ ไปนเ้ี ปนยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๒ (ก) ตามบญั ชีทายกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ออกตามความในพระราช บญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พระพุทธศักราช ๒๔๖๕ (ข) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื งกาํ หนดรายชอ่ื ยาเสพตดิ ใหโ ทษเพม่ิ เตมิ ออก ตามความในพระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโทษ พระพทุ ธศักราช ๒๔๖๕ ฉบับลงวันท่ี ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๑ ฉบับลงวันที่ ๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ฉบบั ลงวนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ฉบบั ลงวนั ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ฉบับลงวนั ที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๖ และฉบับลง วันที่ ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ (๓) อาเซติคแอนไฮไดรด (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด (Acetyl Chloride) เปนยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท ๔ (๔) กัญชา ตามพระราชบัญญัติกัญชา พุทธศักราช ๒๔๗๗ และพืชกระทอมตาม พระราชบัญญัติพชื กระทอม พุทธศกั ราช ๒๔๘๖ เปนยาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ มาตรา ๑๐๔ ใหยายกเวนตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษซึ่งใชอยูกอนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบงั คบั เปนยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ตามความในพระราชบัญญตั ิน้ี ใหผ ไู ดรับอนญุ าตผลติ ขาย หรือนาํ เขาซงึ่ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ดงั กลา วใน วรรคหนึ่ง ตามกฎหมายวาดวยยา ยื่นคําขอรับใบอนุญาตผลิต จําหนาย หรือนําเขาซึ่ง ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๒๐ และในกรณผี ผู ลติ หรอื ผนู าํ เขา ใหย น่ื คาํ ขอขน้ึ ทะเบยี น ตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๔๓ ภายในกาํ หนดเวลาหนง่ึ รอยแปดสบิ วนั นับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเมื่อไดยื่นคําขอรับใบอนุญาตและคําขอขึ้นทะเบียน ตํารับยาดังกลาวแลว ใหผูยื่นคําขอดําเนินกิจการไปพลางกอนได แตถาผูอนุญาตมีคําสั่งเปน หนงั สือไมอ อกใบอนุญาตให หรือผูนั้นไมม ายนื่ คาํ ขอรบั ใบอนุญาตผลิต จาํ หนา ย หรอื นาํ เขา และขอขน้ึ ทะเบียนตํารับยาภายในกําหนดเวลาดงั กลาว ใหเปนอนั หมดสทิ ธติ ามมาตราน้นี ับแต ทราบคําสั่ง หรือวันที่พนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ แลว แตกรณี และใหนําความในมาตรา ๕๕ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๐๕ ใหผูไดรบั ใบอนุญาตนํายายกเวน เขาในราชอาณาจกั ร ตามแบบ ย.ส.๙ ทา ยกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๕ ตามทไ่ี ดแ กไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี ๒) พทุ ธศักราช ๒๔๗๙ นํายายกเวนเขาในราชอาณาจักรได ตามใบอนุญาตดังกลาว แตตองปฏิบัติตามบทบัญญัติ ในมาตรา ๑๐๔ ดวย มาตรา ๑๐๖ ผทู ไ่ี ดร บั อนญุ าตใหซ อ้ื มี และจา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษ หรอื ใบอนญุ าตพิเศษ ใหซ ือ้ มี และจายยาเสพติดใหโทษเพิ่มขน้ึ กวา จํานวนท่ีกําหนดไว ตามความในกฎหมายวา ดว ย ยาเสพติดให้โทษ ซึ่งใชอยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหคงมียาเสพติดใหโทษ

รวมกฎหมายยาเสพติด 37 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ไวในครอบครองดําเนินกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตนั้นสิ้นอายุ และถาประสงคจะดําเนิน กิจการตอไป ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้กอนใบอนุญาตเดิมจะสิ้นอายุแต ถาผูอนุญาตมีคําสั่งเปนหนังสือไมออกใบอนุญาตให ผูนั้นไมมีสิทธิดําเนินกิจการนับแตวันที่ ทราบคาํ ส่งั เปน ตน ไป และใหน ําความในมาตรา ๕๕ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ ส. โหตระกติ ย รองนายกรฐั มนตรี

38 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ อัตราคา ธรรมเนียม๙๙ (๑) ใบอนญุ าตใหผ ลติ ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๒) ใบอนญุ าตใหน าํ เขา ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๓) ใบอนญุ าตใหส ง ออกซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๔) ใบอนญุ าตจาํ หนา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๕) ใบอนญุ าตมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๖) ใบอนญุ าตจาํ หนา ยยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๗) ใบอนญุ าตผลติ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ฉบบั ละ ๖,๐๐๐ บาท (๘) ใบอนญุ าตนาํ เขา ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ฉบบั ละ ๖,๐๐๐ บาท (๙) ใบอนญุ าตสงออกซึง่ ยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ฉบับละ ๒๐๐ บาท (๑๐) ใบอนุญาตมีไวใ นครอบครองซ่งึ ยาเสพติดใหโทษในประเภท ๔ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๑๑) ใบอนุญาตนาํ เขา หรอื สง ออกแตล ะคร้ัง ซ่ึงยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๓ ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท (๑๒) ใบอนุญาตจาํ หนา ยมไี วใ นครอบครองซ่ึงยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๒ เกินปรมิ าณที่รัฐมนตรกี าํ หนดตามมาตรา ๖๐ ฉบับละ ๒๐๐ บาท (๑๓) ใบสาํ คญั การขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๓ ฉบบั ละ ๒,๐๐๐ บาท (๑๔) ใบอนญุ าตโฆษณาเพื่อการคาซึ่งยาเสพติดใหโทษตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๘/๑ ฉบบั ละ ๓,๐๐๐ บาท (๑๕) ใบแทนใบอนญุ าต ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท (๑๖) ใบแทนใบสาํ คญั การขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท ๓ ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท (๑๗) การอนญุ าตใหแ กไ ขรายการทะเบยี นตามมาตรา ๔๔ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๑๘) การตอ อายใุ บอนญุ าตหรอื ใบสาํ คญั การขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ครง้ั ละเทา กบั คา ธรรมเนยี มสาํ หรบั ใบอนญุ าตหรอื ใบสาํ คญั นน้ั หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบัญญัตฉิ บับน้ี คือ เนื่องจากกฎหมายวาดวย ยาเสพติดใหโทษทีใ่ ชบังคับอยูใ นปจจบุ ันไดใ ชบงั คับมานานแลว และมีบทบัญญัตทิ ่ไี มเ หมาะสม กับกาลสมัย สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกลาวเพื่อใหการปราบปรามและควบคุมยาเสพติดให โทษเปน ไปโดยมีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้ และเพอื่ ใหส อดคลองกับอนุสญั ญาระหวา งประเทศวาดว ย ยาเสพตดิ ใหโทษซ่งึ ประเทศไทยเปน ภาคสี มาชิกอยู จงึ จาํ เปนตอ งตราพระราชบัญญตั นิ ้ี ๙๙ อตั ราคาธรรมเนียมเดิมถูกยกเลกิ โดย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๗ และใหใชความตอไปนแ้ี ทน

รวมกฎหมายยาเสพติด 39 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชบัญญตั ิ วตั ถทุ ่อี อกฤทธติ์ อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙๑ สมเดจ็ พระเจาอยูหัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ใหไว ณ วันท่ี ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เปนปท่ี ๑ ในรชั กาลปจจุบัน สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู มพี ระราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิตบิ ญั ญตั ิแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและ ประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน ตน ไป มาตรา ๓ ใหย กเลกิ (๑) พระราชบัญญัติวัตถทุ ีอ่ อกฤทธต์ิ อ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ (๒) พระราชบญั ญตั วิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธ์ิตอจติ และประสาท (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ (๓) พระราชบญั ญตั ิวัตถุทอี่ อกฤทธติ์ อ จติ และประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ (๔) พระราชบญั ญตั ิวัตถทุ ่อี อกฤทธิต์ อจิตและประสาท (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตินี้ “วัตถุออกฤทธิ์” หมายความวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนสิ่งธรรมชาติ หรือที่ไดจากสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนวัตถุสังเคราะห ทั้งนี้ ตามท่รี ัฐมนตรปี ระกาศกาํ หนด ๑ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๐๗ ก ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๙

40 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ “วตั ถตุ ํารบั ” หมายความวา สงิ่ ปรงุ ไมว าจะมรี ูปลกั ษณะใดทมี่ ีวัตถอุ อกฤทธร์ิ วมอยดู ว ย ทั้งน้ี รวมท้ังวตั ถอุ อกฤทธทิ์ มี่ ลี ักษณะเปนวัตถุสําเรจ็ รปู ทางเภสชั กรรมซ่ึงพรอมที่จะนําไปใชแก คนหรือสัตวได “วัตถุตํารับยกเวน” หมายความวา วัตถุตํารับที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดใหไดรับการ ยกเวน จากมาตรการควบคมุ บางประการสาํ หรบั วตั ถอุ อกฤทธ์ิทมี่ ีอยูในวัตถุตํารับนน้ั “ฉลาก” หมายความวา รูป รอยประดิษฐ เครื่องหมายหรือขอความใด ๆ ซึ่งแสดงไวที่ ภาชนะหรอื หบี หอ บรรจุวตั ถุออกฤทธ์ิ “เอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์” หมายความวา กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําใหปรากฏ ความหมายดวยรูป รอยประดิษฐ เครื่องหมายหรือขอความใดๆ อันเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ ซ่งึ สอดแทรกหรอื รวมไวก ับภาชนะหรือหีบหอบรรจวุ ตั ถุออกฤทธิ์ “ผลิต” หมายความวา ทาํ ผสม ปรุง แปรสภาพ เปล่ียนรูป สังเคราะหท างวทิ ยาศาสตร เพาะ หรือปลูกเฉพาะพืชทเี่ ปน วัตถอุ อกฤทธ์ิ และใหหมายความรวมถึงการแบงบรรจุ หรือรวม บรรจดุ ว ย “ขาย” หมายความวา จําหนา ย จาย แจก แลกเปลี่ยน ให สง มอบหรอื มีไวเพอ่ื ขาย “นําเขา” หมายความวา นาํ หรือส่ังเขา มาในราชอาณาจักร “สง ออก” หมายความวา นําหรอื สงออกไปนอกราชอาณาจักร “นําผาน” หมายความวา นําหรือสงผานราชอาณาจักร แตไมรวมถึงการนําหรือสง วัตถุออกฤทธ์ิผานราชอาณาจักรโดยมิไดมีการขนถายออกจากอากาศยานท่ีใชในการขนสง สาธารณะระหวางประเทศ “เสพ” หมายความวา การรับวัตถุออกฤทธิ์เขาสูรางกายโดยรูอยูวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ ไมวา ดว ยวิธใี ด “ติดวัตถุออกฤทธิ์” หมายความวา เสพวัตถุออกฤทธิ์เปนประจําติดตอกันจนตกอยู ในสภาพที่จําเปนตองพึ่งวัตถุออกฤทธิ์นั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเชนวานั้นไดตามหลัก วิชาการ “การบําบัดรักษา” หมายความวา การบําบัดรักษาผูติดวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งรวมตลอดถึง การฟน ฟูสมรรถภาพและการติดตามผลภายหลังการบาํ บดั รกั ษาดวย “สถานพยาบาล” หมายความวา โรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานพกั ฟน หรอื สถานที่ อ่ืนใดทใี่ หการบาํ บดั รักษาผเู สพหรอื ผูต ิดวัตถุออกฤทธิ์ ทง้ั น้ี ตามทร่ี ัฐมนตรีประกาศกําหนด “สถานที่” หมายความวา อาคารหรอื สว นของอาคาร และใหห มายความรวมถึงบริเวณ ของอาคารนนั้ “เภสัชกร” หมายความวา ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพ เภสชั กรรม

รวมกฎหมายยาเสพติด 41 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ “ขอความ” หมายความวา เรื่องราวหรือขอเท็จจริงไมวาจะปรากฏในรูปแบบของ ตัวอกั ษร ภาพ ภาพยนตร แสง เสยี งหรอื เครือ่ งหมาย และใหห มายความรวมถงึ การกระทําใดๆ ใหป รากฏดว ยสิ่งนั้นอันทําใหบุคคลทวั่ ไปสามารถเขาใจความหมายได “โฆษณา” หมายความวา การเผยแพรห รอื การสอื่ ความหมายไมวา กระทาํ โดยวธิ ีใดๆ ใหประชาชนเห็นหรือทราบขอความเพื่อประโยชนในทางการคา แตไมรวมถึงเอกสารทาง วชิ าการหรอื ตาํ ราที่เกย่ี วกบั การเรยี นการสอน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการ สว นทอ งถ่ิน รฐั วิสาหกจิ องคก ารมหาชน และหนว ยงานอื่นของรัฐ “ผูรับอนุญาต” หมายความวา ผูไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่นิติ บุคคลเปนผูรับใบอนุญาต ใหหมายความรวมถึงผูซึ่งนิติบุคคลแตงตั้งใหเปนผูดําเนินกิจการ เกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ดว ย “ผูอนุญาต” หมายความวา (๑) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยา นอกจากการอนญุ าตใน (๒) (๒) ผวู า ราชการจงั หวดั ในจงั หวดั อน่ื นอกจากกรงุ เทพมหานคร หรอื ผซู ง่ึ ไดร บั มอบหมาย จากผวู า ราชการจงั หวดั นน้ั เฉพาะสาํ หรบั การอนญุ าตใหข ายวตั ถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ การสั่งพักใชใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาตดังกลาว ในจังหวัดที่อยู ในเขตอํานาจ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการวตั ถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท “พนกั งานเจา หนา ท”่ี หมายความวา ผซู ง่ึ รฐั มนตรแี ตง ตง้ั ใหป ฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา “รฐั มนตรี” หมายความวา รฐั มนตรีผูรกั ษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา ๕ พระราชบญั ญัตนิ ีไ้ มใชบ งั คับแกสาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา และใหส าํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยารายงานการรบั การจา ย การเกบ็ รกั ษาและวธิ กี าร ปฏิบัตอิ ยางอน่ื ท่ีเก่ียวกบั การควบคมุ วตั ถุออกฤทธ์ิตอ คณะกรรมการทุกหกเดือนของปป ฏิทนิ มาตรา ๖ ใหร ฐั มนตรีวา การกระทรวงสาธารณสขุ รักษาการตามพระราชบญั ญัตินี้ และ ใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทาย พระราชบัญญตั นิ ้ี ยกเวนคาธรรมเนยี มและกําหนดกจิ การอน่ื กับออกประกาศ ทั้งนี้ เพอ่ื ปฏิบตั ิ การตามพระราชบัญญัตนิ ้ี กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เม่ือไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใ ชบ ังคับได มาตรา ๗ ใหร ฐั มนตรโี ดยคาํ แนะนาํ ของคณะกรรมการมอี าํ นาจประกาศกาํ หนดในเรอ่ื ง ดังตอ ไปน้ี

42 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑) ระบชุ อ่ื และจดั แบง ประเภทวตั ถอุ อกฤทธว์ิ า วตั ถอุ อกฤทธอ์ิ ยใู นประเภทใดประเภทหนง่ึ ดงั ตอไปน้ี (ก) ประเภท ๑ วตั ถอุ อกฤทธิ์ที่ไมใชในทางการแพทย และอาจกอใหเ กิดการ นาํ ไปใช หรอื มแี นวโนมในการนําไปใชในทางทผี่ ิดสงู (ข) ประเภท ๒ วัตถุออกฤทธิ์ที่ใชในทางการแพทย และอาจกอใหเกิดการ นาํ ไปใช หรอื มแี นวโนม ในการนําไปใชใ นทางท่ผี ดิ สูง (ค) ประเภท ๓ วัตถุออกฤทธิ์ที่ใชในทางการแพทย และอาจกอใหเกิดการ นาํ ไปใช หรอื มแี นวโนม ในการนาํ ไปใชในทางทผี่ ิด (ง) ประเภท ๔ วัตถุออกฤทธิ์ที่ใชในทางการแพทย และอาจกอใหเกิดการ นําไปใช หรือมีแนวโนมในการนําไปใชใ นทางท่ีผดิ นอ ยกวา ประเภท ๓ (๒) กําหนดมาตรฐานวา ดว ยปริมาณ สว นประกอบ คณุ ภาพ ความบริสทุ ธิ์หรอื ลักษณะ อน่ื ของวัตถอุ อกฤทธ์ิ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเก็บรกั ษาวตั ถุออกฤทธ์ติ าม (๑) (๓) เพิกถอนหรอื เปล่ยี นแปลงชื่อหรือประเภทวตั ถุออกฤทธติ์ าม (๑) (๔) ระบชุ ่อื และประเภทวตั ถอุ อกฤทธทิ์ ีห่ ามผลติ ขาย นําเขา สง ออก นําผานหรอื มไี ว ในครอบครอง (๕) ระบุชื่อวตั ถุออกฤทธ์ใิ นประเภท ๒ ซึง่ อนุญาตใหผลิตเพ่อื สงออกและสงออกได (๖) ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ตองมีคําเตือนหรือขอควรระวัง และขอความ ของคําเตือนหรือขอควรระวงั ใหผ ูใชระมดั ระวงั ตามความจําเปนเพื่อความปลอดภัยของผใู ช (๗) ระบชุ ่ือและประเภทวัตถอุ อกฤทธท์ิ ี่ตองแจงกําหนดการสิ้นอายุไวในฉลาก (๘) เพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ ระบุวัตถุตํารับใหเปนวัตถุตํารับยกเวน และเพิกถอน วตั ถุตํารบั ยกเวน (๙) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการกําหนดปริมาณวัตถุออกฤทธิ์ที่ผูอนุญาตจะ อนุญาตใหผ ลิต ขาย นําเขา หรือมไี วในครอบครอง (๑๐) กาํ หนดปริมาณวตั ถอุ อกฤทธิใ์ นประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ท่ผี ูป ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม ผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมหรือผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทยชั้นหนึ่งมีไวใน ครอบครองไดตามมาตรา ๙๐ (๑๑) ระบชุ อ่ื และประเภทวตั ถอุ อกฤทธิ์ทป่ี ระเทศหน่ึงประเทศใดหามนําเขา ตามมาตรา ๑๑๑ (๑๒) กาํ หนดสถานทแ่ี หง ใดในราชอาณาจกั รใหเ ปน ดา นตรวจสอบวตั ถอุ อกฤทธท์ิ น่ี าํ เขา สง ออก หรือนําผาน (๑๓) ระบหุ นว ยงานของรฐั ตามมาตรา ๒๑ (๒) มาตรา ๔๗ วรรคหนง่ึ มาตรา ๘๙ (๓) และมาตรา ๙๗ วรรคหนงึ่ (๑๔) กาํ หนดสถานพยาบาลตามพระราชบัญญตั ินี้

รวมกฎหมายยาเสพติด 43 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๑๕) กําหนดระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษาและระเบียบวินัยสําหรับ สถานพยาบาล หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถทุ ี่ออกฤทธติ์ อจติ และประสาท ___________________ มาตรา ๘ ใหม ีคณะกรรมการคณะหนึง่ เรียกวา “คณะกรรมการวัตถทุ ีอ่ อกฤทธต์ิ อจิต และประสาท” ประกอบดวย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ เลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา อัยการสูงสุด ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการแพทย อธิบดีกรมคุมประพฤติ อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดี กรมศลุ กากร อธบิ ดกี รมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ อธบิ ดกี รมสขุ ภาพจติ อธบิ ดกี รมอนามยั เลขาธกิ าร คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพตดิ นายกแพทยสภา นายกสภาเภสัชกรรม และ ผทู รงคณุ วฒุ ิอกี ไมเ กนิ เจ็ดคนซงึ่ รัฐมนตรแี ตงตั้งจากผูม ีความรู ความสามารถหรือประสบการณ เกย่ี วกับวัตถอุ อกฤทธ์ิ เปน กรรมการ ใหเลขาธิการเปนกรรมการและเลขานุการ และผูอํานวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปน กรรมการและผชู วยเลขานุการ มาตรา ๙ กรรมการผูทรงคณุ วุฒิมวี าระการดาํ รงตาํ แหนง คราวละสามป เม่ือครบกําหนดตามวาระดังกลา วในวรรคหน่งึ หากยงั มิไดมกี ารแตงต้งั กรรมการผูท รง คณุ วุฒขิ น้ึ ใหม ใหก รรมการซึ่งพนจากตาํ แหนง ตามวาระนนั้ อยใู นตาํ แหนงเพื่อดาํ เนนิ งานตอไป จนกวา กรรมการซ่งึ ไดรบั แตงตง้ั ใหมเขารบั หนาที่ กรรมการผทู รงคุณวุฒิซง่ึ พน จากตําแหนง ตามวาระอาจไดรับการแตง ตง้ั อีกได มาตรา ๑๐ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจาก ตําแหนง เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรใี หอ อก เพราะมคี วามประพฤติเสื่อมเสยี บกพรอ งหรอื ไมสุจริตตอ หนาท่ี หรอื หยอ นความสามารถ (๔) เปนคนไรค วามสามารถหรือคนเสมอื นไรความสามารถ (๕) ไดร ับโทษจาํ คุกโดยคําพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจําคกุ เวนแตเ ปนโทษสําหรับความผิด ทไี่ ดก ระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ (๖) ถกู ส่งั พักใชห รอื เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี เวชกรรม ใบอนุญาตประกอบ โรคศิลปะ หรือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพอน่ื

44 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ เมอ่ื กรรมการผทู รงคณุ วฒุ พิ น จากตาํ แหนง กอ นวาระ ใหร ฐั มนตรแี ตง ตง้ั ผอู น่ื เปน กรรมการ แทน และใหผูนน้ั อยูในตําแหนง ตามวาระของกรรมการซงึ่ ตนแทน มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา กึ่งหนึง่ ของจาํ นวนกรรมการทงั้ หมด จึงเปน องคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไม อาจปฏิบัตหิ นา ที่ได ใหกรรมการทมี่ าประชุมเลอื กกรรมการคนหนงึ่ เปน ประธานในทปี่ ระชุม การวนิ จิ ฉยั ช้ีขาดของทป่ี ระชมุ ใหถ อื เสยี งขา งมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานใน ที่ประชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ข้นึ อีกเสียงหน่ึงเปนเสยี งชขี้ าด มาตรา ๑๒ ใหคณะกรรมการมีอาํ นาจหนาท่ี ดังตอ ไปน้ี (๑) ใหค าํ แนะนาํ ตอรฐั มนตรเี พ่อื ปฏิบตั ิการตามมาตรา ๗ (๒) ใหความเห็นชอบตอ ผอู นุญาตในการขึ้นทะเบียนวตั ถตุ ํารับ (๓) ใหค วามเหน็ ชอบตอ ผอู นญุ าตในการสง่ั พกั ใชใ บอนญุ าตหรอื การเพกิ ถอนใบอนญุ าต (๔) เสนอความเหน็ ตอ รฐั มนตรใี นการออกกฎกระทรวงเพอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๕) ใหค วามเหน็ หรือคําแนะนาํ ตอ ผอู นุญาตในการปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี (๖) ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ตามทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ บ้ี ญั ญตั ใิ หเ ปน อาํ นาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการ หรือตามที่รัฐมนตรมี อบหมาย มาตรา ๑๓ ใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษา หรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ และใหนําความในมาตรา ๑๑ มาใชบงั คบั แกก ารประชมุ ของคณะอนกุ รรมการโดยอนุโลม หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเก่ียวกับวตั ถอุ อกฤทธ์ิ ___________________ มาตรา ๑๔ หามผูใดผลิต ขาย นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เวนแตไดรับใบอนญุ าตจากผูอ นุญาตเฉพาะในกรณจี ําเปน เพือ่ ประโยชนข องทางราชการ การขออนุญาตและการออกใบอนญุ าต ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ วธิ ีการและเงื่อนไขท่ี กําหนดในกฎกระทรวง การผลิต นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ คํานวณเปนสารบริสุทธิ์ เกนิ ปริมาณทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง ใหสนั นษิ ฐานวาผลติ นาํ เขาหรือสงออกเพ่อื ขาย

รวมกฎหมายยาเสพติด 45 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๑๕ หามผูใดผลิต นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เวนแต ไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาตเฉพาะกรณีดังตอ ไปนี้ (๑) มีความจําเปน เพื่อประโยชนข องทางราชการ (๒) เปน ผไู ดร บั มอบหมายจากกระทรวงสาธารณสขุ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ หรอื (๓) เปนการผลิตเพื่อสงออกและสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ บางชนิดที่ รัฐมนตรีประกาศระบุช่ือตามมาตรา ๗ (๕) การขออนญุ าตและการออกใบอนุญาต ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วธิ ีการและเง่ือนไขท่ี กําหนดในกฎกระทรวง การพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหผูขออนุญาตเปนผูรับผิดชอบชําระคาใชจาย ในการตรวจวิเคราะหหรือประเมินเอกสารทางวิชาการ ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ คณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา การผลิต นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ คํานวณเปนสารบริสุทธิ์ เกินปรมิ าณท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง ใหสันนษิ ฐานวาผลติ นําเขา หรอื สง ออกเพอื่ ขาย มาตรา ๑๖ หา มผใู ดขายวตั ถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๒ เวน แตไ ดร บั ใบอนญุ าตจากผอู นญุ าต การขออนญุ าตและการออกใบอนญุ าต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วธิ ีการและเง่ือนไขที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๗ ผูอนุญาตอาจอนุญาตใหยานพาหนะที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวาง ประเทศทจ่ี ดทะเบยี นในราชอาณาจกั ร นาํ เขา หรอื สง ออกซง่ึ วตั ถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณเทาทจี่ ําเปนตอ งใชประจาํ ในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุ ฉกุ เฉนิ ในยานพาหนะนน้ั ได การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๘ บทบัญญตั ิมาตรา ๑๕ ไมใชบ ังคับแก (๑) การนําวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ติดตัวเขามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักร ไมเ กนิ ปรมิ าณทจ่ี าํ เปน ตอ งใชร กั ษาเฉพาะตวั ภายในสามสบิ วนั โดยมหี นงั สอื รบั รองของผปู ระกอบ วชิ าชพี เวชกรรม ผปู ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรมหรอื ผปู ระกอบวชิ าชพี การสตั วแพทยช น้ั หนง่ึ หรอื (๒) การนาํ เขา หรอื สงออกซง่ึ วตั ถุออกฤทธใ์ิ นประเภท ๒ ในปรมิ าณเทา ทจ่ี าํ เปนตอ งใช ประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะที่ใชในการขนสงสาธารณะ ระหวา งประเทศ ซง่ึ ไมไ ดจดทะเบยี นในราชอาณาจักร

46 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๑๙ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ได เมื่อ ปรากฏวา ผขู ออนญุ าตเปน (๑) หนวยงานของรฐั ทม่ี ีหนาทบี่ ําบดั รกั ษาหรอื ปองกนั โรค และสภากาชาดไทย (๒) หนว ยงานของรฐั ทไ่ี ดร ับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๑) (๓) ผูร ับอนุญาตผลติ หรือนําเขา ตามมาตรา ๑๕ (๒) หรอื (๔) ผปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมผปู ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรมหรอื ผปู ระกอบวชิ าชพี การ สัตวแพทยชั้นหนึ่ง ซึ่งเปนผูดําเนินการตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล หรือกฎหมาย วาดวยสถานพยาบาลสัตว แลว แตกรณี และ (ก) มถี นิ่ ท่อี ยูในประเทศไทย (ข) ไมเ คยไดร บั โทษจาํ คกุ โดยคาํ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ าํ คกุ สาํ หรบั ความผดิ ตาม กฎหมายวา ดว ยวตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ อ จติ และประสาท กฎหมายวา ดว ยยาเสพตดิ ใหโ ทษ กฎหมาย วาดวยการปองกันการใชสารระเหย กฎหมายวาดวยมาตรการในการปราบปรามผูกระทํา ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และกฎหมายวา ดวยยา (ค) ไมอ ยรู ะหวา งถกู สงั่ พกั ใชห รอื เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี เวชกรรม ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตกรรม ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการสัตวแพทยชั้นหนึ่ง ใบอนุญาตตามกฎหมายวาดว ยยาเสพติดใหโทษหรือใบอนญุ าตตามพระราชบัญญัตินี้ (ง) ไมเ ปน บคุ คลวิกลจริตหรอื จิตฟนเฟอ นไมสมประกอบ (จ) ไมเปนคนไรค วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค วามสามารถ ในการพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ผูอนุญาตจะตองคํานึงถึงความจําเปนของผูขอ อนุญาตในการมีไวเพอ่ื ขาย และจะกําหนดเง่ือนไขตามที่เหน็ สมควรกไ็ ด มาตรา ๒๐ หามผใู ดผลิต ขาย นาํ เขา หรือสงออกซึ่งวตั ถุออกฤทธ์ใิ นประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ หรือนําผานซงึ่ วตั ถุออกฤทธิ์ทกุ ประเภท เวนแตไ ดร บั ใบอนญุ าตจากผอู นุญาต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ กําหนดในกฎกระทรวง การผลติ นาํ เขา หรอื สงออกซ่งึ วัตถอุ อกฤทธิใ์ นประเภท ๓ หรือประเภท ๔ หรอื นําผา น ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท คํานวณเปนสารบริสุทธิ์เกินปริมาณที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหสนั นิษฐานวาผลิต นาํ เขา สงออก หรือนาํ ผา นเพอ่ื ขาย มาตรา ๒๑ บทบญั ญัตมิ าตรา ๒๐ ไมใ ชบ งั คบั แก (๑) การผลิตซึ่งกระทําโดยการปรุง การแบงบรรจุหรือการรวมบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ใน ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ของเภสชั กรผมู หี นา ทค่ี วบคมุ การขายตามมาตรา ๕๑ เฉพาะตาม ใบส่ังยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมสําหรับคนไข เฉพาะราย หรอื ของผูประกอบวชิ าชีพการสตั วแพทยชน้ั หน่ึงสาํ หรบั สัตวเฉพาะราย

รวมกฎหมายยาเสพติด 47 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ (๒) การผลิต ขาย นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ โดยกระทรวง ทบวง กรม และสภากาชาดไทย หรือหนวยงานของรัฐตามที่รัฐมนตรีประกาศ กาํ หนด (๓) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในสถานพยาบาลตาม กฎหมายวาดวยสถานพยาบาลของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม ซึ่งขายเฉพาะสําหรับคนไขที่ตนใหการรักษาพยาบาล หรือในสถานพยาบาลสัตวตามกฎหมาย วาดวยสถานพยาบาลสัตวของผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทยชั้นหน่ึงซ่ึงขายเฉพาะสําหรับ สัตวทีต่ นทําการบาํ บดั หรอื ปองกนั โรค (๔) การนาํ วตั ถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ตดิ ตวั เขา มาในหรอื ออกไปนอก ราชอาณาจักรไมเกินปริมาณที่จําเปนตองใชรักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวัน โดยมีหนังสือ รับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมหรือผูประกอบวิชาชีพ การสัตวแพทยชัน้ หนงึ่ หรอื (๕) การนําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณ เทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะท่ีใชใน การขนสงสาธารณะระหวา งประเทศ ซงึ่ ไมไ ดจดทะเบียนในราชอาณาจักร มาตรา ๒๒ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหผลิต ขายหรือนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไดเ มือ่ ปรากฏวา ผูขออนุญาต (๑) ไดรับใบอนุญาตผลิต ขายหรือนําเขาซึ่งยาแผนปจจุบันตามกฎหมายวาดวยยา แลว แตกรณี และ (๒) มเี ภสชั กรอยูประจําตลอดเวลาทีเ่ ปดทําการ ผอู นุญาตจะออกใบอนญุ าตใหส ง ออกซึ่งวตั ถุออกฤทธ์ใิ นประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ได เมอ่ื ปรากฏวา ผขู ออนญุ าตไดร บั ใบอนญุ าตผลติ ขายหรอื นาํ เขา ซง่ึ วตั ถอุ อกฤทธต์ิ ามวรรคหนง่ึ แลว ใหผ รู บั อนญุ าตผลติ หรอื นาํ เขา ซง่ึ วตั ถอุ อกฤทธ์ิ ขายวตั ถอุ อกฤทธด์ิ งั กลา วทต่ี นผลติ หรอื นาํ เขา ไดโดยไมต องขออนญุ าตขายอกี มาตรา ๒๓ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๘๘ และมาตรา ๑๐๐ ใหค ุมกันถึงลูกจา งหรอื ตัวแทนของผรู ับอนญุ าตดวย ใหถือวาการกระทําของลูกจางหรือตัวแทนของผูรับอนุญาตท่ีไดรับการคุมกันตาม วรรคหนึ่งเปนการกระทําของผูรับอนุญาตดวย เวนแตผูรับอนุญาตจะพิสูจนไดวาการกระทําดัง กลาวเปน การสุดวสิ ยั ทีต่ นจะลว งรูห รอื ควบคุมได มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๘ (๑) และมาตรา ๘๘ ใหใชไดจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปที่ออกใบอนุญาต ถาผูรับอนุญาตประสงคจะขอตออายุ

48 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ใบอนุญาตตอ งยนื่ คาํ ขอกอ นใบอนุญาตส้ินอายุ เมือ่ ไดย ่ืนคาํ ขอแลวจะประกอบกิจการตอ ไปกไ็ ด จนกวา ผอู นุญาตจะส่งั ไมอ นุญาตใหตออายุใบอนญุ าตนั้น ผูรับอนุญาตซึ่งใบอนุญาตของตนสิ้นอายุไมเกินสามสิบวัน จะยื่นคําขอผอนผันพรอม แสดงเหตุผลการขอผอนผันการตออายุใบอนุญาตก็ได แตการยื่นขอผอนผันนี้ไมเปนเหตุใหพน ความรับผิดสําหรับการประกอบกิจการในระหวางใบอนุญาตสิ้นอายุ ซึ่งไดกระทําไปกอนขอตอ อายใุ บอนุญาต การขอตออายุใบอนุญาตและการอนญุ าต ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วธิ กี ารและเงอื่ นไข ท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๕ ในกรณีผูอนุญาตไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ผูขออนุญาตหรือผูขอตออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบ วันนับแตวันท่ีไดรับหนังสือของผูอนุญาตแจงการไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบ อนญุ าต ใหรัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีไดรับหนังสือ อุทธรณ คําวินจิ ฉัยของรฐั มนตรใี หเปน ท่ีสดุ ในกรณมี กี ารอทุ ธรณก ารขอตอ อายใุ บอนญุ าตตามวรรคหนง่ึ กอ นทร่ี ฐั มนตรจี ะมคี าํ วนิ จิ ฉยั อุทธรณรฐั มนตรีจะสง่ั อนุญาตใหป ระกอบกจิ การไปพลางกอ นเม่ือมีคําขอของผูอ ทุ ธรณก็ได มาตรา ๒๖ ใหผูรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ไดรับยกเวนไมตองปฏิบัติการตาม กฎหมายวา ดว ยยาอีก หมวด ๓ หนา ทข่ี องผูร ับอนญุ าต ___________________ มาตรา ๒๗ หามผูรับอนุญาตผูใด ผลิต ขาย นําเขาหรือเก็บไวซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ทุกประเภทนอกสถานท่ที รี่ ะบุไวใ นใบอนญุ าต มาตรา ๒๘ ผูอนญุ าตอาจออกใบอนญุ าตใหผรู ับอนญุ าตขายวตั ถอุ อกฤทธ์ิในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ นอกสถานที่ทรี่ ะบุไวใ นใบอนุญาตไดในกรณีดงั ตอ ไปน้ี (๑) การขายสงตรงแกผ รู บั อนญุ าตอืน่ ตามพระราชบญั ญัติน้ี หรอื แกผ ปู ระกอบวิชาชีพ เวชกรรม ผปู ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรมหรือผปู ระกอบวิชาชีพการสตั วแพทยช ้ันหนึ่ง (๒) การขายในบรเิ วณสถานทท่ี ม่ี กี ารประชมุ ของผปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม ผปู ระกอบ วชิ าชีพทันตกรรม ผูประกอบวชิ าชีพเภสัชกรรมหรอื ผปู ระกอบวชิ าชีพการสตั วแพทยชัน้ หน่งึ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง

รวมกฎหมายยาเสพติด 49 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๒๙ ผูรับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ จะขายวัตถุออกฤทธิ์ ในประเภท ๒ ได โดยมเี งือ่ นไขดังตอ ไปน้ี (๑) ขายเฉพาะสาํ หรบั คนไขท ผ่ี ปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมหรอื ผปู ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม ใหการรกั ษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดว ยสถานพยาบาลหรอื สถานพยาบาล ของรฐั หรอื ขายเฉพาะสาํ หรบั ใชก บั สตั วท ผ่ี ปู ระกอบวชิ าชพี การสตั วแพทยช น้ั หนง่ึ ทาํ การบาํ บดั หรอื ปอ งกันโรค ณ สถานพยาบาลสัตวต ามกฎหมายวา ดวยสถานพยาบาลสตั ว และ (๒) ขายเฉพาะวัตถอุ อกฤทธิ์ในประเภท ๒ ทผ่ี อู นญุ าตไดอ นญุ าตใหผลติ หรือนาํ เขา ความใน (๑) ไมใชบ งั คับแกผูร ับอนุญาตตามมาตรา ๑๙ (๒) และ (๓) แตตองปฏิบัติ ตามเงอื่ นไขการขายที่เลขาธกิ ารประกาศกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ มาตรา ๓๐ ผูรบั อนญุ าตผลติ นําเขาหรือสงออกซงึ่ วตั ถุออกฤทธใิ์ นประเภท ๒ ตาม มาตรา ๑๕ ผรู บั อนญุ าตขายวตั ถอุ อกฤทธิ์ในประเภท ๒ ตามมาตรา ๑๙ (๓) และผูรับอนุญาต ผลติ ขาย นาํ เขา หรอื สง ออกซ่งึ วตั ถอุ อกฤทธ์ใิ นประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ตามมาตรา ๒๐ ตองจดั ใหมเี ภสัชกรอยูประจาํ ควบคมุ กิจการตามเวลาทีเ่ ปด ทาํ การซง่ึ ระบุไวในใบอนุญาต ในระหวา งทเ่ี ภสัชกรมิไดอยูประจาํ ควบคมุ กิจการ หามผรู บั อนญุ าตดาํ เนินการผลิตหรือ ขายวตั ถอุ อกฤทธิใ์ นประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในกรณีทเี่ ภสัชกรพนจากหนาท่หี รือไมสามารถปฏบิ ัตหิ นาที่ไดเ ปน การชวั่ คราว ใหผรู ับ อนุญาตจัดใหมีเภสัชกรอ่ืนเขาปฏิบัติหนาท่ีแทนไดเปนระยะเวลาไมเกินเกาสิบวันโดยแจงเปน หนงั สอื ตอผูอนุญาตและใหถ อื วาเภสชั กรผทู ําหนา ท่แี ทนมีหนา ท่เี หมอื นผทู ีต่ นแทน ในกรณีที่ผูรับอนุญาตตามวรรคหนึ่งประสงคจะเปล่ียนตัวเภสัชกรใหย่ืนคําขอตอ ผูอนญุ าตและจะเปลย่ี นตัวไดเมอ่ื ไดรับอนญุ าตแลว มาตรา ๓๑ ใหผูรับอนญุ าตผลิตวัตถอุ อกฤทธิใ์ นประเภท ๒ ปฏิบตั ิดังตอไปน้ี (๑) จัดใหมีการวิเคราะหวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นกอนนําออกจากสถานที่ผลิตโดยตองมี การวิเคราะหทุกครั้งและมีหลักฐานแสดงรายละเอียดของการวิเคราะหซึ่งตองเก็บรักษาไว ไมน อยกวาสบิ ปนับแตว นั วิเคราะห (๒) จัดใหมีฉลากสําหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิต หรือจัดใหมีฉลากและเอกสารกํากับ วตั ถุออกฤทธิ์สําหรับวัตถุตํารับที่ผลิต ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ คณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๓) จดั ใหมีการแยกเกบ็ วัตถุออกฤทธิเ์ ปน สว นสัดจากยาหรอื วัตถอุ ืน่ (๔) จัดใหมีการทําบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ ตามหลักเกณฑ วิธีการและ เง่อื นไขทค่ี ณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๕) ดําเนินการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการผลิตยา ตามกฎหมายวา ดวยยา

50 รวมกฎหมายยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๐) และ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๓๒ ใหผูรับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติ ตอไปนี้ (๑) จัดใหมีปายแสดงวาเปนสถานที่ผลิตวัตถุออกฤทธิ์ กับปายแสดงชื่อและเวลา ทําการของเภสชั กรไวในทเี่ ปดเผยเหน็ ไดงา ยจากภายนอกอาคาร ณ สถานทีผ่ ลิต ลกั ษณะและ ขนาดของปาย และขอความที่แสดงในปายใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา (๒) จัดใหมีการวิเคราะหวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นกอนนําออกจากสถานที่ผลิตโดยตอง มีการวิเคราะหทุกครั้ง และมีหลักฐานแสดงรายละเอียดของการวิเคราะหซึ่งตองเก็บรักษาไว ไมนอ ยกวาสบิ ปนบั แตว ันวิเคราะห (๓) จดั ใหมีฉลากสําหรับวตั ถอุ อกฤทธิ์ท่ีผลติ หรือจดั ใหม ีฉลากและเอกสารกาํ กับวตั ถุ ออกฤทธิต์ ามทีไ่ ดขนึ้ ทะเบยี นวตั ถตุ ํารบั ไว ท้ังนี้ ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วิธีการและเงอื่ นไขท่ี คณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (๔) จัดใหมกี ารแยกเกบ็ วัตถอุ อกฤทธ์ิเปน สว นสดั จากยาหรือวตั ถุอ่นื (๕) จัดใหมีการทําบัญชีเกี่ยวกับการผลิตและการขายวัตถุออกฤทธิ์ ตามหลักเกณฑ วิธกี ารและเงอื่ นไขที่คณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๖) ดําเนินการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการผลิตยา ตามกฎหมายวา ดวยยา มาตรา ๓๓ ใหผ รู บั อนญุ าตขายวัตถอุ อกฤทธ์ใิ นประเภท ๒ ปฏบิ ตั ดิ งั ตอไปน้ี (๑) ดแู ลใหม ฉี ลากและเอกสารกาํ กบั วตั ถอุ อกฤทธซ์ิ ง่ึ มขี อ มลู ครบถว นตามทผ่ี รู บั อนญุ าต ผลิตหรอื นําเขา จดั ไว (๒) จัดใหม ีการแยกเกบ็ วัตถุออกฤทธเ์ิ ปน สวนสดั จากยาหรอื วัตถุอ่นื (๓) จัดใหมีการทําบัญชีเกี่ยวกับการขายวัตถุออกฤทธิ์ ตามหลักเกณฑ วิธีการและ เงื่อนไขทคี่ ณะกรรมการกาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๔ ใหผูรับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติ ตอไปน้ี (๑) จดั ใหม ปี า ยแสดงวา เปน สถานทข่ี ายวตั ถอุ อกฤทธ์ิ กบั ปา ยแสดงชอ่ื และเวลาทาํ การ ของเภสชั กรไวใ นทีเ่ ปด เผยเห็นไดงายจากภายนอกอาคาร ณ สถานทข่ี าย ลกั ษณะและขนาด ของปายและขอความท่ีแสดงในปายใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา (๒) ดแู ลใหม ฉี ลากและเอกสารกาํ กบั วตั ถอุ อกฤทธซ์ิ ง่ึ มขี อ มลู ครบถว นตามทผ่ี รู บั อนญุ าต ผลติ หรอื นําเขา จัดไว (๓) จัดใหม กี ารแยกเก็บวัตถอุ อกฤทธ์เิ ปนสว นสัดจากยาหรอื วัตถอุ ่ืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook