Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

Published by kk0630144155, 2022-03-07 05:28:42

Description: เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

Search

Read the Text Version

100 - หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระ - หวั หน้างานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน - ผู้เก่ียวข้องทีส่ ถานศึกษาพจิ ารณาตามความเหมาะสม 1.3. จดั ทำแผนงานพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ คณะกรรมการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ มีบทบาทหนา้ ทส่ี ำคัญที่จะเปน็ ผู้สำรวจ วเิ คราะหค์ วาม พรอ้ ม รวบรวมข้อมลู แล้วจัดทำแผนพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ให้สามารถดำเนินการได้อยา่ งเหมาะสม 1.4. สรา้ งความเขา้ ใจแก่บุคลากรของสถานศึกษาและชุมชน สถานศึกษาดำเนนิ การสรา้ งความเข้าใจกบั บคุ ลากรทกุ ๆ ฝ่ายในสถานศกึ ษาและบุคลากรอ่ืนท่ี เก่ยี วข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เครือข่ายผู้ปกครอง เพ่ือสร้างความตระหนักและเหน็ ความสำคญั มีส่วนรว่ มในการพฒั นาและใช้แหลง่ การเรียนรู้ 1.5. ประชาสัมพันธ์โครงการ สถานศกึ ษามีการประชาสัมพนั ธ์โครงการพัฒนาและใชแ้ หล่งการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ครู อาจารย์ นกั เรยี น ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน รวมทัง้ ผ้เู กยี่ วข้อง มีความเข้าใจตรงกนั เกดิ ความ ร่วมมอื ในการสนบั สนุน ช่วยเหลอื เพือ่ ใหแ้ หล่งการเรียนรู้เกิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนอยา่ งมีประสิทธภิ าพและคมุ้ ค่า 2. ข้นั การดำเนนิ งาน สร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ (DO) สถานศกึ ษาอาจมีแนวทางการสรา้ ง พัฒนา ใช้แหลง่ เรียนรู้ ไดด้ งั นี้ 2.1. จัดตง้ั คณะผู้รบั ผิดชอบแหล่งการเรยี นรู้ ซงึ่ อาจประกอบด้วย บคุ ลากร ดังต่อไปนี้ - รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวิชาการ - หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ - หัวหน้างานหอ้ งสมดุ - หวั หน้าศนู ย์คอมพิวเตอร์ ของสถานศึกษา รับผดิ ชอบการดำเนนิ การสรา้ งและพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้ ตามความพร้อมท่ีได้ดำเนินการสำรวจ และวเิ คราะห์ ข้อมลู ท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน กำหนดแหลง่ เรียนรู้และจัดระบบสารสนเทศเกย่ี วกับแหลง่ การเรยี นรู้ 2.2. สร้างและพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ ดำเนินการสรา้ งและพัฒนาแหล่งการเรยี นรตู้ ามสารสนเทศท่มี ีอยู่ ให้มีประสทิ ธภิ าพ จัดระบบการใช้ สำหรับ ผ้เู รยี น และผูส้ นใจ 2.3. ผเู้ รียนและผู้สนใจได้ใชแ้ หลง่ การเรยี นรู้อย่างเหมาะสมและคมุ้ คา่ มีการรวบรวมขอ้ มูล การใช้ เพ่ือเปน็ ข้อมลู กำหนดแนวทางในการพฒั นาแหล่งเรียนรตู้ อ่ ไป 3. ข้นั ตรวจสอบ ทบทวน กำกบั ตดิ ตาม (CHECK) สถานศึกษากำหนดให้มีผู้รบั ผิดชอบในการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ การพัฒนาและใช้

101 แหลง่ การเรยี นรู้ อย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ แก้ไข ปัญหาอุปสรรคในระหว่างการดำเนนิ การ มีการประเมินทบทวนปรับปรงุ กระบวนการดำเนนิ การ ให้เกิดการพฒั นาและใช้ แหล่งการเรยี นรู้ ตามแผนหลกั และแนวดำเนนิ การของสถานศึกษาในฝันทส่ี ถานศกึ ษากำหนดไว้ ตามบรบิ ทของสถานศึกษาเอง มี การกำหนดวธิ ีการ และเครื่องมือประเมินผลการดำเนินการ การสร้าง การพัฒนาและใช้แหล่งการ เรยี นรู้ วิเคราะห์ผลการประเมนิ และสรุปผลการประเมิน 4. ขน้ั สรปุ และรายงานผลการสร้างและพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ (ACTION) การสรปุ รายงานการพัฒนาและใช้แหลง่ การเรียนรู้ ควรรวบรวมขอ้ มูลตั้งแต่เรมิ่ ดำเนินการ ระหวา่ ง ดำเนนิ การ และเสรจ็ สิ้นการดำเนนิ การ เพื่อสรปุ เปน็ รายงานนำเสนอให้หนว่ ยงานต้นสังกดั ทกุ ระดับและผู้เก่ยี วขอ้ งทราบ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธ์ ให้เกดิ การใชแ้ หลง่ การเรยี นรู้ให้กวา้ งขวางย่งิ ขึ้น เป็น การสง่ เสรมิ การพัฒนาต่อยอดต่อไป การบรหิ ารจัดการเพอ่ื การพฒั นา และใชแ้ หลง่ การเรยี นรสู้ ำหรบั สถานศึกษา การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ เป็นงานทสี่ ถานศึกษาสว่ นใหญ่ดำเนนิ การอยแู่ ล้ว ภาพความสำเรจ็ ทจ่ี ะเกิด ขน้ึ กบั นกั เรยี นกค็ ือ การเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ ซึง่ มหี ลายช่องทาง เพียงแตก่ ารดำเนินการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ ยงั เป็นไปโดยไม่เป็นระบบ และกระบวนการ ทีช่ ัดเจน แหลง่ เรียนรู้บางแหง่ จึงไม่ได้ถูกใชแ้ ละพัฒนาอย่างต่อเน่ือง แหลง่ การเรยี นรู้ทเี่ ปน็ ธรรมชาติกถ็ ูกละเลย ไม่ได้เข้าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจงึ ตอ้ งเป็นผู้นำ การดำเนนิ การ ส่คู วามสำเร็จโดยกำหนดเปน็ นโยบายทีช่ ัดเจน ซ่งึ อาจบรหิ ารจัดการไดด้ งั น้ี 1. ข้ันวางแผน (Plan) 1.1. กำหนดนโยบายการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ สถานศึกษากำหนดนโยบายการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ โดย ทำความเข้าใจนโยบายตามแผน หลัก หลักสูตร รวมทั้งแนวดำเนินการของสถานศกึ ษาในฝนั เพ่ือกำหนดนโยบายการพัฒนาและใช้ แหล่งการเรยี นรู้ โดยใหค้ ณะครูมสี ว่ นรว่ มในการกำหนด 1.2 .จดั ตง้ั คณะกรรมการสำรวจแหล่งการเรยี นรู้ เพอ่ื วิเคราะหส์ ภาพความพรอ้ มในการพัฒนาแหล่ง การเรียนรใู้ นสถานศกึ ษาและชมุ ชน ซ่งึ อาจประกอบด้วย - ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา - ผู้ชว่ ยผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ฝา่ ยวชิ าการ - หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ - หวั หนา้ งานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น - ผู้เก่ียวขอ้ งทีส่ ถานศึกษาพจิ ารณาตามความเหมาะสม 1.3. จดั ทำแผนงานพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้

102 คณะกรรมการพฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้ มบี ทบาทหนา้ ทส่ี ำคญั ทจ่ี ะเป็นผู้สำรวจ วเิ คราะหค์ วาม พรอ้ ม รวบรวมข้อมูลแลว้ จดั ทำแผนพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ให้สามารถดำเนนิ การได้อยา่ งเหมาะสม 1.4. สร้างความเขา้ ใจแกบ่ ุคลากรของสถานศึกษาและชุมชน สถานศกึ ษาดำเนนิ การสรา้ งความเข้าใจกับบคุ ลากรทกุ ๆ ฝ่ายในสถานศึกษาและบุคลากรอน่ื ที่ เก่ยี วข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน เครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อสร้างความตระหนักและเหน็ ความสำคญั มีส่วนร่วมในการพัฒนาและใช้แหล่งการเรียนรู้ 1.5. ประชาสัมพนั ธ์โครงการ สถานศกึ ษามกี ารประชาสมั พนั ธ์โครงการพฒั นาและใชแ้ หล่งการเรยี นรู้ เพื่อให้ครู อาจารย์ นกั เรียน ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน รวมทง้ั ผู้เก่ยี วข้อง มีความเข้าใจตรงกัน เกิดความ รว่ มมือในการสนบั สนุน ชว่ ยเหลอื เพอ่ื ให้แหล่งการเรยี นรู้เกิดประโยชน์ต่อผเู้ รียนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและค้มุ ค่า 2. ขนั้ การดำเนินงาน สร้างและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ (DO) สถานศกึ ษาอาจมีแนวทางการสร้าง พัฒนา ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ ไดด้ งั นี้ 2.1. จดั ตง้ั คณะผ้รู บั ผดิ ชอบแหล่งการเรยี นรู้ ซง่ึ อาจประกอบด้วย บคุ ลากร ดังต่อไปนี้ - รองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ - หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ - หัวหน้างานห้องสมุด - หวั หน้าศนู ย์คอมพิวเตอร์ ของสถานศึกษา รบั ผิดชอบการดำเนนิ การสรา้ งและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ ตามความพรอ้ มท่ีไดด้ ำเนินการสำรวจ และวเิ คราะห์ ข้อมูล ทัง้ ในสถานศึกษาและชุมชน กำหนดแหล่งเรียนรแู้ ละจดั ระบบสารสนเทศเกย่ี วกับแหลง่ การเรยี นรู้ 2.2. สรา้ งและพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ ดำเนนิ การสร้างและพัฒนาแหลง่ การเรยี นรูต้ ามสารสนเทศทมี่ ีอยู่ ให้มปี ระสิทธิภาพ จัดระบบการใช้ สำหรบั ผเู้ รียน และผูส้ นใจ 2.3. ผเู้ รยี นและผสู้ นใจได้ใชแ้ หลง่ การเรียนร้อู ย่างเหมาะสมและคมุ้ คา่ มีการรวบรวมข้อมูล การใช้ เพื่อเปน็ ข้อมลู กำหนดแนวทางในการพฒั นาแหล่งเรียนรตู้ อ่ ไป 3. ข้นั ตรวจสอบ ทบทวน กำกบั ติดตาม (CHECK) สถานศกึ ษากำหนดให้มีผรู้ ับผิดชอบในการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินการพัฒนาและใช้ แหล่งการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องและมปี ระสิทธภิ าพ แก้ไข ปัญหาอุปสรรคในระหว่างการดำเนินการ มีการประเมนิ ทบทวนปรบั ปรุง กระบวนการดำเนินการ ให้เกิดการพัฒนาและใช้ แหลง่ การเรียนรู้ ตามแผนหลักและแนวดำเนินการของสถานศึกษาในฝนั ท่ีสถานศึกษากำหนดไว้ ตามบรบิ ทของสถานศึกษาเอง มี การกำหนดวิธกี าร และเครื่องมอื ประเมนิ ผลการดำเนนิ การ การสร้าง การพัฒนาและใชแ้ หล่งการ

103 เรยี นรู้ วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ และสรุปผลการประเมนิ 4. ขน้ั สรุปและรายงานผลการสร้างและพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ (ACTION) การสรปุ รายงานการพัฒนาและใช้แหล่งการเรียนรู้ ควรรวบรวมข้อมูลตงั้ แตเ่ ริม่ ดำเนินการ ระหว่าง ดำเนนิ การ และเสรจ็ สนิ้ การดำเนนิ การ เพ่ือสรปุ เป็นรายงานนำเสนอใหห้ น่วยงานตน้ สังกดั ทุกระดับและผเู้ ก่ยี วข้องทราบ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธ์ ใหเ้ กดิ การใช้แหล่งการเรยี นรู้ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขน้ึ เปน็ การส่งเสริมการพัฒนาต่อยอดต่อไป คณุ ลักษณะพิเศษของเครือขา่ ยการเรยี นรู้ 1. สามารถเขา้ ถึงไดก้ ว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรยี นสามารถเรียกข้อมูลมาใชไ้ ดง้ า่ ย และเช่ือมโยงเขา้ หา นักเรียนคนอ่ืนไดร้ วดเร็ว และสามารถเรยี กใช้ข้อมูลได้ทุกเวลาทกุ สถานที่ที่มีเครอื ขา่ ย 2. เป็นการเรียนแบบรว่ มกนั และทำงานร่วมกนั เป็นกล่มุ คุณลักษณะพ้ืนฐานของเครือข่ายการเรียนรู้ คอื การเรยี นแบบร่วมมือกัน ดงั นั้น ระบบเครือข่ายจงึ เป็นกลุ่มของการเรยี นรู้ โดยผา่ นระบบการสื่อสารท่ีสงั คมยอมรบั เครือข่ายการเรียนรจู้ ึงมรี ูปแบบของการร่วมกนั บนพน้ื ฐานของการแบง่ ปันความนา่ สนใจ ของขอ้ มูลขา่ วสารซ่ึงกัน และกนั 3. สรา้ งกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้กระทำมากกวา่ เป็นผู้ถกู กระทำ 4. ผู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทท่เี ปลี่ยนแปลงไป 5. จดั ให้เครือขา่ ยการเรยี นรเู้ ปน็ เสมือนชุมชนของการเรียนรูแ้ บบออนไลน์ 3.5 การจดั การเรยี นรู้บนเครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต ความหมายของบทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ บทเรียนบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ หมายถงึ การเรียนการสอนผ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตโดยมีการ จัดสภาพการเรียนการสอนที่มกี ารออกแบบอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยคณุ สมบัติและทรพั ยากรของเวิล์ดไวด์ เวบ็ มาเปน็ สื่อกลางในการถ่ายทอดเพ่อื สง่ เสริมและสนบั สนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธภิ าพ ในการ จดั การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ นัน้ อาจจดั การเรยี นการสอนทั้งกระบวนการหรือนำมาใชเ้ พยี ง ส่วนใดส่วนใดสว่ นหนึ่งของกระบวนการก็ได้ การเรียนการสอนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ถอื เปน็ วิธีการเรียน แบบใหม่ทชี่ ่วยพฒั นาให้เกิดการเรยี นรแู้ ละช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคข์ องการเรยี นในเร่ืองของเวลาและ สถานที่ เพราะในการเรียนบนเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ นน้ั ผูเ้ รยี นสามารถเรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา ผเู้ รยี นไม่ จำเปน็ ต้องเรยี นในห้องเรียนเทา่ น้ัน ขอเพียงผู้เรยี นสามารถเชือ่ มโยงกบั อนิ เทอร์เนต็ ได้ ผู้เรยี นก็สามารถ เรียนได้ โดยในการเรียนบนเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ตผเู้ รยี นและผ้สู อนสามารถมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กนั โดยผา่ นระบบ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ทเี่ ช่ือมโยงถงึ กนั

104 องคป์ ระกอบของบทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ในการจดั ทำบทเรยี นบนเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตน้นั มีองคป์ ระกอบในการจัดทำบทเรียนได้แก่ 1. องค์ประกอบของหน้าเว็บ ประกอบดว้ ยข้อความ พื้นหลัง และภาพ ขอ้ ความทีใ่ ช้ในบทเรยี นตอ้ งเลอื กขนาดใหเ้ หมาะสมโดยข้อความส่วนทเ่ี ป็นหัวขอ้ หลกั ต้องมีขนาดใหญ่กว่า ขอ้ ความทเี่ ป็นหัวข้อยอ่ ย สีข้อความที่ใช้ตอ้ งไม่กลมกลนื กับสีพนื้ หลงั พืน้ หลังที่ใช้ไม่ควรมลี วดลายเพราะจะทำให้เป็นที่สนใจมากกว่าตัวหนงั สือซ่งึ เปน็ เนื้อหา สพี ืน้ หลังทใี่ ช้ไม่ ควรใช้สีเข้มเกินไป ควรใชส้ ีอ่อนๆ ทดี่ ูแลว้ สบายตา ภาพท่ีใชม้ หี ลายชนิดทั้งภาพท่ี เปน็ ภาพนงิ่ และภาพเคลื่อนไหว การใชภ้ าพในบทเรยี นจะช่วยดงึ ดูดให้ผเุ้ รยี นเกดิ ความอยากเรยี นมากข้ึนแต่ไม่ ควรใช้ภาพเคลือ่ นไหวในหนา้ ของเนื้อหาเพราะจะทำให้ผ้เู รียนสนใจแตภ่ าพไมส่ นใจเน้ือหาในบทเรียน 2. องคป์ ระกอบเวบ็ เพจ ประกอบดว้ ย โฮมเพจ คือ หน้าแรกของเวบ็ ไซต์เปน็ หนา้ ท่ีบอกให้ทราบถึงหัวขอ้ เรื่องของบทเรยี น เวบ็ เพจแนะนำ คอื เวบ็ เพจท่แี นะนำวิธีการใช้บทเรยี น และรายละเอยี ดของเนื้อหาท่เี รียน เว็บเพจแสดงเนอ้ื หา คอื เวบ็ เพจที่แสดงเน้ือหาของแต่ละบทเรยี นโดยจะมีคำอธบิ าย เก่ยี วกบั หน่วยการเรยี น วิธีการเรยี น วัตถปุ ระสงค์ และเน้ือหาของบทเรียนแตล่ ะบทเรยี น เว็บเพจแสดงแบบฝกึ หดั คอื เวบ็ เพจแสดงแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนรวมถงึ เวบ็ เพจเฉลยคำตอบ ของบทเรยี น เว็บเพจสนทนา คือ เว็บเพจที่ใชแ้ สดงความคดิ เห็นหรือใชส้ นทนาแลกเปลี่ยนความรกู้ ันระหวา่ งผเู้ รยี นกับ ผเู้ รียนหรอื ผูเ้ รยี นกบั ผู้สอน เว็บเพจแสดงประวัติ คอื เวบ็ เพจแสดงขอ้ มูลส่วนตวั ผสู้ อน เวบ็ เพจแบบประเมนิ คอื เว็บเพจทแี่ สดงแบบประเมินเพือ่ ให้ผู้เรยี นประเมนิ ผลการสอน เวบ็ เพจประกาศข่าว คือ เวบ็ เพจทผี่ ู้สอนใช้ในการประกาศข้อความต่าง ๆ ซ่ึงอาจจะเก่ยี วข้องหรอื ไม่ เกย่ี วขอ้ งกบั การเรยี นก็ได้ เวบ็ เพจคำถามคำตอบ คือ เว็บเพจทีแ่ สดงคำถามและคำตอบทเี่ ก่ยี วกบั เนื้อหาวิชา โปรแกรมการเรยี น และ เรือ่ งที่เก่ียวขอ้ ง องคป์ ระกอบของบทเรียนบนเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตในรูปแบบของเวบ็ เพจควรมีการออกแบบใหม้ ีองค์ประกอบ ต่างๆ ให้ครบถ้วน ซึ่งในการออกแบบควรคำนึงถงึ องค์ประกอบการออกแบบบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ใน ลักษณะของการสนบั สนุนการเรยี นการสอนเพ่อื จะได้บทเรียนบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีมีคณุ ภาพและมคี วาม สวยงามมากขน้ึ ประเภทของบทเรยี นบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ บทเรยี นบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ แบ่งได้เปน็ 3 ประเภท คือ

105 1. บทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตแบบรายวิชาเดยี ว คอื บทเรยี นบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตท่ีมีการ บรรจเุ น้ือหาหรือเอกสารในรายวชิ าเพ่ือการสอนเพียงอย่างเดยี ว มีลักษณะการส่อื สารแบบทางเดียว 2. บทเรียนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตแบบสนับสนุนรายวิชา คอื บทเรียนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตที่มีการ สื่อสารผา่ นระบบคอมพวิ เตอรเ์ ป็นการส่ือสารสองทางที่มีปฏสิ มั พนั ธก์ ันระหว่างผู้สอนและผเู้ รียน 3. บทเรียนบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ แบบศนู ย์การศกึ ษา คือ บทเรยี นบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตที่มี รายละเอยี ดเน้ือหาทางการศึกษารวมถึงมีการเช่ือมโยงไปยังเวบ็ ไซต์อื่นๆ และยังรวมขอ้ มลู เกย่ี วกับ สถาบันการศึกษาต่างๆ เพือ่ ให้บริการกบั ผู้เรียนรวมถงึ เป็นแหล่งสนบั สนุนกิจกรรมต่างๆ ทางการศึกษาอีกดว้ ย หลักการออกแบบบทเรียนบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ในการออกแบบบทเรียนบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ควรยดึ หลักการดังต่อนี้ 1. การสร้างแรงจงู ใจใหก้ ับผ้เู รยี น ในการออกแบบบทเรยี นบนเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตควรออกแบบให้ เร้าความสนใจกับผูเ้ รยี นโดยการใช้ ภาพเคลอ่ื นไหว สีและเสยี งประกอบทนี่ ่าสนใจเพ่ือกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนอยาก เรียนรู้ 2. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นใหช้ ัดเจน 3. มกี ารทบทวนความรู้เดิมใหก้ บั ผ้เู รยี นเพอื่ เป็นการเตรียมความพร้อมให้ผูเ้ รยี นสำหรบั รบั ความรู้ใหม่ 4. กระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นมีความกระตือรือร้นท่จี ะเรียนรู้ กระต้นุ ให้ผู้เรยี นรูจ้ ักคิด 5. เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี น 6. มกี ารทดสอบความรูเ้ พ่อื ให้แนใ่ จว่าผ้เู รียนได้รบั รถู้ ึงพัฒนาการทางการเรียนของตนเองและเป็นการ เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนสามารถประเมนิ ผลการเรยี นของตนเอง 7. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ท่ไี ด้จากการเรียนไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ หลกั การออกแบบระบบการเรียนการสอนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ข้นั ตอนในการออกแบบระบบการเรยี นการสอนบนเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตทผี่ ูส้ อนตอ้ งคำนึงถงึ มี 5 ขนั้ ตอน คอื 1. ขน้ั การวเิ คราะห์ เป็นข้ันตอนแรกในการออกแบบและพฒั นาการเรียนการสอนผา่ นเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตท่ี ผอู้ อกแบบนควรให้ความสำคัญเนือ่ งจากเปน็ พ้นื ฐานสำหรับการวางแผนในขั้นตอนอื่นๆ ในการวเิ คราะห์ ผอู้ อกแบบต้องวเิ คราะห์ ความตอ้ งการของผู้เรียน เนอ้ื หาท่ีจะเรียน รวมถึงวเิ คราะหท์ รัพยากรต่างๆ ที่เกีย่ วข้อง ดว้ ย 2. ขั้นการออกแบบ เปน็ การนำผลที่ไดจ้ ากกรวิเคราะหม์ าใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการออกแบบการเรยี นการ สอน โดยเรมิ่ จากเขียนวตั ถุประสงค์ กำหนดเน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน วธิ กี ารประเมินผล รวมถึงวาง โครงสร้างของบทเรียนให้น่าสนใจดว้ ย

106 3. ข้นั การพฒั นา เปน็ ขัน้ ดำเนินการผลิตบทเรยี นบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ โดยใช้โปรแกรมตา่ งๆ เช่น Macromedia Dream weaver เป็นต้น 4. ขัน้ การนำไปใช้ เป็นการนำบทเรียนบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ที่พัฒนาแลว้ ไปใช้ในการเรียนการสอน 5. ขั้นการประเมนิ และปรับปรุง เปน็ ขัน้ ตอนสุดท้ายท่ีจะชว่ ยให้บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตไดร้ ับ การพัฒนาให้มีประสิทธภิ าพดีข้ึน โดยการประเมินจากการนำไปใช้ว่ามีประสิทธิภาพเพียงใดและยงั มสี ว่ นใดบ้างท่ี ต้องปรับปรงุ แก้ไข หลกั การพ้นื ฐานของการจัดการเรียนการสอนผ่านเวบ็ เครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ หลกั การพ้นื ฐานในการจัดการเรียนการสอนผ่านเวบ็ เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตมีดังนี้ 1. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผูส้ อนสามารถติดต่อสอ่ื สารกนั ได้ตลอดเวลา เพ่อื สนทนา แลกเปลี่ยนความรู้ซึง่ กนั และกนั 2. ในการจดั การเรยี นการสอน ควรสนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นเปน็ คนกระตือรือร้นและรจู้ ักคิดหาคำตอบ 3. ควรสนบั สนุนให้ผ้เู รยี นรู้จกั แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรยี นเปน็ ผขู้ วนขวายใฝห่ าความรตู้ า่ งๆ ด้วยตนเอง 4. ผเู้ รยี นควรทราบผลการเรยี นรขู้ องตนโดยทันทจี ากการทำแบบทดสอบ 5. เปน็ การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจำกดั สำหรบั ผู้ท่ีตอ้ งการแสวงหาความรู้ การออกแบบระบบการเรยี นการสอนบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ในการจดั ทำบทเรยี นบนเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ต้องมกี ารอกแบบระบบการเรยี นการสอนของบทเรียนตาม ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. ศกึ ษาผู้เรยี นและเนื้อหาของบทเรียนเพื่อกำหนดวตั ถุประสงค์และหาแนวทางในการจดั การเรียนการ สอน 2. ศึกษาเน้อื หาของบทเรียนเพือ่ ออกแบบการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั เนอ้ื หา 3. กำหนดโครงสรา้ งของบทเรียน 4. ออกแบบการเรียนการสอน 5. พฒั นาบทเรียนบนเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ 6. นำบทเรียนบนเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตไปใช้ 7. ประเมินผลการใช้งานบทเรียนบนเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอนบนเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ในการจัดการเรยี นการสอนบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ควรมีขนั้ ตอนดงั นี้ 1. กำหนดวัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนการสอน

107 2. การวิเคราะห์ผูเ้ รยี น 3. การออกแบบเนื้อหารายวชิ า 4. กำหนดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาทจี่ ะสอน 5. เตรียมเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เน็ตให้พรอ้ มใช้ในการเรียนการสอน 6. แจง้ วัตถุประสงค์ เน้อื หา และวธิ ีการเรียนการสอนผู้เรียนทราบ 7. สำรวจความพร้อมของผเู้ รียน 8. จัดการเรยี นการสอนตามรปู แบบทีผ่ ูส้ อนกำหนดไว้ 9. ประเมินผลการเรยี นการสอน ขั้นตอนการเรียนดว้ ยบทเรียนบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต 1. อา่ นคำแนะนำและวธิ กี ารใช้บทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตใหเ้ ขา้ ใจ กอ่ นทำการเรยี นในบทเรยี น 2. คลกิ เขา้ สู่ บทเรียน 3. ทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธก์ิ ่อนเรยี น 4. คลกิ เข้าสบู่ ทเรียน บทที่ 1, 2, 3, ......ไปเรอื่ ยจนจบบทเรยี น 5. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นในบทเรยี นที่กำลงั จะเรียน 6. เขา้ สู่บทเรียนเพ่ือเรยี นเนือ้ หาในบทต่างๆ 7. ทำแบบทดสอบหลังเรียนในบทเรยี นท่ีเรียนจบ ประโยชนข์ องการเรยี นการสอนบนเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต การเรียนการสอนบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตมีประโยชน์ ดงั นี้ 1. ผู้เรยี นสามารถเรียนรูไ้ ดท้ ุกทท่ี ุกเวลา อาจเรยี กได้วา่ เปน็ การเรียนทสี่ ามารเรยี นร้ไู ดต้ ลอด 24 ช่วั โมง 2. ในการเรียนนนั้ ไม่จำเป็นตอ้ งเรยี นในห้องเรียนเทา่ น้ันและไมจ่ ำเปน็ ต้องเรียนเฉพาะในเวลาเรียน เท่านัน้ 3. การเรียนการสอนบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนที่อยู่ห่างไกลได้เรยี น 4. การเรียนการสอนบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกนั ทางการศึกษา 5. การเรยี นการสอนบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตเป็นการส่งเสรมิ การศึกษาตลอดชวี ิต 6. ผเู้ รียนสามารถแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กนั ได้ 7. ผู้เรยี นสามารถทบทวนเนือ้ หาไดเ้ มื่อผ้เู รยี นไม่เข้าใจโดยไมต่ อ้ งกลัววา่ จะรบกวนเวลาเรียนของเพ่ือน รว่ มหอ้ ง 8. สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรยี นร้เู พราะมีการนำเทคโนโลยีเขา้ มาใชใ้ นการเรยี นการสอนทำให้ นักเรยี นไมร่ สู้ ึกเบ่ือกับการเรียน

108 9. การสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เนต็ เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าเรยี นได้ 10. ผ้เู รยี นสามารถแสดงความคดิ เห็นผ่านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตได้ 11. เกดิ ความสะดวกสบายกบั ผเู้ รยี นท่ีเรยี นไปดว้ ยทำงานไปดว้ ย 12. ผู้เรยี นสามารถแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ระหว่างผ้เู รียนกับผ้เู รียน และผู้เรียนกบั ผู้สอนหรอื ผู้เชีย่ วชาญได้ 13. ผู้เรยี นเกิดความกระตือรือร้นในการเรยี น 14. ผู้เรียนไมต่ ้องเสยี ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปเรยี น 15. ผู้เรยี นสามารถเลือกเรยี นในเน้ือหาวชิ าท่ีตนเองสนใจได้ ขอ้ จำกดั ของบทเรยี นบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต 1. งบประมาณทใ่ี ช้ในการสรา้ งบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตค่อนขา้ งสงู 2. ผู้เรยี นไมท่ ราบเทคนคิ วธิ ีการในการปฏสิ มั พันธก์ บั ผู้อน่ื 3. บุคลากรท่ีมคี วามสามารถในการพัฒนาสื่อมีไมเ่ พยี งพอ 4. ความเรว็ ของอินเทอร์เนต็ บางสถานที่ไมเ่ พยี งพอตอ่ การใชง้ านบทเรยี นบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ 5. เน้ือหาของการเรียนการสอนไม่มีขอบเขต 6. ขาดการวางแผนในการเรียนการสอน 7. บทเรียนทม่ี ีการใช้มลั ติมเี ดียมากเกนิ ไปจะทำใหเ้ ขา้ เรียนในบทเรียนไดช้ ้า ทฤษฎีทเี่ ก่ยี วข้องกับบทเรียนบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องกับการจัดทำบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ มหี ลายทฤษฎโี ดยมีผู้กล่าวถงึ ทฤษฎีท่ี เก่ยี วข้องกับบทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ไว้ ดงั นี้ 1. ทฤษฎพี ฤติกรรมนิยม ทฤษฎนี เ้ี ช่ือวา่ พฤติกรรมของมนุษย์นน้ั เกิดจากการเรยี นรู้ และเชือ่ ว่าการเสริมแรงจะช่วยใหเ้ กิดพฤตกิ รรมตามต้องการ 2. ทฤษฎีปญั ญานิยม ทฤษฎีน้มี ีแนวคดิ เกีย่ วกับการเรยี นรู้วา่ การเรยี นเป็นการ ผสมผสานระหว่างขอ้ มูลข่าวสารเดิมกับขอ้ มลู ข่าวสารใหม่ ผู้เรียนมีวธิ กี ารเรียนรู้และการนำความรู้ไปใช้แตกต่าง กนั 3. ทฤษฎีสรา้ งความรู้ใหมโ่ ดยผู้เรียนเอง การเรียนรูค้ อื การแก้ปัญหาซง่ึ ข้นึ อยกู่ ับการค้นพบของผู้เรียน แต่ละบุคคล ครูจะต้องจดั ให้สอื่ การเรียนการสอนและจัดสภาพแวดลอ้ มท่ีกระต้นุ ให้ผ้เู รยี นเกดิ การอยากเรียนรู้ 4. ทฤษฎกี ารประมวลสารสนเทศเป็นทฤษฎีการเรยี นรู้ทีใ่ หค้ วามจำกดั ความของการเรยี นรู้วา่ เปน็ การ เปล่ยี นความรูข้ องผู้เรียนท้งั ปรมิ าณและวธิ ีการประมวลสารสนเทศ 5. ทฤษฎโี ครงสรา้ งความรู้ เชื่อวา่ มนษุ ยจ์ ะรบั รู้ไดโ้ ดยการนำความรู้ใหม่มารวบกับความรู้

109 เก่า นอกจากน้นั แล้วในการเรียนการสอนบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ต้องอาศัยการเรยี นรู้ การจำ ซ่ึงในการจำนนั้ ตอ้ งมีหลักในการจำ ครผู สู้ อนตอ้ งอาศัยการควบคุมและการถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั นักเรียนโดยตอ้ งคำนึงถึงความ แตกตา่ งของนกั เรยี นและตอ้ งมแี รงจงู ใจที่จูงใจให้ผู้เรียนสนใจท่จี ะเรียนด้วย 6. ทฤษฎีรปู แบบจำลอง S M C R Model เปน็ ทฤษฎที เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ขีดความสามารถในการเป็นผู้รบั และผสู้ ง่ สื่อ 7. ทฤษฎีการเรียนรู้ การเรียนรขู้ องมนษุ ย์เป็นส่ิงที่มนุษยเ์ สาะแสวงหาเม่ือตนเองต้องการรู้ในเรื่องน้นั ๆ 8. ทฤษฎกี ารเรยี นรูโ้ ดยการคน้ พบ ทฤษฎนี คี้ รจู ะเป็นผูจ้ ดั สง่ิ แวดล้อมและให้ข้อมลู ตา่ ง ๆ เก่ยี วกบั สง่ิ ที่ จะให้นกั เรียนเรยี นร้แู ต่นกั เรยี นจะเปน็ ผูค้ ้นหาคำตอบด้วยตนเอง สรปุ การจดั การเรียนการสอนบนระบบอนิ เทอรเ์ น็ตเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ผ่ี สมผสานกันอยา่ งลงตัว และถูกนำมาช่วยในการพฒั นาระบบการศกึ ษา การพฒั นาบทเรียนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ เพอื่ นำมาใช้ในการจดั การศกึ ษาทำใหก้ ารศึกษาของไทยมีความน่าสนใจมากขนึ้ ผู้เรยี นมีความสนใจเรียนมากขน้ึ นอกจากนัน้ แลว้ ยังทำ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพทางการเรยี นของผเู้ รียนดีข้นึ อีกดว้ ย การเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นการจดั การเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอย่างมีระบบโดยมีการ นำสือ่ หลายมิตมิ าใชใ้ นการถ่ายทอดเน้ือหาความรู้ให้กบั ผู้เรียนโดยอาศัยเว็บไซต์ ในการเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี น บนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ทำให้ผูเ้ รยี นเกิดความสะดวกสบาย รวดเร็วรวมถึงสามารถเรียนไดต้ ลอดเวลาโดยไม่ จำกัดสถานที่และเวลา ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเรยี นในห้องเรียนเท่านัน้ ผู้เรียนสามารถเรียนร้ไู ดข้ อเพยี งแตเ่ ชอื่ มตอ่ กับอนิ เทอรเ์ น็ตได้ และผ้เู รยี นสามารถแลกเปลีย่ นความรกู้ ับผ้เู รยี นดว้ ยกนั และแลกเปล่ียนความรู้กับผ้สู อน ได้ นอกจากน้นั แล้วการเรยี นบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ยังเปน็ การขยายโอกาสทางการศึกษาให้กบั ผเู้ รยี นท่ีอยู่ หา่ งไกลไดอ้ ีกด้วย ในการเรยี นดว้ ยบทเรยี นบนเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตนนั้ ผู้เรยี นสามารถเลอื กเรียนบทเรียนได้ตาม ความสนใจและความความถนัดของผเู้ รียน 6. ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครือข่ายเพือ่ การเรยี นรู้ ประเภทของการสบื คน้ ขอ้ มูล การคน้ หาข้อมลู ในฐานขอ้ มลู ขนาดใหญจ่ ะต้องใช้ความละเอยี ดในการคน้ หาข้อมลู ซึง่ สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. อินเดก็ เซอร์ (Indexer) 2. ไดเรกทอรี่ (Directories) 3. เมตะเสิร์ช (Metasearch) เวบ็ ไซตท์ ี่ให้บริการค้นหาขอ้ มูลท่ไี ด้รบั ความนิยม

110 1. หมวดหมู่ของการค้นหา 2. สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ในหน้าค้นหาของ www.google.co.th 3. เทคนิคพเิ ศษของ Google การใชง้ านโปรแกรมค้นหาขอ้ มูล 1. โปรแกรมอาร์คี (Archie) 2. โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) 3. โปรแกรม Veronica 4. โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS) 5. โปรแกรม Search Engines การใชง้ านโปรแกรมค้นหาขอ้ มลู 1. โปรแกรมอาร์คี (Archie) 2. โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) 3. โปรแกรม Veronica 4. โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS) 5. โปรแกรม Search Engines เทคนิคในการค้นหาขอ้ มูล 1. บีบประเดน็ ใหแ้ คบลง 2. การใชค้ ำท่ใี กล้เคยี ง ควรคน้ หาคำท่ีมคี วามหมายใกลเ้ คยี งกับคำทีก่ ำลังค้นหา เช่น ตอ้ งการคน้ เร่ือง เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ Computer คำท่ีเกีย่ วขอ้ งที่สามารถใช้คน้ หาได้ คือ technology, IT เป็นต้น 3. พวกกลมุ่ คำหรือวลี กลุ่มคำหรอื วลีต้องใส่เคร่ืองหมายคำพดู (“ ”) ลงไป 4. ใช้ Help ใหเ้ ป็นประโยชน์ Help มีเทคนคิ หรือวิธกี ารของแตล่ ะ Search Engine เพ่ือช่วย แนะนำ เทคนิคต่าง ๆ 5. การใชค้ ำสำคัญ (Keyword) คำสำคญั หมายถงึ คำหรอื ข้อความที่ส่ือถึงเว็บไซต์น้นั เม่อื เอย่ ถงึ เช่น สสวท หมายถึงเว็บไซตข์ องสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี http://www.ipst.ac.th หรอื schoolnet หมายถงึ เวบ็ ไซต์เครือขา่ ยโรงเรียนไทย http://www.school.net.th เปน็ ตน้ 6. หลกี เลีย่ งการใช้ตวั เลข พยายามเลีย่ งการใช้คำค้นหาท่ีเป็นคำเดย่ี ว ๆ หรอื เปน็ คำทม่ี ตี วั เลขปน แต่ถา้ เลี่ยง ไมไ่ ด้ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมายคำพูด (“ ”) ลงไปด้วย เชน่ “windows 98” 7. ใช้เคร่ืองหมายบวกและลบชว่ ย เครอ่ื งมือช่วยค้นสารสนเทศบนเวบ็ ไซต์

111 1. Free text Search Engines 2. Directory Search Engines 3. Meta Search Engines 4. Natural-language Search Engines 5. Resource or Site-specific Search Engines เทคนคิ พืน้ ฐานการค้นหาสารสนเทศ 1. ชอื่ ผู้แตง่ (Author) 2. ชื่อเรื่อง (Title) 3. หวั เรื่อง (Subject Heading) 4. คำสำคญั (Keywords) 3.7 การสบื ค้น และรับส่งข้อมลู แฟ้มขอ้ มูล การสืบค้นขอ้ มูล การสืบค้น Retrieval หมายถึง การสืบเสาะ คน้ หาเรื่องใดเร่ืองหน่งึ ซงึ่ อาจจะได้รบั คำตอบในรูปของ ต้นฉบับเอกสาร บรรณานกุ รม คำตอบทเี่ ฉพาะเจาะจง ตัวเลข หรือขอ้ ความของเรื่องน้ัน การสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เปน็ คำทใ่ี ชใ้ นวงการหอ้ งสมุดและสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการคน้ หาสารนเิ ทศทีต่ ้องการ ซึ่งก็คอื “การคน้ หาข้อมูล” นั่นเอง แต่มีความหมายเนน้ หนกั ไปทางดา้ น การคน้ หาข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมอื ช่วยคน้ ประเภทท่ีเป็นสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น ระบบฐานข้อมลู คอมพวิ เตอร์ของ หอ้ งสมดุ ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ และ search engine ต่าง ๆ การคน้ หาข้อมลู ให้ได้รวดเร็ว ถกู ต้องแมน่ ยำ และตรงตามความตอ้ งการ จำเป็นต้องอาศัยทักษะและพ้ืนฐานความรู้ เกีย่ วกับการสืบค้นข้อมลู เช่น วิธีการใช้เคร่อื งมือช่วยคน้ แต่ละชนดิ การใช้คำหรือวลี (keyword) ใหส้ อดคล้องกบั เร่อื งที่กำลงั คน้ หา การเลือกรปู แบบการค้นใหเ้ หมาะสม การใช้คำเชือ่ ม เพ่ือกำหนดขอบเขตการค้นใหม้ ีความ เฉพาะเจาะจงมากขึน้ ซงึ่ จะทำใหไ้ ด้ผลการคน้ หรอื รายการข้อมลู ท่ีถกู ต้องตรงตามความต้องการมากท่สี ุด การเตรยี มตัวก่อนการสืบค้น 1. ควรทราบความต้องการของตนเองวา่ ต้องการคน้ หาข้อมูลเกี่ยวกบั เรอ่ื งใด และขอบเขตแค่ไหน ข้อมลู ทมี่ ีอยู่ แล้วมอี ะไรบา้ ง เช่น ทราบชอื่ ผูแ้ ต่งท่เี ขียนเรื่องต้องการมาก่อนแล้ว 2. รู้จกั แหลง่ สารสนเทศหรอื เคร่ืองมือท่จี ะใช้ และเก่ียวขอ้ งกับสาขาวชิ าที่ต้องการ เชน่ ถ้าตอ้ งการค้นหาบทความ เกย่ี วกบั การพยาบาล ควรใช้ฐานข้อมูลใดค้นหา จงึ จะได้ข้อมลู ตามท่ีต้องการ

112 3. ตอ้ งเรียนรวู้ ิธีการใช้แหล่งสารสนเทศ ฐานข้อมูลหรอื เคร่ืองมือท่ใี ช้คน้ หา เชน่ ร้จู ักวธิ คี ้นหาแบบพ้นื ฐาน หรือ การค้นหาแบบขั้นสงู นอกจากน้ียังตอ้ งรูจ้ กั วิธีการจดั การผลลัพธ์ ได้แก่ การบันทึก การสงั่ พมิ พ์ การส่งข้อมลู ทาง E-mail การจัดการรายการบรรณานุกรม เปน็ ตน้ ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) คอื ฐานขอ้ มูลในสาขาวิชาต่าง ๆ ทหี่ อ้ งสมุดบอกรบั หรอื เปน็ สมาชิก โดยบริษัทผู้ให้บริการไดร้ วบรวมข้อมลู จาก หนงั สือ วารสาร บทความ ความรู้ ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็นไฟล์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพ่ือบริการแกส่ มาชิกห้องสมุดหรือคน ท่ัวไปใหส้ ามารถค้นคว้าหาความรู้ท่ีตอ้ งการผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ อยา่ งสะดวก สบาย รวดเรว็ โดยไมต่ อ้ ง เดินทางไปห้องสมุด ซึ่งทุกสถาบันจะบอกรับฐานข้อมลู ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั หลักสูตรการเรียนการสอนของแต่ละสถาบนั ไดแ้ ก่ ฐานข้อมลู MEDLINEplus, ProQuest , Science Direct, CINAHL หรอื ฐานข้อมลู Business Source Complete เป็นตน้ สำหรบั เทคนคิ การสบื ค้นข้อมลู ความหมายของการรับ-ส่งขอ้ มูลบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต การรบั -สง่ ขอ้ มูลบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ โดยใช้จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรอื ที่นิยม เรยี กกนั วา่ อีเมล (E-Mail) หมายถงึ การส่ือสารหรอื การสง่ ขอ้ ความจากคอมพวิ เตอร์เครอ่ื งหนึ่งผ่านไปเข้าเคร่ือง คอมพวิ เตอร์อกี เครอื่ งหนง่ึ โดยสง่ ผ่านทางระบบเครอื ข่าย (Network) ผสู้ ่งจะต้องมีเลขท่อี ยู่ (E-mail Address) ของผรู้ บั และผูร้ ับสามารถเปดิ คอมพิวเตอรเ์ รยี กข่าวสารน้นั ออกมาดูเมอ่ื ใดก็ได้ โดยทว่ั ไปจัดว่าเปน็ งานส่วนหนง่ึ ของสำนักงานอัตโนมตั ิ (Office Automatic) ซงึ่ ปจั จุบนั ได้รบั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก ประโยชนข์ องการรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การรับ-ส่งขอ้ มลู ทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ถือว่าเป็นสว่ นสำคัญในการสื่อสารบนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีนิยมใช้มากทส่ี ุด เพราะมีประโยชน์มากมาย ดงั นี้ 1. ทำให้การตดิ ตอ่ สือ่ สารทว่ั โลกเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว ระยะทางไม่เป็นอุปสรรคสำหรับอีเมลในทุกแห่ง ทว่ั โลกทม่ี เี ครือข่ายคอมพิวเตอรเ์ ชอ่ื มต่อถึงกันได้ สามารถเขา้ ไปสถานที่เหล่านัน้ ได้ทกุ ท่ี ทำใหผ้ ู้คนท่ัวโลกติดต่อถึง กนั ไดท้ นั ที ผู้รบั สามารถจะรับข่าวสารจากอีเมลได้ทนั ทที ี่ผูส้ ่งจดหมายสง่ ข้อมูลผ่านทางคอมพวิ เตอร์เสร็จสิน้ 2. สามารถสง่ จดหมายถึงผู้รับที่ตอ้ งการได้ทุกเวลา แม้ผู้รบั จะไม่ได้อยทู่ ่ีหน้าจอคอมพวิ เตอรก์ ็ตาม จดหมายจะถูกเก็บไวใ้ นตู้จดหมายของคอมพวิ เตอรแ์ ละเป็นส่วนตวั จนกว่าเจา้ ของจดหมายทม่ี รี หัสผ่านจะเปดิ ตู้จดหมายของตนเองอ่าน 3. สามารถสง่ จดหมายถึงผู้รับหลายๆคนไดใ้ นเวลาเดยี วกัน โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งใหท้ ีละคน กรณีน้ี จะใช้กบั จดหมายท่ีเป็นข้อความเดยี วกัน เช่น หนงั สอื เวียนแจ้งขา่ วใหส้ มาชกิ ในกลุ่มทราบหรอื เปน็ การนดั หมาย ระหว่างสมาชกิ ในกลมุ่ เป็นต้น

113 4. ชว่ ยประหยัดเวลาในการเดินทางไปสง่ จดหมายท่ีตไู้ ปรษณียห์ รือทท่ี ำการไปรษณยี ์ ทำใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคำนงึ ถึงปรมิ าณน้ำหนกั และระยะทางของจดหมายเหมอื นกบั การส่งทาง ไปรษณียธ์ รรมดา 5. ผ้รู ับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทกุ เวลาตามสะดวก ซง่ึ จะทำให้ทราบวา่ ในตจู้ ดหมาย ของผูร้ ับมีจดหมายกี่ฉบบั มจี ดหมายที่อ่านแลว้ หรือยงั ไม่ไดเ้ รยี กอ่านก่ีฉบบั เม่ืออ่านจดหมายฉบับใดแลว้ หาก ตอ้ งการลบทิ้งกส็ ามารถเก็บข้อความไวใ้ นรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพมิ พ์ออกมาลงกระดาษก็ไดเ้ ช่นกนั 6. สามารถถา่ ยโอนแฟ้มข้อมลู (Transferring Flies) แนบไปกับจดหมายถงึ ผรู้ ับได้ ทำให้การ แลกเปล่ียนข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเรว็ ทันเวลาและทันเหตุการณ์ จากความสำคัญของอเี มลทสี่ ามารถ อำนวยประโยชน์ใหก้ ับผู้ใช้อย่างคุม้ ค่านี้ ทำให้ในปัจจบุ ันอเี มลกลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสำนักงานทุกแหง่ ทัว่ โลก ที่ทำ ใหส้ มาชิกในชุมชนโลกสามารถตดิ ตอ่ กันผา่ นทางคอมพวิ เตอร์ไดใ้ นทุกทท่ี ุกเวลา เวบ็ ไซต์ท่ีให้บรกิ ารฟรีอเี มล การรบั -ส่งจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์มีบรกิ ารที่ใหใ้ ช้บริการได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เวบ็ ไซตท์ ใ่ี หบ้ ริการน้ี มจี ำนวนมาก ตวั อยา่ งเช่น 5. www.sabuyjai.com 6. www.narakmai.com 7. www.hotmail.com 8. www.yahoo.com 9. www.gmail.com ▪ การใช้ฟรีอีเมลของ sabuyjai.com ▪ การใชฟ้ รีอเี มลของ narakmai.com ▪ การใชฟ้ รีอีเมลของ 113otmail.com ▪ การใช้ฟรีอเี มลของ yahoo.com 3.8 สารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ สารสนเทศ หมายถึง ข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ท่ไี ดร้ บั การสรปุ คำนวณ จดั เรยี ง หรือประมวลแล้วจากข้อมลู ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลกั วชิ าการ จนได้เป็นข้อความรู้ เพื่อนำมาเผยแพร่และใช้ประโยชนใ์ นงาน ดา้ นต่าง ๆ ความสำคญั ของสารสนเทศ

114 สารสนเทศแท้จรงิ แล้วย่อมมีความสำคัญต่อทุกส่ิงที่เกยี่ วขอ้ ง เช่น ดา้ นการเมือง การปกครอง ดา้ น การศึกษา ด้าน เศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ฯลฯ ในลักษณะดงั ต่อไปน้ี 1. ทำให้ผู้บรโิ ภคสารสนเทศเกดิ ความรู้ (Knowledge) และความเข้าใจ (Understanding) ในเรือ่ งดังกล่าวขา้ งตน้ 2. เม่ือเรารแู้ ละเขา้ ใจในเรือ่ งทเี่ กี่ยวข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตดั สนิ ใจ (Decision Making) ใน เร่อื งต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. นอกจากนน้ั สารสนเทศ ยังสามารถทำใหเ้ ราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ทเี่ กิดขึน้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเรว็ ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ความสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มี 6 ประการ Souter (1999) ได้แก่ ประการแรก การส่ือสารถือเป็นสงิ่ จำเป็นในการดำเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิง่ สำคัญท่ีมสี ว่ นในการพัฒนา กจิ กรรมต่างๆ ของมนุษยป์ ระกอบด้วย Communications media, การสอื่ สารโทรคมนาคม (Telecoms) และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ประการทีส่ อง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารประกอบดว้ ยผลิตภณั ฑห์ ลกั ท่มี ากไปกวา่ โทรศพั ท์ และ คอมพวิ เตอร์ เชน่ แฟกซ์ อนิ เทอร์เน็ต อีเมล์ ทำใหส้ ารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในทีต่ ่างๆ ไดส้ ะดวก ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมผี ลให้งานดา้ นต่าง ๆ มรี าคาถูกลง ประการที่สี่ เครอื ขา่ ยส่อื สาร (Communication networks) ได้รบั ประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เน่อื งจากจาน วนการใช้เครอื ข่าย จำนวนผ้เู ช่อื มต่อ และจำนวนผู้ทมี่ ศี ักยภาพในการเข้าเชื่อมตอ่ กบั เครือข่ายนบั วนั จะเพ่มิ สูงขึ้น ประการท่ีห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารทาให้ฮาร์ดแวรค์ อมพวิ เตอร์ และตน้ ทุนการใช้ ICT มีราคาถกู ลงมาก ประการทห่ี ก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อใหเ้ กดิ การวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วถิ ีการ ตดั สินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอยี ดขึ้น จะเหน็ ได้วา่ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทท่ีสำคญั ในทุกวงการ มผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงโลกด้านความเปน็ อยู่ สงั คม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจยั และการพัฒนาต่างๆ การสอื่ สารดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร (Communication Technology) มีการพฒั นารูปแบบใหส้ ามารถตดิ ตอ่ สื่อสาร ถงึ กนั ได้ ง่าย มหี ลายรปู แบบ อุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มคุณสมบัติให้สามารถเช่อื มโยงถึงกนั ได้ การเพ่ิมคณุ คา่ ของระบบคอมพวิ เตอรม์ ีมากขน้ึ เมื่อมีการนำเทคโนโลยีการสื่อสารมาประยกุ ตเ์ ข้าดว้ ยระบบกันท่ี เรียกว่า “เครือขา่ ยคอมพิวเตอร”์ อินเตอร์เน็ต (Internet) คือ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ท่ีเช่ือมต่อกนั ทว่ั โลก โดยมี มาตรฐานการรับส่งข้อมูล ระหวา่ งกันเปน็ หน่งึ เดียว ซงึ่ คอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเคร่ืองสามารถรับส่งขอ้ มลู ในรปู แบบต่างๆ ได้หลายรูปแบบ เชน่ ตวั อักษร ภาพกราฟกิ และ เสียงได้ รวมท้ังสามารถคน้ หาข้อมูลจากทตี่ า่ งๆ ได้อย่างรวดเรว็

115 ทำใหก้ ารติดต่อส่ือสารนัน้ เป็นไปอย่างรวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ คา่ ใช้จา่ ยถูกกว่าหลายเทา่ นเี่ ป็นเหตุผลหลกั ท่ีวา่ ทำไมเราตอ้ งใช้อินเตอรเ์ น็ตซ่ึงนับเปน็ การปฏิวัติ สงั คมขา่ วสารครั้ง ใหญท่ ส่ี ดุ ในยุคของเรา ประโยชนข์ องอนิ เตอรเ์ น็ต มีดังนี้ ด้านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ากับอนิ เตอร์เน็ตเพ่ือคน้ คว้าหาข้อมูลได้ เหมือนหอ้ งสมดุ ขนาดยกั ษ์สง่ ขอ้ มลู ทเี่ รา ต้องการมาในเวลาไมก่ ่ีวนิ าทจี ากแหล่งข้อมลู ทั่วโลกไม่วา่ จะเป็นข้อมลู ด้านวทิ ยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สงั คมศาสตร์ กฎหมายและอ่ืนๆ 3.9 การวเิ คราะห์ปัญหานวัตกรรม ปญั หาการขาดแคลนนวัตกรรม สื่อ อปุ กรณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ นับเป็นปัญหาใหญท่ ี่สำคญั โดยเฉพาะสถานศกึ ษาขนาดเล็ก พบว่าปัจจยั สนับสนุนในการจดั การศึกษาที่ ใชอ้ งค์ประกอบทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึง นวตั กรรมรูปแบบต่างๆ ค่อนข้างจะมีนอ้ ยหรอื อาจกลา่ วได้ว่า ไมม่ เี ลย โดยเฉพาะโรงเรยี นในระดับประถมศึกษา ซง่ึ เปน็ สาเหตสุ ำคญั ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทไี่ มส่ ามารถ ขบั เคลอ่ื นให้มีมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน ในการพฒั นาคณุ ภาพทางการศึกษา ดา้ นปจั จัยสนบั สนนุ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ รวมไปถงึ สื่อ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ และนวัตกรรมทางการศกึ ษา แม้ว่าพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 จะม่งุ เน้น ความเสมอภาคทางการศึกษา แตใ่ นสภาพความเป็นจรงิ ในสังคมประเทศไทย ยังมีอกี หลายพ้ืนท่ี ทส่ี ภาพการศึกษา มคี วามแตกตา่ งอยา่ งเหน็ ได้ชัด บางพื้นที่ ขาดไฟฟา้ ขาดระบบสอื่ สารขั้นพื้นฐาน ทำให้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ทาง เทคโนโลยที ไี่ ด้ ก็ไมส่ ามารถเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยใช้งานได้ ปญั หาการขาดแคลนนวัตกรรม ส่ือ อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ พอจะสรุปได้ แยกเป็น 2 ปญั หาใหญๆ่ คือ 1. ปัญหาการขาดแคลนสอื่ เน้ือหา 2. ปัญหาดา้ นอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื ปัญหาการขาดแคลนส่อื เนอื้ หา 1. ขาดแคลนตัวสอ่ื เน้ือหา สำหรับใช้ศึกษาเรยี นรู้ ในฐานะสื่อหลัก และส่อื เสริม 2. สอ่ื เน้ือหา ท่ีมีอยู่ไม่นา่ สนใจ ไมม่ สี ว่ นเรา้ ทต่ี รึงพฤติกรรมการเรยี นรู้ 3. สือ่ เนื้อหา ทมี่ ีอยู่ ล้าสมยั เน้ือหา ไมต่ รงกับสภาพปจั จบุ นั 4. สอ่ื เนือ้ หา ที่มีอยู่ ไมส่ ามารถใช้กับระบบ ของอุปกรณ์ เคร่ืองมือที่มีอยู่ได้ 5. ส่อื บางเนือ้ หามสี ่ือการสอนน้อย ไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้ ปัญหาดา้ นอปุ กรณ์ เครื่องมือ 1. เคร่อื งมือ อุปกรณ์ มไี ม่เพียงพอ หรือ ไม่มี 2. ขาดปจั จยั พนื้ ฐานทำใหเ้ คร่ืองมือ อปุ กรณ์ไม่สามารถใชง้ านได้ เชน่ ไม่มีไฟฟ้า ไม่มีระบบเครือข่าย

116 3. เครือ่ งมอื อุปกรณ์ มสี ภาพลา้ สมัย 4. ขาดงบประมาณในการปรบั ปรงุ ซ่อมแซม ปญั หาจากการบริหารและการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศในสถานศึกษา การเขา้ สมู่ าตรฐานการบริหารจัดการ การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปจั จุบนั ภาคเอกชนได้ ตระหนกั และใหค้ วามสำคัญ ในการกำหนดมาตรฐานท่เี ก่ยี วข้องกบั การใหบ้ ริการเทคโนโลยสี ารสนเทศขึน้ มาใช้ เพ่ือการเติบโต การแข่งขันใน เชงิ ธุรกิจ ท่ีนบั วนั จะมีอัตราทีส่ งู ขนึ้ ส่งผลใหส้ ามารถชว่ ยลดภัยอันตรายจาก เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ อาทิ เช่น มาตรฐาน การรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ในการประกอบธุรกรรมทาง อเิ ลก็ ทรอนิกส์ การให้ความรู้ รวมถงึ การ ควบคุมการใชง้ านคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญตั ิการกระทำ ความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพฒั นาองค์กร การนำเสนอ การสรปุ ผลการดำเนินงาน แตใ่ นแวดวงราชการ โดยเฉพาะหน่วยงานและสถานศึกษา ดเู หมอื นวา่ ยงั กา้ วเดนิ ไปอย่างเช่ืองช้า แม้จะมี จุดม่งุ หมายทีช่ ัดเจนเช่นเดยี วกนั กบั ภาคเอกชน มีกรอบนโยบายทีช่ ดั เจน แต่ภาพรวมกย็ ังไมส่ ามารถบรรลใุ ห้ เปน็ ไปตามมาตรฐานการบรหิ ารการจัดการ การให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่งผลใหก้ ารจดั การศกึ ษาโดยตรง การสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาทง้ั ในด้านบริหาร ด้านวชิ าการ งบประมาณ ด้านบรกิ ารยังดำเนินการไมเ่ ต็มท่ี บาง สถานศึกษาไมม่ ีช่องทางเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ ของตนเอง ไมว่ ่าจะเป็นเครือข่ายภายใน หรอื เครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต ไม่มีเวบ็ ไซตห์ นว่ ยงาน สถานศกึ ษา ทำให้สถานศึกษาขาดโอกาส การใชช้ อ่ งทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสร้างองคค์ วามรู้ เป็นประตูเชื่อมโยงความรูส้ ู่โลกภายนอก สง่ ผลใหค้ รผู สู้ อนในสถานศกึ ษายังมีอัตราการเข้า ใช้งานทงั้ ในสว่ นผ้ผู ลติ และผแู้ สวงหาความร้ใู นอัตราค่อนข้างต่ำ ผู้เรยี นก็ขาดโอกาส หรือไม่มชี อ่ งทางการเขา้ ถึง องค์ความรู้นอกหอ้ งเรยี นบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ปญั หาในเชิงบริหารและการบริการ ปญั หาในเชงิ บรหิ ารและการบรกิ าร พอสรุป ปญั หาได้ ดงั นี้ 1. ขาดข้อกำหนดวสิ ัยทัศน์ วตั ถุประสงค์ นโยบายและมาตรฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สถานศึกษาขาดการวางแผนแม่บท 3. ขาดการสนับสนุนดา้ นงบประมาณ หรือหากสนบั สนุนกไ็ ม่เพียงพอ 4. ขาดการตดิ ตามผลการใชง้ าน ท้ังในเชงิ ระบบและมาตรฐานของบุคลากรดา้ นไอที 5. ขาดการสนบั สนนุ จากผ้บู ริหารอยา่ งจรงิ จัง 6. ไม่มรี ะบบการเรียนรูผ้ า่ นเครือข่ายเป็นของสถานศึกษาเอง 7. ขาดกลไกการจัดการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ข่ายอย่างถูกระบบ 8. มกี ารเปล่ียนแปลงนโยบายหรือเปล่ียนแปลงข้อมูลบ่อยคร้งั 9. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศกึ ษาขาดคณุ ภาพ ขาดมาตรฐาน

117 10. เวลา โอกาสการเขา้ ถงึ ชอ่ งทางการเรียนรขู้ องผู้เรียนยงั มนี ้อย 11. ระบบ และอปุ กรณ์ท่มี ี มีจำนวนไม่เพียงพอต่อการใหบ้ ริการในการจดั การศกึ ษา 12. ระบบ และอุปกรณ์ท่ีมี มีมาตรฐานต่ำไม่สอดคล้องกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนไป 13. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การเรียนการสอนไมเ่ ป็นไปตามข้อกำหนด 14. ผู้บริหารและครูผสู้ อนขาดความรพู้ ื้นฐานในการใช้งานและการพัฒนางานในหน้าท่ี (บริหารและการศกึ ษา) 15. และอ่นื ๆ การวเิ คราะหป์ ัญหา การวเิ คราะห์ปัญหาการบรหิ ารและการบริการ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปจั จยั หลกั ทพี่ บในสถานศึกษาส่วนใหญ่ ขาดการกำหนดวสิ ัยทศั น์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ชดั เจน แม้จะมี มาตรการทางภาครฐั ทไ่ี ด้กำหนดวตั ถุประสงค์ นโยบายและมาตรฐาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา แลว้ ก็ตาม หรือหากบางที่ได้กำหนดไวใ้ นแผนงานมีกข็ าดการดำเนินการอย่างจริงจงั และใหค้ วามสำคัญน้อยลง ส่งผลให้ ขาดการสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณ ด้านความรู้ ช่องทางการเข้าถึง รวมถงึ การสนบั สนุนในการปฎิบตั งิ าน ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศในทุกๆดา้ น แนวทางการแก้ไข หนว่ ยงานทางการศกึ ษา โดยเฉพาะครูและบุคลากรทางดารศึกษาในสถานศึกษา ต้องรว่ มกนั ศึกษา วางแผน นำกรอบนโยบายในระดับกระทรวง(สำนัก) นำมากำหนดวสิ ยั ทัศน์ วางวัตถุประสงค์ นโยบายและ มาตรฐานด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศของสถานศึกษาทเี่ ป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ทัง้ ในสว่ นการบรหิ าร การจดั การ เรียนการสอน การพัฒนาองค์ความร้รู ่วมกัน การใหบ้ ริการ รวมถึงเพิ่ม(ปรับปรุง)ช่องทางการเข้าถึง การเชอื่ มโยง เครือข่าย การจัดระบบการเรียนรู้ผา่ นเครอื ข่ายทเี่ ข้มแขง็ โดยวางขั้นตอนการพฒั นาเป็นแผนแม่บททั้ง ระยะยาว ระยะเรง่ ด่วน รวมถึงเรง่ ระดมการใหค้ วามรดู้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศทเี่ กีย่ วขอ้ งในการจัดการเรยี นการสอน กบั ครูผู้สอน รวมถึงผูเ้ รียนและบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งอยา่ งเร่งด่วนและต้องกระทำอย่างต่อเน่ืองเพื่อใหเ้ กิดความเข้มแข็ง ทัง้ ระบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ จงึ มคี วามสำคัญเป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานการศึกษา ให้มี ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล และเปน็ หนา้ ที่รับผิดชอบของผบู้ ริหารสถานศึกษาต้องพฒั นานวัตกรรมและ สารสนเทศ เพอ่ื นำมาใช้ในการตัดสินใจในบรหิ ารจัดการศึกษา ผบู้ ริหารสถานศึกษาเปน็ บคุ คลที่สำคญั ท่มี ีบทบาท มหี นา้ ทแ่ี ละมีความรบั ผดิ ชอบต่อการจัดการสารสนเทศ และ การนำสารสนเทศมาใช้ในการจดั การศกึ ษา ตามลักษณะงานทง้ั 4 ดา้ น ซง่ึ จรี าภรณ์ รกั ษาแก้ว (อ้างอิงใน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 2540 :120) ได้ระบหุ นา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของผูบ้ ริหารตอ่ สารสนเทศไวว้ ่า

118 ผบู้ รหิ าร มีหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบในการวางแนวทางการพฒั นา เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศทต่ี ้องการ ความ คมุ้ ค่าของสารสนเทศและความประหยดั ในการผลิตหรอื จดั การสารสนเทศ ปญั หาจากตัวผู้สอนและผเู้ รียน ในรูปแบบลักษณะและช่องทางของตัวสื่อ สนองตอบศักยภาพและความสนใจของผู้เรียนเป็นสำคญั ในการ จดั การเรยี นการสอนแบบน้ี ครูผสู้ อนจะต้องปรบั เปลยี่ นวิธกี ารสอนใหม่ ให้สอดคล้องกับกระบวนการศึกษาที่ เปล่ียนไป ครตู อ้ งใฝ่รู้ แสวงหา สาระเนอ้ื หาใหมๆ่ ครูผสู้ อนต้องพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมการเรยี นรู้รปู แบบใหม่ ท่ี สำคัญ ครผู ู้สอนต้องเขา้ ใจ ต้องเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศนำมาประยกุ ต์ใช้ร่วมกับการจัดการศึกษาได้ อยา่ งผสมผสานอีกด้วย แต่ความเป็นจรงิ แลว้ ยังมีครูผูส้ อนอีกมาก ที่ ไม่ยอมรับกระแสของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ไม่ สามารถ ก้าวตามหรือมีความรเู้ พียงพอในการเขา้ ถึง รวมถึงตามทนั การเรียนรขู้ องผู้เรยี นได้ ทำให้ไมส่ ามารถเฝา้ ระวงั การเข้าถึงแหล่งข้อมลู ที่ไม่ดี นำไปส่ผู ลกระทบอยา่ งร้ายแรงของการศึกษาของเด็กผู้เรียน ปญั หาอีกประการท่นี ับวนั จะทวคี วามรนุ แรงมาก็คือ สิ่งมอมเมาออนไลน์ ทอ่ี ยใู่ นรปู แบบตา่ งๆ ได้กลายเปน็ อุปสรรคท่สี ำคัญ ของการจดั การศกึ ษา ด้วยกระแสของเทคโนโลยสี ารสนเทศ นบั วันมวี วิ ัฒนาการมากขึน้ แต่กลบั มรี าคาถูกลง ทำใหด้ อกาสการเขา้ ถึงโลกอนิ เทอรเ์ น็ต ไปสู่สังคมออนไลนืต่างๆ กระทำได้ง่ายขน้ึ พ่อแมผ่ ู้ปกครอง หลายราย มีความเขา้ ใจในเทคโนโลยที ี่น้อยมาก การท่ีจะเปน็ เกราะปกป้องคุ้มภยั จงึ กระทำไดย้ าก สาเหตแุ หง่ ปัญหาจากครูผสู้ อน สาเหตแุ ห่งปญั หาจากครผู สู้ อนในสถานศกึ ษา 1. ครผู ูส้ อนไม่เห็นความสำคัญของนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ครผู สู้ อนขาดประสบการณห์ รือความชำนาญในการใชส้ ื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ครผู สู้ อนปฎเิ สธปฎิเสธการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะกลัวว่าเมอื่ เข้ามาแทนที่ ตนเองสญู เสีย ความสำคัญ 4. ครผู ูส้ อนขาดความรู้ในการสร้างชิน้ ส่วน สือ่ หรือองค์ประกอบต่างๆเพ่ือจดั การเรยี นการสอน 5. ครูผ้สู อนไม่มเี วลาเพียงพอทจี่ ะศกึ ษาเรียนรู้คุณลกั ษณะเแพาะของนวตั กรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. สอื่ สาระการเรียนรู้ท่ีทำโดยครูมักมีสภาพไมน่ ่าสนใจ 7. ครูผ้สู อนมีความรู้ความเข้าใจดา้ นการพัฒนาส่ือเพื่อการเรียนรูผ้ ่านเครือขา่ ยน้อย 8. ครูผสู้ อนท่ีชำนาญการในการสอนโดยใช้เคร่ืองมือและสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศยังมีไมเ่ พยี งพอ สาเหตุแห่งปัญหาจากผู้เรยี น สาเหตุแห่งปัญหาจากผเู้ รยี น(นักเรยี น/นกั ศึกษา)ในสถานศึกษา 1. ผู้เรยี นมุ่งเน้นการเข้าหาสง่ิ บันเทิง เกม หรือการเขา้ สงั คมการพดู คุยมากกว่าจะเข้าสู่ด้านการเรยี นรู้ 2. ผู้เรยี นขาดความตง้ั ใจในการเขา้ เรยี นรู้

119 3. ผู้เรียนใช้เครอื่ งมือในการสบื ค้นข้อมลู ไมถ่ ูกต้องและไม่เหมาะสม 4. อุปกรณ์ไม่เพยี งพอกับความต้องการของผเู้ รยี น 5. ผ้เู รยี น เนน้ ความสนกุ สนาน ขาดการใฝ่รู้ 6. การทำงานของระบบเครือขา่ ยและเครื่องคอมพวิ เตอร์ในห้องเรียนที่คอ่ นขา้ งชา้ 7. เวลาในการใช้งานและเรยี นรูใ้ นสถานศึกษามีน้อยเกนิ ไป 8. ขาดการปลูกฝังการเปน็ สงั คมแหง่ นักอ่าน 9. เครอื ข่ายบางเครือข่ายไมส่ มบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถเขา้ ไปสบื ค้นหาข้อมลู ทตี่ ้องการได้ การวเิ คราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหาในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอนและผเู้ รียนในสถานศึกษา ปัจจยั หลักทพี่ บสว่ นใหญ่ ในส่วนของครูมาจาก การไม่ไดร้ บั การอบรม การเพิ่มพูนความรู้อยา่ งจรงิ จัง ครูท่เี ขา้ ใจ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ สว่ นใหญ่ มาจากการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง นอกจากนี้ ในสถานศกึ ษาบางแห่ง พบว่า ครูผู้สอนจะไมย่ อมรบั การเรยี นรู้ การเข้าถึง หรือการแสวงหาการเรยี นรเู้ พ่ือนำมาพฒั นาส่ือ รปู แบบใหมๆ่ สนองตอ่ กระบวนการเรยี นรู้ภายใตย้ คุ สงั คมสารสนเทศ ในส่วนของเด็ก ทีพ่ บไดม้ ากคือ การตดิ เกม ส่วนใหญจ่ ะเป็นสังคมเกมออนไลน์ อกี ปญั หาท่พี บกค็ ือสังคมการแช็ต ผา่ นโปรแกรม Instant Message ต่างๆ อาทิ MSN, Yahoo, เปน็ ตน้ ซง่ึ นบั ได้วา่ เป็นสว่ นแบง่ เวลาในการศึกษา เรียนร้ไู ปได้มากทีเดยี ว แนวทางการแกไ้ ขปญั หา แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศของครูผสู้ อนและผเู้ รียนในสถานศึกษา 1. ส่งเสริมให้ความรู้ การใชง้ าน เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนการสอนของครูผูส้ อน ให้มคี วามรู้ สามารถใช้งาน เข้าถงึ เครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ได้ 2. สง่ เสริมให้ครูผ้สู อนมีความรู้ ทักษะ การสรา้ งสื่อ นวัตกรรม และบทเรียนด้วยวิธีการทางเทคโนโลยี สารสนเทศ 3. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาสื่อ(บทเรยี น) โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. เรง่ พัฒนาชอ่ งทางการเข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ การพฒั นาสอื่ ออนไลน์ ของหนว่ ยงานสถานศึกษา 5. กำหนดวธิ ีการให้ผเู้ รยี น เข้ามาใช้งาน การเรียนรรุ้ ว่ มกับชอ่ งทางการเรียนรู้ของสถานศึกษา 6. แลกเปลี่ยนเรียนรกู้ นั ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน 7. ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูห้ รอื การศึกษาดว้ ยตนเองผา่ นชอ่ งทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ปญั หาดา้ นสทิ ธิและกฎหมาย

120 แต่ในโลกของสงั คมท่ีแวดล้อมไปดว้ ยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นำมาซงึ่ ความสะดวกสบาย เกิด พฒั นาการทางความคดิ จากมวลความรู้ ท่ีมากมายมหาศาลบนโลกเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต การตดิ ต่อสื่อสารที่ รวดเร็ว กว้างไกล แตใ่ นความกา้ วหน้าของสงั คมทเ่ี กิดขน้ึ สังคมร้ายท่ีแอบแฝง มีพฒั นาการในการรุกลำ้ สิทธิส่วน บุคคล สทิ ธขิ ององค์กรในหลายลักษณะโดยเฉพาะการลกุ ล้ำสิทธสิ ่วนบุคคลทางอนิ เทอร์เนต็ ซ่งึ นับวนั จะทวคี วาม รุนแรง สรา้ งความเสยี หายเป็นวงกว้าง นับมลู ค่ามหาศาล ดงั น้ัน ในทุกๆประเทศรวมทง้ั ประเทศไทย จงึ ต้องมี กฎหมายใหก้ ารค้มุ ครองสทิ ธิพ้ืนฐานตา่ งๆ กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศจึงเปน็ ส่ิงจำเปน็ ในสงั คม ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศมิได้มเี ฉพาะในด้านดี แต่ยงั นำมาซ่ึงปญั หาใหม่ๆทีเ่ รยี กวา่ อาชญากรรมบน เครอื ข่าย ตวั อยา่ งเช่น อาชญากรรมการขโมยข้อมลู อาชญากรรมประเภทน้ีอยู่ ในรูปของการเข้าถงึ ระบบเพื่อขโมยความลบั การขโมยขอ้ มูลสารสนเทศ แพร่ข้อมูลหลอกลวง เปน็ การส่งข้อมลู ถงึ ผบู้ ริโภคด้วยข้อมลู ท่เี ป็นเทจ็ หรือข้อมลู หลอกลวง ซึง่ บางเร่ืองเกิดการลกุ ลามแพร่กระจายไป อยา่ งมาก และรวดเรว็ จนระบบเมล์ขององคก์ รหรือหน่วยงานในบางแหง่ ไมส่ ามารถทจี่ ะรองรบั ข้อมูลเมล์ได้ เปน็ ผลทำให้ระบบลม่ ทนั ที การเผยแพร่ข้อมลู ทีล่ ะเมิดสทิ ธิสว่ นบคุ คล การละเมิดสิทธเิ สรีภาพส่วนบุคคลโดยการเผยแพร่ข้อมลู หรือรปู ภาพต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูลบางอย่างอาจไมเ่ ป็น จริงหรอื ยังไม่ได้พสิ ูจนค์ วามถูกตอ้ งออกสู่สาธารณชน ก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อบคุ คลโดยไม่สามารถป้องกัน ตนเองได้ การละเมิดสิทธิส่วน บคุ คล เช่นนต้ี ้องมีกฎหมายออกมาใหค้ วามค้มุ ครองเพื่อให้นำข้อมูลต่างๆ มาใช้ ในทางที่ถกู ต้องการบุกรุกและทำลายขอ้ มลู การเข้าถงึ ระบบฐานข้อมลู ส่วนบคุ คลหรือองค์กรโดยทไ่ี ม่ได้มีหน้าท่ี โดยตรง ปัจจบุ ันพบว่ามีเว็บไซตห์ ลายแห่งทงั้ ในสว่ นของภาครฐั และเอกชน ถูกบุกรุกเขา้ ดู คน้ หา แกไ้ ข ทำลาย ข้อมลู ที่มีอยู่ในระบบ ทำใหเ้ กิดความเสยี หายโดยรวมการโจมตีเผยแพร่ไวรสั ปัจจบุ นั พบว่า การโจมตีการเผยแพร่ ไวรัสไปยงั เวปไซต์ ไปยังอเี มล์ต่างๆ นับวนั จะทวีความรนุ แรงมากยง่ิ ขี้น สร้างผลร้ายโดยรวม เปน็ อันมาก ยิ่ง เทคโนโลยกี ารใชส้ ื่อพกพาประเภท Flash drive ท่ีนยิ มกันอยา่ งมาก ก็ยิ่งเป็นส่วนนำพาแพร่กระจายไวรสั ได้มาก ยิง่ ขน้ึ การใชช้ ่องทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศในการประกอบอาชญากรรมหรือสง่ิ ผดิ กฎหมาย หน่วยงาน สถานศึกษา สถานท่ีราชการหลายแหง่ ได้ใหบ้ ริการเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ไรส้ าน (WiFi) ซึ่งบางแห่งเป็น บริการสาธารณะเปิดใชโ้ ดยไม่มีระบบการเขา้ รหัสการใชง้ าน ซ่ึงอาจจะมผี ้ใู ชช้ ่องทางน้ี นำไปประกอบอาชญากรรม หรือกระทำความผิด ในลักษณะตา่ งๆอาทิ การซั่งซ้อื ของผิดกฎหมาย การก่ออาชญากรรมทางการเงนิ การส่ง ขา่ วสารทเ่ี ป็นภัยต่อบคุ คล ต่อองคก์ ร ต่อความมนั่ คง และในดา้ นอนื่ ๆ อกี กรอบสาระของกฎหมายทถ่ี ูกระบุไวข้ า้ งต้นนี้ ถกู ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลหลักในกระบวนการการจัดทำกฎหมาย ซ่งึ อาจจะมกี ารเปล่ียนแปลง เพิ่มเติมวตั ถปุ ระสงค์ หรือยบุ รวมกันในระหว่างกระบวนการจัดทำกฎหมายได้ ดังจะเห็น

121 ไดจ้ ากกฎหมายท่มี ผี ลใช้บังคับ คือ พระราชบญั ญัตธิ รุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 ซง่ึ เป็นกฎหมาย เทคโนโลยสี ารสนเทศทีไ่ ด้รวมเอากรอบสาระของกฎหมายพาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือช่ือ อิเล็กทรอนิกส์ไว้ด้วยกัน พระราชบัญญตั ิธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 มีผลใช้บังคับมาต้ังแต่วนั ที่ 3 เมษายน 2545 กฎหมายดังกลา่ วจะเออื้ ประโยชนอ์ ย่างมาก ทั้งต่อตวั ผู้กระทำธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ และแก่ เจ้าหน้าทท่ี ี่เก่ยี วข้องในกระบวนการยตุ ธิ รรม เพราะกฎหมายดงั กล่าวไดร้ ะบเุ รอื่ งการรับฟงั พยานหลักฐานท่ีอยู่ใน รูปของส่ืออิเล็กทรอนิกสเ์ ข้าไว้ด้วย ซึ่งเม่อื กฎหมายมีผลใชบ้ ังคบั แลว้ ทกุ ฝ่ายทเ่ี กีย่ วข้อง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง เจ้าหนา้ ท่ที ่ีเกยี่ วข้องในกระบวนการยตุ ิธรรมทง้ั ระบบ จะต้องปรับตัวและเรียนรู้เทคโนโลยีท่ีเกย่ี วข้องดว้ ย การ บงั คับใชก้ ฎหมายจงึ จะบรรลุตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ นอกจากน้ยี ังมีกฎหมายสำคัญอีกฉบับคอื พระราชบญั ญตั ิ ความผิดเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ พศ. 2550 ท่เี กยี่ วข้องกบั การใช้สื่อและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทผี่ ้ใู ชค้ อมพิวเตอร์ ทงั้ หลายต้องรับทราบและเขา้ ใจ เพราะนอกจากคำวา่ “กฎหมาย” จะเป็นเหมอื นขอ้ บงั คับสำหรบั ทกุ บคุ คล ที่อยู่ ใตบ้ ังคบั ของกฎหมายต้อง รบั รรู้ บั ทราบแลว้ รายละเอียดในกฎหมายฉบบั น้ยี ังเกย่ี วข้องกับสทิ ธิที่ควรทราบ และ บทลงโทษ ทคี่ นท่ัวไปท่ีใชร้ ะบบเครอื ข่ายสารสนเทศทวั่ ๆไปอาจละเมดิ ได้ การวิเคราะหป์ ัญหา การวเิ คราะห์ปัญหาสิทธแิ ละข้อกฎหมายในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ปญั หาสังคมที่เกดิ จากเทคโนโลยสี ารสนเทศเร่มิ ทวีความรนุ แรง และไมส่ ามารถแกป้ ญั หาดว้ ยวิธีการอ่นื อยา่ งรวดเร็วหรอื เฉียบพลันได้ การกำหนดให้ปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดทางกฎหมาย และบทลงโทษของการละเมดิ จึง เป็นสง่ิ จำเป็น ผู้บริหารระบบสารสนเทศจะต้องระบขุ ้อกำหนดทางดา้ นกฎ ระเบียบ ข้อบังคบั บทลงโทษ หรือ สัญญา ทจี่ ะต้องปฏบิ ตั ติ าม เพ่อื ป้องกนั ปญั หาสังคมทีจ่ ะมากับเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตัวอยา่ งเช่น การปฏบิ ัตติ าม ข้อกำหนดทางลิขสิทธ์ิ (Copyright) ในการใช้งานทรพั ย์สนิ ทางปัญญา การปอ้ งกนั ข้อมลู ส่วนตัวของพนักงาน เป็น ตน้ จะสังเกตไดว้ ่าแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างตน้ จะเริม่ จากการแก้ปญั หาท่ีตวั บคุ คล จากนั้นจะพิจารณา แก้ปญั หาด้วยวธิ กี ารในการสรา้ งวฒั นธรรมที่ดใี นสังคม ก่อนท่จี ะใชว้ ธิ กี ารบงั คบั ด้วยกฎหมาย ซงึ่ จะใช้กับปญั หาที่ รนุ แรง อย่างไรก็ตามวิธีการแก้ปญั หาดว้ ยการบงั คับใช้กฎหมายนน้ั จะไม่ยั่งยืน ผดิ กบั แนวทางในการสรา้ งจรยิ ธรรม ในหม่ผู ูใ้ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง ซง่ึ ในตอนถัดไปจะกลา่ วถึงจรยิ ธรรม และกฎหมายในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกับ ปัญหาสงั คมที่เกดิ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเดน็ การใชจ้ รยิ ธรรมเพอื่ แกป้ ัญหาสงั คมท่เี กดิ จากเทคโนโลยี สารสนเทศ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา การแกป้ ัญหาโดยใชก้ ฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแก้ไขปัญหาสงั คมโดยทั่วไปน้ัน การเสรมิ สร้างจรยิ ธรรมในหมู่สมาชกิ ในสงั คมเป็นทางแก้ปัญหาที่ถูกตอ้ งและย่ังยืนที่สดุ แต่ความเปน็ จรงิ นน้ั เราไม่ สามารถสร้างจรยิ ธรรมใหก้ ับปัจเจกบคุ คลโดยทั่วถึงได้ ดังนั้นสังคมจึงได้สร้างกลไกใหม่ข้ึนไว้บงั คับใช้ในรูปแบบ ของวัฒนธรรมประเพณีทด่ี งี าม อยา่ งไรกต็ ามเม่ือสังคมมขี นาดใหญข่ ึ้น รูปแบบของปัญหาสลบั ซบั ซอ้ นมากยิง่ ข้ึน

122 จึงมีความจำเป็นจะต้องตราเป็นกฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ ในลกั ษณะตา่ งๆ รวมถงึ กฎหมายดว้ ย ในกรณีของ เทคโนโลยีสารสนเทศน้ีกเ็ ชน่ กนั การเกดิ ขึ้นของอนิ เทอร์เน็ต ทำใหร้ ปู แบบของปัญหาสังคมทีเ่ กิดจากเทคโนโลยี สารสนเทศ มีความหลากหลายและยุ่งยากมากขน้ึ ด้วยเหตุนี้จงึ มีความจำเปน็ ที่ต้องมกี ลไกในรูปของกฎหมาย เทคโนโลยสี ารสนเทศไวใ้ ช้บังคับ สำหรบั ในประเทศไทยกไ็ ดใ้ ห้ความสำคญั ในเร่ืองนี้ โดยได้มีการปฏริ ูปกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้อง กบั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ท่ีระบุว่า “รฐั จะต้องพัฒนาเศรษฐกิจท้องถ่นิ และระบบสาธารณปู โภค ตลอดจนโครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศให้ท่วั ถึงและเท่าเทียมกันท่ัวประเทศ” กฎหมายด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร ที่ควรรู้ ในฐานะที่ทา่ นเปน็ อีกคนหนง่ึ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การใชง้ านทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สอื่ สาร ทา่ นก็จำเป็นจะต้องศึกษาเรียนรู้กฎหมายด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารไว้ เพอ่ื ที่จะได้ทราบถงึ สิทธิ ขอ้ ความระวัง และการคุ้มครองสิทธิของทา่ นในฐานะผู้ใชง้ าน ประชาชน และผูเ้ กยี่ วข้องในการใชร้ ะบบ กฎหมายดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มหี ลายฉบับ โดยมีกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง ดังน้ี กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ Computer Relate Crime) : เพือ่ คุ้มครองสังคมจากความผิดทีเ่ กีย่ วกับข้อมลู ข่าวสารอันถอื เปน็ ทรัพยท์ ่ีไม่มีรูปรา่ ง (Intangible Object) ซง่ึ ปัจจุบนั ประเทศไทยไดป้ ระกาศใช้ พระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2551 มี ผลบังคบั ใช้ไปแลว้ กฎหมายพาณิชย์อิเลค็ ทรอนิกส์ (Electronic Commerce) :เพื่อคุ้มครองการทำธรุ กรรมทาง อินเทอร์เน็ต ในด้านตา่ งปจั จุบนั มีกฎหมายทป่ี ระกาศใชแ้ ล้ว คอื พระราชบัญญัติ ว่าดว้ ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 ภายใน พรบ. ฉบับน้ี จะมีส่วนสำคญั ในเรื่องของการใช้ลายมืออเิ ล็กทรอนิกส์ รวมอยดู่ ้วย เพอื่ ให้การใช้ ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ใหเ้ ป็นทน่ี า่ เช่ือถือ ความมน่ั ใจใหแ้ ก่คูก่ รณใี นอนั ทจ่ี ะตอ้ งพ่งึ พาเทคโนโลยี เพ่อื การลง ลายมือชอื่ เชน่ เดียวกบั การลงลายมือช่อื แบบธรรมดา สามารถระบตุ ัวบคุ คลผลู้ งลายมือช่ือ สามารถแสดงได้วา่ บคุ คลน้นั เห็นด้วยกับข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ีมีลายมือชือ่ อเิ ล็กทรอนิกสก์ ำกบั อยู่ กฎหมายโทรคมนาคม (Telecommunication Law) : เพื่อวางกลไกในการเปิดเสรีให้มีการแข่งขันท่ีเปน็ ธรรมและมีประมทิ ธภิ าพ ท้ังสรา้ งหลักประกันใหป้ ระชาชน สามารถเข้าถงึ บริการโทรคมนาคมไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ (Universal Service) ประกอบดว้ ยพระราชบัญญัติ พรบ.องค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่แี ละกำกับกจิ การวิทยุกระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทัศน์และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 พ.ร.บ. การประกอบกจิ การกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 พระราชบัญญตั ิการประกอบกจิ การโทรคมนาคม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๙ พรบ.วิทยุคมนาคม พ.ศ.2498 พรบ.โทรเลขและโทรศัพท์ พ.ศ.2477 พรบ.องค์การโทรศัพทแ์ ห่งประเทศไทย พ.ศ.2497

123 พรบ.โทรเลขและโทรศัพท์ พ.ศ.2517 พรบ.วทิ ยุกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทัศน์ พ.ศ.2498 พรบ.คมุ้ ครองการดำเนินงานขององค์การโทรคมนาคมแห่งเอเชียและแปซฟิ ิก พ.ศ.2522 พรบ.คุม้ ครองการดำเนินงานขององค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ พรบ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ.2519 พรบ.องค์กรจดั สรรคลื่นความถแี่ ละกำกบั กิจการวิทยุกระจายเสยี งวิทยุโทรทัศน์ฯ พรบ.การประกอบกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ.2544 นอกจากน้ี ยงั มีกฎหมายอีกหลายฉบับ ท่ีรอการดำเนนิ การ อาทิ กฎหมายการโอนเงนิ ทางอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Funds Tranfer) : เพ่อื คุม้ ครองผ้บู ริโภคและสรา้ งหลกั ประกันทีม่ น่ั คง กฎหมายคุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล (Data Protection Law) : เพือ่ คมุ้ ครองสิทธใิ นความเป็นสว่ นตวั จากการนำข้อมลู ของบุคคลไปใชใ้ นทางมิชอบ กฎหมายการแลกเปล่ยี นข้อมูลทางอเิ ล็คทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI ) : เพอื่ ท่จี ะเออ้ื ใหม้ กี ารทำนติ ิกรรมสัญญาทางอิเลค็ ทรอนิกส์ได้ กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอตุ สาหกรรมอิเลค็ ทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์ ปัจจบุ นั พบว่า อัตราการละเมดิ สิทธิ ไมว่ ่าจะเปน็ ส่วนบุคคล การล่วงละเมดิ ไปยังองค์กรท้ังภาครัฐและ เอกชน มีอตี ราแนวโนม้ สงู ข้ึนอย่างต่อเน่ือง แม้วา่ ใน 20 อันดบั ของประเทศทัว่ โลก ยังไมป่ รากฎประเทศไทย แต่ จากการประเมินเฉพาะการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ทางดา้ นซอฟท์แวร์อย่างเดยี วโดย BSA ประเทศไทยก็อยู่ในลำดบั ต้นๆ ของธุรกิจซอฟทแ์ วร์เถ่ือน นอกจากนก้ี ารบกุ รุกเขา้ เครอื ขา่ ยของภาครฐั และเอกชน เรม่ิ มี การเข้าถึงระบบอยา่ ง ตอ่ เน่ือง ทำใหห้ นว่ ยงาน ทัง้ ราชการตอ้ งให้ความสำคัญตอ่ ภยั ร้ายในด้านน้ี โดยกำหนดลงในเกณฑก์ ารพัฒนา คุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ ว่าดว้ ยส่วนราชการจะต้องมรี ะบบรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ด้านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ซง่ึ ได้ดำเนนิ การใหส้ ่วนราชการทุกหน่วยงานในสังกดั ของทุกกระทรวง ได้จัดทำแผนสำรองภาวะ ฉกุ เฉินด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ แระจำทุกปี อย่างต่อเนื่อง ปัญหาและการละเมิดลขิ สิทธิ์ในสถานศกึ ษา ตามกฎหมาย การรับผดิ ชอบตอ่ การละเมิดสิทธ์ใิ นโปรแกรม หรอื ซอฟท์แวรด์ ังกลา่ วจะตกเปน็ ของผู้ ครอบครองการใชง้ านในเครือ่ งคอมพิวเตอรน์ นั้ ๆ รวมถงึ ผู้บริหารสถานศึกษาแหง่ นั้นด้วย ลิขสิทธิใ์ นทนี่ ี้ มีอยู่ 3 ลักษณะ อนั ไดแ้ ก่ ลิขสิทธิใ์ นตัวโปรแกรมหรือ ซอฟทแ์ วร์ท่ีตดิ ตั้งในเคร่ืองคอมพิวเตอร์และระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรส์ ถานศึกษา ลิขสิทธ์ิของผลงานทางวชิ าการของสถานศกึ ษา ลิขสิทธผ์ิ ลงานสือ่ รูปแบบต่างๆท่ีนำเข้ามาไว้ในเครอื่ งคอมพิวเตอรข์ องสถานศึกษา

124 อาทิ ไฟลเ์ พลง ไฟลว์ ิดที ัศน์ หรอื มลั ติมีเดียในรูปแบบตา่ งๆที่จุดประสงคห์ ลักผ้สู รา้ ง ทำไว้เพื่อเชงิ พาณิชย์ ปจั จบุ นั พบว่าสถานศึกษามีศกั ยภาพในการจัดการศึกษา มหี อ้ งคอมพิวเตอรเ์ พ่ือสนบั สนุนการเรียนรู้ มี โปรแกรมสำหรับใช้ ดำเนนิ กิจกรรมทางการศึกษาท่ีหลากหลาย แต่สถานศกึ ษาส่วนใหญ่ไม่ไดต้ ระหนักถึงสิทธทิ ่มี ี ในโปรแกรมหรือซอฟท์แวรเ์ หล่าน้ัน ซึ่งพบวา่ โปรแกรมหรือซอฟท์แวร์ท่มี ีอยูน่ นั้ เป็นโปรแกรมซอฟท์แวร์ผิด กฎหมาย ละเมดิ ลิขสิทธ์แทบทงั้ สิน้ นอกจากน้ีการพฒั นาโครงขา่ ยของยสถานศึกษา เพ่ือใชใ้ นการจัดการเรียนการ สอน แตใ่ นเวลาเดยี วกันก็พบวา่ ชอ่ งทางสำหรบั การรับสง่ สัญญาณ (Bandwidth) ของสถานศึกษานน้ั อาจถูก นำไปใชใ้ นทางท่ีผดิ โดยอาจเป็นแหลง่ ทเ่ี ก็บข้อมลู ส่อื ละเมิดสทิ ธ์ิ และละเมิดลขิ สิทธ์ิตา่ งๆ (อาทิ ผลงานทาง วิชาการต่างๆ ไฟล์เพลง ไฟล์วิดที ัศน์ รปู ภาพ ทีม่ จี ุดประสงค์ในเชิงพานิชย์ โปรแกรมหรือ ซอฟทแ์ วร์ต่างๆ) และ อาจเปน็ เครือขา่ ยออนไลน์ที่เปน็ ตน้ ทางในการป้อนหรือคดั ลอกข้อมูลใหแ้ ก่ผู้ดาวน์โหลดทวั่ โลก การใชไ้ ฟลร์ ว่ มกัน อยา่ งผดิ กฎหมาย (illegal file-sharing) อาจก่อให้เกิดความเสียหายแกเ่ ครือข่ายคอมพวิ เตอร์ อันเน่ืองมาจากการ ไดร้ ับไวรัสคอมพิวเตอร์ การจารกรรมข้อมูล และการคุกคามความปลอดภัยทางข้อมูลของสถานศกึ ษาดว้ ย การละเมิดลิขสิทธ์ดิ งั กล่าว ท้ังครูผู้สอน ผู้เรยี น ของหนว่ ยงานสถานศึกษาต้องถูกไต่สวนทางกฎหมาย ซงึ่ ถอื ไดว้ า่ การกระทำความผดิ รวมถึงหน่วยงาน สถานศึกษาอาจต้องรว่ มรับผดิ ชอบจากผลของการกระทำดงั กล่าวด้วย เชน่ กัน ตามหลกั การแลว้ สถาบนั การศึกษามหี น้าท่ีในการสร้างทัศนคตขิ องนักศึกษาที่มีต่อเรอื่ งลิขสิทธิ์ ซ่ึงก็มี ข้ันตอนมาก มายทสี่ ถาบนั การศกึ ษาสามารถทำได้และควรกระทำเพื่อเปน็ การปอ้ งกนั หรือเฝา้ ระวังพฤติกรรมการ ละเมดิ ลิขสิทธิ์ ซ่งึ เกียวโยงถงึ ปญั หาดา้ นความปลอดภยั ต่อเครอื ข่าย รวมถงึ การสื่อสารการทำความเข้าใจและให้ ความรแู้ ก่นักศึกษา และบคุ คลากรท่เี กีย่ วข้อง รวมท้งั การเฝา้ ระวังเพ่ือให้สภาวะออนไลน์มคี วามปลอดภยั และ การใชเ้ ครอื่ งมือปอ้ งกัน ทางเทคโนโลยอี ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การวิเคราะห์ปญั หา ปจั จัยหลักที่พบในหน่วยงานสถานศึกษา ส่วนใหญ่ มาจากการใช้งานซอฟท์แวรเ์ ถื่อน การเข้าถึงข้อมูล ออนไลน์แล้วนำไปแสวงหาผลประโยชน์ ทั้งส่วนตนเอง และทางการคา้ ไม่วา่ จะเป็นผลงานทางวิชาการ สอื่ มัลติมีเดีย จำพวกเพลง วิดที ัศน์ ท่มี ีผู้นำมาวางไวบ้ นเครือขา่ ย ปญั หาเหลา่ น้มี าจาก การขาดงบประมาณดา้ นการ ซอื้ ซอฟทแ์ วร์ ขาดการใหค้ วามรูด้ า้ นสิทธิในซอฟท์แวร์โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ต่างๆ หรอื สิทธิของการใช้ส่อื มลั ตมิ ีเดยี เพราะผู้ใชใ้ นหน่วยงาน สถานศกึ ษา ตา่ งไม่ไดร้ บั ร้วู า่ โปรแกรมการใชง้ านท่ีมีอยูใ่ นเครอ่ื งของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษานน้ั ถูกกฎหมายหรอื ไม่ บางรายไมเ่ ขา้ ใจถึงสิทธิการครอบครองของซอฟท์แวร์ ทสี่ ำคญั เปน็ ความเคยชิน ในการซื้อเครื่องคอมพวิ เตอร์แตล่ ะเคร่ืองตา่ งเข้าใจวา่ เมื่อซอ้ื เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ กจ็ ะได้โปรแกรมตา่ งๆ ติดมาด้วย ดังนนั้ หนว่ ยงาน สถานศึกษา จำเป็นต้องมีการให้ความรู้ และให้เกดิ การตระหนักของการใช้งานคอมพวิ เตอร์ รวมถึงสทิ ธิต่างๆท่ีผู้ใช้งานจำเป็นตอ้ งรับทราบ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

125 หนว่ ยงานทางการศึกษา บุคลากรในองค์กร ต้องร่วมกนั ศึกษา วางแผน และดำเนนิ การ จดั แผนการพฒั นา การปรบั ปรงุ การใช้โปรแกรมหรือซอฟท์แวรล์ ขิ สทิ ธ์ โดยการสำรวจความต้องการในหนว่ ยงานถงึ ความจำเปน็ ในการใชโ้ ปรแกรม ทำการตรวจสอบเครื่องคอมพวิ เตอร์ เพื่อปลดโปรแกรมหรือซอฟท์แวรท์ ไ่ี ม่จำเปน็ ต่อการใชง้ านออกจากระบบ จดั งบประมาณเพ่อื จดั ซ้ือโปรแกรมหรือซอฟท์แวรน์ ำมาตดิ ตง้ั ซ่งึ งบประมาณดังกลา่ วต้องใชเ้ ปน็ จำนวนมาก ไมอ่ าจเสรจ็ ส้ินในทนั ทีในปีหนง่ึ ได้ จงึ ต้องดำเนินการเปน็ ช่วงเวลา โดยอาจจะต้ังเปน็ แผนระยะยาว 3-5 ปี การใหค้ วามรู้ การสอ่ื สารทำความเขา้ ใจ รวมถงึ ขอ้ กฎหมาย กำหนดนโยบายด้านลิขสทิ ธ์ิทีเ่ หมาะสม เร่งรดั การให้ความรู้แก่ครูผ้สู อนและผ้เู รียนให้เข้าใจว่าการใช้โปรแกรมหรอื ซอฟท์แวรท์ นี่ ำมาจากแหล่งอ่ืน ไมไ่ ด้ เป็นผถู้ ือครองสทิ ธ์ิ จงึ ไม่มีสิทธิ์ในการใช้ รวมถงึ คดั ลอกและการถา่ ยโอนข้อมูล งาน หรือ ไฟลเ์ พลง ไฟลว์ ดิ โี อ ไฟล์ มัลติมเี ดยี ต่างๆ หรืองานทีส่ ร้างสรรคข์ องบคุ คลอื่นๆโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าตถือเป็นการละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ และผิด กฎหมายกำหนดแนวปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภัยของเครือข่ายให้เปน็ มาตรการของสถานศึกษา มคี ณะทำงานเพื่อทำการตรวจสอบสง่ิ ท่อี ยู่ในคอมพิวเตอร์และลบเน้อื หาหรือข้อมลู ทีล่ ะเมิดลขิ สทิ ธอ์ิ อก นอกจาก กรณีทส่ี ถาบันการศึกษา ต้องตรวจสอบระบบคอมพวิ เตอร์ของสถานศกึ ษา เพื่อแก้ไขและป้องกนั ปญั หาเร่ืองการ ละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ อาทิ การใชโ้ ปรแกรมหรอื ซอฟแวร์ที่ไมถ่ ูกต้องตามกฎหมาย ไฟล์เพลง ไฟล์วดิ ีโอ ไฟล์มัลตมิ ีเดีย ตา่ งๆ และงานสรา้ งสรรคป์ ระเภทอน่ื ๆ ทมี่ ลี ิขสทิ ธไิ์ วใ้ นรายการเพื่อที่ต้องทำการตรวจสอบอกี ด้วย โดยปกติแลว้ เจา้ ของลิขสิทธิใ์ นงานสิ่งบันทกึ เสยี งท่ีมกี ารจำหน่ายในปัจจุบนั อาทิ เชน่ เทป, ซดี ี, ดีวีดี รวมถึง การ อนญุ าตใหด้ าวน์โหลดผ่านระบบออนไลน์ ไมเ่ คยอนุญาตให้มกี ารคดั ลอกสำเนาเพลง, ไมเ่ คยอนญุ าตใหม้ ีการจัดเกบ็ ข้อมลู บนเครอื ขา่ ยออนไลน์ และไม่เคยอนุญาตให้มีการแจกจา่ ยเพลงอันมี ลขิ สทิ ธ์ิเหล่านัน้ ทางอนิ เตอรเ์ น็ต ยกเว้น จะดำเนินการโดยผา่ นผ้ใู หบ้ ริการทางดนตรี หรือเสยี งเพลงทไ่ี ด้รับการรบั รองโดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือภายใต้ สัญญาขอ้ ตกลงทีช่ ัดเจนจากเจา้ ของลิขสิทธ์ิ 5. ศกึ ษาแนวทางการนำเทคโนโลยเี พื่อควบคุมการใชไ้ ฟล์ขอ้ มลู รว่ มกัน (FILE-SHARING) ปัจจบุ นั ได้มีเทคโนโลยใี หม่ๆท่ีออกมาจำหน่ายเพ่ือวัตถปุ ระสงค์ ในการจดั การหรือปอ้ งกนั พฤติกรรมการใช้ ไฟล์ข้อมลู ร่วมกันทีผ่ ิดกฏหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะ การป้องกันการใช้โปรแกรมการแลกเปลี่ยนไฟล์ โดยตรงโดยไมผ่ ่านเซิร์ฟเวอร์กลาง (P2P) ซ่งึ ไม่ไดร้ บั อนุญาตการจำกัดการตดิ ตั้งซอฟแวร์และกิจกรรมการใช้ไฟล์ ร่วมกันท่ีไมไ่ ด้รับอนญุ าต หรือไม่ถูกต้องบนระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ของมหาวิทยาลัยนน้ั เปน็ แนวทางง่าย ๆ แนวทางหน่งึ ในการลดปัญหาด้านลิขสทิ ธ์ิและความปลอดภัย หยดุ การละเมิดลิขสิทธิ์ในวงกวา้ งก่อนทจ่ี ะเกดิ การ ละเมดิ ขนึ้

126 การละเมิดลขิ สทิ ธ์ซิ อฟต์แวร์คอื การคัดลอกหรือแจกจ่ายซอฟตแ์ วร์ลิขสทิ ธิโ์ ดยไมไ่ ด้รับอนุญาต ซึง่ สามารถกระทำไดด้ ้วยการคดั ลอก ดาวนโ์ หลด แลกเปล่ียน ขาย หรอื ตดิ ตัง้ หลายสำเนาไว้ในคอมพวิ เตอร์สว่ นตวั หรือทที่ ำงาน สง่ิ ที่ผคู้ นจำนวนมากไมไ่ ด้ตระหนักหรือคาดคดิ คือเมื่อคณุ ซือ้ ซอฟต์แวร์ จะหมายถึงคณุ กำลังซ้ือ ใบอนุญาตเพ่ือใช้ซอฟตแ์ วร์ ไม่ใชก่ ารซ้ือซอฟตแ์ วรจ์ รงิ ใบอนุญาตจะบอกคุณใหท้ ราบถึงจำนวนครง้ั ท่ีคุณสามารถ ติดตั้งซอฟต์แวร์ได้ ดงั น้ันจงึ มีความสำคญั มากที่จะต้องอ่าน หากคณุ คัดลอกซอฟตแ์ วร์มากกว่าทีใ่ บอนุญาตกำหนด น่นั หมายถึงคุณกำลงั โจรกรรม ปัจจบุ นั พบวา่ อัตราการละเมิดสิทธิ ไม่วา่ จะเป็นส่วนบคุ คล การล่วงละเมิดไปยังองค์กรทง้ั ภาครฐั และ เอกชน มีอตี ราแนวโน้มสูงข้นึ อย่างต่อเนอื่ ง แมว้ ่าใน 20 อันดบั ของประเทศทวั่ โลก ยังไมป่ รากฎประเทศไทย แต่ จากการประเมนิ เฉพาะการละเมิดลขิ สิทธิ์ทางดา้ นซอฟทแ์ วร์อย่างเดียวโดย BSA ประเทศไทยกอ็ ยู่ในลำดับต้นๆ ของธรุ กจิ ซอฟทแ์ วร์เถื่อน นอกจากนก้ี ารบกุ รุกเข้าเครอื ขา่ ยของภาครัฐและเอกชน เรมิ่ มี การเข้าถึงระบบอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ทำให้หนว่ ยงาน ทง้ั ราชการต้องให้ความสำคัญต่อภัยร้ายในด้านน้ี โดยกำหนดลงในเกณฑก์ ารพฒั นา คุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ว่าด้วยส่วนราชการจะตอ้ งมีระบบรองรบั ภาวะฉุกเฉินด้านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ซง่ึ ได้ดำเนินการใหส้ ว่ นราชการทุกหนว่ ยงานในสังกัดของทุกกระทรวง ได้จัดทำแผนสำรองภาวะ ฉุกเฉินดา้ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแระจำทุกปี อย่างตอ่ เนื่อง

127 ขอ้ สอบ เร่อื ง วิชานวตั กรรมทางการศกึ ษา ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ การเรยี นรู้ 1. ขอ้ ใดคือความหมายท่ีถูกต้องท่สี ุดของ\"นวัตกรรม\" ก.การกระทำที่ไมเ่ คยมมี าก่อน ข.การกระทำที่รื้อฟืน้ มาจากของเดมิ ค.การกระทำทเ่ี อาแบบอย่างมาจากที่อน่ื ง.การกระทำทใ่ี ช้แนวคิดหรือวิธปี ฏิบัตใิ หม่ๆเพื่อแก้ปญั หาและพัฒนางาน 2. ข้อใด\"ไมใ่ ช\"่ แนวคิดพ้นื ฐานท่กี อ่ ใหเ้ กิดนวตั กรรมการศกึ ษา ก.เวลาท่ีใชใ้ นการเรียน ข.ความพร้อมของผู้เรียน ค.ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ง.ความทนั สมัยของเทคโนโลยี 3. นวตั กรรมการศึกษามีความสำคญั ต่อการจดั การศึกษาอย่างไร ก.ลดความสำคญั ในตวั ผสู้ อน ข.เพิ่มความสำคัญในตวั ผ้เู รียน ค.เพ่มิ ความสำคัญทั้งในตัวผู้เรียนและผูส้ อน ง.ชว่ ยแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาการจดั การศึกษา 4. ข้อใดเป็นนวัตกรรมการศกึ ษาทเี่ กิดจากแนวคิดพ้ืนฐานท่ีต้องการตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ก.มหาวิทยาลัยเปดิ ข.การเรยี นทางไปรษณยี ์ ค.การจัดตารางเรียนแบบยดื หยนุ่ ง.บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยการสอน 5. ขอ้ ใดไม่ใชน่ วัตกรรมการศึกษาท่ีเกดิ จากแนวคดิ พนื้ ฐานดา้ นการตอบสนองอตั ราการเพมิ่ ของประชากร ก.มหาวทิ ยาลัยเปิด ข.การศึกษาทางไกล ค.โรงเรยี นไม่แบง่ ชน้ั ง.การจัดการศึกษาผ่านอินเทอรเ์ นต็ 6. ขอ้ ใดไมใ่ ชเ่ กณฑ์ในการพิจารณาความเปน็ \"นวัตกรรม\"

128 ก.ต้องประดิษฐ์ใหม่เทา่ นนั้ ข.ต้องมีการนำวิธีระบบมาใช้ ค.ตอ้ งมีการพิสูจนด์ ว้ ยการวจิ ัย ง.ตอ้ งยังไม่เป็นสว่ นหนงึ่ ของงานปัจจบุ นั 7. ขอ้ ใดอธิบายความนวัตกรรมการศึกษาไดช้ ดั เจนทส่ี ุด ก.เป็นสิง่ ใหมใ่ นวงการศึกษา ข.มกี ารนำมาใช้อยา่ งเป็นระบบ ค.มีการดำเนินงานโดยใช้กระบวนการวจิ ยั ง.ได้รับการพสิ ูจน์จนเป็นที่ยอมรบั วา่ สามารถแกป้ ญั หาและพัฒนาการศกึ ษาได้ 8. นวัตกรรมและเทคโนโลยมี คี วามคลา้ ยคลึงกันในด้านใด ก.ความใหม่ ข.ความทนั สมยั ค.การไดร้ บั ความนยิ มอย่างแพรห่ ลาย ง.มีเป้าหมายเพื่อแก้ปญั หาและพัฒนางาน 9. นวัตกรรมและเทคโนโลยมี ีความแตกต่างกันในด้านใด ก.ระบบการใชง้ าน ข.ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ค.การแกป้ ัญหาและพฒั นางาน ง.การยอมรับในฐานะเป็นสว่ นหนึง่ ของระบบการใชง้ านปัจจุบัน 10. นวตั กรรมและเทคโนโลยีมสี ่วนเก่ยี วข้องกันอยา่ งไร ก.นวตั กรรมมกั เกดิ กอ่ นเทคโนโลยี ข.เทคโนโลยีมักเกิดกอ่ นนวตั กรรม ค.นวตั กรรมจะประสบผลสำเรจ็ ได้ตอ้ งพ่งึ เทคโนโลยี ง.นวตั กรรมอาจแปรสภาพเป็นเทคโนโลยแี ละเทคโนโลยีอาจแปรสภาพเปน็ นวัตกรรมได้ 11. ข้อใดอธบิ ายความหมายของแหลง่ ทรัพยากรการเรียนรไู้ ด้ดีทีส่ ุด ก.สถานที่ทบี่ ุคคลไปแสวงหาความรู้ ข.การทผี่ ู้เรียนเข้าไปค้นควา้ หาความรู้ในห้องสมดุ ค.แหลง่ รวบรวมทรพั ยากรท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอน ง.แหลง่ รวบรวมทรัพยากรบุคคล วสั ดุ อุปกรณ์ ข้อมลู และสถานทส่ี ่งเสรมิ การเรยี นรูแ้ ละคน้ หาคำตอบ 12. ขอ้ ใดไม่ใช่เปา้ หมายของแหล่งทรพั ยากรการเรียนรู้

129 ก.ใหบ้ รกิ ารการศึกษา ข.ให้บริการสารสนเทศ ค.ใหบ้ ริการดา้ นนันทนาการและพกั ผ่อน ง.ให้บริการด้านการอนรุ ักษโ์ บราณสถานและโบราณวตั ถุ 13. ข้อใดไม่จัดเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ในชมุ ชน ก.ป้าปูถ่ายทอดวธิ ีการทำขนมทองหยิบใหห้ ลานสาวและเพ่ือนๆ ข.ลงุ ตไู่ ปขอความช่วยเหลือจาก รปภ.ของสถาบนั ในการแก้ไขลิฟทต์ ิด ค.นกั ศึกษาเอกบรหิ ารธุรกจิ ไปศกึ ษาดูงานทีต่ ลาดหลกั ทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย ง.เชญิ คุณพร้อมพงษจ์ ากบรษิ ัทไทยคม มาบรรยายเร่ือง การใช้อนิ เทอร์เน็ตเพ่ือการศกึ ษา 14. เชญิ คณุ พร้อมพงษจ์ ากบริษทั ไทยคม มาบรรยายเร่ือง การใช้อินเทอรเ์ นต็ เพื่อการศึกษา ก.ทำใหผ้ ูเ้ รยี นมปี ระสบการณ์ทีก่ ว้างไกล ข.เปน็ การจัดประสบการณต์ รงให้แก่ผูเ้ รยี น ค.ผเู้ รยี นได้ฝึกการสงั เกตและค้นควา้ จากสถานท่ีจรงิ ง.ช่วยประหยดั เวลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 15. ปัจจัยด้านใดท่ีก่อให้เกิดความเพยี งพอและมีประสทิ ธภิ าพของแหลง่ ทรัพยากรการเรียนรู้ ก.เทคโนโลยีสารสนเทศ ข.เอกชนและผู้ใหก้ ารสนบั สนุน ค.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ง.นโยบายรัฐบาลและผบู้ รหิ ารระดับสูง 16. ปัจจัยดา้ นใดทช่ี ว่ ยให้เกดิ ความสะดวกรวดเรว็ ในการแลกเปลยี่ นและสืบค้นข้อมูล ก.เทคโนโลยีสารสนเทศ ข.เอกชนและผู้ให้การสนบั สนุน ค.พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ ง.นโยบายรฐั บาลและผู้บรหิ ารระดับสงู 17. ขอ้ ใดนบั ว่าเปน็ แหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรทู้ ่ีใหญ่ท่สี ดุ ในปจั จบุ นั ก.อนิ เทอร์เนต็ ข.หนงั สือพิมพ์ ค.วิทยุโทรทศั น์ ง.วิทยกุ ระจายเสยี ง 18. ข้อใดเป็นแหลง่ ทรัพยากรการเรียนรูท้ ส่ี ามารถเข้าถึงผู้เรียนได้มากทส่ี ุดในปัจจุบัน

130 ก.อินเทอรเ์ น็ต ข.หนงั สอื พมิ พ์ ค.วิทยโุ ทรทัศน์ ง.วทิ ยกุ ระจายเสียง 19. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องเกยี่ วกบั แนวโน้มของแหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรู้ ก.มจี ำนวนเพิม่ ข้ึนอย่างรวดเร็ว ข.มีรปู แบบใหม่ๆเพ่ิมมากข้ึน ค.มีการรวบรวมสอื่ หลากหลายประเภท ง.มีความยุง่ ยากและซับซอ้ นในการเขา้ ถงึ หารให้บริการ 20.ในอนาคตแหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรมู้ ีแนวโนม้ พฒั นาไปสูร่ ูปแบบอิเลคทรอนกิ ส์มากข้ึนเน่ืองจากสาเหตุใด ก.เนื้อหาวชิ ามีมากข้ึน ข.ประชากรเพ่ิมมากขน้ึ ค.ความต้องการในการเรยี นรเู้ พ่มิ มากขึน้ ง.พัฒนาการของเทคโนโลยีและราคาของอุปกรณท์ ่ถี ูกลง 21.ทกั ษะต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ เรียกวา่ อะไร ก. ความชำนาญทางคอมพวิ เตอร์ ข. การรบั รดู้ า้ นคอมพวิ เตอร์ ค. การเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์ ง. เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 22.ตัวเลอื กในข้อใดประกอบดว้ ย คีย์บอร์ด เมาส์ จอภาพ หน่วยระบบ และอุปกรณ์อื่น ๆ ก. บุคลากร ข. ระเบียบปฏบิ ัติการ ค. ฮารด์ แวร์ ง. หนว่ ยระบบ 23.ซอฟตแ์ วร์ระบบในข้อใดท่ีสำคัญทีส่ ุด ก. โปรแกรมประมวลผลคำ ข. โปรแกรมระบบจักการฐานข้อมลู ค. โปรแกรมระบบปฏิบตั กิ าร ง. ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์

131 24.โปรแกรมเบราว์เซอร์ โปรแกรมประมวลผลคำ และโปรแกรมตารางคำนวณ เป็น โปรแกรมประเภทใด ก. ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์พิเศษ ข. ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์เอนกประสงค์ ค. ซอฟตแ์ วร์ข้นั สงู ง. โปรแกรมปญั ญาประดิษฐ์ 25.โน้ตบ๊กุ คอมพวิ เตอร์ เรียกอย่างหน่ึงวา่ อะไร ก. พดี เี อ ข. คอมพวิ เตอรว์ างตัก ค. ปาลม์ ทอ็ ปคอมพิวเตอร์ ง. คอมพวิ เตอรข์ นาดกลาง 26.คำทใี่ ช้แทนหน่วยความจำช่ัวคราวคอื คำใด ก. พีดีเอ ข. ซดี ี ค. แรม ง. ดวี ีดี 27.ดิสก์ประเภทใดทีใ่ ช้เทคโนโลยแี สงเลเซอร์ ก. ฮารด์ ดิสก์ ข. ฟล็อปปี้ดิสก์ ค. จานแสง ง. ดิสเก็ต 28.ไฟล์ที่ประกอบดว้ ยเอกสารประกอบการบรรยายสำหรับผู้ฟงั บนั ทึกสำหรบั ผู้พูด และ สไลด์อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ไฟล์ประเภทใด ก. ไฟล์เอกสาร ข. ไฟลฐ์ านข้อมูล ค. ไฟลแ์ ผน่ ตารางทำการ ง. ไฟลก์ ารนำเสนอ 29.คำทีใ่ ช้อ้างอิงถงึ อปุ กรณส์ ื่อสารแบบเคลื่อนทีท่ ่ีได้รับความนยิ มอย่างกวา้ งขวาง คือคำใด ก. ภาวะเชอ่ื มต่อ

132 ข. การปฏิวัติไร้สาย ค. อินเตอร์เน็ต ง. ความชำนาญทางคอมพวิ เตอร์ 30.เครอื ขา่ ยท่ใี หญ่ท่สี ดุ ในโลก เรียกว่าอะไร ก. อินเตอร์เนต็ ข. เวิลดไ์ วด์เว็บ ค. เวบ็ ไซต์ ง. เวบ็ 31.ข้อใดคือคำท่ีประกอบกนั แลว้ มคี วามหมายเหมือนคำว่า “ไอท”ี ก.ข้อมลู สารสนเทศ ข. เทคโนโลยี สารสนเทศ ค. การประมวลผล เทคโนโลยี ง. ข้อมลู การประมวลผล สารสนเทศ 32. ขอ้ ใดไม่ใชผ่ ลกระบททางด้านบวกของเทคโลโนยสี ารสนเทศที่ส่งผลตอ่ คณุ ภาพชวี ิต ก. ส่งเสรมิ การเรียนรู้ ข. ช่วยรักษาสภาพแวดลอ้ ม ค. เพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชน ง. สร้างความเสมอภาคในสังคม 33. ขอ้ ใดคือผลกระทบทางด้านบวกจากการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ ตี ่อสงั คม ก. ลดปญั หาการละเมดิ ลิขสิทธิ์ ข. ลดปัญหาอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ ค. ทำใหเ้ ขา้ ถึงข้อมลู ของผ้อู น่ื โดยไมต่ อ้ งไดร้ บั อนุญาต ง. ทำใหร้ บั รู้ขา่ วสารและติดต่อสือ่ สารกนั ไดส้ ะดวกยง่ิ ข้นึ 34. ไวรสั คอมพิวเตอรส์ ่งผลกระทบอยา่ งไรต่อสังคม ก. เกิดความไมเ่ สมอภาค ข. เพ่มิ ปญั หาสงิ่ แวดล้อม ค. เกิดความเสยี หายแก่ข้อมลู

133 ง. เพมิ่ จำนวนผ้ใู ช้คอมพิวเตอร์ 35. ข้อใดไมใ่ ช่รปู แบบการป้องกนั ภัยคุกคาม ก. ตรวจสอบจากสิง่ ทผี่ ใู้ ชร้ ู้ ข. ตรวจสอบจากสิ่งท่ีผู้ใช้มี ค. ตรวจสอบจากสิ่งที่เป็นสว่ นหนงึ่ ของผู้ใช้ ง. ตรวจสอบจากส่งิ ท่ีผ้ใู ช้ทำ 36. ข้อใดไม่ใชผ่ ลกระทบทางลบของอนิ เตอรเ์ น็ต ก. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการทำงาน ข. เกิดการแลกเปล่ียนวฒั นธรรมจากสังคมหน่ึงไปสู่อกี สงั คมหนง่ึ ค. เกิดชอ่ งวา่ งระหวา่ งคนในสงั คม ง. ก่อให้เปดิ ความเครียดของคนในสงั คม 37. ข้อใดไมใ่ ชม่ ารยาทในการใชอ้ ินเตอร์เน็ต ก. ไม่ใชข้ ้อความหยาบคายในการส่งข้อความ ข. ไมใ่ ช้ภาพที่ไม่เหมาะสม ค. ไม่ควรใชต้ ัวอกั ษรตัวพิมพ์ใหญท่ ัง้ หมด ง. ควรเคารพในสิทธิส่วนบคุ คลของผู้อ่นื 38. ข้อใดกล่าวถึงโทษของอนิ เตอรเ์ นต็ ถูกต้อง ก. สามารถตดิ ต่อสื่อสารกันไดท้ ว่ั ถึง ข. สะดวกสบาย ค. แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับผูอ้ ่ืนได้ ง. เกิดปญั หาของลขิ สิทธิ์ 39. ปัญหาการหมกมุ่นของเยาวชนทเ่ี ข้าไปในเว็บไซต์ เรยี กว่า ก. ค้นหาข้อมลู ข. เศรษฐกจิ ในระดับประเทศรงุ่ เรอื ง ค. ก่อใหเ้ กิดการรบั วฒั นธรรม ง. เกิดความบนั เทิง 40. บุคคลใดปฏิบัตถิ ูกต้องเก่ียวกับการใชอ้ ินเตอร์เนต็ ก. โป้งใช้อนิ เตอรเ์ นต็ ขายสินคา้ ผิดกฎหมาย

134 ข. กลางใหอ้ นิ เตอร์เนต็ ตดิ ต่อส่อื สารกับเพื่อน ค. นางใช้อนิ เตอร์เน็ตโหลดเพลงมาขาย ง. ก้อยใช้อินเตอรเ์ น็ตล่อลวงบคุ คลอ่ืน เฉลย 1. =ง 2. =ง 3. =ง 4. =ง 5. =ค 6. =ก 7. =ง 8. =ง 9. =ง 10.=ง 11.=ง 12.=ง 13.=ข 14.=ง 15.=ง 16.=ก 17.=ก 18.=ค 19.=ง 20.=ง 21.=ก 22.=ค 23.=ค 24.=ข 25.=ข 26.=ค 27.=ค 28.=ง 29.=ข 30.=ก 31.=ข 32.=ข 33.=ง 34.=ค 35.=ง 36.=ก 37.=ค 38=ง 39=ค 40.=ข

135 บรรณานกุ รม กฤตกิ า (2554). การจดั การเรียนรบู้ นเครอื ขา่ ยอินเตอร์เนต็ . สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2565 จาก http://thante.wordpress.com . การเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ เครือข่ายการเรยี นรู้. สืบค้นเมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2565 จาก http://Kwan691.wordpres.com . การวเิ คราะหป์ ัญหาที่เกิดจากการใช้นวตั กรรม. สืบคน้ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565 จาก http://anyflip.com กรรณาการ์ มา้ อตุ สาห์. (2547). คณุ ภาพสารสนเทศ. สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 จาก http://www.baanjomyut.com บทบาทสารสนเทศ http://www.baanjomyut.com . ความสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ. สืบคน้ เมื่อวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2565 จาก http://www.seekan.ac.th บ้านจอมยทุ ธ. ความสำคัญของสารสนเทศ. สบื ค้นเม่อื วันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2565 จาก http://www.baanjomyut.com . เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการใช้ในสงั คมปัจจุบัน. สืบค้นเมอ่ื วันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2565 จาก http://www.baanjomyut.com รตั นพร ทองรอด. (2557). ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา. สืบค้นเมอ่ื วันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2565 จาก http://sites.google.com . คอมพิวเตอร์และอินเตอรเ์ น็ต. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2565 จาก http://www.gotoknow.org วศิ รตุ จนั ทร์ดาตุ่ย.(2559). เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเรียนรู้. สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 30 กุมภาพนั ธ์ 2565 จาก http://sites.google.com .เทคโนโลยสี ่ือสารโทรคมนาคม. สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 30 กุมภาพนั ธ์ 2565 จาก http://sites.google.com เจษฎา กากะนึก (2556). นวัตกรรมการศึกษาของไทยในปจั จบุ ัน. สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2565 จาก http://sites.google.com รตั นา นานุราช (2557). นวตั กรรมดา้ นหลักสูตร. สบื ค้นเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2565 จาก http://www.gotoknow.org ศรสี ดุ า วรกา (2556). ประเภทนวตั กรรมการศกึ ษา. สืบค้นเม่อื วนั ท่ี 31 กุมภาพันธ์ 2565

136 จาก http://jantankan,blogspot.com .ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ. สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 จาก http://www.gotoknow.org ทิตยา จนั ทรส์ ุข (2557). ระดับของสอื่ สำหรบั elearning. สบื ค้นเม่ือวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2565 จาก http://sites.google.com

นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook