Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

Published by kk0630144155, 2022-03-07 05:28:42

Description: เลขที่ 28 นางสาวกิ่งกาญจน์ ผายตากแดด

Search

Read the Text Version

รายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา (810105) หลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑิตวิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปะศาสตร์ วทิ ยาลยั บัณฑิตเอเซยี เสนอ จดั ทาโดย ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษบ์ ริบรู ณ์ นางสาวกงิ่ กาญจน์ ผายตากแดด เลขที่ 28 รหสั นักศกึ ษา 646550190-3

รายงาน เร่ือง วิชานวัตกรรมทางการศึกษา ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเรยี นรู้ จดั ทำโดย นางสาวก่งิ กาญจน์ ผายตากแดด รหัส 646550190-3 เลขท่ี 28 หอ้ ง 6 รายงานน้ี เปน็ ส่วนหน่งึ ของวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ตามหลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑิตวิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์วทิ ยาลัยบณั ฑิตเอเซีย

คำนำ รายงานเรื่อง นวัตกรรมทางการศึกษา เลม่ นีจ้ ัดทำข้ึนเพ่ือศึกษาค้นควา้ ความรเู้ กี่ยวกับนวัตกรรมทาง การศึกษา โดยรายงานเลม่ นีป้ ระกอบไปดว้ ยเนื้อหาดงั น้ี ประวัติ ความเป็นมาของนวัตกรรมการศึกษา ความหมายของนวัตกรรมการศกึ ษา แนวคดิ พนื้ ฐานของนวัตกรรมการศึกษาประเภทของนวัตกรรมการศึกษา ลักษณะของนวัตกรรมการศึกษา การพฒั นาของนวตั กรรมการศกึ ษา ระยะของนวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรม การศึกษาในยุคปจั จุบัน เพ่ือประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ผ้ศู ึกษานวัตกรรมทางการศึกษา ทั้งน้ผี จู้ ดั ทำหวังเป็นอย่างยงิ่ ว่ารายงานเลม่ นจี้ ะเป็นประโยชนต์ อ่ ผู้ท่ีได้มาศึกษาเป็นอย่างดี และ ผจู้ ัดทำขอขอบพระคุณทมี่ ีส่วนชว่ ยให้รายงานเล่มน้สี ำเรจ็ มา ณ โอกาสน้ดี ว้ ย ก่งิ กาญจน์ ผายตากแดด

สารบญั หน้า เรอ่ื ง ข ค คำนำ สารบัญ 5 7 บทท่ี 1 นวัตกรรมการศึกษา 7 1.1 ประวัติ ความเป็นมาของนวตั กรรมการศึกษา 9 1.2 ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา 10 1.3 แนวคดิ พื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษา 10 1.4 ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา 13 1.5 ลักษณะของนวัตกรรมการศึกษา 13 1.6 การพัฒนาของนวัตกรรมการศกึ ษา 1.7 ระยะของนวตั กรรมการศึกษา 38 1.8 นวตั กรรมการศึกษาในยุคปัจจบุ นั 39 40 บทที่ 2 ความรู้เบือ้ งต้น เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 40 2.1 ความสำคัญของสารสนเทศ 41 2.2 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 42 2.3 ความหมายของสารสนเทศ 44 2.4 ความหมายของคำวา่ ขอ้ มูล 45 2.5 ชนดิ ของข้อมลู 45 2.6 คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศ 47 2.7 บทบาทของสารสนเทศ 47 2.8 วิวฒั นาการของสารสนเทศ 48 2.9 สาเหตทุ ่ที ำให้เกดิ สารสนเทศ 49 2.10 กรรมวธิ ีการจัดการขอ้ มูล 49 2.11 หลกั เกณฑ์การประเมนิ ผลลัพธ์ หรอื ผลผลติ 52 2.12 ความสำคญั ของสารสนเทศทด่ี ี 53 2.13 คณุ ภาพของสารสนเทศ 55 2.14 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.15 เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม 2.16 ปัจจัยทท่ี ำให้เกดิ ความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 2.17 ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

สารบัญ (ต่อ) หน้า เรือ่ ง 56 57 2.18 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ 61 2.19 เทคโนโลยสี ารสนเทศ กับการใช้ในสังคมปจั จบุ ัน 64 2.20 คอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต 70 2.21 ระบบสบื คน้ ผ่านเครือข่ายเพอื่ การเรียนรู้ 2.22 การสบื ค้น และรบั สง่ ข้อมูล แฟ้มขอ้ มลู และสารสนเทศใช้ในการเรยี นรู้ 75 บทที่ 3 คอมพิวเตอร์และอิน-เทอรเ์ นต็ กับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 82 3.1 เทคโนโลยแี ละสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ 91 3.2 สือ่ การเรียนรู้ 92 3.3 หลักการออกแบบนวัตกรรมและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรู้ 102 3.4 การเรยี นรู้ แหลง่ เรียนรู้ เครือข่ายการเรียนรู้ 104 3.5 การจดั การเรียนร้บู นเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต 110 3.6 การจดั การเรียนรบู้ นเครือขา่ ยเพอ่ื การเรยี นรู้ 112 3.7 การสืบคน้ และรับส่งขอ้ มูล แฟ้มข้อมลู 114 3.8 สารสนเทศเพื่อใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 3.9 การวเิ คราะหป์ ัญหาทเ่ี กิดจากการใช่นวตั กรรม 126 ขอ้ สอบ บรรณานกุ รม



บทที่ 1 นวัตกรรมทางการศกึ ษา 1.1 ประวัตแิ ละความเปน็ มาของนวัตกรรมการศกึ ษา นวัตกรรมมคี วามสำคญั ตอ่ การศึกษาหลายประการ ทั้งน้เี นอื่ งจากในโลกยุคโลกาภิวตั น์โลกมกี าร เปล่ียนแปลงในทกุ ด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงความกา้ วหน้าทง้ั ด้านเทคโนโลยีแลสารสนเทศ การศึกษา จึงจำเปน็ ตอ้ งมีการพฒั นาเปล่ียนแปลงจากระบบการศึกษาท่มี อี ยู่เดิม เพื่อ ให้ทันสมัยต่อการเปลย่ี นแปลงของ เทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลยี่ นแปลงไป อีกทัง้ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาทางด้านศึกษาบางอยา่ งทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ เช่นเดียวกนั การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นการศึกษาจึงจำเปน็ ต้องมีการศึกษาเกย่ี ว กับนวตั กรรม การศกึ ษาท่ีจะนำมาใชเ้ พ่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเรอ่ื ง เชน่ ปญั หาทเ่ี กี่ยวเน่ืองกนั จำนวนผเู้ รียนท่ี มากข้นึ การพัฒนาหลักสตู รใหท้ นั สมยั การผลิตและพัฒนาสือ่ ใหมๆ่ ขึน้ มาเพ่ือตอบสนองการเรยี นรู้ของมนุษย์ให้ เพิ่มมากขนึ้ ด้วยระยะเวลาทส่ี ั้นลง การ ใชน้ วัตกรรมมาประยุกตใ์ นระบบการบริหารจัดการดา้ นการศึกษาก็มสี ว่ น ชว่ ยใหก้ าร ใช้ทรพั ยากรการเรียนรเู้ ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เช่น เกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึน้ ตามสาเหตุใหม่ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การเพมิ่ ปริมาณของผูเ้ รยี นในระดบั ชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ทำให้นกั เทคโนโลยีการศึกษาต้องหานวตั กรรมใหมๆ่ มาใช้ เพอื่ ให้สามารถสอนนักเรียนได้มากขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเรว็ การ เรยี นการสอนจงึ ต้องตอบสนองการเรียนการ สอนแบบใหม่ๆ ที่ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้เร็วและเรียนรไู้ ด้มากในเวลาจำกัดนัก เทคโนโลยกี ารศึกษาจงึ ต้องคน้ หานวัตกรรมมาประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือวตั ถุประสงคน์ ี้

3. การเรียนรู้ของผเู้ รียนมีแนวโน้มในการเรยี นรดู้ ้วยตนเองมากขึน้ ตามแนวปรชั ญาสมัยใหม่ทยี่ ึดผู้เรยี น เป็นศนู ยก์ ลาง นวัตกรรมการศกึ ษาสามารถช่วยตอบสนองการเรียนรตู้ ามอัตภาพ ตามความสามารถของแต่ละ คน 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคมทสี่ ่วนผลกั ดนั ใหม้ กี ารใช้ นวัตกรรมการศึกษาเพ่มิ มากขึ้น ความหมายของนวตั กรรม

8 ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏบิ ัติ หรอื ส่งิ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยงั ไมเ่ คยมใี ช้มาก่อน หรือเป็นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมทมี่ ีอย่แู ล้ว ใหท้ ันสมยั และใชไ้ ดผ้ ลดียิ่งข้นึ เมอื่ นำนวัตกรรมมาใชจ้ ะชว่ ยใหก้ าร ทำงานนนั้ ไดผ้ ลดีมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสูงกวา่ เดิม ทงั้ ยังชว่ ยประหยดั เวลาและแรงงาน 1.2 ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศกึ ษา (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาส่ิงใหมซ่ งึ่ อาจจะอยูใ่ นรปู ของ ความคดิ หรือการกระทำ รวมท้งั สง่ิ ประดิษฐก์ ต็ ามเขา้ มาใชใ้ นระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังท่จี ะเปล่ียนแปลงสิ่งท่มี ี อย่เู ดิมให้ระบบการจดั การศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น ทำใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเกิดการเรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเร็วเกิด แรงจงู ใจในการเรยี น และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรยี น เช่น การสอนโดยใชค้ อมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใชว้ ดี ทิ ศั นเ์ ชงิ โต้ตอบ (Interactive Video) ส่อื หลายมติ ิ (Hypermedia) และ อินเตอร์เน็ต [Internet] ความหมายของนวัตกรรมการเรยี นการสอน นวตั กรรมการเรียนการสอน (Instructional Innovation) หมายถงึ สิ่งที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน เพ่อื ให้เกิดประสิทธภิ าพย่ิงขนึ้ นวัตกรรมที่ นำมาใชอ้ าจมผี ูค้ ิดขน้ึ ก่อนแล้ว หรอื คดิ ข้ึนใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับ แต่ละสถานการณ์ นวตั กรรมการเรยี นการสอนส่วนใหญ่มีลักษณะเปน็ แนวคิดหรอื วธิ กี าร เชน่ รปู แบบการเรยี นรู้ แบบร่วมมือ การจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ หรอื อาจมีลักษณะเปน็ ส่ือการเรยี นการสอน เชน่ บทเรยี น คอมพิวเตอร์ และชุดการสอน 1.3 แนวคิดพนื้ ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา ปจั จยั สำคญั ท่ีมีอทิ ธพิ ลอยา่ งมาก ต่อวิธกี ารศึกษา ได้แกแ่ นวความคดิ พ้นื ฐานทางการศึกษาทีเ่ ปลยี่ นแปลง ไป อนั มผี ลทำให้เกิดนวตั กรรมการศึกษาทีส่ ำคัญๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คือ

9 1. ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคญั ใน เรื่องความแตกตา่ งระหว่างบุคคลเอาไวอ้ ย่างชัดเจนซ่ึงจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มงุ่ จดั การศึกษาตาม ความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแตล่ ะคนเปน็ เกณฑ์ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจนไดแ้ ก่ การจัดระบบ ห้องเรียนโดยใชอ้ ายเุ ปน็ เกณฑบ์ า้ ง ใช้ความสามารถเปน็ เกณฑ์บา้ ง นวตั กรรมที่เกิดขนึ้ เพ่อื สนองแนวความคดิ พน้ื ฐานนี้ เช่น • การเรยี นแบบไมแ่ บ่งชัน้ (Non-Graded School) • แบบเรยี นสำเร็จรปู (Programmed Text Book) • เครื่องสอน (Teaching Machine) • การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching) • การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) • เครอื่ งคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. ความพรอ้ ม (Readiness) เดมิ ทีเดียวเช่ือกันว่า เด็กจะเร่ิมเรยี นไดก้ ็ต้องมีความพร้อมซึ่งเปน็ พฒั นาการ ตามธรรมชาติ แตใ่ นปจั จบุ นั การวิจยั ทางด้านจติ วิทยาการเรียนรู้ ช้ีใหเ้ หน็ ว่าความพรอ้ มในการเรียนเป็นสง่ิ ทสี่ ร้าง ข้ึนได้ ถ้าหากสามารถจดั บทเรยี น ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วชิ าทเี่ คยเชอื่ กันว่ายาก และไมเ่ หมาะสมสำหรับเดก็ เลก็ ก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมท่ตี อบสนองแนวความคิดพื้นฐานน้ีได้แก่ ศูนยก์ ารเรยี น การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมทสี่ นองแนวความคดิ พ้ืนฐานดา้ นนี้ เช่น • ศนู ย์การเรียน (Learning Center) • การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) • การปรับปรุงการสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใช้เวลาเพือ่ การศึกษา แต่เดิมมาการจดั เวลาเพ่ือการสอน หรอื ตารางสอนมักจะจัดโดยอาศยั ความ สะดวกเปน็ เกณฑ์ เชน่ ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เทา่ กนั ทุกวชิ า ทกุ วันนอกจากนน้ั ก็ยงั จัดเวลาเรียนเอาไวแ้ น่นอน เป็นภาคเรยี น เปน็ ปี ในปจั จุบันได้มีความคดิ ในการจดั เปน็ หน่วยเวลาสอนใหส้ มั พันธก์ บั ลักษณะของแตล่ ะวชิ าซ่งึ จะใชเ้ วลาไมเ่ ท่ากัน บางวชิ าอาจใชช้ ว่ งส้นั ๆ แต่สอนบอ่ ยครั้ง การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แตเ่ ฉพาะในโรงเรยี นเท่าน้ัน นวัตกรรมทสี่ นองแนวความคิดพ้ืนฐานดา้ นนี้ เช่น • การจดั ตารางสอนแบบยดื หยุ่น (Flexible Scheduling) • มหาวทิ ยาลัยเปดิ (Open University) • แบบเรยี นสำเรจ็ รปู (Programmed Text Book) • การเรียนทางไปรษณยี ์ 4. ประสิทธภิ าพในการเรยี น การขยายตวั ทางวิชาการ และการเปลยี่ นแปลงของสังคม ทำใหม้ สี งิ่ ต่างๆ ท่ี คนจะต้องเรยี นร้เู พ่มิ ขนึ้ มาก แต่การจดั ระบบการศกึ ษาในปจั จุบันยงั ไม่มปี ระสิทธภิ าพเพยี งพอจึงจำเปน็ ตอ้ ง

10 แสวงหาวิธกี ารใหมท่ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขึน้ ท้ังในดา้ นปจั จัยเกยี่ วกบั ตวั ผ้เู รียน และปัจจัยภายนอก นวตั กรรมในด้าน น้ที ่ีเกิดข้นึ เชน่ • มหาวิทยาลัยเปิด • การเรยี นทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทศั น์ • การเรียนทางไปรษณยี ์ แบบเรยี นสำเร็จรูป • ชุดการเรยี น 1.4 ประเภทของนวัตกรรม การแบง่ ประเภทของนวตั กรรม สามารถแบง่ ไดห้ ลายแบบ ขึ้นอยู่กับขอบเขตและลกั ษณะของการแบง่ แต่ โดยรวมแล้ว สามารถแบง่ งา่ ยๆ ได้ 4 ประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. นวัตกรรมผลติ ภณั ฑ์ (Product Innovation) การปรบั ปรงุ ส่งิ ประดษิ ฐ์ หรือผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีอยู่แล้วให้พัฒนากา้ วหน้ายิ่งขน้ึ โดยมีท้งั แบบที่จบั ตอ้ งได้ และจบั ต้อง ไม่ได้ นอกจากชว่ ยสรา้ งความสะดวกสบายแล้ว ยังสามารถเพ่มิ มูลค่าเชงิ พาณิชยใ์ นตลาดได้ เชน่ รถยนต์ขบั เคลอ่ื น อตั โนมตั ิ, จอโทรทศั น์แบบ HDTV, หูฟงั ไร้สาย เปน็ ต้น 2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) การพัฒนาแนวทาง วิธีผลิตสนิ ค้าและบริการ ใหม้ รี ูปแบบใหมท่ ่ีทันสมัยมากขึน้ อาจจะเป็นการลดข้นั ตอน กระบวนการผลติ ให้รวดเร็วมากขึน้ เพื่อประหยัดตน้ ทุนและเวลา เช่น การย้ายฐานการผลติ สินค้าไปยงั แหลง่ ใหม่ เป็นต้น 3. นวตั กรรมด้านการวางตำแหนง่ ของสินค้า (Position Innovation) การเปลย่ี นแปลงรปู แบบของนวัตกรรม สินค้าและบริการ จากแบบเดิมๆ ท่คี นสว่ นใหญ่รจู้ กั หรอื คนุ้ เคยอยู่แลว้ ไปส่กู ารรับรใู้ หม่ที่ทันสมยั มากขึ้น เพื่อนำเสนอเทคโนโลยแี ละภาพลักษณ์ใหม่ๆ ส่ผู ู้บริโภค เช่น เครอื่ งสำอางที่ ปรับปรงุ แบรนด์ โดยใช้เทคโนโลยีปรบั ปรงุ สตู รใหม่ ทำให้ครองใจกลมุ่ ลกู คา้ วยั รนุ่ มากข้ึน เปน็ ต้น00:15 / 00:15 4. นวัตกรรมดา้ นกระบวนทศั น์ (Paradigm Innovation)

11 การสรา้ งนวตั กรรมทส่ี ามารถเปลยี่ นแปลงความคิดเดิมๆ ได้ เพ่อื นำไปสกู่ ารสรา้ งกรอบความคดิ ใหม่ๆ เช่น จาก เดมิ เชือ่ วา่ สมารท์ โฟน 5G จะตอ้ งมรี าคาท่ีสูง แต่เทคโนโลยีก็ทำใหส้ มาร์ทโฟนเหล่านี้ราคาถกู ลง และสามารถ เขา้ ถึงคนหลายระดับไดม้ ากข้ึน เป็นต้น 1.5 ลักษณะของนวัตกรรม 1. เปน็ สงิ่ ประดษิ ฐ์หรอื วิธีการใหม่ - คิดหรอื ทำขึ้นใหม่ - เก่าจากท่อี ืน่ พึ่งนำเข้า - คดั แปลงปรับปรงุ ของเดิม - เดมิ ไม่เหมาะแต่ปจั จุบนั ใช้ได้ดี - สถานณก์ ารเอ้ืออำนวยทำใหเ้ กิดสิ่งใหม่ 2. เป็นส่ิงได้รับการตรวจสอบหรือทดลองและพัฒนา 3. นำมาใช้หรอื ปฎิบตั ไิ ดด้ ี 4. มกี ารแพร่กระจายออกสชู่ มุ ชน 1.6 การพฒั นานวัตกรรม การลำดับข้นั ตอนวิธกี ารพัฒนานวฒั กรรม กระบวนการวจิ ัยและพัฒนา มีกระบวนการท่มี ีลักษณะเหมอื นกับการวจิ ยั โดยทวั่ ๆไปซึ่งมขี นั้ ตอนสำคัญดงั นี้ 1.ขนั้ การกำหนดปัญหา เปน็ ข้นั ตอนที่ตอ้ งระบวุ า่ ปญั หาที่ต้องการปรับปรงุ แกไ้ ขหรือพัฒนานนั้ คืออะไร มีสาเหตจุ ากอะไร

12 2.ขนั้ กำหนดวตั ถุประสงคห์ รือผลทีต่ ้องการ 3.ขัน้ ตอนแนวทางเลือก ในการแก้ปัญหาแตล่ ะปญั หา ซ่ึงไม่ควรทจี่ ะกำหนดแนวทางแก้ปัญหาไวเ้ พยี ง แนวทางเดียว 4.ขนั้ การพฒั นา เปน็ ขน้ั ตอนทนี่ ำทางเลือกไว้มาพฒั นาหรือสร้างเปน็ นวฒั กรรมขนั้ มาท่ถี ูกต้องตาม มาตรฐานทคี่ วรจะเปน็ 5.ข้ันการทดลองและประเมินผล เป็นข้ันที่นำนวฒั กรรมท่ีสร้างข้ึนไปทดลองใชเ้ พือ่ หาข้อมลู มายืนยนั คุณภาพ ในขน้ั ตอนนี้อาจอาศัยรูปแบบของการวจิ ัยทดลอง 6.ขั้นปรบั ปรุงและนำไปใช้ ในข้นั น้เี ปน็ ขั้นทีน่ ำผลท่ีได้จากข้ันการทดลองมาเป็นขอ้ มูลพน้ื ฐานในการ ปรับปรุงนวัฒกรรให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลมากทส่ี ุด แล้วนำไปใช้จรงิ หรือเผยแพรแ่ ก่ผู้อนื่ ลำดับขัน้ ตอนวธิ ีการดำเนนิ โครงการ 1.วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมนิ ความต้องการของผู้ใช้นวัฒนกรรม เพอื่ หาแนวทางแก้ไขปรบั ปรงุ โดยการสรา้ งหรือพัฒนานวฒั กรรมให้สอดคลอ้ งและสามารถแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดข้ึน 2.ศกึ ษาทฤษฎีและหลักการทเ่ี กี่ยวข้อง 3.กำหนดวสั ดุ อปุ กรณ์และเครอื่ งมือที่เกย่ี วข้องกับการสร้างและพัฒนานาวัฒนกรรม 4.หาข้อมูลเกี่ยวกับวสั ดุ อปุ กรณ์และเคร่ืองมอื ที่เก่ียวข้องกับการสร้างและพัฒนานวัฒกรรม 5.ออกแบบสร้างและพฒั นานวัฒกรรม 6.สร้างนวัฒกรรมตามที่ออกแบบ 7.ทดสอบนวัฒกรรมท่ีสรา้ งขึน้ 8.แก้ไขปรับปรุงนวตั กรรม 9.ใช้นวัตกรรม 10.ประเมนิ นวัตกรรม 11.รวบรวมขอ้ มูลจากการประเมนิ นวตั กรรม 12.วิเคราะหข์ ้อมูล 13.สรุปรายงานโครงการวจิ ยั การออกแบบสร้างหรอื พฒั นานวัตกรรม

13 วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาที่เกิดขึ้น เพอื่ หาแนวทางการแก้ไข ปรับปรงุ โดยการสร้างหรือพฒั นานวตั กรรม เพื่อนำมาใชแ้ ก้ไขปญั หา ที่เกดิ ขนึ้ และมีการประเมนิ ความต้องการของผ้ใู ช้ เปน็ ข้ันตอนระบุถึงปญั หาทตี่ ้องการปรับปรุงแก้ไขหรือพฒั นา กำหนดวัตถปุ ระสงค์หรือผลท่ีตอ้ งการ กำหนดวัตถปุ ระสงค์หรือผลทีต่ ้องการในการสรา้ งหรือพัฒนานวตั กรรม เพื่อใหต้ อบสนองต่อปญั หาท่ีเกิดขึ้น ศึกษาเอกสาร งานวจิ ยั ทฤษฎแี ละหลกั การทำงานที่เกีย่ วข้อง ขั้นตอนน้ีผดู้ ำเนินโครงการวจิ ัย กำหนดขอบเขตเอกสาร งานวิจยั ทฤษฎแี ละหลกั การทำงานท่ีเกีย่ วข้อง เพ่ือหาแนวทางที่จะออกแบบหรือพฒั นานวัตกรรมทต่ี ้องการ ออกแบบแนวทางในการแก้ปัญหา ออกแบบแนวทางในการแก้ปัญหา เป็นข้ันตอนการวิเคราะหป์ ัญหาสูก่ ารออกแบบพนื้ ฐานจากทฤษฎี หลกั การ งานวิจยั ท่ีไดส้ ืบค้นมา โดยแตล่ ่ะปญั หาอาจจะมีหลากหลายวิธกี ารในการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดข้ึน ข้ันตอนการเลือกวิธีการตา่ งๆ 1.การเรยี บเรียงสมมุติฐานและผลท่คี าดหวงั ก่อนเร่มิ สรา้ งระบบและทำการทดลองวิธีการและ ความคิดของนักวจิ ยั 2.การสรา้ งระบบคือ การจำลองสิง่ หนึ่งทส่ี อดคลอ้ งกับเง่ือนไขตามข้อเสนอและสมมุติฐานเพื่อ การพิสจู น์ข้อเสนอวา่ เปน็ จริงไดม้ ากเท่าไหร 3.การทดสอบ เปน็ กระบวนการทดสอบโดยใช้ระบบท่รี า่ งขัน้ และวธิ ีการท่ีคดิ ข้ึนตามแนวคดิ ที่ เสนอเพ่ือตรวจและประเมนิ ประสิทธภิ าพของนวตั กรรมอย่างเปน็ รปู ธรรมว่ามีกีเ่ ปอรเ์ ซ็นต์ เมอื่ สร้างระบบ

14 หรือเคร่อื งตน้ แบบตามวธิ ีทีเ่ สนอเรียบร้อยแล้วเขียนแบบ ออกแบบ หรือพัฒนานวตั กรรมตามข้อมูลท่ีได้จาก การศกึ ษา รวบรวมและวเิ คราะห์ เพ่ือออกแบบหรือพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความตอ้ งการ ของผู้ใช้ การกำหนดแนวทาง ขั้นตอนการทดลอง และประเมนิ นวตั กรรม การกำหนดแนวทาง ข้ันตอนการทดลอง และประเมินนวัตกรรมของตนเองเปน็ ขั้นตอนเบื้องต้นสู่การ สรา้ งเคร่ืองมอื สำหรับเก็บรวบรวมข้อมลู ต่อไป จะต้องกำหนดสถานท่ี เวลา บคุ คล ระยะทางเบอ้ื งตน้ ในการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู เพื่อประสิทธภิ าพการทำงานของนวัตกรรมจะสอดคล้องกบั เคร่ืองมือที่จะกล่างในหนว่ ยต่อไป การสร้างนวตั กรรมจากการออกแบบหรือพัฒนา การสรา้ งนวัตกรรมจากการออกแบบ เป็นขัน้ ตอนท่ผี ้ดู ำเนินโครงการวิจัยสร้างนวตั กรรมตามแผนงานที่ กำหนดไว้การพฒั นานวัตกรรมหรือการสรา้ งนวตั กรรม ตอ้ งยึดวัตถปุ ระสงค์ของโครงการเป็นหลกั เพื่อเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ตอบสนองตอ่ การแก้ไขปัญหาภายใตก้ รอบทีผ่ ูด้ ำเนนิ โครงการวจิ ยั กำหนดขอบเขตของ โครงการไว้ เพ่ือนำไปสู่ผลการทดลองนวตั กรรม ทดลองใชน้ วตั กรรม ตลอดจนถึงความพงึ พอใจของผ้ใู ช้นวัตกรรม ทจี่ ะกลา่ วถึงในหนว่ ยตอ่ ไป 1.7 นวตั กรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีการประดิษฐ์คิดคน้ (Innovation) หรอื เป็นการปรุงแตง่ ของเกา่ ใหเ้ หมาะสมกบั กาลสมัย ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มกี ารทดลองในแหล่งทดลองจดั ทำอยู่ในลกั ษณะของโครงการทดลอง ปฏิบัตกิ ่อน (Pilot Project) ระยะท่ี 3 การนำเอาไปปฏิบัตใิ นสถานการณท์ ว่ั ไป ซ่ึงจัดวา่ เป็นนวัตกรรมขน้ั สมบูรณ์ 1.8 นวตั กรรมทางการศึกษาในยคุ ปัจจบุ นั นวัตกรรม เป็นความคิดหรอื การกระทำใหมๆ่ ซึง่ นักวชิ าการหรือผู้เชย่ี วชาญในแตล่ ะวงการจะมกี ารคิด และทำสิง่ ใหมอ่ ยเู่ สมอ ดังนน้ั นวัตกรรมจงึ เปน็ สิ่งทเี่ กิดขึน้ ใหมไ่ ดเ้ ร่ือยๆ สง่ิ ใดที่คดิ และทำมานานแลว้ ก็ถือว่าหมด ความเปน็ นวัตกรรมไป โดยจะมสี งิ่ ใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปจั จบุ นั มีสิง่ ที่เรยี กวา่ นวัตกรรมทางการศึกษา หรอื นวัตกรรมการเรยี นการสอน อยูเ่ ป็นจำนวนมาก บางอยา่ งเกดิ ข้นึ ใหม่ บางอยา่ งมีการใช้มาหลายสิบปแี ลว้ แต่ก็ยงั คงถือวา่ เป็นนวตั กรรม เนือ่ งจากนวตั กรรมเหลา่ น้ันยงั ไมแ่ พร่หลายเป็นทร่ี ูจ้ ักทวั่ ไปในวงการศึกษา

15 ประเภทของการใชน้ วัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มบี ทบญั ญตั ิทเ่ี ก่ียวข้องกับ เทคโนโลยกี ารศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไวห้ ลายมาตรา มาตราท่ีสำคัญ คอื มาตรา 67 รัฐต้องสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวิจยั และพฒั นาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา รวมท้งั การตดิ ตาม ตรวจสอบและ ประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา เพ่อื ให้เกดิ การใช้ทค่ี ุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูข้ อง คนไทยและในมาตรา 22 \"การจดั การศึกษาต้องยดึ หลักวา่ ผู้เรียนทกุ คนมีความสามารถเรียนร้แู ละพฒั นา ตนเองไดแ้ ละถอื ว่าผู้เรยี นมีความสำคัญที่สดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาตนเองไดแ้ ละถอื วา่ ผู้เรียนมีความ สำคญั ทีส่ ดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ\" การดำเนนิ การปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จไดต้ ามทรี่ ะบุไว้ในพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ดงั กลา่ ว จำเป็นต้องทำการศึกษาวิจยั และพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษาใหม่ๆ ท่จี ะเข้ามาชว่ ยแก้ไขปัญหาทางการศกึ ษา ทัง้ ในรปู แบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมนิ ผลนวตั กรรมหรือเทคโนโลยที ่นี ำมาใช้ว่ามีความ เหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีนำมาใชท้ ้ังท่ีผา่ นมาแลว้ และที่จะมใี นอนาคตมีหลายประเภทข้นึ อย่กู บั การประยุกต์ใชน้ วัตกรรมในด้านต่างๆ ในทีน่ จ้ี ะขอกลา่ วคือ นวตั กรรม 5 ประเภท คือ 1. นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตร 2. นวตั กรรมการเรียนการสอน 3. นวัตกรรมส่ือการสอน 4. นวตั กรรมการประเมินผล 5. นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ 1. นวตั กรรมทางดา้ นหลักสูตร

16 นวัตกรรมทางดา้ นหลักสูตร เป็นการใช้วิธกี ารใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดลอ้ มใน ท้องถน่ิ และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลใหม้ ากขน้ึ เนอ่ื งจากหลักสตู รจะต้องมีการเปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ เพ่อื ให้สอดคล้องกบั ความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยเี ศรษฐกิจและสงั คมของประเทศและของโลก นอกจากน้ีการ พฒั นาหลัก สตู รยังมีความจำเปน็ ที่จะต้องอยูบ่ นฐานของแนวคดิ ทฤษฎีและปรชั ญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนา หลกั สูตรตามหลักการและวธิ กี ารดังกลา่ วต้องอาศัยแนวคิดและวิธกี ารใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเขา้ มาช่วย เหลอื จัดการใหเ้ ป็นไปในทิศทางทตี่ อ้ งการ นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพฒั นาหลกั สูตร ดังต่อไปน้ี 1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบรู ณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าดว้ ยกันทางดา้ นวิทยาการในสาขา ตา่ งๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสงั คม โดยมงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นเป็นคนดีสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากองค์ความรูใ้ นสาขา ต่างๆ ให้สอดคล้องกบั สภาพสังคมอย่างมีจรยิ ธรรม 2.หลกั สูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพฒั นาหลกั สูตรเพ่ือการศึกษาตามอัตภาพ เพ่ือตอบสนอง แนวความคิดในการจดั การศึกษารายบุคคล ซึง่ จะต้องออกแบบระบบเพ่ือรองรบั ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีด้าน ต่างๆ 3.หลักสตู รกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลกั สตู รที่มงุ่ เน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ให้กบั ผเู้ รียนเพ่ือนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรยี นรจู้ ากการสืบค้นดว้ ยตนเอง เป็นต้น 4.หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน เป็นการพัฒนาหลกั สตู รทตี่ อ้ งการกระจายการบริหารจดั การออกสทู่ ้องถนิ่ เพ่ือให้ สอดคล้องกบั ศลิ ปวฒั นธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนทมี่ ีอยใู่ นแต่ละทอ้ งถ่นิ แทนทหี่ ลักสูตรใน แบบเดมิ ที่ใชว้ ธิ ีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง

17 2.นวัตกรรมการเรียนการสอน เปน็ การใชว้ ธิ ีระบบในการปรบั ปรุงและคดิ ค้นพฒั นาวิธสี อนแบบใหม่ๆ ทสี่ ามารถตอบสนองการเรียน รายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง การเรยี นแบบมสี ว่ นร่วม การเรยี นร้แู บบแก้ปัญหา การพฒั นาวธิ ี สอนจำเปน็ ตอ้ งอาศัยวธิ ีการและเทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาจัดการและสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ตวั อย่างนวตั กรรม ที่ใชใ้ นการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การสอนแบบศนู ย์การเรียน การใชก้ ระบวนการกลมุ่ สัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ รว่ มกนั และการเรยี นผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ การวิจยั ในชน้ั เรยี น ฯลฯ 3.นวตั กรรมส่ือการสอน เน่ืองจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นกั การศึกษาพยายามนำศกั ยภาพของเทคโนโลยเี หล่าน้ีมาใชใ้ นการผลติ สื่อการเรยี นการสอนใหม่ๆ จำนวน มากมาย ทัง้ การเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนสื่อทใ่ี ชเ้ พื่อสนบั สนุนการ ฝกึ อบรม ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอรต์ วั อย่าง นวตั กรรมส่ือการสอน ได้แก่ - คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) - มลั ตมิ เี ดยี (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชดุ การสอน (Instructional Module) - วดี ที ัศนแ์ บบมีปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive Video)

18 4.นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล เปน็ นวัตกรรมที่ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและทำไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว รวมไปถงึ การวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบนั ด้วยการประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าสนับสนนุ การวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมนิ ผล ได้แก่ - การพฒั นาคลังขอ้ สอบ - การลงทะเบียนผา่ นทางเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอินเตอร์เน็ต - การใชบ้ ตั รสมารท์ การ์ด เพื่อการใชบ้ ริการของสถาบนั ศกึ ษา - การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการตัดเกรด - ฯลฯ 5.นวัตกรรมการบริหารจัดการ เปน็ การใชน้ วตั กรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใชส้ ารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ ตัดสินใจของ ผ้บู รหิ ารการศกึ ษาให้มีความรวดเร็วทนั เหตุการณ์ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก นวตั กรรมการศึกษาทีน่ ำมาใชท้ างด้านการบรหิ ารจะเก่ยี วข้องกบั ระบบการจดั การฐานข้อมลู ในหน่วยงาน สถานศกึ ษา เช่น ฐานข้อมลู นกั เรยี น นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบคุ ลากร ในสถานศกึ ษา ดา้ นการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหลา่ น้ีต้องการออกระบบทส่ี มบรู ณ์มีความปลอดภยั ของข้อมลู สงู นอกจากนี้ยงั มีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบยี บปฏิบตั ิ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่ เก่ยี วกบั การจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมกี ารอบรม เกบ็ รักษาและออกแบบระบบการสบื ค้นทด่ี ีพอซง่ึ ผบู้ ริหารสามารถ สืบคน้ ขอ้ มูลมาใช้งานไดท้ ันทีตลอดเวลาการใชน้ วตั กรรมแตล่ ะด้านอาจมีการผสมผสานทีซ่ ้อนทับกันในบางเร่อื ง ซึง่ จำเปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นารว่ มกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมลู อาจตอ้ งทำเป็นกลมุ่ เพ่ือให้ สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

19 นวตั กรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ที่กลา่ วถึงกันมากในปัจจบุ ัน E-learning ความหมายของ e-Learning การเรียนทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรอื e-Learning รูปแบบการเรยี นการสอน ซ่ึงใช้การถา่ ยทอดเนื้อหา (delivery methods) ผ่านทางอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เนต็ อินทราเน็ต เอก็ ซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทศั น์ หรือ สญั ญาณดาวเทียม และใช้รปู แบบการนำเสนอเนือ้ หา สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซง่ึ อาจอยู่ในรูปแบบการเรียนทเ่ี ราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction) การเรยี นออนไลน์ (On-line Learning) การเรยี นทางไกลผา่ นดาวเทยี ม หรอื อาจอยใู่ นลักษณะทีย่ ังไม่คอ่ ยเปน็ ทแี่ พร่หลายนัก เชน่ การเรยี น จากวิดที ศั น์ตามอธั ยาศัย (Video On-Demand) เปน็ ต้น อยา่ งไรกด็ ี ในปจั จบุ นั เม่ือกล่าวถงึ e-Learning คนสว่ นใหญจ่ ะหมายเฉพาะถึง การเรียนเน้ือหาหรือ สารสนเทศซึง่ ออกแบบมาสำหรับการสอนหรอื การอบรม ซึ่งใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการ ถ่ายทอดเนอ้ื หา และเทคโนโลยีระบบการบรหิ ารจดั การการเรียนรู้ (Learning Management System)ในการ บรหิ ารจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนและงานสอนด้านตา่ งๆ โดยผเู้ รียนที่เรียนจาก e-Learning นี้สามารถศึกษา เน้อื หาในลกั ษณะออนไลน์ นอกจากนี้ เน้ือหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนำเสนอโดยอาศยั เทคโนโลยี มลั ติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยเี ชงิ โตต้ อบ (Interactive Technology)จากความหมายที่ คนส่วนใหญน่ ยิ าม e-Learning น้ัน จำเปน็ ตอ้ งทำความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนว่า e-Learningไม่ใชเ่ พยี งแค่การสอนใน ลกั ษณะเดมิ ๆ และนำเอกสารการสอนมาแปลงให้อยู่ในรูปดจิ ิตัล และนำไปวางไว้บนเว็บ หรอื ระบบบรหิ ารจัดการ การเรียนรู้เท่าน้ัน แต่ครอบคลมุ ถงึ กระบวนการในการเรยี นการสอน หรือการอบรมที่ใช้เครื่องมือทางด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือให้เกดิ ความยดื หย่นุ ทางการเรยี นรู้ (flexible learning) สนับสนนุ การเรยี นรใู้ นลกั ษณะ ทผี่ ู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (learner-centered) และการเรียนในลกั ษณะตลอดชีวติ (life-long learning) ซ่ึงอาศยั การเปลย่ี นแปลงด้านกระบวนทศั น์ (paradigm shift) ของทง้ั กระบวนการในการเรียนการสอนด้วย นอกจากนี้ e-Learning ไมจ่ ำเปน็ ต้องเป็นการเรยี นทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถนำไปใช้ในลักษณะการผสมผสาน (blended) กับการสอนในชั้นเรียนได้

20 ลกั ษณะสำคญั ของ e-Learning (Feature of e-Learning) ลกั ษณะสำคัญของ e-Learning ทีด่ ี ควรจะประกอบไปดว้ ยลกั ษณะสำคญั 4 ประการ ดังนี้ 1. ทุกเวลาทกุ สถานท่ี (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาสใน การเข้าถึงเน้ือหาการเรียนรูข้ องผเู้ รียนไดจ้ รงิ ในทน่ี ห้ี มายรวมถงึ การทผ่ี ู้เรียนสามารถเรียกดูเน้อื หาตามความ สะดวกของผเู้ รยี น เชน่ ผู้เรียนมกี ารเขา้ ถึงเครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่เี ชือ่ มตอ่ กบั เครือข่ายได้อย่างยดื หยนุ่ 2. มลั ติมีเดีย (Multimedia) หมายถงึ e-Learning ควรต้องมีการนำเสนอเนื้อหาโดยใช้ประโยชนจ์ าก สอ่ื ประสมเพอ่ื ชว่ ยในการประมวลผลสารสนเทศของผเู้ รยี นเพื่อใหเ้ กดิ ความคงทนในการจดจำและ/หรอื การเรียนรู้ ไดด้ ีขนึ้ 3. การเชอ่ื มโยง (Non-linear) หมายถงึ e-Learning ควรต้องมีการนำเสนอเน้ือหาในลักษณะท่ีไมเ่ ปน็ เชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถงึ เนื้อหาตามความตอ้ งการ โดย e-Learning จะตอ้ งจดั หาการเชือ่ มโยงที่ ยืดหยุ่นแก่ผูเ้ รยี น นอกจากน้ียังหมายถึงการออกแบบใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนได้ตามจังหวะ(pace) การเรยี นของ ตนเองด้วย เชน่ ผเู้ รยี นทเี่ รยี นช้าสามารถเลอื กเน้อื หาท่ีตอ้ งการเรยี นซ้ำได้บอ่ ยครัง้ ผเู้ รยี นทเ่ี รยี นดสี ามารถเลือกท่ี จะข้ามไปเรียนในเน้ือหาที่ตอ้ งการได้โดยสะดวก 4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถงึ e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นโตต้ อบ(มี ปฏสิ ัมพนั ธ์) กบั เน้ือหา หรือกับผ้อู ื่นได้ กลา่ วคือ 1) e-Learning ควรตอ้ งมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผเู้ รยี นสามารถโตต้ อบกับเนื้อหา (InteractiveActivities) รวมทงั้ มกี ารจัดเตรยี มแบบฝึกหัดและแบบทดสอบใหผ้ เู้ รยี นสามารถตรวจสอบความเข้าใจ ดว้ ยตนเองได้ 2) e-Learning ควรตอ้ งมีการจดั หาเครื่องมือในการให้ช่องทางแก่ผเู้ รยี นในการตดิ ต่อสือ่ สาร (Collaboration Tools) เพอื่ การปรกึ ษา อภปิ ราย ซกั ถาม แสดงความคดิ เห็นกับผสู้ อน วทิ ยากรผ้เู ช่ียวชาญ หรือ เพอ่ื น ๆ รว่ มชัน้ เรียนโดยในส่วนของการโตต้ อบน้ี จะต้องคำนึงถงึ การใหผ้ ลปอ้ นกลับทีท่ ันตอ่ เหตกุ ารณ์ (ImmediateResponse) ซึ่งอาจหมายถึง การท่ผี ู้สอนตอ้ งเข้ามาตอบคำถามหรือใหค้ ำปรกึ ษาแกผ่ ้เู รยี นอยา่ ง สม่ำเสมอและทนั เหตุการณ์ รวมถึง การที่ e-Learning ควรตอ้ งมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวดั ผล และ การประเมนิ ผล ซ่ึงสามารถให้ผลป้อนกลบั โดยทนั ทีแกผ่ ู้เรยี น ไม่วา่ จะอยู่ในลกั ษณะของแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) หรอื แบบทดสอบหลังเรียน (posttest) ก็ตาม 1. เนือ้ หา (Content) เนื้อหาเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญท่ีสุดสำหรบั e-Learning คณุ ภาพของการเรียนการสอนของ e-Learning และการทผ่ี เู้ รียนจะบรรลวุ ัตถุประสงคก์ ารเรยี นในลกั ษณะน้หี รอื ไม่อย่างไร ส่ิงสำคญั ทีส่ ุดก็คือ เน้อื หาการเรยี นซง่ึ

21 ผู้สอนได้จดั หาให้แกผ่ เู้ รียน ซึ่งผู้เรยี นมหี นา้ ท่ีในการใช้เวลาสว่ นใหญ่ศกึ ษาเน้ือหาด้วยตนเอง เพื่อทำการ ปรับเปล่ยี น (convert) เนอ้ื หาสารสนเทศที่ผ้สู อนเตรยี มไว้ให้เกิดเปน็ ความรู้ โดยผ่านการคิดคน้ วเิ คราะห์อยา่ งมี หลักการและเหตุผลด้วยตวั ของผเู้ รยี นเอง คำว่า “เน้อื หา” ในองค์ประกอบแรกของ e-Learning น้ี ไม่ไดจ้ ำกดั เฉพาะสือ่ การสอน และ/หรอื คอรส์ แวร์ เทา่ น้นั แต่ยังหมายถงึ สว่ นประกอบสำคัญอืน่ ๆ ที่ e-Learning จำเปน็ จะตอ้ งมเี พื่อใหเ้ น้ือหามีความสมบูรณ์ เชน่ คำแนะนำการเรียน ประกาศสำคัญต่าง ๆ ผลปอ้ นกลับของผู้สอน เปน็ ตน้ 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องคป์ ระกอบท่ีสำคัญมากเชน่ กันสำหรบั e-Learning ไดแ้ ก่ ระบบบรหิ ารจัดการการเรยี นรู้ ซงึ่ เป็นเสมือน ระบบทรี่ วบรวมเครื่องมือซึ่งออกแบบไว้เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจดั การกับการเรียนการสอนออนไลน์ น่ันเอง ซ่งึ ผใู้ ชใ้ นทนี่ ้ี แบ่งได้เปน็ 4 กลมุ่ ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผเู้ รียน (students) ผูช้ ่วยสอน(course manager) และผูท้ ่ีจะเขา้ มาชว่ ยผูส้ อนในการบรหิ ารจัดการดา้ นเทคนิคตา่ ง ๆ (network administrator)ซง่ึ เครือ่ งมือและระดับของสิทธใิ นการเข้าใช้ทจ่ี ดั หาไวใ้ ห้กจ็ ะมีความแตกตา่ งกันไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแลว้ เคร่ืองมือทร่ี ะบบบริหารจดั การการเรียนรู้ต้องจัดหาไว้ให้กับผใู้ ช้ ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีและเคร่ืองมอื สำหรบั การช่วยผ้เู รียนในการเตรียมเนื้อหาบทเรียน พ้นื ท่ีและเคร่ืองมอื สำหรบั การทำแบบทดสอบ แบบสอบถาม การ จดั การกับแฟ้มขอ้ มูลตา่ ง ๆ นอกจากนรี้ ะบบบรหิ ารจัดการการเรยี นรูท้ ีส่ มบูรณจ์ ะจดั หาเคร่อื งมือในการ ติดต่อสอื่ สารไว้สำหรบั ผู้ใชร้ ะบบไมว่ ่าจะเป็นในลกั ษณะของ ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอรด์ (Web Board) หรอื แชท็ (Chat) บางระบบก็ยังจดั หาองค์ประกอบพิเศษอนื่ ๆ เพ่ืออำนวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้ อกี มากมาย เช่น การจดั ใหผ้ ู้ใช้สามารถเขา้ ดูคะแนนการทดสอบ ดสู ถติ ิการเข้าใชง้ านในระบบ การอนญุ าตใหผ้ ใู้ ช้ สร้างตารางการเรยี น ปฏทิ นิ การเรียน เปน็ ตน้ 3. โหมดการตดิ ตอ่ สื่อสาร (Modes of Communication) องคป์ ระกอบสำคัญของ e-Learning ทขี่ าดไม่ไดอ้ ีกประการหนง่ึ กค็ ือ การจัดใหผ้ ูเ้ รียนสามารถ ตดิ ต่อสอ่ื สารกบั ผสู้ อน วิทยากร ผู้เชีย่ วชาญอน่ื ๆ รวมท้ังผูเ้ รียนดว้ ยกัน ในลกั ษณะท่ีหลากหลาย และสะดวกตอ่ ผู้ใช้ กลา่ วคือ มีเครื่องมือท่จี ัดหาไว้ใหผ้ ูเ้ รียนใชไ้ ด้มากกว่า 1 รปู แบบ รวมท้ังเครื่องมือน้ันจะตอ้ งมีความสะดวกใน การใชง้ าน (user-friendly) ด้วย ซง่ึ เคร่ืองมือที่ e-Learning ควรจัดหาให้ผเู้ รียน ไดแ้ ก่ 3.1 การประชมุ ทางคอมพวิ เตอร์ ในทนี่ ห้ี มายถึง การประชุมทางคอมพวิ เตอรท์ ้ังในลักษณะของการติดตอ่ ส่ือสารแบบต่างเวลา (Asynchronous) เชน่ การแลกเปล่ยี นข้อความผ่านทางกระดานข่าวอิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื ทีร่ ูจ้ กั กันในชอื่ ของเว็บ บอรด์ (Web Board) เป็นต้น หรือในลกั ษณะของการติดต่อส่อื สารแบบเวลาเดยี วกนั (Synchronous) เชน่ การ สนทนาออนไลน์ หรอื ที่คุน้ เคยกันดใี นช่อื ของ แชท็ (Chat) และ ICQ หรอื ในบางระบบ อาจจัดใหม้ ีการถ่ายทอด

22 สญั ญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผา่ นทางเวบ็ เป็นตน้ ในการนำไปใช้ดำเนิน กจิ กรรมการเรียนการสอน ผ้สู อนสามารถเปิดสัมมนาในหัวขอ้ ท่ีเกยี่ วข้องกับเนื้อหาในคอร์ส ซงึ่ อาจอย่ใู นรูปของ การบรรยาย การสัมภาษณผ์ ู้เชย่ี วชาญ การเปดิ อภิปรายออนไลน์ เป็นต้น 3.2 ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-mail) ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ เปน็ องคป์ ระกอบสำคัญเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกบั ผสู้ อนหรอื ผูเ้ รยี น อืน่ ๆ ในลกั ษณะรายบคุ คล การส่งงานและผลป้อนกลับให้ผ้เู รยี น ผู้สอนสามารถให้คำแนะนำปรกึ ษาแก่ผูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล ทงั้ นีเ้ พอ่ื กระต้นุ ให้ผเู้ รียนเกดิ ความกระตือรือรน้ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นอยา่ งต่อเน่อื ง ท้ังน้ี ผู้สอนสามารถใชไ้ ปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์ในการให้ความคดิ เห็นและผลปอ้ นกลบั ทที่ ันต่อเหตุการณ์ 4. แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ องค์ประกอบสดุ ทา้ ยของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสำคัญนอ้ ยท่สี ดุ แต่อยา่ งใด ได้แก่ การจัดให้ผเู้ รยี น ได้มโี อกาสในการโต้ตอบกับเนือ้ หาในรูปแบบของการทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบความรู้ 4.1 การจัดให้มีแบบฝกึ หัดสำหรับผเู้ รียน เนือ้ หาทน่ี ำเสนอจำเปน็ ต้องมีการจดั หาแบบฝกึ หัดสำหรบั ผู้เรียนเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ ไวด้ ้วยเสมอ ท้งั นเี้ พราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซง่ึ เนน้ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองของผู้เรียนเป็น สำคญั ดังนั้นผูเ้ รยี นจงึ จำเป็นอยา่ งยิง่ ทจ่ี ะต้องมีแบบฝึกหัดเพือ่ การตรวจสอบวา่ ตนเข้าใจและรอบรู้ในเรือ่ งทศ่ี ึกษา ด้วยตนเองมาแลว้ เปน็ อย่างดีหรือไม่ อย่างไร การทำแบบฝึกหดั จะทำให้ผเู้ รยี นทราบไดว้ ่าตนนน้ั พรอ้ มสำหรับการ ทดสอบ การประเมินผลแลว้ หรือไม่ 4.2 การจดั ให้มแี บบทดสอบผู้เรียน แบบทดสอบสามารถอยู่ในรปู ของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน หรอื หลังเรียนก็ได้ สำหรบั e-Learning แล้ว ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทำใหผ้ ู้สอนสามารถสนบั สนุนการออกข้อสอบของผู้สอน ได้หลากหลายลักษณะ กล่าวคอื ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผลในลกั ษณะของ อตั นัย ปรนยั ถกู ผดิ การ จบั คู่ ฯลฯ นอกจากนย้ี งั ทำให้ผูส้ อนมีความสะดวกสบายในการสอบเพราะผสู้ อนสามารถที่จะจดั ทำขอ้ สอบใน

23 ลกั ษณะคลงั ข้อสอบไวเ้ พื่อเลือกในการนำกลับมาใช้ หรอื ปรับปรงุ แก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย นอกจากนใี้ นการ คำนวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยใหก้ ารประเมินผลผเู้ รยี นเป็นไปไดอ้ ย่างสะดวก เนอ่ื งจาก ระบบบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้ จะช่วยทำใหก้ ารคิดคะแนนผู้เรยี น การตัดเกรดผ้เู รียนเป็นเร่อื งงา่ ยข้ึนเพราะระบบ จะอนญุ าตใหผ้ สู้ อนเลือกไดว้ ่าตอ้ งการทีจ่ ะประเมนิ ผลผูเ้ รยี นในลักษณะใด เชน่ อิงกล่มุ อิงเกณฑ์ หรือใช้สถิตใิ น การคิดคำนวณในลกั ษณะใด เชน่ การใช้คา่ เฉลยี่ คา่ T-Score เป็นต้น นอกจากนย้ี ังสามารถทจี่ ะแสดงผลในรปู ของกราฟได้อีกด้วย ขอ้ ได้เปรียบ และขอ้ จำกดั ของ e-Learning (advantage of e-Learning) ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอนมี ดงั นี้ 1. e-Learning ชว่ ยใหก้ ารจัดการเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน เพราะการถ่ายทอดเน้ือหา ผ่านทางมลั ตมิ เี ดยี สามารถทำให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ไดด้ ีกวา่ การเรยี นจากส่อื ขอ้ ความเพียงอย่างเดียว หรือจาก การสอนภายในห้องเรยี นของผู้สอนซึ่งเนน้ การบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพยี งอย่างเดียวโดยไม่ใช้ สอ่ื ใด ๆ ซึง่ เม่ือเปรยี บเทยี บกับ e-Learning ท่ไี ดร้ ับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-Learning สามารถ ช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ ในเวลาที่เร็วกวา่ นอกจากนี้ยงั เปน็ การสนบั สนนุ ให้เกดิ การเรยี นรู้ทผ่ี เู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางไดเ้ ป็นอย่างดี เพราะผูส้ อนจะสามารถใช้ e-Learning ในการจดั การเรียน การสอนท่ลี ดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นใหผ้ ้เู รยี นได้ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการจดั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง (autonomous learning) ได้ดยี ง่ิ ขึ้น 2. e-Learning ช่วยทำให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรยี นของผู้เรียนได้ อย่างละเอยี ดและตลอดเวลา เน่ืองจาก e-Learning มีการจดั หาเครอ่ื งมอื ทสี่ ามารถทำให้ผู้สอนตดิ ตามการเรยี น ของผูเ้ รยี นได้ 3. e-Learning ช่วยทำให้ผู้เรยี นสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เน่ืองจากการนำเอาเทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซ่ึงมลี ักษณะการเช่ือมโยงข้อมูลไมว่ า่ จะเปน็ ในรูปของข้อความ ภาพนิ่ง เสยี งกราฟกิ วดิ โี อ ภาพเคลอื่ นไหว ทเ่ี ก่ียวเนื่องกันเข้าไวด้ ว้ ยกันในลกั ษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-Linear) ทำให้ Hypermedia สามารถนำเสนอเน้ือหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังน้นั ผเู้ รยี นจงึ สามารถเข้าถึงขอ้ มูลใดก่อนหรือหลังก็ได้ โดยไม่ตอ้ ง เรยี งตามลำดับ และเกิดความสะดวกในการเข้าถงึ ของผเู้ รียนอกี ด้วย 4. e-Learning ช่วยทำให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ด้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning) เน่ืองจากการนำเสนอเนอ้ื หาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการ เรยี นรขู้ องตนในดา้ นของลำดับการเรยี นได้ (Sequence) ตามพ้นื ฐานความรู้ ความถนดั และความสนใจของตน

24 นอกจากน้ผี ้เู รยี นยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทำใหส้ ามารถชช้ี ดั จดุ อ่อนของตน และเลอื กเน้ือหา ให้เขา้ กับรูปแบบการเรียนของตัวเอง เชน่ การเลอื กเรียนเนื้อหาเฉพาะบางสว่ นทต่ี อ้ งการทบทวนได้ โดยไมต่ อ้ ง เรยี นในส่วนที่เขา้ ใจแล้ว ซงึ่ ถือวา่ ผเู้ รยี นได้รับอิสระในการควบคมุ การเรียนของตนเอง จงึ ทำให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้ตาม จังหวะของตนเอง 5. e-Learning ช่วยทำใหเ้ กิดปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผูเ้ รียนกับครูผูส้ อน และกบั เพ่ือน ๆ ได้ เน่อื งจาก e- Learning มีเครือ่ งมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ทเี่ ออ้ื ตอ่ การโตต้ อบ (Interaction) ท่หี ลากหลาย และไมจ่ ำกดั วา่ จะตอ้ งอยู่ในสถาบันการศกึ ษาเดยี วกัน (Global Choice) นอกจากนนั้ e-Learning ท่ีออกแบบมาเป็นอย่างดจี ะเอื้อใหเ้ กิดปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างผเู้ รยี นกับเน้อื หาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ เชน่ การออกแบบเนอ้ื หาในลักษณะเกม หรอื การจำลอง เปน็ ตน้ ขอ้ จำกดั 1. ผสู้ อนที่นำ e-Learning ไปใชใ้ นลักษณะของส่ือเสรมิ โดยไม่มีการปรับเปล่ียนวธิ กี ารสอนเลย กลา่ วคือ ผสู้ อนยงั คงใชแ้ ต่วิธีการบรรยายในทกุ เน้ือหา และสงั่ ใหผ้ เู้ รยี นไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-Learning ไม่ได้ ออกแบบให้จงู ใจผู้เรียนแลว้ ผู้เรียนคงใช้อยู่พักเดียวก็เลิกไปเพราะไม่มแี รงจงู ใจใด ๆ ในการใช้ e-Learning ก็จะ กลายเป็นการลงทุนท่ไี มค่ มุ้ คา่ แต่อยา่ งใด 2. ผ้สู อนจะต้องเปลีย่ นบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เนอ้ื หาแกผ่ ูเ้ รียน มาเปน็ (facilitator) ผชู้ ่วย เหลอื และให้คำแนะนำต่าง ๆ แก่ผเู้ รียน พรอ้ มไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนร้ดู ้วยตนเองจาก e- Learning ท้งั น้ี หมายรวมถึง การท่ผี สู้ อนควรมีความพรอ้ มทางด้านทักษะคอมพิวเตอรแ์ ละรบั ผิดชอบต่อการสอน มีความใสใ่ จกับผ้เู รยี นโดยไมท่ ิ้งผู้เรยี น 3. การลงทุนในด้านของ e-Learning ต้องครอบคลมุ ถงึ การจดั การให้ผ้สู อนและผ้เู รียนสามารถเขา้ ถงึ เนื้อหาและการติดต่อสอื่ สารออนไลน์ได้สะดวก สำหรบั e-Learning แล้ว ผสู้ อนหรือผูเ้ รยี นทีใ่ ช้รปู แบบการเรียน ในลักษณะนจี้ ะตอ้ งมสี ิง่ อำนวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนที่พรอ้ มเพรียงและมปี ระสิทธภิ าพ เช่น ผสู้ อนและผ้เู รียนสามารถติดต่อส่ือสารกบั ผู้อืน่ ได้ และสามารถเรยี กดูเน้ือหาโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในลักษณะ มลั ติมเี ดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบในการตดิ ต่อส่อื สารและการ เขา้ ถงึ เน้ือหาได้สะดวก รวมท้ังขอ้ ได้เปรยี บสื่ออ่นื ๆ ในลักษณะในการนำเสนอเน้ือหา เช่น มัลตมิ ีเดยี แล้วน้นั ผู้เรียนและผูส้ อนก็อาจไม่เห็นความจำเป็นใด ๆ ทีต่ ้องใช้ e-Learning ระดับของสื่อสำหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) สำหรับ e-Learning แล้ว การถา่ ยทอดเน้อื หาสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลักษณะด้วยกนั กล่าวคอื

25 1. ระดบั เนน้ ขอ้ ความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดบั นีจ้ ะอยใู่ น รูปของข้อความเป็นหลกั e-Learning ในลักษณะนีจ้ ะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซ่งึ เนน้ เน้ือหาท่เี ปน็ ขอ้ ความ ตวั อักษรเปน็ หลัก ซึ่งมขี ้อดี กค็ ือการประหยัดเวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ เน้ือหาและการบริหารจดั การ การเรยี นรู้ 2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชงิ โตต้ อบและประหยดั (Low Cost Interactive Online Course) หมายถงึ เนอ้ื หาของ e-Learning ในระดบั นีจ้ ะอยใู่ นรปู ของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดที ัศน์ ทผ่ี ลิตขึ้นมาอย่าง ง่าย ๆ ประกอบการเรยี นการสอน e-Learning ในระดับหนง่ึ และสองนี้ ควรจะต้องมีการพัฒนา LMS ทด่ี ี เพ่ือชว่ ย ผู้ใชใ้ นการสรา้ งและปรับเน้ือหาใหท้ ันสมัยได้อยา่ งสะดวกด้วยตนเอง 3. ระดบั รายวิชาออนไลน์คุณภาพสงู (High Quality Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e- Learning ในระดบั นจ้ี ะอยู่ในรปู ของมลั ติมีเดียท่ีมีลกั ษณะมอื อาชพี กล่าวคือ การผลติ ต้องใชท้ ีมงานในการผลติ ที่ ประกอบด้วย ผู้เชีย่ วชาญเนอื้ หา (content experts) ผู้เชยี่ วชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) และ ผู้เชีย่ วชาญการผลติ มลั ติมีเดีย (multimedia experts) ระดบั ของการนำ e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอน การนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอน สามารถทำได้ 3 ระดับ ดงั นี้ 1. ใช้ e-Learning เปน็ สื่อเสรมิ (Supplementary) หมายถึงการนำ e-Learning ไปใชใ้ นลักษณะส่ือ เสรมิ กลา่ วคอื นอกจากเนือ้ หาทป่ี รากฏในลักษณะ e-Learning แลว้ ผเู้ รยี นยงั สามารถศึกษาเน้ือหาเดยี วกนั นใ้ี น ลักษณะอ่นื ๆ เช่น จากเอกสาร(ชที ) ประกอบการสอน จากวดิ ที ัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ใน ลักษณะนี้เท่ากับวา่ ผูส้ อนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอกี หนง่ึ ทางเลอื กสำหรับผเู้ รยี นในการเข้าถงึ เน้ือหา เพอื่ ให้ประสบการณ์พิเศษเพ่ิมเตมิ แก่ผเู้ รียนเทา่ นน้ั 2. ใช้ e-Learning เป็นสือ่ เตมิ (Complementary) หมายถงึ การนำ e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะ เพิ่มเติมจากวิธีการสอนในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในหอ้ งเรยี นแลว้ ผสู้ อนยังออกแบบเนื้อหาให้ ผู้เรียนเขา้ ไปศึกษาเนอื้ หาเพิม่ เติมจาก e-Learning โดยเนือ้ หาที่ผูเ้ รียนเรยี นจาก e-Learning ผู้สอนไม่จำเป็นตอ้ ง สอนซ้ำอีก แตส่ ามารถใชเ้ วลาในชนั้ เรียนในการอธบิ ายในเน้ือหาทเี่ ข้าใจไดย้ าก ค่อนข้างซับซ้อน หรือเป็นคำถามท่ี

26 มคี วามเขา้ ใจผิดบอ่ ย ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใชเ้ วลาในการทำกจิ กรรมที่เนน้ ให้ผูเ้ รยี นไดเ้ กิดการคิดวเิ คราะห์แทน ได้ ในความคดิ ของผู้เขียนแลว้ ในมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ของเรา เมือ่ ได้มีการลงทนุ ในการนำ e-Learning ไปใชก้ ับ การเรียนการสอนแลว้ อย่างน้อยควรตัง้ วตั ถปุ ระสงคใ์ นลักษณะของส่ือเตมิ (Complementary) มากกว่าแค่เพียง เป็นสอื่ เสรมิ (Supplementary) เพ่ือให้เกิดความคุ้มทนุ นอกจากนี้อาจยงั ไม่เหมาะสมที่จะใชใ้ นลกั ษณะแทนที่ ผู้สอน (Replacement) ตัวอยา่ งการใชใ้ นลกั ษณะสือ่ เติม เชน่ ผูส้ อนมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาด้วยตนเอง จาก e-Learning ในวตั ถปุ ระสงคใ์ ดวัตถุประสงคห์ น่งึ กอ่ นหรือหลงั การเข้าช้นั เรยี น รวมทง้ั ใหก้ ำหนดกิจกรรมท่ี ทดสอบความเข้าใจของผเู้ รียนในเนอื้ หาดงั กล่าวใน session การเรยี นตามปรกติ เปน็ ตน้ ทง้ั น้เี พื่อให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะของผ้เู รยี นของเรา ซงึ่ ยังต้องการคำแนะนำจากครูผู้สอน รวมทงั้ การท่ผี ู้เรยี นส่วนใหญย่ งั ขาดการปลกู ฝังให้ มีความใฝ่รโู้ ดยธรรมชาติ 3. ใช้ e-Learning เป็นสอื่ หลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนำ e-Learning ไป ใช้ในลกั ษณะแทนท่ีการบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศกึ ษาเนื้อหาท้ังหมดออนไลน์ และโตต้ อบกับเพ่ือนและ ผู้เรยี นอืน่ ๆ ในชนั้ เรียนผ่านทางเคร่อื งมอื ติดตอ่ สื่อสารต่าง ๆ ท่ี e- Learning จัดเตรียมไว้ ในปัจจุบนั แนวคิด เกี่ยวกับการนำ e-Learning ไปใช้ในตา่ งประเทศจะอยู่ในลักษณะlearning through technology ซง่ึ หมายถึง การเรยี นรูโ้ ดยมุ่งเนน้ การเรยี นในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวขอ้ งไมว่ า่ จะเปน็ ผสู้ อน ผ้เู รยี น และผู้เชี่ยวชาญอนื่ ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยใี นการนำเสนอเน้ือหา และกจิ กรรมต่าง ๆ ซึ่งต้องการการ โตต้ อบผ่านเคร่ืองมือสื่อสารตลอด โดยไมเ่ นน้ ทางด้านของการเรยี นรรู้ ายบุคคลผา่ นสื่อ (courseware) มากนกั ในขณะท่ใี นประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะส่ือหลักเช่นเดยี วกบั ต่างประเทศน้ัน จะอยู่ในวงจำกัด แต่ การใช้ส่วนใหญ่จะยงั คงเป็นในลกั ษณะของ learning with technology ซงึ่ หมายถงึ การใช้ e-Learning เป็น เสมือนเคร่ืองมือทางเลือกเพ่ือให้ผเู้ รยี นเกิดความกระตือรือร้น สนุกสนาน พรอ้ มไปกับการเรยี นรูใ้ นชัน้ เรยี น m-Learning m-Learningหรือ Mobile-Learning หลกั การกค็ ือทำให้ผเู้ รียนสามารถทจ่ี ะนำเอาบทเรยี นมาวางไว้ บนมือถือและเรยี กดูได้ตลอดเวลาทกุ ท่ี พร้อมทั้ง สามารถท่ีจะรับส่งข้อมูลไดเ้ มื่อจำเปน็ และมสี ัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนน้ั จะต้องสามารถทำงานได้ท้งั สองทาง เปลย่ี นแปลงบทเรยี นสง่ การบา้ น หรือ วิเคราะหค์ ะแนนจาก แบบฝึกหัดไดเ้ ช่นกนั การเรยี นแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการสอนท่ี อาศยั สื่อหลายๆชนิดผสมผสานกนั ต้ังแต่ด้านเทคโนโลยี กจิ กรรมการเรียนการ สอน และเหตกุ ารณ์ท่เี หมาะสม เพอ่ื สรา้ งรูปแบบการเรียนการสอนทเี่ หมาะสมสำหรับ กลุ่มเป้าหมาย Global learning บทเรยี นในรูปแบบของ การผสมผสานระหวา่ งวิดีโอ เสียง ภาพเคลือ่ นไหว ทำให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทำความเขา้ ใจ เปน็ สือ่ การเรียนรู้ ที่สอดคล้องกบั ความต้องการและวิถชี วี ติ ระบบ Online Learning เปน็ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นเทคโนโลยี Internet ซึง่ จะนำเสนอ บทเรยี น ในรปู แบบของการผสมผสานระหวา่ งวดิ ีโอ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว และตัวอกั ษร

27 ทำให้ บทเรียน มีความน่าสนใจ และงา่ ย ตอ่ การทำความเข้าใจ เนอื่ งจากผ้เู รยี น Online Learning สามารถเรียนรู้ ทกุ เรอื่ งราวได้ทุกท่ีทกุ เวลา จึงทำให้ Online Learning เป็นสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ สมบูรณแ์ บบท่ีสอดคล้องกบั ความต้องการและวถิ ชี วี ิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปลีย่ นไปเปน็ ผใู้ หค้ ำแนะนำ (Guide) เป็นผ้ฝู ึก (Coach) เป็นผูอ้ ำนวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพ่เี ล้ียง (Mentor) ต่อกระบวนการ เรียนรู้ของผเู้ รียน ในขณะทบี่ ทบาทของผเู้ รยี นจะเปลี่ยนแปลง ความหมายของ M – Learning การใหค้ ำจำกดั ความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 สว่ น จากราก ศพั ท์ท่นี ำมา ประกอบกนั คือ 1. Mobile (Devices) หมายถือ อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ หรอื โทรศพั ทม์ ือถือ และเครอื่ งเล่น หรือแสดง ภาพทพ่ี กพาติดตวั ไปได้ 2. Learning หมายถึงการเรยี นรู้ เป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากบุคคลปะทะ กับ สิ่งแวดลอ้ มจึงเกิดประสบการณ์ การเรียนรเู้ กดิ ขน้ึ ได้เมอื่ มกี ารแสวงหาความรู้ การพัฒนาความรู้ ความสามารถของ บุคคลใหม้ ีประสิทธภิ าพดีข้นึ รวมไปถงึ กระบวนการสร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดประสบการณท์ เี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อบคุ คล เมื่อพจิ ารณาจากความหมายของคำทงั้ สองแล้วจะพบวา่ Learning นน่ั คือแก่นของM - learning เพราะ เป็นการใช้เทคโนโลยเี ครอื ข่ายไรส้ ายเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ซึง่ ก็คล้ายกับ E – Learning ที่เปน็ การใชเ้ ครือข่าย อนิ เทอร์เนต็ เพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้ นอกจากนม้ี ีผู้ใชค้ ำนิยามของ M - Learning ดงั ต่อไปน้ี ริว (Ryu, 2007) หัวหนา้ ศูนย์โมบายคอมพิวตง้ิ (Centre for Mobile Computing) ที่ มหาวทิ ยาลยั แมส ซ่ี เมอื งโอ๊คแลนด์ ประเทศนวิ ซีแลนด์ ระบวุ ่า M- learning คือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่เี กิดข้นึ เมอ่ื ผ้เู รียนอยรู่ ะหวา่ ง การเดินทาง ณ ท่ีใดกต็ าม และเมื่อใดก็ตาม เก็ดส์ (Geddes, 2006) ก็ใหค้ วามหมายว่า M- learning คือการได้มาซ่ึงความรู้และทกั ษะผา่ นทาง เทคโนโลยีของเครอื่ งประเภทพกพา ณ ท่ีใดกต็ าม และเมื่อใดกต็ าม ซึ่งสง่ ผลเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม วัตสนั และไวท์(Watson & White, 2006) ผ้เู ขยี นรายงานเรอ่ื ง M- learning ในการศึกษา (mLearning in Education) เน้นวา่ M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เปน็ การเรยี นจาก เครื่องสว่ นตัว (Personal) และเปน็ การเรียนจากเคร่ืองท่ีพกพาได้ (Portable) การที่เรียนแบบสว่ นตัว นั้นผเู้ รยี นสามารถเลอื ก เรยี นในหัวขอ้ ที่ต้องการ และการที่เรยี นจากเครอ่ื งท่ีพกพาได้น้ันก่อให้เกิด โอกาสของการเรยี นรู้ได้ ซ่งึ เคร่ืองแบบ Personal Digital Assistant (PDA) และโทรศพั ทม์ ือถือนน้ั เปน็ เครอ่ื งที่ใชส้ ำหรับ M- learning มากทส่ี ุด

28 ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนซง่ึ สามารถจัดเปน็ ประเภทของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาได้ 3 กลุ่มใหญ่ หรือจะเรยี กว่า 3Ps 1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพวิ เตอร์แบบพกพาขนาดเล็กหรือขนาด ประมาณฝา่ มอื ท่รี ู้จกั กันทว่ั ไปไดแ้ ก่ Pocket PC กับ Palm เครอ่ื งมอื สอื่ สารในกลุม่ นย้ี ังรวมถงึ PDA Phone ซง่ึ เปน็ เคร่ือง PDA ที่มีโทรศัพท์ในตัว สามารถใช้งานการควบคมุ ด้วย Stylus เหมือนกบั PDA ทุกประการ นอกจากนีย้ งั หมาย รวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ อ่นื ๆ เช่น lap top, Note book และ Tablet PC อกี ด้วย 2. Smart Phones คือโทรศัพท์มือถือ ท่ีบรรจเุ อาหนา้ ท่ีของ PDA เข้าไปด้วยเพียงแตไ่ ม่มี Stylus แต่ สามารถลงโปรแกรมเพม่ิ เติมเหมือนกบั PDA และ PDA phone ได้ ขอ้ ดีของอปุ กรณ์กลมุ่ นี้คือมีขนาดเล็กพกพา สะดวกประหยัดไฟ และราคาไม่แพงมากนัก คำวา่ โทรศัพท์มอื ถือ ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว่า hand phone ซง่ึ ใช้คำ นแ้ี พร่หลายใน Asia Pacific ส่วนในอเมรกิ า นิยมเรยี กว่า Cell Phone ซ่งึ ย่อมาจาก Cellular telephone สว่ น ประเทศอืน่ ๆ นิยมเรยี กว่า Mobile Phone 3. IPod, เคร่อื งเล่น MP3 จากค่ายอน่ื ๆ และเครือ่ งท่ีมีลักษณะการทำงานท่ีคลา้ ยกนั คือ เครื่องเสียง แบบพกพก iPod คือช่อื รุ่นของสินคา้ หมวดหนง่ึ ของบริษัท Apple Computer, Inc ผูผ้ ลติ เครื่องคอมพิวเตอร์ แมคอนิ ทอช iPod และเครื่องเล่น MP3 นบั เปน็ เครอ่ื งเสยี งแบบพกพาทสี่ ามารถ รับข้อมูลจากคอมพวิ เตอร์ด้วย การต่อสาย USB หรือ รับด้วยสัญญาณ Blue tooth สำหรับรุ่นใหมๆ่ มฮี าร์ดดสิ ก์จุได้ถึง 60 GB. และมชี ่อง Video out และมเี กมส์ใหเ้ ลือกเลน่ ได้อีกด้วย

29 เครอื่ งเลน่ MP3 สำหรบั พัฒนาการของ m-Learning เปน็ พฒั นาการนวตั กรรมการเรยี นการสอนมาจากนวัตกรรมการ เรยี นการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และการจดั การเรยี นการ สอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) ดงั ภาพประกอบต่อไปน้ี M - Learning น้นั เกดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยไร้ข้อจำกดั ดา้ นเวลา และสถานท่ี เพียงแค่ผู้เรียนมีความ พร้อมและเครอ่ื งมือ อกี ทัง้ เครือขา่ ยมเี น้ือหาที่ต้องการ จึงจะเกดิ การเรยี นรขู้ ้นึ และจะได้ผลการ เรยี นรู้ที่ปรารถนา หากขาดเนื้อหาในการ เรียนรู้ วิธกี ารนน้ั จะกลายเปน็ เพียงการส่ือสาร กบั เครือข่าย ไร้สายนนั่ เอง กระบวนการเรยี นรแู้ บบ M – Learning กระบวนการเรียนรู้แบบ M – Learning มดี ้วยกนั ท้งั หมด 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขน้ั ท่ี 1 ผู้เรียนมคี วามพร้อม และเคร่ืองมือ ขน้ั ท่ี 2 เช่อื มต่อเขา้ สู่เครือขา่ ย และพบเนื้อหาการเรยี นท่ตี ้องการ ข้นั ท่ี 3 หากพบเนื้อหาจะไปยังขั้นท่ี 4 แต่ถา้ ไมพ่ บจะกลบั เขา้ สู่ขน้ั ท่ี 2 ขัน้ ท่ี 4 ดำเนนิ การเรียนรู้ ซ่ึงไมจ่ ำเปน็ ที่จะต้องอยใู่ นเครือข่าย ขน้ั ท่ี 5 ไดผ้ ลการเรยี นรูต้ ามวัตถปุ ระสงค์ ประโยชน์และข้อจำกดั ของ M – Learning

30 เก็ดส์ (Geddes, 2006) ไดท้ ำการศึกษาประโยชน์ของ M - Learning และสรุปวา่ ประโยชน์ท่ี ชดั เจน อย่างยิ่งน้ันสามารถจดั ไดเ้ ปน็ 4 หมวด คอื 1. การเข้าถงึ ขอ้ มลู (Access) ไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา 2. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มเพ่ือการเรยี นรู้ (Context) เพราะ M - Learning ชว่ ยให้การเรียนรจู้ าก สถานที่ใด กต็ ามที่มคี วามต้องการเรียนรู้ ยกตวั อยา่ งเชน่ การส่ือสารกับแหล่งขอ้ มูล และผู้สอนใน การเรยี นจากส่งิ ตา่ งๆ เชน่ ในพพิ ิธภัณฑ์ท่ีผเู้ รียนแตล่ ะคนมเี ครื่องมอื สื่อสารตดิ ต่อกับวทิ ยากรหรือ ผู้สอนได้ตลอดเวลา 3. การรว่ มมอื (Collaboration) ระหว่างผ้เู รียนกับผู้สอน และเพ่ือนรว่ มชนั้ เรียนได้ทุกท่ี ทุก เวลา 4. ทำให้ผู้เรยี นสนใจมากข้นึ (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น เช่น นักศึกษาที่ไม่คอ่ ย สนใจเรยี นใน หอ้ งเรียน แต่อยากจะเรียนดว้ ยตนเองมากขึน้ ดว้ ย M - Learning ข้อดขี อง M - Learning 1. มีความเป็นสว่ นตวั และอิสระที่จะเลือกเรียนรู้ และรบั รู้ 2. ไม่มขี ้อจำกัดดา้ นเวลา สถานท่ี เพ่มิ ความเป็นไปไดใ้ นการเรียนรู้ 3. มแี รงจูงใจตอ่ การเรยี นรู้มากข้ึน 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ได้จริง 5. ดว้ ยเทคโนโลยขี อง M - Learning ทำให้เปลี่ยนสภาพการเรยี นจากที่ยึดผ้สู อนเปน็ ศูนยก์ ลาง ไปสกู่ าร มีปฏสิ ัมพนั ธโ์ ดยตรงกบั ผู้เรยี น จงึ เปน็ การสง่ เสริมให้มีการสื่อสารกับเพ่ือนและ ผู้สอนมากข้นึ 6. สามารถรบั ข้อมลู ทีไ่ ม่มีการระบุชื่อได้ ซง่ึ ทำให้ผเู้ รียนที่ไม่มน่ั ใจกลา้ แสดงออกมากข้นึ 10. เคร่ืองประเภทพกพาต่างๆ สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมคี วามกระตอื รือร้นทางการเรยี นและมี ความรบั ผดิ ชอบ ต่อการเรียนดว้ ยตนเอง ข้อด้อยของ M - Learning 1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหนา้ จอทจี่ ำกัดอาจจะเป็นอุปสรรคสำหรบั การอ่าน ข้อมูล แปน้ กดตัวอกั ษรไมส่ ะดวกรวดเร็วเท่ากับคยี บ์ อรด์ คอมพวิ เตอร์แบบต้งั โต๊ะ อีกทัง้ เครือ่ งยัง ขาดมาตรฐาน ท่ีต้อง คำนึงถึงเมื่อออกแบบส่ือ เช่น ขนาดหนา้ จอ แบบของหนา้ จอ ที่บางรุ่นเป็น แนวตง้ั บางร่นุ เปน็ แนวนอน 2. การเช่อื มต่อกับเครอื ขา่ ย ยังมรี าคาที่ค่อนขา้ งแพง และคณุ ภาพอาจจะยังไมน่ ่าพอใจนกั 3. ซอฟต์แวร์ท่ีมอี ยู่ในท้องตลาดทั่วไป ไมส่ ามารถใช้ได้กบั เครื่องโทรศัพท์แบบพกพาได้ 4. ราคาเครื่องใหมร่ นุ่ ท่ดี ี ยงั แพงอยู่ อีกท้งั อาจจะถูกขโมยไดง้ า่ ย 5. ความแข็งแรงของเคร่ืองยงั เทียบไม่ไดก้ ับคอมพวิ เตอร์ตงั้ โตะ๊ 6. อัพเกรดยาก และเครื่องบางรุ่นกม็ ศี ักยภาพจำกัด

31 7. การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยอี ย่างต่อเน่ือง ส่งผลใหข้ าดมาตรฐานของการผลิตส่อื เพื่อ M – Learning บทบาทของ M-Learning M-Learning น้นั มแี นวโนม้ ที่จะเป็นชอ่ งทางใหม่ที่จะกระจายความรู้ สู่ชมุ ชนได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ และจะเป็น ทางเลอื กใหม่ ที่ส่งเสรมิ ใหก้ ารเรียนรตู้ ลอดชวี ิตบรรลวุ ัตถปุ ระสงคไ์ ดด้ ี อีกดว้ ย เหตุผลหน่ึงท่สี นับสนนุ ประเดน็ น้ีก็ คอื มผี ้ใู ชโ้ ทรศัพท์มือถือทวั่ โลกกว่า 3.3 พันล้านคน ใน ปี ค.ศ. 2007 เพ่ิมขนึ้ อย่างรวดเร็วเม่อื เทยี บกับจำนวนผ้ใู ช้ ในปี 2006 ซ่ึงมอี ยูป่ ระมาณ 2 พันลา้ นคน จำนวนผ้ลู งทะเบียนใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่าผูใ้ ช้อนิ เทอรเ์ น็ตทว่ั โลก เกอื บ 3 เท่า เพราะในปี ค.ศ. 2008 นน้ั จำนวนของผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็ อยู่ที่ 1.3 พันล้านคน ซง่ึ เพมิ่ ขนึ้ เพียงเลก็ นอ้ ย จากปี ค.ศ. 2007 ท่ีมอี ยปู่ ระมาณ 1.1 พันล้านคนเทา่ นน้ั จากการเปน็ เจา้ ของเครื่องโทรศพั ท์มอื ถอื ท่ีมากกวา่ ผ้ใู ช้ อินเทอร์เนต็ เปน็ หลายเท่านเ้ี องทีท่ ำให้ M-Learning เป็นสิง่ ท่ีน่าสนใจของนักการศึกษา เพราะอยา่ ง น้อย M- Learning กเ็ ปน็ ไปได้เพราะคนเรานนั้ มเี คร่อื งมือ หรอื เคร่ืองคอมพวิ เตอรอ์ ย่แู ลว้ เทคโนโลยขี องการรบั ส่งข้อมลู ผ่านระบบไรส้ ายกม็ กี ารพัฒนามากข้ึนอย่แู ล้ว ดงั น้ันการเรียนรูแ้ บบ M-Learning จงึ มโี อกาสเปน็ ไปได้สงู และเป็น การขยายโอกาสทางการศึกษาอีกแขนงหน่ึง M-Learning กำลังกา้ วเขา้ มาเป็นการเรียนรู้คู่กับสังคมอยา่ งแท้จรงิ เนือ่ งจากความเปน็ อิสระ ของเครอื ข่ายไรส้ าย ทสี่ ามารถเข้าถงึ ไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา อีกทัง้ จำนวนเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพาท่ี ใช้เป็นเครื่องมือนน้ั มีจำนวนเพ่ิมขน้ึ เร่อื ยๆ จงึ เป็นการเรยี นรู้อกี ทางเลือกหนง่ึ ของการนำเทคโนโลยี มาใชเ้ ป็นชอ่ งทางในการให้ผู้คนไดเ้ ขา้ ถงึ ความรู้ ทกุ ทท่ี ุกเวลาอยา่ งแทจ้ รงิ เพราะหากเทียบกบั การ ใชเ้ คร่ืองพีซี กย็ งั ไม่ถอื ว่าเปน็ ทุกที่ทกุ เวลาอยา่ งแท้จริง เพราะ ยังตอ้ งใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรท์ ่ีบา้ น หรอื ทีท่ ำงานเชื่อมต่ออินเทอรเ์ น็ต เพ่ือเข้าสู่ระบบเครอื ข่าย แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยกี ็ไดย้ ่อโลก ของเครือขา่ ยให้อยู่ในมอื ของผบู้ รโิ ภคแลว้ และสามารถเข้าส่แู หล่งการเรียนรไู้ ด้เมอ่ื ต้องการ อย่าง แทจ้ รงิ ทกุ เวลาและสถานที่ และหากเทยี บราคาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์PC และ อปุ กรณส์ ำหรบั เชอ่ื มต่อ ไรส้ าย ทก่ี ลา่ วไปข้างต้น ราคาก็ไมไ่ ด้แตกต่างกันมากนัก นับว่าเปน็ เทคโนโลยที ่พี ัฒนาข้ึนมาได้ดี ทเี ดยี ว และในอนาคต ขา้ งหน้า คาดวา่ การเรยี นร้แู บบ M-Learning จะแพรห่ ลายมากขน้ึ ย่ิงกวา่ ใน ปจั จุบนั ผลกระทบต่อการศกึ ษา และการเรียนการสอน ปัจจบุ ันไดม้ กี ารพัฒนาประสิทธภิ าพของโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี เพื่อรองรับการบริการทางด้าน ต่าง ๆ เพ่ิมมาก ขนึ้ รวมถงึ ทางดา้ นการศึกษาของไทย เน่ืองจากโทรศัพทม์ ือถือในปัจจบุ ันมีขนาด เลก็ น้ำหนกั เบา สะดวกต่อการ พกพาติดตวั ไปไหนมาไหนตลอดเวลา จนกระทั่งเกดิ การพัฒนา โปรแกรมการเรียนการสอนผา่ นโทรศัพท์มือถือ M- Learning (Mobile Learning) ซึ่งเปน็ การเรียน การสอนหรือบทเรยี นสำเรจ็ รูป (Instructional package) ท่ี นำเสนอผ่านโทรศพั ท์มือถือหรอื คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา โดยอาศยั เทคโนโลยเี ครือข่ายไร้สาย (Wireless Communication Network) ท่สี ามารถต่อเชอ่ื มจากเครือข่ายแมข่ ่าย (Network Server) ผ่ายจุดต่อแบบไรส้ าย

32 (Wireless access point) แบบเวลาจริง (real time) อกี ทงั้ ยงั สามารถปฏิสัมพนั ธก์ ับโทรศัพทม์ ือถือหรอื คอมพวิ เตอร์ แบบพกพาเคร่ืองอ่ืน โดยใช้เทคโนโลยีดจิ ติ อล เชน่ Bluetooth เพอื่ สนับสนุนการทำงานรว่ มกัน ดงั นั้น เมอื่ มีอุปกรณ์ท่สี ะดวกตอ่ การเรียนการสอนเช่นนีแ้ ล้ว จะช่วยส่งผลให้การศึกษา เป็นไปได้โดยง่าย เพราะ ผเู้ รยี นสามารถทีจ่ ะเขา้ ถึงความร้อู ย่างง่ายดายมากขึน้ ในปัจจุบันน้ันเป็นยคุ ที่วยั รุน่ วยั เรียน ให้ความสนใจกับ เทคโนโลยมี าก โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ น้อยคนมากท่ีจะไม่มี มือถือไวใ้ ช้ ดงั น้ัน M-learning จึงเหมาะท่ีจะ นำมาใช้กับการศึกษาในสมยั ปัจจบุ นั มากท่ีสดุ เพอื่ เป็น การเสรมิ ความรูใ้ หก้ บั ผู้เรยี นอยา่ งทั่วถงึ สรปุ บทบาทของ M-Learning กบั การศกึ ษา โดยสรปุ แล้ว M-Learning เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาโดยชว่ ยเข้ามาส่งเสรมิ ใหก้ ารศกึ ษา เป็นไปได้ง่าย ข้ึนและทว่ั ถึง ทำให้ผศู้ ึกษาสามารถเขา้ ถึงข้อมลู ได้รวดเร็ว ทกุ ที่ ทุกเวลา M-Learning เปน็ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะ สำหรับการนำมาพฒั นาควบคู่ไปกบั การศึกษาเพอื่ ช่วยแก้ไขปัญหาด้าน การศึกษาตา่ งๆทเ่ี กิดขน้ึ ในปัจจบุ นั และ บทบาทของ M-learning ต่อการศกึ ษาในอนาคตจะยิง่ มมี าก ข้ึน เพราะได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา และด้วยการ พัฒนานน้ั จะทำให้สามารถลดข้อด้อยและเพ่ิม ขอ้ ดีของ M-learning ไดม้ ากขนึ้ และจะย่งิ เปน็ ประโยชนต์ ่อ การศกึ ษามากยิ่งขึน้ ไป การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีการศกึ ษา ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ดังท่กี ลา่ วมาแลว้ ข้างต้นนน้ั นอกจากเป็นปจั จยั ที่มผี ลในทางบวก อันเป็นปัจจัยในการสรา้ งความ เจริญเติบโตให้สงั คมแลว้ อีกด้านหน่งึ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยที ่เี กิดขึน้ ยงั มีผลกระทบต่อสงั คมในทางลบที่ เปน็ ลูกโซต่ ามมาดว้ ย ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปนคี้ ือ ผลกระทบต่อชุมชน การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยดี า้ นต่างๆ ท่เี กิดข้ึน สง่ ผลให้มนษุ ย์มีสว่ นรว่ มใน สังคมลดน้อยลง ความรู้สึกว่าเปน็ สว่ นหนง่ึ ของชุมชน มีความสมั พนั ธ์กบั เพื่อนบ้านหายไป เพราะมนุษย์ทุกคน สามารถพ่ึงตนเองได้ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีทำให้เกดิ เทคโนโลยที ใ่ี ช้แรงงานคนน้อยลง ผ้ทู ่ีมี ทุนมากอาจนำเทคโนโลยีใหมม่ าใชง้ านทั้งหมดเป็นธรุ กจิ ขนาดใหญม่ ากขึ้น ทำใหธ้ ุรกจิ ขนาดเล็กหดลงแต่ในทาง ตรงกันขา้ มการที่แตล่ ะคนสามารถเปน็ เจ้าของเทคโนโลยที มี่ ขี นาดเลก็ อาจจะทำใหเ้ ขากลายเป็นนายทนุ อสิ ระ หรือ รวมตวั เปน็ สหกรณเ์ จ้าของเทคโนโลยรี ่วมกนั และอาจทำให้เกิดองค์กรทางธุรกิจใหม่ ๆ ได้ ผลกระทบด้านจติ วิทยา ความเจริญทางเทคโนโลยที ี่เพิ่มขึ้นในเครอื่ งมือส่ือสารทำให้มนุษยม์ กี าร ติดตอ่ ส่ือสารผา่ นทางจออเิ ลก็ ทรอนิกส์เท่าน้ัน จึงทำให้ความสัมพนั ธข์ องมนุษย์ตอ้ งแบ่งแยกเป็น ความสมั พันธ์อัน

33 แท้จรงิ โดยการส่อื สารกันตวั ต่อตวั ท่บี ้านกบั ความสัมพันธ์ผ่านจออิเลก็ ทรอนิกส์ซึง่ มผี ลให้ความร้สู กึ นึกคิดในความ เปน็ มนุษย์เปลี่ยนไป ผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยบี างตัวมผี ล กระทบต่อสภาพแวดล้อม ด้วย นอกจากนี้การสรา้ งเทคโนโลยีการผลติ มากขึ้น มผี ลทำใหม้ ีการขุดค้นพลังงานธรรมชาติมาใชไ้ ด้มากข้นึ และ เรว็ ขนึ้ เปน็ การทำลายทรัพยากรธรรมชาตใิ นทางอ้อมและการสรา้ งโรงงานอุตสาหกรรมเพม่ิ ข้ึน โดยปราศจากทิศ ทางการดูแลทเ่ี หมาะสมจะทำใหส้ ิ่งแวดล้อม อาทิ แม่น้ำ พ้ืนดิน อากาศ เกดิ มลภาวะมากยง่ิ ขนึ้ ผลกระทบทางด้านการศึกษา นวตั กรรมทางการศกึ ษามีลักษณะตามธรรมชาติทเี่ ปน็ สิง่ ใหม่ ดงั นั้นใน ความใหมจ่ งึ อาจทำใหท้ ัง้ ครู และผทู้ เี่ ก่ียวข้อง เช่นนักเทคโนโลยที างการศึกษา ผูบ้ รหิ ารการศึกษา อาจตง้ั ข้อสงสยั และไม่แน่ใจวา่ จะมีความพร้อมทีจ่ ะนำมาใช้เม่อื ใด และเม่ือใชแ้ ลว้ จะทำให้เกดิ ผลสำเร็จมากน้อยอยา่ งไร แต่ นวตั กรรมกย็ งั มีเสนห่ ์ในการดึงดูดความสนใจ เกิดการตื่นตัว อยากรอู้ ยากเห็นตามธรรมชาติของมนุษย์ หรือ อาจ เกิดผลในเชงิ ตรงขา้ ม คอื กลวั และไมก่ ลา้ เข้ามาสมั ผัสสิ่งใหม่ เพราะเกิดความไม่แนใ่ จวา่ จะทำใหเ้ กิดความเสียหาย หรือใช้เปน็ หรือไม่ ครใู นฐานะผู้ใช้นวัตกรรมโดยตรงจงึ ต้องมคี วามต่ืนตัวและหมัน่ ติดตามความก้าวหนา้ ทางดา้ น เทคโนโลยตี า่ งๆ ใหท้ ันตามความกา้ วหน้า และเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยที ส่ี อดคล้องกบั สถานภาพและ สิ่งแวดลอ้ มของตนเอง การหม่นั ศกึ ษา และติดตามความร้วู ิทยาการใหม่ ๆ ใหท้ ันจะชว่ ยทำใหก้ ารตดั สนิ ใจนำ นวตั กรรมมาใชเ้ พื่อการศึกษา สามารถทำไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งมีประสิทธิภาพและลดการเสีย่ งและความสัน้ เปลือง งบประมาณและเวลาไดม้ ากที่สุด สุดทา้ ย จะตอ้ งมีกระบวนการในการตรวจสอบการใชน้ วัตกรรมนั้น ๆ วา่ มคี วามเหมาะสม มีข้อบกพรอ่ งและ แนวทางปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร ท้ังโดยการสงั เกต การใชแ้ บบทดสอบเพอื่ ตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ผู้เรียนอยู่เสมอ กจ็ ะทำใหเ้ ราเชือ่ แนไ่ ด้ว่าการใชน้ วตั กรรมนั้นมีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อสถานศกึ ษา สถานศึกษาในยคุ ปัจจุบันมี การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มเป็นอย่างมาก อิทธพิ ลของความ เจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำใหส้ ภาพแวดลอ้ มทางการเรียนและสถานการณข์ องการเรียนการ สอนแตกต่างไปจากเดมิ การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กิดข้นึ มีผลกระทบต่อการบรหิ ารและการจัดการสภาพแวดล้อม ทางการเรยี นซึ่งจำเป็นต้องเปลย่ี นแปลงตามไปด้วย สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นในสถานศึกษาปจั จบุ นั ถกู กำหนด ดว้ ยเทคโนโลยที ไี่ ด้มี การพจิ ารณานำเขา้ มาใช้ การนำเทคโนโลยีเขา้ มาใชท้ ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงที่มีผลต่อ สถานศึกษาอย่าง นอ้ ย 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. เทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงวิถีชีวติ (Technology alters orientation.) สถานศึกษา สภาพของผูเ้ รยี น และผสู้ อนไดร้ ับอทิ ธิพลจากเทคโนโลยมี ีลกั ษณะของการใชช้ ีวติ ในฐานะ ผเู้ รยี น และผสู้ อนเปลยี่ นไป วิถชี วี ิตของทั้งผ้เู รยี นและผูส้ อนผกู พันและขนึ้ อยกู่ บั เทคโนโลยมี ากข้นึ เช่น วันน้ไี ฟดบั

34 งดจ่ายกระแสไฟฟา้ นักเรียนไม่สามารถทนนั่งในห้องเรียนที่ร้อนอบอ้าวได้ เช่นเดยี วกับครูทไี่ มส่ ามารถทำการสอน ได้ เพราะเคร่ืองฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ไม่ทำงาน สื่อต่างๆ ที่ผูส้ อนเตรียมมาไม่สามารถนำมาใช้ได้ และมีการ เรียนการสอนภาคนอกเวลาซึ่งมกั จะสอนในเวลากลางคืนคงไม่มีการจดุ เทยี น หรือจดุ ตะเกียงเพ่ือการเรยี นการสอน สง่ิ เหลา่ น้ีแสดงให้เหน็ ถึงวถิ ชี ีวิตของการเป็นผูเ้ รยี นและการเป็นผสู้ อนใน สถานศึกษาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และ ผูกพันกับเทคโนโลยมี ากขน้ึ จนบางท่านอาจคดิ ว่าเทคโนโลยีมีอทิ ธิพลในการ กำหนดวิถีชีวิตไม่เพยี งการ เปล่ียนแปลงวิถีชวี ิตเท่านน้ั 2. เทคโนโลยเี ปล่ยี นแปลงวธิ กี าร (Technology alters techniques.) วิธีการเรียนการสอนในสถานศกึ ษาปจั จุบนั มหี ลายรปู แบบหลายลกั ษณะ และในจำนวนรปู แบบตา่ งๆ ของ การเรยี นเหล่านนั้ จำเปน็ ตอ้ งพง่ึ พาเทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนทางไกลแบบสองทาง การเรยี นดว้ ยสื่อ โทรทศั น์ผ่านดาวเทียม หรือรปู แบบของการเรียนการสอนทไ่ี ม่จำเป็นตอ้ งมชี ัน้ เรยี นให้ผู้เรยี นเรียน ไดด้ ้วยตนเอง จากแหล่งวทิ ยบรกิ ารทมี่ ีอยู่หรือจากชุดการเรียนทีท่ ำข้นึ สำหรบั ผ้เู รียนลกั ษณะน้ีโดยเฉพาะ นอกจากนเ้ี ทคนิค วิธกี ารเรยี นการสอน การประเมนิ ผล ยงั เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ ท่ีมีครูเปน็ ศนู ย์กลาง กลายเปน็ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลางของการเรยี นมากข้ึน 3. เทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงสถานการณข์ องการเรียน (Technology alters situations of learning.) การเปล่ียนแปลงสถานการณ์ของการเรียนในสถานศกึ ษา เป็นสภาพใหม่ท่ีเกิดขึน้ พร้อมๆ กับนำเทคโนโลยี ใหม่เข้ามาใช้ สถานการณ์ของการเรียนการสอนในสภาพของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาที่เต็มไปด้วย เทคโนโลยีเพื่อ ชว่ ยการเรียนรูจ้ ะมีบรรยากาศของการเรยี น เงื่อนไขในการเรยี น ท่ีแตกต่างจากเดิม ผู้เรยี นสามารถเลอื กเรียนใน สถานการณ์และเง่ือนไขท่ีตนเองต้องการไดม้ ากขึน้ สถานการณท์ ่ที ำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ไม่จำเปน็ ต้องสร้างขน้ึ ด้วย ครูผสู้ อน เทา่ น้นั อยา่ งแต่ก่อน แตเ่ ทคโนโลยีสามารถจะสร้างสถานการณ์ของการเรียนใหเ้ กดิ ขึ้นได้และมีความ หลาก หลายอีกด้วย จากผลของการเปล่ยี นแปลงโดยมีเทคโนโลยเี ปน็ ตัวกำหนดดงั กล่าวขา้ งต้น ทำใหส้ ภาพแวดล้อมทางการ เรยี นในสถานศึกษาต้องมีการวางแผนและจัดการกับ เทคโนโลยที เ่ี ป็นตัวกำหนดนน้ั อย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิด ประสิทธิภาพ สูงสดุ เพื่อเป็นแนวทางท่ีจะนำไปสู่การจดั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ ทีส่ ถานศึกษาทุกแห่งต้องการให้ เกดิ ขนึ้ แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงทีส่ ำคัญท่เี กดิ จากเทคโนโลยี แนวโนม้ การเปล่ียนแปลงของสงั คมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การกระจายข้อมูลขา่ วสารเปน็ ไป อยา่ งรวดเรว็ ทุกทิศทาง และมรี ะบบตอบสนอง ด้วยเหตุน้ีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ

35 การเมือง และสงั คม ผลของความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทำใหเ้ กิดแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ี สำคญั หลายด้าน แนวโนม้ ท่ีสำคัญท่เี กดิ จากเทคโนโลยที ่สี ำคัญและเป็นท่ีกลา่ วถึงกันมาก ดงั นี้ 1) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำใหส้ งั คมเปลย่ี นจากสงั คมอตุ สาหกรรมมาเปน็ สังคมสารสนเทศ สภาพของ สงั คมโลกได้เปลยี่ นแปลงมาแล้วสองครงั้ จากสังคมความเป็นอยู่แบบเรร่ ่อนมาเป็นสังคมเกษตรที่มีการเพาะปลูก และสรา้ งผลิตผลทางการเกษตร ทำให้มกี ารสร้างบา้ นเรอื นเปน็ หลักแหลง่ ตอ่ มามคี วามจำเป็นตอ้ งผลิตสนิ ค้าให้ได้ ปริมาณมากและตน้ ทนุ ถูก จึงตอ้ งหนั มาผลติ แบบอุตสาหกรรม ทำให้สภาพความเปน็ อยู่ของมนุษยเ์ ปลีย่ นแปลงมา เป็นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่มอยู่อาศัยเปน็ เมือง มีอตุ สาหกรรมเป็นฐานการผลิต สังคมอุตสาหกรรมไดด้ ำเนินการ มาจนถึงปัจจุบนั และเข้าสู่สงั คมสารสนเทศ การดำเนินธรุ กิจใชส้ ารสนเทศอย่างกว้างขวาง เกิดคำใหมว่ ่า ไซเบอร์ สเปซ มีการดำเนินกจิ กรรมต่างๆ เช่น การพดู คยุ ผา่ นอินเทอรเ์ น็ต การซ้ือสนิ คา้ และบริการ ฯลฯ 2) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยแี บบตอบสนองตามความต้องการของผใู้ ช้แต่ละคน เชน่ การดู โทรทัศน์ วิทยุ เมอื่ เราเปิดเครื่องรบั โทรทัศนห์ รือวทิ ยุ เราไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้ หากไม่พอใจกท็ ำได้ เพียงเลอื กสถานใี หม่ แนวโนม้ จากนไ้ี ปจะมกี ารเปลี่ยนแปลงในลกั ษณะท่ีเรียกว่า on demand เราจะมีโทรทัศน์ และวิทยุแบบเลือกดู เลอื กฟงั ไดต้ ามความต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on demand คอื สามารถเลอื กเรียนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เปน็ หนทางทเ่ี ปน็ ไปได้ เพราะเทคโนโลยมี ี พัฒนาการทก่ี า้ วหนา้ จนสามารถนำระบบส่ือสารมาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์ 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานท่ี และทกุ เวลา เมอื่ การสอ่ื สารกา้ วหน้า และแพร่หลายข้ึน การโตต้ อบผ่านเครือขา่ ยทำให้มีปฏสิ ัมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุม บนเครอื ข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือขา่ ย ลักษณะของการดำเนินงานเหล่านี้ ทำใหผ้ ้ใู ชข้ ยาย ขอบเขตการดำเนินกจิ กรรมไปทุกหนทุกแหง่ ตลอด 24 ช่ัวโมง เราจะเหน็ จากตวั อยา่ งท่ีมีมานานแลว้ เชน่ ระบบ เอทีเอม็ ทำใหก้ ารเบิกจา่ ยไดเ้ กือบตลอดเวลา และกระจายไปใกลต้ วั ผรู้ ับบรกิ ารมากขน้ึ และดว้ ยเทคโนโลยที ี่ ก้าวหน้าขึน้ การบริการจะกระจายมากยิง่ ข้นึ จนถงึ ท่ีบ้าน ในอนาคตสังคมการทำงานจะกระจายจนงานบางงาน อาจน่ังทำที่บ้านหรือท่ีใดกไ็ ด้ และเวลาใดก็ได้ 4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ระบบเศรษฐกิจเปล่ยี นจากระบบท้องถนิ่ ไปเปน็ เศรษฐกิจโลก ระบบ เศรษฐกจิ ซง่ึ แตเ่ ดิมมขี อบเขตจำกัดภายในประเทศ ก็กระจายเปน็ เศรษฐกจิ โลก ทวั่ โลกจะมกี ระแสการหมนุ เวยี น แลกเปลยี่ นสนิ คา้ บริการอยา่ งกวา้ งขวางและรวดเรว็ เทคโนโลยสี ารสนเทศมีสว่ นเออ้ื อำนวยให้การดำเนินการมี ขอบเขตกวา้ งขวางมากยง่ิ ข้ึน ระบบเศรษฐกจิ ของทุกประเทศในโลกเชอ่ื มโยงและมผี ลกระทบต่อกนั 5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำใหอ้ งค์กรมลี กั ษณะผกู พนั หน่วยงานภายในเป็นแบบเครือข่ายมากขึ้น แต่เดิม การจัดองค์กรมีการวางเปน็ ลำดบั ขั้น มสี ายการบังคบั บญั ชาจากบนลงลา่ ง แต่เมอ่ื การสือ่ สารแบบสองทางและการ กระจายข่าวสารดขี ้นึ มกี ารใชเ้ ครอื ข่ายคอมพิวเตอรใ์ นองค์กรผูกพันกนั เปน็ กลุ่มงาน มกี ารเพิม่ คุณคา่ ขององค์กร ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจดั โครงสร้างขององค์กรจงึ ปรบั เปลี่ยนจากเดิม และมแี นวโนม้ ทีจ่ ะสร้างองค์กรเป็น

36 เครือข่ายท่มี ลี กั ษณะการบงั คับบญั ชาแบบแนวราบมากข้นึ หนว่ ยธุรกจิ จะมขี นาดเล็กลง และเช่อื มโยงกนั กบั หน่วย ธุรกจิ อ่นื เปน็ เครือข่าย โครงสรา้ งขององคก์ รจงึ เปลีย่ นแปลงไปตามกระแสของเทคโนโลยี 6) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ก่อให้เกดิ การวางแผนการดำเนินการระยะยาวข้ึน อีกท้งั ยังทำใหว้ ถิ ีการตดั สินใจ รอบคอบมากข้ึน แต่เดิมการตัดสินปญั หาอาจมีหนทางให้เลือกได้นอ้ ย เชน่ มีคำตอบเดยี ว ใช่ และ ไม่ใช่ แตด่ ว้ ย ขอ้ มูลขา่ วสารท่ีสนับสนุนการตดั สินใจ ทำใหว้ ิถคี วามคดิ ในการตัดสนิ ปญั หาเปล่ยี นไป ผตู้ ัดสินใจมที างเลือกไดม้ าก และมีความรอบครอบในการตดั สินปญั หาไดด้ ีข้ึน 7) เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ เทคโนโลยีเดียวทมี่ บี ทบาทท่ีสำคัญในทุกวงการ ดงั นัน้ จึงมผี ลตอ่ การ เปลยี่ นแปลงทางสังคม วฒั นธรรม ศลี ธรรม การศกึ ษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก ลองนึกดูวา่ ขณะนี้เรา สามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ทส่ี ่งกระจายผา่ นดาวเทียมของประเทศตา่ งๆ ได้ทั่วโลก เราสามารถรับรขู้ ่าวสารได้ ทันที เราใชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ในการสื่อสารระหว่างกัน และตดิ ต่อกับคนได้ทัว่ โลก จึงเป็นท่แี น่ชัดวา่ แนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองจงึ มีลกั ษณะเปน็ สังคมโลกมากข้ึน ปัญหาและอุปสรรคในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา สภาพปจั จบุ นั และปญั หาการใชเ้ ทคโนโลยกี ารศึกษาในประเทศไทย จากความเจรญิ กา้ วหน้าทางวิทยาการจงึ ทำให้กระบวนการจดั การศึกษาต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วยอย่างต่อเนอ่ื ง ดังน้นั เทคโนโลยีการศึกษาไม่วา่ จะเป็นสือ่ วัสดอุ ปุ กรณ์ประเภทต่างๆรวมท้ังเทคนคิ วธิ ีการและแหล่งสนับสนนุ การ เรียนรู้ตอ้ งเปลย่ี นแปลงตามไปด้วยเชน่ กนั คอมพิวเตอร์ ได้เขา้ มามีอิทธิพลและมีบทบาทตอ่ การจดั การศึกษาอยา่ ง เดน่ ชดั มากยิ่งขึ้น และดเู หมือนว่าจะเปน็ สือ่ ทนี่ ่าสนใจและเป็นส่อื ท่ตี ้องการของหลายฝา่ ยท่ีเกยี่ วข้องกบั การจัด การศกึ ษาทุกๆระดบั ท้ังนี้สงั คมคาดหวังว่าสอื่ ยุคใหม่หรือนวัตกรรมทางการสอนที่แปลกใหม่และมีความ หลากหลายเหลา่ นัน้ จะชว่ ยเสริมสร้างประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลทางการเรยี นรู้และการจดั การศึกษาโดยรวมใน ทีส่ ุด หากมองยอ้ นหลังสักหน่อย จะพบวา่ เราเรมิ่ จาก การไม่มี อยากมี แลว้ ได้มี ตดิ ตามด้วยใชไ้ ม่ค่อยเป็น แลว้ ก็ ใชเ้ ป็นกันมากขน้ึ แต่ไดป้ ระโยชน์ มีแกน่ สารสาระหรอื ไมเ่ ปน็ เรอื่ งนา่ คิด สว่ นมากจะเข้าลักษณะใช้เปน็ แต่ไม่ค่อย ได้ประโยชน์ ดทู ี่กลมุ่ เยาวชนกแ็ ลว้ กนั ว่าเขากำลงั ทำอะไรกันอยู่กับอนิ เตอรเ์ นต็ เสียเวลาและทรัพยากรไปเทา่ ไร และได้อะไรตอบแทนกลับมา สว่ นมากจะเข้าขา่ ยไร้สาระมากกว่า ปญั หาทพ่ี บในการใช้นวตั กรรมการศกึ ษา 1. ปญั หาดา้ นบุคลากร บคุ ลากรขาดความร้คู วามเขา้ ใจในการผลิตส่ือประกอบการจดั กิจกรรม บุคลากร ขาดประสบการณใ์ นการใช้สื่อนวตั กรรมทางการศึกษา ไม่เข้าใจและรจู้ กั วิธกี ารใช้นวัตกรรมท่ีทางโรงเรียนจัดทำขึ้น ขาดความชำนาญในการใชน้ วัตกรรม ขาดส่ือประกอบการเรยี น บุคลากรส่วนใหญ่ใหค้ วามร่วมมือในการใช้ นวัตกรรม แต่ขาดความต่อเน่อื งแนวทางแก้ไข คือ สร้างความตระหนัก ความรบั ผิดชอบในสว่ นที่ยังบกพร่องทาง

37 นวัตกรรมของบคุ ลากร สง่ เสรมิ ใหเ้ ขา้ ร่วมการอบรมสัมมนา สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการศึกษาด้วยตนเอง เพื่อให้ความรู้ และประสบการณใ์ นการใชส้ อ่ื นวตั กรรมทางการศึกษาที่มากขึ้น 2. ปญั หาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เก่ียวกบั นวัตกรรม คือ ขาดงบประมาณในการพฒั นา นวตั กรรม ขาดวัสดุ – อุปกรณแ์ ละงบประมาณท่ีจะพฒั นาส่ือนวตั กรรม การจัดหา การใช้ การดแู ลรักษาและขาด งบจดั หาสอื่ ทันสมยั แนวทางการแก้ไข เพิม่ งบประมาณใหเ้ พยี งพอ ใหห้ น่วยงานที่มสี ่วนเกย่ี วข้องจัดหา งบประมาณสนบั สนนุ สำนักงานเขตพ้นื ทีต่ อ้ งชว่ ยดูแลและใหค้ วามช่วยเหลอื จัดสรรงบประมาณได้ เพอื่ ใชใ้ นการ พฒั นานวตั กรรมให้มีคุณภาพดยี งิ่ ขนึ้ และระดมทรพั ยากรที่มีในท้องถนิ่ มาช่วยสนับสนนุ 3. ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม และสถานที่การใช้นวัตกรรม สภาพแวดลอ้ มโดยท่วั ไปยงั ไมเ่ หมาะสม กบั การใช้สื่อ เนื่องจากความยุ่งยากและไม่คล่องตัว มสี ถานทไ่ี ม่เป็นสัดส่วน ไม่มหี ้องที่ใชเ้ พื่อเก็บรักษา สอ่ื นวัตกรรมเปน็ การเฉพาะ ทำใหก้ ารดแู ลทำได้ยากและขาดการพฒั นาท่ีต่อเน่ือง แนวทางการแก้ไข คอื ใช้ ส่อื นวัตกรรมตามความเหมาะสมของเน้ือหาวชิ าตามความยากง่ายของเน้ือหา จัดทำห้องสื่อเคลอ่ื นที่ แบง่ สอ่ื ไป ตามหอ้ งใหค้ รรู ับผิดชอบ ควรจดั หาห้องเพื่อการนเ้ี ป็นการเฉพาะ 4. ปัญหาดา้ นสภาพการเรียนการสอน เด็กมคี วามแตกต่างกนั ด้านสติปัญญา และดา้ นรา่ งกาย ปญั หา ครอบครวั แตกแยก เดก็ อาศัยอยู่กับญาติ มเี น้ือหาวชิ าที่มากและสาระ การเรยี นการสอนแต่ละครัง้ ไม่ต่อเนอื่ ง นักเรียนบางคนไม่สบายใจในกจิ กรรม และทำไมจ่ ริงจังจงึ มีผลต่อการจัดกจิ กรรม นักเรียนต้องเข้าควิ รอนานกบั นวตั กรรมบางชนดิ และสภาพการเรียนการสอน ครูยงั ยึดวิธีการสอนแบบเดิม คือ บรรยายหน้าช้ันเรียน แต สว่ นใหญ่มแี นวโนม้ ในการพฒั นาทด่ี ขี น้ึ ครูยังไม่มีการนำส่ือนวัตกรรมมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนอยา่ ง ต่อเน่อื ง แนวทางการแก้ไข คือ จัดกลมุ่ ใหเ้ พ่ือนช่วยเพ่ือน คอยกำกบั แนะนำช่วยเหลอื จัดครูเขา้ สอนตาม ประสบการณ์ความถนัด ควรจดั อบรมเพอื่ ใหค้ วามรู้ จัดทำนวตั กรรมท่มี โี อกาสเป็นไปได้ และสร้างการมสี ว่ นร่วม จากชมุ ชน สอนเพม่ิ เติมนอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมช้ัน โดยใช้กระบวนการเรยี นการสอนตามช่วงช้นั 5. ปัญหาด้านการวัดผลและประเมินผล คือ บคุ ลากรขาดความรใู้ นการท่จี ะนำสื่อนวตั กรรมมาใช้ในการ วดั ผลและประเมนิ ผล นกั เรยี นท่ีไม่คอ่ ยสนใจหรือไมช่ อบกิจกรรมกจ็ ะมผี ลตอ่ การจัดผลประเมินผล ขาดนวัตกรรม สอื่ คอมพวิ เตอร์ อนิ เตอร์เน็ต การวดั ประเมินผล ครูสว่ นใหญ่ยงั ใช้วธิ กี ารทำแบบทดสอบ แบบปรนัย แนว ทางการแกไ้ ข จดั ทำแบบสอบถามสุม่ เป็นรายบุคคล เพศชาย หญิง เน้นนกั เรียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิจรงิ และสรา้ งองค์ ความรดู้ ้วยตนเอง จัดแบบทดสอบท่หี ลากหลาย ท้งั แบบปรนัย และอตั นัย และประเมินผลตามสภาพจริง ประเมินผลงานจากแฟ้มสะสมงาน ปัญหา อปุ สรรค การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารของสถานศึกษา 1. ดา้ นการกระจายโครงสรา้ งพ้นื ฐานเพ่อื การศึกษา มสี ถานศึกษาจำนวนหน่งึ ท่โี ทรศัพท์ยงั เข้าไมถ่ งึ และคอมพิวเตอร์ยงั ไม่มีหรือมีแตไ่ ม่เพียงพอต่อความตอ้ งการ และที่มีอย่กู ็ขาดการบำรงุ รักษา รวมทัง้ ไม่อยู่ใน

38 สภาพทใี่ ช้การได้ แสดงใหเ้ ห็นวา่ โครงสรา้ งพนื้ ฐานเพื่อการศกึ ษาโดยเฉพาะคู่สายโทรศัพท์ยงั มบี ริการไม่ทั่วถึง อาจจะเปน็ ไปไดว้ ่าสถานศึกษาเหลา่ น้ีอยู่ในท้องถนิ่ ทีห่ า่ งไกล ดงั นน้ั สถานศึกษาตอ้ งรบี ดำเนินการเพราะเปน็ พื้นฐานท่ีจำไปสูร่ ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ 2. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ครใู ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร เพ่ือพฒั นาทักษะวิชาชีพครนู ้อยมาก และคอมพิวเตอร์มีจำนวนไมพ่ อกับความต้องการท่ีครจู ะใช้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ครูยังต้องได้รับการพฒั นาดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ อกี เป็นจำนวนมาก และสถานศกึ ษากต็ ้องจดั หา คอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อความตอ้ งการของครู 3. ดา้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื พัฒนาการบริหารจัดการและใหบ้ ริการทางการ ศกึ ษา สถานศึกษายังขาดรปู แบบระบบสารสนเทศ ผู้บริหารใหม้ ีความรู้ความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารในระดับเบอื้ งต้น แสดงใหเ้ ห็นว่าสถานศึกษายังไม่มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็น รูปธรรมท่ีชัดเจน ผูบ้ ริหารต้องไดร้ บั การพฒั นาดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารเสนเทศและการสือ่ สารเพื่อใหเ้ กิดความ ตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีจะนำมาพัฒนาการบรหิ ารจัดการ และการบริการทางการศึกษา 4. ดา้ นการผลติ และพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การพฒั นาตนเองของครดู ้านการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศยงั ขาดความต่อเน่ือง บางคนใน 3 ปีทผ่ี า่ นมายงั ไม่เคยไปเข้ารบั การฝึกอบรมดา้ นการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเลย แสดงให้เห็นวา่ ครไู ดร้ ับการพฒั นาดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สารยงั ไมท่ ว่ั ถึงเพราะมีครอู ีกจำนวนหน่ึงท่ีในรอบ 3 ปีท่ีผา่ นมายงั ไมเ่ คยไดร้ ับการอบรมดา้ นการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเลย

39 บทที่ 2 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.1 ความสำคัญของสารสนเทศ สารสนเทศไดก้ ลายมาเป็นปัจจยั สำคัญต่อการดำเนินชีวติ ของคนในสังคมปัจจบุ ัน ในองค์กรตา่ งๆ สารสนเทศได้กลายเปน็ ทรัพย์สนิ อันมคี า่ จนมีคำกล่าววา่ สารสนเทศ คอื อำนาจ (Information is power) ใครท่ีมี สารสนเทศมากกจ็ ะสามารถควบคุมหรอื ต่อรองได้ ฝา่ ยท่ีมสี ารสนเทศมากกว่ามักจะไดเ้ ปรียบคู่แขง่ เสมอ จนอาจ นำไปสูย่ คุ “ สงครามข้อมลู ข่าวสาร ” ได้ ดังน้ัน สารสนเทศจงึ มปี ระโยชน์มากมาย เชน่ ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแกป้ ญั หา ช่วย วางแผนและการตัดสินใจได้อยา่ งถูกต้อง สารสนเทศจึงช่วยพฒั นาบคุ คล ชว่ ยการปฏิบตั ิงาน ช่วยในการดำเนิน ชวี ติ ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ สารสนเทศจึงมีความสำคัญต่อบุคคล องค์กร และสงั คม ดังนี้ 1 ความสำคญั ของสารสนเทศต่อบุคคลและต่อองคก์ ร ในชวี ติ ประจำวนั ไม่วา่ จะเปน็ การศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการดำรงชีพ สารสนเทศมีบทบาทต่อ มนษุ ยม์ ากเกินกว่าทบ่ี างคนตระหนกั ถึง ในดา้ นการปฏบิ ัติงานและในการจัดการ สารสนเทศทีถ่ ูกตอ้ งนับเป็นองค์ประกอบสำคญั โดยเฉพาะการ แกป้ ัญหา การตัดสนิ ใจ และการปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 ความสำคัญของสารสนเทศตอ่ สังคม สารสนเทศมคี วามสำคญั ตอ่ สงั คม 2 ด้าน คือ ดา้ นการปกครอง และดา้ นการพัฒนา ดา้ นการเมืองการปกครอง สารสนเทศจำเปน็ ตอ่ การดำเนนิ ชีวิตและการตัดสนิ ใจของประชาชนอันเป็น พน้ื ฐานของสังคม ผู้ปกครองจึงต้องจัดการใหป้ ระชาชนทกุ คนสามารถเข้าถงึ สารสนเทศที่ตอ้ งการได้ จึงจะเกดิ การ บรหิ ารทโี่ ปร่งใส เป็นสงั คมประชาธิปไตย ไม่เกดิ ความว่นุ วาย

40 ในดา้ นการพฒั นา สารสนเทศมีความสำคัญยง่ิ ท้ังในการเตรยี มแผนพัฒนาและการปฏบิ ัตติ ามแผน เช่น สารสนเทศเกี่ยวกับชมุ ชน สารสนเทศเก่ียวกบั สิ่งแวดลอ้ ม สารสนเทศเกยี่ วกบั การเมืองการปกครอง สารสนเทศ เกี่ยวกบั เทคนิคการแก้ปัญหา สารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ งานวจิ ยั หรือการประดิษฐ์ซึ่งจะช่วยในการพัฒนาตอ่ ไป 2.2 ความสำคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ปจั จบุ ันพัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งรวดเร็ว มีการปรบั ปรุงเคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ ทเี่ ป็นประโยชนก์ ับงานสารสนเทศอยู่ตลอดเวลา ทำให้ทุกวงการวิชาชพี ต้องหันมาปรับปรุงกลไกในวิชาชพี ของตน ใหท้ ันต่อสงั คมสารสนเทศ และสอดคล้องกับกระแสโลก องคก์ รท้งั ภาครัฐและเอกชนในปัจจบุ นั ตา่ งหันมาใหค้ วาม สนใจเทคโนโลยีสารสนเทศกันอย่างจรงิ จังและมากข้ึน โดยใชเ้ ปน็ เครื่องมอื สรา้ งระบบสารสนเทศในหน่วยงานของ ตน เน่ืองจากตระหนักดีว่าสารสนเทศมบี ทบาทในการทำกิจกรรมแทบทุกชนดิ ไม่ว่าจะเป็นการสอื่ สาร การ ปฏบิ ัติงาน การแกป้ ัญหา หรอื การตดั สินใจ เม่ือการวางแผนและการจัดการได้มเี ทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาชว่ ย จะทำให้ได้สารสนเทศอย่างรวดเร็วถูกตอ้ ง เช่ือถือได้ทันต่อเวลา มเี นอื้ หาและรูปแบบท่ตี รงกบั ความต้องการ สำหรบั วงการธุรกิจสารสนเทศเปน็ สิ่งสำคัญ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในดา้ นการแขง่ ขนั เจ้าของธรุ กจิ จำเปน็ ต้องรู้ข้อมลู ภาวะตลาดและสนิ คา้ เพอื่ ความอย่รู อดในการดำเนินธรุ กิจใช้เป็นเครื่องมือช่วยการปฏิบตั ิงานให้ เกิดความถกู ต้อง และมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้นึ สามารถใช้เป็นกลยุทธเ์ พ่ือไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขัน เพิ่มผลผลิต สร้าง ภาพลกั ษณ์ใหเ้ กดิ ความประทับใจแกล่ ูกค้า นอกจากนีใ้ นชีวิตประจำวนั ภายในครอบครัวมกี ารใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศกันมากขนึ้ เชน่ เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ มคี วามสำคัญมากในปัจจุบัน และมีแนวโน้มมากยิ่งขนึ้ ใน อนาคต จะเหน็ ไดว้ า่ เทคโนโลยีสารสนเทศไดเ้ ข้ามามีบทบาทสงู ขึ้นอย่างมากในการดำเนนิ งานและการตดั สนิ ใจ ของคนในสงั คม

41 สรุปความสำคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้ดังน้ี 1) ชว่ ยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแตล่ ะวนั 2) ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ 3) ชว่ ยใหส้ ามารถเกบ็ สารสนเทศไวใ้ นรูปที่สามารถเรียกใช้ไดท้ ุกคร้ังอยา่ งสะดวก 4) ชว่ ยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัตเิ พื่อการจัดเกบ็ ประมวลผล และเรยี กใช้สารสนเทศ 5) ชว่ ยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อยา่ งรวดเรว็ มปี ระสิทธิภาพมากข้ึน 6) ชว่ ยในการส่อื สารระหวา่ งกนั ได้อย่างสะดวกรวดเรว็ ลดอุปสรรคเก่ียวกับเวลา และระยะทาง โดยการใชร้ ะบบ โทรศัพท์และอ่ืนๆ 2.3 ความหมายสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมลู ตา่ งๆ ที่ไดผ้ ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมี การประมวลหรอื วเิ คราะหผ์ ลสรุปดว้ ยวิธีการต่างๆ ให้อย่ใู นรปู แบบที่มคี วามสัมพันธ์กัน มีความหมาย มีคุณคา่ เพม่ิ ข้นึ และมี วัตถุประสงคใ์ นการใช้งาน สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น การเก็บข้อมลู การขายรายวันแล้วนำการประมวลผล เพอ่ื หาวา่ สินค้าใดมียอดขายสงู ทส่ี ดุ เพ่ือจัดทำแผนการขายในเดือนต่อไป เปน็ ต้น 2.4 ความหมายของข้อมลู ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเทจ็ จริงหรือเรื่องราวท่เี กยี่ วขอ้ งกับส่งิ ตา่ ง ๆ เชน่ คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยใู่ นรูปแบบที่ เหมาะสมตอ่ การสือ่ สาร การแปลความหมายและการประมวลผล ซ่งึ ขอ้ มลู อาจจะได้มาจาก การสงั เกต การรวบรวม การวดั ขอ้ มลู เป็นไดท้ งั้ ขอ้ มูลตวั เลขหรอื สญั ญลักษณ์ใด ๆ ท่ีสำคัญจะต้องมีความเปน็ จรงิ และต่อเนื่องตัวอยา่ งของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชอ่ื นกั เรียน เพศ อายุ เปน็ ตน้ สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภท คอื 1. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ เป็นขอ้ มูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง เชน่ ข้อมลู ที่ได้จากการสอบถามโดยตรง การสมั ภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ขอ้ มูลทไ่ี ด้ จากเครื่องจักรอัตโนมัติ ไดแ้ ก่ เครื่องอ่านรหัสแทง่ เคร่ืองอ่านเครื่องหมายบนกระดาษ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นขอ้ มูลทไ่ี ด้จากขอ้ มูลทม่ี ีผู้อ่นื รวบรวมไว้ใหแ้ ล้ว

42 ชนิดของข้อมลู แบ่งไดห้ ลายชนิด ดังน้ี 1. ขอ้ มูลตวั เลข จะประกอบด้วยตัวเลขเทา่ นัน้ เชน่ 145 , 2468 เป็นต้น มกั จะนำมาใช้ในการคำนวณ 2. ขอ้ มลู อกั ขระ ประกอบด้วย ตวั อักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษหรือเครอื่ งหมายพิเศษตา่ ง ๆ เช่น บ้านเลขที่ 13/2 เปน็ ต้น ถ้ามีตวั เลขประกอบ จะมิได้นำมาคำนวณ 3. ขอ้ มลู ภาพ รบั รู้จากการมองเห็น เช่น ภาพดารา ภาพสตั วต์ า่ ง ๆ 4. ข้อมูลเสียง รับรจู้ ากทางหูหรือการได้ยิน เชน่ เสียงพูด เสยี งเพลง เปน็ ตน้ 2.5 ชนิดของข้อมูล (Types of Data) เราสามารถแบง่ ขอ้ มลู ออกเป็น 4 ชนดิ ดงั น้ี (Alter 1996 : 151-152, Stair and Reynolds 2001 : 5)

43 1. ขอ้ มลู ที่เปน็ อักขระ (Alphanumeric Data) ได้แก่ ตวั เลข (Numbers) ตัวอกั ษร (Letters) เครื่องหมาย (Sign) และ สญั ลักษณ์ (Symbol) 2. ขอ้ มูลที่เป็นภาพ (Image Data) ไดแ้ ก่ ภาพกราฟิก (Graphic Images) และรูปภาพ (Pictures) 3. ข้อมลู ท่ีเป็นเสียง (Audio Data) ไดแ้ ก่ เสยี ง (Sounds) เสียงรบกวน/เสยี งแทรก (Noise) และเสียงที่มี ระดับ (Tones) ตา่ งๆ เชน่ เสยี งสงู เสียงตำ่ เป็นตน้ 4. ขอ้ มูลที่เป็นภาพเคลอ่ื นไหว (Video Data) ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์ (Moving Images or Pictures)และ วดี ิ ทัศน์ (Video)นอกจากน้ันยังพบว่ามีข้อมูลในลักษณะของกล่ิน (Scent) และข้อมูลในลักษณะท่ีมกี ารประสม ประสานกัน เชน่ มีการนำเอาข้อมลู ท้ัง 4 ชนิดมารวมกนั เรียกว่า สื่อประสม (Multimedia) แต่ถ้ามีการประสม ขอ้ มลู ท่ีเป็นกลิ่นเข้าไปดว้ ย เราเรียกวา่ Multi-scented 2.6 คุณลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ี ในการจดั การเพื่อให้องค์การบรรลถุ งึ ประสิทธผิ ลและประสทิ ธภิ าพท่ีองค์การตง้ั ไวน้ ั้น ดังทกี่ ล่าวมาแล้วว่า ขอ้ มลู และสารสนเทศเป็นปจั จยั หนึง่ ทมี่ คี วามสำคญั อย่างมากต่อทกุ องค์การ ทั้งน้สี ารสนเทศท่ีดีควรมีลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององคก์ ารทีด่ จี ะต้องมีความเทีย่ งตรงและเชอ่ื ถือได้ โดยไม่ให้มี ความคลาดเคล่ือนหรอื มคี วามคลาดเคล่ือนน้อยทส่ี ดุ ดังนั้นประสิทธิผลของการตดั สินใจจงึ ขึน้ อยู่กบั ความถูกต้อง หรือความเทยี่ งตรง ยอ่ มส่งผลกระทบทำใหก้ ารตัดสนิ ใจมีความผดิ พลาดตามไปด้วย 2. ทันตอ่ ความตอ้ งการใช้ (Timeliness) นอกเหนอื จากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเทย่ี งตรงหรือ ความถกู ตอ้ งแลว้ ยังจะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิของการทสี่ ามารถนำสารสนเทศมาใช้ไดท้ นั ทเี มอื่ ต้องการใชข้ ้อมูล หรือเพอ่ื การตดั สินใจ ทง้ั น้เี น่ืองจากเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทางการบรหิ ารทง้ั ภายในและภายนอกองค์การมกี ารเคลื่อนไหว เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศดา้ นการขาย การผลิต ตลอดจนดา้ นการเงิน ถ้าผูบ้ ริหารไดร้ ับมา ลา่ ช้า ก็จะสง่ ผลกระทบต่อ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของการตดั สนิ ใจ หรือการดำเนนิ งานของผู้บริหาร ท่จี ะลดลงตามไปดว้ ย 3. ความสมบรู ณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณท์ ี่จะชว่ ยทำให้การ ตดั สนิ ใจเปน็ ไปดว้ ยความถูกต้อง การมีสารสนเทศท่ีมีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิผลของ การดำเนนิ งาน สารสนเทศท่ีมีมากเกินไปอาจเปน็ สารสนเทศที่ไม่มีความสำคญั เช่นเดยี วกับการมสี ารสนเทศทีม่ ี ปริมาณนอ้ ยเกินไป ก็อาจทำให้ไมไ่ ด้สารสนเทศท่สี ำคัญครบเพียงพอทุกดา้ นทจ่ี ะนำไปใชไ้ ด้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสทิ ธิภาพ แตท่ ั้งน้ีมิไดห้ มายความว่าจะต้องรอให้มสี ารสนเทศครบถว้ น 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการ ตดั สินใจได้ เช่น จะตัดสนิ ใจเกยี่ วกับอัตราการใช้สนิ คา้ ปริมาณสินคา้ คงเหลอื ราคาต่อหน่วย แหลง่ ผผู้ ลติ คา่ ใช้จา่ ย ในการสง่ั ซ้ือ ค่าใชจ้ า่ ยในการเกบ็ รกั ษา ระยะเวลารอคอยของสินคา้ แตล่ ะชนิด ดังนน้ั จะตดั สินใจเกย่ี วกบั การ บรหิ ารสินค้าคงเหลอื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ กจ็ ำเปน็ ท่จี ะต้องได้รบั สารสนเทศในทุกเรอ่ื ง การขาดไปเพียงบางเร่อื งจะ

44 สง่ ผลกระทบต่อการตัดสนิ ใจอย่างมากเปน็ ต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้วา่ ไม่ไดห้ มายความวา่ มีสารสนเทศมาก เฉพาะในบางด้าน ขณะทสี่ ารสนเทศในบางด้านไม่มหี รอื มไี ม่เพียงพอต่อการตดั สนิ ใจ แต่จะต้องไดร้ ับสารสนเทศท่ี สำคัญครบในทกุ ด้านทีท่ ำการตดั สนิ ใจ 4. การสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การท่ีดีจะต้องมีคุณลักษณะท่ี สำคญั อีกประการหนง่ึ ก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผ้ใู ช้ทจ่ี ะนำไปใชใ้ นการตดั สินใจได้ ดังน้ันในการ ที่องคก์ ารจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนัน้ การสอบถามความต้องการของสารสนเทศทผ่ี ูใ้ ช้ ตอ้ งการเป็นปัจจยั ทีม่ ีความสำคญั อยา่ งมาก เชน่ สนเทศในการบรหิ ารการผลติ การตลาด และการบรหิ าร ทรัพยากรมนุษย์ เปน็ ตน้ 5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศทีด่ ีควรมีคุณลักษณะท่สี ามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรปู แบบการวิเคราะห์ข้อมูลทใี่ ช้ ทง้ั นี้เพ่ือให้การตดั สินใจไดเ้ กิดความรอบครอบ การที่ผบู้ ริหารมองเหน็ สารสนเทศบางเร่ืองแล้วพบว่าทำไมจึงมคี ่าทต่ี ำ่ เกินไป หรือสงู เกินไป อาจตอ้ งตรวจสอบความถูกต้องของ สารสนเทศที่ได้มา ท้งั นี้กเ็ พ่ือมิให้การติดสนิ ใจเกดิ ความผิดพลาดคุณลักษณะดังกลา่ วข้างตน้ มคี วามสำคญั อย่างยิ่ง ท่ผี บู้ รหิ ารงานบคุ คลจะตอ้ งพยายามจัดระบบให้มคี วามพร้อมครบถว้ นและพรอ้ มท่จี ะใช้งานได้ ปญั หาสำคญั ที่ องค์การส่วนมากมักจะต้องเผชิญ คอื การไม่สามารถสนองข้อมลู ที่เก่ียวกับบุคคลให้ทันกับความจำเป็นใชใ้ นการที่ จะต้องดำเนนิ การหรือตัดสนิ ปญั หาบางประการ ดงั เชน่ ถ้าหากมีเหตเุ ฉพาะหน้าท่ีต้องการบคุ คลทีม่ ี คุณสมบัติ อย่างหนึ่งในการบรรจเุ ข้าตำแหน่งหนึง่ อยา่ งรวดเร็วในเวลาอันสัน้ ซึง่ หากผจู้ ดั เตรียม ขอ้ มูลจะต้องใช้เวลา ประมวลขึน้ มานานเป็นเดอื นก็ยอ่ มถอื ได้ว่า ข้อมูลทส่ี นองใหน้ นั้ ชา้ กว่าเหตุการณ์ หรอื ในอีกทางหนงึ่ บางคร้งั แมจ้ ะ เสนอขอ้ มลู ได้อย่างรวดเร็ว แตเ่ ป็นขอ้ มูลทเี่ ปน็ รายละเอยี ดมากเกนิ ไปที่ไม่อาจพิจารณาแยกแยะคุณสมบัตทิ ่ีสำคญั หรอื ขอ้ มูลท่สี ำคัญทเ่ี กย่ี วข้องกับบุคคลอย่างเด่นชัด กย็ ่อมทำใหก้ ารใช้ขอ้ มูลนน้ั เป็นไปด้วยความยากลำบาก นอกจากลักษณะทดี่ ขี องสารสนเทศดงั กลา่ วข้างต้นแล้ว ยงั มีคณุ สมบตั ิที่แอบแฝงของสารสนเทศอีกบาง ลกั ษณะท่ีสัมพนั ธก์ บั ระบบสารสนเทศ และวิธีการดำเนินงานของระบบ สารสนเทศ ซ่ึงจะมคี วามสำคัญแตกต่างกัน ไปตามลกั ษณะงานเฉพาะอย่าง ซ่ึงได้แก่ 1. ความละเอยี ดแมน่ ยำ คือ สารสนเทศจะต้องมีความละเอียดแม่นยำในการวดั ข้อมูล ใหค้ วามเชือ่ ถือไดส้ งู มี รายละเอยี ดของข้อมูล และแหล่งท่มี าของข้อมูลท่ีถกู ต้อง 2. คุณสมบัตเิ ชงิ ปรมิ าณ คือความสามารถที่จะแสดงออกมาในรูปของตวั เลขได้ และสามารถเปรียบเทียบในเชงิ ปริมาณได้ 3. ความยอมรับได้ คือ ระดับความยอมรบั ไดข้ องกลุ่มผู้ใช้สารสนเทศอย่างเดียวกัน สารสนเทศควรมีลกั ษณะ เดียวกนั ในกลุ่มผูใ้ ช้งาน หรือใกลเ้ คยี งกนั โดยสามารถใชร้ ่วมกันได้ เชน่ การใชเ้ คร่ืองมือเพ่ือวดั คุณภาพการผลิต สินคา้ เคร่อื งมอื ดังกลา่ วจะต้องเป็นทย่ี อมรบั ได้ว่าสามารถวดั ค่าของคณุ ภาพได้อยา่ งถูกตอ้ ง

45 4. การใช้ไดง้ ่าย คือ ความสามารถนำไปใช้งานไดง้ า่ ย สะดวกและรวดเร็ว ทงั้ ในส่วนของผูบ้ รหิ ารและ ผปู้ ฏิบัตงิ าน 5. ความไมล่ ำเอยี ง ซงึ่ หมายถึง ไมเ่ ปน็ สารสนเทศท่ีมจี ุดประสงค์ทจ่ี ะปกปดิ ข้อเทจ็ จรงิ บางอย่าง ซึ่งทำให้ผู้ใช้ เขา้ ใจผดิ ไปจากความเป็นจรงิ หรอื แสดงข้อมูลทผี่ ิดจากความเปน็ จริง 6. ชดั เจน ซึ่งหมายถงึ สารสนเทศจะต้องมีความคลุมเครือน้อยที่สดุ สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย 2.7 บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information) การนำสารสนเทศไปใช้ 3 ดา้ น ดังนี้ (จิตตมิ า เทียมบญุ ประเสรฐิ 2544 : 5) ด้านการวางแผน ด้านการ ตัดสนิ ใจ และ ด้านการดำเนนิ งาน นอกจากนั้น สารสนเทศยังมีบทบาท ในเชงิ เศรษฐกิจ ดังน้ี (ประภาวดี สืบสนธ์ 2543 : 7-8) 1. ช่วยลดความเสยี่ งในการตัดสินใจ (Decision) หรอื ช่วยช้แี นวทางในการแก้ไขปญั หา (Problem Solving) ช่วย หรอื สนับสนนุ การจัดการ (Management) หรือการดำเนนิ งานขององค์การ ใหม้ ีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผลมากขนึ้ 2. ใชท้ ดแทนทรัพยากร (Resources) ทางกายภาพ เชน่ กรณีการเรยี นทางไกล ผูเ้ รยี นทเ่ี รียนนอกห้องเรียน จรงิ สามารถเรยี นรเู้ ร่อื งต่างๆ เช่นเดียวกับ ห้องเรียนจรงิ โดยไมต่ ้องเดินทางไปเรียนที่ห้องเรยี นน้ัน 3. ใช้ในการกำกับ ติดตาม (Monitoring) การปฏบิ ตั งิ านและการตดั สนิ ใจ เพื่อดคู วามกา้ วหนา้ ของงาน 4. สารสนเทศเปน็ ชอ่ งทางโนม้ น้าว หรือชักจงู ใจ (Motivation) ในกรณีของการโฆษณาท่ีทำใหผ้ ชู้ ม, ผฟู้ ัง ตัดสนิ ใจ เลือกสินค้า หรือบริการน้นั 5. สารสนเทศเป็นองคป์ ระกอบสำคัญของการศกึ ษา (Education) สำหรบั การเรียนรู้ ผา่ นสือ่ ประเภทต่างๆ 6. สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสำคญั ทสี่ ่งเสรมิ วฒั นธรรม และสันทนาการ (Culture & Recreation) ใน ด้าน ของการเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้นสารสนเทศเปน็ สนิ ค้าและบริการ (Goods & Services) ท่สี ามารถซ้อื ขายได้ 7. สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่ต้องลงทุน (Investment) จึงจะไดผ้ ลผลติ และบริการ เพื่อเป็นรากฐานของ

46 การ จัดการ และการดำเนนิ งาน 2.8 วิวฒั นาการของสารสนเทศ อดีตมนุษยย์ งั ไมม่ ภี าษาทใี่ ช้สำหรบั การสอ่ื สาร เม่ือเกิดมีเหตกุ ารณ์ (Event) อะไร เกิด ข้ึน ก็ไม่สามารถ ถา่ ยทอด หรอื เผยแพร่แก่บุคคลอ่ืน หรือสงั คมอน่ื ได้ อยา่ งถกู ต้องตรงกัน ระหว่างผู้ส่งสารกบั ผู้รับสาร จงึ มกี ารคิด ใชส้ ัญลักษณ์ (Symbol) หรือเครอ่ื งหมาย ทำหน้าทสี่ ่ือ ความหมายแทนเหตกุ ารณด์ งั กล่าว จึงมกี ารใช้กฎ และสตู ร (Rule & Formulation) มาใช้เพ่ืออธิบายเหตกุ ารณ์ดังกล่าววา่ เกดิ มาจากสาเหตุใด หรอื เกดิ มาจากสารใดผสมกบั สารใด เป็นตน้ จากนนั้ เม่ือ มนุษยม์ ีภาษา สำหรบั การสื่อสารแลว้ ก็เกดิ มขี ้อมูล (Data) เกยี่ วกบั เหตุการณ์ดงั กลา่ ว เกิดขน้ึ มามากมาย ท้งั จากภายในสงั คมเดียวกัน หรือจากสังคมอน่ื ๆ เพ่ือให้ไดค้ ำตอบท่ีถูกต้อง ทำใหต้ ้องมีการ วเิ คราะห์ หรอื ประมวลผล ข้อมลู ใหม้ ีสถานภาพเปน็ สารสนเทศ (Information) ท่ีจะเป็นประโยชนต์ อ่ ผใู้ ช้ หรือ ผบู้ รโิ ภค เม่ือผู้บริโภคมีการสะสม เพิ่มพนู สารสนเทศมากๆเขา้ และมีการเรียนรู้ (Learning) จนเกดิ ความเข้าใจ (Understanding) กจ็ ะเปน็ การพัฒนา สารสนเทศที่มีอยู่ในตนเองเปน็ องค์ความรู้ (Knowledge) เน่ืองจากมนุษย์ เปน็ ผ้ทู ีม่ สี ติ (สมั ปชัญญะ) (Intellect) ร้จู กั ใช้ เหตแุ ละผล (Reasonable) กบั ความร้ทู ี่ตนเองมีอยู่กจ็ ะมีการพัฒนา ความรู้เปน็ ปัญญา (Wisdom) ในทีส่ ุด ดังแสดงได้ ตาม ภาพขา้ งลา่ งน้ี 2.9 สาเหตทุ ่ีทำให้เกดิ สารสนเทศ 1. เม่อื มีวิทยาการความรู้ หรือสง่ิ ประดิษฐ์ หรือผลติ ภณั ฑ์ใหม่ๆ พรอ้ มกนั นน้ั ก็จะเกิด สารสนเทศมา พร้อมๆ กนั ดว้ ย จากนนั้ กจ็ ะมกี ารเผยแพร่ หรือกระจายสารสนเทศ เกีย่ วกับ วทิ ยาการความรู้ หรือส่ิงประดิษฐ์

47 ผลิตภณั ฑ์ ชนดิ นนั้ ๆไปยัง แหลง่ ต่างๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง 2. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เป็นเคร่ืองมอื สำคัญในการผลิตสารสนเทศ เนื่องจากมี ความสะดวกในการ ปอ้ น ขอ้ มลู การปรบั ปรงุ แก้ไข การทำซ้ำ การเพิม่ เตมิ ฯลฯ ทำใหม้ คี วาม สะดวกและงา่ ยตอ่ การผลติ สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีสอ่ื สารยคุ ใหมม่ ีความเร็วในการส่ือสารสูงขนึ้ สามารถเผยแพร่สารสนเทศ จากแหลง่ หนึง่ ไป ยัง สถานทีต่ ่างๆ ทว่ั โลกในเวลาเดยี วกนั กบั เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ จริง อีกท้งั สามารถส่งผา่ นขอ้ มูลได้อย่างหลากหลาย รปู แบบ พร้อมๆ กนั ในเวลาเดยี วกัน 4. เทคโนโลยกี ารพิมพท์ ีม่ ีความสามารถในการผลติ สารสนเทศสงู ข้ึน สามารถผลิตสารสนเทศได้ครงั้ ละ จำนวน มากๆ ในเวลาสั้นๆ มีสีสันเหมือนจริง ทำใหม้ ีปริมาณสารสนเทศใหม่ๆ เกิดขน้ึ อยู่ตลอดเวลา 5. ผูใ้ ช้มคี วามจำเป็นต้องใชส้ ารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา เพ่ือการค้นคว้าวจิ ัย เพ่อื การ พฒั นาคุณภาพชีวติ เพือ่ การ ตัดสนิ ใจ เพื่อการแก้ไขปัญหา เพอื่ การปฏิบตั ิงาน หรอื ปรับปรุง ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน, การ บรหิ ารงาน ฯลฯ 6. ผู้ใชม้ ีความตอ้ งการใช้สารสนเทศ เพอ่ื ตอบสนองความสนใจ ตอ้ งการทราบแหล่งท่ีอยขู่ องสารสนเทศ ตอ้ งการเขา้ ถึงสารสนเทศ ต้องการสารสนเทศที่มาจากตา่ งประเทศ ต้องการสารสนเทศอยา่ งหลากหลาย หรือ ตอ้ งการ สารสนเทศอย่างรวดเร็ว เปน็ ตน้ 2.10 กรรมวิธกี ารจดั การข้อมลู (Datamanipulation) การจดั การขอ้ มูลใหม้ ีคณุ คา่ เปน็ สารสนเทศ กระทำไดโ้ ดยการเปลย่ี นแปลงสถานภาพของข้อมูล ซงึ่ มี วธิ ีการ หรือ กรรมวิธดี งั ตอ่ ไปนี้ (Kroenke and Hatch1994 : 18-20) 1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ทต่ี ้องการจากแหล่งต่างๆ โดยการ เครื่องมอื ช่วยค้นที่เปน็ บัตรรายการ หรอื OPAC แล้วนำตัวเลม่ มาพิจารณาวา่ มีรายการใดท่สี ามารถนำมาใช้ ประโยชน์ได้ 2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเน้อื หาของขอ้ มลู ท่หี ามาได้ ในประเด็น ของ ความถกู ต้องและความแมน่ ยำของเนอื้ หา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรอื แผนท่ี กบั เน้ือหา 3. การจัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ขอ้ มลู (Classifying Data) เมอื่ ผ่านการตรวจสอบความถกู ต้อง สอดคล้องกนั ของเนื้อหาแลว้ นำข้อมูลตา่ งๆ เหล่านน้ั มาแยกออกเปน็ กอง หรอื กลมุ่ ๆ ตามเรอื่ งราวที่ปรากฏใน เนื้อหา 4. จากน้นั ก็นำแต่ละกอง หรือกลุ่ม มาทำการเรยี งลำดบั /เรยี บเรียงขอ้ มูล (Arranging/sorting Data) ให้ เป็นไป ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาว่าจะเริม่ จากหัวขอ้ ใด จากนน้ั ควรเป็นหวั ขอ้ อะไร 5. หากมขี ้อมลู เก่ยี วกบั ตัวเลขจะต้องนำตัวเลขน้ันมาทำการวิเคราะหห์ าค่าทางสถติ ิท่ีเกย่ี วข้อง หรอื ทำการ คำนวณข้อมูล (Calculating Data) ใหไ้ ด้ผลลพั ธอ์ อกเสียก่อน

48 6. หลงั จากน้นั จึงทำการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เนอื้ หาในแต่ละหวั ข้อ 7. เสร็จแล้วทำการจดั เก็บ หรอื บันทกึ ข้อมูล (Storing Data) ลงในส่ือประเภทต่างๆ เชน่ ทำเปน็ รายงาน หนังสอื บทความตีพิมพใ์ นวารสาร หนงั สอื พมิ พ์ หรือลงในฐานข้อมลู คอมพวิ เตอร์ (แผ่นดสิ ก์ ซีดี-รอม ฯลฯ) 8. จัดทำระบบการค้นคืน เพื่อความสะดวกในการจัดเกบ็ และค้นคนื สารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้ จดั เกบ็ และค้นคนื สารสนเทศอย่างถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็ว และตรงกบั ความต้อง 9. ในการประมวลผลเพือ่ ให้ไดม้ าซ่งึ สารสนเทศ จกั ต้องมีการสำเนาขอ้ มลู (Reproducing Data) เพ่อื ป้องกนั ความเสยี หายที่อาจเกิดขึ้นกบั ข้อมลู ท้งั จากสาเหตุทางกายภาพ และระบบการจดั เกบ็ ข้อมลู 10. จากนน้ั จึงทำการการเผยแพร่ หรอื สือ่ สาร หรือกระจายข้อมลู (Communicating/disseminating Data) เพือ่ ใหผ้ ลลพั ธท์ ไ่ี ด้ถึงยังผูร้ บั หรอื ผ้ทู ีเ่ ก่ียวข้อง การจัดการข้อมลู ใหม้ สี ถานภาพเป็นสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเป็นจริงแล้วไม่ จำเป็นท่ี จะต้องทำครบ ทั้ง 10 วิธีการ การท่ีจะทำก่ีข้ันตอนนน้ั ขึน้ อยกู่ ับ ขอ้ มูลทีน่ ำเข้ามาในระบบการ ประมวลผล หากข้อมลู ผา่ น ข้ันตอน ที่ 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทำขัน้ ตอนที่ 3 ตอ่ ไปไดท้ ันที แต่ อย่างไรก็ตามการให้ไดม้ าซึ่งผลลัพธท์ ่ีมี คุณคา่ จกั ต้องทำตามลำดับดงั กล่าวข้างต้น ไมค่ วรทำขา้ มข้นั ตอน ยกเว้น ขั้นตอนท่ี 5 และข้ันตอนท่ี 6 กรณีทเี่ ป็นข้อมูล เกีย่ วกับตวั เลขก็ทำขั้นตอนที่ 5 หากข้อมูลไม่ใชต่ ัวเลขอาจจะข้าม ขัน้ ตอนท่ี 5 ไปทำข้ันตอนท่ี 6 ได้เลย เปน็ ต้น ผลลัพธ์ หรอื ผลผลิตทไ่ี ดจ้ ากการประมวลผล หรอื กรรมวิธจี ัดการ ขอ้ มลู ปรากฏแกส่ ังคมในรปู ของส่ือประเภทตา่ งๆ เช่น เปน็ หนังสอื วารสาร หนังสอื พมิ พ์ ซดี ี-รอม สไลด์ แผ่นใส แผนที่ เทปคลาสเซท ฯลฯ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามไม่ได้หมายความว่า ผลผลิต หรือผลลัพธ์น้ันจะมสี ถานภาพเปน็ สารสนเทศเสมอไป 2.11 หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผลลัพธ์ หรือผลผลิต (Criterias to Evaluated Outputs) ขอ้ มูลของบางคนอาจเป็นสารสนเทศสำหรับอีกคนหนงึ่ (Nickerson 1998 : 11) การที่จะบง่ บอกวา่ ผลผลติ หรือ ผลลัพธม์ คี ุณคา่ หรอื สถานภาพเปน็ สารสนเทศ หรือไม่น้นั เราใช้หลักเกณฑต์ อ่ ไปน้ปี ระกอบการ พิจารณา 1. ความถูกต้อง (Accuracy) ของผลผลติ หรือผลลัพธ์ 2. ตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevance/pertinent) 3. ทันกับความตอ้ งการ (Timeliness) การพจิ ารณาความถูกต้องดูที่เนอ้ื หา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากข้ันตอนของการประมวลผล

49 (Process; verifying, calculating) ข้อมลู สำหรับการตรงกบั ความต้องการ หรือทนั กับความตอ้ งการ มผี ู้ใช้ ผลผลิตเปน็ เกณฑใ์ นการพจิ ารณา หากผ้ใู ชเ้ หน็ วา่ ผลผลติ ตรงกบั ความต้องการ หรือผลผลิตสามารถตอบปญั หา หรือแก้ไขปญั หา ของผใู้ ช้ได้ และสามารถเรยี กมาใช้ได้ในเวลาท่ีเขาตอ้ งการ (ทนั ตอ่ ความต้องการใช้) เราจงึ จะสรุป ได้ว่า ผลผลิต หรือ ผลลัพธ์นนั้ มีสถานภาพ เป็นสารสนเทศคุณภาพ หรอื คุณค่าของสารสนเทศ ขน้ึ อยกู่ ับข้อมลู (Data) ทนี่ ำเข้ามา (Input) หากข้อมูลทนี่ ำเขา้ มาประมวลผล เปน็ ข้อมลู ทดี่ ี ผลลัพธท์ ่ีได้ก็จะมีคุณภาพดี หรือมี คุณคา่ ผใู้ ช้หรือผ้บู ริโภคสามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ได้ แตห่ ากขอ้ มลู ที่ นำเข้ามาประมวลผลไม่ดี ผลผลติ หรือ ผลลพั ธก์ จ็ ะมคี ุณภาพไมด่ ี หรือไม่มคี ุณค่า สมด่ังกบั วลที ่วี า่ GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความว่า ถ้า นำขยะเข้ามา ผลผลติ (ส่ิงที่ไดอ้ อกไป) ก็คือขยะน่ันเอง 2.12 ความสำคัญของสารสนเทศท่ดี ี สารสนเทศแทจ้ ริงแลว้ ย่อมมีความสำคัญตอ่ ทุกสิ่งที่เก่ียวขอ้ ง เช่น ดา้ นการเมือง การปกครอง ดา้ นการศกึ ษา ดา้ น เศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ฯลฯ ในลกั ษณะดังต่อไปนี้ 1. ทำใหผ้ ูบ้ รโิ ภคสารสนเทศเกิดความรู้ (Knowledge) และความเขา้ ใจ (Understanding) ในเรอื่ งดังกลา่ ว ข้างตน้ 2. เม่อื เรารแู้ ละเข้าใจในเรื่องทเ่ี ก่ียวขอ้ งแลว้ สารสนเทศจะชว่ ยให้เราสามารถตดั สินใจ (Decision Making) ใน เร่อื งตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. นอกจากน้ันสารสนเทศ ยงั สามารถทำใหเ้ ราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ทเ่ี กิดขน้ึ ไดอ้ ย่าง ถกู ต้อง แม่นยำ และรวดเรว็ ทนั เวลากับสถานการณต์ ่างๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ 2.13 คุณภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) คณุ ภาพของสารสนเทศ จะมีคุณภาพสูงมาก หรือนอ้ ย พิจารณาท่ี 3 ประเด็น ดังน้ี (Bentley 1998 : 58-59)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook