Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 3 ประวัติฯเพลงช้า และนาฏยศัพท์

เล่ม 3 ประวัติฯเพลงช้า และนาฏยศัพท์

Published by เกณิกา วงศ์นรินทร์, 2022-07-11 07:31:27

Description: เล่ม 3 ประวัติฯเพลงช้า และนาฏยศัพท์

Search

Read the Text Version

ชดุ ฝึกทักษะการปฏบิ ตั ทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ โดย นายสุทธเิ ขต ขุนเณร ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการ วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอ้ ยเอด็ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม

ชุดฝกึ ทักษะการปฏิบตั ทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ โดย นายสุทธเิ ขต ขุนเณร ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการ วิทยาลยั นาฏศลิ ปร้อยเอ็ด สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม

คานา ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอนใน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชานาฏศิลป์ไทยโขนพระ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาชีพนาฏศิลป์ไทยโขน จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการพฒั นาทักษะการปฏิบัตทิ ่าราเพลงชา้ ของนักเรียนโขนพระ โดยเน้น ผู้เรียนเปน็ สาคัญ ม่งุ พัฒนาผลสัมฤทธแ์ิ ละสมรรถภาพการปฏิบัติทา่ ราเพลงชา้ ของนักเรียนให้สอดคล้องกับ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะทางวิชาชีพ และสามารนาไปใช้ได้ อย่างถกู ตอ้ งตามแบบแผน ซง่ึ ชดุ แบบฝึกทกั ษะนน้ี กั เรยี นสามารถนาไปใชใ้ นเวลาเรยี น หรอื ใชใ้ นการแสวงหา ความรูน้ อกเวลาเรยี นไดต้ ามความต้องการของนักเรยี น ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) ประกอบด้วยชดุ ฝกึ จานวน ๔ เล่ม ดงั น้ี เล่มท่ี ๑ ความรูท้ ่วั ไปเกยี่ วกบั โขน เลม่ ที่ ๒ การฝึกหดั เบื้องตน้ เล่มท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ เลม่ ท่ี ๔ กระบวนทา่ ราเพลงชา้ สาหรับชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) ข้าพเจ้าได้เรียบเรียงเพื่อให้ง่ายต่อ การจดจา และสะดวกในการเรียนการสอน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชดุ แบบฝึกทักษะชดุ นี้ จะสามารถทา ให้นักเรียนได้ฝึกฝนตนเองได้อย่างเต็มความสามารถ ตลอดจนได้ประโยชน์ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการปฏิบตั ิ ทา่ ราของตนเอง และสามารถนาไปต่อยอดในการเรยี นทางวิชาชีพขนั้ สูงไดต้ อ่ ไป สทุ ธเิ ขต ขนุ เณร

สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คาช้แี จง (ก) คาแนะนาสาหรับครผู สู้ อน ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) (ข) เล่มท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ คาแนะนาสาหรับนักเรยี น ชุดฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) (ค) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (ง) สาระที่ ๒ ราพ้นื ฐาน แมท่ ่า แบบทดสอบกอ่ นบทเรียน ๑ ชุดฝกึ ทักษะการปฏบิ ัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นบทเรยี น ๓ ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบตั ิทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ)เล่มท่ี ๓ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ ๔ ๑. ความสาคัญของเพลงช้า ๔ ๒. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการราเพลงช้า ๖ ๓. ประโยชน์ของการราเพลงชา้ ๘ ๔. บทรอ้ งและทานองเพลงชา้ ๙ ๕. เคร่อื งดนตรีทใี่ ชบ้ รรเลงประกอบการราเพลงช้า ๑๑ ๖. การแตง่ กาย ๑๔ ๗. โอกาสท่นี าไปใช้ ๑๕ ๘. นาฏยศพั ท์ ๑๕ เกร็ดความรเู้ พ่มิ เติม เรือ่ ง ผลงานครูอาคม สายาคม บุคคลสาคัญทางนาฏศลิ ปไ์ ทย (โขนพระ) ๓๗ ชุดฝึกทักษะการฝึกปฏิบัติทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) ๔๐ เลม่ ที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ ชดุ ที่ ๑ ชดุ ฝกึ ทักษะการฝกึ ปฏบิ ตั ิทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) ๔๑ เล่มท่ี ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ ชุดท่ี ๒

สารบญั (ต่อ) เรือ่ ง หนา้ แบบทดสอบหลงั เรียน ๔๓ ชุดฝึกทักษะการฝึกปฏิบัติทา่ ราเพลงช้า(โขนพระ)เล่มท่ี ๓ประวตั ิความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลงั เรียน ๔๕ ชดุ ฝึกทกั ษะการฝกึ ปฏบิ ัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ)เล่มที่ ๓ประวัติความเปน็ มาเพลงช้าและนาฏยศพั ท์ เฉลยชุดฝึกทกั ษะการปฏิบตั ิทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) ๔๖ เล่มท่ี ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ ชดุ ท่ี ๑ เฉลยชดุ ฝึกทกั ษะการปฏบิ ัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) ๔๗ เล่มท่ี ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ ชุดที่ ๒ เฉลยคาตอบ แบบทดสอบ – หลังเรยี น ๔๙ ชุดฝึกทักษะการฝึกปฏบิ ตั ิท่าราเพลงช้า(โขนพระ)เล่มที่ ๓ประวัติความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ บรรณานกุ รม ๕๐ ประวัติผูจ้ ดั ทา ๕๑

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ ๑๐ ๑๗ ๑ เปรยี บเทียบจังหวะหนา้ ทับปรบไก่ ๑๘ ๒ นาฏยศัพทพ์ ้ืนฐานในลักษณะท่าน่ิงและท่าเคลือ่ นไหว ๓ นาฏยศพั ทท์ ใ่ี ชส้ าหรับการแสดง

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ ๑ วงปี่พาทย์เคร่ืองหา้ ๑๑ ๒ วงปี่พาทย์เครื่องคู่ ๑๒ ๓ วงปีพ่ าทยเ์ คร่ืองใหญ่ ๑๓ ๔ การแต่งกายยืนเครอ่ื งพระ ๑๔ ๕ การเอียงศีรษะ ๑๙ ๖ การลกั คอ ๑๙ ๗ การตีไหล่ ๒๐ ๘ การตัง้ มอื ๒๐ ๙ การตั้งวงบน ๒๑ ๑๐ การตั้งวงกลาง ๒๑ ๑๑ การต้งั วงหน้า ๒๒ ๑๒ การตั้งวงล่าง ๒๒ ๑๓ การจบี หงาย ๒๓ ๑๔ การจีบควา่ ๒๓ ๑๕ การลอ่ แก้ว ๒๔ ๑๖ การตะแคงมอื ๒๕ ๑๗ การบดมอื ๒๕ ๑๘ การสา่ ยมอื เดย่ี ว ๒๖ ๑๙ การสา่ ยสองมอื ๒๖ ๒๐ การคลายจีบ ๒๗ ๒๑ การม้วนจบี ๒๗ ๒๒ การนั่งกระทบ ๒๘ ๒๓ การย้อนตัว ๒๙ ๒๔ การประสมเทา้ ๒๙ ๒๕ การเหล่อื มเท้า ๓๐ ๒๖ การประเท้า ๓๐

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ ๓๑ ๓๑ ๒๗ การยกเทา้ ๓๒ ๒๘ การก้าวหน้า ๓๓ ๒๙ การกระทุง้ เทา้ - กระตกุ เท้า ๓๔ ๓๐ การก้าวขา้ ง ๓๔ ๓๑ การตบเทา้ ๓๕ ๓๒ การฉายเทา้ ๓๕ ๓๓ การจรดเท้า ๓๖ ๓๔ การขยัน่ เทา้ ๓๕ การเกบ็

ชดุ ฝกึ ทักษะการปฏบิ ัติท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ (ก) คาช้แี จง ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ เป็นเอกสารประกอบการสอนในการนาเสนอเนื้อหาอัน เป็นความรู้พื้นฐานของเพลงช้า และนาฏยศัพท์ท่ีใช้ประกอบการราเพลงช้า มุ่งหวังให้นักเรียนได้ พัฒนาทักษะทางวิชาชีพนาฏศิลป์ไทย (โขน) ด้านทฤษฎี และปฏิบัติให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถคิด วิเคราะห์ และนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามแบบแผน สาหรับเอกสารประกอบการสอนเล่มที่ ๓ น้ี มีจุดประสงค์การสร้างชุดแบบฝึกทักษะ คือ ใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนในรายวิชานาฏศิลป์ไทยโขน และเป็นแนวทางในการวัด ประเมินผลตรงตามหลักสูตรของวิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ใน สาระที่ ๒ (ราพ้ืนฐาน แม่ท่า) โดยประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน และชุดกิจกรรมเสริม ทักษะท่ีปรากฏท้ายเล่ม ท้ังน้ีได้มีคาแนะนาสาหรับครูผู้สอน และคาแนะนาสาหรับนักเรียนในการใช้ เอกสารประกอบการสอนน้ี

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบตั ิท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ (ข) คาแนะนาสาหรบั ครผู สู้ อน ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ ๑. ครผู ู้สอนศกึ ษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ของ หลักสูตรสถานศึกษา ในรายวิชานาฏศิลป์ไทยโขน ๑ รหัส ศ ๒๑๒๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ครูผู้สอน ศึกษาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) และจัดเตรียมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการ เรยี นรู้ ๒. ครูผู้สอนอธิบายรายละเอียดรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ และ จดุ ประสงค์การเรียนรู้เพอ่ื ให้นักเรยี นทราบแนวทางของการเรยี นการสอน ๓. ครผู สู้ อนใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนจานวน 10 ข้อ (10 คะแนน) ใชเ้ วลา ๑๕ นาที ๔. ครูผู้สอนนาความรู้จากชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัติความเป็นมา เพลงช้า และนาฏยศัพท์ มาทาการอธิบายด้วยการแจกเอกสารเป็นใบความรู้ด้วยไฟล์ Word และให้ นกั เรียนศึกษาความรูต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ ๕. ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) ในเล่มท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ มีชุดกิจกรรมเสริมทักษะ จานวน ๒ ชุด โดยครูผู้สอนเน้นให้นักเรียนทากิจกรรมเสริมทักษะชุดที่ ๑ และ ชดุ ท่ี ๒ ท้ายเลม่ ให้เรียบรอ้ ย จากนั้นให้ครผู สู้ อนเฉลยชุดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะพร้อมท้งั อธบิ ายประกอบ ๖. ครูผู้สอนให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ โดยครูผู้สอนสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนในการทาแบบทดสอบ เมื่อครบเวลา ๑๕ นาทีให้ครูผู้สอนเฉลยแบบทดสอบ จากนั้น ครผู ู้สอนและนักเรียนสรปุ ความร้ใู นห้องเรียนพร้อมกนั ๗. ครูผู้สอนบันทึกผลคะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อดูความก้าวหน้าและ พัฒนาการของนักเรียน ๘. ในกรณีทีน่ ักเรียนมีผลคะแนนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ให้ครูผสู้ อนทาการสอนซ่อมเสริมโดยให้นักเรียนทา แบบทดสอบจนกว่านักเรยี นจะมีผลคะแนนผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ๙. หลังจากจบการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดไว้ ครูผู้สอนให้นักเรียนเสนอแนะเกี่ยวกับเนื้อหา กจิ กรรมเสริมทักษะ และแบบทดสอบ เพ่อื เป็นข้อมูลในการนาไปปรบั ปรุงและพัฒนาให้เหมาะสมย่ิงขึน้ ๑๐. ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ สามารถให้นักเรียนศึกษาเนื้อหานอกเวลาเรียนได้ เพ่ือสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน ทีม่ ีเวลาจากัด

ชดุ ฝึกทักษะการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ (ค) คาแนะนาสาหรบั นกั เรยี น ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ ๑. นักเรียนฟงั คาอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ และ จดุ ประสงค์การเรียนรเู้ พอ่ื ใหท้ ราบแนวทางของการเรียนการสอน ๒. ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ข้อ (10 คะแนน) ภายในเวลา ๑๕ นาที ๓. ให้นกั เรยี นศกึ ษาใบความรูจ้ ากเอกสารที่ได้รับจากครูผู้สอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ทีค่ รูผู้สอน กาหนดไว้ ๔. ให้นกั เรียนทาชดุ กิจกรรมเสริมทักษะ ชุดท่ี ๑ และชุดท่ี ๒ ตามกาหนดการสอนในแผนการจัดการ เรียนรู้ จากนั้นฟังคาเฉลยและคาอธิบายจากครผู สู้ อน ๕. เมอื่ นักเรียนทาชดุ กจิ กรรมเสริมทกั ษะทง้ั ๒ ชดุ เรยี บร้อยแลว้ ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน ๑๐ ขอ้ (๑๐ คะแนน) ภายในเวลา ๑๕ นาที จากนน้ั ฟังคาเฉลยจากครผู ูส้ อน ๖. นักเรียนและครูผ้สู อนสรุปความรูท้ ไี่ ดร้ ับจากชดุ ฝกึ ทกั ษะฯ เลม่ ท่ี ๓ เพลงชา้ และนาฏยศัพท์ ๗. ในกรณที ่ีนกั เรยี นมผี ลคะแนนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินให้นกั เรยี นมาซ่อมเสริมตามเวลานดั หมาย กับครูผสู้ อน จนกว่าจะมีผลคะแนนผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๘. นักเรียนสามารถศกึ ษาชดุ ฝึกทกั ษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มา เพลงช้า และนาฏยศัพท์ มาก่อนล่วงหน้าหรือศึกษานอกเวลาได้ด้วยตนเองเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ และจดจาเนอื้ หาได้ดียิง่ ขึน้

ชดุ ฝึกทักษะการปฏิบัติทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ (ง) มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระที่ ๒ ราพน้ื ฐาน แมท่ ่า  ศ ๒.๑ ความรคู้ วามเข้าใจสามารถอธิบายประวัตคิ วามเป็นมาองค์ประกอบและประโยชนข์ องการ ฝกึ ปฏบิ ตั ริ าพื้นฐาน/แม่ท่า ม.๑/๑ อธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มาของการราเพลงช้า ม.๑/๒ ระบุองค์ประกอบของการราเพลงชา้ ม.๑/๓ อธบิ ายประโยชนข์ องการฝึกปฏิบตั กิ ารราเพลงชา้  ศ ๒.๒ มีทักษะในการปฏิบัตริ าพน้ื ฐาน/แม่ทา่ ไดอ้ ย่างถูกต้อง ตามแบบแผน ม.๑/๑ ออกเสียงตามจงั หวะหน้าทับปรบไก่ ม.๑/๒ รอ้ งทานองเพลงสร้อยสนได้ถกู ตอ้ ง ม.๑/๓ ปฏบิ ัตทิ ่าราเพลงชา้ ไดถ้ กู ต้องตามแบบแผน สาระการเรยี นรู้ ศ.๒.๑ ศ.๒.๒ (ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓) (ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓) • ประวตั คิ วามเป็นมาของการราเพลงชา้ • จงั หวะหน้าทับปรบไก่ • องค์ประกอบของการราเพลงชา้ • ทานองเพลงสร้อยสน • ประโยชนข์ องการฝึกปฏิบัตกิ ารราเพลงช้า • ท่าราเพลงชา้

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบตั ิท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๑ แบบทดสอบก่อนเรียน ชดุ ฝึกทกั ษะการปฏิบตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ ชอ่ื สกุล ชัน้ เลขที่ คาชแ้ี จง ๑. แบบทดสอบชดุ นี้เปน็ แบบปรนัย ๔ ตวั เลือก จานวน ๑๐ ข้อ (ข้อละ ๑ คะแนน) ๒. จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดียวแล้ว X ลงในกระดาษคาตอบ ๑. สมยั โบราณเรียกการราเพลงชา้ อกี ช่อื หนึ่งว่าอยา่ งไร ก. เพลงรา ข. ราเพลง ค. ราใชบ้ ท ง. เพลงแมล่ ูกอ่อน ๒. เพลงชา้ นอกจากจะใชเ้ ป็นเพลงหนา้ พาทยท์ บ่ี รรเลงอนั เชญิ ครโู ขน – ละคร (ตวั พระและตัวนาง) ลงมาในพิธีไหว้ครแู ล้ว ยังเชิญใครได้อกี บ้าง ก. นางฟา้ ข. พระอนิ ทร์ ค. พระนารายณ์ ง. เทพเทวดา ๓. ใครเปน็ ผ้ไู ด้รับการฝกึ หัดและนาท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) มาถ่ายทอดให้กบั โรงเรยี นศิลปากร แผนกนาฏดรุ ิยางคศลิ ป์ ซง่ึ ปจั จบุ ันคอื วิทยาลัยนาฏศิลป ก. คณุ ครูลมลุ ยมะคปุ ต์ ข. คณุ ครูธนติ อยู่โพธ์ิ ค. คณุ ครูอาคม สายาคม ง. พระยานัฏภานรุ ักษ์ (ทองดี สวุ รรณภารต) ๔. ทา่ ราเพลงชา้ ท่ีบรรจุในหลักสตู รของวิทยาลัยนาฏศลิ ปไดร้ ับการสืบทอดมาจากที่ไหน ก. วังหนา้ ข. วังบูรพา ค. วงั ทา่ พระ ง. วังสวนกหุ ลาบ ๕. การรอ้ งจังหวะ “จะ โจ้ง จะ ทิง โจง้ ทงิ ” มตี ้นกาเนิดมาจากเสยี งร้องของลูกคู่ในการร้องเพลง พนื้ เมือง คอื เพลงอะไร ก. เพลงฉ่า ข. เพลงโคราช ค. เพลงปรบไก่ ง. เพลงแมศ่ รี ๖. ข้อใดคอื นาฏยศพั ท์ทีใ่ ชส้ าหรับการแสดงโขนของตัวพระ ก. หย่อง ข. แจกไม้ ค. จบั สามเส้า ง. กระทืบฟนั ๗. หากวิชาต้องการฝกึ การเปลีย่ นถา่ ยน้าหนักตวั ในลักษณะกา้ วข้าง วชิ าต้องปฏบิ ตั ินาฏยศัพทใ์ ด ก. ใชต้ ัว ข. โยต้ ัว ค. ย้อนตวั ง. ยกั ตวั

ชุดฝกึ ทักษะการปฏบิ ตั ทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หน้า ๒ ๘. การยืนดว้ ยเท้าขา้ งใดข้างหนึ่ง ส่วนอกี ข้างหน่งึ เปดิ ปลายเทา้ เฉียงออกไปด้านข้างวางใหส้ น้ เท้าอยู่ ระดับเดยี วกนั กบั ฝ่าเท้าของขาขา้ งที่ยืน ตึงนวิ้ เท้าทงั้ ห้านิ้ว ยอ่ เขา่ ท้ังสองลง เป็นการปฏบิ ตั นิ าฏย ศพั ท์ทา่ ใด ก. เหลอ่ื มเท้า ข. จรดเท้า ค. กระดกเท้า ง. ประสมเท้า ๙. ต้งั วง เปน็ ชอ่ื นาฏยศัพท์ที่ถูกเรียกตามลักษณะอวยั วะสว่ นใด ก. นว้ิ มอื ข. ฝ่ามอื ค. ลาแขน ง. ข้อศอก ๑๐. นาฏยศพั ท์ข้อใดไม่ใช่นาฏยศัพทใ์ นการเคลื่อนไหว ก. หม่ เขา่ ข. วาดแขน ค. แทงมอื ง. เหลื่อมเทา้

ชดุ ฝึกทักษะการปฏิบตั ทิ ่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หนา้ ๓ กระดาษคาตอบ ๑๐ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ ชอ่ื สกุล ช้ัน เลขท่ี ขอ้ ก ข ค ง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ชุดฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หน้า ๔ ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ ่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยของตัวพระแบบโขนหลวง และละครหลวง ในข้ันต้นจะเป็นการ วางรากฐานที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยเร่ิมจากการฝึกหัดเบื้องต้น การราเพลงช้าเพลงเร็ว การรา แม่บท จนไปสู่การแสดงเบ็ดเตล็ด และการแสดงเป็นเร่ืองราว ตามลาดับ ซึ่งการการฝึกหัดโขน – ละคร สังเกตวา่ ครูผ้สู อนจะใหค้ วามสาคัญกบั การฝึกราเพลงชา้ เพลงเรว็ เปน็ อย่างมาก เนื่องจากการรา เพลงช้าเพลงเร็วเป็นการฝึกทักษะทางด้านกระบวนท่าราให้ผู้เรียนได้รู้จักและเกิดความเข้าใจในหลัก ปฏบิ ตั ทิ ่าราโดยตรงแล้ว ยงั ให้ประโยชนท์ างออ้ มหลายประการ อกี ทง้ั ผู้เรียนจะมีลีลาร่ายราทส่ี วยงาม มากน้อยเพยี งใด การฝึกหดั เพลงช้าเพลงเรว็ สามารถเปน็ บทเรยี นทช่ี ่วยพฒั นาทักษะของผู้เรียนไดเ้ ป็น อยา่ งดี เอกสารประกอบการสอนเลม่ ท่ี ๓ นี้ จงึ นาเสนอเนื้อหาเกีย่ วกับเพลงช้า เพื่อให้ทราบถึงความ เปน็ มาของเพลงช้า องคป์ ระกอบต่างๆ และนาฏยศัพท์ท่ใี ช้ในการราเพลงชา้ ดงั หวั ข้อต่อไปน้ี ๑. ความสาคญั ของเพลงช้า ๒. ประวัตคิ วามเป็นมาของการราเพลงช้า ๓. ประโยชน์ของการราเพลงชา้ ๔. บทร้องและทานองเพลงชา้ ๕. เครือ่ งดนตรที ใ่ี ช้ประกอบการบรรเลงเพลงช้า ๖. การแต่งกาย ๗. โอกาสท่ีนาไปใช้ ๘. นาฏยศพั ทพ์ ืน้ ฐานท่ใี ชใ้ นการราเพลงชา้ ๑. ความสาคญั ของเพลงช้า เพลงช้า เป็นเพลงหน้าพาทย์ชนิดหนึ่งที่ประกอบอยู่ในพิธีไหว้ครู โดยใช้เป็นเพลงบรรเลง อันเชิญครูโขน – ละคร (ตัวพระและตัวนาง) เทพเทวดา เข้ามาร่วมอยู่ในพิธี ต่อมาจึงได้นามาใช้ใน การฝกึ นาฏศลิ ป์ไทยเบ้ืองต้นใหก้ บั ตัวพระตวั นางของโขนหลวง และละครหลวง ในการราเพลงช้า หรือครูโบราณเรียกว่า “ราเพลง” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ ยาดารงราชานุภาพได้กล่าวถึงท่ารา “ราเพลง” ว่า “การฟ้อนราเป็นหลักของวิชาละคร (รา) เพราะฉะน้ันผู้เป็นครูบาอาจารย์แต่ก่อนจึงคิดแบบราเป็นท่าต่างๆ ตั้งช่ือบัญญัติไว้ให้เรียกเป็นตารา แล้วคิดร้อยกรองท่าราต่างๆ นั้นเข้ากระบวนสาหรับท่ารา เข้ากับเพลงป่ีพาทย์เรียกว่า “ราเพลง” อย่างหน่ึง ส่วนอีกอย่างหนึ่งสาหรับราเข้ากับบทร้องเรียกว่า “ราใช้บท” บรรดาผู้จะฝึกหัดเป็นละคร ต้องฝึกหัดกันตั้งแต่ยังเด็ก ครูใหห้ ัดราเพลงกอ่ นแล้วจงึ หัดราใช้บท เมอ่ื ราไดแ้ ล้วครูจึง “ครอบ”ให้ คือ อนุญาตให้เล่นละครแต่น้ันไป จึงนับว่าเป็นละคร” (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารง ราชานภุ าพ, ๒๕๐๗, น. 56 – 57) นอกจากนี้ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ลักษณ์ ศรีเพ็ญ ไดก้ ล่าวถึงการราเพลง วา่ การรา เพลง คือ การราในเพลงท่มี ีกาหนดทา่ ราไวอ้ ย่างชดั เจน ซึ่งส่วนมากจะเป็นเพลงหน้าพาทย์ ใช้สาหรับ ในการฝึกหัดเบ้ืองตน้ ของนักเรียนนาฏศิลป์ ไดแ้ ก่ เพลงช้า เพลงเร็ว ซึ่งท่าราเพลงในเพลงช้าเพลงเร็ว

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบัตทิ ่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัตคิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หนา้ ๕ ของตัวพระและตัวนางน้ันจะไม่เหมือนกัน ดังนั้นเพลงช้าเพลงเร็วจึงถือเป็นแม่ท่าและเป็นต้นแบบใน การาตบี ท และราเพลงอ่นื ๆ ตอ่ ไป (อนงคล์ ักษณ์ ศรเี พ็ญ, ๒๕๕๖, น. ๑๓) จากข้อความขา้ งตน้ ทีไ่ ด้กล่าวถึงการราเพลงแล้ว ยงั มคี รูอาจารย์ในวงการนาฏศิลปไ์ ดน้ ิยาม ความสาคญั ของ “เพลงชา้ ” ไวด้ ังนี้ นายอาคม สายาคม กล่าวว่า “ถ้าจะเอาราดีกัน ข้าพเจ้าเห็นว่าควรจะฝึกหัดรา ตั้งแต่ เพลงชา้ เพราะในท่าราเพลงช้านีท้ ่านปรมาจารย์ทางดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ด้ประดิษฐ์ร้อยกรองรวบรวมทา่ รา ต่างๆ ไว้เป็นจานวนมาก มีท้ังแม่ท่า สร้อยท่า และเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย หรือเกือบจะเรียกได้ว่า เป็น หัวใจของการราละครไทยเลยทีเดียวก็ว่าได้ เพราะท่าราต่างๆ ท่ีท่านผู้รู้ได้นามาดัดแปลงเป็นระบา บ้าง เป็นท่าอวยพรบ้างและท่าอื่นๆ อีกเป็นจานวนมาก โดยมากจะมีท่าราอยู่ในเพลงช้าแทบท้ังสิ้น การราเพลงชา้ จึงเปน็ ส่ิงสาคัญสาหรับนกั ราทด่ี ี” (อาคม สายาคม, ๒๕๒๔, น. ๑๔) นางสุวรรณี ชลานุเคราะห์ กล่าววา่ “ท่าราต่างๆ ในเพลงช้าเหล่านี้ล้วนแล้วแตเ่ ปน็ ท่า แม่บท หรืออาจเรียกง่ายๆ ว่าเป็น “แม่ท่า” ของกระบวนการราของละครไทยไม่ว่าจะเป็นการแสดง ละครไทยเรื่องใดๆ และไม่ว่าจะมีบทบาทแสดงเป็นตัวพระเอก นางเอก ผู้ร้าย นางร้าย พระรอง นางรอง ตัวพ่อ ตัวแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือพญามหากษัตริย์ เรื่อยไปจนถึงยาจกขอทาน ไม่มีบทไหน เลยท่ีจะหนที า่ ราในเพลงชา้ ไปได้ (ธนติ อย่โู พธ์ิ, ๒๕๓๑, น. ๑๗๓) นายไพฑูรย์ เข้มแข็ง กล่าวว่า การราเพลงช้า คือ การฝึกหัดข้ันพนื้ ฐานเก่ียวกับท่าราที่ เป็นแบบแผนนาฏศิลป์ไทยโขน –ละครของตัวพระและตัวนาง ท่ีได้รับการยอมรับในวงการนาฏศิลป์ ว่าเป็นท่าท่ีถูกต้องและสามารถใช้ปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกันได้ ในการฝึกหัดเพลงช้าหากมีการ ปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองซ้าๆ กันอย่างสม่าเสมอ จะทาให้เป็นการพัฒนาทักษะของตนเอง และก่อให้เกิด ประโยชน์หลายๆ อย่างตามมาอีกมาก เช่น มีสติ สมาธิ มีความเข็งแรง เป็นต้น นอกจากน้ีท่าราใน เพลงช้าเพลงเร็วส่วนใหญ่ครูอาจารย์หลายๆท่าน จะนาไปเปน็ ต้นแบบในการประดิษฐ์ท่าราให้กับการ แสดงรา หรือระบาชุดต่างๆ จึงกล่าวได้ว่า ท่าราเพลงช้าเพลงเร็วเป็นพื้นฐานท่าราในการแสดง สรา้ งสรรค์นาฏศิลป์ไทยชุดใหม่ๆ ด้วย (ไพฑูรย์ เขม็ แข็ง, 2560) นายวรี ะชยั มบี อ่ ทรพั ย์ กล่าววา่ หัวใจสาคัญของการฝึกหดั โขนพระ คือ การราเพลงชา้ เพลงเร็ว เพราะเพลงช้าเพลงเร็วเป็นบทเรียนที่ฝึกให้ผู้เรียนเริ่มรู้จักจังหวะและการเคล่ือนไหวอวัยวะ ในการราให้มีความสอดคล้องกันในทุกๆ ส่วน และสอดแทรกนาฏยศัพท์พ้ืนฐานท่ีใช้ประกอบการรา หมายความว่า ในการราเพลงช้าเพลงเร็ว มีพ้ืนฐานของกระบวนการราไว้ในบทเรียน เพ่ือจะนาไปใช้ ตอ่ ยอดในบทเรียนอน่ื ๆ ตอ่ ไป (วรี ะชัย มบี ่อทรัพย,์ ๒๕๖๐) นายสัจจะ ภู่แพ่งสุทธ์ิ กล่าวว่า การราเพลงช้า เป็นการฝึกหัดอันดับแรกของการเรียน นาฏศิลปไ์ ทย ผู้เรียนโขนพระตอ้ งผ่านการฝึกหัดราเพลงช้าเพลงเร็วจนเกิดความแม่นยาจึงจะสามารถ ข้ามไปเรียนในบทเรียนอื่นๆ ได้ ดังน้ันผู้ที่จะไปเป็นพระราม หรือพระเอกของการแสดงโขน จาเป็นต้องฝึกหัดท่าราเพลงช้าเพลงเร็วให้เกิดความคล่องแคล่ว จดจาได้ดี และเคล่ือนไหวท่าราได้ อยา่ งต่อเน่ืองไม่มตี ิดขัด และพฒั นาท่าราด้วยการรู้จกั แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของตนเองให้ถูกหลักวธิ กี ารใน ระหวา่ งรา จะทาให้เปน็ ผทู้ ่รี างามตามแบบแผนตวั โขนพระ (สจั จะ ภูแ่ พง่ สทุ ธ์ิ, ๒๕๖๐)

ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หน้า ๖ สรุปได้ว่า เพลงช้า หรือราเพลง เป็นเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ประกอบพิธีไหว้ครูเพ่ืออันเชิญ ครูพระ ครูนาง เทพเทวดา เข้ามาร่วมในพธิ ี และยังใช้เปน็ การฝึกหัดข้ันพื้นฐานของนาฏศิลป์ไทยโขน – ละครของตัวพระและตัวนาง โดยกระบวนท่าราเพลงช้าเพลงเร็วเป็นท่ามาตรฐานท่ีถูกวางไว้เป็น แบบแผนในการฝึกหัดราข้ันพื้นฐานที่ใช้ฝึกทักษะทางด้านจังหวะและการเคลื่อนไหวร่างกายไป พร้อมๆ กัน ได้อย่างดี ทาให้ในวงการนาฏศิลป์ให้ความสาคัญกับการฝึกหัดราเพลงช้าเพลงเร็วเป็น อย่างมาก เพราะนอกจากจะช่วยพัฒนาทักษะในการราแล้วยังสามารถนาท่าราที่เป็นแม่ท่าต่างๆ เหลา่ น้ไี ปใชเ้ ป็นต้นแบบในการประดิษฐ์การแสดงสรา้ งสรรค์ชุดใหม่ๆ ได้อกี ดว้ ย จึงเรยี กได้วา่ เพลงช้า เพลงเร็ว เป็นหัวใจสาคัญของการแสดงโขน – ละคร ท่ีผู้เรียนตัวพระและตัวนางทุกคนจะต้องผ่าน กระบวนการฝกึ หดั และจดจานาไปใชใ้ นวชิ าชพี ต่อไปในข้ันสูง ๒. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการราเพลงช้า การราเพลงช้า สันนิษฐานว่าน่าจะมีมาต้ังแต่สมัยอยุธยา และได้มีการสืบทอดต่อกันมา จนถึงยุคปจั จบุ นั โดยเขา้ ใจวา่ ในสมัยกรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มกี ารกาหนดจารตี ไวเ้ ป็นแบบแผนใน การฝึกหัดนาฏศิลป์โขน – ละคร สาหรับตัวพระและตัวนาง เพื่อฝึกทักษะในการราให้เกิดความ สวยงาม ชานาญ และเคลื่อนไหวทา่ ราอยา่ งเป็นระบบระเบยี บ เมื่อเข้าสู่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีพระบรมราชานุญาตให้เจ้าขุนมูลนายมีละครผู้หญิงไว้ในเรือนของตนเองได้ จึงเกิดละครนอก ขึ้นมาหลายสานัก ทาให้การฝึกหัดราที่เป็นโขน – ละครแบบหลวงแพร่หลายสู่ภายนอกมากย่ิงขึ้น ท่าราเพลงช้าเพลงเร็วที่เคยมีอยู่แต่ในราชสานักจึงถูกปรับเปลี่ยนไปตามแต่ละสานักทาให้เกิดความ แตกต่างในกระบวนท่ารา รูปแบบ และลลี าตามบคุ ลกิ ของตัวละครและความสามารถของผู้ทไี่ ดร้ บั การ ฝึกหัด สาหรับท่าราเพลงช้าท่ีใช้ฝึกข้ันพ้ืนฐานนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ท้ังตัวพระ และตัวนาง ในหลักสูตรของวิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนาศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม ในอดีตถึงปัจจุบัน มีการสบื ทอดทา่ ราเพลงช้า ดังน้ี ๑. ท่าราเพลงชา้ นาฏศลิ ป์ไทยละครพระ ฯพณฯ ท่านพลตรีหลวงวิจิตรวาทการ ในขณะดารงตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ได้ปรึกษากับพระยานัฎกานุรักษ์ปรมาจารย์ของกรมมหรสพหลวงในสมัยรัชกาลที่ ๖ ว่าต้องการครู ละครหลวงตัวพระ พระยานัฏกานุรักษ์จึงได้แนะนาให้ตามคุณครูลมุล ยมะคุปต์ มาทาการสอน หลวงวิจิตรวาทการจึงได้มอบหมายให้ครูช้ิน ศิลปบรรเลงทาการติดต่อกับคุณครูลมุล ยมะคุปต์ และ ได้นาท่าราเพลงช้าที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากหม่อมครูอ่ึง ซึ่งเป็นท่าราท่ีได้รับสืบทอดจาก วังสวน กุหลาบ มาจัดทาเป็นหลักสูตรให้กับโรงเรียนศิลปากรแผนกนาฏดุริยางค์ร่วมกับคุณหญิงช้ิน ศิลป บรรเลง เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๗ ๒. ทา่ ราเพลงชา้ นาฏศลิ ป์ไทยละครนาง ท่าราเพลงช้าของตัวละครนาง ได้รับการสืบทอดมาจากวังบ้านหม้อ หรือคณะ ละครเจา้ พระยาเทวศนว์ งศ์ววิ ัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร ฯ) โดยคณุ ครูศุภลักษณ์ ภัทรนาวกิ หรอื หมอ่ ม ครูต่วน ซ่ึงเป็นนางเอกของคณะได้เข้ามาวางรากฐานและฝึกหัดละครนางให้กับนักเรียนโรงเรียน ศลิ ปากรนาฏดรุ ยิ างค์ ใน พ.ศ. ๒๔๗๗

ชุดฝึกทักษะการปฏบิ ัติท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๗ ๓. ทา่ ราเพลงช้า นาฏศลิ ป์ไทยโขนพระ คณุ ครอู าคม สายาคม ผู้เป็นโขนหลวงในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ได้ เร่ิมทาการฝึกหัดโขนเม่ืออายุ ๑๒ ปี โดยเร่ิมจากการตบเข่าเพื่อให้รู้จังหวะ ถองสะเอวเพ่อื ให้จังหวะมี การสัมพันธก์ บั การยกั ไหล่ ยักเอว และลกั คอ นานประมาณ ๒ – ๓ สัปดาห์ จึงเริ่มฝึกหัดราเพลงช้า – เพลงเร็ว เชิดและเสมอ เพื่อให้ได้พื้นฐานทางนาฏศิลป์ หลักจากนั้นพระยานัฎกานุรักษ์และคุณหญิง เทศ นัฏกานุรักษ์ ได้คัดเลือกให้ไปฝึกหัดเปน็ ตัวพระ ต่อมาได้มอบให้ครูล้ินจี่ – จารุจรณ ดูแลควบคุม ฝึกหัดข้ันตน้ (เพลงช้า – เพลงเร็ว) อยู่กับพวกละครหลวง ซ่ึงในสมัยนั้นตัวพระตัวนางผู้ชายฝึกหัดกัน ที่วงั สวนกหุ ลาบ คุณครูอาคม สายาคม รับราชการในกรมมหรสพ พ.ศ. ๒๔๗๒ ในแผนกโขนหลวง ตาแหน่ง เด็กชา เงินเดือน ๔ บาท จนกระท่ังเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ คณะกรรมการปรับปรุงกระทรวงจึงเสนอรัฐบาลให้โอนงานการช่างกองวงั นอกและกองมหรสพไปอยู่ ในสังกัดของกรมศิลปากร ในพ.ศ. ๒๔๗๘ ได้เร่ิมโอนและส่งตัวข้าราชการ ในอีก ๒ ปีต่อมาคุณครู อาคม สายาคมตกลงมารับราชการในกรมศิลปากร แผนกโขนเป็นครูฝึกหัดตัวพระ ในโรงเรียน ศลิ ปากรแผนกนาฏดุริยางค์ สรุปได้ว่า การราเพลงช้าเพลงเร็ว สันนิษฐานว่าน่าจะมีมาต้ังแต่สมัยอยุธยาท่ีได้มีการ ปฏิบตั ิเป็นแบบแผนในการฝึกหัดข้ันเบื้องตน้ สาหรับนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ท้ังตวั พระและตัวนาง เพ่ือให้เกิดทักษะในการเคลื่อนไหวท่าราอย่างเป็นระบบระเบียบจนเกิดความสวยงาม และความ ชานาญไปสู่การราในเพลงข้ันสูงได้ โดยท่าราเพลงช้าเพลงเร็วตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๔ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ มีหลายรูปแบบเนื่องจากมีละครข้างนอกเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย แต่ท่าราเพลงช้าเพลง เรว็ ทีน่ ามาใช้ในหลกั สตู รการเรียนของวิทยาลัยนาฏศิลป ไดม้ กี ารสืบทอดเป็นแบบแผน ๒ ทาง คือ ท่า ราของตัวพระ (โขน และ ละคร) ได้รับการสืบทอดมาจากวังสวนกุหลาบ เน่ืองจากในสมัยรัชกาลท่ี ๗ ได้มกี ารนาตัวโขนหลวงมาฝกึ รว่ มกับละครหลวง โดยทางโขนตวั พระคณุ ครอู าคม สายาคม เป็นผไู้ ดร้ ับ การฝึกหัดและนามาถ่ายทอดให้กับโรงเรียนศิลปากรแผนกนาฏดุริยางคศิลป์ ส่วนตัวพระละคร คุณครูลมุล ยมะคุปต์ ได้นามาพัฒนาเป็นหลักสูตรในการเรียนการสอนต้ังแต่แรกเร่ิมจนถึงปัจจุบัน ส่วนท่าราเพลงช้าเพลงเร็วตัวนาง ได้รับการสืบทอดท่ารามาจากวังบ้านหม้อ หรือคณะละคร เจ้าพระยาเทวศร์วงศ์วิวัฒน์ โดยคุณครูศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก เป็นผู้นามาวางรากฐานการฝึกหัดและ ถ่ายทอดใหก้ ับนักเรียนในสมัยน้นั

ชุดฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ิท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๘ ๓. ประโยชนข์ องการราเพลงช้า ในหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยนาฏศิลป ผู้เรียนในทุกระดับชั้นจาเป็นต้องฝึก ปฏิบัติท่าราเพลงช้าแบบซ้าๆ ในทุกๆ วนั โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้เรียนที่เพ่ิงเข้ามาใหม่ เน่ืองจากการรา เพลงช้าเป็นพื้นฐานของแม่ท่าทางนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ของตัวพระและตัวนาง ดังน้ันผู้เรียนจึง ต้องเกิดความเข้าใจในหลักและวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนจดจาและเคลื่อนไหวท่าราได้อย่างต่อเน่ือง เม่ือฝึกหัดบ่อยคร้ังข้ึนและราแบบเดิมในทุกๆ วัน จนผู้เรียนอาจมีความคิดว่าทาไมต้องราเพลงช้าซ่ึง เป็นเพลงท่ีใช้ระยะเวลานาน ทาให้เกิดความเบื่อหน่ายส่งผลต่อสุขภาพจิตและสุขภาพกายทาให้ไม่ อยากท่ีจะฝึกหัดต่อ แต่แท้จริงแล้วการฝึกหัดราเพลงช้าให้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผู้ ฝึกหดั หลายประการ โดยสามารถแบง่ ประโยชนข์ องการราเพลงชา้ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ประโยชน์เฉพาะทไ่ี ดจ้ ากการราเพลงช้า มดี งั นี้ ๑) จดั รูปทรง สัดสว่ น สณั ฐาน ใหไ้ ด้มาตรฐานถึงความงดงามตามรูปแบบนาฏศิลป์ ๒) เรียนรู้ส่วนท่ีต้องใช้อวัยวะให้สัมพันธ์กัน โดยเริ่มตั้งแต่ตึงเอว ตึงไหล่ ทรงตัว เม่ือเร่ิมหัดใหม่อาจจะมีความเหน็ดเหนื่อยไม่น้อยกว่าการเล่นกีฬาหรือยิมนาสติกในวิชาพละศึกษา หรือวิชาลกั ษณะนสิ ัยในชั้นเรียนประถม เป็นต้น ๓) ได้ฝึกออกกาลังกายทุกส่วนของอวัยวะ ซึ่งได้ออกกาลังต้ังแต่ศีรษะตลอดศีรษะ จากปลายนิว้ ถึงหัวไหล่ จากปลายเท้า ฝา่ เท้า ส้นเท้า จนถึงสะโพก จากสะโพกทุกส่วนของลาตัวจนถึง ศีรษะ ๔) มีความอดทนในการฝกึ หัดราไดเ้ ปน็ ระยะนานไม่เหนอ่ื ยง่าย ๕) มีทักษะในการราอยา่ งคล่องแคลว่ ว่องไว ๖) เป็นผู้ราไดอ้ ยา่ งงดงาม มลี ลี านมุ่ นวล สง่าภาคภมู ิใจ ๗) สามารถฟังและวเิ คราะหเ์ พลงดนตรี จังหวะหนา้ ทบั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยา ๘) สามารถวิเคราะห์ท่าราเพอื่ นาไปพัฒนาและสร้างสรรค์ในการคิดประดิษฐท์ ่ารา ชุดอืน่ ๆ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง ๙. เมื่อยามต้องการพักผ่อนจากอารมณ์อันหมกมุ่นต่างๆ การราเพลงช้าเพลงเร็ว จะชว่ ยให้คลายความตึงเครียดของอารมณ์ได้ ๑๐) รู้และเข้าใจนาฏยศพั ทเ์ บือ้ งตน้ ๑๑) รู้หลักการฝึกหัดราเบื้องต้นของนาฏศิลป์ไทย และสามารถปฏิบัติท่าราให้ เปน็ ไปตามข้ันตอนได้ ๑๒) หดั ให้รจู้ ักวธิ เี ชื่อมทา่ ราต่างๆ ใหต้ ดิ ตอ่ กนั อย่างสนทิ สนม ๒. ประโยชน์ทวั่ ไปท่ไี ด้จากการราเพลงช้า มีดงั นี้ ๑) การฝึกหัดที่เป็นขั้นตอน มีระเบียบแบบแผน เป็นการฝึกคนให้มีระเบียบวินัย ตามแบบแผนตามขัน้ ตอนเทา่ กบั เปน็ การสร้างสรรค์คนใหด้ าเนนิ ชวี ติ อย่างมรี ะเบียบ ๒) เป็นแม่แบบของผู้รักษาศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยการรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเป็นผู้ดีแบบไทยๆ ซ่ึงจะแสดงออกในรูปแบบทางอิริยาบถด้วยความสง่าภาคภูมิดู สุภาพนุ่มนวลอ่อนหวาน

ชุดฝึกทกั ษะการปฏบิ ัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๙ ๓) การหัดราเพลงช้า – เพลงเร็ว เป็นเบ้ืองต้นของผู้เป็นศิลปิน ส่ิงที่ศิลปินต้อง ปฏบิ ตั ิอยเู่ ปน็ นจิ คอื ต้องเคารพครู มคี วามกตัญญูแบบไทย สิง่ น้ี คอื แนวโน้มใหค้ นมีความรักดี รักษา วิทยาการทางดา้ นศิลปะให้สบื เนือ่ งไปดว้ ยดี ๔) การฝึกหัดวิชาฟ้อนราเปน็ วิทยาการขั้นสูง มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพอื่ บูชาพระเป็น เจ้า ดังในตานานได้กล่าวไว้ ฉะนั้นผู้เรียนหรือผู้ฝึกหัดจะต้องทาความรู้เสียก่อนว่าการปฏิบัติต้องทา ดว้ ยใจไม่ดูหม่ิน ไม่ทาอย่างเอาแต่ได้ ซ่ึงเป็นการทาลายศิลปะ เป็นการเตือนให้ผู้ฝึกด้วยใจรักมิใช่ใคร อยากทากท็ าได้ เพราะเป็นวิชาที่มคี รู ๕) ฝึกให้รู้จักความสามัคคี การฝึกเป็นหมู่มากต้องถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน ไม่อวดรถู้ ือดีเพียงผ้เู ดียว (วรี ะชยั มีบ่อทรัพย,์ ม.ป.ป., น. ๔๕-๔๖) ในการราเพลงช้าเป็นพ้ืนฐานของแม่ท่าทางนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ของตัวพระและ ตัวนาง นอกจากจะมีคุณค่าอันเป็นวิชาเฉพาะท่ีเป็นศิลปวัฒนธรรมของชาติแล้ว ยังสามารถให้ ประโยชน์แก่ผู้เรียนทั้งทางตรงและทางอ้อมหลายประการ โดยสามารถแบ่งประเภทของประโยชน์ใน การราเพลงช้าออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) ประโยชน์เฉพาะ คือประโยชน์ทางตรงที่เป็นผลดีแก่ ผ้เู รียนทางดา้ นร่างกายและจิตใจ สามารถพฒั นาไปในขั้นสูงได้ และ ๒) ประโยชนท์ ่ัวไป คือประโยชน์ ทางออ้ ม ที่สง่ ผลกบั ผเู้ รียนในดา้ นชีวติ ประจาวัน กิริยามารยาท และการรักษาศลิ ปวฒั นธรรมไทย ๔. บทรอ้ งและทานองเพลงช้า เพลงช้าจัดเป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทหนึ่ง นอกจากใช้ในพิธีไหว้ครูและการฝึกหัดท่ารา นาฏศิลปไ์ ทยโขน –ละคร แล้ว เพลงช้ายังนาไปใช้ในการบรรเลงงานมงคล โดยเฉพาะอย่างย่ิงงานพิธี สงฆ์ท่ีจะใช้เพลงช้าบรรเลงรับพระเม่ือพระสงฆ์เข้ามาในงาน หรือการบรรเลงหลังเพลงโหมโรงเช้า หรือโหมโรงเย็น นอกจากน้ี ยังใช้ในงานพิธีต่างๆ เช่น พิธีทอดกฐินหรือทอดพระกฐิน จะบรรเลงใน ลักษณะท่รี อการเสด็จหรือรอพระสงฆล์ งอุโบสถ เพลงช้า เป็นเพลงจาพวกเพลงเรื่อง หมายถึง เพลงที่นามาบรรเลงติดต่อกัน เพลงเร่ือง ประเภทเพลงช้ามีลักษณะหรือรูปแบบที่ประกอบด้วยเพลงช้า เช่น เพลงช้าเรื่องเต่ากนิ ผักบุ้ง เพลงช้า เรื่องสารถี เพลงช้าเร่ืองพระรามเดินดง เพลงช้าเรื่องสร้อยสน เป็นต้น แต่ในหลักสูตรการเรียน การสอนของวิทยาลยั นาฏศลิ ป จะนยิ มใช้เพลงช้าเร่ืองสร้อยสนบรรเลงประกอบการร่ายราของโขน – ละคร โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ท่ีฝึกหัดราใหม่ๆ เนอ่ื งจากเพลงสร้อยสนมีระดับเสียงที่บรรเลงไม่สูงหรือต่า จนเกินไป อีกทั้งจดจาได้งา่ ยจึงเหมาะแก่การฝึกหัดให้ผู้เรียนร้องและราไปพร้อมๆ กันได้ ซ่ึงลักษณะ ของเพลงช้าเรื่องสร้อยสนน้ีจะแสดงถึงความเรียบร้อย สงบเสง่ียม และมีความสงา่ งาม แต่เม่ือถึงช่วง ของเพลงเร็วจะมีจังหวะที่กระช้ันขึ้นให้ความรู้สึกถึงความกระฉับกระเฉง ซ่ึงอัตราจังหวะของการ บรรเลงเพลงช้าเร่ืองสร้อยสนในแต่ละช่วงจะมีจังหวะที่ลดหล่ันแตกต่างกันออกไปจากอัตราจังหวะ สองชั้นไปถึงช้ันเดียว เรียกว่าได้ว่า บรรเลงจากจังหวะช้าไปหาเร็ว โดยเร่ิมจากจังหวะช้าที่ใช้หน้าทับ ปรบไก่สองช้นั ในเพลงช้าทีบ่ รรเลงเพอื่ ใชฝ้ กึ หัดการราของวทิ ยาลยั นาฏศิลป มสี ่วนประกอบของเพลง สร้อยสน ๒ ท่อน ท่อนละ ๘ จังหวะหน้าทับปรบไก่ และใช้เพลงพวงร้อย ๒ ท่อน ท่อนละ ๖ จังหวะ หน้าทับปรบไก่ ซ่ึงจะบรรเลงวนไปในรูปแบบนี้จนกระทั่งหมดกระบวนท่ารา ดังนั้นการบรรเลง

ชดุ ฝกึ ทักษะการปฏิบัตทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๑๐ เพลงช้าจะมีความสั้นหรือความยาวทั้งนี้ข้ึนอยู่กับผู้ราเป็นหลัก แต่สาหรับผู้ท่ีมีความชานาญ และ เข้าใจในจงั หวะทานองเพลงแลว้ อาจจะใชเ้ พลงช้าเร่อื งอื่นๆ บรรเลงแทนได้ตามความเหมาะสม การเรยี นการสอนเพลงชา้ โขน – ละคร ตัวพระและตวั นางของวิทยาลยั นาฏศิลป จะมลี าดบั ในการฝกึ หัดราเพลงช้า ๓ ขั้นตอน ไดแ้ ก่ ขั้นตอนท่ี ๑ การฝึกหัดราเพลงช้าตามจังหวะการเคาะไม้ โดยการฝึกหัดโขนครูผู้สอน จะมีอุปกรณ์ประจาของตนเอง ๑ ชิ้น คือ ไม้เคาะจังหวะ เพ่ือให้จังหวะสัญญาณระหว่างที่ผู้เรียน ปฏิบัติท่ารา ซึ่งการท่ีผู้เรียนโขนพระเริ่มฝึกหัดเพลงช้าเข้ากับจังหวะการเคาะไม้ จุดประสงค์เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถจดจาท่าราได้ อีกทั้งยังรู้และเข้าใจว่าในการปฏิบัติการกระทบจังหวะ หรือยืด ยุบ ที่ ใดบ้าง ซง่ึ จะทาให้ผู้เรียนเกดิ ความแมน่ ยาในการรามากย่งิ ข้ึน ข้ันตอนที่ ๒ การฝึกหัดราด้วยการร้อง “จะ โจ้ง จะ ทิง โจ้ง ทิง” ในการร้องลักษณะน้ี มจี ุดประสงค์ของการฝกึ หดั คอื ให้ผู้เรียนได้รู้จักจังหวะหน้าทบั ปรบไก่ และเปน็ สัญญาณการให้จงั หวะ ในการรา คาร้องข้างต้นน้ี สันนิษฐานวา่ น่าจะเกิดจากการดัดแปลงจังหวะหน้าทับปรบไก่ของตะโพน ที่ใช้ตีกากับการบรรเลงทานองเพลงช้า ซ่ึงมีต้นกาเนิดมาจากเสียงร้องของลูกคู่ในการร้องเพลง พนื้ เมอื งทเี่ รยี กว่า “เพลงปรบไก”่ เสียงร้องลูกค่เู พลงปรบไก่ - ฉ่า - ฉ่า - ฉา่ - ชา้ - - ชะฉา่ - ไฮ้ - - แปลงเปน็ เสียงตะโพน - - - พรงึ - ปะ๊ - ตุบ้ - พรึง – พรงึ - ต๊บุ - พรึง แปลงเป็นเสียงร้องในการฝึก ราเพลงชา้ - - - จะ - โจง้ - จะ - ทงิ - โจ้ง - - - ทงิ ตารางท่ี ๑ เปรียบเทียบจงั หวะหนา้ ทับปรบไก่ ทีม่ า: รักชาติ ตุงคะบรู ณา, (ม.ป.ป.) ขั้นตอนท่ี ๓ เมื่อผู้เรียนเร่ิมมีความเข้าใจในจังหวะหน้าทับปรบไก่และทานองเพลง สร้อยสนแล้ว จึงสามารถให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดการราเพลงช้ากับทานองเพลงท่ีบรรเลงโดยวงป่ีพาทย์ ซ่ึง การบรรเลงทานองของวงปี่พาทย์จะมีความแตกต่างจากการไล่ทานองแบบร้องเองราเอง เนื่องจาก บางคร้ังนักดนตรีบรรเลงเพ่ือแสดงศักยภาพมีการใส่ลีลาการบรรเลงออกไปแนวทางการบรรเลงของ ตนเอง จึงเป็นเหตุผลว่าทาไมผู้เรียนจึงต้องมีความเข้าใจในจังหวะและทานองเพลงสร้อยสนก่อนท่ีจะ มาราเข้าเพลง ในการราเข้ากับทานองเพลงในขั้นตอนน้ีผู้เรยี นจะไดฝ้ ึกฝนตนเองในทักษะการราอย่าง ต่อเน่ือง ต้องใช้สมาธิและสติในการฝึกหัดประกอบกับต้องใช้ร่างกายเคล่ือนไหวให้เกิดความสัมพันธ์ กันทุกส่วน นอกจากนี้ ในการราเพลงช้ามีระยะเวลาในการฝึกหัดเป็นระยะเวลายาวนานต่อการรา ๑ รอบ ทาให้ผู้เรียนตอ้ งใชค้ วามอดทนในการราเปน็ อย่างสูงและจะทิ้งท่าราในระหว่างปฏบิ ัตทิ ่าราเพลง ช้าไม่ได้ ซ่ึงทานองเพลงที่บรรเลงประกอบการราเพลงช้าจะบรรเลงทานองท่อนท่ี ๑ และท่อนท่ี ๒ ไม่นิยมบรรเลงเพลงพวงร้อย เน่ืองจาก เพ่อื ความสละสลวยของสานวนเพลงในช่วงที่จะออกเพลงเร็ว แมว่ อนลกู ท่ีนามาจากเพลงชา้ เรอ่ื งตระนางในตอนท้าย

ชุดฝึกทักษะการปฏิบตั ทิ า่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หนา้ ๑๑ สรุปได้ว่า การราเพลงช้าในหลักสูตรของวิทยาลัยนาฏศิลป มีส่วนประกอบของเพลง สร้อยสน ๒ ท่อน ท่อนละ ๘ จังหวะหน้าทับปรบไก่ และใช้เพลงพวงร้อย ๒ ท่อน ท่อนละ ๖ จังหวะ หน้าทับปรบไก่ ซ่ึงจะบรรเลงวนไปในรูปแบบน้ีจนกระท่ังหมดกระบวนท่ารา โดยการเรียนการสอน เพลงช้าโขน – ละคร ตัวพระและตัวนางของวิทยาลัยนาฏศิลป จะมีลาดับในการฝึกหัดราเพลงช้า ๓ ข้ันตอน คือ ๑) การฝึกหัดราตามจังหวะการเคาะไม้ เพ่ือให้รู้และเข้าใจในการกระทบจังหวะ การยืด – ยุบ และการลาดบั ท่าราตั้งแต่ต้นไดอ้ ย่างแม่นยา ๒) การฝึกหัดราเข้ากับจังหวะ จะ โจ้ง จะ ทิง โจ้ง ทิง เพื่อให้เข้าใจในจังหวะหน้าทับปรบไก่ และ ๓) การฝึกหัดราเข้ากับทานองเพลงสร้อยสน เพ่ือให้ผู้เรียนได้รู้จักเชื่อมท่าราจากท่าหนึ่งไปยังอีกท่าหนึ่งได้อย่างคล่องแคล่วชานาญข้ึน อีกทั้งยัง เข้าใจในจังหวะและทานองเพลงมากยิง่ ขึ้น ๕. เคร่อื งดนตรที ่ีใช้บรรเลงประกอบการราเพลงช้า สาหรับวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการราเพลงช้า นิยมใช้วงปี่พาทย์ซึ่งมีการผสมเครื่อง ดนตรีประเภทเคร่ืองเป่า และเครื่องตีเข้าด้วยกัน โดยวงป่ีพาทย์ที่ใช้บรรเลงมีด้วยกันท้ังหมด ๓ ประเภท คอื วงปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งหา้ วงป่ีพาทย์เคร่อื งคู่ และวงปีพ่ าทยเ์ คร่ืองใหญ่ ภาพที่ ๑ วงป่ีพาทยเ์ ครอื่ งหา้ ทีม่ า: เกณกิ าร์ วงศ์นรนิ ทร์ (๒๕๖๒) ๑. วงปีพ่ าทย์เครื่องห้า ประกอบด้วย ๑) ป่ใี น ๒) ระนาดเอก ๓) ฆ้องวงใหญ่ ๖) ฉง่ิ ๔) ตะโพน ๕) กลองทัด ๑ คู่

ชดุ ฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ ่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หนา้ ๑๒ ภาพที่ ๒ วงปพ่ี าทย์เครือ่ งคู่ ที่มา: เกณกิ าร์ วงศน์ รนิ ทร์ (๒๕๖๒) ๒. วงปพี่ าทย์เครื่องคู่ ประกอบดว้ ย ๒) ปน่ี อก ๑) ปใ่ี น ๔) ระนาดทมุ้ ๓) ระนาดเอก ๖) ฆอ้ งวงเล็ก ๕) ฆ้องวงใหญ่ ๘) กลองทดั ๑ คู่ ๗) ตะโพน ๑๐) ฉาบเล็ก ๙) ฉ่งิ ๑๒) กรับ ๑๑) ฉาบใหญ่ ๑๓) โหม่ง (นามาใช้ในบางโอกาส)

ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏิบตั ทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๑๓ ภาพท่ี ๓ วงปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งใหญ่ ท่ีมา: เกณิการ์ วงศน์ รินทร์ (๒๕๖๒) ๓. วงปีพ่ าทย์เครื่องใหญ่ ประกอบดว้ ย ๑) ปีใ่ น ๒) ป่นี อก ๓) ระนาดเอก ๖) ระนาดท้มุ (เหลก็ ) ๔) ระนาดเอก (เหลก็ ) ๕) ระนาดทุ้ม ๙) ตะโพน ๑๒) ฉาบเลก็ ๗) ฆ้องวงใหญ่ ๘) ฆอ้ งวงเลก็ ๑๕) โหมง่ ๑๐) กลองทัด ๑ คู่ ๑๑) ฉ่งิ ๑๓) ฉาบใหญ่ ๑๔) กรบั นอกจากนี้ ในปัจจุบันวงป่ีพาทย์เคร่ืองห้าไม่ค่อยเป็นที่นิยมในการบรรเลงตามงานต่างๆ เน่ืองจากมีขนาดวงที่เล็กเกินไป จึงได้มีการเพิ่มระนาดทุ้มเข้าไปอีกหน่ึงชิ้นทาให้คนส่วนใหญ่นิยม เรียกว่า ปพ่ี าทย์เครื่องหก แตอ่ ย่างไรก็ตามในหลักทางวิชาการไม่มีกาหนดวงป่ีพาทย์เครื่องหกไว้เป็น แบบแผน ดังน้ันวงดนตรีที่ใช้ประกอบการบรรเลงเพลงช้าจึงใช้วงป่ีพาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ และ เครือ่ งใหญ่ สรุปได้ว่า การราเพลงช้ามีวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการรา ๓ ประเภท คือ วงป่ีพาทย์ เครื่องห้า (ถ้าเพ่ิมระนาดทุ้มเข้าไป เรียก วงป่ีพาทย์เคร่ืองหก) วงป่ีพาทย์เคร่ืองคู่ และวงป่ีพาทย์ เคร่อื งใหญ่

ชดุ ฝึกทกั ษะการปฏบิ ัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หนา้ ๑๔ ๖. การแตง่ กาย เน่อื งจากเพลงชา้ เป็นเพลงในบทเรยี นท่ีใช้ฝึกหัดขนั้ พนื้ ฐาน เป็นการราเพื่อฝกึ ฝนทักษะการ ปฏิบตั ิท่าราของผู้เรียน ดังน้ันในการแต่งกายจึงแตง่ เป็นเครื่องแบบของการฝึกหัดนาฏศิลปไ์ ทยโขน – ละคร คือ การนาผ้าแดงมานุ่งเปน็ โจงกระเบน สวมใส่กับเส้ือสีขาว มีเชือกคาดเอวรัดเพ่ือให้เกิดความ กระชับในการสวมใส่ นอกจากนี้ในการราเพลงช้าที่นาไปแสดงในงานพิธีต่างๆ ใช้การแต่งกายยืน เครอื่ งพระท่ีเลยี นแบบมาจากเครอ่ื งต้นเครื่องทรงของพระมหากษตั รยิ ์ ภาพท่ี ๔ แตง่ กายยืนเครื่องพระ ท่มี า: โปสเตอร์บริษัทมเี ดีย จากัด สรปุ ได้ว่า การแต่งกายท่ใี ชใ้ นการราเพลงช้านิยมนงุ่ ผา้ โจงกระเบน สวมเสอ้ื สขี าว แต่ในงาน พิธีการสาคัญท่ีนาเพลงช้าไปแสดงให้แต่งกายยืนเครื่องพระจะแขนสั้นหรือแขนยาวแล้วแต่ความ เหมาะสมของสถานท่ี

ชดุ ฝึกทักษะการปฏิบัตทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๑๕ ๗. โอกาสทน่ี าไปใช้ การราเพลงช้านอกจากจะเป็นบทเรียนท่ีใช้สาหรับการฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ทงั้ ตวั พระ และตัวนาง ในขนั้ เบอื้ งต้นแล้ว ยงั สามารถนาไปใชร้ าหรอื แสดงในโอกาสตา่ งๆ ได้ ดังน้ี ๑. ใช้เป็นหลักสูตรในการวางพื้นฐานนาฏศิลป์ไทยเบื้องต้น โดยแบง่ ออกเปน็ หลักสูตร ระยะยาว และหลกั สตู รระยะสัน้ ๑) หลักสูตรระยะยาว คือ การใช้เป็นหลักสูตรฝึกหัดให้กับนักเรียนวิทยาลัยนาฏ ศิลป สาขานาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โดยการฝึกหัดราเพลงช้าแบบ เตม็ เพลง ซง่ึ มีระยะเวลานานกวา่ การราเพลงช้าในลกั ษณะอน่ื ๆ ๒) หลักสูตรระยะส้ัน คือ การใช้เป็นหลักสูตรให้กับผู้เรียนวิชานาฏศิลป์ไทยใน ระยะเวลาที่จากัด จึงได้ตัดทอนเพลงช้าจากที่มีท่าราเป็นจานวนมากให้น้อยลงเพ่ือให้เกิดความ เหมาะสมกับผูเ้ รยี น เชน่ การอบรมนาฏศลิ ปภ์ าคฤดูรอ้ น การเรยี นนาฏศลิ ปไ์ ทยเป็นวชิ าโท เป็นต้น ๒. ใช้สาหรับการแสดง เช่น การแสดงโขน ชุด นางลอย (พระรามลงสรง) หรือ การ แสดงในระบาสีบ่ ท (เพลงชา้ เรว็ ระบา) ๓. ใช้สาหรับการสาธิตนาฏศิลปไ์ ทย เช่น สาธิตการเรียนการสอนเพอื่ ต้อนรับแขกบ้าน แขกเมอื งหรือหนว่ ยงานที่มาศกึ ษาดงู านทางด้านนาฏศิลป์ไทย ๔. ใช้สาหรับงานพิธี เช่น การราถวายมือในพธิ ีไหวค้ รูนาฏศิลป์โขน – ละคร หรือการ ราบวงสรวงในพิธีกรรมตา่ งๆ สรุปได้ว่า การราเพลงช้าสามารถนาไปใช้ในงานต่างๆ ได้ ๔ ลักษณะ คือ ๑) ดา้ นการเรียน การสอนโดยนาไปใช้สาหรับการฝึกหัดราขั้นพื้นฐานสาหรับตวั พระและตัวนาง โดยมีท้ังหลักสูตรระยะ ยาว และหลักสูตรระยะสั้น ๒) ใช้สาหรับการแสดงโขน – ละคร ๓) ใชส้ าหรับการสาธิตนาฏศิลป์ไทย โขน –ละคร และ ๔) ใช้ในงานพธิ ตี ่างๆ ๘. นาฏยศพั ท์ นาฏยศัพท์ มีความสาคัญต่อการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างย่ิง เนื่องจาก เป็นคาเฉพาะที่ใชส้ ่ือสารลักษณะท่าราระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และ สามารถปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดยความร้พู ืน้ ฐานเกี่ยวกับนาฏศัพท์ท่ผี ูเ้ รียนควรทราบ มีดงั น้ี ๑. ความหมายของนาฏยศัพท์ คาว่า “นาฏยศัพท์” มีส่วนประกอบของศัพท์อยู่ ๒ คา ท่ีนามาสมาสกัน คือ คาว่า “นาฏย” และคาว่า “ศัพท์” โดยในพจนานุกรมนักเรียนฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดใ้ ห้ความหมาย ของทั้งสองคานี้ ว่า นาฏย อ่านว่า นาด – ตะ – ยะ มีความหมายในการนาไปใช้ ๒ ลักษณะคอื - นาฏย (คานาม) หมายถงึ การเตน้ รา , การฟ้อนรา , การแสดงละคร - นาฏย (คาวเิ ศษณ)์ หมายถงึ เก่ียวกับการฟ้อนราหรือวิชาเกยี่ วกบั การ แสดงละคร (พจนานกุ รมนักเรยี นฉบบั ปรับปรงุ , ๒๕๕๘, น.๒๕๗) ศพั ท์ อ่านว่า สับ เป็นคานาม มีความหมายว่า เสยี ง , คา , คายากที่ตอ้ งแปล (เร่อื งเดยี วกนั , ๒๕๕๘, น.๔๘๐)

ชุดฝกึ ทักษะการปฏบิ ัติทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๑๖ เม่ือนาคาว่า นาฏย และคาว่า ศัพท์ (นาฏย + ศัพท์) มาสมาสรวมกันแล้ว คาว่า “นาฏยศัพท์” จึงให้ความหมายวา่ คายากท่ีเกี่ยวกับวิชาการฟอ้ นราท่ีต้องแปล ดงั นั้นในวิชานาฏศิลป์ ไทย นาฏยศัพท์จึงถูกเรียบเรียงให้เกิดความหมายกว้างๆ ว่า คาศัพท์เฉพาะท่ีบญั ญัตใิ ชใ้ นการฟ้อนรา เพื่อสอ่ื สารกริ ยิ าอาการการเคล่อื นไหวของรา่ งกาย รวมถึงลีลาท่าราในนาฏศลิ ป์ไทยโขน – ละคร สรุปไดว้ ่า นาฏยศัพท์ เป็นคาศัพท์เฉพาะเก่ียวกับการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ ไทยโขน – ละคร ท่ีให้ความหมายในการส่ือสารระหวา่ งกนั เพื่อใชป้ ฏิบตั ทิ ่าราต่างๆ ๒. ท่มี าของนาฏยศพั ท์ ในการเรียนนาฏศิลป์สมัยโบราณ ได้มีการใช้คาต่างๆ เพื่อสื่อความหมายถึงกิริยา ท่าทาง และลีลาในการฟ้อนรา ซึ่งการใช้คาต่างๆ นั้น มีการเรียกขานท่ีแตกต่างกันออกไปตามความ เข้าใจของครูผู้สอนแต่ละท่าน ทาให้คาบางคาท่ีมีชื่อเรียกเหมือนกันแต่ความเข้าใจในการปฏิบัติมี ตา่ งกัน ทาให้เกิดปญั หาในการฝึกหัดและการแสดงทีไ่ มเ่ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน ดงั นัน้ เม่อื การเรยี น นาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร มีการจัดระบบของการศึกษาท่ีดีข้ึน จึงได้มีการคิดริเริ่มการบญั ญัตคิ าศัพท์ เฉพาะของวิชานาฏศิลป์เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและการปฏิบัติ ใช้ในการส่ือสาร โดยนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ขณะดารงตาแหน่งหัวหน้ากองการสงั คีต เป็นผู้เห็นถึง ความสาคัญการจัดทานาฏยศัพท์นี้ จึงได้มอบหมายให้ผู้ท่ีมีความรู้ ความเช่ยี วชาญ และเป็นที่ยอมรับ ในวงการนาฏศิลปใ์ นสมัยนั้น ได้ทาการศึกษา รวบรวม และจัดทานาฏยศัพท์ของนาฏศิลปไ์ ทยโขน – ละคร ขึ้นมา การจัดทานาฏยศัพท์นาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร เร่ิมจากการจัดทานาฏยศัพท์ เบื้องต้นของตัวพระ และตัวนาง โดยนายอาคม สายาคม เป็นผู้รับผิดชอบศึกษา รวบรวมและเขียน เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๗ ตอ่ มาครอู ัมพร ชชั กุล ไดท้ าการขออนญุ าตจากครูอาคม เพื่อนาไปใชส้ อนนักเรียนท่ี โรงเรียนนาฏศิลป์ หลังจากมีนาฏยศัพท์ตัวพระและตัวนางเกิดขึ้น จึงมีการจัดทานาฏยศัพท์ของตัว ยักษ์ และตัวลิง ซึ่งจัดทาโดยนายอร่าม อินทรนัฎ และนายกรี วรศริน ทาให้นาฏศิลป์ไทยเกิดตารา เกี่ยวกับนาฏยศพั ท์เพ่ือใชส้ ่ือความหมายในการฝึกหัดโขน – ละคร นับต้งั แตภ่ ายหลังสงครามโลกคร้ัง ท่ี ๒ มาจนถงึ ปจั จบุ ัน สรุปได้ว่า นายธนิต อยู่โพธ์ิ ได้เห็นถึงความสาคัญของวิชานาฏศิลป์ไทย จึงได้คิด ริเริ่มให้มีตารานาฏยศัพท์เพ่ือใช้สื่อความหมายระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียนข้ึน โดยมอบหมายให้นาย อาคม สายาคม เป็นผู้ศึกษา และรวบรวมนาฏยศัพท์ตัวพระและตัวนาง ต่อมาภายหลังจึงได้มีการ จัดทานาฏยศัพท์ของตัวยักษ์ โดยนายอร่าม อินทรนัฎ และนาฏยศัพท์ของตัวลิง โดยนายกรี วรศริน ทาให้นับแต่ พ.ศ.๒๔๗๙ เปน็ ต้นมา การเรียนนาฏศิลปไ์ ทยโขน – ละคร มีตารานาฏยศัพท์ท่ีสามารถ นาไปใช้ในการเรียนการสอนที่เป็นแบบแผนเดียวกันมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นท่ีแพร่หลายใน สถาบันต่างๆ ที่จดั การศึกษาเก่ียวกบั นาฏศลิ ป์ไทยอีกด้วย

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๑๗ ๓. ประเภทของนาฏยศพั ท์ นาฏยศัพท์เป็นศัพท์เฉพาะท่ีใช้เก่ียวกับนาฏศิลปไ์ ทยโขน – ละคร โดยจุดประสงค์ แรกของการมีนาฏยศัพท์คือ ใช้ส่ือความหมายให้เกิดความเข้าใจกันระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน ใน การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยโขน – ละคร ทั้งในลักษณะท่าน่ิงและท่าเคล่ือนไหว ซ่ึงนายอาคม สายาคม ได้เรียบเรียงนาฏยศัพท์ไว้ ๓ ประเภท คือ ๑) นาฏยศัพท์ท่ัวไป ๒) นาฏยศัพท์ท่ีใช้ในการต่อสู้ด้วย อาวุธทวน หรืออาวุธยาวอื่นๆ และ ๓) นาฏยศัพท์ที่ใชใ้ นการแสดงโขน (อาคม สายาคม, ๒๕๔๕, น. ๙๘ – ๙๙) โดยนาฏยศพั ทใ์ นแต่ละประเภทมศี พั ทท์ ี่ไดบ้ ัญญัตไิ ว้ ดงั นี้ ๑) นาฏยศัพทท์ ัว่ ไป ไดม้ ีการแบ่งลักษณะยอ่ ยของนาฏยศพั ทป์ ระเภทนเ้ี ป็น ๓ ลักษณะ คอื - นาฏยศัพท์เบื้องต้น คือ นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการวางพื้นฐานแรกเริ่มเพื่อทา การฝึกหัดโขน – ละคร ได้แก่ ดันเอว ดันไหล่ ตึงหลัง เกลียวหน้า เกลียวข้าง ทับหน้า กดตะคาก หนา้ อดั เตน้ เสา ถบี เหลี่ยม ตบเขา่ ถองสะเอว เป็นต้น - นาฏยศัพท์พ้ืนฐาน คือ นาฏยศัพท์ที่ใช้ส่ือความหมายเกี่ยวกับการใช้ รา่ งกายในการปฏิบตั ทิ า่ ทางต่างๆ ในการรา โดยแบง่ ออกเปน็ ท่านงิ่ และทา่ เคลอื่ นไหว ไดแ้ ก่ นาฏยศพั ทพ์ นื้ ฐาน ในลกั ษณะท่านิง่ นาฏยศัพทพ์ น้ื ฐาน ในลกั ษณะทา่ เคลื่อนไหว ตงั้ วง (วงบน วงกลาง วงล่าง) มว้ นจีบ คลายจีบ สอดจบี หยิบจบี จีบส่งหลัง จบี (จบี คว่า จบี หงาย) ฉายมือ แทงมือ กา้ วเท้า (ก้าวหน้า กา้ วข้าง ก้าวไขว้) วาดแขน สา่ ยแขน กระดกเท้า (กระดกเท้าหลัง กระดกเสยี้ ว) ประเทา้ กระทงุ้ เทา้ เหล่อื มเท้า ฯลฯ สดู เทา้ เก็บ ขยน่ั เท้า ซอยเทา้ ถัดเท้า หม่ เข่า ยืด – ยบุ สะดงุ้ ตวั ยักตวั ใช้ตัว ฯลฯ ตารางที่ ๒ นาฏยศพั ท์พื้นฐานในลักษณะทา่ นง่ิ และทา่ เคลอ่ื นไหว ทีม่ า: สทุ ธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) - นาฏยศัพท์ที่เป็นคาเรียกใช้แก้ไขข้อบกพร่อง คือ นาฏยศัพท์ท่ีใช้ในการ สื่อความหมายของผู้สอนท่ีใช้กับผู้เรียนเมื่อมีการปฏิบัติท่าราไม่ถูกต้องตามแบบแผนที่วางไว้ ซึ่งอาจ เป็นคาที่ใช้ในการแก้ไขท่าราให้เกิดความสวยงาม ได้สัดส่วนตามมาตรฐาน หรือคาท่ีเป็นลักษณะของ การปฏิบตั ิท่าที่ไม่ถูกตอ้ งย่อมได้ เช่น การกด (กดคาง กดไหล่ กดตะคาก) หย่อน (หย่อนอก) กัน (กัน วง กันเขา่ ) เปดิ (เปิดคาง เปดิ ไหล)่ ทบั (ทบั หนา้ ขา) มอื แล่นใบ เทา้ สอบ คออ้นั เป็นตน้ ๒) นาฏยศัพท์ท่ีใช้ในการต่อสู้ด้วยอาวุธทวน หรืออาวุธยาว อ่ืนๆ ซ่ึงนาฏย ศัพท์ประเภทนี้เป็นคาท่ีใช้เรียกชื่อกระบวนท่าราที่ใช้ในการต่อสู้ของตัวละคร ได้แก่ สรรเสริญครู ผ่าหมาก โคมสามใบ ยนั ต์สที่ ิศ หงสส์ องคอ นาคเกย้ี ว ปลอกช้าง ชงิ คลอง เปน็ ต้น ซึง่ คาตา่ งๆ ข้างตน้ นีส้ ว่ นใหญจ่ ะปรากฏอยใู่ นการแสดงละครประเภทตา่ งๆ

ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๑๘ ๓) นาฏยศัพทท์ ่ีใช้ในการแสดงโขน คือ นาฏยศัพท์ทีใ่ ชส้ ื่อความหมายกระบวน ท่าราเฉพาะของตวั ละครในการแสดงโขนท่ีเม่ือเอ่ยข้ึนมาผู้เรียนหรือผู้แสดงสามารถปฏิบัติไดอ้ ยา่ งเป็น ลาดบั ขนั้ ตอน เชน่ นาฏยศัพทท์ ใี่ ช้สาหรบั การแสดง ตวั ละครทใ่ี ช้ สามเสา้ ยกั ษ์ ลงิ สามจบั ยักษ์ ลงิ จับสามเส้า ยกั ษ์ ลงิ กระทบื กลบั ยกั ษ์ ลิง กระทบื ฟัน ยักษ์ ลิง เหลย่ี มอดั ยกั ษ์ ลิง ฉะน้อย ยกั ษ์ ลิง ฉะใหญ่ ยักษ์ ลิง เกง้ (ในท่าเชดิ ) ยกั ษ์ ลงิ กระโดดคว้า (ตอนออกกราว) ยกั ษ์ ลิง ปาดเข่า (ท่าฉะ) ยักษ์ ลงิ เตน้ รบั ยักษ์ ลิง ลอย (๑ , ๒ , ๓) พระ ยักษ์ พลาด พระ ยักษ์ หนฉี าก พระ ยักษ์ เส้ยี ว (ในทา่ ออกฉาก) พระ ยักษ์ เตน้ เสือลากหาง พระ ยักษ์ แยก พระ ยักษ์ ลงิ ปะทะ พระ ยักษ์ ลิง พระ ยักษ์ ลงิ รบ พระ ยักษ์ ลิง เลาะ (ในทา่ เพลงกลม คุกพากท์ รัวสามลา) พระ นาง ยกั ษ์ ลงิ พระ ตะลกึ ตกึ แจกไม้ (ทา่ ราเพลงกลม) ลิง ลงิ อนั ธพา ลิง พาสุริน หย่อง ตารางท่ี ๓ นาฏยศพั ท์ที่ใชส้ าหรับการแสดง ที่มา: สุทธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) สรุปประเภทของนาฏยศัพท์แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ ๑) นาฏยศัพท์ท่ัวไป ประกอบไปด้วยนาฏยศัพท์เบื้องต้น นาฏยศัพท์พ้ืนฐาน และนาฏยศัพท์ท่ีใช้แก้ไขข้อบกพร่อง ๒) นาฏยศัพท์ท่ีใช้ในการตอ่ สู้ดว้ ยอาวุธทวน หรืออาวุธยาวอ่ืนๆ และ ๓) นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง โขน ในการเรียนการสอนเพื่อฝึกหัดโขนในข้ันต้นส่วนใหญ่จะใช้นาฏยศัพท์ประเภทท่ัวไปในการฝึก ปฏิบัติเพ่อื ให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานท่ีดี เม่ือเร่ิมเรียนในขั้นสูงถึงจะมีการเริ่มเรียนรู้นาฏยศัพท์ท่ีใช้อาวุธและ นาฏยศัพทท์ ใี่ ช้ในการแสดงโขน

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบตั ิท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๑๙ ๔. นาฏยศัพท์พืน้ ฐานที่ใชใ้ นการราเพลงชา้ สาหรับนาฏยศัพท์ที่ใช้ในการฝึกหัดเบ้อื งต้นของตัวโขนพระ ท่ีปรากฏอยู่ในการรา เพลงช้า สามารถจัดนาฏยศัพท์ออกเป็น ๔ ส่วนตามการปฏิบัติ ไดแ้ ก่ ๑) ส่วนศีรษะและไหล่ ๒) ส่วน แขนและมอื ๓) ส่วนลาตัว และ ๔) ส่วนขาและเท้า โดยนาฏยศัพทท์ ้งั ๔ สว่ น มีวิธกี ารปฏิบัติ ดังนี้ ๑) นาฏยศพั ท์ส่วนศีรษะและไหล่ ภาพท่ี ๕ เอยี งศีรษะ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ทม่ี า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) ในการเอยี งศรี ษะถ้าต้องการเอยี งศีรษะไป ทางข้างขวา ต้องต้ังใบหน้าให้ตรงกับลาคอ ตามองตรงไปข้างหน้า เอยี งศีรษะข้างขวาลง เล็กน้อย ใบหูตรงกบั ไหลข่ วา ถา้ ต้องการ เอียงศีรษะไปข้างซา้ ย ให้ใช้วิธีการปฏิบัติ เดยี วกนั แตด่ ้านตรงกันข้าม วิธีปฏบิ ตั ิ ภาพที่ ๖ ลักคอ เริ่มจากการตั้งใบหน้า และลาคอตรง ท่มี า: สุทธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) จากนั้นให้เอียงศีรษะไปทางขวา แต่กด ไหล่และเกลียวด้านซ้ายลง หากจะเอียง ศีรษะไปทางข้างซ้าย ให้กดไหล่และเกลียว ดา้ นขวาลง

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๒๐ ภาพที่ ๗ ตไี หล่ วิธปี ฏบิ ตั ิ ที่มา: สุทธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) หากเริ่มจากการตีไหล่ทางซ้าย ให้ เอียงศีรษะข้างซ้าย แล้วค่อยๆหันไหล่ ซ้ายไปด้านหลังเพียงเล็กน้อย พร้อมท้ัง เอยี งศรี ษะข้างซ้าย แล้วค่อยๆ กลับเอยี ง ศีรษะมาทางข้างขวา หากจะตไี หล่ ทางขวาให้ใชว้ ธิ ีการปฏบิ ัติเดยี วกันแต่ ดา้ นตรงกนั ข้าม ๒) นาฏยศพั ท์สว่ นแขนและมือ ภาพที่ ๘ ตง้ั มือ ทม่ี า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ การรวมนว้ิ มอื ทัง้ ๔ น้วิ คือ นว้ิ ชี้ นิ้วกลาง น้ิวนาง และนวิ้ กอ้ ย ให้ชดิ ตดิ กัน ตึง นิ้วท้ังหมด นิ้วหัวแม่มือชี้ให้งอมาทางฝ่ามือ หักข้อมือข้ึนโดยการดึงข้อมือข้ึนมา ทางส่วนของแขนมากที่สดุ

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๒๑ ภาพท่ี ๙ วงบน ทีม่ า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ วงบน คือ การต้ังมือและยกแขนให้เสมอกับไหล่ โดยงอแขนให้โค้งจากหวั ไหล่ออกไปดา้ นข้างลาตัว ใหป้ ลายน้วิ สูงระดับแง่ศีรษะ ภาพที่ ๑๐ วงกลาง ทมี่ า: สทุ ธเิ ขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ วงกลาง คือ การยกแขนและมือให้อยู่ระดับไหล่ โดยให้ส่วนโค้งของลาแขนออกจากหัวไหล่งอ ออกไปดา้ นข้างลาตวั ให้ข้อศอกอยูร่ ะดับเดยี วกบั เอว ส่วนมอื ที่ต้งั ใหป้ ลายน้วิ สงู ระดบั เดยี วกันกบั ไหล่

ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๒๒ ภาพที่ ๑๑ วงหนา้ ภาพท่ี ๑๒ วงล่าง ท่มี า: สุทธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ  วงหน้า ลักษณะการต้ังวงที่ให้แขนย่ืนออกไปด้านหน้าโดยให้ได้ระดับเดียวกันกับหัวไหล่ ปฏบิ ตั ิการตง้ั มือโดยให้ปลายนว้ิ มือสูงระดับปาก  วงล่าง คือ การตั้งวงท่ีงอลาแขนให้ได้ส่วนโค้งลงไปเบื้องล่าง ส่วนมือให้อยู่ในระดับชายพก หรือ หน้าทอ้ ง โดยจะไมต่ งั้ มอื สงู กว่าเอว วง

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๒๓ ภาพท่ี ๑๓ จบี หงาย ที่มา: สุทธเิ ขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ จีบหงาย คือ ลักษณะมือจีบที่ใช้น้ิวหัวแม่มือ และน้ิวชี้มาจรดกันโดยให้ปลายนิ้วหัวแม่มือ จรดอยู่ท่ีข้อแรกของนิ้วช้ีท่ีเหยียดตรง ส่วนน้ิวกลาง น้ิวนาง และนิ้วก้อยกรีดนิ้วและเหยียดตึงออกไป พร้อมกบั หกั ข้อมือเขา้ หาท้องแขน หงายฝา่ มอื ขึ้นให้ปลายน้ิวชีต้ งั้ ขน้ึ ด้านบน ภาพที่ ๑๔ จบี ควา่ ทม่ี า: สุทธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ จบี ควา่ คือ การปฏบิ ตั ิเช่นเดยี วกนั กับมือจบี หงาย แต่แตกต่างที่ลกั ษณะมือจีบคว่าฝา่ มอื ลง ใหป้ ลายน้วิ ชต้ี กลงด้านล่าง

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หน้า ๒๔ ภาพท่ี ๑๕ ล่อแก้ว ทม่ี า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วธิ ีปฏบิ ตั ิ การนาน้ิวหัวแม่มือ และน้ิวกลางมาจรดกันในลักษณะรูปวงกลม โดยให้น้ิวหัวแม่มือกดทับ น้ิวกลางไว้เล็กน้อย ส่วนนิ้วช้ี น้ิวนาง และนิ้วก้อย เหยียดตึงออกไป ซ่ึงลักษณะของมือล่อแก้ว สามารถใชไ้ ดห้ ลายลกั ษณะ เช่น ๑) มือลอ่ แก้วแบบตงั้ มือ คอื การหกั ขอ้ มอื ขึน้ ไปทางลาแขน ให้ปลาย นิ้วเหยียดตึง ตั้งชี้ขึ้นด้านบน ๒) เป็นการล่อแก้วแบบหงายมือ คือ การปฏิบัติเช่นเดียวกับล่อแก้ว แบบต้ังมือ แต่หงายฝา่ มอื ออกให้นวิ้ เหยียดตึง และปลายน้ิวชดี้ ้านล่าง หรอื ๓) มือลอ่ แก้วหักข้อมือมา ทางฝา่ มอื จบี ลอ่ แกว้

ชดุ ฝึกทกั ษะการปฏิบัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หนา้ ๒๕ ภาพที่ ๑๖ ตะแคงมือ ทม่ี า: สุทธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ กริ ิยาของมอื ที่อยใู่ นลักษณะของการต้ังมอื แตใ่ ห้สนั มือวางขนานไปกับพ้ืน โดยปลายนิ้วมือ ชีไ้ ปดา้ นหน้า ภาพท่ี ๑๗ บดมอื ที่มา: สุทธเิ ขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ บดมือ เป็นนาฏยศพั ท์ทใี่ ชใ้ นการเคล่อื นไหวต่อจากทา่ พนมมือ โดยมอื ทง้ั สองอยู่ ในลกั ษณะประกบมอื กัน แต่ให้เหลอ่ื มปลายน้วิ มือ โดยทง้ิ นา้ หนกั มือไปที่ฝา่ มอื ท้ังสองขา้ ง

ชุดฝึกทักษะการปฏบิ ตั ิท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หนา้ ๒๖ ภาพท่ี ๑๘ ส่ายมอื เดยี ว ภาพท่ี ๑๙ สา่ ยสองมอื ท่มี า: สุทธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การส่ายมือเปน็ การเคลื่อนไหวอยา่ งเร็วของแขนและมือในลักษณะแขนตึง โดยมีการปฏิบัติ ๒ แบบ คอื  ส่ายมือเดยี ว ต้งั มือ ตึงแขน พลิกขอ้ มอื หงายข้ึนเสมอไหล่แล้วพลิกข้อมือกลับเปน็ คว่าพร้อมกับตึง แขนลงมาข้างๆ ลาตัว แล้วพลิกข้อมือหงายยกแขนข้ึนเสมอไหล่อย่างเดิม ปฏิบัติติดต่อกันตาม จังหวะ  ส่ายสองมือ แขนท้ังสองตึงเสมอไหล่ โดยแขนข้างหน่ึงต้ังมือ ส่วนอีกข้างหน่ึงหงายมือ การส่าย แขนสองมือมีวิธีปฏิบตั ิเช่นเดียวกับการสา่ ยแขนมือเดียว แต่ต้องสลับการข้นึ ลงของมือและแขนท้ัง สองขา้ งให้มีความสัมพนั ธก์ ัน สา่ ยมอื เดียว ส่ายสองมือ

ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๒๗ ภาพที่ ๒๐ คลายจบี ที่มา: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ เป็นการเคล่ือนไหวต่อจากมือท่ีจีบคว่าอยู่ โดยค่อยๆ บดิ มือที่จีบคว่าอยู่มาทางน้ิวหัวแม่มือ จนกระทง่ั มอื แบหงาย ภาพที่ ๒๑ ม้วนจีบ ที่มา: สุทธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ีปฏบิ ตั ิ เปน็ การเคลื่อนไหวของมอื จบี ที่อยใู่ นลกั ษณะจีบหงาย โดยค่อยๆ บิดมือไปทางนิ้วกอ้ ย แล้ว ปล่อยมือจีบออกเปน็ ต้งั วงหรอื ตง้ั มือ

ชดุ ฝกึ ทักษะการปฏบิ ตั ิท่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศัพท์ หน้า ๒๘ ๓) นาฏยศพั ทส์ ว่ นลาตัว ภาพท่ี ๒๒ น่งั กระทบ ท่ีมา: สุทธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ น่ังกระทบ ในลักษณะการนั่งกระทบจะต้องดันเอว ดันไหล่ ตงั้ ลาตัวให้ตรง แข็งหน้าขาทั้งสอง ข้าง เพื่อสะดุ้งตัวขึ้นโดยจะยกก้นขึ้นเพียงเล็กน้อย และทิ้งตัวลงให้ก้นกระทบกับพ้ืนตามจังหวะ ซึ่งการน่ังกระทบมี ๒ แบบ คือ นั่งพับเพียบ และน่ังคุกเข่า ซึ่งท้ังสองแบบมีความแตกต่างที่ลักษณะ การน่งั ส่วนการปฏบิ ัติใชว้ ธิ ีการเดยี วกัน แต่ในการราเพลงชา้ ใชล้ ักษณะการนงั่ กระทบแบบนั่งคกุ เข่า นัง่ กระทบ

ชุดฝกึ ทักษะการปฏบิ ัติทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัตคิ วามเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๒๙ ภาพท่ี ๒๓ ยอ้ นตวั ท่มี า: สุทธเิ ขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การเปลี่ยนถ่ายน้าหนักตัวในลักษณะก้าวข้าง เช่น ก้าวข้างด้วยเท้าขวา ให้ใช้ จังหวะยืด – ยบุ ค่อยๆ ผ่อนน้าหนักจากเท้าขวามาอยูท่ ป่ี ลายเข่าดา้ นซ้าย จากนัน้ ค่อยๆ ยดื เข่าขึน้ ถา่ ยนา้ หนักกลับไปทป่ี ลายเข่าด้านขวาพร้อมกบั จงั หวะยบุ ลง ๔) นาฏยศัพท์สว่ นขาและเทา้ ภาพท่ี ๒๔ ประสมเท้า ทม่ี า: สทุ ธเิ ขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ นาส้นเท้าทง้ั สองชิดติดกัน แยกปลายเท้าออกจากกันเพียงเล็กน้อย ยอ่ เขา่ ทงั้ สองลง

ชดุ ฝึกทักษะการปฏบิ ตั ิท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๓๐ ภาพท่ี ๒๕ เหล่ือมเทา้ ท่ีมา: สทุ ธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ การยืนดว้ ยเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ส่วนอกี ข้างหน่ึงเปิดปลายเท้าเฉียงออกไปด้านข้างวางให้ส้น เทา้ อยู่ระดบั เดยี วกนั กบั ฝ่าเท้าของขาขา้ งท่ยี นื ตงึ นิ้วเท้าท้ังห้านว้ิ ยอ่ เขา่ ท้ังสองลง ภาพท่ี ๒๖ ประเทา้ ทีม่ า: สุทธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ เป็นท่าต่อเน่ืองจากการเหลื่อมเท้า เช่น ยืนด้วยเท้าซ้าย เหลื่อมเท้าขวา แล้วยกจมูกเท้า ลอยจากพืน้ โดยส้นเท้ายงั ติดพ้นื อยู่ จากนัน้ ใหน้ าจมกู เทา้ แตะพ้ืน ยอ่ เข่าท้งั สองลง

ชุดฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๓๑ ภาพที่ ๒๗ ยกเทา้ ทีม่ า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ เป็นทา่ ปฏบิ ตั ติ อ่ เนื่องจากการประเทา้ โดยเท้าข้างใดขา้ งหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอกี ข้างที่ ทาการประเท้าให้ยกขึ้นโดยให้ส้นเท้าสูงระดับเดยี วกันกับเข่าของเท้าข้างท่ียืน กันเข่าออกไปด้านข้าง ตึงนว้ิ เท้าทั้ง ๕ น้ิว และดนั ปลายน้ิวข้ึน ใหแ้ นวของหัวแมเ่ ทา้ ตรงกับสันหน้าแขง้ ของเท้าท่ียก ประเท้า ยกเท้า วิธปี ฏบิ ตั ิ ก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปข้างหน้า โดยให้ ป ล า ย เ ท้ า เ ฉี ย ง ไ ป ด้ า น ข้ า ง เ พี ย ง เ ล็ ก น้ อ ย ในขณะที่กาลังก้าวเท้าให้นาส้นเท้าลงก่อนแล้ว ค่อยเหยยี บเตม็ เทา้ ให้ส้นเทา้ หนา้ ตรงกับหวั แม่ เท้าหลัง โดยเท้าหน้ากับเท้าหลังห่างกัน ประมาณ ๑ ฝา่ มือ ย่อตวั งอเขา่ เปิดส้นเทา้ หลงั กันปลายเข่าท้ังสองออก น้าหนักตัวอยู่ท่ีปลาย เขา่ เทา้ หน้า ภาพที่ ๒๘ ก้าวหน้า ท่มี า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒)

ชุดฝึกทักษะการปฏิบตั ทิ ่าราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๓๒ ภาพที่ ๒๙ กระทุ้งเท้า – กระดกเทา้ ทม่ี า: สุทธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ  กระทุ้งเท้า เป็นลักษณะของการใช้จมูกเท้าแตะท่ีพ้ืนแล้วยกข้ึน โดยไม่ให้ส้นเท้าโดนพื้น เช่น ถ้ากระทุ้งเท้าขวา ให้ยืนโดยใช้เท้าซ้ายก้าวหน้า น้าหนักตัวอยู่ที่ปลายเข่าซ้าย จากนั้นยกเท้า ขวาเล็กน้อยแลว้ ใช้จมกู เท้าขวาแตะลงที่พืน้ หรือกระทงุ้ เบาๆ ยกยกขึ้นลอยจากพนื้  กระดกเท้า เป็นท่าปฏิบัติต่อเนื่องมาจากการกระทุ้งเท้า โดยยืนด้วยเท้าข้างใดข้างหน่ึงเป็น หลัก ในลักษณะย่อเข่า จากนั้นยกเท้าท่ีกระทุ้งขึ้นโดยหนีบน่องและส่งเข่าเท้าที่กระดกไปข้าง ด้านหลังให้ได้มากท่ีสุด หักข้อเท้าเข้าหาหน้าแข้ง น้าหนักตัวอยู่บนเท้าที่ยืน ตัวตรงไม่โน้มไป ดา้ นหน้า กระทุง้ เทา้ -กระดกเท้า

ชุดฝกึ ทักษะการปฏบิ ัติท่าราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หน้า ๓๓ ภาพที่ ๓๐ ก้าวขา้ ง ท่ีมา: สทุ ธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ ก้าวเท้าให้ปลายเท้าช้ีไปที่ด้านข้าง ในขณะที่กาลังก้าวเท้าให้นาส้นเท้าลงก่อนแล้วค่อย เหยียบเต็มเท้า ให้ส้นเท้าที่ก้าวข้างอยู่แนวเดียวกับหัวแม่เท้าของเท้าขาท่ียืนเป็นหลัก โดยให้เท้าท้ัง สองมีระยะห่างกันประมาณ ๑ ฟตุ หรอื ความกว้างประมาณไหล่ของผู้ปฏิบตั ิ ย่อตัวงอเข่า เปิดส้นเท้า หลงั กนั ปลายเขา่ ทง้ั สองออก นา้ หนักตวั อยทู่ ่ีปลายเข่าเท้าที่กา้ วข้าง ก้าวขา้ ง

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัตทิ า่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หนา้ ๓๔ ภาพที่ ๓๑ ตบเท้า ทมี่ า: สทุ ธิเขต ขนุ เณร (๒๕๖๒) วิธปี ฏบิ ตั ิ ยืนดว้ ยเท้าข้างใดขา้ งหนง่ึ ส่วนอีกขา้ งหนึ่งอยู่ในลักษณะการยนื เหล่ือมเท้า ย่อเข่า ลงท้ังสองข้าง จากน้ันยืดเข่าขึ้นเพียงเล็กน้อยแล้วยุบลง โดยย่อเข่าเกร็งหน้าขา เปิดจมูกเท้าเผยอขึ้นแต่ส้นเท้ายังวางอยู่กับพ้ืน แล้วสะดุ้งตัวยืดเข่าขึ้นใช้จมูกเท้า ตบลงกับพื้น เปิดปลายน้ิวเท้าขึ้นในเวลาตบเท้า ในขณะท่ตี บเท้าให้นา้ หนกั ตวั อยู่ บนเท้าที่ยืนเปน็ หลัก และใช้การยดื – ยุบประกอบการปฏบิ ัตดิ ว้ ย ภาพท่ี ๓๒ ฉายเทา้ ทม่ี า: สทุ ธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การใช้เท้าข้างใดข้างหน่ึงยืนเต็มเท้า น้าหนักอยู่เท้าที่ยืน เท้าท่ีจะฉายใช้จมูกเท้า แตะพ้ืน ตึงน้ิวเท้า ส้นเท้าเผยอขึ้นเล็กน้อย ย่อเข่าท้ังสองลง วางเท้าออกเป็น เส้นโคง้ ไปด้านขา้ งในลกั ษณะรูปครึ่งวงกลม

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบตั ิทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เลม่ ที่ ๓ ประวัติความเปน็ มาเพลงชา้ และนาฏยศพั ท์ หน้า ๓๕ ภาพที่ ๓๓ จรดเท้า ทม่ี า: สุทธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ  จรดเท้าด้วยจมูกเท้า โดยยืนด้วยเท้าข้างใดข้างหน่ึง ในลักษณะย่อเข่าลง ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้ จมูกเท้าแตะลงที่พืน้ ในระดับเดียวกันกับจมูกเท้าของขาท่ียืน ตึงปลายน้ิวเท้า และเปิดส้นเท้าให้ ลอยจากพนื้  จรดเท้าด้วยส้นเท้า โดยยืนด้วยเท้าข้างใดข้างหนงึ่ ในลักษณะย่อเข่าลง ส่วนเท้าอีกข้างหน่ึงใชส้ ้น เท้าแตะลงท่ีพ้นื ในระดับเดียวกันกับจมูกเท้าของขาท่ียืน ส่วนจมูกเท้าให้ยกลอยจากพน้ื ตึงปลาย นิ้วเท้า ภาพท่ี ๓๔ ขยน่ั เท้า ทม่ี า: สทุ ธเิ ขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การเคล่ือนไหวในลักษณะการไขว้เท้า เช่น ขย่ันเท้าขวาให้นาเท้าขวาก้าวหน้า ส่วนเท้าซ้ายวางหลังเปิดส้นเท้า น้าหนักอยู่ที่ปลายเข่าขวา จากน้ันถ่ายน้าหนักมา ท่ีเท้าซ้ายให้จมูกเท้ายันพื้น แล้วขยับเท้าขวาข้ึน ปฏิบัติสลับกันหลายๆ คร้ัง เป็น การย่าเท้าแบบถี่ๆ ในลักษณะไขว้เท้า แข็งหน้าขาท้ังสองข้าง ถ้าจะขย่ันเท้าซ้าย ให้ปฏบิ ัติเชน่ เดียวกนั แตใ่ หน้ าเทา้ ซ้ายก้าวหน้า

ชุดฝึกทักษะการปฏิบตั ิทา่ ราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงช้า และนาฏยศัพท์ หน้า ๓๖ ภาพที่ ๓๕ เกบ็ ท่ีมา: สทุ ธิเขต ขุนเณร (๒๕๖๒) วิธีปฏบิ ตั ิ การนาเท้าทั้งสองมาชิดกัน ย่อเข่าลง จากน้ันย่าเท้าท้ังสองด้วยจมูกเท้าให้ถี่ๆ สม่าเสมอกันอย่างต่อเน่ือง โดยเกร็งหน้าขาท้ังสองข้างไว้ ซึ่งการเก็บเท้ามีการ ปฏบิ ตั ิหลายแบบคือ  เกบ็ เท้าอยกู่ บั ที่  เกบ็ เทา้ เคลอ่ื นที่  เก็บเท้าเรียง (เก็บเทา้ ไปดา้ นขา้ ง) สรุปนาฏยศัพท์ที่ใช้ในเพลงช้าของตัวโขนพระ แบ่งสัดส่วนของการฝึกนาฏยศัพท์ ออกเป็น ๔ ส่วน คือ ๑) ส่วนศีรษะและไหล่ ๒) ส่วนแขนและมือ ๓) ส่วนลาตัว และ ๔) ส่วนขาและ เท้า ซ่ึงนาฏยศัพท์ท่ีใช้ในการปฏิบัติท่ารามากที่สุดคือ นาฏยศัพท์ส่วนขาและเท้า กับนาฏยศัพท์ส่วน แขนและมือ สว่ นนาฏยศพั ท์ลาตัว และศีรษะกบั ไหล่ เปน็ นาฏยศัพทท์ ใี่ ชป้ ระกอบท่าราเพอ่ื ให้เกิดลลี า การเคล่ือนไหวท่งี ดงาม

ชุดฝึกทกั ษะการปฏิบตั ิทา่ ราเพลงช้า (โขนพระ) เล่มที่ ๓ ประวัตคิ วามเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๓๗ เกร็ดความรูเ้ พ่ิมเติม เรอื่ ง ผลงานครอู าคม สายาคม บคุ คลสาคัญทางนาฏศลิ ปไ์ ทย (โขนพระ) ครูอาคม สายาคม เป็นบุคคลสาคัญทางนาฏศิลป์ไทยที่ได้รับการยอมรับว่าเปน็ ผู้เช่ียวชาญ ทางนาฏศิลป์ของกรมศิลปากร และทาหน้าที่สาคัญโดยการเป็นผู้ประกอบพิธีและครอบครูโขนละคร ให้แก่ศิลปนิ และศิษย์ทั้งหลายเป็นจานวนมากท้ังในอดีตและปัจจุบัน นอกจากบทบาทของการเป็นครู โขนแล้วครูอาคมยังเป็นศิลปินผู้มีความรู้ความสามารถในการแสดงโขน ละคร และมีผลงานดา้ นอ่ืนๆ รวมท้ังเป็นผู้จัดการเพลงพ้ืนเมืองทางสถานีวิทยุกระจายเสยี งแห่งประเทศไทยอกี ด้วย โดยผลงานของ ครูอาคมอันเป็นที่ประจักษแ์ ก่สายตาประชาชนตง้ั แตค่ รง้ั อายุ ๑๔ จนกระท่ังเสยี ชีวติ มดี ังน้ี ผลงานดา้ นการแสดง  การแสดงโขน เรอื่ งรามเกยี รต์ิ (โดยรบั บทบาทเปน็ “พระราม”) - ชุด สดี าลยุ ไฟ และปราบบรรลัยกลั ป์ - ชุด ปราบกากนาสูร - ชุด ไมยราพณ์สะกดทพั - ชดุ หนมุ านอาสา - ชุด ปล่อยมา้ อปุ การ - ชุด ต้นเรือ่ งรามเกยี รต์ิ - ชดุ พรหมาสตร์ - ชุด พระรามครองเมอื ง - ชดุ ศกึ วิรญุ จาบัง ฯลฯ  การแสดงละคร - ละครดกึ ดาบรรพ์ เร่อื ง อุณรุท ตอน กรงุ พาณชมทวปี - ละครเรอื่ งพระรว่ งหรือขอมดาดนิ แสดงเป็น พระร่วง พระไวย - ละครเรอ่ื งขุนชา้ งขนุ แผน ตอนพระไวยแตกทพั แสดงเปน็ ไกรทอง อิเหนา - ละครเรอื่ งไกรทอง ตอนปราบชาละวนั แสดงเปน็ พระอภัยมณี - ละครเรอื่ งอเิ หนา ตอนประสนั ตาต่อนก แสดงเป็น - ละครเร่อื งพระอภยั มณี ตอนพบนางละเวง แสดงเป็น ฯลฯ

ชุดฝึกทักษะการปฏิบัตทิ ่าราเพลงชา้ (โขนพระ) เล่มท่ี ๓ ประวตั ิความเป็นมาเพลงช้า และนาฏยศพั ท์ หน้า ๓๘  การแสดงละครปลกุ ใจ แสดงเปน็ แสงดาว - เรื่องมหาเทวี แสดงเปน็ อามาตย์ - เรอ่ื งแสนหวี แสดงเปน็ อามาตย์ - เรื่องเบญจเพส แสดงเปน็ อามาตย์ - เร่อื งราชมนู แสดงเป็น อามาตย์ - เรอ่ื งน่านเจา้ ผลงานด้านการประดิษฐ์ทา่ รา ๑. ท่าราตระนาฏราช นาออกแสดงคร้ังแรกในงานฉลองพระชนมายุครบ ๕ รอบ ของพระ เจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เฉลิมพลทิฆมั พร ๒. ท่าลีลาประกอบทา่ เช่อื มภาพลายเส้นในตาราฟอ้ นรา โดยใส่สร้อยทา่ ราต่อให้สามารถรา ตดิ ต่อกนั ไดจ้ นจบ ๓. ท่าราเพลงหน้าพาทย์โปรยข้าวตอกให้แก่ศิลปินรุ่นครูใช้ราในงานวันเกิดครบ ๕ รอบ ของนายธนิต อยโู่ พธิ์ อดตี อธิบดีกรมศิลปากร ๔. ท่าราเพลงเชิดจีนตัว ๓ ตอนขุนแผนพานางวันทองหนี ในลีลาของขุนแผน นางวันทอง และม้าสหี มอก ให้ประสานกลมกลืนกนั ในด้านท่ารา เช่น ท่าสรรเสริญครู ท่าโคมสามใบ ท่ายันต์ส่ีทิศ ในรายการศรีสุขนาฏกรรม ซง่ึ แสดง ณ โรงละครแห่งชาติ และในรายการอนื่ ๆ ผลงานดา้ นการเขยี น ๑. แต่งหนังสือท่าราเทพนมเล็ก โดยใช้คานาฏยศัพท์ตามลาดับอักษร (ที่ใช้ในท่าราชุดนี้) ใหส้ ามารถราได้ ในหนังสอื งานศพ นางผาด อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ๒. เขียนอธิบายท่าราต่างๆ ของพระ นาง ยักษ์ ลิง ในหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ นางมลั ลี คงประภสั ร์ ๓. เขียนเรื่องศิลปะต่างๆ และการใช้เพลงหน้าพาทย์พระประจาวันทุกๆ องค์ท่ีใช้ในการ สะเดาะนพเคราะห์ ในหนงั สอื ๕ รอบ นายอาคม สายาคม ๔. เขียนอธิบายภาพลายเส้นในตาราฟ้อนรา โดยใส่สรอ้ ยทา่ ให้เช่ือมท่าราติดต่อกนั เม่ืออา่ น แล้วสามารถทาได้ ในหนังสืองานศพ นางเล็ก พันธภ์ ักดี ๕. เขยี นอธิบายท่าราวงให้อ่านแล้วสามารถราได้ในหนังสอื ชยั พฤกษ์ ผลงานด้านวิทยกุ ระจายเสยี ง ๑. ตั้งคณะสายเมธี แสดงนยิ ายและบรรเลงในแบบดนตรสี ากลและดนตรีไทย ๒. ตั้งคณะสายาคม แสดงเพลงพนื้ เมืองในแบบต่างๆ ๓. เขียนบทความออกอากาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ในรายการ “ศิลปและเพลงพ้นื เมอื งของไทย” โดยแนะนาการสอนนาฏศิลปป์ ระกอบเพลงตา่ งๆ เช่น ก) เพลงราวงในแบบมาตรฐานของกรมศลิ ปากร ๑๐ เพลง ๑๗ ทา่ รา ข) เขียนอธิบายการราในชุดระบาหญิงไทย ค) เขียนอธิบายการราในชดุ สนี วล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook