Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กจังหวัดลำปาง สู่อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลำปางนครหัตถศิลป์ถิ่นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

คู่มือการยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กจังหวัดลำปาง สู่อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลำปางนครหัตถศิลป์ถิ่นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Published by chanuwat, 2021-10-29 08:12:13

Description: คู่มือการยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กจังหวัดลำปาง สู่อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลำปางนครหัตถศิลป์ถิ่นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Search

Read the Text Version

คมู่ ือ การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จังหวดั ลำปาง สู่อตั ลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑล์ าํ ปาง นครหัตถศิลปถ์ ่ินอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลำปาง สำนกั งานการวิจัยแห่งชาติ 2564

คำนำ คู่มือการยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กจังหวัดลำปางสู่อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปาง นครหัตถศิลป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1) การใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบทดแทน ดินขาวในกระบวนการผลิตเซรามิก 2) แนวทางการลดสารปนเป้ือนจากกระบวนการผลิตเซรามิก และการตรวจวัดประสิทธิภาพเตาเผา 3) การใช้งานระบบการตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์ เซรามิก 4) แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบและ 5) การใช้งาน Line Official Account (Line OA) สำหรับการจดั จำหน่ายผลติ ภณั ฑ์ โดยคมู่ ือน้ีจัดทำขนึ้ เพอ่ื ถ่ายทอดและ เผยแพร่องค์ความรู้จากกระบวนการวิจัยจากแผนงาน “การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง สู่อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปางนครหัตถศิลป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์” ซ่ึงได้รับทุน สนับสนุนการดำเนินการวิจัยจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อให้อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กจังหวัดลำปางและผู้สนใจ ได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในการพฒั นาการประกอบธรุ กิจ รวมถึงใช้ประโยชนใ์ นด้านอ่นื ๆ ตามความสนใจ ท้ายนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกที่ร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่างทุกโรงงาน ท่ีให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการเก็บข้อมูล และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิตเซรามิก ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการเข้าติดต้ังเคร่ืองมือต่าง ๆ เพ่ือเก็บข้อมูลการวิจัย ขอขอบคุณ คณะวิจัยในแผนงานและโครงการวิจัยย่อยทุกท่าน ท่ีมุ่งมั่นต้ังใจและร่วมมือเป็นอย่างดี ในการดำเนินการวิจัย จนสำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่วางไว้ ขอขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ท่ใี ห้การสนับสนุนทุนดำเนนิ การวิจัย ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ที่ให้การสนับสนุน เครื่องมือและสถานท่ีในการดำเนินการวิจัย ตลอดจนเจ้าหน้าท่ีวิจัย เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษา ทม่ี สี ่วนรว่ มในกระบวนการวิจัยจนทำให้งานวิจัยชนิ้ นเ้ี สรจ็ สมบรู ณ์ตามวัตถุประสงคท์ ี่ตั้งไว้ทกุ ประการ รองศาสตราจารยธ์ ิติมา คุณยศยง่ิ ผอู้ ำนวยการแผนงานวจิ ยั ตุลาคม 2564

สารบญั หนา้ การใช้ประโยชน์จากวตั ถดุ บิ ทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามิก 1 แนวทางการลดสารปนเป้ือนจากกระบวนการผลิตเซรามิก 13 และการตรวจวดั ประสทิ ธภิ าพเตาเผา การใช้งานระบบการตรวจสอบยอ้ นกลับของผลิตภณั ฑ์เซรามิก 29 แนวทางการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ 44 การใชง้ าน Line Official Account (Line OA) สำหรับการจัดจำหน่าย 49 ผลิตภณั ฑ์

การใชป้ ระโยชนจ์ ากวตั ถดุ ิบทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามิก 1 การใช้ประโยชนจ์ ากวัตถดุ บิ ทดแทนดนิ ขาว ในกระบวนการผลติ เซรามิก คู่มือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สูอ่ ัตลักษณ์ผลิตภณั ฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศิลป์ถิ่นอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

2 การใชป้ ระโยชนจ์ ากวตั ถดุ บิ ทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามิก การใชป้ ระโยชน์จากวัตถดุ ิบทดแทนดินขาวในกระบวนการผลิตเซรามกิ ชือ่ สตู รดนิ PS-01 ประเภทของสูตรดนิ เนอื้ ดนิ สโตนแวร์ สว่ นผสมท่ีใชใ้ นสตู รดิน วตั ถุดิบ สดั สว่ น (%) 80 หินพอตเตอรี 10 10 เฟลด์สปาร์ สดั ส่วน (%) ซิลกิ า 0.25 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดียมซิลเิ กต สภาวะการเผา 1200 ระยะเวลาในการยนื ไฟ 30 นาที อุณหภูมกิ ารเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอณุ หภูมิ 5C/นาที อตั ราการเพ่ิมอุณหภูมิ ชนิดเตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบตั ิของสูตรดนิ กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 2.5% ความหนาแน่นของน้ำดิน 1.72 กรัมต่อซีซี การไหลตวั ของน้ำดิน 18.2 วนิ าที การหดตวั หลงั การเผา 11.1% การดดู ซมึ นำ้ หลังการเผา 4.3% ความแข็งแรงก่อนการเผา 34 กโิ ลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงหลังการเผา 641 กโิ ลกรัมต่อตารางเซนตเิ มตร ลกั ษณะทางกายภาพ ค่มู ือ การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จงั หวัดลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปาง นครหตั ถศิลป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้ประโยชนจ์ ากวตั ถุดบิ ทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ 3 ช่ือสูตรดนิ PS-02 ประเภทของสูตรดนิ เนอ้ื ดินสโตนแวร์ สว่ นผสมที่ใช้ในสตู รดิน วตั ถุดิบ สดั สว่ น (%) 60 หินพอตเตอรี 20 20 เฟลดส์ ปาร์ สัดสว่ น (%) ซิลกิ า 0.26 สารเตมิ แตง่ สารละลายโซเดียมซลิ ิเกต สภาวะการเผา 1200 ระยะเวลาในการยนื ไฟ 30 นาที อุณหภูมกิ ารเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อัตราการลดอุณหภมู ิ 5C/นาที อัตราการเพมิ่ อณุ หภูมิ ชนิดเตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบัติของสตู รดนิ 3.34% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.71 กรัมตอ่ ซซี ี ความหนาแน่นของน้ำดนิ 20.2 วินาที การไหลตวั ของนำ้ ดิน 11.7% การหดตวั หลงั การเผา 3.89% การดูดซึมนำ้ หลังการเผา 29 กโิ ลกรมั ต่อตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 556 กิโลกรัมต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลักษณะทางกายภาพ คมู่ อื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณ์ผลติ ภัณฑ์ลําปาง นครหัตถศลิ ป์ถ่นิ อุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์

4 การใช้ประโยชนจ์ ากวัตถดุ ิบทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลิตเซรามกิ ชอ่ื สูตรดนิ PS-03 ประเภทของสตู รดนิ เนอื้ ดินสโตนแวร์ ส่วนผสมที่ใช้ในสูตรดิน วตั ถุดิบ สดั ส่วน (%) 50 หินพอตเตอรี 10 40 เฟลดส์ ปาร์ สัดส่วน (%) ซลิ ิกา 0.26 สารเตมิ แตง่ สารละลายโซเดยี มซิลิเกต สภาวะการเผา 1200 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อุณหภมู กิ ารเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอุณหภูมิ 5C/นาที อตั ราการเพิ่มอณุ หภูมิ ชนดิ เตาเผา เตาชตั เตอร์ สมบตั ขิ องสูตรดนิ 3.12% กากคา้ ตะแกรงเบอร์ 325 1.75 กรมั ตอ่ ซีซี ความหนาแน่นของนำ้ ดนิ 18.38 วินาที การไหลตวั ของน้ำดิน 13.1% การหดตัวหลงั การเผา 4.02% การดูดซมึ น้ำหลงั การเผา 26 กโิ ลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 759 กโิ ลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแขง็ แรงหลงั การเผา ลักษณะทางกายภาพ คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลติ ภัณฑล์ ําปาง นครหตั ถศลิ ป์ถน่ิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

การใช้ประโยชนจ์ ากวตั ถุดบิ ทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ 5 ช่ือสูตรดนิ PS-04 ประเภทของสูตรดนิ เน้ือดินสโตนแวร์ สว่ นผสมที่ใช้ในสตู รดิน วตั ถุดิบ สดั สว่ น (%) 40 หินพอตเตอรี 30 30 เฟลดส์ ปาร์ สดั ส่วน (%) ซิลกิ า 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดียมซลิ ิเกต สภาวะการเผา 1200 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อุณหภูมกิ ารเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อัตราการลดอุณหภมู ิ 5C/นาที อัตราการเพมิ่ อณุ หภูมิ ชนดิ เตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบัติของสตู รดนิ 2.4% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.68 กรัมตอ่ ซซี ี ความหนาแน่นของน้ำดนิ 19.29 วินาที การไหลตวั ของนำ้ ดนิ 9.5% การหดตวั หลงั การเผา 6.4% การดูดซึมนำ้ หลังการเผา 32 กิโลกรัมตอ่ ตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 425 กิโลกรัมตอ่ ตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลักษณะทางกายภาพ คมู่ อื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณผ์ ลิตภัณฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศลิ ป์ถ่ินอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

6 การใชป้ ระโยชน์จากวตั ถดุ บิ ทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ ชอ่ื สูตรดนิ PS-05 ประเภทของสตู รดนิ เนอื้ ดนิ สโตนแวร์ ส่วนผสมที่ใช้ในสูตรดิน วตั ถุดิบ สดั ส่วน (%) 40 หินพอตเตอรี 10 50 เฟลดส์ ปาร์ สัดสว่ น (%) ซลิ ิกา 0.27 สารเตมิ แตง่ สารละลายโซเดยี มซิลิเกต สภาวะการเผา 1200 ระยะเวลาในการยนื ไฟ 30 นาที อุณหภมู กิ ารเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอณุ หภูมิ 5C/นาที อตั ราการเพิ่มอณุ หภูมิ ชนดิ เตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบตั ขิ องสูตรดนิ 1.45% กากคา้ ตะแกรงเบอร์ 325 1.76 กรมั ตอ่ ซีซี ความหนาแน่นของนำ้ ดิน 16.45 วนิ าที การไหลตวั ของน้ำดนิ 13% การหดตัวหลงั การเผา 5.9% การดูดซมึ น้ำหลงั การเผา 32 กิโลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 418 กิโลกรัมต่อตารางเซนตเิ มตร ความแขง็ แรงหลงั การเผา ลักษณะทางกายภาพ คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหัตถศลิ ปถ์ นิ่ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้ประโยชนจ์ ากวตั ถุดิบทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ 7 ชือ่ สตู รดนิ LR-01 ประเภทของสตู รดิน เนื้อดนิ สโตนแวร์ ส่วนผสมท่ีใช้ในสตู รดนิ วตั ถุดบิ สดั ส่วน (%) 50 กากดินขาวลำปาง 30 20 เฟลดส์ ปาร์ สัดส่วน (%) ซิลิกา 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดยี มซลิ ิเกต สภาวะการเผา 1230 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อณุ หภมู ิการเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอณุ หภูมิ 5C/นาที อัตราการเพ่มิ อุณหภูมิ ชนิดเตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบตั ขิ องสตู รดิน 4.22% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.68 กรัมตอ่ ซีซี ความหนาแนน่ ของนำ้ ดิน 14.65 วนิ าที การไหลตัวของนำ้ ดิน 9% การหดตวั หลงั การเผา 2.9% การดดู ซึมน้ำหลังการเผา 34 กิโลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงกอ่ นการเผา 1,310 กิโลกรัมตอ่ ตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลกั ษณะทางกายภาพ คมู่ อื การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สอู่ ัตลกั ษณผ์ ลิตภณั ฑล์ ําปาง นครหัตถศิลปถ์ นิ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

8 การใช้ประโยชนจ์ ากวัตถุดิบทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ ชอ่ื สตู รดิน LR-02 ประเภทของสตู รดนิ เนื้อดินสโตนแวร์ ส่วนผสมท่ใี ชใ้ นสตู รดิน วัตถุดิบ สัดสว่ น (%) 50 กากดนิ ขาวลำปาง 20 30 เฟลดส์ ปาร์ สัดส่วน (%) ซิลิกา 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดยี มซิลเิ กต สภาวะการเผา 1230 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อณุ หภูมิการเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอณุ หภมู ิ 5C/นาที อตั ราการเพิม่ อณุ หภูมิ ชนดิ เตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบตั ขิ องสตู รดิน 2.45% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.68 กรมั ต่อซซี ี ความหนาแน่นของนำ้ ดนิ 15.41 วินาที การไหลตัวของนำ้ ดนิ 9.1% การหดตวั หลงั การเผา 2.8% การดูดซมึ นำ้ หลังการเผา 38 กิโลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 1,158 กโิ ลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลักษณะทางกายภาพ คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สอู่ ตั ลักษณ์ผลิตภณั ฑล์ าํ ปาง นครหัตถศลิ ปถ์ น่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้ประโยชนจ์ ากวตั ถุดิบทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามิก 9 ชือ่ สตู รดนิ LR-03 ประเภทของสตู รดิน เนอ้ื ดินสโตนแวร์ ส่วนผสมท่ีใช้ในสตู รดนิ วตั ถุดบิ สดั สว่ น (%) 50 กากดินขาวลำปาง 10 40 เฟลดส์ ปาร์ สัดสว่ น (%) ซิลิกา 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดยี มซลิ ิเกต สภาวะการเผา 1230 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อณุ หภมู ิการเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอุณหภูมิ 5C/นาที อัตราการเพ่มิ อุณหภมู ิ ชนิดเตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบตั ขิ องสตู รดิน 1.65% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.72 กรมั ตอ่ ซีซี ความหนาแนน่ ของน้ำดิน 18.24 วินาที การไหลตัวของนำ้ ดิน 12.6% การหดตวั หลงั การเผา 1.7% การดดู ซึมน้ำหลังการเผา 38 กโิ ลกรัมตอ่ ตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงกอ่ นการเผา 1,389 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลกั ษณะทางกายภาพ คมู่ อื การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวัดลำปาง สอู่ ัตลกั ษณ์ผลิตภัณฑล์ ําปาง นครหัตถศิลป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

10 การใช้ประโยชนจ์ ากวัตถุดิบทดแทนดินขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ ช่ือสตู รดนิ LR-04 ประเภทของสตู รดนิ เนือ้ ดนิ สโตนแวร์ ส่วนผสมทใ่ี ชใ้ นสตู รดิน วัตถุดิบ สัดส่วน (%) 40 กากดินขาวลำปาง 50 10 เฟลด์สปาร์ สัดส่วน (%) ซลิ ิกา 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดยี มซิลเิ กต สภาวะการเผา 1230 ระยะเวลาในการยืนไฟ 30 นาที อณุ หภูมิการเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอุณหภมู ิ 5C/นาที อัตราการเพิม่ อณุ หภูมิ ชนดิ เตาเผา เตาชตั เตอร์ สมบตั ขิ องสูตรดิน 1.44% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.68 กรัมต่อซีซี ความหนาแน่นของน้ำดนิ 16.22 วินาที การไหลตัวของนำ้ ดิน 12.1% การหดตวั หลงั การเผา 0.9% การดูดซมึ นำ้ หลังการเผา 31 กโิ ลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงก่อนการเผา 1,018 กโิ ลกรัมตอ่ ตารางเซนติเมตร ความแข็งแรงหลังการเผา ลกั ษณะทางกายภาพ คู่มอื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จังหวดั ลำปาง สอู่ ตั ลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลําปาง นครหัตถศลิ ป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การใชป้ ระโยชน์จากวตั ถุดิบทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ 11 ชื่อสูตรดิน LR-05 ประเภทของสูตรดิน เนอ้ื ดินสโตนแวร์ สว่ นผสมทีใ่ ชใ้ นสตู รดิน วตั ถุดิบ สดั สว่ น (%) 40 กากดนิ ขาวลำปาง 40 20 เฟลด์สปาร์ สัดส่วน (%) ซิลกิ า 0.27 สารเตมิ แต่ง สารละลายโซเดียมซลิ ิเกต สภาวะการเผา 1230 ระยะเวลาในการยนื ไฟ 30 นาที อณุ หภมู ิการเผา oxide บรรยากาศการเผา 5C/นาที อตั ราการลดอุณหภูมิ 5C/นาที อตั ราการเพิ่มอณุ หภมู ิ ชนิดเตาเผา เตาชัตเตอร์ สมบัติของสูตรดิน 1.44% กากค้าตะแกรงเบอร์ 325 1.68 กรัมต่อซซี ี ความหนาแนน่ ของนำ้ ดิน 16.24 วินาที การไหลตวั ของนำ้ ดิน 13.1% การหดตวั หลังการเผา 0.3% การดดู ซมึ นำ้ หลังการเผา 32 กิโลกรมั ตอ่ ตารางเซนตเิ มตร ความแขง็ แรงก่อนการเผา 1,012 กโิ ลกรัมตอ่ ตารางเซนติเมตร ความแขง็ แรงหลงั การเผา ลกั ษณะทางกายภาพ คมู่ อื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลติ ภัณฑล์ ําปาง นครหตั ถศลิ ป์ถ่นิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

12 การใชป้ ระโยชนจ์ ากวตั ถดุ บิ ทดแทนดนิ ขาวในกระบวนการผลติ เซรามกิ ข้ันตอนกระบวนการเตรยี มเน้ือดนิ 1. นำวัตถุดิบทุกตัวไปผึ่งแห้งหรืออบแห้งในเตาอบไฟฟ้า สำหรับวัตถุดิบที่เป็นก้อน ขนาดใหญท่ ำการทบุ ให้มีขนาดเล็กลงกอ่ นนำไปอบแหง้ 2. ชัง่ วตั ถุดบิ หลงั อบแหง้ ทุกตวั ตามสดั ส่วนท่ีระบใุ นส่วนผสมท่ใี ช้สตู ร 3. บดวัตถุดิบทั้งหมดรวมเข้าด้วยกันในหม้อบดโดยบดแบบเปียก ใช้ปริมาณน้ำร้อยละ 40 และเติมสารละลายโซเดียมซิลิเกตในปริมาณร้อยละ 25 โดยน้ำหนัก เพื่อช่วยกระจายตัวส่วนผสม และทำให้บดผสมวตั ถดุ ิบใหเ้ ข้ากนั ไดด้ ยี งิ่ ขนึ้ ใชเ้ วลาบดที่ 24 ช่วั โมง 4. ถ่ายน้ำดินออกจากหม้อบด และทำการทดสอบค่ากากค่าตะแกรงเบอร์ 325 เมช หลังจากนั้นกรองน้ำดินอีกครั้งผ่านตะแกรวขนาด 100 เมช และนำไปวัดค่าความหนาแน่น และการ ไหลตัวของนำ้ ดนิ กอ่ นนำไปใช้งาน 5. นำน้ำดินที่ได้ไปทำการขึ้นรูปเป็นชิ้นทดสอบแบบแท่งด้วยวิธีการหล่อแบบในแม่พิมพ์ ปนู ปลาสเตอรท์ ี่เตรียมไว้ 6. ทำการแกะแบบเมื่อชิ้นงานแห้งตัว และวัดขนาดชิ้นงานก่อนนำเข้าอบที่อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากวัดขนาดอีกครั้งเพื่อหาค่าการหดตัวหลังอบแห้ง และนำช้นิ งานบางสว่ นไปวดั คา่ ความแขง็ แรหลงั การเผา 7. นำชิ้นงานที่เหลือเข้าเผาในเต้เผาทดสอบตามอุณหภูมิและสภาวะที่กำหนด เมื่อชิ้นงาน ออกจากเตาเผา นำมาวัดขนาดอีกครั้งเพื่อหาค่าการหดตัวหลังการเผา จากนั้นนำไปทดสอบหาค่า ความแขง็ แรง และคา่ การดูดซึมนำ้ ของชิ้นงานหลังการเผา 8. เม่ือมคี า่ สมบตั ิทใ่ี กลเ้ คยี งกับคา่ ท่ีกำหนดา สามารถนำไปใช้ในกระบวนการผลติ ได้ คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลติ ภัณฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศิลปถ์ น่ิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

แนวทางการลดสารปนเป้อื นจากการผลิตเซรามกิ และการตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผา 13 แนวทางการลดสารปนเปอ้ื นจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผา คมู่ ือ การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สอู่ ตั ลักษณผ์ ลติ ภัณฑล์ าํ ปาง นครหัตถศลิ ปถ์ ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

14 แนวทางการลดสารปนเปื้อนจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา แนวทางการลดสารปนเปอ้ื นจากกระบวนการผลติ เซรามิก โรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกที่มีสารปนเปื้อนในดินและน้ำทิ้งจากกระบวนการผลิตเซรามิก มีความจำเป็นต้องทำการบำบัดก่อนปล่อยออกนอกโรงงาน โดยโรงงานส่วนใหญ่มักจะใช้น้ำวนเวียน อยู่ภายในโรงงาน เช่น นำไปใช้ล้างพื้น ล้างเครื่อง หรือบางกระบวนการสามารถนำไปใช้ใน กระบวนการเตรียมเนื้อดินได้ด้วย บางโรงงานมีการจัดการเกี่ยวกับเส้นทางของน้ำก่อนที่จะลงบ่อ บำบัด โดยน้ำท่มี าจากกระบวนการเตรียมน้ำดินจะถูกวนกลับไปใช้เติมในหม้อบดเลย แต่จะต้องมีการ คำนวณ %Solid ที่มีอยู่ในน้ำก่อน เพื่อให้ได้สัดส่วนของน้ำที่ถูกต้องในกระบวนการผลิตน้ำดิน ซึ่งการทำเช่นนี้พนักงานต้องมีวนิ ัยในการทำงานดี มีการทำ 5ส ที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้มีสิ่งสกปรกเจอื ปนลงไปในกระบวนการ ไม่ว่าจะเป็นเศษขยะหรือน้ำมัน หากโรงงานไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียที่ดีพอ น้ำเสียที่ถูกปล่อยออกนอกโรงงานจะเป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมาก เนื่องจากน้ำในระบบ ของอุตสาหกรรมเซรามิกนั้นจะมีโลหะหนักหลายชนิดปนอยู่ ดังนั้นการบำบัดน้ำก่อนปล่อยออกนอก โรงงานจึงมีความสำคัญ โดยแนวทางในการบำบดั นำ้ เสยี ในภาพรวมมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. กระบวนการทางเคมี (chemical process) เป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียโดยการแยกสารต่าง ๆ หรือสิ่งปนเปื้อนในน้ำเสยี ที่บำบัด เช่น โลหะ หนกั สารพษิ สภาพความเปน็ กรดด่างสูง ๆ ที่ปนเปื้อนอย่ดู ้วยการเติมสารเคมีต่าง ๆ ลงไป เพอื่ ให้เข้า ไปทำปฏิกิริยา ซึ่งจะมีประโยชน์ในการแยกสาร แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือ เมื่อเติมสารเคมีลงในน้ำเสียแลว้ ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และวิธีนี้จะมีค่าใช้จ่ายสำหรับสารเคมีค่อนข้างสูง ดังนั้นกระบวนการทางเคมีจะเลือกใช้ก็ต่อเมื่อน้ำเสียไม่สามารถบำบัดได้ด้วยกระบวนการทาง กายภาพหรอื ชวี ภาพ การทำให้เกิดตะกอน (precipitation) อาศยั หลักการเติมสารเคมีลงไปทำปฏิกิริยา ทำให้เกิด กลุ่มตะกอนตกลงมา โดยทั่วไปสารแขวนจะมีประจุลบ ดังนั้นสารเคมีที่เติมลงไปจึงเป็นประจุบวก เพื่อทำให้เป็นกลาง การแยกด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายสูง แต่ก็มีประสิทธิภาพสูงเช่นกัน ดังนั้นวิธีนี้ จะเลือกใช้ต่อเมื่อไม่สามารถแยกได้โดยกระบวนการทางกายภาพหรือชีวภาพ โดยส่วนมากสารเคมี ที่ทำให้เกิดตะกอนจะละลายน้ำ เช่น เกลือของสารประกอบต่าง ๆ เช่น เกลืออะลูมิเนียมซัลเฟตหรือ สารสม้ (Al2(SO4)) เกลอื เหล็ก (FeCl3, FeSO4) และเกลอื ของแคลเซียม (Ca(OH)2) ส่วนเกลือที่นำมา ช่วยในการเกิดตะกอนได้ดียิ่งขึ้นนี้เป็นสารประกอบของกลุ่ม Activated ของ Silica และ Polyelectrolytes โดยกระบวนการทางเคมมี หี ลายวธิ ี คู่มือ การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณผ์ ลติ ภณั ฑ์ลําปาง นครหตั ถศิลปถ์ ิ่นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

แนวทางการลดสารปนเป้ือนจากการผลิตเซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา 15 นำ้ เสียทม่ี ีสารแขวนลอยที่มปี ระจลุ บ เช่น ดินเหนยี ว ไม่สามารถจะตกตะกอนเองได้ จำเป็นท่ี จะต้องหาสารเคมีที่มีประจุบวกเติมลงไป เพื่อทำให้เกิดความเป็นกลาง กวนให้เกิดการรวมตัวจนได้ ตะกอนใหญ่ข้ึนและตกลงมายังก้นถังได้ (รูปที่ 1) สารเคมที ีม่ ีประจุบวกเป็นจำนวนมาก ได้แก่ สารส้ม และเกลือเหล็ก แต่ที่นิยมใช้กันคือ สารส้ม เพราะมีราคาถูก แต่ตะกอนที่ตกด้วยสารส้มจะเบารีดน้ำ ออกยากกว่าตะกอนที่เกิดจากเกลือเหล็ก ในบางกรณีอาจต้องใช้สารส้มปริมาณสูง จึงจะเกิดผลตาม ต้องการ ทำให้มีราคาแพงกวา่ การใช้เกลอื เหล็กซ่ึงให้ผลเชน่ เดียวกนั สำหรับตะกอนที่ตกลงมาหากเป็นพวกโลหะหนักที่เป็นอันตรายจะต้องนำไปกำจัด มิฉะนั้น แล้วจะเกิดอนั ตรายต่อระบบนิเวศได้ สำหรับสารละลายอินทรียบ์ างประเภท อาจกำจดั ออกได้ด้วยวิธี เคมีหากปรับสภาพให้เกิดปฏิกิริยาได้อย่างเหมาะสม และมีราคาถูกว่าระบบชีวภาพมาก เพราะใช้ พลังงานน้อยกว่า ปฏกิ ิริยาเกดิ ขนึ้ ได้รวดเร็วกวา่ และปรมิ าณพื้นทีท่ ตี่ อ้ งการใช้ยังน้อยกว่าอีกดว้ ย รปู ท่ี 1 กระบวนการตกตะกอนจากการเติมสารเคมี การเกิดออกซิเดชันทางเคมี (chemical oxidation) อาศัยหลักการเสียอิเล็กตรอนของ อะตอมให้แก่สารเคมีที่เติมลงไปในน้ำเสีย โดยสารเคมีนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) ส่วนมากวิธีนี้จะนิยมใช้เปลี่ยนโมเลกุลของโลหะที่เป็นพิษ เช่น การเปลี่ยน Fe2+ ซึ่งมีพิษมาก ไปเปน็ สาร Fe3+ ซึง่ มีพษิ น้อย ดว้ ยคลอรนี การเกิดรีดกั ชนั ทางเคมี (chemical reduction) เป็นปฏกิ ิรยิ าท่มี ีการรับอเิ ล็กตรอน วธิ ีการนี้ เป็นการเปล่ียนสภาพของสารพิษไปเป็นสารทีม่ ีอันตรายน้อยลง อะตอมหรือไอออนของสารพิษจะรับ อิเล็กตรอนจากสารเคมีที่เติมลงไป ซึ่งมีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ (reducing agent) เช่น การเปลี่ยน Cr6+ ซึง่ มีพิษมากไปเป็น Cr3+ ดว้ ยเฟอรัสซัลเฟต (FeSO4) ในสภาพที่เป็นกรด คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลติ ภัณฑ์ลําปาง นครหัตถศลิ ปถ์ ิ่นอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

16 แนวทางการลดสารปนเปอื้ นจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวัดประสทิ ธภิ าพเตาเผา การสะเทินหรือการทำให้เป็นกลาง (neutralization) เป็นการเปลี่ยนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้ำเสียให้มีฤทธิ์เป็นกลาง (pH = 7) ถ้าต้องการปรับค่าน้ำเสียที่มีฤทธิ์เป็นกรด (pH < 7) ในนำ้ เสียใหส้ ูงข้ึน ตอ้ งเติมสารที่มีฤทธเิ์ ปน็ ด่าง เชน่ โซดาไฟ (NaOH) ปนู ขาว (CaO) หรือแอมโมเนีย (NH3) เปน็ ตน้ สว่ นกรณีถา้ ตอ้ งการปรับนำ้ เสียมีฤทธ์ิเป็นด่าง (pH > 7) ให้มคี ่า pH ต่ำลง จะต้องเติม กรด เช่น กรดกำมะถัน (H2SO4) กรดไนตริก (HNO3) กรดเกลือ (HCl) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นต้น ดังรปู ท่ี 2 รปู ที่ 2 กระบวนการทำให้เป็นกลาง 2. กระบวนการทางชวี วทิ ยา (biological process) เป็นการอาศัยหลักการใช้จุลินทรีย์ต่าง ๆ มาทำการย่อยสลายเปลี่ยนอินทรีย์สารไปเป็น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย เป็นการบำบัดน้ำเสียที่ดีที่สุดในแง่ของการลดปริมาณ สารอินทรีย์ในแหล่งน้ำ แต่หลักการนี้เลือกสภาวะแวดล้อมให้เหมาะกับการทำงานของจุลินทรีย์ โดยสัมพันธ์กับปริมาณของจุลินทรีย์ และเวลาที่ใช้ในการย่อยสลาย แบคทีเรียที่เลือกใช้ในการย่อย สลายสารอินทรีย์แยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แบคทีเรียที่ต้องใช้ออกซิเจน (aerobic bacteria) สว่ นกลุ่มที่ 2 เป็นพวกไม่ใช้ออกซเิ จน (anaerobic bacteria) ในปจั จุบันการบำบดั ดว้ ยวธิ ที างชวี ภาพกำลังไดร้ บั ความสนใจมากขนึ้ เรือ่ ย ๆ เนอื่ งจากเปน็ วธิ ี ที่ปลอดภัย มีค่าใช้จ่ายต่ำ และไม่ก่อให้เกิดสารพิษตกค้างในพื้นที่บำบัด หนึ่งในนั้นก็คือวิธีการบำบดั ด้วยพืช (phytoremediation) ซึ่งเป็นเทคนิคการนำพืชมาใช้ช่วยดูดโลหะหนักจากดินและน้ำที่ ปนเปื้อนขึ้นไปสะสมไว้ที่ใบ ลำต้น หรือรากของพืช หลังจากนั้นจึงค่อยนำส่วนต่าง ๆ ของพืชไปเผา หรอื ฝงั กลบต่อไป ดังนั้นพืชทเ่ี หมาะสมในการนำมาใช้นั้นจึงควรเปน็ พืชที่มีความทนทานต่อโลหะหนัก และสามารถสะสมโลหะหนักไดใ้ นปริมาณมาก คมู่ ือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง สูอ่ ัตลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลําปาง นครหัตถศิลป์ถนิ่ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

แนวทางการลดสารปนเปื้อนจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา 17 จากการศึกษาวิจัยได้ค้นพบว่าจุลินทรยี ์ที่อาศัยอยู่บรเิ วณรากพืชบางชนิดมีคุณสมบัติทั้งช่วย เพิ่มอัตราการเจริญของพืชและช่วยเปลี่ยนโลหะหนักให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดซึมผ่านรากได้ ซึ่งคุณสมบัติทั้งสองนี้นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของเท คนิคการบำบัดด้วยพืชในการบำบัด การปนเปื้อนโลหะหนักแล้ว สารต่าง ๆ ที่จุลินทรีย์สร้างขึ้นนี้ยังมีความเป็นพิษต่ำและถูกย่อยสลาย ตามธรรมชาติได้ง่ายด้วย สำหรับสารที่จุลินทรีย์สร้างขึ้นที่พบว่าสามารถช่วยเพิ่มอัตราการเ จริญ ของพืช ได้แก่ siderophore ซึ่งจะจับกับเหล็กในดินให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดซึมได้ ส่วนสารท่ี จุลินทรีย์สร้างขึ้นที่ช่วยเปลี่ยนโลหะหนักให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดซึมผ่านรากได้นั้น ได้แก่ กรด อินทรีย์ชนิดต่าง ๆ เช่น กรดออกซาลิก กรดซิตริก กรดฟอร์มิก ซึ่งจะช่วยให้ดินมีความเป็นกรดมาก ขึ้น ส่งผลให้โลหะหนักสามารถละลายน้ำได้มากขึ้น ดังนั้นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลไกการสร้างสาร เหล่านี้ในจุลินทรีย์ รวมทั้งการคัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการผลิตสารต่าง ๆ เหล่านี้ได้ดี จะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพของเทคนิค phytoremediation ในการบำบัดการปนเปื้อนโลหะหนัก ในสิ่งแวดล้อมให้ดีมากยงิ่ ข้นึ ตอ่ ไป 3. กระบวนการทางกายภาพ (physical process) เป็นการบำบัดน้ำเสียอย่างง่ายซึ่งจะแยกของแข็งที่ไม่ละลายน้ำออก วิธีนี้จะแยกตะกอนได้ ประมาณ 50-65% ส่วนเรื่องการแยกความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์ (BOD5) ประมาณ 20-30% เทา่ น้ัน วธิ ีการต่าง ๆ ในกระบวนการนี้มีหลายวิธี เช่น การดักดว้ ยตะแกรง (screening) เป็นการแยก เศษขยะต่าง ๆ ที่มากับน้ำเสีย เช่น เศษไม้ ถุงพลาสติก กระดาษ ตะแกรงมีหลายขนาด การดักด้วย ตะแกรงจึงเป็นการแยกขั้นตอนแรกในการบำบัดน้ำเสีย การตัดย่อย (combination) คือ การใช้ เครื่องตัดทำลายเศษขยะขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง การกวาด (skimming) เป็นการกำจัดน้ำมัน และไขมันโดยทำการดักหรือกวาดออกจากน้ำเสยี การทำให้ลอย (floating) จะใชก้ บั ตะกอนท่ีมีความ ถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ การตกตะกอน (sedimentation) เป็นการแยกตะกอนออกจากน้ำเสีย โดยอาศัยหลักการเรอ่ื งแรงโนม้ ถ่วง ซง่ึ จะใช้กับตะกอนท่ีมคี วามถว่ งจำเพาะมากกว่านำ้ 4. กระบวนการทางกายภาพ-เคมี (physical-chemical process) เป็นกระบวนการที่ต้องมีอุปกรณ์ช่วยมากกว่ากระบวนการที่กลา่ วมา ซึ่งกระบวนการนี้จะใช้ ในขั้นตอนสุดท้ายในการบำบัดน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการในขั้นตอนอื่นแล้ว เช่น กระบวนการ ดงั ต่อไปนี้ 4.1 การดูดซับด้วยถ่าน (carbon adsorption) วิธีการนี้ใช้ผงถ่านหรือคาร์บอน เปน็ ตวั ดูดซบั สารเจือปนท่ลี ะลายอยู่ในน้ำทิ้ง คมู่ อื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สู่อตั ลกั ษณ์ผลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหัตถศิลปถ์ นิ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

18 แนวทางการลดสารปนเปื้อนจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธภิ าพเตาเผา การดูดซับด้วยผงถ่านเป็นกระบวนการที่ใช้ผงถ่านดูดซับเอาสารเคมี (สารอนินทรีย์ และสารอินทรีย์) บางชนิดที่ละลายอยู่ในน้ำเสีย หลังจากแยกเอาผงถ่านออกแล้วจะได้น้ำทิ้งที่ได้ มาตรฐานระบายออกจากโรงงานได้ ผงถา่ นที่นำมาดดู ซับสี สารอินทรยี ์ หรือสารอนนิ ทรยี ์ เป็นผงถ่าน ที่มีขนาดเล็ก 0.1 มิลลิเมตร ผ่านการเผาในเตาที่มีออกซิเจนจนร้อนแดง เพื่อไล่สารพวก ไฮโดรคาร์บอน แล้วนำมาแอกติเวท (Activate) ด้วยก๊าซ (Oxidizing Gas) จนโครงสร้างพรุนไปทั่ว จากนั้นนำมาแยกขนาด ผงถ่านพวกนี้เมื่อนำมาใช้คล้ายวัสดุกรองในถังกรอง โดยปล่อยให้น้ำเสีย ทต่ี อ้ งการกำจัดไหลผ่านถังกรองถ่านช้า ๆ เพือ่ ใหเ้ กดิ การดูดซบั ไดเ้ ตม็ ที่ (รูปที่ 3) น้ำทผ่ี ่านการกรองน้ี แล้วจะระบายทง้ิ หรือนำกลับมาใช้ประโยชน์อยา่ งอ่ืนได้ ส่วนตวั ผงถา่ นท่ีหมดประสิทธิภาพการดูดซับ แล้ว สามารถนำกลับมาล้างด้วยสารเคมีเพื่อปรับคืนสภาพแล้วนำมาใช้ใหม่ได้ ทำซ้ำ ๆ เช่นนี้ไป จนกว่าผงถ่านนั้นจะหมดสภาพไปจริง ๆ ในกรณีนี้ใช้ได้กับการดูดซับที่ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีติดแน่น กับผงถ่าน หากในระหว่างการกรองหรือดูดซับเกิดปฏิกิริยาเคมีติดแน่นกับผงถ่านก็ไม่สามารถนำมา ปรบั คนื สภาพได้ ตอ้ งนำไปกำจดั ดว้ ยการเผาต่อไป ปญั หาทพี่ บบ่อยในการดดู ซบั คือ ปัญหาของพื้นผิว นอกอุดตันจนปิดช่องว่างระหว่างเม็ดถ่านทำให้น้ำเสียไหลผ่านลงไปไม่ได้ จำเป็นต้องล้างสิ่งสกปรก เหลา่ น้ันออกแบบเดยี วกบั การลา้ งทรายกรอง การตรวจสอบเพื่อหาปริมาณผงถ่านที่เหมาะสมต่อการดูดซับ ตลอดจนหา จำนวนครั้งที่นำผงถ่านนั้นกลับมาใช้ซ้ำ สามารถทำได้ในห้องทดลองโดยใช้หลักการของไอโซเทอม Isothem) ข้อมูลที่ได้จากการทำไอโซเทอมสามารถนำมาหาคำตอบที่ต้องการได้ เราจะทราบได้ว่า 1 หนว่ ยนำ้ หนกั ของผงถ่านจะดดู ซบั สารชนดิ นั้น ๆ ไดเ้ ท่าไร เป็นตน้ รปู ที่ 3 กระบวนการดูดซับดว้ ยผงถา่ น คู่มอื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวัดลำปาง ส่อู ตั ลกั ษณผ์ ลติ ภณั ฑล์ ําปาง นครหตั ถศิลปถ์ น่ิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

แนวทางการลดสารปนเป้อื นจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผา 19 4.2 การแลกเปลี่ยนประจุ (ion exchange) วิธีการนี้อาศัยหลักการแลกเปลี่ยน ประจุระหว่างสารปนเปื้อนในน้ำเสียกับตัวกลางที่บรรจุ ซึ่งมีทั้งประจุบวกและประจุลบ โดยจะมีการ ลำเลยี งน้ำภายใน ดงั รูปที่ 4 การค้นพบสารสังเคราะห์ประเภทเรซิน (Synthetic Resin) ซึ่งมีความสามารถ ในการแลกประจุได้ดี นับได้ว่ามีประโยชน์ต่อการทำน้ำสะอาดและการบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะการ กำจัดเอาพวกโลหะหนัก เช่น เหล็กและโครเมียม หรือพวกสารอาหาร เช่น ไนโตรเจน แอมโมเนีย และฟอสเฟต ออกจากน้ำทิ้ง และป้องกันไม่ให้สาหร่ายเกิดข้ึนมากเกินต้องการ นอกจากน้ีสารอาหาร ที่ถูกเรซินจับไว้สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก ส่วนตัวเรซินสังเคราะห์เมื่อใช้งานหมด ประสิทธิภาพแล้ว นำกลับมาปรับคืนสภาพ (Regenerate) ด้วยกรดเกลือ (HCI) หรือเกลือแกง (NaCl) แล้วนำมาใช้ใหม่ได้ การปรับคืนสภาพสามารถทำได้หลายครั้งมาก ทำให้อายุการใช้งานของ เรซนิ นานถงึ 3-4 ปี บางชนดิ อาจมีอายุมากกวา่ นนั้ ก็เป็นได้ หากถูกสังเคราะห์มาดว้ ยวสั ดทุ ่ีแข็งแกร่ง เรซินสังเคราะห์มหี ลายชนิด ชนิดที่เป็นกรดจะเป็นกรดแกห่ รือกรดอ่อนที่นำมา แลกเปลี่ยนกับประจุบวก เมื่อประสิทธิภาพในการแลกประจุหมดลง ก็นำมาปรับคืนสภาพด้วยเกลือ แกงหรือกรดเกลือ ส่วนเรซินที่เป็นด่างจะเป็นด่างแก่หรือด่างอ่อน นำมาแลกเปลี่ยนกับประจุลบ และสามารถปรับฟื้นคืนสภาพด้วยโซดาไฟหรือสารละลายแอมโมเนียตามคุณสมบัติของเรซิน ที่นำมาใช้ เรซินแต่ละตัวจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป แม้ว่าจะอยู่กลุ่มเดียวกันก็ตาม คุณสมบัติ ของมันจะถกู กำหนดไว้เพื่อใหผ้ ู้ใชเ้ ลอื กใช้อยา่ งถูกต้องวา่ เรซินตัวน้นั มีความสามารถแลกประจุได้มาก นอ้ ยเพยี งใด จบั สารอะไรได้ดี ปรับคืนสภาพอย่างไร เมือ่ ไมส่ ามารถปรบั คืนสภาพแลว้ จะต้องเผาทิ้งท่ี อณุ หภูมเิ ทา่ ใด จึงไมเ่ กิดปญั หากับสิง่ แวดล้อม เปน็ ต้น รูปที่ 4 กระบวนการแลกเปลี่ยนประจุ คู่มอื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวัดลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณผ์ ลติ ภัณฑล์ ําปาง นครหัตถศิลปถ์ ิ่นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

20 แนวทางการลดสารปนเปอื้ นจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีแลกประจุได้ผลรวดเร็ว ใช้พื้นที่น้อย ประสิทธิภาพสูง อาจไดผ้ ลพลอยได้นำกลบั มาใช้ประโยชน์ไดใ้ หม่ เชน่ การบำบัดนำ้ เสยี จากกระบวนการเคลือบผิวด้วย โครเมียม น้ำเสียจะเป็นพวกกรดโครมิคที่ไม่บริสุทธิ์ ผ่านเข้ามายังเรซินเปลี่ยนประจุบวก แล้วจะได้ กรดโครมิคที่บรสิ ทุ ธิ์ออกมา เป็นตน้ ขอ้ เสนอแนะ ในปัจจุบันมีหลากหลายบทความและงานวิจัยที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดโลหะหนัก ในน้ำเสีย ซึ่งล้วนแต่เป็นแหล่งข้อมูลที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ โดยสามารถนำองค์ความรู้ และนวัตกรรมเหล่าน้ันมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการกำจัดโลหะหนักในน้ำทิง้ ของโรงงานเซรามิก ได้ ตัวอยา่ งของบทความและงานวิจยั แสดงรายละเอียดดงั นี้ 1. การบำบดั โลหะหนกั ในนำ้ เสยี ดว้ ยระบบบึงประดษิ ฐ์ การบำบดั น้ำเสยี ท่ีมกี ารปนเป้ือนโลหะหนักดว้ ยระบบบึงประดิษฐ์ (รปู ที่ 5) เป็นอีกทางเลือก หนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากเป็นระบบเลียนแบบธรรมชาติ มีลักษณะเป็นแอ่งหรือบึงที่มีน้ำขัง โดยใช้ประโยชน์ จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างพืชที่ปลูกในระบบกับจุลินทรีย์ในการกำจัดของเสีย ซง่ึ ประกอบดว้ ยสว่ นสำคัญ ดงั นี้ (1) ระบบนำน้ำเข้า สำหรับนำน้ำเสียเข้าสู่ระบบโดยอาจจะใช้ปัม๊ หรือไม่ใช้ก็ได้ (ใช้แรงโน้ม ถว่ ง) (2) บ่อสำหรับขังน้ำ โดยส่วนใหญ่จะต้องมีระบบป้องกันการซึมของน้ำเสีย เช่น การเท คอนกรตี การปพู ลาสติกเพื่อป้องกนั การปนเปื้อนของน้ำเสยี ทต่ี ้องการบำบดั ไม่ไห้ไหลสสู่ งิ่ แวดล้อม (3) วสั ดสุ ำหรับปลกู พืช โดยทวั่ ไปจะใช้วัสดตุ ามธรรมชาติ เชน่ หิน ทราย กรวด ดนิ เปน็ ต้น (4) พืช ซึ่งจะมีการปลูกลงในบ่อที่สร้างขึ้น โดยส่วนใหญ่จะเลือกพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว มีรากแน่น มีความทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจมากนัก เช่น ธูปฤาษี หญ้าแฝก กก และหญา้ คา เป็นตน้ (5) ระบบน้ำออก เป็นท่อที่นำน้ำที่ผ่านการขังในบึงประดิษฐ์ ซึ่งมีคุณสมบัติดีขึ้น สำหรับ ปล่อยสสู่ งิ่ แวดล้อม (6) ทอ่ ระบายแก๊ส อาจจะมกี ารใสท่ ่อแกส๊ ลงในบ่อทสี่ ร้างข้นึ ในกรณีทใ่ี ช้บ่อลึกและคาดว่าจะ มแี ก๊สเกดิ ขึ้นจากกระบวนการต่าง ๆ ในระบบ คมู่ อื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จังหวดั ลำปาง สอู่ ัตลักษณผ์ ลิตภัณฑล์ าํ ปาง นครหัตถศิลปถ์ ่ินอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์

แนวทางการลดสารปนเปื้อนจากการผลติ เซรามิกและการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา 21 รปู ที่ 5 ตัวอย่างบึงประดิษฐ์ กระบวนการในการบำบัดโลหะหนักด้วยระบบบงึ ประดิษฐ์คอ่ นข้างมีความซับซ้อน เนื่องจาก มีหลายกระบวนการที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน โดยอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติเป็นหลัก ซ่ึงกระบวนการทสี่ ำคัญสามารถอธบิ ายได้ดังนี้ 1) กระบวนการท่ีเกิดโดยวัสดุสำหรับการปลกู พืช วัสดุสำหรับการปลูกพืชในระบบบึงประดิษฐ์ (รูปที่ 6) มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำ ใหป้ รมิ าณโลหะท่ปี นเป้ือนในน้ำเสียลดน้อยลงด้วยกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งกระบวนการหลักท่ีสามารถ ลดปริมาณโลหะหนักในน้ำเสียได้มากกว่าร้อยละ 50 คือ การกรอง (filtration) และการดูดซับหรือ การดดู ตดิ ผิว (adsorption) โดยกระบวนการเหล่านเี้ กิดข้ึนเม่ือโลหะหนักที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียผ่าน วัสดุปลูกพืช ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นตัวกรองและตัวเกาะที่ดีให้กับอนุภาคของโลหะหนักเกาะกับอนุภาค ต่าง ๆ ของวัสดุปลูกพืช เช่น สารอินทรีย์ในดิน สารประกอบคาร์บอเนต เหล็ก และแมงกานีส ในหิน กรวด ทราย เป็นต้น ทำให้เกิดกระบวนการอื่น ๆ ตามมา เช่น การแลกเปลี่ยนประจุระหว่างโลหะ หนักกับอนุภาคดังกล่าว ส่งผลให้โลหะหนักที่ปนเปื้อนในน้ำเสียมีความเสถียรมากขึ้น และละลายน้ำ ได้น้อยลง โลหะหนักจึงตกตะกอนอยู่ในวัสดุปลูกพืช ดังนั้นโลหะหนักที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย จึงมปี รมิ าณนอ้ ยลง คมู่ ือ การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สอู่ ตั ลกั ษณผ์ ลิตภัณฑล์ าํ ปาง นครหัตถศิลปถ์ ่นิ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

22 แนวทางการลดสารปนเปือ้ นจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผา รปู ท่ี 6 ตัวอย่างวัสดุปลกู พืชในแบบจำลองบึงประดิษฐ์ 2) กระบวนการทเี่ กดิ โดยพืชและจุลินทรยี ์ กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพืชที่ปลูกในบึงประดิษฐ์มีความสำคัญที่ทำให้การ บำบดั โลหะหนกั ดว้ ยระบบบงึ ประดิษฐม์ ีความแตกต่างจากระบบอ่นื ๆ ซ่งึ ความมหศั จรรย์ของพืชที่ทำ หนา้ ทใ่ี นการบำบัดโลหะหนักเร่ิมตน้ ทีร่ าก โดยสว่ นใหญพ่ ืชทนี่ ำมาใชใ้ นระบบบงึ ประดิษฐ์มักเป็นพืชท่ี มีรากหนาแน่น กระบวนการนเ้ี กิดข้ึนโดยพ้ืนผวิ ของรากจะทำหน้าท่ใี นการดูดซึมโลหะหนักผ่านเข้าไป ในเยื่อหุม้ เซลล์ของรากพชื แล้วทำการเก็บโลหะหนกั เหล่านั้นไว้ในช่องว่างในเซลล์พืช พืชจึงเปน็ ส่วน สำคัญส่วนหนึ่งในการบำบัดโลหะหนักในน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากงานวิจัยพบว่ามีพืชหลายชนิด ที่มีความสามารถในการสะสมโลหะหนักได้มากและมีความทนมากกว่าพืชชนิดอื่น เช่น พืชในตระกูล ธูปฤาษี (รปู ที่ 7) รปู ที่ 7 ตวั อย่างธูปฤาษี คูม่ ือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง ส่อู ัตลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ น่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

แนวทางการลดสารปนเป้อื นจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวดั ประสิทธิภาพเตาเผา 23 2. การพัฒนาตวั กรองเซรามิกผสมไดอะทอไมตใ์ นการดูดซบั โลหะหนัก ไดอะทอไมต์ (diatomite) เปน็ สินแรท่ พี่ บมากในจงั หวดั ลำปาง ซึ่งเกดิ จากการตกตะกอนทับ ถมกันของโครงสร้างเปลือกแข็งของสาหร่ายเซลล์เดียวที่เรียกว่า ไดอะตอม (diatom) จำนวนมาก อีกทั้งมตี ะกอนขนาดละเอียดส่วนหนึง่ พัดมาสะสมปะปน ไดอะทอไมตม์ ีสว่ นประกอบหลักที่สำคัญ คือ ซิลกิ า ซ่ึงมีลักษณะเป็นรูพรุนขนาดเล็กจำนวนมาก จึงเป็นคุณสมบตั ิเฉพาะทีส่ ามารถนำเอาไดอะทอไมต์ มาประยุกตใ์ ช้ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ อย่างกวา้ งขวาง ในงานวิจัยนี้เตรียมวัตถุดิบโดยใช้ไดอะทอไมต์จากจังหวัดลำปาง ซึ่งมีลักษณะเป็นผง สีเนื้อ และมีน้ำหนักเบา จากนั้นนำมาบดให้ละเอียด ร่อนแล้วเก็บในภาชนะที่มิดชิด ส่วนดินขาวลำปาง มีลักษณะเป็นก้อนดิน สีขาวขุ่น นำมาบดเป็นผงละเอียดแล้วดำเนินการเช่นเดียวกับไดอะทอไมต์ (รูปที่ 8) รูปท่ี 8 การเตรยี มวตั ถุดิบไดอะทอไมต์และดินขาว ไดอะทอไมต์มีคุณสมบัติเฉพาะที่สามารถใช้เป็นตัวดูดซับมาใช้รว่ มกับดินขาวลำปาง เพื่อขึ้น รูปเป็นตวั กรองเซรามิก (รูปท่ี 9) โดยทำการศึกษาสภาวะและอัตราส่วนท่ีเหมาะสมในการดดู ซับโลหะ หนกั 4 ชนดิ คอื แคดเมยี ม ทองแดง นิกเกิล และสงั กะสี รวมทัง้ การฟ้นื ฟูสภาพของตัวกลางแบบเม็ด หลังจากการใช้งานผลการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพในการดูดซับของไดอะทอไมต์และดินขาวลำปาง ในสัดส่วนผสม 1:1 ซึ่งเหมาะสมในการขึ้นรูป โดยผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง ใช้เวลาในการสมั ผัสสารละลายโลหะหนัก 10 นาที ประสิทธิภาพการดูดซับโลหะ หนัก 4 ชนิด คิดเป็น ร้อยละ 66.90, 81.65, 44.30 และ 76.63 ตามลำดับ และจากการฟื้นฟูสภาพ ตัวกลางแบบเม็ดหลังจากการนำไปใช้พบว่าประสิทธิภาพการดูดซับของตัวกลางแบบเม็ดลดลง มากกว่าร้อยละ 65 คู่มือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จังหวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหัตถศลิ ป์ถ่ินอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

24 แนวทางการลดสารปนเปอ้ื นจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา รปู ท่ี 9 การขน้ึ รูปเซรามิกแบบเม็ด 3. การบำบัดนำ้ เสียดวยไฟฟา้ โดยการตกตะกอนทางเคมี การตกตะกอนทางเคมีนับเป็นวิธีการบำบัดท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย ไม่มีความยุ่งยาก และมีประสิทธิภาพในการบำบัดสูง งานวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงสภาวะที่เหมาะสมและประสิทธิภาพ ในการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ซึ่งมีสังกะสี โครเมียม และทองแดง เป็นองค์ประกอบ โดยใช้โซเดียม ไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นสารทำปฏิกิริยาเพื่อตกตะกอน ขน้ั ตอนของการศกึ ษาแสดงดังรูปที่ 10 รปู ท่ี 10 วิธีการตกตะกอนโลหะหนักทางเคมี ค่มู ือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สู่อัตลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศิลป์ถน่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

แนวทางการลดสารปนเปือ้ นจากการผลติ เซรามกิ และการตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเตาเผา 25 จากผลการศึกษาวิจัยพบว่าการตกตะกอนทางเคมีสามารถกำจัดสังกะสี โครเมียม และ ทองแดงได้มากกว่า 95% และทำให้คุณภาพน้ำภายหลังการบำบัดมีค่าต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด ในการศึกษาการตกตะกอนโดยใช้น้ำเสียที่มีสังกะสีปนเปื้อนซึ่งความเข้มข้นเริ่มต้นในน้ำเสียต่างกัน พบว่าค่า pH ที่เหมาะสมอยู่ในช่วงใกล้เคียงกัน โดยมีค่าอยู่ในช่วง 8.89–9.07 คิดเป็นประสิทธิภาพ ในการกำจัดเท่ากับ 96.4–98.2% และ pH ที่เหมาะสมในการตกตะกอนน้ำเสียที่ปนเปื้อนด้วย โครเมียมและทองแดง มีค่าเท่ากับ 7.25 คิดเป็นประสิทธิภาพในการบำบัดโครเมียมและทองแดง เท่ากับ 99.9% และ 97.4% ตามลำดบั คูม่ ือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สอู่ ตั ลกั ษณผ์ ลติ ภัณฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศลิ ป์ถนิ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

26 แนวทางการลดสารปนเปอ้ื นจากการผลิตเซรามิกและการตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผา การตรวจวดั และแนวทางการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพเตาเผาเซรามิก การตรวจวัดประสทิ ธิภาพเตาเผาเซรามิก 1. ชั่งน้ำหนักผลิตภัณฑ์ก่อนเผา และเฟอร์นิเจอร์ที่จะใช้ในการเผาพร้อมทั้งจดบันทึก รายละเอยี ด 2. วัดขนาดภายในและภายนอกเตาเผา พื้นเตาเผา (อิฐทนไฟ) และความหนาของฉนวน พรอ้ มท้ังจดบันทึกรายละเอยี ด 3. เริ่มทำการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกพร้อมกับการกดปุ่มบันทึกข้อมูลอัตโนมัติของเครื่อง Data logger เพื่อเก็บบันทึกข้อมูลอุณหภูมิ โดยจะทำการเก็บข้อมูลตั้งแต่เริ่มการเผาจนถึงการเอา ผลิตภัณฑ์ออกจากเตา (Firing period – Cooling period) 4. ทำการวดั กา๊ ซไอเสียดว้ ย Flue gas analyzer 5. ช่งั น้ำหนักเชือ้ เพลงิ LPG 6. นำข้อมูลที่ได้มาทำการวเิ คราะห์หาพลังงานและประสิทธภิ าพของเตาเผาเซรามิก 7. ทำการสรุปและวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงเตาเผา เซรามกิ ให้มีประสทิ ธิภาพทางความร้อนท่ีสูงขึน้ และประหยดั พลงั งาน 8. นำคา่ มวลของ LPG ท่วี ดั ไดไ้ ปคำนวณหาปริมาณพลงั งานทีเ่ ตาเผาใชท้ ้งั หมด 9. นำค่าเปอร์เซ็นต์องค์ประกอบก๊าซที่วัดได้จาก Flue gas analyzer คำนวณหาปริมาณ อากาศทีใ่ ชจ้ ากการเผาไหม้ และปริมาณไอเสยี ท่ปี ล่อยทง้ิ 10. คำนวณหาพลงั งานสูญเสียเน่อื งจากความชน้ื ในอากาศและพลงั งานสะสมในกา๊ ซไอเสยี 11. นำอุณหภูมิที่บันทึกได้จากการตรวจวัดมาหาค่าต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ พลังงานและประสทิ ธภิ าพ 12. นำค่ามวลอื่น ๆ ที่วัดได้คือมวลเปลือกเตา มวลพื้นเตา มวลเฟอร์นิเจอร์ และมวล ผลิตภัณฑ์ คำนวณหาพลังงานสะสมในเปลือกเตา พลังงานสะสมในพื้นเตา พลังงานสะสม ในเฟอรน์ ิเจอร์ และประสทิ ธภิ าพเชิงความรอ้ นของเตาเผา ดงั รปู ท่ี 1 คู่มอื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลาํ ปาง นครหัตถศิลปถ์ ่นิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

แนวทางการลดสารปนเปือ้ นจากการผลติ เซรามิกและการตรวจวัดประสิทธิภาพเตาเผา 27 รูปที่ 1 สมดลุ พลงั งานของเตาเผาเซรามิก (พลังงานเข้าระบบ = พลงั งานสะสมในระบบ + พลังงานออกจากระบบ) แนวทางการปรับปรุงประสิทธภิ าพเตาเผาเซรามกิ ท ำ ก า ร ว ั ด อ ุ ณ ห ภ ู ม ิ เ ป ล ื อ ก เ ต า โ ด ย ใ ช้ ก ล ้ อ ง ถ ่ า ย ภ า พ ค ว า ม ร ้ อ น ห ร ื อ เ ท อ ร ์ โ ม ค ั ป เ ป้ิ ล หากอุณหภูมิเปลือกเตามีความแตกต่างกันน้อยหรือไม่เกิน 150 oC ดังรูปที่ 2 ถือว่าผนังเตายังปกติ แต่ถ้าหากอุณหภูมิเปลือกเตามีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดหรือมีอุณหภูมิสูงกว่า 150 oC ดังรปู ท่ี 3 ให้ทำการซ่อมแซมเบื้องตน้ โดยการใช้เซรามิกไฟเบอร์ไปอุดรอยรัว่ รูปท่ี 2 ลกั ษณะเปลือกเตาปกติ คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สู่อัตลกั ษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปาง นครหัตถศลิ ปถ์ ่ินอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

28 แนวทางการลดสารปนเปอ้ื นจากการผลติ เซรามิกและการตรวจวัดประสทิ ธภิ าพเตาเผา รปู ที่ 3 ลักษณะเปลอื กเตาเริ่มชำรุดและเสอ่ื มสภาพ คู่มอื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ นิ่ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใชง้ านระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลติ ภณั ฑเ์ ซรามกิ 29 การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลบั ของผลิตภัณฑ์เซรามกิ คมู่ อื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สูอ่ ัตลักษณ์ผลิตภัณฑล์ ําปาง นครหัตถศลิ ป์ถนิ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

30 การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลบั ของผลติ ภัณฑเ์ ซรามกิ การใช้งานระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลิตภัณฑ์เซรามิก 1. เขา้ สรู่ ะบบ ป้อน Email Address (อเี มล์) และ Password (รหสั ผ่าน) 1. กรอกช่ืออีเมล์ 2. กรอกรหัสผ่าน 3. คลกิ Login เข้าระบบ - ลงทะเบียนผ้ใู ชร้ ะบบ 1. กรอกช่ือ 2. กรอกอเี มล์ 3. กรอกต้ังรหัสผา่ นใหม่ 4. กรอกรหสั ผา่ นใหม่อีกคร้ัง คู่มือ การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สอู่ ัตลักษณผ์ ลติ ภณั ฑล์ ําปาง นครหตั ถศลิ ป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้งานระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลิตภณั ฑ์เซรามิก 31 2. แดชบอรด์ หนา้ แรกของระบบหลังบ้าน 3. คลกิ ดรู ายละเอียด ข้อมูลพนักงานท้งั หมด 1. คลกิ All Employee แสดงขอ้ มูล 2. คลกิ Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลิก Delete ทำการลบข้อมูล คูม่ อื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สอู่ ัตลักษณ์ผลติ ภัณฑล์ าํ ปาง นครหัตถศลิ ป์ถ่นิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

32 การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลบั ของผลติ ภณั ฑเ์ ซรามิก 4. คลกิ เพ่ิมข้อมลู พนักงาน 4. กรอกชอ่ื เลน่ 1. กรอกช่ือ 5. คลิก Browse เลอื กรูป 2. กรอกอเี มล์ 6. คลิก Submit 3. คลกิ เลือกวันที่ 5. คลกิ รายการข้อมูลผู้ผลิต 1. คลกิ All Supplier แสดงข้อมลู 2. คลกิ Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลกิ Delete ทำการลบข้อมูล คูม่ ือ การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง ส่อู ัตลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลําปาง นครหตั ถศิลป์ถน่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภณั ฑเ์ ซรามิก 33 6. คลิก เพิ่มข้อมูลผู้ผลติ 5. กรอกเบอรโ์ ทรศัพท์ 1. กรอกช่ือ 6. คลกิ Browse เลือกรูป 2. กรอกอีเมล์ 7. คลกิ Submit 3. กรอกท่ีอยู่ 4. กรอกชื่อโรงงาน, บรษิ ัท 5. คลิก แสดงสินค้า ทำการแสดงขอ้ มลู ประเภทสนิ ค้าทั้งหมด 1. คลิก All Category แสดงขอ้ มูล 2. คลิก Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลกิ Delete ทำการลบข้อมูล คู่มอื การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จังหวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศิลปถ์ ิ่นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

34 การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลับของผลติ ภณั ฑเ์ ซรามกิ 6. คลิก เพมิ่ ข้อมลู ประเภทสนิ ค้า 1. กรอกชื่อประเภทสินคา้ 2. คลกิ Submit 7. คลิก ดรู ายการขอ้ มูลสนิ คา้ 1. คลกิ All Product แสดงข้อมูล 2. คลิก Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลกิ Delete ทำการลบข้อมูล 4. คลิก QR code ทำการดาวน์โหลดรูป ค่มู อื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จังหวดั ลำปาง สู่อัตลกั ษณ์ผลิตภณั ฑล์ ําปาง นครหัตถศิลป์ถิน่ อุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์

การใชง้ านระบบการตรวจสอบยอ้ นกลับของผลิตภณั ฑ์เซรามิก 35 8. คลิก เพ่มิ ข้อมูลสนิ ค้า 1. กรอกช่ือ 2. กรอกรหัสสนิ ค้า 3. เลอื กรายการประเภทสินค้า 4. เลือกรายการ Supplier 5. กรอกข้อมูลท่เี ก่ยี วข้อง (Product Root) 6. กรอกราคาต้นทนุ 7. กรอกราคาขาย 8. เลอื กวันที่ 9. กรอกจำนวนปรมิ าณของสินค้า 10. คลกิ Browse เลอื กรูป 11. คลิก Submit ค่มู อื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเล็ก จังหวดั ลำปาง ส่อู ตั ลักษณผ์ ลิตภัณฑ์ลาํ ปาง นครหัตถศลิ ป์ถน่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

36 การใชง้ านระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลติ ภณั ฑเ์ ซรามิก 12. คลิก แสดงรายการข้อมูลรายจา่ ย 1. คลิก All Expense แสดงขอ้ มลู 2. คลิก Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลิก Delete ทำการลบข้อมูล 13. คลิก เพ่ิมข้อมูลรายจา่ ย 1. กรอกขอ้ มลู รายละเอียดการจา่ ย 2. กรอกยอดรายจ่าย 3. คลิก Submit คู่มอื การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวดั ลำปาง ส่อู ตั ลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ ิ่นอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้งานระบบการตรวจสอบยอ้ นกลับของผลติ ภณั ฑ์เซรามกิ 37 14. คลกิ แสดงรายการข้อมลู ลกู คา้ 1. คลิก All Customer แสดงขอ้ มลู 2. คลิก Edit ทำการแก้ไขข้อมลู 3. คลกิ Delete ทำการลบข้อมูล 15. คลิก เพิม่ ข้อมลู ลูกคา้ 1. กรอกชื่อ 2. กรอกอีเมล์ 3. กรอกที่อยู่ 4. กรอกเบอร์โทรศัพท์ 5. คลิก Browse เลอื กรูป 6. คลกิ Submit คูม่ ือ การยกระดบั อุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สู่อตั ลกั ษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปาง นครหัตถศลิ ปถ์ ่นิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

38 การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลับของผลติ ภัณฑเ์ ซรามกิ 16. คลิก จัดการขอ้ มลู การขาย 1. คลิก POS ใช้งานระบบงานขาย 2. คลิกรูปสินคา้ ทตี่ ้องการขาย 3. คลิก เพม่ิ ลด จำนวนปรมิ าณของสินค้า 4. คลิกรายการลูกคา้ 5. กรอกรับยอดชำระ 6. กรอกยอดทีต่ ้องชำระ 7. เลือกรูปแบบชำระเงิน 8. คลกิ Submit คู่มอื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จงั หวดั ลำปาง สอู่ ัตลักษณ์ผลติ ภัณฑ์ลําปาง นครหตั ถศลิ ป์ถ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การใชง้ านระบบการตรวจสอบย้อนกลบั ของผลติ ภณั ฑ์เซรามกิ 39 17. คลิก Today Order แสดงข้อมูลการสั่งซื้อ 1. คลิก View แสดงข้อมลู รายการสง่ั ซอ้ื 18. แสดงรายละเอียดการสง่ั ซ้ือ คูม่ ือ การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณผ์ ลติ ภณั ฑล์ ําปาง นครหัตถศลิ ป์ถิน่ อุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์

40 การใชง้ านระบบการตรวจสอบยอ้ นกลับของผลติ ภัณฑเ์ ซรามกิ 19. คลิก Stock แสดงขอ้ มลู จำนวนปรมิ าณของสินคา้ 1. คลกิ Edit ทำการแก้ไขจำนวนปริมาณของสนิ ค้า 2. กรอกจำนวนปรมิ าณของสนิ ค้าท่ตี อ้ งการปรับปรงุ 3. คลกิ Submit ปรบั ปรุงจำนวนปรมิ าณของสนิ คา้ คู่มอื การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ลาํ ปาง นครหตั ถศิลปถ์ ิ่นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การใช้งานระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลติ ภณั ฑเ์ ซรามกิ 41 คู่มอื การใชง้ านระบบ (แอพพลิเคชันโมบายส์) (โลโกโ้ รงงานเซรามิก) คูม่ ือ การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก จังหวดั ลำปาง สู่อตั ลักษณ์ผลติ ภัณฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศลิ ป์ถ่นิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์

42 การใช้งานระบบการตรวจสอบย้อนกลบั ของผลติ ภัณฑเ์ ซรามกิ 1. คลกิ สแกน QR Code 2. แสดงรายละเอยี ดสนิ ค้า คู่มือ การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวัดลำปาง สอู่ ตั ลกั ษณ์ผลิตภัณฑ์ลําปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ ิ่นอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

การใชง้ านระบบการตรวจสอบยอ้ นกลบั ของผลิตภณั ฑ์เซรามิก 43 3. คลิก สินค้า แสดงรายการสินค้า คมู่ อื การยกระดับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จังหวัดลำปาง สูอ่ ตั ลกั ษณผ์ ลิตภณั ฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ น่ิ อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

44 แนวทางการพัฒนาผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ แนวทางการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ดว้ ยกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ คู่มอื การยกระดบั อตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จงั หวดั ลำปาง สูอ่ ัตลักษณผ์ ลิตภัณฑล์ าํ ปาง นครหตั ถศลิ ปถ์ ิน่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

แนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ด้วยกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ 45 แนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ 5 ขัน้ ตอนของกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) คือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบเพื่อสร้าง วิธีการแก้ไขปัญหาที่ยึดความต้องการของมนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human-Centered) โดยใช้ความ เป็นไปได้เทคโนโลยีเข้ามาร่วมตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าแก่ผู้ใช้และ ก่อให้เกิดเป็น โอกาสทางธรุ กิจ โดยแบง่ กระบวนการของ Design Thinking ออกเป็น 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1. การเข้าอกเข้าใจ (Empathize) คือ การทำความเข้าใจกับผู้ใช้ในสถานการณ์จริง เพื่อให้ เข้าใจความต้องการของผู้ใช้อย่างลึกซึ้ง โดยวิธีการเก็บข้อมูลต่าง ๆ เริ่มจากการสังเกต และการถาม ผู้ใช้งาน โดยเฉพาะคำว่า ‘ทำไม’ ซ้ำหลาย ๆ รอบ คำถามหลักที่เราต้องตอบก็คือ ‘ผู้ใช้คือใคร’ และ ‘ผู้ใช้ต้องการอะไร’ ข้อดีของ ‘Empathize’ ก็คือการหาคำตอบที่ถูกออกแบบให้เริ่มจากศูนย์ โดยไม่ใชส้ มมติฐานหรอื อคติสว่ นตัวเขา้ มาเกย่ี วข้อง เปิดใจรบั ฟังปญั หา อย่าตีกรอบ หรอื ตัดสนิ ปญั หา ดว้ ยมุมมองของเราเพยี งฝ่ายเดยี ว เอาใจเขา มาใสใ่ จเรา เขา้ ไปซึมซบั ในสถานที่ และประสบการณจ์ ริง พูดคุย สัมภาษณ์ เพื่อหาข้อมูลให้ได้ลึกและชัดเจนที่สุด อย่าเพิ่งคิดแนวทางแก้ไขปัญหาตั้งแต่แรก เพราะไอเดียทไ่ี ด้อาจจะไมไ่ ด้แก้ไขปัญหาจริง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ รปู ท่ี 1 ลงพ้นื ที่จรงิ เพื่อพูดคุย สมั ภาษณ์ หาข้อมลู เชงิ ลึก คู่มอื การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามกิ ขนาดเลก็ จังหวัดลำปาง ส่อู ัตลกั ษณ์ผลติ ภัณฑล์ าํ ปาง นครหัตถศลิ ปถ์ ่ินอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

46 แนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑด์ ้วยกระบวนการคดิ เชิงออกแบบ 2. ระบุปัญหา (Define) คือ การรวบรวมข้อมูลโดยเริ่มทำความเข้าใจรูปแบบพฤติกรรม ของผู้ใช้ เพื่อมองหาความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองและกำหนดเป้าหมายในการแก้ปัญหา โดยสรุปข้อมูล จากขั้นตอนแรกเพื่อนำมาอธิบาย ‘ปัญหาของผู้ใช้’ ออกมาให้ชัดเจนที่สุด การสรุป ปญั หาของผู้ใช้ทีด่ ี ตอ้ งระบุใหไ้ ดว้ ่า ‘ใคร’ ‘อะไร’ ‘ทำไม’ ‘เมอ่ื ไร’ และ ‘ทไี่ หน’ 3. เสนอความคิด (Ideate) คือ การระดมความคิดเพื่อสร้างวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย การนำเสนอแนวความคิด แนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ จากหลากหลายมุมมอง และอาจจะมาจากหลายวิธีการ เพื่อที่จะใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อนำมาสรุปเลือกว่า ความคิดไหนที่ จะนำไปทดลอง ในขั้นตอนน้ีควรจะต้องมี 4-5 คน เพื่อเป็นการ ‘ระดมสมอง’ ร่วมกันหาความคิดใหม่ ๆ มาแก้ปัญหาที่ระบุไว้ ยิ่งถ้าได้ความคิดแบบนอกกรอบก็จะยิ่งดีที่ ไม่ควรจำกัดความคิดของคนอ่ืน เพราะจะเป็นการบล็อกความคิดสร้างสรรค์ และทำลายบรรยากาศในการร่วมระดมสมอง และไม่ จำกดั ความคดิ ของตนเองเช่นกนั คิดอะไรออก ให้เขียนบนั ทกึ หรอื พูดออกมาเลย ความคดิ ที่ดูธรรมดา อาจกลายความคดิ ทส่ี ุดยอดได้ ให้เน้นปริมาณความคดิ กอ่ น ยังไม่ตอ้ งเน้นคณุ ภาพความคิดมากไป ช่วยต่อยอดความคิดซึ่งกันและกันเพราะนวัตกรรม หรือสิ่งที่ดีที่สุด ที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา อาจไมไ่ ด้มาจากความคดิ เพียงความคิดเดยี ว แตเ่ ปน็ การผสมผสานหลากหลายความคิดให้ออกมาเป็น แนวทางสุดท้ายที่ชัดเจน โดยการนำสองถึงสามความคิดที่น่าจะได้ผลที่สุด หรือ ทำได้จริงมากที่สุด มาสรปุ รวม การระดมความคิด ช่วยทำให้มองปัญหาได้อย่างรอบด้าน และละเอียดขึ้น รวมถึงหาวิธีการ แก้ปญั หาท่รี อบคอบมากขน้ึ ด้วย รปู ที่ 2 การระดมความคิดเพื่อสรา้ งวธิ ีการแก้ปัญหาท่หี ลากหลาย ค่มู ือ การยกระดับอตุ สาหกรรมเซรามิกขนาดเลก็ จังหวัดลำปาง สอู่ ตั ลักษณ์ผลิตภณั ฑล์ าํ ปาง นครหัตถศลิ ป์ถนิ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์