Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผล ITA ออนไลน์ สถานศึกษา ปี 2563

รายงานผล ITA ออนไลน์ สถานศึกษา ปี 2563

Published by aom9531, 2021-02-02 07:32:29

Description: รายงานผล ITA ออนไลน์ สถานศึกษา ปี 2563

Search

Read the Text Version

1 คำนำ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) กำหนดเปาหมายสำคัญในประเด็นที่เกี่ยวของกับการ ตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ คือ ภาครัฐมีความโปรงใสปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ พรอมทั้งสราง วฒั นธรรมตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบของบุคลากรภาครัฐ โดยกำหนดมาตรการใหหนว ยงานภาครัฐ และทุกภาคสวนดำเนินงานอยางโปรงใส เพื่อเสริมสรางคุณธรรมความสุจริตความซื่อสัตยความโปรงใส และเปนธรรม รวมทง้ั กำหนดแนวทางการพัฒนาใหเกิดความโปรงใส 3 ประการ ไดแก 1. ปลูกและปลุกจิตสำนึก การเปนพลเมืองดีมีวัฒนธรรมสุจริตและการปลูกฝงวัฒนธรรมในกลุมเด็กและเยาวชนทุกชวงวัยทุกระดับ 2. สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความใสสะอาดปราศจากพฤติกรรม ที่สอไปในทางทุจริตและ 3. ปรับระบบงานและโครงสรางองคกรที่เอื้อตอการลดการใชดุลพินิจในการปฏิบัติงาน ของเจาหนาที่ โดยกำหนดใหหนวยงานภาครัฐเขา รับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน เพื่อจะไดทราบผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา ซึ่งจะชวยยกระดับหนวยงาน ในดานคุณธรรมและ ความโปรง ใสในการดำเนนิ งานใหส อดคลอ งกับยุทธศาสตรช าติ การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ไดเริ่มดำเนินการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ไดจัดใหมีการประเมินในรูปแบบ ออนไลน โดยประเมินจากแหลงขอมูล 3 แหลง ไดแก 1. ผูมีสวนไดสวนเสยี ภายใน (สำหรับแบบ IIT) 2. ผูมีสวนได สว นเสยี ภายนอก (สำหรบั แบบ EIT) และ3. เวบ็ ไซตสถานศึกษา (สำหรบั แบบ OIT) ซึ่งผลคะแนนครัง้ น้ีจะสะทอน ใหเ ห็นถึงผลการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษาดานคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 หวังเปนอยางยิง่ วาเอกสารรายงานผลการประเมิน คุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ฉบับนี้ จะเปนประโยชนต อสถานศกึ ษาในฐานะหนว ยงานทีร่ บั การประเมนิ และหนวยงานทเี่ กย่ี วของทุกฝาย ในการนำ ผลการประเมนิ ไปวางแผนปรับปรุงหรอื พัฒนาการดำเนินงานในระดับนโยบายและระดับปฏบิ ตั ติ อไป ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาและคณะทำงานทุกทานที่มีสวนรวมในการจัดทำรายงานผลการประเมิน คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน จนบรรลุวัตถุประสงค ไว ณ โอกาสน้ี สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42

2

3 สารบัญ หนา คำนำ 1 สารบัญ บทสรุปผูบรหิ าร 3 บทที่ 1 บทนำ 4 4 ความเปนมา แนวทางการประเมิน ITA ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 6 หนวยงานทีเ่ ก่ยี วของในการประเมิน ITA Online 7 บทท่ี 2 วิธีการประเมิน ขอ มูลพืน้ ฐานเกีย่ วกับการประเมนิ 19 รายละเอียดการประเมิน ITA แตละตวั ชี้วดั 19 บทที่ 3 ระเบียบวิธกี ารประเมิน 20 ตวั ชีว้ ดั การประเมิน 21 เครอ่ื งมือที่ใชในการประเมิน 23 กลุม ประชากร กลมุ ตัวอยา ง และการเกบ็ รวบรวมขอมลู การประมวลผลคะแนน 28 ขั้นตอนการประเมิน 28 บทท่ี 4 ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน 29 ขอ มูลพืน้ ฐานของผเู ขารบั การประเมนิ ผลการประเมินในภาพรวมระดับสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา 34 ผลคะแนนรวมการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใส ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน 36 ผลคะแนนรวมการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใส ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน จำแนกตามแหลงขอมลู 48 ผลคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงานของ สถานศึกษาออนไลน จำแนกตามตวั ชี้วัดการประเมิน 48 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ สรุปผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน 49 ของสถานศกึ ษาออนไลน อภิปรายผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน 49 ของสถานศกึ ษาออนไลน ปญหาและอปุ สรรคการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงาน ของสถานศกึ ษาออนไลน ขอ เสนอแนะการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน ของสถานศึกษาออนไลน

4 สารบญั (ตอ) 50 52 รายชื่อคณะทำงาน ภาคผนวก - ผลคะแนนคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 58 โรงเรียน

1 บทสรปุ ผูบริหาร การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีวัตถุประสงคเพ่ือ ประเมินผลดานคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อใหไดขอเสนอแนะในการ ปรับปรุงหรือพัฒนาคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาและนำขอเสนอแนะไปจัดทำ มาตรการในการปองกันและปราบปรามการทุจริต ทั้งในระดับนโยบายและในระดับปฏิบัติ พรอมทั้งนำผลการ ประเมินไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการประเมิน ไดแก บุคลากร ในสถานศึกษา ที่ทำงานใหกับสถานศึกษามาเปนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป จำนวน 58 แหง ๆ ละไมนอยกวา 25 คน และกลุมผูรับบริการหรือผูมีสวนไดสวนเสียของสถานศึกษา จำนวน 58 แหง ๆ ละไมนอยกวา 20 คน โดยมีกรอบการประเมิน 10 ตัวชี้วัด ไดแก 1) การปฏิบัติหนาที่ 2) การใชงบประมาณ 3) การใชอำนาจ 4) การ ใชทรัพยสินของราชการ 5) การแกไขปญหาการทุจริต 6) คุณภาพการดำเนินงาน 7) ประสิทธิภาพการสื่อสาร 8) การปรบั ปรงุ ระบบการทำงาน 9) การเปดเผยขอมูล และ 10) การปองกนั การทจุ ริต สำหรับผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน สรุปผลได ดงั น้ี 1. ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 1.1 ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยภาพรวม ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 61.99 ซึ่งถือวามีคุณธรรมและความโปรงใส ในการดำเนินงานอยูในระดับ D โดยตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหนาท่ี ไดคะแนนสูงสุด รอยละเฉลี่ย 88.82 สวน ตัวชี้วดั ทไ่ี ดคะแนนตำ่ กวาตัวชว้ี ัดอนื่ ๆ คือ ตัวชวี้ ดั ท่ี 10 การปอ งกันการทุจรติ ไดคะแนนรอยละเฉล่ีย 30.91 1.2 การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาเปนรายตัวชี้วัด ซ่งึ ไดจ ากการสำรวจความคิดเหน็ ของบคุ ลากรในสถานศึกษา ผูรบั บริการหรือผมู สี ว นไดส วนเสียของสถานศึกษา และจากเอกสารหลักฐานการเปดเผยขอมูลของสถานศกึ ษา ดังนี้ ตวั ชี้วัดท่ี 1 การปฏบิ ัตหิ นา ที่ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 88.82 ซ่ึงอยูในระดบั A ตัวชี้วดั ท่ี 2 การใชงบประมาณ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลยี่ 77.85 ซ่งึ อยใู นระดบั B ตัวชวี้ ัดที่ 3 การใชอำนาจ ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉล่ยี 87.42 ซึ่งอยูในระดบั A ตัวช้ีวัดท่ี 4 การใชทรพั ยสนิ ของราชการ ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลี่ย 79.40 ซ่งึ อยใู น ระดับ B ระดับ B ตัวชี้วัดที่ 5 การแกไขปญหาการทุจริต ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 78.96 ซึ่งอยูใน ระดบั B ตวั ชว้ี ดั ที่ 6 คณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลยี่ 80.55 ซงึ่ อยใู นระดบั B ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 75.23 ซึ่งอยูใน ระดบั B ระดบั B ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 76.70 ซึ่งอยู ในระดับ B ในระดบั B

2 ตวั ชวี้ ัดท่ี 9 การเปด เผยขอมลู ในภาพรวมไดคะแนนรอ ยละเฉล่ยี 57.42 ซงึ่ อยใู นระดบั D ตวั ชวี้ ดั ที่ 10 การปอ งกนั การทจุ รติ ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลยี่ 30.91 ซง่ึ อยใู นระดบั F 1.3 สถานศึกษาไดคะแนนการประเมินผลการดำเนินงานอยูในระดับ A จำนวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 3.45 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 14 แหง คิดเปนรอยละ 24.14 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 17 แหง คิดเปนรอยละ 29.31 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยู ในระดับ D จำนวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 18.97 สถานศึกษาทีม่ ผี ลคะแนนอยูในระดับ E จำนวน 3 แหง คิด เปน รอยละ 5.17 และสถานศึกษาทมี่ ีผลคะแนนอยูในระดบั F จำนวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 18.97 2. ปญหาและอุปสรรคการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน 2.1 ดา นบุคลากร 1) ความเขาใจในกระบวนการประเมิน ITA Online ของสถานศึกษาบางแหง ยังเขาใจไม ถกู ตอง 2) สถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบุคลากรผูรับผิดชอบหลักในการประเมินคุณธรรมและ ความโปรง ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาทำใหไมมคี วามพรอมในการรับการประเมิน ITA Online 2.2 ดานเทคนิค ความยุงยากในข้ันตอนการตอบแบบ IIT และแบบ EIT ในบางพน้ื ท่ี 3. ขอ เสนอแนะการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน 3.1 ดา นบุคลากร 1) สรางความเขาใจในกระบวนการ วิธีการดำเนินงานการประเมิน ITA Online ของ สถานศึกษา 2) หากสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงผูรับผิดชอบควรใหผูที่รับผิดชอบคนเดิมไดอธิบาย กระบวนการขั้นตอนในการประเมิน ITA Online ใหผูรับผิดชอบใหม หรือประสานที่ปรึกษาเกี่ยวกับ กระบวนการและขน้ั ตอนการประเมนิ 3.2 ดา นเทคนคิ ที่ปรึกษาการประเมิน และสถานศึกษาที่เขารับการประเมิน ควรมีการทบทวนวิธีการใชงาน ระบบ ITA Online

3 บทที่ 1 บทนำ ความเปนมา สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.) ไดพัฒนาเครื่องมือการประเมินเชิงบวกเพื่อเปนมาตรการปองกันการทุจริต และเปนกลไกในการสราง ความตระหนักใหหนวยงานภาครัฐมีการดำเนินงานอยางโปรงใสและมีคุณธรรม โดยใชชื่อวา “การประเมิน คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)” เปนกลยุทธที่สำคัญของยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซึ่งถือเปนการยกระดับใหการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ ดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ใหเปน “มาตรการปองกันการทุจริตเชิงรุก” ที่หนวยงานภาครัฐทั่วประเทศ จะตองดำเนินการ โดยมุงหวงั ใหหนวยงานภาครฐั ที่เขารบั การประเมิน ไดร ับทราบผลการประเมินและแนวทาง ในการพัฒนาและยกระดับหนวยงานในดานคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานไดอยางเหมาะสม และที่ผานมาพบวา หลายหนวยงานนำการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงาน ภาครัฐไปเป นกรอบใ น ก า ร พ ั ฒ น า แ ล ะ ย ก ร ะ ด ั บ ก า ร บ ร ิ ห า ร ก า ร จั ด ก าร ใ ห เ ป น ไ ปต า ม หล ัก ธ ร ร ม าภ ิบาล เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใหบริการและการอำนวยความสะดวกตอประชาชน ใหเขาถึงการ บริการสาธารณะดว ยความเปนธรรมผานการปฏบิ ัตงิ านอยางมีมาตรฐาน มีการประกาศข้ันตอนและระยะเวลา ในการใหบริการอยางชัดเจน นอกจากนี้ ในดา นบริหารจัดการในหนวยงาน ก็ยังพบวาหนว ยงานใหความสำคัญ กับการปองกันในประเด็นที่อาจเปนความเสี่ยงหรือเปนชองทางที่อาจจะกอใหเกิดการทุจริต การรับสินบน หรือกอใหเกิดผลประโยชนทับซอน และสามารถยับยั้งการทุจริตหรือผลประโยชนทับซอนที่อาจเกิดข้ึน ไดอ ยา งเทาทนั สถานการณ ซึ่งเม่อื หนวยงานภาครัฐท่ัวประเทศมีการปอ งกันการทุจรติ เชงิ รุกในลักษณะดงั กลาว ก็จะทำใหการทุจริตในภาพรวมของประเทศลดลงไดในที่สุด ตลอดจนยังผลักดันใหเกิดทิศทางการพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานภายในหนว ยงานในภาพรวมของประเทศใหมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้นึ อีกดว ย การดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ที่ผานมา ถือวาประสบความสำเร็จเปนอยางยิ่ง โดยไดรับ ความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐที่เขารวมเปนอยางดี และไดรับเสียงสะทอนวาการประเมินคุณธรรม และความโปรง ใสในการดำเนินงานของหนว ยงานภาครัฐนั้น เปนเครื่องมือที่ชว ยใหหนวยงานที่รับการประเมนิ ไดมีการตรวจสอบและสอบทานตนเอง มีการปรับปรุงการดำเนินงานใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลในสวนท่ี ยังขาดตกบกพรอ ง มกี ารพัฒนาระบบงานใหเกิดความโปรงใส มีการปรบั ปรงุ การบรหิ ารงานและการปฏิบัติงาน อยา งเปนธรรมท้งั ตอ บุคลากรในหนว ยงานและตอผมู สี วนไดสวนเสียของหนวยงานไดเ ปนอยา งดี ปจจุบันการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ไดถูกกำหนดเปนตัวชี้วัดและคาเปาหมายของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นที่ 21 การตอตาน การทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) กำหนดคา เปาหมายใหห นว ยงานภาครฐั ทมี่ ผี ลการประเมนิ ผา นเกณฑ (85 คะแนนข้ึนไป) ไมนอ ยกวา รอ ยละ 80 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะเปนหนวยงานระดับกรม ที่รับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานจากสำนักงาน ป.ป.ช. แลว ยังเปนหนวยงาน ที่นำเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ไปขยายผลเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปรงใส ของหนวยงานในสังกัด โดยการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นท่ี

4 การศึกษา จำนวน 225 เขต อยางตอเนื่อง และไดพัฒนานวัตกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสใน การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในรูปแบบออนไลน โดยมีแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมการ ประเมนิ ดว ยระบบ ITA Online เพ่ือความสะดวกในการจัดเกบ็ ขอมลู รวดเร็วในการวิเคราะหและประมวลผล โปรงใสตรวจสอบไดดวยระบบเวลาจริง (Real-time system) และการประเมินมีประสิทธิภาพ ลดภาระงาน ดานเอกสาร (Paperless) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับการประเมินโดยปรับปรุงระบบการเก็บขอมลู ใหเ ปน แบบออนไลนเ ตม็ รูปแบบ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงาน ป.ป.ช. โดยสำนักประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ของหนวยงานภาครัฐ ไดพัฒนาเกณฑการประเมินใหเกิดการสนับสนุนตอการยกระดับคาคะแนนดัชนีการรับรู การทุจริตของประเทศไทยไดอยางเปนรูปธรรม ซึ่งเปนไปตามทิศทางของยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยไดสังเคราะหผลการวิจัยเรื่องแนวทางการ ปรับปรุงและแนวการพัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการด ำเนินงานของหนวยงาน ภาครัฐ เพื่อนำไปสูการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยใหสูงขึ้น และพัฒนาเกณฑการประเมินใหสามารถปองกันการทุจริตเชิงรุกไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการเครื่องมือสงเสริมดานคุณธรรมและความโปรงใสจากหนวยงานอื่น ที่เก่ียวของ เพ่ือใหเปน ไปในทิศทางเดยี วกัน ลดความซ้ำซอนของการดำเนินการ และมงุ เนน การรวมดำเนินการ ขับเคลื่อนดานธรรมาภิบาลในภาพรวมของประเทศ สงผลใหหนวยงานราชการที่ไดร ับการประเมิน ไดประโยชน จากการประเมิน และนำผลการประเมินไปการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และไดรับ ประโยชนในมุมของการสื่อสารภาพลักษณองคกร โดยเฉพาะการแสดงใหสังคมและสาธารณชนรับรู วาหนวยงานใหความสำคัญกับการเปดเผยขอมูลและการปองกันการทุจริตในหนวยงานอยางไร และการ ดำเนินการดังกลาว ไมเปนตนทุนหรือภาระของหนวยงานมากเกินไป รวมทั้งตองไมเปนภาระกับบุคคล ทีเ่ ขารวมกระบวนการประเมินดว ย แนวทางการประเมนิ ITA Online ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 สำหรับเกณฑการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใชกรอบแนวทางการ ประเมินเชนเดียวกับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อใหสถานศึกษาที่เขารับการประเมิน ไดทราบผลการประเมิน ตลอดจนขอเสนอแนะที่จะนำไปสูการปรับปรุงพัฒนาคุณธรรมและความโปรงใสของหนวยงานอยางเชื่อม โยง และตอเนื่อง โดยมีการปรับปรุงในรายละเอียดของระเบียบวิธีการประเมินและประเด็นการประเมินเล็กนอย เพอ่ื แกไ ขปรับปรุงขอจำกัดของการประเมินใหมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้ หนว ยงานท่ีเก่ยี วของในการประเมิน ITA Online ในการขบั เคล่ือนการประเมิน ITA Online จำเปน ที่จะตอ งมหี ลายหนว ยงานรว มกันขับเคลื่อน การประเมิน ITA Online ใหสามารถดำเนินการไดอยางเรียบรอยและเปนไปตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ประกอบดว ย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนหนวยศูนยกลางในการกำกับติดตาม การประเมนิ ITA Online โดยมหี นา ท่ีกำหนดกลไกและกระบวนการในการขับเคล่ือนการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลนในภาพรวม รวมไปถึงหลักการและหลักเกณฑตางๆ

5 ในการประเมนิ การกำกบั ติดตามการประเมนิ และการดำเนนิ การตอผลการประเมิน เพื่อนำเสนอตอ สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช. มีบทบาทในการรวมกำหนดแนวทางและรวมกำกับติดตามการประเมิน รวมไปถึงการประสานงานในระหวางกระบวนการตา งๆในการประเมนิ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปนหนวยยอยในการดำเนินการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน โดยมีหนาที่กำหนดกลไกและกระบวนการในการ ขบั เคลอ่ื นการประเมินสถานศกึ ษากลมุ เปาหมาย คือ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบลในแตละเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สถานศึกษา เปนกลุมเปาหมายที่รับการประเมิน โดยในปงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดใหโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล จำนวน 8,224 แหง เขารับการ ประเมิน สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในปนี้ ถือเปนการขยายผลการนำเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความ โปรงใส มาใชในการประเมินสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรูปแบบ ออนไลนเปนครั้งแรก หลังจากที่ไดมีการปรับปรุงเครื่องมือการประเมินอยางตอเนื่องในการประเมินสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาจนประสบผลสำเร็จ โดยการประเมินผานระบบ ITA Online ซ่ึงไดดำเนินการพัฒนา และออกแบบระบบการประเมินในครั้งนี้ใหงายตอการใชงาน ลดความยุงยาก ซับซอนในการนำเขาข อมูล และคำนึงถึงความสะดวกในการตอบคำถามแบบสำรวจของผูท เี่ ก่ียวของ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลนในครงั้ น้ี จะ ทำใหหนวยงานเกิดความตระหนัก และนำกรอบการประเมินที่กำหนดไปดำเนินการจัดทำมาตรการสงเสริม คุณธรรมและความโปรงใส พัฒนาระบบงาน ออกแบบกลไกปรับปรุงแกไข ขั้นตอน วิธีการปฏิบตั ิงานตา ง ๆ ที่ เกี่ยวของ รวมถึงเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครอง ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลการ ประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 จะเปนขอ มลู พ้ืนฐานสำคัญทจี่ ะนำไปสูการปรับปรงุ หนว ยงานและการวางแผนในการปองกันการทจุ ริตทั้งระดับ นโยบายและระดบั ปฏบิ ัตใิ นอนาคตอีกดว ย

6 บทที่ 2 วธิ ีการประเมิน ขอมูลพ้ืนฐานเก่ยี วกบั การประเมิน สำนกั งาน ป.ป.ช. ไดใหความสำคัญในการพัฒนาวธิ ีการประเมินใหเกิดการยกระดับคาคะแนน ดัชนีการรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยไดอยางเปนรูปธรรม โดยได ศึกษาขอมูลจากผลการวิจัย เรื่อง แนวทางการปรับปรุงและแนวการพัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ เพื่อนำไปสูการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรูการทุจริต (CPI) ของประเทศไทยใหสูงขึ้น ซึ่งการวิจัยดังกลาวไดสังเคราะหประเด็นการสำรวจของแตล ะแหลงขอมูล ที่องคกรความโปรงใสนานาชาติ (Transparency International) นำมาใชในการประเมินดัชนีการรับรูการ ทุจริต ประกอบกับการศึกษาขอมูลทางวิชาการเพิ่มเติม การเชื่อมโยงใหเกิดความตอเนื่องกับเกณฑ การประเมินเดมิ และการเชื่อมโยงกบั เครือ่ งมืออื่นๆทเ่ี ก่ียวของ ทำใหก ารประเมินมเี นอ้ื หาครอบคลุมหลายดาน ซึ่งเกี่ยวของกับคณุ ธรรม ความโปรงใส และการทุจริต ทั้งที่มีลักษณะการทุจริตทางตรงและการทจุ ริตทางออม รวมไปถึงบริบทแวดลอมที่เกี่ยวของกับการทุจริต ซึ่งจะเปนประโยชนตอหนวยงานในการนำไปสูการปรับปรุง แกไข ลดโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดการทุจริตในหนวยงานภาครัฐ และสงผลตอการยกระดับคะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได โดยจำแนกตวั ชีว้ ดั ออกเปน 10 ตวั ชีว้ ดั ไดแก 1) การปฏิบัติหนา ท่ี 2) การใชง บประมาณ 3) การใชอำนาจ 4) การใชท รพั ยส นิ ของราชการ 5) การแกไ ขปญ หาการทุจริต 6) คณุ ภาพการดำเนินงาน 7) ประสทิ ธิภาพการสื่อสาร 8) การปรบั ปรุงระบบการทำงาน 9) การเปด เผยขอ มูล 10) การปอ งกนั การทุจรติ

7 รายละเอยี ดการประเมิน ITA แตล ะตัวช้ีวดั ตวั ช้วี ัดที่ ผูประเมนิ ประเดน็ การประเมิน/ขอ มลู จำนวนขอคำถาม IIT 6 ขอ 1.การ 1. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทาน ปฏบิ ัติงาน/ใหบรกิ ารแกผ ูม า ปฏบิ ัติ หนา ที่ ตดิ ตอ ตามประเด็นดังตอไปนี้ มากนอ ยเพยี งใด ƒ เปนไปตามขน้ั ตอนท่ีกำหนด ƒ เปนไปตามระยะเวลาท่ีกำหนด 2. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทา น ปฏิบตั ิงาน/ใหบริการแกผมู า ตดิ ตอทวั่ ๆ ไป กบั ผมู าตดิ ตอท่ีรจู ักเปน การสวนตวั อยา งเทาเทียม กนั มากนอยเพียงใด 3. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทาน มีพฤติกรรมในการปฏิบตั ิงาน ตามประเด็นดังตอไปนี้ อยางไร ƒ มงุ ผลสำเร็จของงาน ƒ ใหค วามสำคญั กับงานมากกวาธรุ ะสวนตัว ƒ พรอ มรับผิดชอบ หากความผิดพลาดเกดิ จากตนเอง 4. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของทาน มีการเรยี กรับสง่ิ ดังตอไปน้ี จากผมู าติดตอ เพื่อแลกกับการปฏิบตั ิงาน การอนุมตั ิ อนุญาต หรอื ใหบริการ หรอื ไม ƒ เงิน ƒ ทรัพยสนิ ƒ ประโยชนอ น่ื ๆ ทีค่ ำนวณเปน เงนิ ได เชน การลดราคา การรับความบนั เทิง เปนตน 5. นอกเหนือจากการรบั จากญาติหรือจากบุคคล ที่ใหก ันในโอกาส ตา ง ๆ โดยปกตติ ามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวฒั นธรรม หรือ ใหกนั ตามมารยาทท่ปี ฏบิ ตั กิ นั ในสงั คมแลว บคุ ลากรในสถานศกึ ษา ของทาน มีการรบั สิ่งดงั ตอไปน้ี หรือไม ƒ เงนิ ƒ ทรพั ยส ิน ƒ ประโยชนอ่ืนๆ ทีค่ ำนวณเปน เงนิ ได เชน การลดราคา การรับ ความบันเทิง เปนตน 6. บุคลากรในสถานศึกษาของทาน มีการใหส ่ิงดังตอไปน้ีแกบ คุ คล ภายนอกหรอื ภาคเอกชน เพื่อสรา งความสมั พันธท ี่ดีและคาดหวัง ใหม กี ารตอบแทนในอนาคต หรอื ไม ƒ เงิน ƒ ทรพั ยส นิ ƒ ประโยชนอ ่ืนๆ ทคี่ ำนวณเปนเงินได เชน การลดราคา การรับ ความบนั เทิง เปน ตน

8 ตัวช้ีวดั ท่ี ผูประเมนิ ประเด็นการประเมนิ /ขอมูล จำนวนขอ คำถาม IIT 6 ขอ 2.การใช 7. ทา นรูเกยี่ วกบั แผนการใชจ ายงบประมาณประจำป ของ งบประมาณ สถานศึกษาของทาน มากนอยเพียงใด 8. สถานศึกษาของทา น ใชจา ยงบประมาณ โดยคำนึงถึงประเด็น ดังตอไปน้ี มากนอยเพยี งใด ƒ คุม คา ƒ ไมบิดเบอื นวตั ถุประสงคของงบประมาณที่ต้ังไว 9. สถานศึกษาของทาน ใชจายงบประมาณเพื่อประโยชนสวนตวั กลมุ หรือพวกพอง มากนอยเพยี งใด 10. บคุ ลากรในสถานศึกษาของทาน มีการเบิกจา ยเงินทเี่ ปนเท็จ เชน คาวสั ดุอุปกรณ ครุภณั ฑ คาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ คาตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ ฯลฯ มากนอย เพียงใด 11. สถานศกึ ษาของทา น มกี ารจัดซื้อจัดจาง/การจดั หาพสั ดุ และ การตรวจรบั พัสดใุ นลกั ษณะดังตอ ไปนี้ มากนอยเพยี งใด ƒ โปรง ใส ตรวจสอบได ƒ เออื้ ประโยชนใ หผ ปู ระกอบการรายใดรายหนึง่ 12. สถานศึกษาของทาน เปดโอกาสใหทาน มสี ว นรว มในการ ตรวจสอบการใชจา ยงบประมาณ ตามประเด็นดงั ตอไปน้ี มากนอย เพยี งใด ƒ สอบถาม ƒ ทักทวง ƒ รองเรียน 3. การใช IIT 13. ทานไดร บั มอบหมายงานจากผูบ งั คบั บญั ชาอยางเปน ธรรม 6 ขอ อำนาจ มากนอยเพียงใด 14. ทา นไดร ับการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ตามระดับคุณภาพ ของผลงานอยา งถูกตอง มากนอยเพยี งใด 15. ผูบังคบั บญั ชาของทาน มีการคดั เลือกผูเขารบั การฝกอบรม การศึกษาดูงาน หรือการใหทุนการศึกษา อยา งเปน ธรรม มากนอย เพียงใด 16. ทานเคยถูกผูบงั คบั บัญชาสั่งการใหทำธุระสวนตวั ของ ผบู งั คบั บญั ชา มากนอยเพยี งใด 17. ทา นเคยถูกผบู ังคบั บัญชาส่งั การใหท ำในสิง่ ทไี่ มถูกตอ ง หรือมี ความเสยี่ งตอ การทุจริต มากนอยเพยี งใด

9 ตัวชีว้ ดั ท่ี ผูป ระเมนิ ประเดน็ การประเมนิ /ขอ มูล จำนวนขอ คำถาม IIT 6 ขอ 4. การใช 18. การบริหารงานบุคคลของสถานศกึ ษาของทา นมีลกั ษณะ ทรัพยสิน IIT ดังตอ ไปนี้ มากนอยเพยี งใด 6 ขอ ของ ราชการ ƒ ถูกแทรกแซงจากผูมีอำนาจ ƒ มีการซื้อขายตำแหนง 5. การ ƒ เออื้ ประโยชนใ หก ลุมหรือพวกพอง แกไข ปญ หาการ 19. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของทา น มีการเอาทรัพยส ินของ ทุจริต ราชการ ไปเปนของสวนตัว หรือนำไปใหก ลมุ หรือพวกพอง มาก นอ ยเพียงใด 20. ข้ันตอนการขออนุญาตเพื่อยมื ทรัพยสนิ ของราชการ ไปใช ปฏิบัติงานในสถานศึกษาของทา น มคี วามสะดวก มากนอยเพียงใด 21. ถา ตองมีการขอยืมทรัพยสนิ ของราชการไปใชป ฏิบตั งิ าน บุคลากรในสถานศกึ ษาของทาน มีการขออนุญาตอยางถูกตอง มากนอยเพียงใด 22. บุคคลภายนอกหรอื ภาคเอกชน มกี ารนำทรัพยส ินของราชการ ไปใช โดยไมไ ดขออนุญาตอยา งถกู ตอง จากสถานศึกษาของทา น มากนอยเพยี งใด 23. ทานรูแนวปฏิบตั ขิ องสถานศึกษาของทาน เกย่ี วกบั การใช ทรพั ยส ินของราชการทีถ่ กู ตอ ง มากนอยเพียงใด 24. สถานศึกษาของทา น มกี ารกำกบั ดูแลและตรวจสอบการใช ทรัพยสนิ ของราชการ เพ่ือปองกนั ไมใหม ีการนำไปใชป ระโยชน สวนตัว กลมุ หรอื พวกพอง มากนอยเพยี งใด 25. ผบู รหิ ารสงู สุดของสถานศึกษาของทานใหความสำคัญกับการ ตอ ตา นการทุจริต มากนอ ยเพียงใด 26. สถานศึกษาของทาน มกี ารดำเนนิ การ ดงั ตอไปน้ี หรือไม ƒ ทบทวนนโยบายหรือมาตรการปองกนั การทุจรติ ในสถานศึกษา ใหม ีประสิทธภิ าพ ƒ จัดทำแผนงานดานการปองกนั และปราบปรามการทุจริตของ สถานศึกษา 27. ปญหาการทจุ ริตในสถานศึกษาของทาน ไดร ับการแกไ ข มาก นอ ยเพียงใด 28. สถานศึกษาของทาน มกี ารดำเนินการดงั ตอไปนี้ ตอการทจุ ริต ในสถานศึกษา มากนอยเพียงใด ƒ เฝาระวงั การทจุ รติ ƒ ตรวจสอบการทจุ ริต ƒ ลงโทษทางวินยั เม่ือมีการทจุ ริต

10 ตวั ชว้ี ดั ที่ ผูประเมิน ประเด็นการประเมนิ /ขอ มูล จำนวนขอคำถาม EIT 5 ขอ 6. คณุ ภาพ 29. สถานศึกษาของทาน มีการนำผลการตรวจสอบของฝา ย การ EIT ตรวจสอบ ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ไปปรบั ปรุงการ 5 ขอ ดำเนินงาน ทำงาน เพื่อปองกนั การทุจริตในสถานศกึ ษา มากนอยเพยี งใด 7. ประสิทธิ ภาพการ 30. หากทา นพบเห็นแนวโนมการทจุ ริตท่จี ะเกดิ ขึน้ ในสถานศึกษา สอ่ื สาร ของทา น ทา นมีความคดิ เหน็ ตอประเด็นดังตอไปนี้ อยางไร ƒ สามารถรอ งเรียนและสงหลักฐานไดอยางสะดวก ƒ สามารถตดิ ตามผลการรอ งเรยี นได ƒ ม่นั ใจวา จะมีการดำเนนิ การอยา งตรงไปตรงมา ƒ ม่นั ใจวาจะปลอดภยั และไมมผี ลกระทบตอตนเอง 1. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาท่ที านตดิ ตอ ปฏิบตั ิงาน/ใหบ รกิ ารแก ทาน ตามประเดน็ ดังตอไปนี้ มากนอยเพียงใด ƒ เปน ไปตามขัน้ ตอนทกี่ ำหนด ƒ เปนไปตามระยะเวลาที่กำหนด 2. บุคลากรในสถานศกึ ษาทที่ านตดิ ตอ ปฏบิ ัติงาน/ใหบ รกิ ารแก ทา น กบั ผูมาติดตอ คนอนื่ ๆ อยางเทาเทยี มกนั มากนอยเพยี งใด 3. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาทท่ี า นตดิ ตอ ใหข อ มูลเกีย่ วกบั การ ดำเนินการ/ใหบ ริการแกทานอยางตรงไปตรงมา ไมปดบังหรอื บิดเบอื น ขอ มลู มากนอ ยเพยี งใด 4. ในระยะเวลา 1 ปท ผ่ี านมา ทา นเคยถูกบคุ ลากรในสถานศกึ ษาท่ี ทา นตดิ ตอ รองขอใหจ า ยหรือใหสง่ิ ดงั ตอไปนี้ เพ่ือแลกกับการ ปฏิบตั งิ าน การอนุมตั ิ อนญุ าต หรือใหบริการ หรอื ไม ƒ เงิน ƒ ทรัพยสนิ ƒ ประโยชนอ ่นื ๆ ที่อาจคำนวณเปน เงนิ ได เชน การลดราคา การใหค วามบันเทงิ เปนตน 5. สถานศกึ ษาที่ทา นติดตอ มีการดำเนินงาน โดยคำนงึ ถึงประโยชน ของประชาชนและสว นรวมเปนหลัก มากนอยเพียงใด 6. การเผยแพรข อมลู ของสถานศกึ ษาที่ทานติดตอ มลี ักษณะ ดังตอ ไปนี้ มากนอยเพยี งใด ƒ เขาถึงงาย ไมซบั ซอ น ƒ มชี อ งทางหลากหลาย 7. สถานศกึ ษาทท่ี านติดตอ มีการเผยแพรผ ลงานหรือขอมลู ที่ สาธารณชนควรรบั ทราบอยางชดั เจน มากนอยเพียงใด 8. สถานศกึ ษาทท่ี านติดตอ มีชอ งทางรบั ฟงคำตชิ มหรอื ความ คิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนนิ งาน/การใหบ ริการ หรือไม 9. สถานศึกษาทท่ี านติดตอ มีการชแี้ จงและตอบคำถาม เม่ือมขี อ กังวลสงสัยเกยี่ วกบั การดำเนินงานไดอยา งชัดเจน มากนอ ยเพยี งใด

11 ตัวชวี้ ดั ที่ ผูป ระเมนิ ประเด็นการประเมนิ /ขอ มลู จำนวนขอคำถาม EIT 5 ขอ 8. การ 10. สถานศกึ ษาที่ทานตดิ ตอ มีชอ งทางใหผูมาติดตอรองเรียนการ ปรบั ปรงุ ทุจรติ ของบคุ ลากรในสถานศึกษา หรือไม ระบบการ ทำงาน 11. บุคลากรในสถานศึกษาท่ีทานติดตอ มกี ารปรบั ปรุงคุณภาพ การปฏิบตั ิงาน/การใหบริการใหดีข้ึน มากนอยเพยี งใด 12. สถานศกึ ษาท่ีทานตดิ ตอ มกี ารปรับปรุงวิธกี ารและขน้ั ตอนการ ดำเนนิ งาน/การใหบรกิ ารใหด ีขึน้ มากนอยเพียงใด 13. สถานศึกษาที่ทานติดตอ มกี ารนำเทคโนโลยีมาใชในการ ดำเนนิ งาน/การใหบริการ ใหเ กดิ ความสะดวกรวดเรว็ มากข้ึน หรือไม 14. สถานศึกษาทท่ี านติดตอ เปดโอกาสใหผรู ับบริการ ผมู าตดิ ตอ หรือผูมีสวนไดสวนเสีย เขาไปมสี วนรว มในการปรบั ปรงุ พฒั นาการ ดำเนนิ งาน/การใหบรกิ ารของสถานศึกษาใหด ีขึ้น มากนอยเพยี งใด 15. สถานศึกษาทท่ี านตดิ ตอ มีการปรบั ปรงุ การดำเนนิ งาน/การ ใหบรกิ าร ใหม ีความโปรงใสมากขนึ้ มากนอ ยเพยี งใด 9. การ เว็บไซต 1. โครงสรา ง 33 ขอมลู เปดเผย สถานศึกษา - แสดงแผนผังแสดงโครงสรางการแบงสว นราชการของ ขอ มูล สถานศกึ ษา ประกอบดว ยตำแหนงทส่ี ำคญั และการแบงสวนงาน 9.1 ภายใน เชน งาน 4 ฝา ย หรอื ภาระงาน และองคคณะบุคคล ขอมลู เปน ตน พืน้ ฐาน 2. ขอมูลผบู รหิ าร - แสดงรายนามของผบู ริหารของสถานศึกษา ประกอบดว ย ชือ่ -นามสกุล ตำแหนง รูปถา ย ชอ งทางการติดตอ ผบู ริหารสูงสดุ หรอื หัวหนาสถานศกึ ษา และผูดำรงตำแหนงทางการบรหิ ารของ สถานศกึ ษา 3. อำนาจหนาที่ - แสดงขอมูลหนาท่แี ละอำนาจของสถานศึกษาตามที่กฎหมาย กำหนด 4. แผนยุทธศาสตร หรอื แผนพฒั นาสถานศึกษา - แสดงแผนการดำเนินภารกจิ ของสถานศึกษาทมี่ รี ะยะ มากกวา 1 ป ซึง่ มขี อมูลรายละเอยี ดของแผนฯ เชน ยุทธศาสตร หรือแนวทาง เปาหมาย ตวั ชวี้ ดั เปนตน และเปนแผนท่ีมี ระยะเวลาบังคับใชครอบคลุมป พ.ศ. 2563 5. ขอ มูลการติดตอ - แสดงขอมลู การตดิ ตอ ดงั นี้ 1) ที่อยู 2) หมายเลขโทรศพั ท 3) หมายเลขโทรสาร (ถามี) 4) ท่ีอยูไปรษณยี อเิ ลก็ ทรอนิกส (e–mail) 5) แผนท่ีต้งั ของหนวยงาน 6. กฎหมายที่เกยี่ วของแสดง

12 ตัวชี้วดั ที่ ผูประเมิน ประเด็นการประเมนิ /ขอมลู จำนวนขอ คำถาม 9.2 การ กฎหมายทเ่ี กี่ยวของกบั การดำเนินงานหรือการปฏิบัตงิ านของ บริหารงาน สถานศกึ ษา เชน - พรบ.การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม - พรบ.ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และทแี่ กไขเพ่ิมเตมิ - พรบ.ระเบียบขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แกไ ขเพิ่มเติม - พรบ.การศึกษาภาคบงั คับ พ.ศ. 2545 - พรบ.ขอ มูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และที่แกไข เพมิ่ เติม - พรบ.สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 - ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร วา ดว ยการบรหิ ารจดั การและ ขอบเขตการปฏิบตั ิหนา ท่ีของสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานที่เปนนิติ บุคคลในสงั กัดเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ. 2546 (ออกตาม มาตรา35 พรบ.ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร) - กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ วิธกี ารสรรหากรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2546 เปน ตน 7. ขาวประชาสมั พนั ธ แสดงขอมลู ขาวสารตาง ๆ ทเ่ี ก่ียวของกับการดำเนนิ งานตาม อำนาจ หนา ที่หรือภารกิจของสถานศกึ ษา โดยจะตองเปนขอมลู ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 8. Q & A แสดงชองทางที่บคุ คลภายนอกสามารถสอบถามขอ มลู ตา ง ๆ ได และสถานศึกษาสามารถสอ่ื สารใหคำตอบกับผูสอบถามได โดย มีลกั ษณะเปน การสอ่ื สารไดสองทาง เชน Web board, กลอง ขอ ความถาม-ตอบ เปนตน และสามารถเชื่อมโยงไปยงั ชองทาง ขางตนไดจ ากเว็บไซตหลกั ของสถานศึกษา 9. Social Network แสดงเครอื ขา ยสงั คมออนไลนข องสถานศึกษา เชน Facebook หรือ Line หรอื Twitter หรอื Instagram เปนตน และสามารถเชื่อมโยงไปยังชองทางขางตนไดจ ากเวบ็ ไซตหลักของ สถานศกึ ษา 10. แผนดำเนนิ งานประจำป แสดงแผนการดำเนินภารกจิ ของสถานศึกษาทม่ี ีระยะ 1 ป มขี อมลู รายละเอยี ดของแผนฯ เชน โครงการหรอื กิจกรรม งบประมาณที่ใชร ะยะเวลาในการดำเนนิ การ เปน ตน และเปนแผน ทมี่ ีระยะเวลาบงั คบั ใชในป พ.ศ. 2563

13 ตัวช้ีวดั ท่ี ผูประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ /ขอ มลู จำนวนขอคำถาม 11. รายงานการกำกบั ติดตามการดำเนนิ งาน ประจำป รอบ 6 เดอื น แสดงความกาวหนา ในการดำเนินงานตามแผนดำเนนิ งาน ประจำป มเี น้ือหาหรือรายละเอียดความกา วหนา เชน ความกา วหนา การดำเนินการแตละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียด งบประมาณทีใ่ ช ดำเนินงาน เปน ตน และเปนขอมลู ในระยะเวลา 6 เดอื นแรก ของป พ.ศ. 2563 12. รายงานผลการดำเนินงานประจำป แสดงผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำป มีขอ มลู รายละเอยี ดสรปุ ผลการดำเนนิ งาน เชน ผลการดำเนนิ การ โครงการหรือ กจิ กรรม ผลการใชจ า ยงบประมาณ ปญ หา อปุ สรรค ขอเสนอแนะ ผลสัมฤทธติ์ ามเปา หมาย เปน ตน และเปนรายงานผลการดำเนนิ งานของ ป พ.ศ. 2562 13. คมู อื หรือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน แสดงคูมอื หรือแนวทางการปฏิบตั ิงาน 4 ฝาย ของ สถานศึกษาทบ่ี ุคลากรในสถานศึกษาใชย ดึ ถอื ปฏบิ ตั ใิ หเ ปน มาตรฐานเดยี วกัน มขี อมลู รายละเอยี ดของการปฏบิ ตั ิงาน เชน เปน คูมอื ปฏบิ ตั ิภารกิจใด สำหรบั บุคลากรในสถาน ศกึ ษา กำหนด วิธีการข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิอยา งไร เปนตน 14. คูมือหรือมาตรฐานการใหบรกิ าร แสดงคูมอื หรือแนวทางการปฏบิ ตั ิท่ผี รู บั บรกิ ารหรือผมู า ตดิ ตอ กับ สถานศึกษาใชเปนขอมูลในการขอรบั บริการหรือติดตอ กับสถานศึกษา มีขอ มลู รายละเอยี ดของการปฏบิ ัติ เชน คูมอื หรอื แนวทางการปฏิบัติสำหรบั การใหบ ริการ ประเภทงานใหบริการ ขนั้ ตอนการใหบ ริการแผนผงั /แผนภูมกิ ารใหบริการ ระยะเวลาที่ ใชในการใหบรกิ าร และผูร บั ผดิ ชอบในการใหบรกิ าร เปนตน 15. ขอมลู เชงิ สถิติการใหบ ริการ แสดงขอ มูลสถติ ิการใหบริการตามภารกจิ ของสถานศึกษา และเปนขอมลู การใหบ รกิ ารที่เกดิ ขึน้ ในป พ.ศ. 2563 16. รายงานผลการสำรวจความพงึ พอใจการใหบ ริการ แสดงผลสำรวจความพึงพอใจการใหบริการตามอำนาจหนา ที่ หรือภารกิจของสถานศึกษา และเปน รายงานผลของป พ.ศ. 2562 17. E–Service แสดงชอ งทางทบ่ี คุ คลภายนอกสามารถขอรับบริการตาม อำนาจหนาท่ีภารกจิ ของสถานศกึ ษาผานชองทางออนไลน เพ่ือ ชวยอำนวยความสะดวกแกผูขอรบั บริการ และสามารถเขาถึงหรอื เช่อื มโยงไปยังชองทางขา งตนไดจากเวบ็ ไซตหลกั ของสถานศึกษา

14 ตวั ช้ีวัดที่ ผปู ระเมิน ประเด็นการประเมิน/ขอมูล จำนวนขอ คำถาม 9.3 การ 18. แผนการใชจา ยงบประมาณประจำป บริหารเงนิ แสดงแผนการใชจา ยงบประมาณของสถานศึกษาที่มรี ะยะ งบประมาณ 1 ป มขี อ มลู รายละเอียดของแผนฯ เชน งบประมาณตามแหลงท่ี ไดร บั การจัดสรรงบประมาณตามประเภทรายการใชจ าย เปนตน และเปนแผนท่ีมีระยะเวลาบงั คับใชใ นปงบประมาณ พ.ศ. 2563 19. รายงานการกำกับตดิ ตามการใชจายงบประมาณ รอบ 6 เดือน แสดงความกาวหนาในการดำเนินงานตามแผนการใชจา ย งบประมาณประจำป มขี อมูลรายละเอยี ดความกาวหนา เชน ความกา วหนาการใชจ า ย งบประมาณ เปนตน และเปน ขอ มลู ใน ระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปงบประมาณ พ.ศ. 2563 20. รายงานผลการใชจ ายงบประมาณประจำป แสดงผลการดำเนินงานตามแผนการใชจ ายงบประมาณ ประจำป มีขอมูลรายละเอยี ดสรุปผลการใชจ า ยงบประมาณ เชน ผลการใชจา ยงบประมาณ ปญหา อปุ สรรค ขอเสนอแนะ ผลสัมฤทธิต์ ามเปาหมาย เปนตน และเปนรายงานผลของ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 21. แผนการจดั ซอื้ จัดจางหรือแผนการจดั หาพสั ดุ แสดงแผนการจดั ซือ้ จดั จา งหรอื แผนการจดั หาพสั ดุตามท่ี สถานศึกษา จะตองดำเนินการตามพระราชบญั ญตั ิการจัดซื้อจัด จางและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 และเปน ขอ มลู การ จดั ซอื้ จัดจางในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 22. ประกาศตา ง ๆ เกีย่ วกบั การจดั ซอื้ จัดจา งหรือการจดั หาพัสดุ แสดงประกาศตามทสี่ ถานศกึ ษาจะตองดำเนินการตาม พระราชบัญญัติการจดั ซื้อจดั จา งและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 เชน ประกาศ เชิญชวน ประกาศผลการจดั ซอื้ จัดจาง เปนตน และเปน ขอมลู การจดั ซอื้ จดั จางในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 23. สรุปผลการจัดซอื้ จัดจางหรือการจดั หาพสั ดรุ ายเดือน แสดงสรปุ ผลการจดั ซือ้ จดั จางของสถานศึกษา (แบบ สขร.1) มีขอ มูลรายละเอยี ดผลการจดั ซ้ือจัดจาง เชน งานทซี่ ้ือหรือจาง วงเงนิ ทีซ่ ้อื หรือจาง ราคากลาง วิธีการซื้อหรือจาง รายชื่อผเู สนอ ราคา และราคาทีเ่ สนอ ผูไดรับการคดั เลือกและราคาท่ตี กลง เหตุผลที่คดั เลอื กโดยสรุป เลขท่แี ละวันท่ีของสัญญาหรือขอตกลง ในการซื้อหรอื จาง เปน ตน จำแนกขอมลู เปนรายเดือน (กรณไี มมี การจัดซ้ือจัดจางในรอบเดือน ใดใหร ะบวุ าไมมกี ารจัดซอื้ จัดจาง) และเปน ขอมูลการจดั ซอ้ื จัดจางในปงบประมาณ พ.ศ. 2563

15 ตัวชวี้ ัดที่ ผูประเมนิ ประเดน็ การประเมิน/ขอ มูล จำนวนขอ คำถาม 9.4 การ 24. รายงานผลการจัดซ้อื จัดจางหรือการจดั หาพัสดุประจำป บริหารและ แสดงผลการจัดซื้อจัดจา งของสถานศึกษา (แบบ สขร.1) พฒั นา ทรัพยากร มขี อ มลู รายละเอียด เชน งบประมาณที่ใชในการจัดซ้อื จัดจาง บุคคล ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ เปนตน และเปน รายงานผลของ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 25. นโยบายการบริหารทรัพยากรบคุ คล แสดงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มจี ุดมงุ หมายหรอื วัตถุประสงค เพื่อกอใหเกิดการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลที่มีความ โปรง ใสและมคี ุณธรรม เปนนโยบายของผบู ริหารสูงสดุ หรือ ผูบริหารทไี่ ดร บั มอบหมาย หรอื นโยบายที่กำหนดในนามของ สถานศึกษา และเปนนโยบายท่ยี งั ใชบ งั คับในสถานศึกษาในป พ.ศ. 2563 26. การดำเนินการตามนโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล แสดงการดำเนนิ การตามนโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล เชน การวางแผนกำลงั คน การสรรหาคนดีคนเกง เพ่ือปฏิบัตงิ าน ตามภารกจิ ของสถานศึกษา การพฒั นาบคุ ลากร การสรา งทาง กาวหนาในสายอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ การบรรจแุ ละ แตงต้ังบคุ ลากร การประเมนิ ผล การปฏิบตั งิ าน การสงเสริม จรยิ ธรรมและรกั ษาวนิ ยั ของบุคลากรใน สถานศึกษา เปนตน เปน การดำเนนิ การท่ีมีความสอดรับกับนโยบายการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ตามขอ O25 หรือเปนไปตามกจิ กรรมที่อยูภายใต นโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ตามขอ 25 และเปน การ ดำเนนิ การในป พ.ศ. 2563 27. หลกั เกณฑก ารบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล แสดงหลกั เกณฑการบริหารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล ดังนี้ o หลักเกณฑการสรรหาและคัดเลือกบคุ ลากร o หลกั เกณฑการบรรจุและแตงต้ังบุคลากร o หลกั เกณฑการพฒั นาบคุ ลากร o หลักเกณฑการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านบุคลากร o หลักเกณฑการใหคณุ ใหโทษและการสรางขวัญกำลังใจและ เปนหลักเกณฑท ่ยี ังใชบ งั คบั ในสถานศึกษาในป พ.ศ. 2563 28. รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำป แสดงผลการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลมีขอมูล รายละเอียดของการดำเนินการ เชน ผลการดำเนนิ การตาม นโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล ผลการวิเคราะหการบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล เปน ตน และเปนรายงานผลการ ดำเนินงาน ในป พ.ศ. 2562

16 ตัวช้วี ดั ท่ี ผูประเมิน ประเดน็ การประเมิน/ขอมูล จำนวนขอคำถาม 9.5 การ 10 ขอมูล สงเสริม 29. แนวปฏบิ ตั ิการจดั การเร่ืองรอ งเรียนการทจุ รติ และประพฤติ ความ มชิ อบ โปรง ใส แสดงคูม ือหรอื แนวทางการดำเนนิ การตอเร่ืองรองเรยี นท่ี - การเปด เก่ยี วของกบั การทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบของบุคลากรใน โอกาสให สถานศึกษา มีขอมลู รายละเอียดของการปฏิบัตงิ าน เชน เกิดการมี รายละเอียดวธิ กี ารทีบ่ ุคคลภายนอกจะทำการรอ งเรียน สว นรว ม รายละเอียดข้ันตอนหรือวิธกี ารในการจัดการตอเร่ืองรองเรียน สวนงานท่ีรับผิดชอบ ระยะเวลา ดำเนินการ เปน ตน 10. การ 30. ชองทางแจงเร่ืองรองเรียนการทุจรติ และประพฤติ ปอ งกนั การ มชิ อบ ทุจริต แสดงชอ งทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถแจง เรื่องรองเรียน 10.1 การ เกี่ยวกบั การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบของบุคลากรในสถานศึกษา ดำเนนิ การ ผา นทางชองทางออนไลน และสามารถเขาถึงหรือเชอ่ื มโยงไปยัง ชองทางขา งตน ไดจ ากเว็บไซตหลกั ของสถานศึกษา 31. ขอมลู เชงิ สถติ ิเร่ืองรองเรียนการทจุ ริตและประพฤติ มิชอบประจำป แสดงขอมูลสถิตเิ รื่องรอ งเรียนการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ของบุคลากรในสถานศึกษา มีขอมลู ความกาวหนาการจัดการเรือ่ ง รองเรยี น เชน จำนวนเรอื่ ง เรอื่ งที่ดำเนนิ การแลวเสรจ็ เรื่องที่อยู ระหวางดำเนินการ เปนตน (กรณีไมม ีเร่ืองรองเรียนใหร ะบุไมมี เร่อื งรองเรยี น) และเปน ขอมูลในป พ.ศ. 2563 32. ชองทางการรับฟงความคิดเห็น แสดงชอ งทางทบี่ ุคคลภายนอกสามารถแสดงความคดิ เหน็ ตอการดำเนินงานตามอำนาจหนา ท่หี รือภารกิจของสถานศึกษา ผานทางชองทางออนไลน สามารถเขา ถงึ หรอื เช่อื มโยงไปยัง ชองทางขา งตน ไดจากเว็บไซตหลกั ของสถานศึกษา 33. การเปด โอกาสใหเกิดการมีสวนรว ม แสดงการดำเนนิ การหรือกิจกรรมทแี่ สดงถึงการเปด โอกาสใหผ มู ีสว นไดส วนเสยี ไดมสี วนรวมในการดำเนนิ งานตาม ภารกิจของสถานศึกษา เชน รวมวางแผน รว มดำเนินการรวม แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และรวมติดตามประเมินผล เปนตน และ เปน การดำเนินการในป พ.ศ. 2563 34. เจตจำนงสุจริตของผบู ริหาร แสดงเน้อื หาเจตนารมณห รือคำมน่ั วาจะปฏบิ ตั ิหนา ทแ่ี ละ บริหาร สถานศึกษาอยา งซื่อสัตยส ุจริต โปรง ใส และเปนไปตาม หลักธรรมาภิบาล โดยจัดทำอยา งนอย 2 ภาษา ไดแ ก ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ดำเนินการโดยผูบริหารสงู สุดคนปจจบุ นั ของ

17 ตวั ชี้วัดที่ ผปู ระเมิน ประเดน็ การประเมนิ /ขอ มูล จำนวนขอคำถาม เพื่อปองกัน สถานศึกษา การทจุ รติ 35. การมีสวนรวมของผูบริหาร แสดงการดำเนนิ การหรือกิจกรรมท่ีแสดงถึงการมสี วนรวมของ ผูบ รหิ ารสูงสุดคนปจจุบนั เปน การดำเนนิ การหรือกจิ กรรมท่แี สดง ใหเหน็ ถึงการใหความสำคัญกับการปรบั ปรุง พัฒนา และสงเสริม สถานศึกษาดานคุณธรรมและความโปรง ใส และเปน การ ดำเนินการในป พ.ศ. 2563 36. การประเมนิ ความเส่ียงการทจุ ริตประจำป แสดงผลการประเมินความเส่ยี งของการดำเนนิ งานหรือการ ปฏบิ ัติหนาทท่ี ่ีอาจกอ ใหเ กิดการทุจริตหรอื กอใหเกดิ การขัดกัน ระหวางผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนส วนรวมของ สถานศึกษา มขี อมูลรายละเอียดของผลการประเมิน เชน เหตกุ ารณความเสี่ยง และระดับของความเสี่ยง มาตรการและการ ดำเนนิ การในการบริหารจัดการความเสีย่ ง เปนตน และเปนการ ดำเนนิ การในป พ.ศ. 2563 37. การดำเนนิ การเพื่อจัดการความเส่ียงการทุจริต แสดงการดำเนนิ การหรือกจิ กรรมท่ีแสดงถึงการจัดการความ เสยี่ งในกรณที ี่อาจกอ ใหเ กดิ การทจุ รติ หรือกอใหเกิดการขดั กัน ระหวา งผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสว นรวมของ สถานศึกษา เปน กิจกรรมหรือการดำเนินการทส่ี อดคลอ งกบั มาตรการหรือการดำเนนิ การเพอ่ื บรหิ ารจดั การความเส่ียงตามขอ 36 และเปน การดำเนนิ การในป พ.ศ. 2563 38. การเสรมิ สรางวัฒนธรรมองคกร แสดงการดำเนนิ การหรอื กิจกรรมที่แสดงถงึ การเสริมสรา ง วัฒนธรรมองคก รใหบุคลากรในสถานศกึ ษามีทัศนคติ คานยิ มใน การปฏิบัตงิ านอยางซ่ือสัตยสุจรติ อยา งชดั เจน และเปน การ ดำเนนิ การในป พ.ศ. 2563 39. แผนปฏิบัตกิ ารปอ งกนั การทุจรติ ประจำป แสดงแผนปฏบิ ัตกิ ารท่มี ีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือปองกันการทุจรติ หรือพัฒนาดา นคุณธรรมและความโปรง ใสของสถานศึกษา มีขอมลู รายละเอียดของแผนฯ เชน โครงการ กจิ กรรม งบประมาณ ชว งเวลาดำเนินการ เปน ตน และเปนแผนท่ีมรี ะยะเวลาบงั คบั ใช ครอบคลุมป พ.ศ. 2563 40. รายงานการกำกบั ตดิ ตามการดำเนินการปองกนั การทุจรติ ประจำป รอบ 6 เดือน แสดงความกา วหนา ในการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการ ปองกนั การทุจรติ มีขอมูลรายละเอยี ดความกาวหนา เชน

18 ตัวช้วี ดั ที่ ผูป ระเมิน ประเดน็ การประเมิน/ขอมูล จำนวนขอคำถาม 10.2 ความกา วหนาการดำเนนิ การแตล ะโครงการ/กจิ กรรม รายละเอียด มาตรการ ภายในเพอ่ื งบประมาณที่ใชดำเนินงาน เปน ตน และเปน ขอมลู ในระยะเวลา 6 ปองกันการ ทจุ รติ * เดือนแรก ในป พ.ศ. 2563 41. รายงานผลการดำเนนิ การปองกันการทจุ ริตประจำป แสดงผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารปองกันการทจุ ริต มีขอมลู รายละเอยี ดสรปุ ผลการดำเนินการ เชน ผลการดำเนินการ โครงการหรือกจิ กรรม ผลการใชจายงบประมาณ ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ ผลสมั ฤทธ์ติ ามเปา หมาย เปนตน ใชร ายงานผลการ ดำเนนิ งาน ในป พ.ศ. 2562 42. มาตรการสงเสรมิ คณุ ธรรมและความโปรงใสภายในหนวยงาน แสดงการวเิ คราะหผ ลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใส ในการดำเนินงานของสถานศึกษา ในป งบประมาณ พ.ศ. 2562 มขี อ มูลรายละเอยี ดการวเิ คราะห เชน ประเดน็ ทเ่ี ปนขอ บกพรอง หรอื จดุ ออนท่จี ะตองแกไขโดยเรงดวน ประเด็นท่จี ะตองพัฒนาใหดี ข้ึน แนวทางการนำผลการวิเคราะหไปสกู ารปฏบิ ตั ิของสถานศึกษา เปนตน มีมาตรการเพ่ือขบั เคลอ่ื นการสงเสรมิ คณุ ธรรมและความ โปรง ใสภายในสถานศกึ ษาใหดขี น้ึ ซ่งึ สอดคลอ งตามผลการ วิเคราะหฯ โดยมรี ายละเอียดตาง ๆ เชน การกำหนดผูรับผิดชอบ หรอื ผทู ่ีเกย่ี วของการกำหนดขั้นตอนหรือวิธกี ารปฏิบัติ การกำหนด แนวทางการกำกบั ติดตาม ใหนำไปสกู ารปฏิบัตแิ ละ การรายงานผล เปนตน 43. การดำเนินการตามมาตรการสงเสรมิ คณุ ธรรมและความ โปรง ใสภายในหนวยงาน แสดงผลการดำเนินการตามมาตรการเพ่ือสงเสริมคุณธรรม และความโปรง ใสภายในสถานศกึ ษา มขี อมูลรายละเอยี ดการนำ มาตรการเพือ่ สงเสริมคุณธรรมและความโปรง ใสภายใน สถานศกึ ษาในขอ 42 ไปสกู ารปฏิบัตอิ ยางเปนรปู ธรรม และเปน การดำเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 หมายเหตุ : การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2563 ไมนำขอ 42 – 43 มาคิดคะแนนเนือ่ งจากเปน การประเมนิ ในปแรกของสถานศกึ ษา

1919 บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีการประเมนิ การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ไดดำเนินการพัฒนาและออกแบบระบบ การประเมินในครั้งนี้ใหงายตอการใชงานทั้งในสวนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในฐานะหนวยที่ตองนำ เคร่อื งมือการประเมนิ ITA Online ไปใช และสถานศกึ ษาในฐานะหนวยทต่ี อ งรบั การประเมนิ ITA Online จาก สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา เพอื่ ลดความยุงยาก ซับซอนในการนำเขา ขอมูล และคำนึงถึงความสะดวกในการ ตอบคำถามแบบสำรวจของผูที่เกี่ยวของ สามารถบริหารจัดการขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำใหการ ดำเนินการประเมินสามารถทำไดอยางรวดเร็ว ตอบสนองตอการนำขอมูลไปสูการปรับปรุง สถานศึกษา ทร่ี บั การประเมนิ และการวางแผนในการปอ งกนั การทจุ รติ ตอ ไปไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ สำหรับระเบียบวิธีการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ตวั ชี้วดั การประเมิน ตวั ชี้วดั การประเมิน จำแนกออกเปน 10 ตัวช้ีวดั ไดแ ก 1) การปฏบิ ตั หิ นาท่ี 2) การใชง บประมาณ 3) การใชอำนาจ 4) การใชทรพั ยสินของราชการ 5) การแกไขปญหาการทจุ ริต 6) คณุ ภาพการดำเนินงาน 7) ประสทิ ธิภาพการสื่อสาร 8) การปรับปรุงระบบการทำงาน 9) การเปดเผยขอมลู 10) การปอ งกนั การทจุ รติ เครอ่ื งมือที่ใชใ นการประเมิน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ นการประเมิน จำแนกออกเปน 3 เครื่องมือ ดังนี้ 1) แบบวดั การรับรขู องผูม ีสวนไดสวนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการประเมินระดับการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสียภายในที่มีตอ หนวยงานตนเอง ในตัวชี้วัดการปฏิบัติหนาที่ การใชงบประมาณ การใชอำนาจ การใชทรัพยสินของราชการ และการแกไ ขปญ หาการทจุ รติ 2) แบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการประเมินระดับการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสียภายนอกที่มีตอ หนวยงานที่ประเมิน ในตัวชี้วัดคุณภาพการดำเนินงาน ประสิทธิภาพการสื่อสาร และการปรับปรุงระบบ การทำงาน

20 3) แบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการประเมินระดับการเปดเผยขอมูลตอสาธารณะของหนวยงาน เพื่อใหป ระชาชนทว่ั ไปสามารถเขา ถึงได ในตวั ช้ีวัดการเปด เผยขอมลู และการปอ งกันการทจุ ริต กลมุ ประชากร กลุมตวั อยา ง และการเกบ็ รวบรวมขอมูล 1) ผมู สี ว นไดสว นเสยี ภายใน (สำหรับแบบ IIT) ผูมสี วนไดส ว นเสยี ภายใน หมายถงึ บุคลากรในสถานศึกษา ตั้งแตระดับผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปจนถึงลูกจาง/พนักงานจาง ที่ทำงานใหกับสถานศึกษามาเปนระยะเวลา ไมน อยกวา 1 ป นบั ถึงวนั ทีแ่ จงจำนวนบุคลากรเขาในระบบ ITA Online 2020 การกำหนดขนาดตัวอยางขั้นต่ำ เก็บตัวอยางจากผูมีสวนไดสวนเสียภายในไมนอยกวา 25 ตัวอยาง กรณีสถานศึกษามีผูมีสวนไดสวนเสียภายใน จำนวนนอยกวา 25 คน ใหเก็บขอมูลจากผูมีสวนได สวนเสียภายในทงั้ หมด การเก็บขอ มูลตวั อยาง ผูม ีสวนไดสวนเสยี ภายในตอบแบบวัดการรับรู IIT ดว ยตนเอง 2) ผูมีสวนไดสวนเสยี ภายนอก (สำหรับแบบ EIT) ผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ผูนำชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น คูคา คูสัญญา ผูรับจาง ที่มารับบริการหรือมาติดตอตามภารกิจของสถานศึกษา นบั ตัง้ แตใ นปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปนตน มา การกำหนดขนาดตัวอยางขั้นต่ำ เก็บตัวอยางจากผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก ประกอบดวย คณะกรรมการสถานศึกษา (ไมรวมผูบริหารสถานศึกษาและครู) ตัวแทนผูปกครองอยางนอย รอยละ 10 ของ จำนวนนกั เรยี นท้ังหมด ผูนำชมุ ชน องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ คคู า คูส ัญญา ผรู บั จา ง ซึง่ จะตองไมนอยกวา 20 ตวั อยาง การเก็บขอมูลตัวอยาง ผมู สี ว นไดส วนเสียภายนอกตอบแบบวัดการรบั รู EIT ดว ยตนเอง 3) เว็บไซตสถานศกึ ษา (สำหรับแบบ OIT) เก็บขอมูลจากเว็บไซตสถานศึกษาที่เขารับการประเมินทั้งหมด และไมมีการคัดเลือกกลุม ตวั อยา ง โดยผดู แู ลระบบของสถานศกึ ษามหี นาทใ่ี นการตอบแบบสำรวจ หนว ยงานละ 1 ชุด การตอบแบบสำรวจ OIT ในแตละขอคำถาม ใหผูดูแลระบบของสถานศึกษาระบุ URL ของหนาใดหนาหนึ่งบนเว็บไซตหลักของสถานศึกษา ซึ่งเชื่อมโยงไปสูแหลงที่อยูของการเปดเผยขอมูล โดยสถานศึกษาสามารถระบุ URL ไดมากกวา 1 URLในแตละขอ กรณีที่สถานศึกษามีขอจำกัดหรือเหตุผลความจำเปน ทำใหเผยแพรขอมูลไดไมตรงตาม รายละเอียดที่กำหนดหรือไมสามารถเผยแพรขอมูลตามรายละเอียดที่กำหนดตามแบบสำรวจ OIT ได ใหหนวยงานอธิบายเหตุผลความจำเปน ประกอบโดยละเอยี ด

21 การประมวลผลคะแนน การประมวลผลคะแนน มขี น้ั ตอนการประมวลผลคะแนนตามลำดับ ดงั น้ี คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT คะแนนขอคำถาม คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนตวั ช้วี ัดยอ ย ขอ คำถามจากผูตอบ ขอ คำถามจากผตู อบ คะแนนของขอคำถาม คะแนนตวั ชี้วัด คะแนนแบบสำรวจ ทุกคน ทกุ คน น้ำหนักแบบสำรวจ คะแนนเฉล่ียของ คะแนนรวม – – ทกุ ขอคำถาม ในตวั ช้วี ดั ยอย คะแนนเฉลีย่ ของ คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉลีย่ ของ ทุกขอคำถามในตัวชว้ี ัด ทุกขอคำถามในตัวชวี้ ัด ทกุ ตัวช้วี ัดยอยในตัวชว้ี ัด คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉลีย่ ของ คะแนนเฉลยี่ ของ ทุกตวั ชว้ี ดั ในแบบสำรวจ ทุกตวั ชีว้ ดั ในแบบสำรวจ ทกุ ตวั ชี้วดั ในแบบสำรวจ รอ ยละ 30 รอ ยละ 30 รอยละ 40 ผลรวมของคะแนนแบบสำรวจท่ถี วงนำ้ หนักแลว คะแนนและระดับผลการประเมิน ผลการประเมินจะมี 2 ลักษณะ คือคาคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และระดับผล การประเมิน (Rating Score) โดยจำแนกออกเปน 7 ระดับ ดังน้ี คะแนน ระดบั 95.00 – 100 AA 85.00 – 94.99 A 75.00 – 84.99 B 65.00 – 74.99 C 55.00 – 64.99 D 50.00 – 54.99 E 0 – 49.99 F

22

23 ขน้ั ตอนการประเมิน สพท. ไดก ำหนดรายละเอยี ดของการเขารับการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งจะตองดำเนินการผานระบบการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน โดยจำแนกขั้นตอนการดำเนินการตาง ๆ ออกเปน 3 ชวง ไดแก (1) ชวงเตรียมการประเมนิ (2) ชวงดำเนนิ การประเมนิ และ (3) ชว งสรปุ ผลการประเมิน ซึ่งในแตละชวงจะ มขี ัน้ ตอนการประเมินและกรอบระยะเวลาดำเนินการพอสังเขป ดงั น้ี ชวงการประเมนิ กรอบระยะเวลา ข้ันตอนการประเมนิ ชวงเตรยี มการประเมิน 19-21 ก.ค. 2563 สพฐ. ประชุมชี้แจงแนวทางการประเมิน ITA Online ของ ◊ ชแ้ี จงกรอบการประเมิน 1-7 ส.ค. 2563 สถานศกึ ษาออนไลน ◊ นำเขาขอ มลู 1-7 ส.ค. 2563 สถานศึกษาเตรียมบคุ ลากรผูร ับผิดชอบ ไดแก ผูประสานงานการ ชวงดำเนนิ การประเมนิ 5 ส.ค. 2563 ประเมนิ และผูดแู ลระบบของสถานศกึ ษา ◊ ตอบแบบ IIT, EIT 11 ส.ค. 2563 ◊ ทำแบบ OIT สถานศึกษา กรอกขอมลู บคุ ลากรผูรับผดิ ชอบและนำเขาขอมูลผูมี 12 ส.ค. 2563 สวนไดสวนเสียภายใน (IIT) ผานชองทางภายในระยะเวลาที่ ชวงสรุปผลการประเมิน 10 ก.ย. 2563 กำหนด ◊ ตรวจใหค ะแนนและ 24 ส.ค. 2563 สพท. ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารวทิ ยากรแกนนำ ขอเสนอแนะ 25-28 ส.ค. 2563 สพท.ประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณธรรมและความ ◊ ประมวลผลการประเมนิ 31 ส.ค.2563 โปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำป ◊ ประกาศผลคะแนน 1-6 ก.ย. 2563 งบประมาณ พ.ศ. 2563 7-10 ก.ย. 2563 สถานศึกษาปรับปรุงเว็บไซดของสถานศึกษาตามแนวทางการ 11-16 ก.ย. 2563 ประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของ 17-22 ก.ย. 2563 สถานศกึ ษาออนไลน สพท. สงชองทางการตอบแบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสีย 23-25 ก.ย. 2563 ภายใน (IIT) ใหส ถานศกึ ษา 28-30 ก.ย. 2563 สถานศึกษาเผยแพรและประชาสัมพันธชองทางการตอบแบบวัด การรับรู IIT ใหผ ูม ีสวนไดสวนเสียภายในเขามาตอบ สพท. สงชองทางการตอบแบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสีย ภายนอก (EIT) ใหส ถานศึกษา สถานศึกษาเผยแพรและประชาสัมพันธชองทางการตอบแบบวัด การรบั รู EIT ใหผ มู สี วนไดสว นเสยี ภายนอกเขา มาตอบ สถานศกึ ษาดำเนนิ การตอบแบบสำรวจ OIT ตรวจและใหคะแนนแบบ OIT ประมวลผลใหค ะแนน วิเคราะหผล และใหข อ เสนอแนะ จ ั ด ท ำ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร  ง ใ ส ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอบทาน กลั่นกรองและนำเสนอผลการประเมินตอผูบริหาร ระดบั สูงของ สพท. ประกาศผลและเผยแพรรายงานผลการประเมิน ITA Online ของสถานศกึ ษา

24 ชวงเตรยี มการประเมนิ 1. สพท. เตรียมบคุ ลากรผูรับผดิ ชอบและดำเนินการในสว นทีเ่ ก่ียวขอ ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจะตองจัดเตรียมบุคลากรเพื่อทำหนาที่เปนคณะผูประเมิน และผูดูแลระบบ ITA Online ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ไดแก ผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ระดับ สพท. ผูดูแลระบบ ITA Online ผูรับผิดชอบโครงการโรงเรียนสุจริต และผูรับผิดชอบโครงการโรงเรียน คณุ ภาพประจำตำบล สพท.ดำเนนิ การจดั ทำคำส่ังแตงต้ังคณะผรู บั ผิดชอบการประเมนิ ITA Online รวมดำเนินการ ประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 2. สพฐ.ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระบบ ITA Online 2020 ใหกับ ผูรับผิดชอบ 225 หนวย การประเมิน สพท. สงบุคลากรผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ระดับ สพท. และผูดูแลระบบ ITA Online ของ สพท. เขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ทาง สพฐ. จัดขึ้น เพื่อเรียนรูวิธีการใชงานระบบ ITA Online การสรางเครื่องมือการ ประเมิน การเช่ือมโยงเครอ่ื งมอื การจัดการประมวลผลคะแนน การสรุปผลขอมูลการประเมินคณุ ธรรมและความ โปรงใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน และวางแผนการดำเนินงาน 3. สพท.ประชุมชี้แจงแนวทางการประเมิน ITA Online ของสถานศึกษา ใหโรงเรียน กลมุ เปาหมาย (เพมิ่ เติม) สพท. จัดการประชุมชแ้ี จงแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของ สถานศึกษาออนไลน (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ใหกับโรงเรียนในกลุม เปาหมาย เพื่ออธิบายการใชงานระบบ ITA Online การกรอกขอมูล การตอบ แบบประเมิน การจัดทำขอมูลผานทางเว็บไซตของสถานศึกษา การตอบคำถามแบบสำรวจการเปดเผยขอมูล สาธารณะ และกรอบระยะเวลาการประเมิน ITA Online ในภาพรวม 4. สถานศกึ ษาเตรียมบคุ ลากรผูรบั ผดิ ชอบ สถานศึกษาจะตองจัดเตรียมบุคลากรเพื่อทำหนาท่ีเปนผูประสานงานการประเมิน และผูดูแล ระบบของสถานศกึ ษา ดังนี้ – กรอกขอมลู ผูร บั ผิดชอบการประเมนิ ITA Online ในระดับสถานศกึ ษา – นำเขาขอมลู ขอมูลผมู ีสว นไดสว นเสียภายใน (IIT) – ประสานงานในขัน้ ดำเนินการตอบแบบวัดการรับรู IIT และ EIT – ตอบแบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ (แบบ OIT) – กำกับดูแลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 5. สถานศึกษากรอกขอมลู บุคลากรผูรบั ผิดชอบและกรอกนำเขา ขอมูลผูมสี วนไดสวนเสีย ภายใน (IIT) ผานทางระบบ ITA Online 2020 ผดู ูแลระบบของสถานศกึ ษาเขาใชงานระบบ ITA Online 2020 เพ่อื ดำเนินการกรอกขอมูล ดงั นี้ 1. ขอมลู บคุ ลากรผรู บั ผิดชอบการประเมนิ ITA Online ในระดบั สถานศึกษา จำนวน 1-2 คน 2. จำนวนบุคลากรทั้งหมดของสถานศึกษา ที่ทำงานใหกับสถานศึกษามาเปนระยะเวลา ไมนอยกวา 1 ป นับถึงวันที่แจงจำนวนบุคลากรเขาในระบบ ITA Online 2020 เพื่อนำมาใชคำนวณจำนวน

25 ผูต อบแบบวัดการรับรูผมู สี ว นไดสวนเสยี ภายใน (แบบ IIT) 3. จำนวนนกั เรียนท้ังหมดของสถานศึกษา เพ่อื นำมาใชคำนวณจำนวนผูตอบแบบวัดการรับรู ผูมสี ว นไดส วนเสียภายนอก (แบบ EIT) (สพท. อาจดึงขอมูลสารสนเทศของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลมาเปนฐานในการคำนวณ จำนวนผตู อบแบบวัดการรับรูท้งั สองแบบ) 6. สถานศกึ ษาปรับปรุงแกไ ขระบบงานและการเปด เผยขอมูลผา นทางเว็บไซตของหนว ยงาน ตามเกณฑท่ีกำหนด สถานศึกษาจะตองดำเนนิ การเผยแพรขอมูลตาง ๆ ของสถานศึกษาที่เปน ปจจุบนั บนเว็บไซต ของสถานศึกษา เพื่อเปดเผยใหสาธารณชนไดรับทราบ ตามประเด็นขอคำถามของแบบสำรวจการเปดเผย ขอ มลู สาธารณะ ชว งดำเนินการประเมิน 1. สพท. สงชองทางการตอบแบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสียภายใน (IIT) ให สถานศึกษา สพท.จะจัดสง ชอ งทางการตอบแบบวัดการรับรู IIT ใหแ ก ผรู ับผดิ ชอบการประเมิน ITA Online ในระดับสถานศึกษาไปที่อีเมล [email protected] โดยชองทางการตอบแบบวัดการรับรู IIT จะอยูใน ลักษณะ URL และ QR Code ซึ่งเปนชองทางเฉพาะของแตละสถานศึกษา เพื่อใหผูมีสวนไดสวนเสียภายในเขา มาตอบในระบบ ITA Online 2020 ในชว งเวลาที่ สพท.กำหนด 2. สถานศกึ ษาเผยแพรและประชาสมั พนั ธช องทางการตอบแบบวดั การรับรู IIT ใหผ มู สี วน ไดสวนเสยี ภายในเขามาตอบ จากนั้น สถานศึกษาจะตองประชาสัมพันธรายละเอียดการเขาระบบ ITA Online 2020 แกบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งการประชาสัมพันธจะตองเปนการสื่อสารภายใน เพื่อใหบุคลากรในสถานศึกษา เขาระบบและประเมินดวยตนเอง บุคลากรในสถานศึกษา จะเขาระบบ ITA Online 2020 จาก URL หรือ QR Code และ ประเมินดวยตนเอง โดยเมื่อเขาระบบแลว จะตองยืนยันตนเองดวยการกรอกหมายเลขบัตรประชาชนของ ตนเองกอนทำแบบสำรวจ โดยระบบจะตรวจสอบความถูกตองของเลขบัตรประชาชนเพื่อปองกันการตอบซ้ำ ของผูใชงานและเพื่อใหผลการประเมินมคี วามคลาดเคล่ือนนอยท่ีสุดเทา น้ัน ไมมีการเชื่อมโยงกับขอมูลสวนตวั ของผตู อบแบบสำรวจใด ๆ ทง้ั สิน้ ทั้งนี้ ผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ในระดับสถานศึกษาจะมีหนาที่กำกับติดตาม การประเมนิ ตามแบบ IIT ใหไ ดต ามจำนวนตัวอยา งท่ี สพท. กำหนด โดยสามารถเรยี กดูสถานะของการประเมิน ตามแบบ IIT ในระบบ ITA Online 2020 3. สพท. สงชองทางการตอบแบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก (EIT) ใหส ถานศกึ ษา สพท.จะจัดสงชองทางการตอบแบบวัดการรับรู EIT ใหแก ผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ในระดับสถานศึกษา ไปที่อีเมล [email protected] โดยชองทางการตอบแบบวัดการรับรู EIT จะอยูในลักษณะ URL และ QR Code ซึ่งเปนชองทางเฉพาะของแตละสถานศึกษา เพื่อใหผูมีสวนไดสวนเสีย ภายนอก เขามาตอบในระบบ ITA Online 2020 ในชวงเวลาที่ สพท.กำหนด

26 4. สถานศึกษาเผยแพรและประชาสัมพันธชองทางการตอบแบบวัดการรับรู EIT ใหผมู ีสวนไดสวนเสยี ภายนอกเขา มาตอบ จากน้นั สถานศกึ ษาศึกษาจะตองประชาสัมพันธร ายละเอียดการเขา ระบบ ITA Online 2020 แกผูมีสวนไดส วนเสยี ภายนอก ผา นทางเวบ็ ไซตห ลกั ของหนว ยงาน หรอื ชอ งทางประชาสัมพนั ธ อนื่ ๆ เพื่อใหผูมี สว นไดส วนเสยี ภายนอกเขา ระบบและประเมินดวยตนเอง ผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก จะเขาระบบ ITA Online 2020 จาก URL และ QR Code และ ประเมนิ ดว ยตนเอง โดยเมื่อเขาระบบแลว จะตองยืนยันตัวตนดวยการกรอกหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน ของตนเองกอนทำแบบสำรวจ โดยระบบจะตรวจสอบความถูกตองของเลขบัตรประชาชนเพื่อปองกันการ ตอบซ้ำของผูใชงานและเพื่อใหผลการประเมินมีความคลาดเคล่ือนนอยทีส่ ดุ เทา นั้น ไมมีการเชือ่ มโยงกับขอมูล สว นตัวของผูตอบแบบสำรวจใด ๆ ทง้ั สน้ิ ทั้งนี้ ผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ในระดับสถานศึกษา จะมีหนาที่กำกับติดตาม การประเมินตามแบบ EIT ใหไดตามจำนวนตัวอยางท่ี สพท. กำหนด โดยสามารถเรียกดูสถานะของการ ประเมนิ ตามแบบ EIT ในระบบ ITA Online 2020 5. ดำเนินการตอบคำถามแบบสำรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ (Open data Integrity and Transparency Assessment: OIT) สพท.จะจัดสงชองทางการตอบแบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ OIT ไปที่อีเมล [email protected] โดยชองทางการตอบแบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะ OIT จะเปน ชองทางเฉพาะของแตละสถานศึกษา เพื่อใหผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ตอบคำถามตามแบบตรวจ การเปด เผยขอ มลู สาธารณะ OIT ตามชวงเวลาและแนวทางท่ี สพท.กำหนด เทา นั้น สถานศึกษาที่รับการประเมิน โดยผูรับผิดชอบการประเมิน ITA Online ในระดับสถานศึกษา จะตองเขาระบบ ITA Online 2020 เพื่อตอบคำถามตามแบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะของหนวยงาน ใน 2 ตวั ช้ีวัด ไดแ ก ตัวชว้ี ัดการเปด เผยขอมูล (ประกอบดวย 5 ตัวชี้วดั ยอ ย ไดแ ก ขอ มลู พื้นฐาน การบริหารงาน การบริหารเงินงบประมาณ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการสงเสริมความโปรงใส) และตัวชี้วัด การปองกันการทุจริต (ประกอบดวย 2 ตัวชี้วัดยอย ไดแก การดำเนินการเพื่อปองกันการทุจริต และ มาตรการ ภายในเพือ่ ปอ งกันการทจุ รติ ) ชว งสรุปผลการประเมนิ 1. ตรวจสอบ ใหคะแนน วิเคราะหขอ มูลและประมวลผลคะแนน สพท. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อดำเนินการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลตามเกณฑ ที่กำหนดและใหคะแนน รวมถึงการวิเคราะหขอมูลและประมวลผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 2. จัดทำรายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของ สถานศึกษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพท. ดำเนินการจัดทำรายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยจัดทำเปนรูปเลมและไฟลดิจิทัล ภายหลังจาก การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อดำเนนิ การตรวจสอบความถูกตองของขอ มูลตามเกณฑที่กำหนดและใหค ะแนน รวมถึงการวิเคราะหขอมูลและประมวลผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

27 3. ประกาศผลการประเมิน ITA และนำเสนอผลตอ สพฐ. สพท. ประกาศผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ใหส ถานศึกษาไดรับทราบ รวมถงึ นำเสนอผลการดำเนินงานตอ สพฐ. และมอบเกียรติบัตรใหกับผูบริหารสถานศึกษาหรือผูแทนของหนวยงานที่เขารับการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

28 บทท่ี 4 ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน ขอมูลพน้ื ฐานของผเู ขา รับการประเมนิ 1.1 ผูรบั การประเมินแบบสำรวจความคิดเหน็ Internal Integrity and Transparency Assessment Online (IIT Online) จำนวน 1,558 คน 1.2 ผูร ับการประเมินแบบสำรวจความคิดเห็น External Integrity and Transparency Assessment Online (EIT Online) จำนวน 4,198 คน 1.3 สถานศึกษาท่ีรับการประเมนิ Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT) จำนวน 58 แหง ผลการประเมนิ ในภาพรวมระดบั สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา โดยภาพรวมระดบั สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 61.99 ซึ่งถือวามีคุณธรรมและความโปรงใส ในการดำเนินงานอยูในระดับ D โดย ตัวช้ีวัดที่ 1 การปฏิบัติหนาท่ี ไดคะแนนสูงสุด รอยละเฉลี่ย 88.82 สวนตัวชี้วัดที่ไดคะแนนต่ำกวาตัวชี้วัดอื่น ๆ คือ ตัวชี้วัดที่ 10 การปองกันการทุจริต ไดคะแนนรอยละเฉล่ีย 30.91 ตัวชวี้ ัดท่ี 1 การปฏิบตั หิ นาท่ี ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลย่ี 88.82 ซึง่ อยูในระดับ A ตวั ช้ีวดั ท่ี 2 การใชงบประมาณ ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉล่ีย 77.85 ซงึ่ อยใู นระดบั B ตวั ช้วี ดั ท่ี 3 การใชอ ำนาจ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลยี่ 87.42 ซ่ึงอยูในระดับ A ตัวชีว้ ดั ที่ 4 การใชท รัพยสนิ ของราชการ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉล่ยี 79.40 ซง่ึ อยูใน ระดบั B ระดบั B ตัวชี้วัดที่ 5 การแกไขปญหาการทุจริต ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 78.96 ซึ่งอยูใน ระดบั B ระดบั B ตวั ชวี้ ดั ที่ 6 คณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลย่ี 80.55 ซง่ึ อยใู นระดบั B ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 75.23 ซึ่งอยูใน ระดับ B ระดบั B ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 76.70 ซึ่งอยู ในระดบั B ในระดบั B ตัวชว้ี ัดท่ี 9 การเปดเผยขอ มลู ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลยี่ 57.42 ซึง่ อยูในระดบั D ตวั ชว้ี ดั ที่ 10 การปอ งกนั การทจุ รติ ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลย่ี 30.91 ซงึ่ อยใู นระดบั F

29 แผนภมู ิแสดงผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดบั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา (วเิ คราะหต ามรอ ยละของแตละตวั ช้ีวดั ) 100 88.82 90 87.42 80 77.85 79.4 78.96 80.55 75.23 76.7 70 60 57.42 50 40 30.91 30 20 10 0 จากแผนภมู พิ บวา ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 61.99 ซ่ึงอยูในระดับ D และเมือ่ วิเคราะหเปนรายตัวช้วี ัด พบวา ตัวช้วี ดั ท่ี 1 การปฏบิ ตั ิหนา ที่ ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉลย่ี 88.82 ซง่ึ อยูในระดับ A รองลงมา คือ ตัวชว้ี ัดท่ี 3 การใชอำนาจ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลีย่ 87.42 ซง่ึ อยูใน ระดับ A ระดบั A ตวั ชว้ี ดั ที่ 6 คณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลยี่ 80.55 ซง่ึ อยใู นระดบั B ตวั ช้ีวัดที่ 4 การใชทรัพยส ินของราชการ ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉล่ีย 79.40 ซึ่งอยูใ น ระดับ B ระดับ B ระดบั B ตัวชี้วัดที่ 5 การแกไขปญหาการทุจริต ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 78.96 ซึ่งอยูใน ในระดบั B ระดบั B ระดับ B ตวั ชวี้ ัดท่ี 2 การใชง บประมาณ ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉล่ยี 77.85 ซง่ึ อยูในระดับ B ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 76.70 ซึ่งอยู ในระดับ B ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลี่ย 75.23 ซึ่งอยูใน ระดบั B ตวั ชีว้ ดั ท่ี 9 การเปดเผยขอ มูล ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลีย่ 57.42 ซึง่ อยใู นระดับ D

30 ตวั ชว้ี ัดท่ี 10 การปอ งกนั การทจุ รติ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉล่ีย 30.91 ซึ่งอยูในระดับ F ตามลำดับ ตารางแสดง ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดับสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา (วิเคราะหต ามคานำ้ หนักคะแนนของแตละแหลง ขอมูล) แหลงขอมลู คาน้ำหนกั คะแนน คะแนนทไ่ี ด คิดเปน รอยละ IIT 30 23.37 77.91 EIT 30 21.86 72.88 OIT 40 16.75 41.88 แผนภูมิแสดง ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา (วเิ คราะหต ามคานำ้ หนกั คะแนนของแตละแหลงขอมูล) 25 21.86 16.75 20 23.37 EIT OIT 15 10 5 0 IIT จากขอมูลขางตนแสดงผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา วิเคราะหตาม คาน้ำหนักคะแนนของแตละแหลงขอมูล พบวา แบบประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่มีสัดสวนคาน้ำหนักคะแนนสูงสุด ไดแก IIT มีคาน้ำหนักคะแนน 23.37 (คิดเปนรอยละ 77.91) รองลงมา ไดแก EIT มีคาน้ำหนักคะแนน 21.86 (คิดเปนรอยละ 72.88) และ OIT มีคาน้ำหนักคะแนน 16.75 (คิดเปนรอยละ 41.88) มีสัดสวนคาน้ำหนัก คะแนนตำ่ สุด

31 แผนภูมิแสดง ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน ของสถานศกึ ษาออนไลน (จำแนกตามระดับคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน) F จํานวน 11 แหง A จํานวน 2 แหง B จาํ นวน 14 แหง 19% 4% 24% E จํานวน 3 แหง 5% D จํานวน 11 แหง 19% C จาํ นวน 17 แหง 29% การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน จำนวน 58 โรงเรียน พบวา สถานศึกษาท่มี ีผลคะแนนอยใู นเกณฑก ารประเมินระดบั A มจี ำนวน 2 แหง คดิ เปน รอ ยละ 3.45 สถานศกึ ษาที่มีผลคะแนนอยูในเกณฑก ารประเมนิ ระดบั B มีจำนวน 14 แหง คดิ เปน รอยละ 24.14 สถานศกึ ษาท่มี ีผลคะแนนอยใู นเกณฑก ารประเมินระดบั C มีจำนวน 17 แหง คดิ เปนรอ ยละ 29.31 สถานศกึ ษาท่ีมผี ลคะแนนอยใู นเกณฑการประเมนิ ระดับ D มีจำนวน 11 แหง คดิ เปน รอ ยละ 18.97 สถานศึกษาทีม่ ผี ลคะแนนอยูในเกณฑการประเมนิ ระดับ E มจี ำนวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 5.17 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในเกณฑการประเมินระดับ F มีจำนวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 18.97 ผลคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนทั้งสิ้น 58 แหง มีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ ดำเนนิ งานของสถานศึกษา

32 ตารางแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ลำดับ รายชือ่ สถานศกึ ษา คะแนน ITA ระดบั 1 กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั อทุ ัยธานี 27.54 F 2 การงุ วิทยาคม 74.01 C 3 เกาเลยี้ ววทิ ยา 71.97 C 4 โกรกพระ 79.69 B 5 เขากะลาวิทยาคม 68.25 C 6 เขาทองพิทยาคม 39.62 F 7 จันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ 2.79 F 8 ชอ งแคพิทยาคม 0.00 F 9 ชมุ แสงชนูทศิ 73.26 C 10 ตลุกดูวิทยาคม 78.03 B 11 ตะครอพิทยา 69.84 C 12 ตากฟา วชิ าประสทิ ธิ์ 66.84 C 13 ตาคลีประชาสรรค 52.93 E 14 ทหารอากาศอนุสรณ 79.45 B 15 ทองหลางวทิ ยาคม 79.99 B 16 ทับกฤชพฒั นา 67.04 C 17 ทัพทนั อนุสรณ 64.03 D 18 ทา ตะโกพทิ ยาคม 64.98 D 19 ทุงโพวิทยา 61.97 D 20 เทพศาลาประชาสรรค 57.24 D 21 นครสวรรค 0.00 F 22 นวมนิ ทราชูทศิ มัชฌิม 61.59 D 23 บรรพตพสิ ยั พิทยาคม 66.42 C 24 บอยางวิทยา 73.74 C 25 บา นแกงชชั วลติ วิทยา 24.67 F 26 บา นทุงนาวิทยา 80.39 B 27 บานไรวิทยา 80.54 B 28 บงึ บอระเพด็ วทิ ยา 62.95 D 29 พนมรอกวทิ ยา 72.60 C 30 พยุหะพิทยาคม 79.88 B 31 พระบางวทิ ยา 78.36 B 32 พุทธมงคลวิทยา 82.47 B

33 ลำดับ รายชอ่ื สถานศึกษา คะแนน ITA ระดบั 33 ไพศาลีพทิ ยา 73.56 C 34 แมวงกพทิ ยาคม 58.50 D 35 รอ งตาทวี ิทยา 89.03 A 36 รัฐราษฎรอนสุ รณ 54.33 E 37 ลาดทพิ รสพิทยาคม 0.00 F 38 ลาดยาววทิ ยาคม 72.28 C 39 ลานสกั วทิ ยา 61.52 D 40 วังขอยพิทยา 67.40 C 41 วงั บอวิทยา 57.36 D 42 วังเมอื งชนประสิทธิ์วิทยาคม 64.55 D 43 วังหนิ วทิ ยาคม 71.00 C 44 สตรนี ครสวรรค 54.20 E 45 สมอทองปทีปพลผี ลอปุ ถัมภ 77.59 B 46 สวา งอารมณว ิทยาคม 83.09 B 47 หนองกรดพิทยาคม 71.98 C 48 หนองขาหยางวิทยา 73.61 C 49 หนองจอกประชานสุ รณ 77.14 B 50 หนองฉางวิทยา 49.57 F 51 หนองเตา วิทยา 56.06 D 52 หนองบวั 27.08 F 53 หนองโพพิทยา 49.85 F 54 หว ยคตพทิ ยาคม 85.22 A 55 หว ยน้ำหอมวิทยาคาร 71.43 C 56 หวั ดงราชพรหมาภรณ 80.50 B 57 อดุ มธญั ญาประชานุเคราะห 49.20 F 58 อุทยั วิทยาคม 76.12 B 61.99 D คะแนนเฉลยี่ จากตารางแสดง ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เรียงตามรายช่ือสถานศึกษา) พบวา สถานศึกษาที่มีคะแนนรวมอยู ในระดบั A จำนวน 2 แหง มีคะแนนรวมอยูในระดบั B จำนวน 14 แหง สถานศกึ ษาทมี่ ีคะแนนรวมอยูในระดับ C จำนวน 17 แหงสถานศึกษาทมี่ ีคะแนนรวมอยูในระดับ D จำนวน 11 แหงสถานศึกษาที่มีคะแนนรวมอยูในระดับ E จำนวน 3 แหง และมีคะแนนรวมอยูในระดับ F จำนวน 11 แหง

34 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน จำแนกตามแหลงขอ มลู ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา จำแนกตาม แหลง ขอ มลู ไดแก 1) กลมุ บคุ ลากรในสถานศกึ ษา (Internal) 2) กลุมผรู บั บรกิ ารหรอื ผูมีสว นไดเ สยี ตามประสบการณในการรบั บริการจากสถานศึกษา (External) 3) การเปด เผยขอมูลของสถานศกึ ษา (Open Data) ตารางแสดง ผลคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เรยี งตามรายชื่อสถานศึกษา) ลำดับ รายช่ือสถานศึกษา IIT EIT OIT คะแนน ITA ระดบั 1 กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัยอทุ ยั ธานี 0.00 24.76 2.78 27.54 F 2 การุงวิทยาคม 25.34 21.63 27.04 74.01 C 3 เกาเลย้ี ววิทยา 24.41 22.08 25.48 71.97 C 4 โกรกพระ 25.44 28.91 25.34 79.69 B 5 เขากะลาวิทยาคม 27.02 24.24 16.99 68.25 C 6 เขาทองพิทยาคม 20.21 19.41 0.00 39.62 F 7 จันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ 0.00 0.00 2.79 2.79 F 8 ชองแคพิทยาคม 0.00 0.00 0.00 0.00 F 9 ชุมแสงชนทู ิศ 26.47 23.75 23.04 73.26 C 10 ตลุกดวู ิทยาคม 27.25 26.51 24.27 78.03 B 11 ตะครอพิทยา 26.18 22.69 20.97 69.84 C 12 ตากฟา วชิ าประสทิ ธิ์ 24.38 22.36 20.10 66.84 C 13 ตาคลปี ระชาสรรค 24.59 28.34 0.00 52.93 E 14 ทหารอากาศอนุสรณ 26.45 24.07 28.93 79.45 B 15 ทองหลางวิทยาคม 27.56 22.07 30.36 79.99 B 16 ทับกฤชพัฒนา 22.84 21.14 23.06 67.04 C 17 ทพั ทนั อนุสรณ 25.36 22.80 15.87 64.03 D 18 ทาตะโกพทิ ยาคม 18.00 21.44 25.54 64.98 D 19 ทงุ โพวทิ ยา 24.81 22.19 14.97 61.97 D 20 เทพศาลาประชาสรรค 24.63 21.44 11.17 57.24 D 21 นครสวรรค 0.00 0.00 0.00 0.00 F

35 ลำดับ รายช่อื สถานศกึ ษา IIT EIT OIT คะแนน ITA ระดับ 22 นวมินทราชูทิศมชั ฌมิ 23 บรรพตพิสัยพิทยาคม 24.34 25.28 11.97 61.59 D 24 บอ ยางวทิ ยา 25 บา นแกงชชั วลิตวิทยา 21.98 23.07 21.37 66.42 C 26 บานทุงนาวิทยา 27 บานไรว ิทยา 28.14 28.50 17.10 73.74 C 28 บงึ บอระเพด็ วิทยา 29 พนมรอกวิทยา 24.67 0.00 0.00 24.67 F 30 พยหุ ะพิทยาคม 31 พระบางวทิ ยา 28.50 27.90 23.99 80.39 B 32 พุทธมงคลวิทยา 33 ไพศาลพี ิทยา 28.17 29.63 22.74 80.54 B 34 แมวงกพทิ ยาคม 35 รองตาทีวทิ ยา 23.89 22.52 16.54 62.95 D 36 รฐั ราษฎรอนุสรณ 37 ลาดทพิ รสพิทยาคม 25.06 22.50 25.04 72.60 C 38 ลาดยาววิทยาคม 39 ลานสกั วิทยา 25.55 23.35 30.98 79.88 B 40 วงั ขอยพิทยา 41 วังบอ วทิ ยา 25.46 22.93 29.97 78.36 B 42 วงั เมืองชนประสิทธ์ิวทิ ยาคม 43 วังหินวิทยาคม 24.54 26.00 31.93 82.47 B 44 สตรีนครสวรรค 45 สมอทองปทปี พลีผลอุปถัมภ 27.45 28.66 17.45 73.56 C 46 สวา งอารมณวทิ ยาคม 47 หนองกรดพิทยาคม 25.02 21.91 11.57 58.50 D 48 หนองขาหยา งวทิ ยา 49 หนองจอกประชานสุ รณ 27.96 29.71 31.36 89.03 A 50 หนองฉางวทิ ยา 51 หนองเตาวทิ ยา 26.73 27.60 0.00 54.33 E 0.00 0.00 0.00 0.00 F 25.73 23.69 22.86 72.28 C 24.88 21.97 14.67 61.52 D 25.68 26.27 15.45 67.40 C 26.00 21.68 9.68 57.36 D 26.28 25.36 12.91 64.55 D 27.55 25.61 17.84 71.00 C 25.82 23.34 5.04 54.20 E 27.43 26.55 23.61 77.59 B 26.80 29.32 26.97 83.09 B 25.49 24.65 21.84 71.98 C 25.99 24.41 23.21 73.61 C 24.32 26.98 25.84 77.14 B 23.28 23.60 2.69 49.57 F 26.40 26.44 3.22 56.06 D

36 ลำดับ รายช่อื สถานศกึ ษา IIT EIT OIT คะแนน ITA ระดบั 52 หนองบัว 53 หนองโพพทิ ยา 24.80 0.00 2.28 27.08 F 54 หวยคตพทิ ยาคม 55 หวยนำ้ หอมวทิ ยาคาร 26.07 23.78 0.00 49.85 F 56 หัวดงราชพรหมาภรณ 57 อุดมธญั ญาประชานุเคราะห 28.21 24.97 32.04 85.22 A 58 อทุ ัยวิทยาคม 27.61 21.68 22.14 71.43 C คะแนนเฉลย่ี 27.63 23.03 29.84 80.50 B 26.96 22.24 0.00 49.20 F 24.33 23.02 28.77 76.12 B 23.37 21.86 16.75 61.99 D ผลคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน จำแนกตาม ตวั ช้ีวดั การประเมนิ ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน จำแนกตามตัวชี้วัดการประเมิน พบวา ตวั ช้ีวดั ทไี่ ดคะแนนสงู สุดเปนอันดับท่ี 1 คือ ตวั ชีว้ ัดท่ี 1 การปฏบิ ตั ิหนาที่ ไดคะแนนสูงสุด รอยละเฉลี่ย 88.82 รองลงมา คือ ตัวช้ีวดั ท่ี 3 การใชอำนาจ ไดคะแนนรอยละเฉลีย่ 87.42 ตวั ช้ีวดั ท่ี 6 คณุ ภาพการดำเนินงาน ในภาพรวมไดค ะแนนรอ ยละเฉลี่ย 80.55 ตวั ชวี้ ัดท่ี 4 การใชท รัพยส ินของราชการ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลยี่ 79.40 ตวั ชีว้ ดั ที่ 5 การแกไขปญ หาการทุจรติ ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉลี่ย 78.96 ตวั ชี้วดั ที่ 2 การใชง บประมาณ ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลย่ี 77.85 ตวั ชี้วดั ท่ี 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ในภาพรวมไดคะแนนรอยละเฉลยี่ 76.70 ตวั ชวี้ ดั ท่ี 7 ประสิทธิภาพการส่อื สาร ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉลยี่ 75.23 ตวั ชว้ี ัดที่ 9 การเปดเผยขอมูล ในภาพรวมไดค ะแนนรอยละเฉลย่ี 57.42 ตัวช้ีวดั ที่ 10 การปอ งกันการทจุ ริต ในภาพรวมไดคะแนนรอ ยละเฉลี่ย 30.91 ตามลำดบั ดังแสดงในตาราง

37 ตารางแสดง สรุปภาพรวมผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน จำแนกตามตวั ชวี้ ดั การประเมนิ คะแนน ITA เทากับ 61.99 ระดับ D ตัวช้วี ดั คะแนนตัวชีว้ ดั (รอยละ) ระดับผลการประเมนิ การปฏบิ ตั ิหนา ท่ี 88.82 A การใชง บประมาณ 77.85 B การใชอ ำนาจ 87.42 A การใชท รัพยสินของทางราชการ 79.40 B การแกไ ขปญหาการทจุ รติ 78.96 B คุณภาพการดำเนนิ งาน 80.55 B ประสทิ ธภิ าพการสอื่ สาร 75.23 B การปรบั ปรงุ การทำงาน 76.70 B การเปดเผยขอ มูล 57.42 D การปองกนั การทุจรติ 30.91 F 73.33 C คะแนนตัวชีว้ ัด (รอ ยละ) เฉล่ีย หมายเหตุ : 1. คะแนน ITA หมายถงึ ผลรวมของคะแนนแตล ะตัวชวี้ ัดที่ถว งน้ำหนักแลว 2. คะแนนตวั ช้วี ัดเปนการคำนวณคะแนนเฉลีย่ ของทกุ ขอคำถามจากทุกแบบสำรวจในตัวช้วี ดั ทีย่ งั ไมไ ดถวงนำ้ หนกั สำหรบั การเปรยี บเทยี บในแตละตัวชี้วดั เมื่อทำการวิเคราะหผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของ สถานศึกษา ออนไลน ตามตวั ชี้วัดการประเมนิ ทง้ั 10 ตัวช้วี ดั สามารถสรุปผลการวิเคราะหไ ด ดงั นี้ 1) การปฏิบตั ิหนา ท่ี เปนตัวชี้วัดที่ประเมินจากความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียภายในของสถานศึกษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 88.82 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 97.30 คะแนน และสถานศกึ ษาท่ีไดค ะแนนต่ำสุด ไดค ะแนนเทา กับ 0 คะแนน และมีสถานศกึ ษาท่ีมีผลคะแนน อยูในระดับ AA จำนวน 10 แหง คิดเปนรอยละ 17.24 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 41 แหง คิดเปนรอยละ 70.69 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 3.45 และมี สถานศกึ ษาท่มี ีผลคะแนนอยูใ นระดับ F จำนวน 5 แหง คดิ เปน รอยละ 8.62

38 แผนภมู ิแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวช้วี ดั การปฏิบตั ิหนาท่ี B F จํานวน 5 แหง AA จาํ นวน 2 แหง 9% จํานวน 5 แหง 8% 19% A จํานวน 19 แหง 73% 2) การใชง บประมาณ เปนตัวชี้วัดที่ประเมินจากความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียภายในของสถานศึกษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 77.85 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 95.78 คะแนน และสถานศกึ ษาที่ไดคะแนนต่ำสุด ไดค ะแนนเทากบั 0 คะแนน และมีสถานศกึ ษาที่มีผลคะแนน อยูในระดับ AA จำนวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 1.72 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 14 แหง คิดเปนรอยละ 24.14 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 23 แหง คิดเปนรอยละ 39.66 สถานศกึ ษาทีม่ ีผลคะแนนอยใู นระดับ C จำนวน 12 แหง คดิ เปน รอยละ 20.69 สถานศึกษาท่มี ผี ลคะแนนอยูใน ระดับ D จำนวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 3.45 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ E จำนวน 1 แหง คิดเปน รอยละ 1.72 และสถานศกึ ษาทม่ี ผี ลคะแนนอยใู นระดบั F จำนวน 5 แหง คิดเปนรอ ยละ 8.62

39 แผนภมู ิแสดง ผลคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ช้ีวดั การใชง บประมาณ E จํานวน 1 แหง F จํานวน 5 แหง AA 2% 8% จาํ นวน 1 แหง 4% D จํานวน 2 แหง A จํานวน 14 แหง 3% 24% C จาํ นวน 12 แหง 21% B จาํ นวน 23 แหง 40% 3) การใชอำนาจ เปนตัวชี้วัดที่ประเมินจากความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสยี ภายในของสถานศึกษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 87.42 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 97.83 คะแนน และสถานศกึ ษาท่ไี ดคะแนนตำ่ สุด ไดค ะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาที่มีผลคะแนน อยูในระดับ AA จำนวน 13 แหง คิดเปนรอยละ 22.41 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 33 แหง คิดเปนรอยละ 56.90 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 5 แหง คิดเปนรอยละ 8.62 สถานศึกษาที่มผี ลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 3.45 และสถานศึกษาท่ีมีผลคะแนนอยู ในระดบั F จำนวน 5 แหง คดิ เปนรอ ยละ 8.62

40 แผนภูมิแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนนิ งาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ช้ีวดั การใชอ ำนาจ F จํานวน 5 แหง AA C 9% จํานวน 7 แหง จาํ นวน 27% 2 แหง 8% B จาํ นวน 4 แหง 15% A จํานวน 13 แหง 50% 4) การใชทรัพยส ินของราชการ เปนตัวชี้วัดที่ประเมินจากความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียภายในของสถานศึกษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 79.40 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 93.18 คะแนน และสถานศกึ ษาท่ีไดคะแนนต่ำสดุ ไดคะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาท่มี ีผลคะแนน อยูในระดับ A จำนวน 16 แหง คิดเปนรอยละ 27.59 สถานศึกษาที่มผี ลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 29 แหง คิดเปน รอ ยละ 50.00 สถานศกึ ษาทมี่ ผี ลคะแนนอยใู นระดับ C จำนวน 8 แหง คดิ เปนรอ ยละ 13.79 สถานศึกษา ที่มีผลคะแนนอยูในระดับ D จำนวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 1.72 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 4 แหง คิดเปน รอ ยละ 6.90

41 แผนภูมิแสดง ผลคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ชีว้ ัดการใชท รัพยสนิ ของราชการ D จํานวน 1 แหง F จํานวน 4 แหง A จาํ นวน 16 แหง 2% 7% 27% C จาํ นวน 8 แหง B จํานวน 29 แหง 14% 50% 5) การแกไขปญหาการทุจริต เปนตัวชี้วัดที่ประเมินจากความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียภายในของสถานศึกษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 78.96 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 95.81 คะแนน และสถานศกึ ษาท่ีไดคะแนนต่ำสุด ไดค ะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาทมี่ ผี ลคะแนน อยูในระดับ AA จำนวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 3.45 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 20 แหง คิดเปนรอยละ 34.48 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 25 แหง คิดเปนรอยละ 43.10 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 4 แหง คิดเปนรอยละ 6.90 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูใน ระดับ E จำนวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 1.72 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 1 แหง คดิ เปนรอยละ 10.34

42 แผนภูมิแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งาน ของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ชว้ี ัดการแกไขปญ หาการทจุ รติ E จาํ นวน 1 แหง F จํานวน 6 แหง AA จํานวน 2% 10% 2 แหง 8% C จาํ นวน 4 แหง 7% A จํานวน 20 แหง 35% B จาํ นวน 25 แหง 43% 6) คุณภาพการดำเนินงาน เปน ตัวช้วี ดั ท่ปี ระเมินจากความคดิ เหน็ ของผมู ีสว นไดส ว นเสยี ภายนอกของสถานศกึ ษา โดยผล การประเมนิ ในภาพรวม ไดค ะแนนเทา กับ 80.55 คะแนน สถานศึกษาท่ีไดคะแนนสงู สุด ไดค ะแนนเทากับ 100 คะแนน และสถานศึกษาที่ไดคะแนนต่ำสุด ไดคะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูใน ระดับ AA จำนวน 8 แหง คิดเปนรอยละ 13.79 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 14 แหง คิด เปนรอยละ 24.14 สถานศึกษาท่ีมผี ลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 27 แหง คดิ เปนรอยละ 46.55 สถานศึกษา ที่มีผลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 5.17 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 6 แหง คดิ เปน รอยละ 10.34

43 แผนภมู ิแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ชี้วดั คุณภาพการดำเนินงาน F จํานวน 6 แหง AA จาํ นวน 12% 6 แหง 23% C จาํ นวน 3 แหง 6% A จาํ นวน 4 แหง 15% 7) ประสทิ ธิภาพการสอื่ สาร เปนตัวชวี้ ัดทป่ี ระเมนิ จากความคิดเหน็ ของผมู สี วนไดส วนเสยี ภายนอกของสถานศกึ ษา โดยผล การประเมินในภาพรวม ไดคะแนนเทา กบั 75.23 คะแนน สถานศกึ ษาทีไ่ ดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทา กับ 100 คะแนน และสถานศึกษาที่ไดคะแนนต่ำสดุ ไดคะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูใน ระดบั AA จำนวน 6 แหง คิดเปนรอ ยละ 10.34 สถานศึกษาทมี่ ีผลคะแนนอยูใ นระดับ A จำนวน 9 แหง คิดเปน รอยละ 15.52 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 15 แหง คิดเปนรอยละ 25.86 สถานศึกษาที่มี ผลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 22 แหง คิดเปนรอยละ 37.93 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 6 แหง คดิ เปน รอ ยละ 10.34

44 แผนภูมแิ สดง ผลคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนินงาน ของสถานศึกษาออนไลน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตวั ชีว้ ัดประสิทธภิ าพการสื่อสาร F จํานวน 6 แหง AA จาํ นวน 6 แหง 10% 10% A จาํ นวน 9 แหง 16% C จาํ นวน 22 แหง B จํานวน 15 แหง 38% 26% 8) การปรบั ปรุงระบบการทำงาน เปนตัวชวี้ ดั ท่ีประเมินจากความคดิ เหน็ ของผูมสี ว นไดสว นเสยี ภายนอกของสถานศกึ ษา โดยผล การประเมนิ ในภาพรวม ไดค ะแนนเทากับ 76.70 คะแนน สถานศกึ ษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 100 คะแนน และสถานศึกษาที่ไดคะแนนต่ำสุด ไดคะแนนเทากับ 0 คะแนน และมีสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูใน ระดับ AA จำนวน 5 แหง คดิ เปน รอ ยละ 8.62 สถานศึกษาทมี่ ผี ลคะแนนอยใู นระดบั A จำนวน 11 แหง คิดเปน รอยละ 18.97 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 22 แหง คิดเปนรอยละ 37.93 สถานศึกษาที่มี ผลคะแนนอยูในระดับ C จำนวน 14 แหง คิดเปนรอยละ 24.14 และสถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 6 แหง คิดเปน รอ ยละ 10.34

45 แผนภูมิแสดง ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน ของสถานศกึ ษาออนไลน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชวี้ ัดการปรับปรงุ ระบบการทำงาน F จํานวน 6 แหง AA จํานวน 5 แหง 10% 9% C จาํ นวน 14 แหง A จาํ นวน 11 แหง 24% 19% B จาํ นวน 22 แหง 38% 9) การเปด เผยขอมูล เปนตัวชี้วัดท่ีประเมินจากหลักฐานการเปดเผยขอมูลของสถานศึกษา โดยผลการประเมิน ในภาพรวม ไดคะแนนเทากับ 57.42 คะแนน สถานศึกษาที่ไดคะแนนสูงสุด ไดคะแนนเทากับ 97.14 คะแนน และสถานศกึ ษาที่ไดคะแนนตำ่ สดุ ไดคะแนนเทา กับ 0 คะแนน และมีสถานศกึ ษาทมี่ ีผลคะแนนอยูในระดับ AA จำนวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 1.72 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ A จำนวน 12 แหงคิดเปนรอยละ 20.69 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ B จำนวน 12 แหง คิดเปนรอยละ 20.69 สถานศึกษาที่มีผล คะแนนอยูในระดับ C จำนวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 1.72 สถานศึกษาที่มีผลคะแนนอยูในระดับ D จำนวน 7 แหง คิดเปนรอ ยละ 12.07 สถานศึกษาที่มผี ลคะแนนอยูในระดับ E จำนวน 2 แหง คดิ เปนรอยละ 3.45 และ สถานศึกษาท่ีมีผลคะแนนอยูในระดับ F จำนวน 23 แหง คิดเปน รอ ยละ 39.66


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook