Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ป.เด็กและวัยรุ่น ปีการศึกษา 2564

คู่มือ ป.เด็กและวัยรุ่น ปีการศึกษา 2564

Published by natnapa8, 2022-06-14 07:06:31

Description: คู่มือ ป.เด็กและวัยรุ่น ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

คูม่ อื รายวชิ าปฏิบัติการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ นักศกึ ษาหลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ชน้ั ปที ่ี ๓ รนุ่ ที่ ๓๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ

2 คำนำ การจัดการเรียนการสอนรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต มี จุดมุ่งหมายเพ่ือให้นักศึกษาเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ มีความรู้ และปฏิบัติทักษะทางการพยาบาลต้ังแต่วัยทารกจน ถึง วัยรุ่นแบบองค์รวมบนพ้ืนฐานทฤษฎี การดูแลด้วยความเอื้ออาทรท่ีมีปัญหาสุขภาพ เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ อาจารย์ผู้ประสานรายวิชา จึงไดจ้ ดั ทำคูม่ ือการศึกษาภาคปฏบิ ัตริ ายวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น ๑ และรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ๒ ข้ึนประกอบด้วย รายละเอียดวิชา จุดมุ่งหมายของ รายวิชา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน การจัดการเรียนการสอน ตารางการจัดการสอนในคลินิก การจัดการ ความเส่ียงในการฝึกภาคปฏิบัติ และการประเมินนักศึกษา ผู้ประสานงานรายวิชาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าอาจารย์ผู้สอน ภาคปฏิบัติและนักศึกษาทุกคนจะใช้คู่มือเล่มน้ีเป็นแนวทางในการฝึกปฏิบัติให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือให้บรรลุผลการ เรียนรู้ อาจารย์นภาวรรณ วริ ยิ ะศิริกุล และอาจารย์นอลีสา โตะ๊ ยโุ ส๊ะ ผู้ประสานงานรายวชิ าการพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ ๑ อาจารย์วิชชุตา มัคสิงค์ และอาจารย์เกษรา วนโชติตระกูล ผูป้ ระสานงานรายวชิ าการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น ๒ ตุลาคม ๒๕๖๔

สารบัญ 3 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามรายวชิ าปฏิบตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ๑ หน้า รายละเอียดวชิ า ๔ การพัฒนาผลการเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษา ๔ การประเมินนกั ศกึ ษา ๖ ๘ รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนามรายวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ ๒ ๑0 รายละเอยี ดวิชา 1๑ การพฒั นาผลการเรยี นรู้ของนักศกึ ษา 1๒ การประเมนิ นักศึกษา 1๔ ๑๖ ตารางการจดั การเรียนการสอนรายวิชาปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 และ 2 ๒๐ การเรยี นการสอนในหอ้ งปฏบิ ตั ิการรายวิชา ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเด็กและวยั รุน่ 1 และ 2 ๒๒ กรณศี ึกษาและการปฏิบตั ิการพยาบาล รายวชิ าปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวัยร่นุ 1 และ 2 ๒๔ วันเวลาและกจิ กรรมในการเรยี นการสอนภาคปฏิบตั ิ ๒๖ การจัดการความเส่ยี งในการฝึกภาคปฏิบตั ิ ภาคผนวก ๓๑ แบบประเมินพฤติกรรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๓๓ แบบประเมินการเขยี นแผนการพยาบาล ๓๕ แบบประเมินทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ างวิชาชีพ ๓๗ แบบประเมินการจดั กิจกรรมการเล่น แบบประเมินการประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาลปฏบิ ัติการพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น 1 ๓๙ ๔๐ บทบาทผ้นู ำอภิปราย บทบาทผรู้ ่วมอภปิ ราย ๔๑ แบบประเมนิ การประชุมปรกึ ษาทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ ๒ ๔๒ บทบาทผนู้ ำอภปิ ราย ๔๓ บทบาทผู้รว่ มอภปิ ราย ๔๕ แบบประเมินรายงานกรณศี กึ ษา ๕๒ แนวทางการเขียนรายงานกรณีศกึ ษา ๕๓ แนวทางการเขยี นขอ้ วนิ ิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis) ๕๕ แนวทางการเขยี น Concept Mapping ๕๖ แบบการวางแผนปฏบิ ตั ิการพยาบาลประจำวัน (Daily Plan) ๕๗ แบบสะทอ้ นคิดจากการเรยี นรู้การทำกิจกรรมในบ้านเด็ก (Daily record) ๕๘ แบบบนั ทึกอบุ ัตกิ ารณ์ทไี่ มพ่ งึ ประสงคจ์ ากการปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา ๖๐ แบบบนั ทึกผลการประเมินการจัดการเรยี นการสอนภาคปฏิบตั ฯิ ปกี ารศึกษา 2564 ๖๕ ตารางกำหนดกจิ กรรมการฝึกภาคปฏบิ ัติ ๖๗ แบบเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเด็ก แบบการเขียนแผนการพยาบาล

4 รายวิชาปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ ๑ รายละเอียดของประสบการณภ์ าคสนาม (Field Experience Specification) รหสั และช่อื รายวิชา รหสั วชิ า พย. ๑๓๑๔ ชือ่ รายวชิ า ปฏบิ ัติการพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ 1 ชอ่ื รายวิชา Child and Adolescent Practicum I จำนวนหน่วยกติ ๒ (๐-๖-๐) ประเภทของรายวิชา รายวิชาบังคบั ในหมวดวิชาเฉพาะ กลมุ่ วิชาชพี รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา วุฒิการศึกษา ชื่อ – สกุล พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเดก็ ) พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) อาจารย์นภาวรรณ วิรยิ ะศริ กิ ลุ อาจารยน์ อลสี า โต๊ะยโุ ส๊ะ อาจารย์ผสู้ อนภาคปฏิบตั ิ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน แผนกทส่ี อน ชอื่ – สกลุ ในสาขาท่ีเกีย่ วข้อง แหล่งฝึก พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเดก็ ) เลขที่ใบประกอบวชิ าชีพ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) (จำนวนป)ี กุมารเวชกรรม พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลสขุ ภาพ บ้านเดก็ ๑.อ.นภาวรรณ วิริยะศิริกลุ เดก็ ) ๑2 ปี ๔๕๑๑๐๒๓๙๗๖ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) กุมารเวชกรรม ๒.อ.เกษรา วนโชตติ ระกูล พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเดก็ ) ๑7 ปี ๔๕๑๑๐๖๖๐๐๕ ๓.อ.วิชชตุ า มัคสิงห์ ๑1 ปี กุมารเวชกรรม ๔๓๑๑๑๕๕๗๔๗ บ้านเด็ก ๔.อ.นอลสี า โต๊ะยุโส๊ะ ๕๐๑๑๗๑๐๑๕๘ 9 ปี กุมารเวชกรรม ๕.อ.จริ กานต์ พนั ธฤ์ ทธดิ์ ำ ๕๓๑๑๒๑๔๘๕๙ 4 ปี กุมารเวชกรรม รายละเอียดวชิ า จุดม่งุ หมายของรายวชิ า เพื่อเป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ในรายวชิ าปฏบิ ตั กิ าร ฝึกปฏิบัติการพยาบาลวัยทารกจนถึงวัยร่นุ แบบองค์รวมบนพื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความเอ้ืออาทรท่ีมีสุขภาพดี เก่ียวกับ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การป้องกันและการช่วยเหลือเด็กท่ี ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ และท่ีมีปัญหาสุขภาพ ไม่ซับซ้อน ปัญหาการติดเชื้อ ปัญหาระบบทางเดินอาหาร ระบบกล้ามเนื้อ และกระดกู ระบบปสั สาวะและตอ่ มไรท้ ่อ ภายใต้การคำนึงถึงสิทธิมนุษยชน และหลักจริยธรรม โดยนำกระบวนการพยาบาล มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและเลือกใช้ทรัพยากร เทคโนโลยี รวมท้ังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาประยุกต์ใช้อย่าง เหมาะสม

5 Practice of holistic nursing based on caring theory in nursing of infancy, children, adolescents of health; growth and development; nutritional status; immunization; prevention and assisting children with accidents and poisons of persons with health problems in sepsis, digestive disease, bones, joints and muscular system, urination and endocrine system; focusing on ethical principles and human rights; using nursing process for health promotion; integration of appropriate resources, technology and applying evidence-based practice. วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาเกดิ ผลลพั ธ์การเรยี นรดู้ งั ต่อไปน้ี ๑. มจี รรยาบรรณวิชาชพี (๑.๒) ๒. เคารพในศกั ดศิ์ รขี องความเป็นมนษุ ย์ (๑.๓) ๓. ปกป้องสทิ ธขิ องผู้รับบริการ (๑.๔) ๔. มรี ะเบยี บวินัย ความรับผดิ ชอบ ซอื่ สัตย์ สจุ ริต และมจี ิตบริการ (๑.๕) ๕. มที ศั นคติทีด่ ีตอ่ ตนเอง ต่อผู้อ่ืน และวิชาชีพ (๑.๖) ๖. มกี ารดูแลอยา่ งเออื้ อาทรและใหบ้ ริการด้วยหวั ใจความเป็นมนษุ ย์ (๑.๗) ๗. มคี วามรู้และความเข้าใจในสาระสำคญั ของศาสตรท์ างวชิ าชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ และปจั จยั ท่ีมีผลต่อ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมและระบบสขุ ภาพ (๒.๒) ๘. สามารถคดิ วิเคราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ โดยใชอ้ งค์ความรทู้ างวชิ าชีพและทเ่ี กย่ี วข้อง รวมทั้งใชป้ ระสบการณเ์ ปน็ ฐาน เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลลัพธ์ทปี่ ลอดภยั และมคี ณุ ภาพ ในการใหบ้ ริการการพยาบาล (๓.๔) ๙. สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางการวจิ ยั และนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมในการแกไ้ ขปญั หา (๓.๕) ๑๐. มีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง หน้าที่ วิชาชีพ องคก์ รและสงั คม เพ่ือให้เกิดความปลอดภยั ตอ่ ผ้รู บั บริการ(๔.๓) ๑๑. มีปฏสิ มั พนั ธอ์ ยา่ งสรา้ งสรรคก์ บั ผรู้ ับบริการ ผู้ร่วมงาน และผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง (๔.๔) ๑๒. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างเปน็ เหตุผล และเคารพในความคิดเหน็ ของผู้อื่น (๔.๕) ๑๓. สามารถสอื่ สารภาษาไทยได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพท้ังการพูด การฟัง การอา่ น การเขยี น และการนำเสนอ รวมท้ัง สามารถอ่านวารสาร และตำราภาษาอังกฤษอย่างเขา้ ใจ (๕.๓) ๑๔. สามารถปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นไดอ้ ยา่ งเปน็ องคร์ วม ด้วยความเมตตา กรณุ า และเอ้ืออาทร โดยยดึ มน่ั ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กฎหมาย และสิทธขิ องผู้ป่วย โดยมุ่งเนน้ การมสี ว่ นร่วมของผรู้ บั บริการ (๖.๑) ๑๕. สามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น โดยใชเ้ ทคโนโลยที างการแพทย์ หลกั ฐานเชงิ ประจักษภ์ ายใต้ กฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชีพ (๖.๒) ๑๖. สามารถปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น โดยคำนงึ ถึงสิทธิมนุษยชน หลกั จริยธรรม ผสมผสานภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถ่นิ และความหลากหลายทางวัฒนธรรม (๖.๓)

6 การพฒั นาผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา ผลการเรยี นรู้ท่ตี อ้ งการพฒั นา วิธีการสอน วธิ ีการวัดและประเมินผล ๑. ทกั ษะคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม ๑.๒ มจี รรยาบรรณวิชาชพี ๑. ฝึกปฏบิ ัตใิ นสถานการณจ์ ริง ประเมินพฤติกรรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดย ๑.๓ เคารพในศกั ดิ์ศรีของความเปน็ มนษุ ย์ 2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิโดยใช้สถานการณ์ ใช้แบบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรม ๑.๔ ปกป้องสทิ ธขิ องผู้รบั บริการ จำลอง ในห้องปฏิบัติการพยาบาล ๑.๕ มรี ะเบียบวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ซื่อสัตย์ สุจรติ และมีจติ บริการ ๑.๖ มีทศั นคตทิ ี่ดตี อ่ ตนเอง ตอ่ ผอู้ น่ื และ วชิ าชพี ๑.๗ มีการดูแลอย่างเอ้ือาทรมีจิตบริการด้วย หัวใจความเปน็ มนษุ ย์ ๒. ทกั ษะความรู้ ๒.๒ มคี วามรคู้ วามเข้าใจในสาระสำคญั ของ ๑. ปฏบิ ัติการพยาบาลในสถานการณ์ ๑. ประเมินการปฏิบัตกิ ารพยาบาลใน ศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาล ระบบสขุ ภาพ จรงิ สถานการณจ์ ริง โดยใช้แบบประเมนิ ทกั ษะ และปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของสงั คม 2. ฝึกปฏบิ ัติโดยใช้สถานการณ์ การปฏิบัติ และระบบสขุ ภาพ เกี่ยวกบั การเจริญเติบโต จำลอง ในห้องปฏิบัตกิ ารพยาบาล 2. ประเมินการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลใน และพฒั นาการ ภาวะโภชนาการ การสร้าง 3. ประชุมปรึกษาก่อนและหลงั การ สถานการณจ์ ำลอง โดยใช้แบบประเมิน เสรมิ ภูมคิ ุ้มกันโรค การป้องกนั และการ ปฏิบัติงาน ทกั ษะการปฏิบตั ใิ นสถานการณ์จำลอง ช่วยเหลือเดก็ ทไี่ ดร้ บั อบุ ตั ิเหตุและสารพิษ และ 4. Nursing care plan 3. แบบประเมนิ คณุ ภาพแผนการพยาบาล ที่มีปัญหาสุขภาพไมซ่ ับซ้อน ปัญหาการตดิ เชอ้ื ๕.จัดกจิ กรรมการเลน่ 4.ประเมนิ คณุ ภาพการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเด็ก ปญั หาระบบทางเดินอาหาร ระบบกลา้ มเนื้อ โดยใช้แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเล่น และกระดกู ระบบปสั สาวะและตอ่ มไร้ทอ่ 5. สอบหลังฝึกปฏบิ ตั ิการพยาบาล ๓.ทกั ษะทางปัญญา ๓.๔ สามารถคดิ วิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ โดย ๑. ปฏิบัตกิ ารพยาบาลในสถานการณ์ ๑. ประเมินการปฏิบตั ิการพยาบาลใน ใช้องค์ความรทู้ างวิชาชพี และทเี่ กี่ยวข้อง จรงิ สถานการณ์จรงิ โดยใช้แบบประเมินทักษะ รวมท้งั ใชป้ ระสบการณเ์ ป็นฐาน เพอ่ื ใหเ้ กิด 2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิโดยใช้สถานการณ์ การปฏิบตั ิ ผลลัพธ์ท่ปี ลอดภยั และมีคณุ ภาพในการ จำลอง ในหอ้ งปฏิบัติการพยาบาล 2. ประเมินการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลใน ให้บริการการพยาบาล 3. ประชมุ ปรกึ ษากอ่ นและหลงั การ สถานการณ์จำลอง โดยใช้แบบประเมิน ๓.๕ สามารถใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั ิงาน ทักษะการปฏิบัตใิ นสถานการณ์จำลอง ทางการวิจยั และนวตั กรรมที่เหมาะสมในการ ๔. Nursing care plan 3. แบบประเมินคณุ ภาพแผนการพยาบาล แกไ้ ขปญั หา ๕.จดั กจิ กรรมการเลน่ 4.ประเมินคณุ ภาพการสง่ เสรมิ สุขภาพเด็ก โดยใช้แบบประเมินการจดั กิจกรรมการเลน่ 5. สอบหลังฝกึ ปฏบิ ตั ิการพยาบาล ๔. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและ ความรบั ผิดชอบ 1. ปฏิบตั กิ ารพยาบาลในสถานการณ์ 1. ประเมนิ การปฏิบัตกิ ารพยาบาลใน ๔.๓ มคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง หนา้ ที่ จริง สถานการณ์จรงิ โดยใช้แบบประเมินทักษะ วิชาชีพ องคก์ รและสังคม เพ่ือใหเ้ กิดความ 2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิโดยใช้สถานการณ์ การปฏบิ ัติ ปลอดภยั ต่อผรู้ ับบรกิ าร จำลอง ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการพยาบาล 2. ประเมินการปฏิบัติการพยาบาลใน ๔.๔ มปี ฏิสมั พันธ์อย่างสรา้ งสรรคก์ บั 3.จัดกิจกรรมการเล่น สถานการณจ์ ำลอง โดยใชแ้ บบประเมนิ ผู้รับบรกิ าร ผรู้ ่วมงาน และผทู้ ่ีเกยี่ วข้อง ทักษะการปฏิบัตใิ นสถานการณ์จำลอง

7 ผลการเรียนรู้ที่ตอ้ งการพัฒนา วิธกี ารสอน วิธีการวัดและประเมินผล ๔.๕ สามารถแสดงความคดิ เห็นอย่างเปน็ 3.ประเมนิ คณุ ภาพการสง่ เสรมิ สุขภาพเด็ก เหตผุ ล และเคารพในความคดิ เห็นของผอู้ ่นื โดยใชแ้ บบประเมินการจัดกิจกรรมการเล่น ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑. ปฏิบตั ิการพยาบาลในสถานการณ์ ๑. ประเมินการปฏบิ ัติการพยาบาลใน ๕.๓ สามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมี จริง สถานการณ์จริง โดยใช้แบบประเมินทักษะ ประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การ 2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิโดยใช้สถานการณ์ การปฏิบตั ิ เขียน และการนำเสนอ รวมทั้งสามารถอ่าน จำลอง ในหอ้ งปฏิบัตกิ ารพยาบาล 2. ประเมินการปฏบิ ัติการพยาบาลใน วารสาร และตำราภาษาองั กฤษอย่างเขา้ ใจ 3. ประชมุ ปรึกษาก่อนและหลังการ สถานการณจ์ ำลอง โดยใช้แบบประเมิน ปฏิบตั ิงาน ทักษะการปฏิบัติในสถานการณจ์ ำลอง ๔. Nursing care plan 3. แบบประเมินคณุ ภาพแผนการพยาบาล ๕.จดั กจิ กรรมการเล่น 4.ประเมินคณุ ภาพการส่งเสรมิ สขุ ภาพเดก็ โดยใชแ้ บบประเมินกิจกรรมการเลน่ ๖. ทกั ษะการปฏบิ ัตทิ างวิชาชีพ ๖.๑ สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการ ๑. ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในสถานการณ์ ๑. ประเมินการปฏิบัตกิ ารพยาบาลใน ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นได้เป็นองค์ จรงิ สถานการณจ์ ริง โดยใช้แบบประเมินทกั ษะ รวม ด้วยความเมตตา กรุณา และเอ้ืออาทร 2. ฝกึ ปฏบิ ัติโดยใช้สถานการณ์ การปฏบิ ัติ โดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย จำลอง ในห้องปฏบิ ัติการพยาบาล 2. ประเมนิ การปฏิบตั กิ ารพยาบาลใน และสิทธิของผู้ป่วย โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 3. ประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลังการ สถานการณ์จำลอง โดยใชแ้ บบประเมนิ ของผู้รับบริการ ปฏบิ ัติงาน ทักษะการปฏิบตั ใิ นสถานการณ์จำลอง ๖.๒ สามารถปฏิบัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ๔. Nursing care plan 3. แบบประเมินคณุ ภาพแผนการพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ หลักฐานเชิง ๕.จัดกิจกรรมการเล่น 4. แบบประเมินพฤติกรรมคุณธรรม ประจักษ์ภายใต้กฎหมาย และจรรยาบรรณ จริยธรรม วชิ าชีพ 5.ประเมินคณุ ภาพการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเด็ก ๖.๓ สามารถปฏิบตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น โดยใช้แบบประเมินกิจกรรมการเล่น โดยคำนึงถึงสทิ ธมิ นษุ ยชน หลักจริยธรรม 6. สอบหลังฝกึ ปฏบิ ตั ิการพยาบาล ผสมผสานภูมิปญั ญาท้องถนิ่ และความ หลากหลายทางวฒั นธรรม

8 การประเมนิ นกั ศึกษา หลกั เกณฑก์ ารประเมินผล ผลลัพธ์ งาน/กิจกรรม ระยะเวลา LO น้ำหนักผลลัพธ์การเรียนรู้ LO ๕ สัดส่วน การ /และแบบประเมนิ ที่ส่งงาน ๑ LO การ เรยี นรู้ LO LO LO ๕.๓= ๑% ๖ ประเมนิ ๒๓๔ ๕.๓= (%) ๑.๒ ฝึกปฏิบัตใิ น ทกุ วนั ๑.๒= ๐.๒% ๐.๕% ๑๑% ๕.๓= ๑.๓ สถานการณ์จริง ๑.๓=๐.๒% ๐.๕% ๑๐% ๕.๓= ๑% ๑.๔ โดยใช้แบบประเมิน ๑.๔= ๐.๒% ๖.๑=๔๐% ๖๕% ๓% ๖.๒=๑๒% ๑.๕ คณุ ธรรมจริยธรรม ๑.๕= ๐.๒% ๖.๓=๑๐% ๑.๖ (รายบคุ คล) ๑.๖= ๐.๒% ๑.๗ ๑.๗=๑๐% ๒.๒ แผนการพยาบาล ทกุ วนั ๒.๒=๔% ๓.๔= ๓% ๓.๕ =๒% ๓.๔ โดยใช้แบบประเมนิ ๔.๓=๑% ๓.๕ การเขยี นแผนการ ๔.๔=๑% ๔.๕=๑% ๕.๓ พยาบาล (รายบุคคล) ๔.๓ ทกั ษะการปฏิบัติ สัปดห์ที่ ๒ ๔.๔ โดยใช้แบบประเมนิ ของแตล่ ะ ๔.๕ ทกั ษะการปฏบิ ัติ หอผปู้ ่วย ๖.๑ การพยาบาล ๖.๒ (รายบคุ คล) ๖.๓ ๕.๓ การประชมุ ปรึกษา สปั ดห์ที่ ๒ ทางการพยาบาล ของแต่ละ โดยใช้แบบประเมนิ หอผู้ปว่ ย -ผนู้ ำ ๒.๒= ๑% ๓.๔= ๒% ๐.๕% ๒% -ผู้รว่ ม ๒.๒= ๑% ๓.๔= ๕% (รายบคุ คล) ๒.๒= ๒% ๐.๕% ๒.๒ การจัดกจิ กรรม ก่อนการจดั ๖.๑=๑% ๕.๓ การเล่น โดยใช้แบบ อยา่ งนอ้ ย ๖.๓=๑% ๖.๑ ประเมนิ การจัด ๒ วัน ๖.๓ กจิ กรรมการเล่น ๒.๒=๕% ๕% วันสดุ ทา้ ย ๑๓% ๖๔% ๑๐๐% (รายกลุ่ม) ของการฝกึ ๒.๒ สอบหลังฝึกปฏิบัติ ๑๑% ๖% ๓% (รายบุคคล) ผลรวมทัง้ รายวชิ า

9 การประเมนิ ผล คะแนนจากการฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ้ังหมด จำนวน ๓ หน่วยกิต คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ประเมินผลดงั น้ี คะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ ๘๕.๐๐-๑๐๐ ให้ระดบั ขนั้ A B+ คะแนนระหวา่ งร้อยละ ๘๐.๐๐-๘๔.๙๙ ใหร้ ะดับขั้น B C+ คะแนนระหวา่ งร้อยละ ๗๕.๐๐-๗๙.๙๙ ให้ระดับข้ัน C D+ คะแนนระหวา่ งร้อยละ ๖๗.๐๐-๗๔.๙๙ ให้ระดบั ขน้ั D F คะแนนระหวา่ งร้อยละ ๖๐.๐๐-๖๖.๙๙ ให้ระดับขนั้ คะแนนระหวา่ งร้อยละ ๕๕.๐๐-๕๙.๙๙ ให้ระดับขั้น คะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ ๕๐.๐๐-๕๔.๙๙ ให้ระดบั ขัน้ คะแนนเท่ากับหรอื น้อยกว่ารอ้ ยละ ๔๙.๙๙ ใหร้ ะดับขั้น เกณฑ์การผา่ นรายวชิ า -นกั ศึกษาต้องมเี วลาการฝกึ ในแตล่ ะแผนกไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการฝึกทง้ั หมดในแผนกนัน้ -นักศกึ ษาตอ้ งไดค้ ะแนนผา่ นเกณฑข์ ัน้ ตำ่ ของการวดั และประเมินผลภาคปฏบิ ตั ิ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ -นกั ศกึ ษาตอ้ งผา่ นการประเมนิ ผลภาคปฏบิ ตั ิด้านเจตคติ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ กอ่ น จงึ จะสามารถนำผลการฝึกปฏบิ ตั ไิ ป พิจารณาตัดเกรดต่อไปได้

10 รายวชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวัยรุน่ ๒ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification) รหัสและช่ือรายวชิ า รหัสวิชา พย.๑๓๑๕ ชือ่ รายวิชา (ภาษาไทย) ปฏิบัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุน่ ๒ ชอ่ื รายวิชา (ภาษาอังกฤษ) Child and Adolescent Nursing Practium II จำนวนหน่วยกิต ๒ (๐-๖-๐) ประเภทของรายวิชา เป็นรายวิชาบงั คบั ในหมวดวชิ าเฉพาะ : กลมุ่ วิชาชพี พยาบาล อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบรายวชิ าและอาจารย์ผูส้ อนภาคปฏิบัติ รายช่ืออาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบรายวิชา ชื่อ – สกุล วุฒิการศกึ ษา ๑. อาจารย์วชิ ชุตา มคั สงิ ห์ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลสขุ ภาพเด็ก) ๒. อาจารยเ์ กษรา วนโชตติ ระกลู พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) อาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ัติ ชื่อ – สกลุ วุฒิการศกึ ษา ประสบการณก์ าร แผนกทสี่ อน จำนวน เลขที่ใบประกอบวชิ าชีพ สอนในสาขา แหลง่ ฝึก กลุ่ม พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ ท่ีเกีย่ วข้อง อาจารย์เกษรา วนโชติตระกลู (การพยาบาลเดก็ ) (จำนวนป)ี หออภบิ าลผู้ปว่ ยเด็กวกิ ฤติ ๓ ๔๕๑๑๐๖๖๐๐๕ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ ๑๗ หอผูป้ ่วยทารกแรกเกดิ ๗ อาจารย์วชิ ชตุ า มคั สิงห์ (การพยาบาลสุขภาพเด็ก) ๔๓๑๑๑๕๕๗๔๗ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ ๑๑ กุมารเวชกรรม ๒/๒ ๓ (การพยาบาลเด็ก) อาจารย์นอลสี า โต๊ะยโุ ส๊ะ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ ๙ กมุ ารเวชกรรม ๒/๑ ๒ ๕๐๑๑๗๑๐๑๕๘ (การพยาบาลเด็ก) กุมารเวชกรรม ๒/๒ ๑ พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ ๔ ๑ อาจารยจ์ ริ กานต์ พนั ธ์ฤทธิ์ดำ (การพยาบาลเด็ก) กมุ ารเวชกรรม ๒/๑ ๒ ๕๓๑๑๒๑๔๘๕๙ ๑๒ หอผู้ปว่ ยทารกแรกเกดิ อาจารยน์ ภาวรรณ วริ ิยะศิริกลุ หอผู้ปว่ ยทารกแรกเกดิ ๔๕๑๑๐๒๓๙๗๖ หออภบิ าลผู้ปว่ ยเดก็ วกิ ฤติ อาจารย์พิเศษผู้สอนภาคปฏิบัติ ชื่อ – สกลุ วฒุ ิการศึกษา ประสบการณก์ าร แผนกท่สี อน จำนวน เลขทีใ่ บประกอบวิชาชีพ สอนในสาขา แหล่งฝึก กลุ่ม ที่เกี่ยวข้อง นางสาวพัชรนันท์ ลักษณอฐั ์ ประกาศนียบตั รวชิ าพยาบาล (จำนวนปี) หอผปู้ ว่ ยทารกแรกเกิด ๔ นางไพรินท์ เตม็ รตั น์ ศาสตร์ และผดุงครรภช์ ัน้ สูง ๓๔ ประกาศนียบตั รวชิ าพยาบาล ศาสตร์ และผดุงครรภช์ ้นั สงู ๓๑ หออภบิ าลผู้ปว่ ยเดก็ วกิ ฤติ ๓

11 รายละเอยี ดวิชา จดุ มุ่งหมายของรายวิชา : เพ่ือเปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ในรายวิชาปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น ๒ เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ และทักษะปฏิบัติการพยาบาลทารกจนถึงวัยรุ่นแบบองค์รวมบนพื้นฐานทฤษฎี การดูแล ด้วยความเอื้ออาทรที่มปี ัญหาสุขภาพซับซอ้ นในทารกแรกเกิด ระบบทางเดินหายใจ ระบบโลหิตวิทยาและนโี อพลาสม ระบบ หัวใจและระบบประสาทในระยะเฉียบพลัน วิกฤต เร้ือรัง และระยะสุดท้ายโดยนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการแก้ไข ปญั หาสุขภาพและเลือกใชท้ รัพยากร เทคโนโลยี รวมทง้ั ใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์มาประยุกตใ์ ช้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถงึ การ ดแู ลด้วยหวั ใจความเปน็ มนุษย์ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม สทิ ธมิ นษุ ยชนและหลักจริยธรรม Practice of holistic nursing based on caring theory for newborns with complicated health problems in respiratory, hematology and neoplasmasm, as well as circulatory and neurological system in acute, critical, chronic conditions and terminal stage; using nursing process to solve health problems with integration of appropriate resources, technology and evidence-based practice; providing nursing care with humanized care, culture diversity awareness and human rights principles. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้นักศกึ ษาเกิดผลลัพธ์การเรยี นรดู้ ังต่อไปนี้ a. มจี รรยาบรรณวิชาชพี (๑.๒) ๒. เคารพในคุณคา่ และศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ (๑.๓) ๓. ปกป้องสทิ ธิของผู้รับบรกิ าร (๑.๔) ๔. มรี ะเบียบวินยั รับผดิ ชอบ ซอ่ื สตั ย์ สุจริต และมีจิตใฝบ่ รกิ าร (๑.๕) ๕. มที ัศนคตทิ ีด่ ีตอ่ ตนเอง ต่อผู้อ่นื ตอ่ วิชาชีพ ตระหนกั ในคุณคา่ วิชาชพี และสทิ ธิของพยาบาล (๑.๖) ๖. มีการดแู ลแบบเอื้ออาทรและมีจติ บริการด้วยหัวใจความเปน็ มนุษย์ (๑.๗) ๗. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคญั ของศาสตร์ทางวชิ าชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ และปจั จยั ที่มผี ล ต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคมและระบบสุขภาพ (๒.๒) ๘. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและท่ีเกี่ยวข้องรวมทั้งใช้ประสบการณ์ เปน็ ฐาน เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลลัพธท์ ป่ี ลอดภยั และมคี ุณภาพในการให้บรกิ ารการพยาบาล (๓.๔) ๙. สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทางการวิจัยและนวตั กรรมท่เี หมาะสมในการแก้ไขปัญหา(๓.๕) ๑๐. แสดงความรับผดิ ชอบต่อตนเอง หน้าที่ วชิ าชีพ องค์กรและสงั คม เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภัยต่อผรู้ บั บริการ (๔.๓) ๑๑. มปี ฏสิ ัมพันธอ์ ยา่ งสรา้ งสรรคก์ ับผ้รู บั บรกิ าร ผรู้ ่วมงานและผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง (๔.๔) ๑๒. สามารถแสดงความคดิ เห็นของตนเองอย่างเป็นเหตุผลและเคารพในความคิดของผู้อ่นื (๔.๕) ๑๓. สามารถใชภ้ าษาไทย และภาษาอังกฤษในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (๕.๓) ๑๔. สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเป็นองค์รวมด้วยความเมตตา กรุณา และเออ้ื อาทร โดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม กฎหมายและสทิ ธขิ องผปู้ ่วย โดยม่งุ เน้นการมีสว่ นร่วมของ ผ้รู บั บริการ (๖.๑) ๑๕. ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ หลักฐานเชิงประจักษ์ภายใต้กฎหมายและ จรรยาบรรณวิชาชีพ (๖.๒) ๑๖. ปฏิบัติการพยาบาล โดยคำนึงถึงสิทธิมนุษยชน หลักจริยธรรม ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถ่ินและความ หลากหลายทางวัฒนธรรม (๖.๓)

12 การพฒั นาผลการเรียนรูข้ องนักศกึ ษา ผลลัพธ์การเรยี นรทู้ ต่ี ้องพัฒนา วธิ ีการสอน วิธีการประเมนิ ผล ๑. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒ มีจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๑. ฝึกปฏบิ ตั ิในสถานการณจ์ รงิ /ฝกึ สถานการณ์ แ บ บ ป ระ เมิ น คุ ณ ธร ร ม ๑.๓ เคารพในคุณคา่ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ จำลองเสมือนจริง จรยิ ธรรม ๑.๔ ปกป้องสทิ ธขิ องผรู้ บั บริการ ๒. การประชมุ ปรกึ ษากอ่ นและหลงั การพยาบาล ๑.๕ มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต และ (Pre-Post conference) มีจติ ใฝ่บริการ ๑.๖ มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองต่อผู้อ่ืน ต่อวิชาชีพ ตระหนกั ในคณุ ค่าวิชาชีพและสทิ ธขิ องพยาบาล ๑.๗ มีการดูแลแบบเอ้ืออาทรและมีจิตบริการด้วย หัวใจความเปน็ มนษุ ย์ ๒. ดา้ นความรู้ ๒.๒ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของ ๑. ฝึกปฏบิ ัติในสถานการณจ์ ริง/ฝกึ สถานการณ์ ๑. แบบประเมินการเขยี น ศาสตร์ทางวิชาชีพ การพยาบาล ระบบสุขภาพ จำลองเสมอื นจรงิ แผนการพยาบาล และปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ๒. การประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลงั การพยาบาล ๒. แบบประเมินรายงาน ระบบสขุ ภาพ (Pre-Post conference) กรณีศกึ ษา ๓. การวางแผนพยาบาล (Nursing care plan) ๓. แบบประเมนิ การประชมุ ๔. การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล ปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing care conference) ๕. การสอนในคลินิก (Clinical Teaching) ๓. ด้านทกั ษะทางปัญญา ๓.๔ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้ ๑. ฝึกปฏบิ ตั ิในสถานการณจ์ รงิ /ฝกึ สถานการณ์ ๑. แบบประเมินการเขยี น องค์ความรู้ทางวิชาชีพและที่เก่ียวข้องรวมท้ังใช้ จำลองเสมือนจริง แผนการพยาบาล ประสบการณ์เป็นฐาน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ปลอดภัย ๒. การประชุมปรึกษาก่อนและหลงั การพยาบาล ๒. แบบประเมินรายงาน และมคี ณุ ภาพในการให้บรกิ ารการพยาบาล (Pre-Post conference) กรณศี ึกษา ๓.๕ สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๓. การวางแผนพยาบาล (Nursing care plan) ๓. แบบประเมนิ การประชุม ทางการวิจัยและนวัตกรรมท่ีเหมาะสมในการแก้ไข ๔. การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล ปรกึ ษาทางการพยาบาล ปัญหา (Nursing care conference) ๔. สอบหลงั ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ ๕. การสอนในคลินิก (Clinical Teaching) พยาบาล ๔. ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความ รับผดิ ชอบ ๔.๓ แสดงความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง หนา้ ท่ี วิชาชีพ ๑. ฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ ริง/ฝกึ สถานการณ์ ๑. แบบประเมนิ การ องค์กรและสังคม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อ จำลองเสมอื นจรงิ ปฏิบัติการพยาบาล ผู้รบั บริการ ๒. การประชุมปรกึ ษากอ่ นและหลังการพยาบาล ๔.๔ มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้รับบริการ (Pre-Post conference)

13 ผลลัพธก์ ารเรียนร้ทู ่ีตอ้ งพฒั นา วิธกี ารสอน วิธีการประเมินผล ผรู้ ่วมงานและผูท้ ี่เกย่ี วขอ้ ง ๓. การประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล ๔.๕ สามารถแสดงความคิดเห็นของตนเองอยา่ งเปน็ (Nursing care conference) เหตุผลและเคารพในความคดิ ของผู้อ่นื ๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๓ สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาอังกฤษในการ ๑. การประชมุ ปรกึ ษาก่อนและหลังการพยาบาล ๑. แบบประเมินการเขียน ส่ือสารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ (Pre-Post conference) แผนการพยาบาล ๒. การวางแผนพยาบาล (Nursing care plan) ๒. แบบประเมินรายงาน ๔. การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล กรณศี กึ ษา (Nursing care conference) ๓. แบบประเมินการประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล ๖. ดา้ นทักษะการปฏิบัติทางวชิ าชีพ ๖.๑ สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการ ๑. ฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ /ฝกึ สถานการณ์ ๑. แบบประเมนิ การ ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเป็นองค์รวมด้วยความ จำลองเสมือนจรงิ ปฏบิ ัติการพยาบาล เมตตา กรุณาและเอื้ออาทร โดยยึดมั่นในคุณธรรม ๒. การสอนในคลินกิ (Clinical Teaching) จรยิ ธรรม กฎหมายและสิทธิของผปู้ ว่ ย โดยมุ่งเน้นการมี ๓. เตรียมความพร้อมก่อนฝึกภาคปฏิบัตดิ ว้ ย ส่วนรว่ มของผ้รู ับบริการ สถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง (Simulation ๖.๒ ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีทาง base learning) การแพทย์ หลักฐานเชิงประจักษ์ภายใต้กฎหมายและ จรรยาบรรณวิชาชีพ ๖.๓ ปฏิบตั ิการพยาบาล โดยคำนงึ ถึงสิทธิมนุษยชน หลักจริยธรรม ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและความ หลากหลายทางวฒั นธรรม

14 การประเมินนักศึกษา หลักเกณฑก์ ารประเมินผล ผลลัพธ์ งาน/กจิ กรรม ระยะเวลา นำ้ หนักผลลัพธ์การเรียนรู้ สัดส่วน การเรียนรู้ /และแบบประเมิน การประเมิน ที่สง่ งาน LO ๑ LO ๒ LO ๓ LO ๔ LO ๕ LO ๖ (%) ๑.๒ ฝกึ ปฏิบัตใิ น ทุกวนั ๑.๒=๐.๒% ๘% ๑.๓ สถานการณจ์ ริง/ฝกึ ๑.๓=๐.๒% ๑.๔ สถานการณ์จำลอง ๑.๔=๐.๒% ๑๓ % ๑.๕ เสมือนจริง ๑.๕=๐.๒% ๑.๖ แบบประเมนิ ๑.๖=๐.๒% ๕% ๑.๗ คุณธรรมจรยิ ธรรม ๑.๗=๗% ๒% (รายบุคคล) ทุกวัน ๒.๒=๗% ๓.๔=๓% ๕.๓=๑% ๒% ๒.๒ การวางแผนการ ๖๕% ๓.๔ พยาบาล/ ๓.๕=๒% ๓.๕ แบบประเมิน ๕% ๕.๓ แผนการพยาบาล กอ่ นนำเสนอ ๒.๒=๓% ๓.๔=๐.๕% ๕.๓=๑% ๑๐๐% อยา่ งน้อย ๓.๕=๐.๕% (รายบุคคล) ๒.๒ รายงานกรณศี ึกษา ๓ วัน ๓.๔ /แบบประเมิน ๓.๕ รายงานกรณีศึกษา ทกุ วันศุกร์ ๕.๓ (รายกลุ่ม) ๒.๒ การประชุมปรกึ ษา ๒.๒=๑% ๓.๔=๐.๕% ๕.๓=๐.๕% ๓.๔ ทางการพยาบาล/ ๕.๓ แบบประเมนิ ประชุม ๒.๒=๑% ๓.๔=๐.๕% ๕.๓=๐.๕% ปรึกษาทางการ สัปดาหท์ ่ี ๒ ๔.๓=๑% ๖.๑=๔๐% พยาบาล ของแตล่ ะ - ผู้นำ หอผูป้ ่วย ๔.๔=๑% ๖.๒=๑๒% - ผรู้ ว่ ม ๔.๓ ทักษะการปฏบิ ัตทิ าง ๔.๕=๑% ๖.๓=๑๐% ๔.๔ วชิ าชพี /แบบ ๔.๕ ประเมินทักษะการ วนั สดุ ท้าย ๓.๔=๕% ๖.๑ ปฏิบตั กิ ารพยาบาล ๖.๒ ๖.๓ ๓.๔ สอบหลังฝึกปฏิบตั ิ ของการฝึก แตล่ ะกลุม่ ๘% ๑๒% ๑๒% ๓% ๓% ๖๒%

15 เกณฑก์ ารผา่ นรายวชิ า ๑. นกั ศกึ ษาจะผา่ นรายวิชานี้ต้องสง่ งานครบถว้ นตามเวลาท่ีกำหนด ๒. นกั ศกึ ษาตอ้ งมีเวลาการฝึกในแตล่ ะแผนกไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการฝึกทง้ั หมดของแผนกนนั้ ๓. คะแนนรวมการฝึกปฏิบัติงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ หากคะแนนรวมภาคปฏิบัติงานไม่ผ่านเกณฑ์ต้อง ลงทะเบียนฝกึ ซ่อมเสรมิ ภาคปฏิบัติ การตัดเกรด ๑. นำคะแนนรวมภาคปฏิบัติมาทำการตัดเกรดโดยพิจารณาองิ เกณฑท์ ่กี ำหนด ๒. พิจารณาสำหรบั เกณฑ์การตัดเกรด มดี ังนี้ คะแนนรวมระหว่างร้อยละ ๘๕.๐๐ - ๑๐๐ ใหร้ ะดบั ขน้ั A ใหร้ ะดบั ขน้ั B+ คะแนนรวมระหว่างรอ้ ยละ ๘๐.๐๐ - ๘๔.๙๙ ใหร้ ะดบั ขนั้ B ใหร้ ะดับขั้น C+ คะแนนรวมระหวา่ งรอ้ ยละ ๗๕.๐๐ - ๗๙.๙๙ ใหร้ ะดบั ข้ัน C ให้ระดบั ขน้ั D+ คะแนนรวมระหว่างร้อยละ ๖๗.๐๐ - ๗๔.๙๙ ใหร้ ะดบั ขน้ั D ให้ระดับขัน้ F คะแนนรวมระหวา่ งร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๖.๙๙ คะแนนรวมระหว่างร้อยละ ๕๕.๐๐ - ๕๙.๙๙ คะแนนรวมระหวา่ งร้อยละ ๕๐.๐๐ - ๕๔.๙๙ คะแนนเทา่ กบั หรอื น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๔๙.๙๙

16 ตารางการจัดการเรียนการสอนรายวชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวัยร่นุ 1 และ 2 กลมุ่ ที่ ๑ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ – ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๔ จำนวน ๓ กลุ่ม (๒๓ คน) เลขที่ รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกลุ วนั เดือนปีท่ฝี กึ ปฏบิ ตั /ิ หอผูป้ ว่ ย/ อาจารยป์ ระจำหอผู้ปว่ ย 15 – 21 22 – 28 29 พ.ย. 6 – 12 13 – 19 20 – 26 พ.ย. พ.ย. - 5 ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. 24 62122301024 นางสาว ณัฐรกิ า พิทกั ษ์ ป.เดก็ และวัยรุ่น 1 ป.เดก็ และวัยรนุ่ ๒ บ้านเดก็ SNB 25 62122301025 นางสาว ณฐั รกิ า อนิ ทรัตน์ กุมารเวชกรรม กุมารเวชกรรม อ. อ.จิรกานต์ 26 62122301026 นางสาว ณัฐลกิ า สทุ ธิภักดี อ.นอลีสา อ.วิชชตุ า ห้อง lab 27 62122301027 นางสาว ณฐั สดุ า จงไกรจักร์ ฝกึ หอ้ ง lab C: 24-27 นภาวรรณ พฤหสั บดี- 28 62122301028 นางสาว ณิชนนั ทน์ วุฒโิ อฬารกลุ สัปดาหท์ ่ี ๑ C: 28-31 ห้อง lab 29 62122301029 นางสาว ดรุณี สิทธิกลุ ฝึกหอ้ ง lab องั คาร-พุธ ศุกร์ 30 62122301030 นางสาว ตตยิ า ประทปี แกว้ สัปดาห์ท่ี ๑ 31 62122301031 นางสาว ทพิ วลั ย์ นุชนสุ ิทธิ์ 32 62122301032 นางสาว ธนาภา แยม้ เย็น 33 62122301033 นางสาว ธมลวรรณ พนั ธอ์ ดุ ม ป.เดก็ และวยั ร่นุ 1 บ้านเด็ก SNB ป.เดก็ และวัยรุ่น ๒ กมุ ารเวชกรรม อ. อ.เกษรา กุมารเวชกรรม 34 62122301034 นางสาว มกุ ธิดา ฤาชา อ.วิชชตุ า หอ้ ง lab อ.นอลสี า ฝึกห้อง lab นภาวรรณ พฤหัสบดี C: 32-35 35 62122301035 นางสาว ธญั วรตั น์ นาคนคร สปั ดาห์ท่ี ๒ ห้อง lab -ศกุ ร์ C: 36-39 องั คาร- ฝึกหอ้ ง lab 36 62122301036 นางสาว ธาริณี แนน่ อุดร สัปดาหท์ ี่ ๑ พธุ 37 62122301037 นางสาว ธิดารตั น์ มีสอาด 38 62122301038 นางสาว นภสร กรุณา 39 62122301039 นางสาว นริศรา ชูทอง 40 62122301040 นางสาว นรศิ รา สาเหล่ บา้ นเดก็ SNB ป.เด็กและวัยรุ่น 1 ป.เด็กและวัยร่นุ ๒ 41 62122301041 นางสาว นฤมล ชชี า้ ง อ.จริ กานต์ กุมารเวชกรรม PICU อ.เกษรา 42 62122301042 นางสาว นฤมล พรมวบิ ุตร อ. ห้อง lab อ.จริ กานต์ 43 62122301043 นางสาว นัฎชานา ทิพยเ์ ศวต นภาวรรณ พฤหัสบดี- ฝึกห้อง lab C: 40-43 44 62122301044 นางสาว นันทนา สังขแ์ กว้ สปั ดาหท์ ่ี ๒ C: 44-46 45 62122301045 นางสาว นนั ทวรรณ บุญเอยี ด หอ้ ง lab ศกุ ร์ ฝึกหอ้ ง lab 46 62122301046 นางสาว นาฏนลิน ไทรทอง อังคาร- สปั ดาห์ท่ี ๒ พุธ

17 กลมุ่ ท่ี ๒ วนั ท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ – ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ จำนวน ๓ กลมุ่ (๒๓ คน) เลขที่ รหัสนักศึกษา ช่ือ-สกลุ 27 ธ.ค. วันเดือนปีทฝ่ี กึ ปฏิบัต/ิ หอผูป้ ่วย/ - 2 ม.ค. อาจารย์ประจำหอผ้ปู ่วย 65 3 – 9 10 – 16 17 – 23 24 – 30 31 ม.ค. ม.ค. ม.ค. ม.ค. ม.ค. - 6 ก.พ. 1 62122301001 นางสาว กนกพร อปุ ฐาก 2 62122301002 นางสาว กมลวรรณ คงเพ็ง ป.เด็กและวยั รนุ่ 1 SNB ป.เดก็ และวัยรุ่น ๒ กมุ ารเวชกรรม อ.เกษรา PICU อ.เกษรา 3 62122301003 นางสาว กรรณกิ า จันทรไ์ ข่ อ.จิรกานต์ บา้ นเด็ก หอ้ ง lab ฝกึ ห้อง lab อ.นภาวรรณ พฤหัสบดี C: 1-4 4 62122301004 นางสาว กรรณิกา นวนไหม สัปดาห์ท่ี ๑ -ศกุ ร์ C: 5-8 หอ้ ง lab ฝกึ หอ้ ง lab 5 62122301005 นางสาว กษิรา บูจิ อังคาร-พุธ สปั ดาห์ที่ ๑ 6 62122301006 นางสาว กัณฐิกา หวังขวัญ 7 62122301007 นางสาว เกสรา เทพทอง 8 62122301008 นางสาว เกยี รตสิ ณิ ี แซ่เตี้ยว 9 62122301009 นางสาว จดิ าภา หมิดสะแหล้ ป.เดก็ และวยั รุ่น 1 ป.เด็กและวยั รุ่น ๒ บา้ นเด็ก SNB 10 62122301010 นางสาว จริ าพัชร สืบบตุ ร กุมารเวชกรรม กุมารเวชกรรม อ.นภาวรรณ อ.พเ่ี ล้ียง 11 62122301011 นางสาว จริ าวรรณ จุตพิ ล อ.นอลีสา อ.จิรกานต์ 12 62122301012 นางสาว จฑุ ามณี อนิ มัง ฝึกห้อง lab C: 9-12 ห้อง lab 13 62122301013 นางสาว จุฑามาศ เส็มหมาด สัปดาห์ที่ ๒ C: 13-16 อังคาร-พธุ 14 62122301014 นางสาว เจนจริ า ปานศรีนนุ่ ฝึกหอ้ ง lab 15 62122301015 นางสาว ชนนั ธดิ า แกว้ รอด สัปดาห์ท่ี ๑ 16 62122301016 นางสาว ชนดิ า ปานจันทร์ 17 62122301017 นางสาว ชนิดา สขุ เกษม ป.เดก็ และวัยรุ่น ๒ กมุ ารเวชกรรม 18 62122301018 นางสาว ชุติกาญจน์ วงศ์วาสนา บ้านเด็ก SNB ป.เด็กและวยั รุ่น 1 อ.นอลีสา 19 62122301019 นางสาว ญาวรี ดำเชื้อ อ.นภาวรรณ อ.เกษรา กมุ ารเวชกรรม C: 17-20 20 62122301020 นางสาว ฐิตาภรณ์ จันทรเ์ กตุกลุ หอ้ ง lab ห้อง lab อ.วชิ ชตุ า C: 21-23 ฝกึ ห้อง lab 21 62122301021 นาย ฐิติกร อนิ ทรโยธา อังคาร- พฤหสั บดี- ฝึกห้อง lab สปั ดาห์ท่ี ๒ 22 62122301022 นางสาว ณฐนนท์ สมุทสาร พุธ ศกุ ร์ สปั ดาหท์ ่ี ๒ 23 62122301023 นางสาว ณัฏฐพ์ ชั ร์ หนูจัน

18 กลุม่ ที่ ๓ วันท่ี ๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ – ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๕ จำนวน ๔ กล่มุ (๓๑ คน) วนั เดือนปที ี่ฝกึ ปฏบิ ตั /ิ หอผูป้ ว่ ย/ เลขท่ี รหสั นักศึกษา ชอื่ -สกลุ อาจารย์ประจำหอผู้ป่วย 7 – 13 14 – 20 21 – 27 28 ก.พ. 7 – 13 14 – 20 ก.พ. ก.พ. ก.พ. - 6 มี.ค. มี.ค. มี.ค. 70 62122301070 นางสาว วนาลี ปนั สม 71 62122301071 นางสาว วรรณพร สุขสี ป.เด็กและวัยรุน่ 1 SNB บา้ นเด็ก ป.เดก็ และวัยรุ่น ๒ 72 62122301072 นางสาว วรรณรดา มาตรบตุ ร กมุ ารเวชกรรม อ.เกษรา กุมารเวชกรรม 73 62122301073 นางสาว วราภรณ์ นวลแก้ว อ.นอลสี า ห้อง lab อ. อ.วชิ ชุตา 74 62122301074 นางสาว วรษิ า ขาวเรอื ง หอ้ ง lab พฤหสั บดี- นภาวรรณ C: 70-73 75 62122301075 นางสาว วรสิ รา เสรรี ัตน์ สปั ดาห์ท่ี ๑ C: 74-77 76 62122301076 นางสาว วาสนา จำปาทอง ศกุ ร์ หอ้ ง lab ฝึกหอ้ ง lab อังคาร- สปั ดาหท์ ่ี ๑ พธุ 77 62122301077 นางสาว วชิ ชดุ า พรัมรัตนพงศ์ 78 62122301078 นางสาว ศรุตยา คงไชย ป.เด็กและวยั รนุ่ 1 ป.เด็กและวยั รุ่น ๒ PICU บา้ นเดก็ SNB 79 62122301079 นางสาว ศศลกั ษณ์ จิตตศิ ักดิ์ กุมารเวชกรรม อ.พ่ีเลยี้ ง อ.เกษรา 80 62122301080 นางสาว ศศกิ านต์ ชแู กว้ อ.วิชชตุ า C: 78-81 อ.นภาวรรณ หอ้ ง lab 81 62122301081 นางสาว ศิรภทั ร ตดุ เอียด ห้อง lab C: 82-85 พฤหัสบดี- 82 62122301082 นางสาว สมฤทยั ปาทาน สัปดาหท์ ่ี ๒ หอ้ ง lab 83 62122301083 นางสาว สุกัญญา แกว้ สุวรรณ องั คาร-พุธ ศกุ ร์ 84 62122301084 นางสาว สกุ ญั ญา เส้งสุก 85 62122301085 นางสาว สุชญา พรหมเทพ 86 62122301086 นางสาว สุชานันท์ สวุ รรณรตั น์ 87 62122301087 นางสาว สณุ สิ า ราป้อม SNB ป.เดก็ และวัยรุ่น 1 อ.เกษรา กุมารเวชกรรม 88 62122301088 นางสาว สนุ นั ทา บำรุงภกั ด์ิ ป.เดก็ และวัยรุน่ ๒ บา้ นเด็ก ห้อง lab อ.นอลสี า PICU อ.เกษรา พฤหสั บดี- ฝกึ ห้อง lab 89 62122301089 นางสาว สนุ ิษา แผว้ บริวาร C: 86-89 อ.นภาวรรณ สัปดาห์ที่ ๒ C: 90-93 ศกุ ร์ 90 62122301090 นางสาว สภุ สั สร คงเส้ง หอ้ ง lab องั คาร-พุธ 91 62122301091 นางสาว สุภาวรรณ อะโนทยั 92 62122301092 นางสาว สุภาวดิ า นกศรีแก้ว 93 62122301093 นางสาว หาดา มะสากา 94 62122301094 นางสาว อณุภา เสลร่ าษฎร์ 95 62122301095 นาย อภิวฒั น์ ปตั ตานี ป.เดก็ และวยั ร่นุ 1 ป.เดก็ และวยั รนุ่ ๒ กุมารเวชกรรม PICU อ.พเี่ ล้ียง 96 62122301096 นางสาว อรพรรณ จิตระกลู บ้านเด็ก SNB อ.นอลสี า 97 62122301097 นางสาว อรอุมา เยาวน์ นุ่ อ.พเ่ี ลี้ยง ห้อง lab C: 94-97 98 62122301098 นางสาว อจั ฉริยาพร วฒุ า อ. สัปดาห์ที่ ๑ C: 98-100 นภาวรรณ 99 62122301099 นางสาว อสั วานา โต๊ะหลงหมาด หอ้ ง lab 100 62122301100 นางสาว อูมาม๊ะฮ์ ธานมาศ องั คาร- พุธ

19 กลุ่มที่ ๔ วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔ – ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ จำนวน ๔ กลมุ่ (๓๑ คน) เลขท่ี รหสั นักศึกษา ชอื่ -สกลุ วนั เดือนปีทฝ่ี ึกปฏิบัต/ิ หอผ้ปู ่วย/ 6 – 12 อาจารยป์ ระจำหอผปู้ ่วย ม.ิ ย. 2 – 8 9 – 15 16 – 22 23 – 29 30 พ.ค. พ.ค. พ.ค. พ.ค. พ.ค. - 5 มิ.ย. 47 62122301047 นางสาว นิชนนั ทร์ ลิบงค์ 48 62122301048 นางสาว นชิ นภิ า ศรเี นยี ม ป.เด็กและวัยร่นุ 1 ป.เดก็ และวัยรุน่ ๒ กุมาร SNB กมุ ารเวชกรรม เวชกรรม อ.เกษรา 49 62122301049 นางสาว นิดวารี แกว้ ศรี อ.เกษรา อ.วิชชตุ า บ้านเดก็ ห้อง lab ห้อง lab C: 47-50 พฤหสั บดี- 50 62122301050 นางสาว นิรตั นาภรณ์ วตั รสังข์ สปั ดาห์ที่ ๑ C: 51-54 อ.นภาวรรณ ห้อง lab ศกุ ร์ 51 62122301051 นางสาว นสิ ากร ชาญณรงค์ สัปดาหท์ ่ี ๑ หอ้ ง lab องั คาร-พธุ 52 62122301052 นางสาว นรู ดี า โสะประจนิ 53 62122301053 นางสาว เบญจวรรณ พูนขะโร 54 62122301054 นางสาว ปรียาภรณ์ สวุ รรณมณี 55 62122301055 นางสาว ปะรินดา กะทดั รัตน์ ป.เด็กและวยั รนุ่ 1 บ้านเดก็ SNB ป.เดก็ และวยั รนุ่ ๒ 56 62122301056 นางสาว ปยิ ะนุช ยทุ ธกาศ กุมารเวชกรรม อ.พเี่ ล้ียง PICU อ.พีเ่ ล้ยี ง 57 62122301057 นางสาว พิชญร์ ัตน์ หนชู ่วย อ.นอลีสา อ.นภาวรรณ 58 62122301058 นางสาว พิณดั ตา ส่งเสรมิ ห้อง lab C: 55-58 59 62122301059 นางสาว ภัคจรี า ยคุ ุนธราภริ ักษ์ สปั ดาหท์ ่ี ๒ หอ้ ง lab C: 59-62 60 62122301060 นางสาว ภณั ฑริ า เพง็ สกลุ องั คาร-พธุ 61 62122301061 นางสาว ภัทรวดี นวลเปยี น 62 62122301062 นางสาว ภาวิตา ทพิ ย์ญาณ 63 62122301063 นางสาว ภชู นศิ า ศรีไทย ป.เดก็ และวยั รนุ่ ๒ กุมารเวชกรรม 64 62122301064 นางสาว มัชฌิมาพร ยอดยิง่ ป.เด็กและวัยร่นุ 1 อ.นอลสี า กุมารเวชกรรม C: 63-66 65 62122301065 นางสาว มัทวัน เผอื กบวั ขาว บ้านเดก็ SNB อ.เกษรา C: 67-69 อ.วิชชตุ า อ.พี่ ห้อง lab ห้อง lab 66 62122301066 นางสาว มัสยา ธนามาศ หอ้ ง lab เลย้ี ง สัปดาห์ท่ี ๒ สัปดาห์ท่ี ๑ องั คาร- 67 62122301067 นางสาว มินตรา เชอ้ื สมนั พุธ 68 62122301068 นางสาว รติมา พลนยุ้ 69 62122301069 นาย รัฐพงศ์ ขำนรุ กั ษ์

การเรยี นการสอนในหอ้ งปฏิบัติการรายว สปั ดาห์ท่ี กมุ ารเวชกรรม (ป. เดก็ 1) บา้ นเดก็ (ป.เด็ก 1) 1 หรือ 2 วนั จนั ทร์ ๑. ปฐมนิเทศการเรยี นการสอน และทำ ๑. ปฐมนเิ ทศการเรยี นการสอน …..………… แบบฝึกหดั กอ่ นฝึกภาคปฏิบตั ิ และทำแบบฝกึ หดั กอ่ นฝึก ๒. นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะห์กรณีศกึ ษา ภาคปฏิบตั ิ วันอังคาร ที่ ๑ ๒. ฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ ริง ……………… ๓. ประชมุ ปรึกษาก่อนและหลงั การ พยาบาล (Pre-Post conference) ๑. นักศึกษาแตล่ ะคนวเิ คราะห วนั พธุ ๔. ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมือนจรงิ กรณีศึกษา …..………… ๑. นักศึกษาแตล่ ะคนวิเคราะห์กรณศี ึกษา ๒. ประชุมปรึกษาก่อนและหลงั ท่ี ๑ (ต่อ) การพยาบาล (Pre-Post ๒. ประชุมปรึกษาก่อนและหลังการ conference) พยาบาล (Pre-Post conference) ๓. ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมือ ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมือนจริง จริง ๔. Clinical Teaching ๑. นักศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะห กรณีศึกษา (ตอ่ ) ๑. นักศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะห์กรณีศึกษาท่ี ๒. ประชุมปรกึ ษาก่อนและหลงั ๒ (ตอ่ ) การพยาบาล (Pre-Post ๒. ประชุมปรึกษากอ่ นและหลงั การ conference) พยาบาล (Pre-Post conference) ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมือ ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมอื นจรงิ จรงิ

20 วชิ า ปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวัยรุน่ 1 และ 2 กมุ ารเวชกรรม/PICU (ป. เดก็ 2) SNB (ป. เด็ก2) น ๑. ปฐมนเิ ทศการเรยี นการสอน และทำแบบฝึกหัด ๑. ปฐมนิเทศการเรยี นการสอน กอ่ นฝึกภาคปฏบิ ัติ และทำแบบฝกึ หดั ก่อนฝกึ ๒. นักศกึ ษาแตล่ ะคนวิเคราะห์กรณีศกึ ษาท่ี ๑ ภาคปฏบิ ตั ิ ง ๓. ประชุมปรกึ ษากอ่ นและหลงั การพยาบาล (Pre- ๒. ฝึกปฏบิ ัติในสถานการณจ์ รงิ Post conference) ๔. ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง ห์ ๑. นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะหก์ รณศี กึ ษาท่ี ๑ (ตอ่ ) ๑. ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ ริง ๒. ประชมุ ปรึกษาก่อนและหลงั การพยาบาล (Pre- ง Post conference) ๓. ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจริง ๔. Clinical Teaching อน ห์ ๑. นักศกึ ษาแตล่ ะคนวิเคราะห์กรณศี กึ ษาท่ี ๒ (ต่อ) ๑. ฝึกปฏบิ ตั ิในสถานการณ์จริง ๒. ประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลังการพยาบาล (Pre- ง Post conference) ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมือนจรงิ อน

สัปดาห์ท่ี กมุ ารเวชกรรม (ป. เดก็ 1) บา้ นเด็ก (ป.เดก็ 1) 1 หรอื 2 ๑. นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะห์กรณศี กึ ษาที่ ๑. ฝกึ ปฏบิ ัติในสถานการณจ์ ริง วันพฤหัสบดี ๒ (ต่อ) .................. ๒. ประชมุ ปรึกษาก่อนและหลงั การ พยาบาล (Pre-Post conference) ๓. ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง วันศุกร์ ๑. นำเสนอกรณศี กึ ษารายบคุ คล ๑. นำเสนอกรณศี ึกษารายบคุ ค .................. ๒. สอบปากเปลา่ ๒. สอบปากเปลา่ รายวิชาปฏิบัติเดก็ และวัยรุ่น 1 การสอนในคล หอผู้ปว่ ยกมุ ารเวชกรรม ๒ ห้องปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง บา้ นเดก็ การจัดการความปวดในเด็ก การพยาบาลเด็กทีม่ ีปญั หาสารนำ้ และอิเลค็ โตรไลต์ การใหค้ ำแนะนำล่วงหนา้ ในเด็ก, การส่งเสริมการเลย้ี งลูกด้วยนมแมใ่ นเด็กสขุ ภาพดี

21 กมุ ารเวชกรรม/PICU (ป. เด็ก2) SNB (ป. เดก็ 2) ง ๑. นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนวเิ คราะห์กรณีศึกษาท่ี ๒ (ต่อ) ๑. นักศึกษาแตล่ ะคนวเิ คราะห์ ๒. ประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลังการพยาบาล (Pre- กรณีศกึ ษา Post conference) ๒. ประชมุ ปรึกษาก่อนและหลัง ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมอื นจริง การพยาบาล (Pre-Post conference) ๓. ฝึกสถานการณ์จำลองเสมอื น จริง คล ๑. นำเสนอกรณศี ึกษารายบคุ คล ๑. นำเสนอกรณศี กึ ษารายบคุ คล ๒. สอบปากเปลา่ ๒. สอบปากเปลา่ ลินิก (Clinical Teaching) เร่ือง รายวชิ าปฏิบัติเดก็ และวัยรนุ่ ๒ การพยาบาลเดก็ ทใ่ี ช้เครื่องช่วยหายใจ หอผู้ปว่ ยกุมารเวชกรรม ๒ การประเมิน Neuro sign ในเด็ก หอ้ งปฏิบตั กิ าร การพยาบาลเด็กที่อยใู่ นตู้อบ, หอผู้ปว่ ยทารกแรกเกดิ การส่งเสริมการเลย้ี งลูกด้วยนมแมใ่ นเดก็ ปว่ ย

กรณีศึกษาและการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล รายวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ 1 และ 2 รายวิชา กรณีศึกษา ฝึกสถานการณจ์ ำลองเสมือนจรงิ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล วเิ คราะหก์ รณศี ึกษาคนละ ๒ กรณศี กึ ษา เด็กและวัยรุ่น 1 ระบบทางเดนิ อาหาร ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามกรณีศกึ ษา (กมุ ารเวชกรรม ๒) โรค Diarrhea, Gastritis, Gastroenteritis, ระบบทางเดินอาหาร intussusception, Hirschsprung’s - การเตรยี มเดก็ ก่อน-หลงั ผา่ ตดั ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล disease, CL-CP - การทำ Rectal Irrigation เดก็ และวยั รุ่น 1 - การดูแล Colostomy ระบบทางเดนิ ปัสสาวะและต่อมไรท้ อ่ -การดูแลผ้ปู ว่ ยหลงั ผ่าตดั โรค CL-CP (บา้ นเด็ก) โรค UTI, AGN, NS DM, DI - ประเมินภาวะ dehydration การคำนวณการให้ สารน้ำ และการรักษาด้วยสารน้ำ ปฏิบตั กิ ารพยาบาล โรคติดเชื้อ - การวางแผนจำหน่ายเฉพาะโรค เดก็ และวัยรนุ่ ๒ โรค DHF มือเท้าปาก - การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภยั ของ (กุมารเวชกรรม ๒) ผู้ปว่ ย (Patient Safety) อุบตั เิ หตุและสารพษิ ระบบทางเดนิ ปัสสาวะและตอ่ มไรท้ ่อ สารพิษ, Obstructive - การประเมินภาวะบวม - เด็กทารก - การให้ albumin - เด็กวัยหัดเดนิ - การฝึกฉีดยาอนิ ซลู ิน - เด็กก่อนเรียน - การจดั มอ้ื อาหารเบาหวาน - การวางแผนจำหน่ายเฉพาะโรค วิเคราะหก์ รณีศกึ ษาคนละ ๒ กรณศี กึ ษา - การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภยั ของ ระบบทางเดินหายใจ ผู้ปว่ ย (Patient Safety) โรค Croup, Pneumonia, Asthma, โรคตดิ เชื้อ Bronchiolitis, Respiratory failure - การป้องกันโควดิ 19 ในเด็ก - การดแู ลเด็กโรคไขเ้ ลือดออก (การทำ urine spgr. การเจาะ Hct การทำ Tanique test) - การวางแผนจำหนา่ ยเฉพาะโรค - การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภยั ของ ผู้ปว่ ย (Patient Safety) อบุ ัติเหตุและสารพษิ - การเอาส่ิงแปลกปลอมออก - การการดูแลตามกรณศี ึกษา - การฉดี วคั ซีน - การประเมินพฒั นาการตามแบบประเมนิ DSPM - การประเมนิ การเจรญิ เตบิ โต (การวดั สดั ส่วน การ ช่งั นำ้ หนัก) - การใหอ้ าหารเสรมิ - การประเมนิ ภาวะโภชนาการ - การดูแลสุขภาพช่องปากและฟนั - การส่งเสรมิ การลย้ี งลกู ด้วยนมแม่ - การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการสำหรับเด็ก ปฏิบตั ิการพยาบาลตามกรณศี ึกษา ระบบทางเดนิ หายใจ - การทำกายภาพบำบดั ทรวงอก - การพ่นยา และการพน่ ยาแบบ spacer - การดูดเสมหะทางปาก - การดแู ลเด็กท่ีไดร้ บั ออกซิเจนแบบตา่ งๆ - การวางแผนจำหน่ายเฉพาะโรค

๒๓ รายวิชา กรณศี กึ ษา ฝกึ สถานการณ์จำลองเสมอื นจรงิ ปฏิบตั ิเด็กและวัยรนุ่ 1 ระบบประสาท - การใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล และความปลอดภัยของ SNB โรค Epilepsy, Meningitis, Febrile ผู้ป่วย (Patient Safety) convulsion, Cerebral palsy, ระบบประสาท Hydrocephalus - การดแู ลผปู้ ่วยท่ีไดร้ บั การเจาะหลงั - การประเมนิ ระดบั ความรสู้ ึกตวั เด็ก (N/S) ระบบเลอื ดและมะเร็ง - การดแู ลเด็กท่ีมีภาวะชัก โรค Anemia, Thalassemia, Hemophilia, (มีไขเ้ ช็ดตวั ลดไข้ การดแู ลเด็กขณะชัก) ITP, G6PD, Acute Leukemia, - การวางแผนจำหน่ายเฉพาะโรค Lymphoma, Wilm's tumor - การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภัยของ ผ้ปู ว่ ย (Patient Safety) ระบบหัวใจ ระบบเลือดและมะเร็ง โรค CHF, TOF, VSD, Kawasaki - การใหเ้ ลือด - การฉีดเฟคเตอร์ ภาวะวกิ ฤติ - การใหเ้ คมบี ำบดั การพยาบาล ACLS, ภาวะ Shock - การเจาะไขกระดูก - การวางแผนจำหนา่ ยเฉพาะโรค ทารกคลอดก่อนกำหนด - การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และความปลอดภัยของ (RDS, Sepsis, Hypothermia, ผปู้ ว่ ย (Patient Safety) Hypoglycemia, BPD , Apnea, NEC, ROP, ระบบหวั ใจ Hyperbilirubinemia) - การบรหิ ารยา ทารกครบกำหนด - การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล และความปลอดภัยของ (GDM, TTNB, โรคทางศลั ยกรรม) ผูป้ ว่ ย (Patient Safety) ภาวะวกิ ฤติ - CPR - การดูแลผู้ปว่ ยเดก็ เมอ่ื เกดิ ภาวะ shock - การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภัยของ ผปู้ ว่ ย (Patient Safety) - การฉีดวคั ซนี BCG, HBV - การเช็ดตวั ทำความสะอาดทารก การเชด็ สะดือ - การใส่ OG, การเตรียมนม, การ feed นม - การบรหิ ารยาฉดี -การสง่ เสรมิ การให้นมแม่ในทารกป่วย - การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล และความปลอดภยั ของ ผู้ป่วย (Patient Safety) ทักษะการปฏบิ ัติการพยาบาลท่สี ำคัญ ซ่งึ นักศกึ ษาควรไดร้ ับจากการขนึ้ ฝึกปฏบิ ัติงาน มีดงั นี้ - การสร้างสัมพันธภาพระหวา่ งเดก็ ปว่ ยและครอบครวั - การประเมนิ และการส่งเสริมการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการ - การตรวจร่างกายเด็ก - การใหน้ ม อาหาร หรืออาหารเสรมิ เดก็ ดว้ ยวธิ ตี ่างๆ - การใหอ้ าหารทางสายยาง ไดแ้ ก่ Nasal gavage, Oral gavage - การบริหารยา ไดแ้ ก่ การเตรยี มยา การคำนวณยา และการให้ยา - การวัดสญั ญาณชีพในเด็ก - การใหย้ าในรปู แบบฝอยละออง (Aerosol therapy)

๒๔ - การดูดเสมหะ - การห่อตวั ทารก - การอุ้มทารก - การให้สุขศกึ ษาแกเ่ ดก็ และครอบครัว วนั เวลาและกจิ กรรมในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ กจิ กรรม เวลาดำเนินการ ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาในหอผูป้ ่วยทรี่ บั ผิดชอบ เรือ่ งรายละเอยี ดคมู่ ือการฝึกภาคปฏิบตั ิ ลักษณะ เวลา ๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. รายวชิ า วตั ถุประสงค์ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน วนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ โดยอาจารย์สอนปฏบิ ตั ิของหอผู้ปว่ ยนนั้ ๆ เพอื่ รบั การปฐมนเิ ทศเกย่ี วกับสถานทีฝ่ กึ ปฏิบตั ิงาน และลกั ษณะงานในหอผปู้ ่วยนน้ั ๆ การมอบหมายงานกจิ กรรมการเรยี นการสอนการเตรยี ม เวลา ๘.๓๐-๑๒.๐๐ น. ความพร้อมด้านตา่ งๆ ใหน้ ักศกึ ษาตดิ ตอ่ อาจารย์ประจำหอผปู้ ่วยล่วงหน้า กลุ่มที่ ๑ วนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เตรยี มความพร้อมกอ่ นขน้ึ ฝึกปฏิบตั ใิ หก้ บั นกั ศึกษาโดยจัดการเรยี นการสอน กลุ่มที่ ๒ วนั ท่ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔ - สถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ (Simulation-Based Learning : SBL) เรือ่ ง การพยาบาล กล่มุ ท่ี ๓ วนั ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เดก็ ท่มี ีภาวะ shock (เดก็ ปว่ ย) กลุ่มท่ี ๔ วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - การประเมนิ ทารก และ การทำความสะอาดรา่ งกายทารก (ทารกแรกเกดิ ) เวลา ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. - การฉีดวัคซีนในเด็ก (คลนิ กิ สขุ ภาพเดก็ ดี) กลมุ่ ที่ ๑ วนั ที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ การสอบหลังฝึกภาคปฏิบตั ิและประเมินการฝกึ ปฏบิ ัติงานของนกั ศกึ ษา กลมุ่ ที่ ๒ วันที่ ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ กลุ่มที่ ๓ วนั ที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๕ การเก็บและบนั ทึกสมดุ ประสบการณ์ กลมุ่ ท่ี ๔ วันท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ การทำ Nursing care plan ทกุ วนั - กมุ ารเวชกรรม ใช้แบบฟอร์มการเขยี นแผนทางการพยาบาล - ทารกแรกเกดิ ใชแ้ บบฟอร์มการเขียน Concept Mapping สัปดาหล์ ะ ๑ ฉบับ - บา้ นเดก็ ใชแ้ บบฟอร์มการเขียนแบบเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการส่งเสรมิ สุขภาพเด็ก - กมุ ารเวชกรรม รวม ๒ ฉบับ การทำรายงานกรณีศกึ ษา - ทารกแรกเกดิ ๑ ฉบับ - บา้ นเดก็ ๑ ฉบับ วันศุกรส์ ัปดาหท์ ี่ ๑ หรอื ๒ สง่ รายงาน กอ่ นลว่ งหน้าอยา่ งนอ้ ย ๒ วันกอ่ นการ ประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล และส่ง รายงานไมเ่ กิน ๓ หลังการประชมุ ปรึกษา ทางการพยาบาล การฝึกประสบการณท์ บี่ ้านเดก็ นกั ศึกษาทุกคนจะไดร้ บั ประสบการณ์จากการฝกึ ทบี่ ้านเดก็ รพ.มหาราชนครศรธี รรมราช ๑ สปั ดาห์ เพอื่ ฝกึ ทักษะ ในการปอ้ งกันและส่งเสรมิ สุขภาพอนามัยและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของเด็กและครอบครัว โดยมลี าํ ดับขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. การประเมินประวตั ิการเลย้ี งดโู ดยซักประวัตกิ ารเลย้ี งดูจากบดิ ามารดา หรอื ผูป้ กครองในด้านตา่ งๆ เชน่ ประวัติ การคลอด อาหารและอาหารเสริมตามวัย เปน็ ตน้ 2. การประเมนิ การเจริญเตบิ โตทางด้านรา่ งกายของเดก็ โดยนกั ศึกษาจะฝึกทกั ษะการวดั ส่วนสูง ความยาวของ ลําตัว รอบศรี ษะ รอบอก ชั่งนำ้ หนกั 3. การประเมนิ พัฒนาการ โดยนกั ศกึ ษาจะตรวจและบนั ทกึ พัฒนาการของเดก็ ตามแบบประเมิน DSPM และให้ คําแนะนาํ แกผ่ ดู้ ูแลเดก็ เก่ยี วกบั การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 4. ประวตั กิ ารใหภ้ มู ิคุ้มกันโรคของเดก็ ตามกําหนดการให้วัคซีนของเด็กแตล่ ะคน ๕. การให้คําแนะนาํ นกั ศึกษาจะเปน็ ผใู้ หค้ าํ แนะนําแกผ่ ู้ดแู ลในเร่ืองตา่ งๆ ดงั นี้

๒๕ - ความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั อาหารและอาหารเสรมิ ตามวยั ทีเ่ ด็กควรไดร้ ับและภาวะสขุ ภาพของเดก็ - การสง่ เสรมิ และตดิ ตามพฒั นาการตามวยั - ความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับวัคซนี ทเี่ ด็กไดร้ ับ - กาํ หนดการรับวคั ซีนในครงั้ ต่อไป - ตอบขอ้ ซักถามของบดิ ามารดาหรอื ผปู้ กครองในเร่อื งการดูแลสุขภาพเด็ก การจดั กิจกรรมสร้างเสริมสขุ ภาพ การจดั กิจกรรมสรา้ งเสรมิ สุขภาพ หมายถงึ การจัดกระทาํ ตา่ งๆ ท่ีส่งเสรมิ สุขภาพตา่ งๆ ให้กับเดก็ และครอบครัว ได้แก่ การจดั การเล่นหรอื สนั ทนาการท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การสร้างเสรมิ สขุ ภาพรายกล่มุ ขณะฝึกประสบการณ์ท่ีบา้ นเด็ก โดย นักศึกษา 1 กลมุ่ จะต้องจัดและนาํ เสนอกิจกรรมสร้างเสรมิ สขุ ภาพ จํานวน ๑ คร้ัง โดยขอคาํ ปรึกษาได้จากอาจารยท์ ส่ี อน ปฏบิ ตั ิการจดั กิจกรรมการเลน่ หรอื สนั ทนาการ นักศึกษาควรคาํ นงึ ถงึ หลกั ทฤษฎกี ารเลน่ และพัฒนาการของเด็กโดยจะต้องมี ความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั วัย รายงานการจัดกจิ กรรมการเล่น ประกอบดว้ ย 1. ชื่อกจิ กรรมการเล่น (ตอ้ งสอดคลองกบั เดก็ และพฒั นาการตามวยั ) 2. กลุ่มเป้าหมาย (เหตผุ ลของการเลือกกลมุ่ เปา้ หมาย) 3. วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั กจิ กรรมการเล่น (สง่ เสรมิ พัฒนาการการดา้ นใด) 4. ทฤษฎจี ิตวทิ ยาพัฒนาการท่ีนํามาใช้ในการจัดกจิ กรรม 5. ทฤษฎีการเลน่ ทีน่ าํ มาใช้ (ตอ้ งสอดคลอ้ งกับพัฒนาการตามวยั ) 6. วธิ กี ารจดั กจิ กรรมการเล่น โดยอธบิ ายใหเ้ หน็ ขนั้ ตอนการจดั กิจกรรม 7. อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรม 8. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ควรเป็นเกณฑ์ทสี่ ามารถประเมนิ ได้อย่างชัดเจนและเปน็ รปู ธรรม 9. การประเมนิ ผล (มอบหมายใหป้ ระเมนิ ผลเป็นรายบุคคล ส่งแนบกบั แผนการจดั กิจกรรมการเลน่ ) 10. บรรณานกุ รม ภาษาไทยไมเ่ กนิ ๕ ปี และภาษาอังกฤษไมเ่ กนิ 10 ปี 11. ปญั หาและอุปสรรค

๒๖ การจดั การความเสยี่ งในการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ ๑. ความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดข้ึนในการฝึกภาคปฏิบัติ/ประสบการณ์ภาคสนาม ความเส่ียงในการฝึกปฏิบัติงานของ นกั ศกึ ษาพยาบาล มดี งั น้ี การเกิดอุบัติเหตุจากการฝึกปฏิบัติงาน เช่น ของมีคมท่ีเป้ือนเลือด เป้ือนสารคัดหล่ัง ของผู้ป่วย ท่ิม ตำ บาด หรือ สารคัดหลั่งกระเดน็ เข้าตา/ปาก โดนของมีคมทเี่ ปื้อนเลือด สารคัดหลง่ั ของผปู้ ว่ ย ทม่ิ ตำ หรือบาดหรือ สารคัดหล่ังกระเด็นเขา้ ตา/ปาก กรณีทราบผลเลอื ดผปู้ ่วย (HIV positive) กรณีไม่ทราบผลเลือดผู้ปว่ ย กรณีไม่สามารถระบุตัวผู้ป่วยได้ (เช่น ถูกเข็ม จากถงั ขยะตำ, เข็มจากผา้ เป้อื น ฯลฯ) กรณีผู้ป่วยมผี ลเลอื ด HBsAg positive กรณผี ู้ป่วยมีผลเลือด Anti-HCV positive ๒. แนวทางการปอ้ งกนั /การแกไ้ ขปัญหาความเสีย่ งในการฝึกปฏบิ ัติงาน กิจกรรม/กรณี ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ ๑. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ๑. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบรายวิชาภาคปฏบิ ัติปฐมนเิ ทศใหน้ กั ศกึ ษาทราบวา่ ในการฝึกปฏบิ ตั ิงานบนหอ จากการฝึกปฏิบัติงาน เช่น ของ ผู้ป่วย นักศึกษาจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุจากการฝึกปฏิบัติงานได้ เช่น การถูกของมีคมที่ มีคมที่เป้ือนเลือด เป้ือนสารคัด เป้อื นสารคัดหลั่งทมิ่ ตำ บาด หรอื สารคดั หล่ังกระเด็นเขา้ ตา/ปาก หลั่ง ของผู้ป่วย ทิ่ม ตำ บาด ดงั นั้นนกั ศึกษาควรปฏิบัติตัวดังน้ี หรือสารคัดหล่ังกระเด็นเข้าตา/ - มสี ติ และมคี วามระมัดระวังในการปฏบิ ัตงิ าน ปาก - ในการใส่เขม็ ท่ีปนเปื้อนส่ิงคัดหลั่งเข้าไปในปลอกเข็ม ไมค่ วรจบั ปลอกเข็ม ควรวางปลอกเข็มไว้ แล้วใสเ่ ข็มเข้าไปในปลอกเขม็ - การถอดมีดออกจากด้ามมีด ไม่ควรใช้มือในการถอด ควรใช้ forceps ท่ีใช้จับเข็มจับและดึง ใบมีดออกจากดา้ มมดี - เมอ่ื ประเมินแล้วพบวา่ มีความเสี่ยงท่ีจะสมั ผสั กับสารคดั หลัง่ ใหน้ ักศกึ ษา เตรียมใส่อุปกรณ์เพ่ือ ปอ้ งกันการสัมผัสกบั ส่ิงคดั หล่ัง เช่น ถงุ มอื หน้ากาก แว่น เปน็ ตน้ ๒. การจัดการเมื่อโดนของมีคม ๑. ลา้ งแผลให้สะอาดด้วยน้ำสบู่ เช็ดด้วย Alcohol 70% และ Betadine solution ที่เปื้อนเลือด สารคัดหล่ังของ ๒. เลอื ดหรือสารคัดหลัง่ กระเด็นเข้าตา ลา้ งดว้ ยนำ้ สะอาดหรือ o.๙% NSS หลายๆ ครั้ง ผู้ป่วย ทิ่ม ตำ หรือบาดหรือ ๓. เลอื ดหรือสารคัดหลัง่ กระเดน็ เขา้ ปาก บว้ นนำ้ ลายออกให้มากท่สี ุดและกล้ัวดว้ ยน้ำสะอาดทนั ที สารคัดหล่ังกระเด็นเขา้ ตา/ปาก ๔. ในเวลาราชการให้นักศึกษาแจ้งอาจารย์สอนภาคปฏิบัติและหัวหน้าหน่วยงาน/หัวหน้าเวร เพื่อให้อาจารยช์ ่วยดำเนินการแกไ้ ขเหตุการณ์ และเขยี นบันทึกข้อความรายงานเหตุการณ์ที่เกดิ ขึ้น ส่งอาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏิบัติ ๕. อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ เสนอความคิดเห็นในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และการดำเนินการแก้ไข เหตกุ ารณ์ เสนอใหผ้ ู้รับผิดชอบรายวชิ าทราบ ๖. ผู้รับผิดชอบรายวิชานำบันทึกข้อความรายงานเหตุการณ์ เสนอประธานสาขาและรอง ผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการตามลำดับ ๗. นอกเวลาราชการ ให้นักศึกษาแจ้งหัวหน้าเวร/เวรตรวจการพยาบาล เพื่อให้หัวหน้าเวรช่วย ดำเนนิ การแก้ไขเหตุการณ์ได้ทันท่วงที และโทรแจ้งอาจารย์ผ้สู อนภาคปฏิบัติ ๘. นักศึกษาเขียนบันทึกข้อความรายงานเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นส่งอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ อาจารย์ ผู้สอนภาคปฏบิ ัติ เสนอความคดิ เหน็ ในเหตุการณท์ ่ีเกดิ ขนึ้ และการดำเนินการแกไ้ ขเหตกุ ารณ์ เสนอ ให้ผู้ประสานรายวิชาทราบ และผู้ประสานรายวิชานำบันทึกข้อความรายงานเหตุการณ์ เสนอ ประธานสาขาและรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการตามลำดับ ๓. กรณีทราบผลเลือดผู้ป่วย 1. อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ/หัวหน้าหน่วยงาน/หัวหน้าเวร ติดต่อแพทย์เพ่ือประเมินความเสี่ยง (HIV positive) และการให้ยา (แพทยท์ ี่ ER หรือ OPD) ๒. เจาะเลือดนักศึกษาทันทีเพ่ือเป็น Baseline ก่อนรับการรักษา (CBC, UA, Hepatitis B profile, Anti-HIV, Anti-HCV) ๓. ตดิ ต่อแพทย์ผใู้ ห้คำปรกึ ษาเพือ่ ประเมนิ การให้ยาอีกครง้ั ในเวลาราชการ

๒๗ กจิ กรรม/กรณี ข้ันตอนการปฏิบตั ิ ๔. กรณีนักศึกษาได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ ต้องเจาะเลือดตรวจ Anti- HIV, CBC ซ้ำทุก 1, 3, 6 เดอื น (และ 1 ปี ถา้ มี HVC infection ร่วมด้วย) ๔. กรณไี มท่ ราบผลเลือดผ้ปู ่วย ๑. ขอเจาะเลือดผปู้ ว่ ย Anti-HIV, HBsAg, Anti-HCV ทนั ที (โดยแจง้ ใหผ้ ู้ป่วยทราบก่อน) ๒. กรณีผู้ป่วยมีผลเลือด HIV positive ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับกรณีทราบผลเลือดผู้ป่วย (HIV positive) ๓. กรณีผูป้ ่วยมีผลเลือด HIV negative นกั ศึกษาไมต่ ้องรับประทานยา แต่เจาะเลือดนักศึกษาเพ่ือ เปน็ baseline (CBC, Hepatitis B profile, Anti-HIV, Anti-HCV) แต่ไม่ต้องเจาะเลอื ดซ้ำ ๔. กรณีไม่สามารถระบุตัวผู้ปว่ ย ๑. อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ/หัวหน้าหน่วยงาน/หัวหน้าเวร ติดต่อแพทย์เพื่อประเมินความเส่ียง ได้ (เช่น ถูกเข็มจากถังขยะตำ, และการให้ยา (แพทยท์ ่ี ER หรือ OPD) แก่นักศกึ ษา เขม็ จากผ้าเปือ้ น ฯลฯ) ๒. เจาะเลือดนักศึกษาทันทีเพ่ือเป็น Baseline ก่อนรับการรักษา (CBC, UA, Hepatitis B profile, Anti-HIV, Anti-HCV) ๓. ตดิ ตอ่ แพทยผ์ ูใ้ ห้คำปรึกษาเพ่ือประเมนิ การให้ยาอีกคร้งั ในเวลาราชการ ๕. กรณีผู้ป่วยมีผลเลือด HbsAg ๑. ถา้ นักศกึ ษามีภูมแิ ลว้ (anti HBs positive) ไม่ต้องทำอะไร positive ๒. ถ้านักศกึ ษาไมม่ ีภูมิ/ไมเ่ คยไดร้ บั vaccine มาก่อน (anti HBs negative) - พบแพทย์เพือ่ พิจารณาให้ Vaccine hepatitis B - เจาะเลอื ด Anti-HBs ซ้ำ หลังจากได้รบั วคั ซนี ครบ 3 เข็ม (0-1-6 เดอื น) แล้ว 1-2 เดอื น หมายเหตุ Vaccine hepatitis B ควรได้รบั ภายใน 7 วัน ๖. กรณีผู้ป่วยมีผลเลือด Anti- ๑. นักศกึ ษาเจาะเลอื ดตรวจ Anti-HVC และ ALT วนั ท่ี 0 และเจาะซ้ำอีก 6 เดอื น HCV positive ๗. การเกิดอุบัติเหตุจากการ ๑. ในการเดินทางไปฝึกปฏิบัติงาน ถ้านักศึกษาเดินเท้าขอให้นักศึกษาเดินบนทางเท้า ถ้าต้องใช้รถ เดินทางไปฝกึ ปฏิบัติงาน การถูก มอเตอรไ์ ซด์ ใช้เฉพาะการเดนิ ทางไปฝึกปฏิบตั ทิ โี่ รงพยาบาลมหาราช นครศรธี รรมราช ใหน้ ักศึกษา ผ้ปู ว่ ยทำรา้ ย ขบั ขี่รถดว้ ยความระมดั ระวงั สวมหมวกนริ ภัย และไม่ควรซอ้ นสามคน ๒. ในการเดินทางไปฝกึ ปฏิบัติงานถ้านักศึกษาต้องเดินทางด้วยรถยนต์ จัดให้มีอาจารย์รว่ มเดินทาง พร้อมกับนกั ศกึ ษาในกรณีที่มีรถรบั ส่งจากสถาบัน ๓. กรณีนักศึกษาข้ึนฝึกปฏิบัติงานเวรบ่าย-ดึก โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช ให้ ผู้รับผิดชอบรายวิชา นำตารางเวรของนักศึกษาไว้ท่ียาม ๑ ชุด ไว้ท่ีเวรสุขภาพ ๑ ชุด เพ่ือให้ยาม นักศึกษาเวรสุขภาพ และอาจารย์เวรสขุ ภาพทราบว่ามีนกั ศึกษาทข่ี น้ึ ปฏิบัติเวรบ่ายกคี่ น เวรดกึ กี่คน เม่ือถึงเวลาท่นี ักศึกษาตอ้ งขึน้ ฝึกปฏิบัตงิ านเวรดกึ /ลงฝึกปฏิบัติเวรบ่าย ให้นักศึกษาเดินทางไปเป็น กลุ่มหรืออย่างน้อยกับเพ่ือน ๒ คน ไม่ควรเดินทางไปคนเดียวโดยเด็ดขาด แจ้งยามเพื่อให้ยามมา เปิดประตดู ้านขา้ งของวิทยาลัยเพือ่ ให้นักศึกษาเดินทางไปฝึกปฏิบตั ิได้ปลอดภยั มากขึ้นนกั ศึกษาเวร สุขภาพตดิ ตามการลงฝกึ ปฏิบตั ิงานเวรบ่ายและการขึ้นฝึกปฏิบัติงานเวรดึกของนกั ศึกษา ๔. เน้นย้ำให้นักศึกษาประเมินผู้ป่วยก่อนให้การพยาบาลเพ่ือวางแผนการให้การพยาบาลได้อย่าง เหมาะสม และเฝ้าระวงั อนั ตรายที่อาจเกดิ ขึ้น ๕. จัดให้มอี าจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติติดตามนิเทศนักศึกษาอย่างใกล้ชดิ ในอัตราสว่ นไมเ่ กิน ๑:๘ การแก้ไขปญั หาความเส่ยี งที่เกดิ ข้นึ ๑. ให้นกั ศึกษาหรอื เพื่อนโทรศัพท์แจง้ /อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวิชา/อาจารยก์ ล่มุ พฒั นานักศึกษา ๒. ถ้านักศึกษาตอ้ งพบแพทย์ อาจารย์ผูส้ อนภาคปฏิบัติ/อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบรายวิชา/อาจารย์กลุ่ม พัฒนานักศึกษานำนักศึกษาพบแพทย์ท่ีแผนกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลที่ใกล้สถานท่ีเกิดเหตุ

๒๘ กิจกรรม/กรณี ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ มากทสี่ ดุ ๓. ถ้านักศึกษาได้รับอุบัติเหตุ/ถูกทำร้ายค่อนข้างรุนแรง หรือรุนแรง อาจารย์กลุ่มพัฒนานักศึกษา รายงานให้ผ้ปู กครองของนักศกึ ษารับทราบ ๔. ให้นักศึกษาเขียนบันทึกเหตุการณ์ในการฝึกปฏิบัติท่ีเกิดข้ึนส่งอาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติ ภายใน ๓ วัน ๕. อาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติเสนอความคิดเห็นในเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นให้ผู้รับผิดชอบรายวิชา ภายใน ๑ วัน หลังจากบันทึกรายงานเหตุการณ์เสร็จเรยี บร้อยแล้ว เสนอต่อประธานสาขา ภายใน ๑ วัน หลังจากบันทึกรายงานเหตุการณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว เสนอต่อรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ภายใน ๓ วัน หลังจากบันทึกรายงานเหตุการณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว เสนอต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ภายใน ๑ วัน หลังจากบนั ทึกรายงานเหตุการณ์เสร็จ เรียบรอ้ ยแลว้ ตามลำดบั แนวปฏบิ ัตเิ ร่อื งการบริหารความ ๑. สร้างความเข้าใจร่วมกันและพัฒนาแนวทางการบริหารความเส่ียงร่วมกันระหว่าง เสี่ยงระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาและแหลง่ ฝึกปฏิบัติ โดยจดั ใหม้ กี ารประชุมร่วมกันทุกปีการศึกษาและกรณีมคี วาม และแหล่งฝึกภาคปฏิบัติ เส่ยี งรุนแรง ๒. เตรียมความพรอ้ มอาจารย์นิเทศเพ่ือลดความเสี่ยงในการฝึกภาคปฏิบัติโดยให้อาจารย์ไปศึกษา ดูงานในหอผ้ปู ่วยท่ีจะฝกึ ปฏิบัติกอ่ นข้ึนฝกึ ปฏบิ ตั ิ ๓. เตรยี มความพรอ้ มนกั ศึกษาก่อนการขึ้นฝกึ ปฏิบตั ิดังนี้ ๓.๑ ปฐมนิเทศเก่ยี วกบั รายวชิ ากฎระเบียบ แนวปฏบิ ตั ิตา่ งๆ ของแหล่งฝึกก่อนฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน ๓.๒ ให้ความรู้เก่ียวกับความเส่ียงในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา และแนวทางป้องกัน/การ แก้ไขปัญหาความเสยี่ งในการฝึกปฏบิ ตั งิ าน ๓.๓ ให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของการบริการโดยกระตุ้นให้ผู้ป่วยดำเนินการ ตามแนวทาง “SPEAK UP” (องค์กรความปลอดภัยผูป้ ่วยแห่งสหราชอาณาจักร) เพื่อรกั ษาเอกสิทธิ์ (autonomy) ของผู้รบั บริการ ดังนี้ Speak up คือ พูดเมื่อสงสัย ไม่แน่ใจหรือไม่เข้าใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่ได้รับ และรู้สึกไม่ ปลอดภยั โดยไม่ตอ้ งอายหรือกลัวท่จี ะพูด Pay attention คือ การเอาใจใส่การดูแลที่ได้รับและให้แน่ใจว่าได้รับการรักษาพยาบาล และยาท่ี ถูกต้อง ตลอดจนเข้าใจผลขา้ งเคียงหรือความเสย่ี งอื่น ทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ได้ Education คอื เรยี นรู้โรคท่ีไดร้ ับการวินจิ ฉยั สอบถามหากไม่เข้าใจอย่าคิดว่าการไม่ได้รบั ข่าวสารคือ ขา่ วดี Ask คือการขอให้สมาชกิ ในครอบครัวหรอื เพอื่ นทีไ่ วว้ างใจเป็นผ้แู ทนในการดูแลสขุ ภาพ (agency) Know คือ รู้ว่าต้องได้รับยาอะไรเพราะเหตุใด ระบุยาท่ีแพ้หากต้องได้รับสารละลายยาทางหลอด เลือด ให้ถามถึงระยะเวลาท่ีควรได้รับหากพบว่าเร็วหรือช้าเกินต้องแจ้งให้พยาบาล/บุคลากรที่ เกี่ยวขอ้ งทราบ Understand คือ เข้าใจองค์กรที่ใช้บริการว่ามีมาตรฐานความปลอดภัยหรือไม่และมีอุบัติการณ์ ความผิดพลาดหรอื ความประมาทเกิดข้ึนบ่อยเพียงใด Participation คือ มีส่วนร่วมในการตัดสินเก่ียวกับการรักษาท่ีตนได้รับและไม่ต้องกลัวที่จะขอ ความเหน็ จากแพทย์ พยาบาลหากต้องการขอ้ มลู เพอื่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและมน่ั ใจ ๓.๔ ให้ความรู้และสร้างความตระหนกั ในการปฏิบตั ิตามหลกั C๓THER ประกอบดว้ ย - Care คอื การดูแลอย่างเต็มความสามารถด้วยความระมดั ระวงั - Communication คือ การสือ่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ - Continuity คอื ความต่อเนอ่ื งของการดแู ลรกั ษาทั้งใน รพ. และเม่ือกลบั ไปบ้าน - Team คือ ความรว่ มมือระหวา่ งวิชาชีพ - Human Resource Development คือ ความรูแ้ ละทกั ษะของทีมงานทเี่ พียงพอ

๒๙ กิจกรรม/กรณี ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ - Environment & Equipment คือส่ิงแวดล้อมและเคร่ืองมอื ทดี่ แี ละพอเพียง - Record คือ ความสมบูรณ์ของการบนั ทกึ ๔. สร้างความตระหนักในการให้การพยาบาลโดยคำนึงถึงบทบาทหน้าท่ี ขอบเขตความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและสิทธิผู้ป่วย เช่น ห้ามถ่ายภาพผู้รับบริการหรือภาพ ตัวเองขณะปฏิบัตงิ าน และไม่เปิดเผยความลับผู้ปว่ ยเปน็ ต้น ๕. เน้นย้ำการสร้างสมั พันธภาพเชงิ วิชาชีพและการติดตอ่ สื่อสารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๖. เมื่อเกดิ ความเสี่ยง หรืออบุ ตั กิ ารณ์ ให้ปฏิบัตติ ามแนวปฏบิ ตั ขิ องแหลง่ ฝึก ๗. มีการทบทวน/วิเคราะห์ความเส่ียงร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษาและแหล่งฝึกทุกปี เพื่อ ปรบั ปรุงแนวทางการบรหิ ารความเส่ยี งให้มปี ระสิทธิภาพและสอดคลอ้ งกบั สภาวการณใ์ นปัจจุบนั แนวปฏิบัติในการป้องกันการ ๑. ประเมินอาการไข้ อุณหภูมิกายมากกว่าหรือเท่ากับ 37.5 องศาเซลเซียส ร่วมกับอาการระบบ แพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า ทางเดนิ หายใจ (ไอ/เจบ็ คอ/หายใจเหน่อื ย) 2019 ๒. ซักประวัติใกล้ชดิ /สัมผสั ผู้ปว่ ย หรือมาจากพน้ื ทมี่ ีการระบาด ๓. ใหส้ วมหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ๔. ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วย ก่อน-หลังทำหัตถการกับผู้ป่วย หลังการสัมผัสสารคัดหลั่งจาก ผูป้ ่วย หลงั สัมผสั ส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั ผปู้ ว่ ย ๕. แนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดการแพรก่ ระจายเชือ้

๓๐ ภาคผนวก

๓๑ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช รายวิชาปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รุน่ ๑ และ ๒ สำหรบั นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ช้นั ปที ี่ 3 ร่นุ ๓๑ แบบประเมนิ พฤติกรรมคุณธรรม จรยิ ธรรม ชอ่ื ผรู้ ับการประเมิน............................................................................................................................เลขท่ี…………………… สถานทฝี่ ึกปฏบิ ัติ....................................................................................วันท่ีฝึกปฏบิ ตั .ิ ..................................................... คำช้ีแจง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดับการประเมินโดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนนดังนี้ 1 หมายถึง ปฏบิ ัตนิ านๆ ครงั้ (ปฏิบัติมากกวา่ ร้อยละ ๒๐ เมอ่ื ให้การดแู ลผรู้ บั บรกิ าร) 2 หมายถงึ ปฏิบตั ิบางคร้งั (ปฏบิ ัตมิ ากกว่ารอ้ ยละ ๔๐ เม่ือใหก้ ารดแู ลผรู้ บั บรกิ าร) 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิบ่อยครั้ง (ปฏิบตั มิ ากกว่ารอ้ ยละ ๖๐ เมื่อใหก้ ารดแู ลผรู้ ับบริการ) 4 หมายถึง ปฏิบตั เิ กอื บทุกครัง้ หรือทกุ คร้งั (ปฏิบตั ิมากกว่ารอ้ ยละ ๘๐ เม่อื ให้การดแู ลผรู้ บั บรกิ าร) รายการประเมนิ ระดับการประเมิน ๔๓๒๑ LO 1.๒ มจี รรยาบรรณวชิ าชพี (๐.2%) ๑ ให้การพยาบาลบนฐานความรู้ อย่างเต็มความสามารถ 2 ดูแลผรู้ ับบรกิ ารด้วยความเสมอภาค ยุติธรรม 3 ใช้เหตผุ ลในการแก้ปัญหาโดยยดึ หลกั ความถูกตอ้ ง และหลกั ศลี ธรรม คะแนน ............. x ๐.2/1๒ = ............. LO 1.๓ เคารพในคณุ คา่ และศักด์ิศรีของความเปน็ มนษุ ย์ (๐.2%) ๑ ยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื 2 มีปฏิสมั พนั ธ์ทด่ี กี ับเพอื่ นร่วมงานหรือผ้รู บั บริการ คะแนน ............. x ๐.2/๘ = ............. LO 1.๔ ปกป้องสิทธิของผู้รับบริการ (๐.2%) ๑ แนะนำตวั ก่อนการปฏิบตั ิการพยาบาล ๒ รักษาความลบั ของผู้รับบริการ ๓ พิทักษส์ ิทธขิ องผู้รบั บรกิ าร โดยใหข้ อ้ มูลทกุ ครงั้ ท่ีปฏิบตั กิ ารพยาบาล ๔ เปิดโอกาสใหผ้ รู้ บั บรกิ ารและครอบครวั มสี ่วนร่วมในการตดั สินใจ คะแนน ............. x ๐.2/๑๖ = ............. LO 1.๕ มีระเบยี บวินัย รับผดิ ชอบ ซื่อสตั ย์ สุจรติ และมีจิตใฝ่บรกิ าร (๐.2%) ๑ ปฏิบตั ิตามระเบียบของวิทยาลยั ฯและระเบียบขอ้ บังคับของสังคม ๒ รับผดิ ชอบต่อตนเองในการปฏบิ ตั งิ านในวิชาชพี ๓ บันทึกรายงานการปฏบิ ตั ิงานตามความเป็นจริง ๔ มีการอ้างองิ เม่ือนำผลงานผู้อืน่ มาใช้ ๕ กระตอื รือร้นทีจ่ ะช่วยเหลือผู้อ่ืนดว้ ยความเตม็ ใจ คะแนน ............. x ๐.2/๒๐ = ............. LO 1.๖ มที ศั นคตทิ ่ีดตี อ่ ตนเอง ต่อผูอ้ น่ื และวิชาชพี (๐.2%) ๑ ปฏิบัตติ นเหมาะสมตามบทบาทของนกั ศึกษาพยาบาล ๒ ช่ืนชม ยนิ ดี เม่ือบุคคลอนื่ ปฏิบตั สิ งิ่ ทด่ี งี าม ๓ กลา่ วถึงวชิ าชีพพยาบาลในทางทีด่ ี คะแนน ............. x ๐.2/๑๒ = ............. LO 1.๗ มีการดแู ลอย่างเอ้อื อาทรและให้บรกิ ารดว้ ยหัวใจความเปน็ มนษุ ย์ (๑๐%) 1 สอื่ สารกับผรู้ บั บริการด้วยน้ำเสียงสภุ าพ มสี หี น้ายม้ิ แย้ม สบตากบั ผรู้ บั บรกิ าร 2 รับฟังอย่างตง้ั ใจ ใสใ่ จ ๓ เสรมิ สร้างกำลังใจให้ผรู้ ับบรกิ ารและครอบครัว ๔ ดูแลผรู้ บั บริการด้วยความเมตตา กรณุ า

รายการประเมิน ๓๒ ๕ มคี วามมุ่งมั่นตง้ั ใจในการปฏิบัตงิ าน ระดบั การประเมนิ ๖ เปิดโอกาสใหผ้ รู้ ับบรกิ ารมสี ว่ นรว่ มในการตัดสินใจรับบริการ ๔๓๒๑ คะแนน ............. x ๑0 / ๒4 = ............. รวมคะแนน (๘ คะแนน) ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ......................... ........................................ ผ้รู บั การประเมิน ……………….......................................................ผูป้ ระเมิน (................................................................) (......................................................................) วันท่.ี .............เดอื น..........................พ.ศ............... วนั ท.่ี .............เดอื น..........................พ.ศ................

๓๓ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช รายวิชาปฏิบัตกิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ ๑ และ ๒ สำหรบั นักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชั้นปที ี่ 3 รุน่ ๓๑ แบบประเมินการเขียนแผนการพยาบาล ช่อื ผ้รู ับการประเมนิ ............................................................................................................................เลขท…ี่ ………………… สถานท่ฝี ึกปฏิบัติ....................................................................................วนั ทฝ่ี ึกปฏิบัติ...................................................... คำชแี้ จง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั การประเมินโดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดงั น้ี 1 หมายถงึ ไมถ่ กู ต้อง ไมค่ รบถว้ น ไม่ถกู หลักการ 2 หมายถงึ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ถกู หลกั การ เป็นบางส่วน 3 หมายถงึ ถูกต้อง ครบถ้วน ถกู หลกั การ เป็นส่วนใหญ่ 4 หมายถงึ ถูกต้อง ครบถว้ น ถูกหลกั การ ทั้งหมด ระดบั การประเมิน รายการประเมิน ฉบับท่ี ๑ ฉบบั ท่ี ๒ ๔๓๒๑๔๓๒๑ LO ๒.๒ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและระบบสขุ ภาพ (๔%) การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ (Health Assessment) ๑ ข้อมลู พน้ื ฐาน ประวตั กิ ารเจ็บปว่ ยในอดตี และปจั จบุ ัน ๒ ขอ้ มูลการซกั ประวตั ติ ามแบบแผนสุขภาพ ๓ ข้อมลู การตรวจรา่ งกายตามแบบแผนสขุ ภาพ ๔ ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและการตรวจพเิ ศษ ครบถว้ น เป็นปจั จบุ นั และแปลผลได้ ๕ แผนการรักษาครบถ้วน เป็นปจั จบุ นั ๖ รวบรวมขอ้ มลู ได้ครอบคลุมด้านกาย จิต สังคมและจติ วิญญาณ การวินิจฉยั การพยาบาล (Nursing Diagnosis) ๗ ขอ้ วนิ จิ ฉัยการพยาบาล มอี งคป์ ระกอบที่จำแนกความเป็นเหตุและผลซ่งึ กนั และกนั ๘ ขอ้ วนิ ิจฉยั การพยาบาล มีความสอดคล้องกบั ข้อมูลสนับสนนุ ๙ ข้อวนิ จิ ฉยั การพยาบาลมคี วามชดั เจน มองเห็นแนวทางในการปฏบิ ัติการพยาบาล ๑๐ ขอ้ วนิ จิ ฉยั การพยาบาล สามารถปฏิบัตไิ ด้ภายในขอบเขตของวชิ าชพี ๑๑ ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ครอบคลุมปัญหาหรือความต้องการของผู้รับบริการทั้งด้าน รา่ งกาย จิตใจ สงั คม และจิตวิญญาณ การวางแผนการพยาบาล (Nursing Care Plan) ๑๒ การจัดลำดบั ขอ้ วนิ ิจฉยั การพยาบาลตามความสำคญั และความเร่งด่วนของปัญหา ๑๓ การกำหนดวัตถุประสงคไ์ ด้สอดคล้องกับข้อวินจิ ฉยั การพยาบาล ๑๔ การกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลหรือผลลัพธท์ ี่คาดหวังไดส้ อดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ ๑๕ การกำหนดกจิ กรรมการพยาบาลทเี่ หมาะสมกับปญั หาสุขภาพของผรู้ ับบริการและ วตั ถปุ ระสงคข์ องการพยาบาล ๑๖ การกำหนดกจิ กรรมการพยาบาลมีความชัดเจนและนำไปสู่การปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริงโดยไม่ขัดต่อ ความเช่ือ ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๗ การกำหนดกจิ กรรมการพยาบาลมีความปลอดภยั ต่อผรู้ บั บริการ และมีความเปน็ ปัจเจก บุคคลแบบองคร์ วม ๑๘ การใชเ้ หตผุ ลเชงิ วิทยาศาสตร์ประกอบการวางแผนการพยาบาล ๑๙ ใชผ้ ลการประเมินไปปรับปรงุ การวางแผนการพยาบาล

๓๔ ระดบั การประเมนิ รายการประเมนิ ฉบับที่ ๑ ฉบบั ที่ ๒ ๔๓๒๑๔๓๒๑ การประเมินผลการพยาบาล ๒๐ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินผลทต่ี งั้ ไว้ 2๑ ประเมินผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ตามวัตถุประสงคท์ ่ีกำหนด ๒๒ ประเมนิ ผลการปฏิบัติการพยาบาล ตามความเปน็ จริงอยา่ งถูกต้อง คะแนน ............. x 4 / ๘๘ = ............. LO ๓.๔ สามารถคดิ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบโดยใชอ้ งคค์ วามรู้ทางวชิ าชีพและท่เี กีย่ วขอ้ ง รวมทั้งใชป้ ระสบการณเ์ ป็นฐาน เพ่อื ให้ เกดิ ผลลัพธท์ ่ปี ลอดภัยและมคี ุณภาพในการใหบ้ ริการการพยาบาล (๓%) ๑ เขียนพยาธิสรีรภาพได้ถูกต้อง ครบถว้ น ๒ วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบพยาธิสรีภาพกับกรณศี ึกษาไดถ้ กู ตอ้ ง ๓ วเิ คราะห์เปรียบเทียบผลการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารและการตรวจพิเศษกับกรณีศึกษาได้ ถกู ต้อง คะแนน ............. x 3 / ๑๒ = ............. LO ๓.5 สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางวิจยั และนวตกรรมทเ่ี หมาะสมในการแกไ้ ขปัญหา (๒%) ๑ รวบรวมขอ้ มูล หลกั ฐานเชิงประจักษม์ าใช้ในการงางแผนการพยาบาล ๒ นำนวัตกรรม หรือวจิ ัยมาใชแ้ กป้ ัญหาสุขภาพ คะแนน ............. x 2 /8 = ............. LO ๕.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในการสื่อสารได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (๑%) ๑ ใช้ภาษาไทยในการเขยี นถูกตอ้ ง เหมาะสม ๒ ใชภ้ าษาองั กฤษในการเขียน ถูกตอ้ ง เหมาะสม ๓ รายงานสะอาดเรยี บร้อย เปน็ ระเบียบ คะแนน ............. x ๑ /๑๒ = ............. รวมคะแนน (ฉบบั ละ 10 คะแนน) ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ......................... ........................................ ผูร้ บั การประเมิน ……………….......................................................ผปู้ ระเมิน (................................................................) (......................................................................) วันท่ี..............เดือน..........................พ.ศ............... วันที่..............เดือน..........................พ.ศ................

๓๕ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช รายวชิ าปฏบิ ัติการพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น ๑ และ ๒ สำหรบั นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชนั้ ปที ี่ 3 รนุ่ ๓๑ แบบประเมินทักษะการปฏิบัติทางวิชาชพี ช่ือผูร้ บั การประเมิน............................................................................................................................เลขท…่ี ………………… สถานที่ฝึกปฏิบัติ....................................................................................วนั ท่ีฝึกปฏบิ ัติ...................................................... คำช้ีแจง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั การประเมินโดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี 1 หมายถงึ ปฏิบตั ินานๆครั้ง (ปฏบิ ตั ิมากกวา่ ร้อยละ ๒๐ เมื่อใหก้ ารดแู ลผรู้ บั บรกิ าร) 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิบางครั้ง (ปฏบิ ัตมิ ากกว่ารอ้ ยละ ๔๐ เม่อื ให้การดแู ลผรู้ บั บริการ) 3 หมายถึง ปฏิบัติบอ่ ยครัง้ (ปฏิบตั ิมากกว่ารอ้ ยละ ๖๐ เมอ่ื ใหก้ ารดแู ลผรู้ ับบรกิ าร) 4 หมายถึง ปฏิบัตเิ กือบทกุ คร้งั หรือทกุ คร้งั (ปฏบิ ัตมิ ากกว่ารอ้ ยละ ๘๐ เม่อื ใหก้ ารดแู ลผรู้ ับบริการ) รายการประเมนิ ระดบั การประเมนิ ๔๓๒๑ LO ๖.๑ สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล ได้อย่างเป็นองค์รวมด้วยความเมตตา กรุณา และเอื้ออาทร โดยยึดม่นั ในคณุ ธรรม จริยธรรม กฎหมาย และสิทธขิ องผปู้ ว่ ย โดยมงุ่ เนน้ การมีสว่ นร่วมของผรู้ บั บรกิ าร ๑ ประเมินสภาพผู้รับบริการครอบคลุมแบบองค์รวมและตอ่ เนอื่ ง ๒ สามารถนำขอ้ มลู มาวเิ คราะหแ์ ละกำหนดข้อวนิ จิ ฉัยทางการพยาบาลอยา่ งครอบคลุมปัญหา 3 สามารถการวางแผนการพยาบาลและปรับเปลยี่ นตามการเปลย่ี นแปลงของผู้รบั บริการ 4 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลถกู ต้องตามหลกั การพยาบาล 5 ปฏิบตั ิกิจกรรมไดบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงคอ์ ย่างมคี ุณภาพ 6 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยยึดหลกั ปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชอ้ื 7 ดูแลผรู้ ับบรกิ ารครอบคลมุ ทง้ั รา่ งกาย จติ ใจ จิตสังคมและจติ วญิ ญาณ 8 แสดงทา่ ทีเปน็ มติ รและเตม็ ใจให้บรกิ ารอยา่ งสมำ่ เสมอ ๙ จดั สง่ิ แวดล้อมผรู้ บั บริการให้เกดิ ความปลอดภยั คะแนน ............. x ๔๐/ ๓๖ = ............. LO ๖.๒ ปฏบิ ัติการพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ หลักฐานเชิงประจกั ษ์ภายใตก้ ฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑ นำผลการวจิ ัย นวตกรรมหรือแนวปฏบิ ตั ิตา่ งๆที่มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มาใชใ้ นการปฏบิ ัติทกั ษะการ พยาบาล ๒ ประเมนิ ผลทางการพยาบาลตามความเปน็ จริงอย่างถูกตอ้ ง ๓ บันทกึ กจิ กรรมการพยาบาลตามสภาพปัญหาของผปู้ ่วยและความเปน็ จรงิ ๔ เขียนบนั ทกึ ทางการพยาบาลถูกตอ้ งตามรูปแบบคำนึงถึงหลักฐานทางกฎหมาย 5 ใช้เคร่อื งมอื เคร่ืองใชแ้ ละเวชภณั ฑต์ ามความจำเปน็ 6 ใชอ้ ุปกรณ์ทางการแพทยไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง คะแนน ............. x ๑๒/ 24 = ............. LO ๖.๓ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล โดยคำนึงถึงสิทธมิ นุษยชน หลักจริยธรรม ผสมผสานภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ๑ แสดงออกถึงความห่วงใย ดูแลเอาใจใสผ่ ใู้ ชบ้ ริการอย่างสมำ่ เสมอ 2 ใช้คำพูดทเี่ สริมสรา้ งความหวงั มีกำลังใจ ด้วยน้ำเสียงสภุ าพ นมุ่ นวล เปน็ มิตร คะแนน .............x ๑๐ /๘ = ............. LO ๔.๓ แสดงความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง หน้าที่ วิชาชีพ องค์กรและสงั คม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ตอ่ ผู้รับบริการ (๑%) ๑ ปฏบิ ัติตนตามขอ้ ตกลงร่วมกันในการทำงาน ๒ ปรบั ปรุงและพัฒนางานท่ีรับผดิ ชอบ อยา่ งตอ่ เน่ือง ๓ ปฏิบตั ิงานจนสำเร็จตามเวลาที่กำหนด คะแนน ............. x ๑ / ๑๒ = .............

๓๖ รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ ๔๓๒๑ LO 4.4 มีปฏิสมั พนั ธ์อยา่ งสรา้ งสรรคก์ บั ผู้รบั บริการ ผรู้ ว่ มงานและผูเ้ กีย่ วขอ้ ง 1 ใชค้ ำพดู และทา่ ทางทเี่ หมาะสม 2 รบั ฟังขอ้ คดิ เห็น คำวจิ ารณ์และคำแนะนำ 3 รบั ฟังปัญหาและกระตือรือร้นที่จะชว่ ยเหลอื คะแนน ............. x ๑ / ๑๒ = ............. LO 4.5 สามารถแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเป็นเหตผุ ลและเคารพในความคิดของผู้อืน่ 1 ให้ความคิดเหน็ เชิงพฒั นา 2 ให้ข้อคดิ เหน็ โดยมขี อ้ มลู ด้วยหลกั ฐานเชิงประจักษ์ 3 เคารพความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ คะแนน ............. x ๑ / ๑๒ = ............. รวมคะแนน (๖๕ คะแนน) ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................... ผรู้ บั การประเมิน ……………….......................................................ผู้ประเมิน (................................................................) (......................................................................) วันท่.ี .............เดือน..........................พ.ศ............... วนั ที่..............เดอื น..........................พ.ศ.........

๓๗ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช รายวชิ าปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ ๑ สำหรบั นักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชั้นปที ี่ ๓ รุ่น ๓๑ แบบประเมินการจดั กิจกรรมการเลน่ (รายกลุม่ ) ชอื่ ผู้รับการประเมนิ ............................................................................................................................เลขท…่ี ………………… สถานที่ฝกึ ปฏบิ ัติ....................................................................................วันทฝี่ ึกปฏบิ ตั ิ...................................................... คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดับการประเมินโดยมเี กณฑ์การให้คะแนนดังนี้ 1 หมายถึง ปฏบิ ัตินานๆ ครง้ั (ปฏบิ ัติมากกว่าร้อยละ ๒๐ เม่ือใหก้ ารดูแลผรู้ บั บรกิ าร) 2 หมายถึง ปฏิบัติบางคร้งั (ปฏิบัติมากกว่าร้อยละ ๔๐ เมือ่ ให้การดแู ลผรู้ ับบรกิ าร) 3 หมายถึง ปฏบิ ตั ิบอ่ ยคร้ัง (ปฏบิ ัตมิ ากกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ เมื่อใหก้ ารดูแลผรู้ บั บริการ) 4 หมายถึง ปฏิบัตเิ กือบทุกครงั้ หรอื ทกุ คร้ัง (ปฏบิ ตั มิ ากกว่าร้อยละ ๘๐ เม่อื ใหก้ ารดูแลผรู้ บั บริการ) รายการประเมนิ ระดบั การประเมิน ๔๓๒๑ LO 1.5 มีระเบียบ วนิ ัย รบั ผิดชอบ ซื่อสัตย์ สจุ รติ และมจี ติ ใฝบ่ รกิ าร 1 วางแผนดำเนนิ งานเปน็ ขน้ั ตอน 2 การแบง่ หน้าทช่ี ดั เจน เหมาะสม 3 การสง่ แผนการเลน่ ตามกำหนดเวลา 4 แก้ปญั หาเฉพาะหน้าได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ คะแนน ๐.๕ x ...................../ 16 = ………………… LO 2.2 มีความรู้และความเขา้ ใจในสาระสำคัญของศาสตรท์ างวิชาชพี การพยาบาล 1 แบ่งกลมุ่ ตามวยั /ระยะพัฒนาการ/ตามโรคหรือปญั หาสขุ ภาพ ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม 2 กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ชัดแจนและเหมาะสม 3 กำหนดกิจกรรมครอบคลมุ ช่ือการเล่น วิธกี ารเลน่ อุปกรณ์ ระยะเวลาทีจ่ ัดการเล่น และ สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ 4 กำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ผลถูกตอ้ งชัดเจน และวัดได้ ๕ จัดกจิ กรรมตามแผน (วธิ ีการเล่น อุปกรณ์ ระยะเวลาที่จัดการเล่น) ๖ ปรับเปลย่ี นแผนการเลน่ ตามความเหมาะสม ๗ การจดั เตรียม และเก็บอปุ กรณ์ สถานท่ี คะแนน ๒ x……………………./๒๘ = …………………… LO 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 1 การประเมินผลถกู ต้อง ครบถ้วน 2 ประเมนิ ผลสอดคลอ้ งตามวตั ถปุ ระสงค์ ตรงตามความเป็นจริง คะแนน ๑ x………………………. /8 = …………………… LO 6.1 สามารถใชก้ ระบวนการพยาบาลในการปฏิบตั กิ ารพยาบาล ได้อยา่ งเป็นองคร์ วมด้วยความเมตตา กรณุ า และเอ้ืออาทร โดยยึดม่นั ในคุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย และสิทธขิ องผปู้ ว่ ย โดยม่งุ เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของผ้รู บั บรกิ าร 1 ประเมนิ สภาพผู้รับบริการครอบคลมุ แบบองค์รวมและต่อเน่ือง 2 สามารถนำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์และกำหนดกิจกรรมการเลน่ 3 สามารถวางแผนและปรับเปล่ียนตามการเปล่ียนแปลงของผ้รู ับบริการ 4 ปฏบิ ัติกจิ กรรมการเล่นไดบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ๕ ดูแลผรู้ บั บริการครอบคลมุ ท้ังรา่ งกาย จิตใจ จติ สังคมและจิตวญิ ญาณ ๖ แสดงทา่ ทีเปน็ มติ รและเต็มใจใหบ้ รกิ ารอยา่ งสม่ำเสมอ คะแนน ๑ x ……………………../๒๔ = ………………….

๓๘ รายการประเมิน ระดับการประเมิน ๔๓๒๑ LO 6.๓ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล โดยคำนงึ สิทธมิ นุษยชน หลักจรยิ ธรรม ผสมผสานภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และความหลากหลายทางวฒั นธรรม 1 จัดกิจกรรมการเลน่ โดยเคารพในความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 2 เปดิ โอกาสใหผ้ รู้ ับบริการแสดงพฤติกรรม คะแนน ๐.๕x ……………………../๘ = ………………………… ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................... ผ้รู บั การประเมนิ ……………….......................................................ผปู้ ระเมนิ (................................................................) (......................................................................) วนั ที่..............เดอื น..........................พ.ศ............... วนั ท่ี..............เดือน..........................พ.ศ.....

๓๙ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช รายวิชา ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 สำหรบั นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้นั ปที ่ี 3 รนุ่ ๓๑ แบบประเมินการประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล บทบาทผูน้ ำอภปิ ราย ชื่อผู้รับการประเมนิ .......................................................................................................................... เลขที่…………………… สถานทีฝ่ ึกปฏบิ ัต.ิ ...............................................................................วันทฝ่ี ึกปฏิบัติ........................................................... คำช้ีแจง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งระดับการประเมินโดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ 1 หมายถงึ ต้องปรบั ปรุงการปฏิบตั ิ 2 หมายถงึ ปฏิบัตไิ ดพ้ อใช้ 3 หมายถึง ปฏบิ ตั ไิ ด้ดี 4 หมายถงึ ปฏิบัติได้ดมี าก รายการประเมิน ระดับการประเมิน 1234 LO 3.4 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ โดยใชอ้ งค์ความรู้ทางวิชาชพี และท่ีเกี่ยวขอ้ ง รวมทัง้ ใช้ประสบการณเ์ ป็นฐาน เพื่อให้ เกดิ ผลลพั ธท์ ่ีปลอดภยั และมคี ุณภาพในการให้บริการการพยาบาล (๒ %) 1. การเลอื กกรณีศกึ ษานา่ สนใจ และมเี หตผุ ลในการเลือก 2. เตรยี มข้อมลู ได้อย่างถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ภายในเวลาที่กำหนด 3. อธบิ ายเหตุผลเช่ือมโยงทฤษฎกี บั กรณศี ึกษา 4. ระบปุ ญั หาและสาเหตุจากขอ้ มลู กรณศี ึกษา 5. แสดงความคดิ เหน็ โดยใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจในความรพู้ น้ื ฐานของศาสตร์วชิ าชพี พยาบาลและศาสตรท์ ี่ เกยี่ วข้อง 6. ร่วมแสดงความคดิ เห็น มหี ลักการ แหลง่ อา้ งอิงน่าเชื่อถือและทนั สมัย/มีวิจยั หรอื นวัตกรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ งมา อภปิ ราย 7. สรปุ ประเดน็ ปญั หาได้ชดั เจน ครบถว้ น ถูกตอ้ งตรงประเด็น 8. บริหารการประชมุ ให้อยู่ในประเดน็ และใช้เวลาอย่างเหมาะสม คะแนน ๑.๕ x …………../ 32 = ………………… LO 5.3 สือ่ สารภาษาไทยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพทง้ั การพดู การฟัง การอ่าน การเขียน และการนำเสนอ รวมท้ังสามารถอา่ นวารสาร และตำราภาษาองั กฤษอย่างเขา้ ใจ (๐.๕ %) 1. จับประเด็นคำถาม ตอบขอ้ ซกั ถามไดถ้ ูกต้อง 2. ใช้คำพดู ถา่ ยทอดเน้อื หาได้เขา้ ใจง่าย 3. ใชภ้ าษาในการนำเสนอได้ถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ คะแนน ๐.๕ x …………../ 12 = ………………… รวมคะแนน ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ..................... .............................. ผู้รับการประเมิน ……………….......................................................ผู้ประเมิน (......................................................................) (......................................................................) วันท่.ี .............เดอื น..........................พ.ศ............... วนั ท่ี..............เดือน..........................พ.ศ................

๔๐ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช รายวชิ า ปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ ๑ สำหรับนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตช้นั ปที ่ี 3 รุ่น ๓๑ แบบประเมนิ การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล บทบาทผู้ร่วมอภิปราย ช่ือผ้รู ับการประเมิน................................................................................................................................ เลขท่ี……………… สถานท่ฝี กึ ปฏิบัต.ิ .................................................................................วนั ท่ีฝึกปฏิบตั .ิ ....................................................... คำชีแ้ จง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั การประเมนิ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนนดงั นี้ 1 หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิ 2 หมายถงึ ปฏบิ ัติได้พอใช้ 3 หมายถงึ ปฏบิ ตั ไิ ดด้ ี 4 หมายถึง ปฏิบัติไดด้ มี าก รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ 1234 LO 3.4 สามารถคิดวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ โดยใช้องคค์ วามรู้ทางวชิ าชีพและทีเ่ ก่ียวขอ้ ง รวมท้งั ใช้ประสบการณ์เป็นฐาน เพอ่ื ให้ เกดิ ผลลัพธ์ทป่ี ลอดภัยและมคี ณุ ภาพในการให้บริการการพยาบาล (๒ %) 1. มกี ารเตรียมตวั เขา้ ร่วมประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล 2. อธิบายเหตุผลเชอื่ มโยงทฤษฎกี บั กรณีศกึ ษาได้ 3. ระบปุ ญั หาและสาเหตุจากข้อมลู จากกรณีศกึ ษาได้ 4. แสดงความคิดเห็นโดยใช้ความรู้ ความเข้าใจ ในความรู้พ้ืนฐานของศาสตรว์ ิชาชพี พยาบาลและศาสตร์อื่นท่ี เก่ยี วขอ้ งได้ 5. ร่วมแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมหี ลักการ อ้างองิ จากแหลง่ อา้ งอิงทน่ี า่ เชอ่ื ถอื และทนั สมยั 6. ร่วมอภปิ ราย ซักถาม และแสดงความคิดเหน็ อย่างสมำ่ เสมอ 7. สรปุ สาระความรู้จากการอภปิ รายได้ คะแนน ๑.๕ x …………../ 28 = ………………… LO 5.3 สื่อสารภาษาไทยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั การพดู การฟงั การอ่าน การเขียน และการนำเสนอ รวมทั้ง สามารถอา่ นวารสาร และตำราภาษาองั กฤษอยา่ งเข้าใจ (๐.๕ %) 1. ใชค้ ำพูด ถ่ายทอดเนอ้ื หาได้เขา้ ใจง่าย 2. ใช้ภาษาในการนำเสนอไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ 3. มีสมาธิ ต้ังใจฟงั และยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ื่น คะแนน ๐.๕ x …………../ 12 = ………………… รวม ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ..................... .............................. ผู้รบั การประเมิน ……………….......................................................ผู้ประเมิน (......................................................................) (......................................................................) วนั ที.่ .............เดอื น..........................พ.ศ............... วนั ท่ี..............เดอื น..........................พ.ศ................

๔๑ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช รายวชิ าปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุน่ ๒ สำหรับนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชน้ั ปีท่ี ๓ รุ่น ๓๑ แบบประเมนิ การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล (บทบาทผ้นู ำอภปิ ราย) ชอื่ ผรู้ บั การประเมิน............................................................................................................................เลขท…่ี ………………… สถานทฝ่ี กึ ปฏิบัติ.....................................................................................วันที่ฝกึ ปฏบิ ตั ิ...................................................... คำชีแ้ จง โปรดทำเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งระดับการประเมินโดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้ 1 หมายถงึ ตอ้ งปรับปรุงการปฏิบัติ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิได้พอใช้ 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิไดด้ ี 4 หมายถึง ปฏบิ ัตไิ ดด้ มี าก รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ ๔๓๒๑ LO ๒.๒ มีความรูแ้ ละความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ทางวิชาชพี การพยาบาล ระบบสุขภาพ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการ เปล่ยี นแปลงของสังคมและระบบสขุ ภาพ (๑%) 1 บอกขอ้ มูลสนบั สนนุ จากการประเมินภาวะสุขภาพของกรณศี ึกษาได้ 2 ต้งั ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลได้ถกู ตอ้ ง 3 วางแผนการพยาบาลไดถ้ ูกตอ้ ง 4 ประเมนิ ผลทางการพยาบาลได้ถูกตอ้ ง คะแนน ............. x ๑ / ๑๖ = ............. LO ๓.๔ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและที่เก่ียวข้องรวมทั้งใช้ประสบการณ์เป็นฐาน เพอื่ ให้เกดิ ผลลพั ธท์ ่ปี ลอดภัยและมคี ณุ ภาพในการใหบ้ ริการการพยาบาล (๐.๕%) 1 แสดงความคิดเหน็ โดยใชค้ วามรู้ของศาสตร์วิชาชีพการพยาบาล 2 วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บพยาธสิ รีภาพกบั กรณีศกึ ษาไดถ้ กู ต้อง 3 นำงานวจิ ัยหรือนวตกรรมทางการพยาบาลท่ีสอดคลอ้ งกบั กรณศี ึกษามาใช้ในการอภิปราย คะแนน .............x ๐.๕ / ๑๒ = ............. LO ๕.๓ สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาองั กฤษในการสื่อสารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (๐.๕%) 1 ใช้ภาษาไทยการนำเสนอไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ 2 ใชภ้ าษาภาษาองั กฤษในการนำเสนอได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ 3 จับประเด็นในการตอบคำถามได้ คะแนน ............. x ๐.๕ / ๑๒ = ............. คะแนน (๒ คะแนน) ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................... ผู้รบั การประเมนิ ……………….......................................................ผปู้ ระเมิน (................................................................) (......................................................................) วนั ที่..............เดอื น..........................พ.ศ............... วนั ท.่ี .............เดือน..........................พ.ศ................

๔๒ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช รายวิชาปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ ๒ สำหรับนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชัน้ ปที ่ี ๓ รุ่น ๓๑ แบบประเมนิ การประชุมปรกึ ษาทางการพยาบาล (บทบาทผ้รู ่วมอภปิ ราย) ช่ือผู้รับการประเมิน............................................................................................................................เลขท…่ี ………………… สถานท่ฝี กึ ปฏิบัต.ิ ....................................................................................วนั ที่ฝึกปฏบิ ตั .ิ ..................................................... คำชี้แจง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งระดบั การประเมินโดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ 1 หมายถึง ต้องปรับปรงุ การปฏบิ ัติ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิได้พอใช้ 3 หมายถึง ปฏิบัติไดด้ ี 4 หมายถึง ปฏิบตั ไิ ดด้ มี าก รายการประเมนิ ระดับการประเมนิ ๔๓๒๑ LO ๒.๒ มีความร้แู ละความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ และปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การ เปลย่ี นแปลงของสงั คมและระบบสุขภาพ (๑%) 1 บอกข้อมูลสนับสนนุ จากการประเมนิ ภาวะสุขภาพของกรณศี กึ ษาได้ 2 ตั้งขอ้ วินิจฉยั ทางการพยาบาลไดถ้ กู ตอ้ ง 3 วางแผนการพยาบาลไดถ้ ูกต้อง 4 ประเมินผลทางการพยาบาลได้ถูกต้อง คะแนน ............. x ๑ / ๑๖ = ............. LO ๓.๔ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและที่เกี่ยวข้องรวมท้ังใช้ประสบการณ์เป็นฐาน เพ่ือให้เกดิ ผลลัพธ์ทปี่ ลอดภัยและมีคุณภาพในการใหบ้ ริการการพยาบาล (๐.๕%) 1 แสดงความคดิ เห็นโดยใช้ความรู้ของศาสตรว์ ิชาชีพการพยาบาล 2 วิเคราะห์เปรียบเทียบพยาธสิ รีภาพกบั กรณศี กึ ษาได้ถูกต้อง 3 นำงานวิจยั หรือนวตกรรมทางการพยาบาลท่ีสอดคลอ้ งกบั กรณีศึกษามาใชใ้ นการอภปิ ราย คะแนน .............x ๐.๕ / ๑๒ = ............. LO ๕.๓ สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (๐.๕%) 1 ใช้ภาษาไทยการนำเสนอได้ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ 2 ใชภ้ าษาภาษาอังกฤษในการนำเสนอได้ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ 3 จบั ประเดน็ ในการตอบคำถามได้ คะแนน ............. x ๐.๕ / ๑๒ = ............. คะแนน (๒ คะแนน) ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................... ผู้รบั การประเมนิ ……………….......................................................ผู้ประเมิน (................................................................) (......................................................................) วันท.่ี .............เดือน..........................พ.ศ............... วันที่..............เดือน..........................พ.ศ................

๔๓ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเดก็ และวยั รุน่ ๒ สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตช้ันปีท่ี ๓ รุ่น ๓๑ แบบประเมนิ รายงานกรณศี ึกษา ชื่อผู้รับการประเมนิ ............................................................................................................................เลขท่ี…………………… สถานทีฝ่ กึ ปฏิบตั ิ....................................................................................วนั ทีฝ่ กึ ปฏิบัติ...................................................... คำช้ีแจง โปรดทำเครอื่ งหมาย  ลงในช่องระดบั การประเมนิ โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี 1 หมายถึง ไมถ่ ูกตอ้ ง ไมค่ รบถ้วน ไม่ถูกหลกั การ 2 หมายถึง ถูกต้อง ครบถว้ น ถกู หลกั การ เปน็ บางสว่ น 3 หมายถึง ถูกตอ้ ง ครบถว้ น ถกู หลกั การ เป็นส่วนใหญ่ 4 หมายถงึ ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ถูกหลักการ ทั้งหมด รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ ๔๓๒๑ LO ๒.๒ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ทางวชิ าชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ และปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ การ เปลี่ยนแปลงของสงั คมและระบบสขุ ภาพ (๓%) การประเมนิ ภาวะสุขภาพ (Health Assessment) ๑ อาการสำคัญ ๒ ประวัตกิ ารเจ็บปว่ ยในอดีตและปจั จบุ ัน ๓ ข้อมลู การซักประวัตติ ามแบบแผนสุขภาพ ๔ ขอ้ มูลการตรวจร่างกายตามแบบแผนสขุ ภาพ ๕ ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการและการตรวจพิเศษ ครบถว้ น เป็นปจั จบุ ัน และแปลผลได้ ๖ แผนการรกั ษาครบถ้วน เปน็ ปัจจบุ ัน ๗ รวบรวมขอ้ มลู ได้ครอบคลุมด้านกาย จติ สงั คมและจติ วญิ ญาณ การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis) ๘ ขอ้ วนิ จิ ฉัยการพยาบาล มอี งค์ประกอบทีจ่ ำแนกความเป็นเหตุและผลซึ่งกันและกนั ๙ ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล มคี วามสอดคล้องกบั ข้อมูลสนบั สนุน ๑๐ ขอ้ วินจิ ฉัยการพยาบาลมคี วามชัดเจน มองเห็นแนวทางในการปฏบิ ัติการพยาบาล ๑๑ ข้อวินจิ ฉัยการพยาบาล สามารถปฏิบัติไดภ้ ายในขอบเขตของวิชาชีพ ๑๒ ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ครอบคลุมปัญหาหรือความต้องการของผู้ใช้บริการท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจติ วญิ ญาณ การวางแผนการพยาบาล (Nursing Care Plan) ๑๓ การจัดลำดับขอ้ วนิ จิ ฉยั การพยาบาลตามความสำคัญและความเรง่ ดว่ นของปัญหา ๑๔ การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ไดส้ อดคลอ้ งกบั ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ๑๕ การกำหนดเกณฑก์ ารประเมินผลหรอื ผลลัพธท์ ี่คาดหวังได้สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ ๑๖ การกำหนดกจิ กรรมการพยาบาลท่ีเหมาะสมกับปญั หาสขุ ภาพของผ้รู บั บริการและ วัตถุประสงค์ของการพยาบาล ๑๗ การกำหนดกิจกรรมการพยาบาลมคี วามชัดเจนและนำไปสู่การปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริงโดยไม่ขดั ตอ่ ความเช่ือ ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๘ การกำหนดกจิ กรรมการพยาบาลมีความปลอดภัยตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร และมีความเปน็ ปจั เจก บคุ คลแบบองคร์ วม ๑๙ การใช้เหตผุ ลเชิงวิทยาศาสตร์ประกอบการวางแผนการพยาบาล ๒๐ ใชผ้ ลการประเมินไปปรบั ปรงุ การวางแผนการพยาบาล

๔๔ รายการประเมนิ ระดบั การประเมิน ๔๓๒๑ การประเมนิ ผลการพยาบาล ๒๑ ประเมนิ ผลการปฏิบัติการพยาบาล เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินผลทีต่ ง้ั ไว้ ๒๒ ประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ ารพยาบาล ตามวตั ถปุ ระสงค์ทก่ี ำหนด ๒๓ ประเมินผลการปฏิบตั ิการพยาบาล ตามความเปน็ จรงิ อย่างถกู ตอ้ ง คะแนน .............x ๓/ ๙๒ = ............. LO ๓.๔ สามารถคิดวิเคราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบ โดยใชอ้ งคค์ วามรู้ทางวชิ าชพี และทเี่ กี่ยวขอ้ ง รวมท้ังใชป้ ระสบการณ์เป็นฐาน เพ่ือให้เกดิ ผลลพั ธ์ทปี่ ลอดภยั และมคี ณุ ภาพ ในการให้บรกิ ารการพยาบาล (๐.๕%) ๑ สรุปอาการและอาการแสดง รวมทั้งการรักษาและการพยาบาลที่ได้รับแต่ละวันได้ถูกต้อง ครบถว้ น ๒ เขียนพยาธสิ รรี ภาพได้ถูกต้อง ครบถว้ น ๓ วิเคราะห์เปรียบเทยี บพยาธิสรีภาพกบั กรณศี ึกษาไดถ้ ูกต้อง 4 วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษกับกรณีศึกษาได้ ถูกตอ้ ง คะแนน ............. x ๐.๕/ ๑๖ = ............. LO ๓.๕ สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ างการวจิ ัยและนวัตกรรมท่ีเหมาะสมในการแกไ้ ขปญั หา (๐.๕%) ๑ มีการนำงานวิจัยหรือนวตกรรมทางการพยาบาลที่สอดคล้องกับกรณีศึกษามาใช้ในการ อภิปราย ๒ สรปุ ผลจากกรณศี กึ ษาไดถ้ กู ตอ้ ง คะแนน ............. x ๐.๕ / ๘ = ............. LO ๕.๓ สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาองั กฤษในการส่อื สารได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (๑ %) ๑ ใช้ภาษาไทยในการเขยี นถกู ตอ้ ง เหมาะสม ๒ ใชภ้ าษาองั กฤษในการเขียน ถกู ต้อง เหมาะสม ๓ รายงานสะอาดเรยี บรอ้ ย เปน็ ระเบียบ คะแนน ............. x ๑ / ๑๒ = ............. รวมคะแนน (๕ คะแนน) ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ................................................................... ผู้รับการประเมิน ……………….......................................................ผปู้ ระเมิน (................................................................) (........................................................................) วนั ท.่ี .............เดือน..........................พ.ศ............... วนั ท.ี่ .............เดอื น..........................พ.ศ.........

๔๕ แนวทางการเขียนรายงานกรณศี ึกษา การเขียนรายงานกรณีศึกษา นักศึกษาต้องศึกษาเนื้อหาสาระจากผู้ป่วย เอกสารและตำราที่เก่ียวข้อง แล้วนำมา ประมวลสรุปเขียนเปน็ รายงานกรณศี ึกษา ดังหวั ข้อตอ่ ไปน้ี 1. ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ข้อมูลผู้ป่วย ระบุชื่อ - สกุล เพศ สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา ท่ีอยู่ วันที่รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล วันทร่ี ับผู้ปว่ ยไว้ในความดูแล ๒. ประวัติการเจ็บปว่ ยของผู้รบั บริการ ๒.1 อาการสำคญั ทม่ี าโรงพยาบาล เป็นข้อความส้ัน ๆ ท่ีระบุสาเหตุหรืออาการสำคัญ 1 - 2 อาการที่ผู้รับบริการต้องมารับการรักษาและ ระยะเวลาท่ีมีอาการ เช่น มีไข้ ไอมา 10 วัน ไม่พูดมา 1 สัปดาห์ ในกรณีที่ผู้รับบริการส่งต่อมาจากโรงพยาบาลอื่นให้ระบุ สาเหตุของการส่งต่อให้ชัดเจน ๒.2 ประวตั ิการเจบ็ ปว่ ยในปจั จุบัน รายละเอียดเกี่ยวกับ สุขภาพทั่วไปก่อนเจ็บป่วย วันท่ีเริ่มป่วย อาการเร่ิมแรก การดำเนินโรค อาการและ อาการแสดงในปัจจุบนั ปจั จัยชักนำ ความบอ่ ยของการเกิดอาการ ตำแหนง่ ชว่ งเวลาการเปล่ียนแปลงของอาการ การเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลท่ีเคยไดร้ บั และกำลงั ได้รบั และการเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคอน่ื ทยี่ งั ต่อเนือ่ งถงึ ปัจจบุ ัน ระบุสภาพผู้ป่วยดว้ ยว่าไดท้ ำ การแก้ไขปัญหาอะไรไปบา้ ง ผลเป็นอย่างไร และบอกระยะเวลาโดยเรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ เช่น 3 เดือนกอ่ น เป็นต้น ๒.3 ประวัตกิ ารเจบ็ ป่วยในอดตี ประวัติที่การเจ็บป่วยอื่น ๆ ท่ีไม่ได้ป่วยในปัจจุบัน เป็นการทบทวนภูมิหลังของการเจ็บป่วย การรักษาและการ พยาบาลทไ่ี ดร้ บั ในอดีตท่ไี มเ่ กยี่ วข้องกับการเจบ็ ปว่ ยในครงั้ นี้ - ประวัตกิ ารคลอด ตงั้ แตป่ ระวัตกิ ารตงั้ ครรภ์ของมารดา ประวัติการคลอด การแทง้ วิธกี ารคลอด ปัญหาทีเ่ กดิ ระหวา่ ง ต้ังครรภ์ การคลอด อาการแรกคลอด เช่นตัวเขียว ไม่ร้อง ไม่หายใจ เป็นต้น การดูแลรักษา เช่น เคยอบในตู้ เคยสง่ ไฟ อยโู่ รงพยาบาล นานกว่ี นั - การเลี้ยงดู การได้รบั นม อาหารและอาหารเสริมตามวยั - การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการคร่าวๆ - การได้รบั ภูมคิ มุ้ กนั - ความเจบ็ ปว่ ยทีร่ ุนแรง ได้รบั การดูแลอยา่ งไร - ลักษณะนิสัยส่วนตัว พฤติกรรมท่ีเห็นชัด มีความผิดปกติหรือไม่ เชน่ กัดเล็บ แยกตวั ติดหมอน ปสั สาวะรดท่ีนอน เป็นต้น กิจวตั รประจำวันนท่ที ำ พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกเม่อื พอใจหรือไม่พอใจ ๒.๔. ประวัตกิ ารเจบ็ ป่วยของครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยของครอบครัว หมายถึง การเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัวและเครือญาติ เพ่ือดูการ เจ็บปว่ ยทางพันธุกรรม โรคติดตอ่ ภาวะสุขภาพ และการรักษา ๒.๕. การประเมนิ ผู้รบั บรกิ ารตามแบบแผนสขุ ภาพ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล ความต้องการพ้ืนฐานปกติของผู้ป่วย เป็นการประเมินเก่ียวกับสุขภาพ กาย จิต สังคม อารมณ์ และจติ วญิ ญาณของผปู้ ว่ ย ทงั้ ภาวะปกตแิ ละการเปลย่ี นแปลง/ปรบั เปล่ียนขณะเจบ็ ปว่ ย โดยใชก้ รอบแนวคิดแบบแผน สุขภาพ (Functional Health Pattern) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลอาจได้จากการซัก ประวัติจากผรู้ ับบรกิ ารหรือญาติ (ในกรณีท่ผี รู้ บั บริการไม่สามารถใหข้ ้อมลู ไดห้ รอื ให้ข้อมูลไดไ้ มค่ รอบคลุม) ซึง่ เป็นข้อมลู อัตนยั (Subjective data) หรือเปน็ ข้อมูลท่ีได้จากการสงั เกต/การตรวจร่างกายถือว่า เป็นข้อมลู ปรนัย (Objective data) แนวทางการ เก็บรวบรวมข้อมูลตามกรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน (จากการสังเกต ซักประวัติ ตรวจร่างกาย และผลการตรวจ ทางหอ้ งปฎบิ ตั ิการ/การตรวจพิเศษ) มดี งั นี้ แบบแผนที่ 1 การรบั รู้และการดแู ลสขุ ภาพ เป็นแบบแผนที่จะซักถามผู้รับบริการเก่ียวกับการรับรู้สุขภาพของตนเองว่าสุขภาพแข็งแรงหรือไม่ หรือเจ็บป่วย เพยี งใด เจ็บป่วยรนุ แรงมากน้อยเพยี งใด และการดูแลสุขภาพตนเองเจบ็ ป่วยเป็นอยา่ งไร เชน่ การซักประวัติ จะถามเก่ียวกับความรู้สึกว่าร่างกายแข็งแรงหรือไม่ เคยได้รับภูมิคุ้มกันอะไรบ้าง ครบหรอื ไม่ เคยตรวจสุขภาพร่างกายและชอ่ งปากหรือไม่ การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล มพี ฤติกรรมเสี่ยงอะไรบา้ งในการทำให้สุขภาพเส่ือม เช่น สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง ดื่มเหล้าทุกวัน ½ แก้ว ประวัติการใช้ยา เช่น ยาถ่าย ยานอนหลับ ลักษณะการใช้ยาบ่อยมากน้อย

๔๖ เพยี งใด ประวัติการแพอ้ าหาร ยา สารเคมี ให้ระบแุ ละวธิ ีการแก้ไขเมื่อแพ้ ความรู้เก่ยี วกบั การเจ็บป่วยครง้ั นี้ คิดวา่ เป็นเพราะ อะไร และจะมแี ผนในการรักษาอยา่ งไร และเมอ่ื สุขภาพเปลี่ยนแปลงแลว้ ผู้รับบรกิ ารไดม้ ีการดูแลตนเองอยา่ งไร มีการปอ้ งกัน อันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับตนเองได้หรือไม่ ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต่อการดำเนินชีวิตปกติ เช่น ผลกระทบต่อการหา รายได้ ภาระในครอบครวั การกนิ อยู่หลับนอน ฯลฯ เกณฑท์ ่ีผู้ป่วยใชใ้ นการประเมนิ ความผดิ ปกติ ตลอดจนพฤติกรรมการดแู ล สขุ ภาพทั้งในภาวะปกติและการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยภายใต้สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเขา ข้อจำกัด เงือ่ นไขและปัจจยั ท่ีมี ผลต่อการรับรู้และการดูแลสุขภาพ เช่น ข้อจำกัดทางกาย ฐานะความเป็นอยู่ ช่องทางและความสามารถในการเรียนรู้ หรือ ปรับตัวเพ่ือหาวธิ กี ารแก้ปญั หา ขอ้ มลู ทเ่ี ขียนจะเปน็ คำบอกเลา่ ของผ้ปู ่วย แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร เป็นการรวบรวมข้อมูลเพ่ือประเมินพฤติกรรม และการปรับตัวในเรอื่ งการรับประทานอาหารของผู้ป่วยทั้งใน ภาวะปกติและขณะเจ็บป่วย การซักประวัติ จะซักถามเกี่ยวกับ ชนิดอาหารและปริมาณอาหารท่ีชอบ/อาหารท่ีรบั ประทานเป็นประจำหรือ อาหารตามชว่ งวัย อาหารที่ไม่รับประทาน อาหารแสลง เวลาอาหาร อาหารเสริม อาหารบำรุง อาหารว่าง ทั้งภาวะปกติและ เจ็บป่วยเพ่ือดูการปรับเปลี่ยน ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับอาหารในขณะเจ็บป่วย ชนิดและปริมาณน้ำดื่มที่ควรได้รับต่อวัน ตลอดจนมุมมอง(ความคิด) ของผูป้ ่วยท่ีมตี ่อพฤตกิ รรมเสย่ี งด้านการบรโิ ภคและการเผาผลาญสารอาหารของตนเอง เช่น การ ด่ืมเหลา้ การกินอาหารขยะ เชน่ มาม่า ขนมกรอ๊ บแกรบ๊ การกนิ ไม่เป็นเวลา เปน็ ตน้ ปัญหาในการรบั ประทานอาหาร การย่อย การดูดซึมเก่ียวกับคลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด แน่น เคี้ยวไม่ดี ฯลฯ ประเมินผลของความเจ็บป่วยที่มีผลต่อเร่ืองกิน เช่น ทำให้ เบือ่ อาหาร กลืนลำบาก ตลอดจนผลลัพธท์ ่ีเกดิ ข้ึน เช่นการเปลี่ยนแปลงนำ้ หนักตวั ความอยากอาหารฯลฯ ตลอดจนความร้สู ึก ทเ่ี กดิ ข้ึนเมื่อไม่สามารถกินอาหารท่ีตนเองเคยชอบ หรือไม่สามารถควบคมุ ตนเองในเร่อื งการกินได้ตามท่ีได้รับคำแนะนำ เช่น กงั วล กลัว ว่าจะมอี าการรนุ แรงข้ึน เกรงจะถกู ตำหนิ น้ำหนักและการเปล่ียนแปลงของน้ำหนักในช่วง 6 เดือนท่ีผ่านมา Body mass index (ค่าปกติผู้หญิง 18 – 24 kg/m2, ผชู้ าย 20 – 27 kg/m2 ) ปรมิ าณพลงั งานท่คี วรไดร้ บั ในแตล่ ะวัน การสังเกตและตรวจร่างกาย จะสังเกตรูปร่าง ความอ้วนผอม ไขมันใต้ชั้นผิวหนัง การคำนวณภาวะ โภชนาการ การบันทึกกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตเด็กของกรมอนามัยสำหรับเด็กอายุ 0 – 7 ปี พฤติกรรมการ รับประทานอาหารและน้ำดื่มเป็นอย่างไร ช่วยตัวเองได้หรือไม่ รับประทานอาหารได้มากน้อยเพียงใด มีความอยากอาหาร หรือไม่ ตรวจร่างกายจะตรวจสุขภาพของร่างกายจากผิวหนัง ความยืดหยุ่น ความช้ืน บวมหรือไม่ ผม เล็บ ปาก ตา ฟัน คอ ทอ้ ง สังเกตภาวะท้องอดื ท้องเฟอ้ ฟงั เสยี งลำไส้ ลักษณะทั่วไป มีขนาดก้อน/กดเจบ็ หรือไม่ของต่อมนำ้ เหลอื ง ไทรอยด์ ตับโต มา้ มโต และผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ/การตรวจพิเศษทเี่ ก่ยี วข้อง

๔๗

๔๘ แบบแผนที่ 3 การขบั ถา่ ย เป็นการรวบรวมขอ้ มูลเพื่อประเมินกระบวนการขบั ถา่ ยอจุ จาระ ปสั สาวะ การซกั ประวัติ จะซักถามการขบั ถ่ายทั้งอจุ จาระและปัสสาวะ จำนวนปรมิ าณ ลักษณะท้ังกลางวันและกลางคืน ความสามารถในการควบคุมอุจจาระปัสสาวะ มีการฝึกขับถ่ายอย่างไรน้ำและอิเลคโตรไลท์ ปัจจัยส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยงและ อปุ สรรคต่อการขับถ่ายตลอดจนการเปล่ยี นแปลงกระบวนการขับถ่ายอันเนอื่ งมาจากความเจ็บป่วยและการปรับตัวเพ่ือแก้ไข ปัญหามีความผิดปกตอิ ะไรบา้ งและได้แก้ไขอย่างไร การสังเกตและตรวจร่างกาย จะสังเกตอาการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะท้ังลักษณะ ปริมาณ กลิ่น สี จำนวน ครง้ั ในแตล่ ะวัน ตรวจทอ้ ง การตรวจริดสดี วงทวาร บริเวณรอบทวารหนกั โคลอสโตมี และถุงรองรบั อุจจาระ สายสวนปสั สาวะและถงุ รองรบั แบบแผนท่ี 4 กิจวัตรประจำวนั และการออกกำลังกาย เปน็ การรวบรวมข้อมลู เพื่อประเมนิ ระดบั ความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆในชีวติ ประจำวัน การซักประวัติ จะซักถามความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือทั้งมัดเล็กมัดใหญ่ตามช่วงวัยในชีวิตประจำวัน เช่น การเดิน การหยิบจับส่ิงของ การทำกิจวัตรประจำวนั เพ่ือดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลดว้ ยตนเอง เชน่ ผู้ดแู ลช่วยเหลือเป็นบางส่วนหรือ ท้ังหมด ความสามารถในการอาบน้ำ แต่งตัว รับประทานอาหาร เดิน เคลื่อนไหว ทรงตัว การดูแลบ้าน กิจกรรมการงานอาชีพ งาน อดิเรก นันทนาการ การใชเ้ วลาวา่ ง มุมมองในการออกกำลังกายของผู้รับบริการ เชน่ เห็นวา่ การทำงาน หรือการทำกิจกรรมที่มีเหงื่อ ออกเป็นการออกกำลังกายในมมุ มองของเขา ข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการดำเนินชีวติ ที่มีผลต่อการทำกิจกรรมและออกกำลงั กาย เช่น หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ไม่มีเวลา ผลกระทบท่ีเกิดจากการเจ็บป่วยต่อการประกอบกิจกรรมและการออกกำลังกาย ตลอดจน ความรู้สึกท่ีเกิดขึ้นเม่ือไม่สามารถทำกิจกรรมท่ีตนเองต้องการ หรือไม่สามารถปฏิบัติตามคำแนะนำได้เนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ หรือ ความพึงพอใจในการทำ และดคู วามถใี่ นการทำ ระยะเวลาที่ทำ การสังเกตและตรวจร่างกาย จะดูการเคล่ือนไหว การตรวจความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ การทรงตัว ข้อต่อ การ อกั เสบ บวม ความสามารถในการใชก้ ลา้ มเนือ้ ท้ังกล้ามเน้ือมดั ใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือมัดเล็ก ระบบหายใจ (จำนวนครงั้ จงั หวะ เสียงปอด) ระบบหัวใจและหลอดเลือด (ชีพจรกี่คร้ัง/นาที จงั หวะ เสียงหัวใจ ความดันโลหติ เท่าไหร่ สผี ิวและปลายมือปลายเท้ามีภาวะซีด/เขียว หรือไม่) ผลการตรวจทางห้องปฎบิ ัติการ/การตรวจพเิ ศษทเี่ กย่ี วขอ้ ง แบบแผนท่ี 5 การพักผอ่ นนอนหลบั การซักประวตั ิ จะซักถามเกีย่ วกับการนอน เวลาตืน่ เวลาหลับ ระยะเวลาทีน่ อนหลับ ปจั จัยส่งเสริมและอปุ สรรค ทสี่ ่งผลต่อการนอน ตลอดจนความรู้สึกและผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนเม่ือไม่สามารถนอนหลับและพักผ่อนได้ตามความต้องการปัญหาและ วิธีการแก้ไขปัญหาในการนอน และรวมถึงวิธีผ่อนคลายความตึงเครียด การปฏิบัติตนให้รู้สึกผ่อนคลาย (มีวิธีทำให้ตนรู้สึกผ่อน คลาย/หายเครียดอย่างไรบ้าง สงั เกตพฤติกรรมการผ่อนคลาย เช่น การทำสมาธิ การอ่านหนงั สอื เป็นตน้ ) การสังเกตและตรวจร่างกาย สังเกตดูสหี น้าผู้ปว่ ยวา่ สดชืน่ หรอื ไม่ สีหน้า ดวงตา พฤตกิ รรมการนอนเปน็ อยา่ งไร นอนหลบั ๆ ตื่น ๆ หรอื หลับสนทิ เปน็ ต้น อาการแสดงถงึ การนอนไม่พอ แบบแผนท่ี 6 สติปญั ญาและการรบั รู้ การซกั ประวัติ เพื่อประเมินความสามารถในการรบั รู้และตอบสนองต่อส่ิงเร้าเก่ียวกับประสาทสัมผัส เชน่ การได้ ยิน การมองเหน็ การไดก้ ลิ่น การรบั รส และการสัมผัส อาการชา ปัญหาและการแก้ไขทไ่ี ด้ทำแล้ว ใชเ้ ครื่องชว่ ยหรอื ไม่ ความสามารถ ในการจำ การรับรู้บุคคล สถานท่ี เวลา ความรู้ ความจำ การโต้ตอบ ระดับสติปญั ญา ผลการเรียน เปน็ ต้น การแกป้ ญั หา ตลอดจน การตัดสินใจเม่ือต้องเผชิญกับปัญหาท้ังในยามปกติและยามเจ็บป่วย ท้ังนี้เพื่อประเมินศักยภาพในการดูแลตนเองและการ แกป้ ัญหาดา้ นสขุ ภาพ การสังเกตและการตรวจร่างกาย จะตรวจการได้ยิน การมองเห็น การได้กล่ิน การสัมผัส ความจำ การรับรู้ต่อ บคุ คล สถานท่ี และเวลา การใช้ภาษาความสามารถในการอา่ นและการเขียนหนงั สือ การแกไ้ ขปัญหา ระดับความรูส้ กึ ตัว Nuerological signs Reflex อาการเหนบ็ ชา แบบแผนท่ี 7 การรจู้ ักตนเองและอตั มโนทศั น์ การซักประวัติ เพื่อประเมินความคิด ความรู้สึก ความเข้าใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อตนเอง เช่น คุณค่า ความ ภาคภูมใิ จ ความรูส้ กึ ผดิ ความมน่ั ใจในตนเอง ภาพลักษณ์ ความสามารถ หรอื ส่ิงที่ผปู้ ่วยนกึ คิดเกีย่ วกบั ตนเองท้งั ดา้ นบวก (ดา้ นดี) และ ด้านลบ (ด้านไม่ดี) ฯลฯ ทั้งในภาวะปกติ และในขณะที่เจ็บป่วยที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพและการรับรู้ความเจ็บป่วยของตนเอง ตลอดจนความรูส้ ึกที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถทำในส่ิงที่ตนเองต้องการ หรอื ไม่สามารถปฏิบัติตามคำแนะนำได้เนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook