Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 25189_พยุหะคีรี

25189_พยุหะคีรี

Published by เ ห ม่ ง หิ ว, 2021-02-14 05:13:25

Description: 25189_พยุหะคีรี

Search

Read the Text Version

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวดั นครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค

๓๔ วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค

วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอพยุหะครี ี จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสงเสริมวฒั นธรรม วัฒนธรรมเปนสิ่งท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปน มรดกทางสังคมไทย ทบ่ี รรพบุรุษไดสรางสรรค และส่ังสมมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียมประเพณีอันเปนท่ียอมรับรวมกันในสังคมน้ันๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ทั้ง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซ่ึงมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถ่นิ แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมท่แี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ทม่ี ีคณุ คาของไทย ในการนี้ เพ่ือประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซง่ึ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ

๓๔ วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวดั นครสวรรค ตางๆ ในจังหวัดนครสวรรค เพื่อรวบรวมและเผยแพรขอมูลซ่งึ เปน ทุน ทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค เพ่ือใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลท่ัวไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถิน่ จนกอใหเกิดความรกั ความภาคภมู ิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถ่ิน รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วัฒนธรรมเหลานี้ใหอนชุ นคนรุนหลงั สืบตอไป (นายชาย นครชยั ) อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ นิยม ผวู า ราชการจังหวดั นครสวรรค การจัดทาํ หนงั สือ วิถีชีวิต วฒั นธรรมอําเภอตางๆ ของจังหวัด นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ท่ีสําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ ในจงั หวดั นครสวรรค เพอ่ื ดแู ลรกั ษา สบื สานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซึ่งเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเน้ือหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู ห่ี ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนดั้งเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รุกขมรดก แหลงทองเทยี่ วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทาํ คณุ ประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซึ่งจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รปู แบบหนังสือ บนั ทึกลงแผนซีดี และจัดทาํ QR Code

๓๔ วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไ่ี ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อาํ เภอ จังหวดั นครสวรรค เพื่ออนรุ กั ษและเผยแพรขอมลู อนั จะ เปน ประโยชนตอคนรุนหลงั ตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชยั ) ผูวาราชการจังหวดั นครสวรรค

วิถชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม วัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมของแตละอําเภอนี้ เปนการรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนด้ังเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อื่ การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเ่ี ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพ่ือใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวฒั นธรรม กระผมตองขอขอบคุณและชื่นชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ที่เปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครงั้ นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายนี้หวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สําหรับ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และผูสนใจท่วั ไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น น้ันไวใหคงอยูกบั ลกู หลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชยั พฤกษ) วฒั นธรรมจังหวัดนครสวรรค

๓๔ วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ นาํ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภมู ิปญ ญา ซึง่ กลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค ส่ังสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ท้ังดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสันติสขุ และความยั่งยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมน้ี มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอ้ื หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตํานาน สภาพปจจุบนั ชุมชนด้ังเดิม ศิลปะทองถิ่น วฒั นธรรมทองถ่นิ แหลงทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทําคณุ ประโยชนดานวัฒนธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทงั้ นไ้ี ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปนอยางดียง่ิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมนี้ จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และขอใหเรา

๓๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะครี ี จังหวดั นครสวรรค ชวยกนั สงเสริม อนุรกั ษ วัฒนธรรมใหเจริญงอกงามยง่ิ ขึ้น ขอขอบคณุ ผูเกี่ยวของ ที่ใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จใน การจัดทําหนังสือในคร้ังนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมนี้จึงถือไดวา มีคุณคาอยางย่ิง เปน สมบัติของเราชาวจงั หวดั นครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พคุ ยาภรณ) ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ สารบัญ หนา เรือ่ ง ๑ ๕ บทท่ี ๑ ประวตั ิ คาํ ขวญั ประวัติ ๙ คําขวญั ๑๒ บทท่ี ๒ ชุมชนดั้งเดิม ๒๓ ตาํ นาน ๓๐ สภาพปจจบุ ัน ๓๔ บทท่ี ๓ ศาสนาและความเชอ่ื ๔๙ วัดและศาสนสถาน ศาสนสถานอื่นๆ ๖๕ บุคคลสําคญั ทางศาสนา ๖๕ บทที่ ๔ ศิลปะทองถิ่น ศิลปกรรมสาขาตางๆ บทที่ ๕ วัฒนธรรมทองถ่นิ วิถีชีวิต การแตงกาย

๓๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๖๗ ๖๗ อาชีพ ๗๒ มรดกภมู ิปญ ญาทองถ่นิ รุกขมรดก ๗๕ บทท่ี ๖ แหลงทอ งเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม สถานท่ี บรรณานกุ รม ภาคผนวก

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕ ๑บทท่ี ประวัติ ตํานาน คาํ ขวญั และสภาพปจ จุบนั ประวตั ิอําเภอพยุหะคีรี ๑.๑ ยุคแรก (สมยั กอ นประวตั ิศาสตรทวารวด)ี ตามพงศาวดารเมอื งเหนอื ไดเ ลา ไวว า เมอื่ ปพ ทุ ธศกั ราช ๑๒๐๐ สมยั ทวารวดีหรือสมยั ลพบรุ ี เมืองหริภญุ ชยั (ลาํ พนู ) ขาดเจาครองนคร ไมมีผูสืบสันตติวงศ จึงสงคณะเสนาบดีมายังเมืองลพบุรี เพอ่ื กราบทลู ขอพระนางจามเทวี (อานวา จามะเทวี) จากพระบิดา ใหเสด็จไปครอง นครหริภุญชยั พระนางจามเทวีพรอมดวยขาทาสบริวารราวหาพันคน

๓๒๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค จึงออกเดินทางจากเมืองลพบุรีโดยทางชลมารคยอนขึ้นมาตามลํานํ้า เจาพระยาจนกระท่ังถึงบานทานํ้าออยในปจจุบัน จึงรับสั่งใหหยุด พักแรม ผูตามเสดจ็ จึงขึ้นฝงสรางท่ีอยูอาศัยกันช่วั คราว พระนางจามเทวีไดออกสํารวจพ้ืนที่บริเวณดานหลังบาน ทานํ้าออย พบวาเปนทําเลท่ีเหมาะสมสําหรับการสรางเมืองเพราะมี ภเู ขาลอมอยูดานหนง่ึ จึงรบั สัง่ ใหไพรท่ตี ิดตามมาชวยกนั สรางเมืองขึ้น ณ ทแ่ี หง น้ี และทรงตงั้ ชอื่ วา “เมอื งบน” ยงั มคี นั คทู สี่ รา งขนึ้ เองในสมยั นน้ั ปรากฏอยจู นถึงทกุ วนั นี้ ปจ จบุ นั เรียกชอื่ สถานทนี่ ั้นวา “บานบน” อยใู น ตําบลมวงหัก ครั้นเมื่อพระนางจามเทวีเสด็จจากไปแลว เมืองบนขาด ผูสืบสานตอปลอยทิ้งรางไวเปน เวลานับพันป จึงมีสภาพอยางที่เหน็ อยู ในปจ จุบนั

วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จังหวัดนครสวรรค ๓๕ ๑.๒ ยุคท่สี อง (สมยั กรงุ รตั นโกสินทร) คร้ันกาลเวลาลวงเลยมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๐๘ ในรัชสมัยของ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๔ มพี ระบรมราชโองการ ใหยกบานทาน้ําออย (แขวงเมืองนครสวรรค) บานหนองโพ (แขวงเมือง อินทรบรุ )ี และบานพองั คนั (แขวงเมืองชยั นาท) เปน เมืองพยหุ ะคีรี ตงั้ ทว่ี า การเมอื งและจวนเจา เมอื งทบ่ี า นทา นาํ้ ออ ย ฐานะของเมอื งพยหุ ะครี ี เปน เมอื งชนั้ จตั วา ขนึ้ ตรงตอ กรงุ เทพมหานครเจา เมอื ง มยี ศบรรดาศกั ด์ิ เปน พระพยหุ าภบิ าล ศกั ดนิ า ๒,๐๐๐ ไรป ลดั เมือง มยี ศบรรดาศกั ดเ์ิ ปน หลวงวิจารณพยหุ พลยกกระบตั รเมือง (อัยการ ดแู ลการพิพากษาคด)ี มียศบรรดาศกั ดเ์ิ ปน หลวงสกลรกั ษา

๓๔ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จังหวดั นครสวรรค วดั ทจ่ี ดั พธิ ถี อื นา้ํ พพิ ฒั นส ตั ยา คอื วดั พระปรางคเ หลอื งเจา เมอื ง พยุหคีรี ทานแรก คือ พระพยุหาภิบาล (ขุนเทพชา)เจาเมืองพยุหะคีรี ทานสุดทาย คือ พระพลสงคราม (สาง) ซึ่งดํารงตําแหนงนายอําเภอ พยหุ ะคีรี เปน ทานแรก ตราประจําเมืองพยุหะคีรี เปนรูปเทวดาประทับบนพระวิมาน (เปนตราประจําตําแหนงเจาเมืองดวย)ตราปลัดเมือง เปนรูปเทวดา ตรายกกระบตั รเมอื ง เปน รปู เทวดาทรงหงส ในป พ.ศ. ๒๔๓๘ (ในรชั สมยั รัชกาลที่ ๕) เม่ือมีการตั้งมณฑลนครสวรรค เมืองพยุหะคีรี มีฐานะ เปนเมืองหนึ่งในเขตมณฑลนครสวรรคป พ.ศ. ๒๔๔๐ เมืองมีการต้ัง หนวยการปกครองเปน “อําเภอ” เมืองพยุหะคีรี ท่ีเปนเมืองชั้นจัตวา (เมืองขนาดเล็ก) ถูกลดฐานะลงเปนอําเภอ จึงมีฐานะเปนอําเภอเมือง พยุหะคีรี ขึ้นกับเมืองนครสวรรค (ในเวลาน้ันใหคงคาํ วา เมือง ตอทาย คําวาอําเภอไวกอน) และไดมีการต้ังชื่ออําเภอข้ึนมาใหมวา “อําเภอ พยุหะคีรี” ตอมาอาคารที่วาการอําเภอเริ่มเกา ทรุดโทรมมาก และ สถานที่เริ่มคับแคบ จึงไดยายมาตั้งอยู ณ หมูที่ ๓ ตําบลสระทะเล เมือ่ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๑ จนถึงปจ จุบัน

วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๕๓๕ คําขวัญอาํ เภอพยุหะคีรี “สามหลวงพอศักดส์ิ ิทธ์ิ แหลงผลิตพระเคร่อื ง นามกระเด่อื งชางฝมือ เลื่องระบือเกษตรกรรม” ความหมายของ “สามหลวงพอ ศกั ด์สิ ิทธ์”ิ สามหลวงพอศักดส์ิ ิทธ์ิ ซง่ึ หมายถึง หลวงพอเทศ (วัดสระทะเล) หลวงพอเดิม (วดั เขาแกว) และหลวงพอกนั (วัดเขาแกว) หลวงพอเทศ วัดสระทะเล หลวงพอเดิม วัดเขาแกว

๓๖๔ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค หลวงพอกัน วัดเขาแกว หลวงพอทั้งสามเปนพระสงฆท่ีชาวอําเภอพยุหะคีรีใหความ เคารพนบั ถอื มากและยดึ ถอื เปน ทพ่ี งึ่ ทางจติ ใจ ถงึ แมป จ จบุ นั นส้ี ามหลวงพอ จะมรณภาพไปนานแลวแตยังคงเปนท่ีเคารพสักการะและนับถือเปน พระอริยสงฆทีม่ ีความศักดส์ิ ิทธ์ขิ องชาวอาํ เภอพยุหะคีรีอยูตลอดไป

วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จงั หวัดนครสวรรค ๗๓๕ ความหมายของ “แหลงผลิตพระเครื่อง” อาํ เภอพยหุ ะคีรีมีผูประกอบอาชีพหลอพระจาํ นวนมาก ซงึ่ เปน งานศิลปะพื้นบานทีถ่ ายทอดกนั มาจากบรรพบรุ ษุ จนถึงรนุ ลกู รนุ หลาน เปน ท่รี ูจกั และมีผูมาติดตอสัง่ ทาํ จากทัว่ ประเทศ ความหมายของ “นามกระเดอ่ื งชา งฝมือ” อําเภอพยุหะคีรีมีชางฝมือหลายประเภทที่มีช่ือเสียงโดงดังเปน ท่ีรูจักของคนทั่วไป ไดแก งานแกะสลักชาง-ไมมงคล-กระดูกสัตว งานหลอพระ งานเครอ่ื งปนดินเผาประยกุ ตและงานจักสาน

๓๘๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จังหวดั นครสวรรค ความหมายของ “เล่อื งระบือเกษตรกรรม” อาํ เภอพยหุ ะครี มี งี านเกษตรกรรมมากถงึ รอ ยละ ๘๕ ของพนื้ ที่ ทงั้ หมด มแี มน า้ํ เจา พระยาไหลผา นและมรี ะบบการชลประทาน สามารถ ทาํ นาไดต ลอดทง้ั ป นอกจากนย้ี งั มกี ารปลกู พชื ไร การประมง การปศสุ ตั ว จนมีผลผลิตเลี้ยงคนในอําเภอพยุหะคีรีและสงออกไปจําหนายพื้นที่อ่ืน ไดอีกดวย ชา งแกะสลกั งาชางในอําเภอพยหุ ะคีรี

วิถชี ีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค ๙๓๕ ๒บทท่ี ชมุ ชนดัง้ เดิม แหลง โบราณสถาน ตํานาน / เรอ่ื งเลาของอาํ เภอ ตํานานอาํ เภอพยหุ ะคีรี ที่มาของช่ือ “พยุหะคิร”ี ตั้งแตเรม่ิ กอตง้ั อาํ เภอจนถึงปจ จบุ นั อาํ เภอพยหุ ะคีรี มีชอ่ื เรียก กันมาหลายชื่อไดแก ๑) บานหัวแดน ๒) บานหัวแดน ๓) บานพยหุ / บานพยุหแดน ๔) พยหุ ครี ี / พยหุ ะครี ี (ชอ่ื ปจ จบุ นั ) ท่มี าของช่ือตางๆ มีเร่อื งเลาตอๆ กันมา ดังนี้ ๑) บานหัวแดน ในสมัยโบราณ พื้นที่ภาคเหนือตอนลางตอ กบั ภาคกลางนี้มีเมืองใหญอยูสองเมือง คือ เมืองพระบาง (นครสวรรค) อยูทางเหนือ เมืองสวรรค (สรรคบุรี - ชัยนาท) อยูทางใต โดยแบง เขตแดนไวท่บี านพยหุ ะคีรีนี้เอง ตรงนี้จึงเรียกวา “บานหัวแดน” ตอมา เรียกเพี้ยนไปเปน “บานหวั แดน) ๒) บานหัวแดนในสมัยหลวงพอคูหา เจาอาวาสวัดเขาแกว (ตําบลพยหุ ะ) มีถํ้าใหญที่เชิงเขาแกวในบริเวณวัด หลวงพอคูหาอาศัย

๓๑๐๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จังหวัดนครสวรรค ถาํ้ นเี้ ดนิ ลงไปสรงนาํ้ ทป่ี ากถา้ํ ซง่ึ อยรู มิ แมน าํ้ เจา พระยาใกลก บั คลองไทร ทา นคดิ วา ถา้ํ วา นม้ี คี วามศกั ดสิ์ ทิ ธม์ิ าก มเี พยี งหลวงพอ คหู าเทา นนั้ ทใ่ี ช ถา้ํ นไ้ี ด ภายในมเี ครอื่ งใชถ ว ยโถโอชามอยเู ปน จาํ นวนมาก ผทู มี่ างานพธิ ี เชน บวชนาค แตงงาน ทําบุญตางๆ จะเขาไปหยิบยืมมาใชกันได เมอื่ เสร็จงานแลวก็นํากลับไปไวที่เดิม ย่ิงกวาน้ันทานยังเลาถึงวันดีคืนดีจะ มีวัวใหญสีแดง หนาขาว ออกมาปรากฏกายใหคนเหน็ ชาวบานเรียกวา วัวแดนหรืองวั แดน ภายหลงั จึงเรียกบานนี้วา บานววั แดน แลวเพี้ยนมา เปน “หวั แดน” ๓) บานพยุหะ / บานพยุหะแดนดินแดนแหงน้ีเปนหัวแดน ระหวางเมืองพระบางกับเมืองสวรรค สองเมืองนี้ถือเปนพี่นองกัน หากมีศัตรูรุกรานเมืองหนึ่ง อีกเมืองหน่ึงจะยกกองทัพไปชวยเหลือกัน หากเดินทัพจากเมืองพระบางก็จะตองมาคางแรมท่ีหัวแดน นี้ ทํานอง เดียวกัน หากเดินทัพจากเมืองสวรรคขึ้นมาก็จะมาพกั คางแรม ณ ทน่ี ี้ ตอมาจึงมีผูเรียกชื่อบานนี้อีกชอ่ื หน่งึ วา บาน “พยหุ ” ซ่งึ แปลวากองทพั หรือทพ่ี กั กองทพั ตอ มาไดม กี ารจดั ตงั้ พืน้ ทบ่ี รเิ วณนเ้ี ปน ตาํ บล จงึ ตั้งชอ่ื วา “ตําบลพยุหแดน” ชอ่ื นี้ปรากฏอยูในโฉนดทด่ี ินเกาๆ ภายหลงั จึงตดั คําวา “แดน” ออก เปน “ตาํ บลพยุหะ” มาจนถึงปจ จุบันนี้ ๔) พยหุ ครี /ี พยหุ ะครี พี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั รัชกาลท่ี ๔ ทรงต้ังและพระราชทานนาม “เมืองพยหุ คีร”ี (ไมมีสระอะ) ซึ่งหมายความวา “เมืองแหงกองทัพภูเขา” ภายหลังจึงเขียนเปน “พยหุ ะคีร”ี (มีสระอะ)

วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยุหะครี ี จังหวดั นครสวรรค ๑๓๕๑ ตาํ นานหนองนํ้าทรง มีอภินิหารของงูเหลือมอาศัยอยูบริเวณหนองน้ําทรง เวลา งูเหลือมออกมาหากิน จะมีหมาหอนและวายน้ําขามหนองน้ําทรงไปให งูเหลือมกิน ชาวบานกลัววาจะเกิดอาเพศ จึงไดจับงูเหลือมไปถวงน้ํา ที่หนาวัดทรง เม่ือถวงน้ําแลวงูก็ยังไมตาย ยังคงโผลในน้ําอยู ๗ วัน หลังจากน้ัน น้ํากลายเปนสีนํ้าตาล มีกลิ่นคาว ไมสามารถใชดื่มกินได ทําใหประชาชนอพยพไปอยูท่อี ่นื เพราะไมมีนํ้าใชในชีวิตประจาํ วนั ตาํ นานวดั เขาแกว เขาแกวเปนภูเขาอยูที่ หมูที่ ๔ ตําบลพยุหะ สูง ๗๕ เมตร เชิงเขาเปน ท่ตี ั้งวัด เรียกวา “วดั เขาแกว” ท่ีไดช่ือวา “เขาแกว” เพราะ สภาพหินของเขามีลักษณะเปนเหล่ียมหกเหล่ียมเปนแกวใส บางกอน มีสาหราย มีสีตางๆ เชนสีเขียว สีแดง สีผักตบ เปน รูปตางๆ บางชนิด กม็ ีเขม็ เปน เขม็ ทอง เข็มเงินอยูภายในกอนแกวนนั้ จึงไดชื่อวา เขาแกว ท่ีเชิงเขามีถํ้าอยูหน่ึงถ้ํา ปากถ้ําเปนปลองยาวประมาณ ๕๐๐ เมตร ไปโผลท่ีทาจันทรปากคลองบางไทร ฝงแมนํ้าเจาพระยา ตรงสะพาน ทางขามไปท่วี าการอําเภอพยหุ ะคีรี ภายในถ้ํากวางใหญมีทรพั ยสมบตั ิ และมีโคแกวตวั ใหญหนาแดน ดวงตาของโคแกวสองแสงประกายสวาง ภายในถํ้านั้น สมัยนั้น หลวงพอคูหาเปนเจาอาวาส ทานมักจะลงจาก ปากถ้ําไปสรงนํ้าที่ทาจันทรเสมอ วันหน่ึงสามเณรท่ีอยูปฏิบัติกับทาน

๑๓๒๔ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค ไดส งั เกตเหน็ หลวงพอ คหู าเดนิ ไปในปา และเมอ่ื กลบั ออกมาจะมผี า เปย ก น้ําพาดบากลบั มา สามเณรนึกแปลกใจวา หลวงพอไปสรงน้ําทไ่ี หน จึง ไดส ะกดรอยตามไปจนถงึ ถาํ้ และเดนิ ตามเขา ไปในถา้ํ จงึ ไดพ บกบั โคแกว และทรพั ยส มบตั มิ ากมาย เมอื่ หลวงพอ สรงนาํ้ เสรจ็ กลบั มาพบสามเณร หลวงพอเกรงวาจะเกิดอนั ตรายแกทรพั ยสมบตั หิ รืออนั ตรายแกผลู งไป ในถาํ้ ทา นจงึ เกณฑช าวบา นชว ยกนั เอาหนิ เอาดนิ ไปปด ปากถาํ้ ตง้ั แตน นั้ มา เนินดินท่ีถมปากถ้ํายังปรากฏเปนสันเนินสูง ขนาดเทาจอมปลวกใหญ มาจนถึงทุกวนั นี้ และคําวา โคแกว ตอมาไดเพี้ยนเปน “เขาแกว” สภาพปจจบุ ัน แผนทเี่ ขตการปกครองของอําเภอพยหุ ะคีรี

วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๓๑๓๕ แผนท่ีเขตการปกครองของอาํ เภอพยุหะคีรี การปกครอง อําเภอพยุหะคีรี แบงเขตการปกครองตาม พ.ร.บ. ลักษณะ การปกครองทองท่ี พ.ศ. ๒๔๕๗ ออกเปน ๑๑ ตําบล ๑๒๕ หมูบาน ไดแก ๑. ตําบลเขากะลา ๑๙ หมูบาน ๒. ตาํ บลเขาทอง ๑๒ หมูบาน ๓. ตําบลเนินมะกอก ๑๒ หมูบาน ๔. ตําบลสระทะเล ๑๒ หมูบาน ๕. ตาํ บลมวงหกั ๑๐ หมูบาน ๖. ตาํ บลนิคมเขาบอแกว ๑๖ หมูบาน ๗. ตําบลพยหุ ะ ๙ หมูบาน

๓๑๔ วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๘. ตาํ บลนํ้าทรง ๑๑ หมูบาน ๙. ตาํ บลทาน้ําออย ๘ หมูบาน ๑๐. ตําบลยางขาว ๙ หมูบาน ๑๑. ตาํ บลยานมทั รี ๗ หมูบาน ชือ่ บา นนามเมืองอําเภอ/ตาํ บล หวั แดน นามบา น ตาํ บลพยหุ ะ อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค นายสรุ นิ ทร เรอื งฤทธ์ิ เลา วา ทเ่ี ชงิ เขาแกว มถี าํ้ ใหญอ ยถู า้ํ หนงึ่ ถา้ํ นย้ี าว ไปสดุ ปลายนาํ้ ไปจรดรมิ แมน า้ํ เจา พระยา สมยั ทยี่ าย (ของผเู ลา ) ยงั เปน เดก็ ถํ้านี้ยังมีอยู แตเด๋ียวนี้ถูกปดเสียแลว มีเร่ืองเลาตอมาวาครั้งกระโนน ถ้ําทเ่ี ปนท่เี กบ็ สมบัติของกษตั ริยโบราณ เชน เพชรนิลจินดา แกวแหวน เงินทอง แตไมมีผูใดพบเห็นบอยนัก เปนส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ผูมีบุญเทานั้น ท่ีจะไดเห็น คนท่ีหยิบฉวยไปเปนสมบัติสวนตัวก็ไมได เพราะมีวัวใหญ ตัวหนึ่งเฝาอยู เลากันวาวัวตัวนี้มีรูปรางใหญโต มีลักษณะสงางาม สีแดง กลางศีรษะมีสีขาวดาง ชาวบานเรียกวา “วัวแดน” เรียกกันไป เรียกกันมาเลยเพ้ียนไปเปน “หัวแดน” ปจจุบันคือ “หมูบานหัวแดน” เปน ทต่ี ั้งท่วี าการอําเภอพยุหะคีรี เขาทอง นามบาน ตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค นายสมหวงั คอนดี เลาวา ในสมัยกอนมีวดั เกาแกวดั หนึง่ เรียกวา วดั เขาทอง มีภเู ขาหลายลูก บริเวณแถวน้ันเรียกหมูบานลบั แล วนั ดคี ืนดมี ที องผลดุ ขน้ึ มาจากยอดภเู ขา ผคู นกแ็ ตกตน่ื พากนั ไปดู จนใน

วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕ สมัยน้ันผูคนเลยสรางวัดข้ึนเรียกวา “วัดเขาทอง” ซึ่งอยูบนยอดภูเขา นายอยู กอนจันทรเทศ เลาถึงบานเขาทองวา แตกอนวดั โต มีทองมาก แตคนในแถบนั้นขาดน้ําใจ วนั หนง่ึ สาวๆ มาตกั นาํ้ มีคนแปลงตัวมาขอ นํ้ากิน แตก็ไมใหกินอีก เพราะเห็นวาปากเนาปากสกปรก แตก็มี คนยากจนคนหน่ึงใหกินก็เลยไดทองไป กลายเปนคนรวยไปเลย สวน คนทไ่ี มใหนํ้ากินกถ็ กู สาปวา “คนเขาทองแมแตตวั เลก็ ตวั นอย ไมใหพบ นํ้ากิน” คนเขาทองก็เลยตองอดนํ้ามาตลอดและสาปอีกวา “ใหทองที่ วดั โตทม่ี ีมาก กใ็ หหายไป” บริเวณน้ันทแ่ี ตกอนเคยมีทอง ตอมาก็ไมมี ทองเหลืออีกเลย จึงเรียกทน่ี ัน่ วา “เขาทอง” พระอธิการพระประเสริฐ อภินนฺโท เลาถึงบานเขาทองวา หมูบานเขาทองนี้เดิมเปน ภูเขาซ่ึงมีดิน เปนสีแดงคลายสีทอง ชาวบานจึงเรียกช่อื หมูบานวา “บานเขาทอง” เขาทองพทุ ธาราม นามวดั ตงั้ อยหู มู ๑๐ บา นปา บวั ทอง ตาํ บล เขาทอง อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค พระครูใบฎีกาเชอ่ื ม ชตุ ินธฺ โร เลาวา วัดเขาทองพทุ ธารามนี้สรางเปน วดั ขึ้น ตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๒๐ ชาวบานเรียกวา “วดั ปาบวั ทอง” ตามชือ่ หมูบาน พื้นทว่ี ัดเปน พื้นท่สี งู มี ลักษณะเปนภูเขาเตี้ยๆ นาํ้ ทรงนามบา นตาํ บลนาํ้ ทรงอาํ เภอพยหุ ะครี ีจงั หวดั นครสวรรค หลวงตาหงสเ ลา วา นาํ้ ทรง เปน ชอื่ หมบู า น เพราะในหมบู า นทมี่ หี นองนาํ้ ที่กวางใหญมาก น้ําในหนองนี้จะทรงตัวอยูกับที่ไมแหง เพราะหนองนี้ จะมีคลองเช่ือมกับแมนํ้าเจาพระยาอยูหลายแหง คือ คลองโพ คลองบางเดื่อ และยังมีคลองเช่ือมตอกับแมน้ําสะแกกรังในจังหวัด

๓๑๖๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวัดนครสวรรค อทุ ยั ธานี ชอ่ื วา คลองอีเตง่ิ คลองบางหวาย ทาํ ใหนํ้าในหนองสามารถ ทรงตัวอยูกับที่ไดจึงต้ังชื่อหมูบานวา “น้ําทรง” และมีคนเฒาคนแก บอกวา ช่อื นํ้าทรง มีประวัติอีกอยางวา ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ พระองค ไดเสด็จมาและไดลงสรงนา้ํ ในหนองนํ้าแหงนี้ ชาวบานจีงต้ังช่อื หมูบาน วา “นํ้าสรง” ตอมาไดเปลย่ี นเปน “นํ้าทรง” คลองบางเดอ่ื นามบาน ตาํ บลนํ้าทรง อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระมหาละมยั ปภสสฺ โร เลา วา หมบู า นนมี้ ลี าํ คลองธรรมชาติ และตนมะเดอ่ื ขึ้นมากมายทั่วไป จึงเรียกกันวา คลองบางเดือ่ มีวัดนาม วา “วดั คลองบางเดอื่ ” สรา งขน้ึ เปน วดั นบั ตงั้ แต พ.ศ. ๒๔๒๐ มนี ามตาม ช่ือหมูบาน สาํ โรง นามบา น ตาํ บลนา้ํ ทรง อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค พระอธิการอินทร อนฺทวณฺโร เลาวา หมูบานสําโรงเดิมน้ันมีตนสําโรง อยูตนหน่ึง ชาวบานไดถือเอาตนสําโรงเปนนิมิตหมายเรียกเปนนาม หมูบานวา “บานตนสําโรง” ตอมาเรียกแตเพียง “บานสําโรง” เม่ือ หมูบานนี้มีวัด จึงต้ังนามวาวัดสําโรง ตามชื่อหมูบาน มาตั้งแตพ.ศ. ๒๔๒๗ โปงไอโ หนก นามบาน ตําบลนิคมเขาบอแกว อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค นายคอย กลน่ิ บญุ เลาวา หมูบานแหงนี้เดิมเปนปา ใหญ ในสมยั กอ นยงั ไมม ผี คู นอาศยั อยใู นแถบนเ้ี ลย มแี ตป า ไมเ บญจพรรณ ฝงู สตั วกม็ ากมาย มีทงั้ เสือ เกง กวาง ชาง หมปู า ไกปา และอีกมากมาย หลายชนิด อาศัยอยูในปาแหงนี้ ตอนนั้นยังไมมีใครตั้งชื่อหรือเรียกชื่อ

วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อําเภอพยุหะครี ี จังหวัดนครสวรรค ๑๓๕๗ ปาแหงนี้เลย มีอยูวนั หน่งึ ไดมีกลุมพรานปาไดเขามาลาสตั วในปาแหงนี้ ก็มาพบรอยสตั วมากมายมากินดินโปง ไมวาสตั วไหนๆ กจ็ ะตองมากิน ดินโปงท่นี น่ั ทั้งนัน้ กลุมนายพรานเหลานั้นจึงชวนกันนงั่ หางรานเพ่อื ดกั รอใหส ตั วม ากนิ ดนิ โปง แหง น้ี หนงึ่ ในจาํ นวนพรานเหลา นน้ั ไดม ชี ายหนมุ คนหนงึ่ ชอื่ วาไอโหนกรวมในขบวนการลาสตั วดวย ตกกลางคืนดึกสงดั มีฝูงสัตวมากินดินโปงเหมือนอยางทุกคืน นายพรานชื่อตามีเห็นหมูปา ตัวใหญ เขาใจวาเปนหัวหนาหมูปา ตามีสองไฟไปที่หมูปาและเล็งปน ลั่นไกยิงไปท่ีหมูปาตัวนั้น เสียงปนดังสน่ันหวั่นไหวไปทั่วพรอมกับ เสียงรองของหมูปาตวั นั้นและบรรดาฝงู หมปู าตัวอื่นๆ ทีพ่ ากันตืน่ ตกใจ หมูปาตัวที่ถูกยิงกลับไมตายและไดวิ่งเตลิดหนีหายเขาไปในปาใหญ นายพรานไมป ระสบความสาํ เรจ็ เพราะยงั ลา สตั วไ มไ ดส กั ตวั รอจนกระทง่ั เชา พวกนายพรานก็ออกตามลาหมูปาที่บาดเจ็บตัวนั้น สวนไอโหนก แยกออกมาจากพวกเพื่อไปอุจจาระ เขาไปพบหมูปาตัวน้ันโดยบังเอิญ หมปู า กาํ ลงั บาดเจบ็ จงึ ยง่ิ อารมณด รุ า ย ไอโ หนกโดนหมปู า ขวดิ จนไดร บั บาดเจ็บอาการสาหัสและเสียชีวิตในเวลาตอมา ทีมนายพรานจึงตั้งชอ่ื โปงแหงนี้วา “โปงไอโหนก” มาจนถึงทุกวนั นี้ สระบวั นามบา น ตาํ บลนคิ มเขาบอ แกว อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค พระอธิการบุญชวย รุจิธมฺโม เลาวา หมูบานสระบัวท่ีได นามนเี้ พราะมสี ระนา้ํ แหง นอ้ี ยใู นหมบู า น และในสระกม็ บี วั ขน้ึ อยมู ากมาย ชาวบานจึงถือเปนนิมิตเรียกนามบานเปน “บานสระแกว” หมูบานนี้ มวี ดั นาม “วดั สระปทมุ ” กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป ระกาศตง้ั เปน วดั ตง้ั แต

๑๓๔๘ วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะครี ี จงั หวัดนครสวรรค วนั ที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ แตชาวบานเรียก “วัดสระบวั ” ตามนาม บา น ความจรงิ แลว “ประทมุ ” กบั คาํ วา “บวั ” มคี วามหมายอยา งเดยี วกนั เขาบอแกว นามบาน ตําบลนิคมเขาบอแกว อําเภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระชาํ นาญ สขุ กาโม เลาวา บานเขาบอแกวไดนาม ตามชื่อภูเขา ที่เรียกวา เขาบอแกว เขานี้มีหินใสเหมือนแกวจึงไดนาม เชนนัน้ ที่หมูบานนี้มีวดั นามวา “วดั เขาบอแกว” กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศตั้งใหเปนวัดเมื่อ วันท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๓ มีนาม ตามช่ือบาน แตชาวบานเรียกนามวัดวา “วัดนิคม” เพราะตั้งอยูนิคม เขาบอแกว หรือ “วัดนิคมบอแกว” ตัดคําวา “เขา” ออกไป บน นามบา น ตาํ บลมว งหกั อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค สวสั ดิ์ อมั พรายน เลาวา สมัยเมอื่ นครสวรรค มีนามวาพระบาง ขึ้นกบั เมืองสโุ ขทยั ครน้ั เมอื่ ป พ.ศ. ๑๘๙๓ สมเดจ็ พระรามาธิบดี (อทู อง) ทรง รวบรวมหัวเมืองฝายใต สถาปนากรุงศรีอยธุ ยาขึ้นนั้น เมืองพระบางได ถูกรวบรวมเขาอยูกับอาณาเขตของกรุงศรีอยุธยาดวย ความไดทราบ ถงึ พระมหาธรรมราชาแหง กรงุ สโุ ขทยั จงึ ทรงขอเมอื งพระบางพรอ มกบั เมืองเหนืออ่นื ๆ คืน พระเจาอูทองทรงคืนให การคืนเมืองพระบางครั้ง น้ีไดมีการตกลงกันเรื่องเขตแดนวา ต้ังแตตอนบนของทาน้ําออยข้ึนไป ใหเปนอาณาจักรสุโขทัย ทางใตบานบนลงไปใหข้ึนกับอาณาจักร กรงุ ศรีอยุธยา บานบนจึงไดนามวา “บานบน” เพราะเหตุนี้ บา นบน นามวดั ต้ังอยูเลขท่ี ๑ หมู ๑ บานบน ตาํ บลทานํ้าออย อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค พระสมุหถนอม ขนฺติพโล เลาวา

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอพยุหะครี ี จงั หวดั นครสวรรค ๑๓๕๙ วัดบานบนสรางขึ้นเปนวัดต้ังแต พ.ศ. ๒๓๕๙ นามสอดคลองกับช่ือ เจา เมอื ง สมยั นนั้ ชอ่ื วา “เจา เมอื งอบุ ล” เดมิ วดั นมี้ นี ามวา “วดั ทา ชลาวาร”ี หมายถึงวดั ท่ตี ั้งอยูริมคลองหรือทานาํ้ โคกไมเ ดน นามบาน ตาํ บลทาน้ําออย อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระแฉลม สํเวโค เลาวา บานโคกไมเดนเดิมเรียกวา โคกไมเอน ลักษณะพื้นท่ีของหมูบานเปนเนินเขา สันเขาคลายกับโคก และตนไมท่ีข้ึนอยูตามเนินนั้น มีลักษณะเอนไมต้ังตรงเหมือนตนอ่ืน ชาวบานจึงถือเปนนิมิตเรียกนามวา “บานโคกไมเอน” แตตอมาเปล่ยี น นามเปน “บานโคกไมเดน” เขาไมเดน นามวัด ต้ังอยูหมูท่ี ๘ บานโคกไมเดน ตําบล ทานํ้าออย อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค พระแฉลม สํเวโค เลาถึงวดั เขาไมเดนวา วดั นี้สรางขึ้นเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๒ มีนามอีกนามหนง่ึ วา “วัดโคกไมเดน” ตามนามของบาน พื้นท่ีวัดเปนเนินเขาเรียกวา วดั เขาไมเดน ตามสภาพแวดลอมเปน ปาไม หางนํ้าหนองแขม นามบาน ตําบลมวงหัก อําเภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระครเู ฉย เขมปญโญ เลา วา หมบู า นหางนา้ํ หนองแขม มีนามตามช่ือหนองน้ําที่มีตนแขมขึ้นเต็มไปหมดและหมูบานนี้เปนที่ สน้ิ สดุ ของลาํ คลองนา้ํ ไหลเสมือนวา เปน ปลายนา้ํ หรือหางนาํ้ เหตนุ น้ี าม ของบานจึงไดนามวา “บานหางน้ําหนองแขม” คนทารามทายวารี นามวดั ต้ังอยูเลขท่ี ๓๗ หมู ๘ บานหาง นาํ้ หนองแขม ตาํ บลมว งหกั อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระครู

๓๒๐๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอพยุหะคีรี จงั หวัดนครสวรรค เฉย เขมปญโญ เลา ถงึ วดั คนทารามทา ยวารวี า เปน วดั ทสี่ รา งขน้ึ ประมาณ ป พ.ศ. ๒๓๖๙ ชาวบานเรียกนามวัดวา วดั หางนํ้าหนองแขม ตามนาม บาน เน่ืองจากบริเวณวัดเดิมมีตนคนทามากมาย จึงต้ังเปนนามวา คนทารามประกอบกบั ทหี่ มบู านนี้เปน ปลายนํ้าหรือหางนา้ํ จึงเปน คาํ วา “ทายวาร”ี รวมเปนนามวัดวา “วัดคนทารามทายวาร”ี เขาสามยอด นามวัด ตั้งอยูหมูที่ ๒ บานเขาทอง ตําบล เขากะลา อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระครอู ธิการบุญเหลือ เลาวา วัดนี้กระทรวงศึกษาธิการประกาศต้ังขึ้นเปนวัด เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ บริเวณวัดเปนภูเขาสามยอด จึงไดนามวัดตาม ภเู ขานนั้ ชาวบานมกั จะเรียกอีกนามหนง่ึ วา “วดั เขาวง” เขาวิวาท นามบาน ตําบลเขากะลา อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค นายคอย กลน่ิ บุญ เลาวา หมูบานแหงนี้อยูใกลเขาลกู หนึ่ง ซง่ึ เขาลกู นย้ี งั ไมม ใี ครตงั้ ชอ่ื และทใ่ี กลเ ขากม็ หี มบู า นซง่ึ มคี นอาศยั อยกู นั หลายครอบครัว อยูกันมาหลายป ประชากรก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เม่ือ ประชากรมมี ากขน้ึ กเ็ กดิ การทะเลาะกนั จากเรอื่ งเลก็ ๆ กก็ ลายเปน เรอ่ื ง ใหญ จนผูคนในหมูบานเริ่มหนีออกจากหมูบานไปอยูที่อ่ืนเพราะวา คนในหมูบานไมถกู กันแบงพรรคแบงพวกและยกพวกตีกัน ทะเลาะกัน อยูทุกวนั จนหมูบานนี้กลายเปนหมูบานราง ไมมีผูคนอาศยั อยูเลย นับ เปนเวลาเกือบ ๒๐ ป จนกระทั่งคนในหมูบานอื่นเร่ิมอพยพเขามาอยู ใหมอีก เพราะสาเหตปุ ระชากรเพิม่ มากขึ้น เม่ือมีทท่ี าํ กินใหม จึงทําให หมูบานมีผูคนมาอยูอาศยั และขนานนามหมูบานแหงนี้วา “หมูบานเขา

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอพยุหะครี ี จังหวัดนครสวรรค ๓๒๑๕ วิวาท” เพราะหมูบานอยูใกลภูเขาจึงเอานามภูเขาเปนนามหมูบาน ไปดวย หนองเตา นามบาน ตําบลเขากะลา อาํ เภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค นายสมคิด ทองสิมา เลาวา หมูบานแหงนี้มีหนองนํ้า แหงหนง่ึ มเี ตา อยชู กุ ชมุ จนมคี าํ พดู ตดิ ปากกนั วา “อยากกนิ เตา ใหไ ปเขา กะลา” เพราะทีน่ ม่ี ีเตามาก นามกย็ งั ปรากฏใหเหน็ ทหี่ มูบานแหงนี้มีวดั เรียกวา “วดั หนองเตา” กระทรวงศึกษาธิการประกาศต้ังขึ้นเปนวัดเม่อื วันท่ี ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ มีนามตามช่อื บาน ยางขาว นามบาน ตําบลยางขาว อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค พระอธิการเสริม จิตวฑฺฒโน เลาวา หมูบานนี้มีตนยางอยู ตนหน่ึงชาวเรือที่ผานไปมาจะมองเห็นตนยางสีขาวมาแตไกล จึงเรียก กนั วา “บานยางขาว” ยางขาว นามวัด ตั้งอยูท่หี มู ๕ บานยางขาว ตาํ บลยางขาว อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค พระอธิการเสริม จิตวฑฺฒโน เลาถึงวัดยางขาววา วัดนี้สรางขึ้นเมอ่ื ประมาณป พ.ศ. ๒๓๖๒ มีนาม ตามชอื่ บา น นามเดมิ วา วดั ทา เกวยี น เพราะสถานทต่ี ง้ั วดั เปน ทา นา้ํ หยดุ เกวียนนําววั ควายลงกินน้ําทท่ี านี้ จึงเรียกกนั มาอยางนั้น ทาตะโก นามบาน ตําบลยางขาว อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค พระอธิการปุย วรธมฺโม เลาวา หมูบานแหงนี้มีตนตะโก ใหญอยูตนหนึ่งเปนสัญลักษณ ประกอบกับอยูริมแมน้ําเจาพระยาซึ่ง เปนทาน้าํ และมีวดั ต้ังอยู จึงไดนามอยางนน้ั

๓๒๒๔ วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จังหวัดนครสวรรค หนองหมู นามบาน ตาํ บลเนินมะกอก อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค พระอธิการกุล ธมฺเมสโก เลาถึงวัดหนองหมูวา วัดน้ี สรางข้ึนประมาณป พ.ศ. ๑๙๑๕ สมัยกรุงสุโขทัย เดิมมีนามเดิมวา วัดสนามชัยธาราม เขาใจวาเดิมคงเปนสนามสูรบขาศึกเม่ือมีชัยชนะ จึงต้ังนามบริเวณทองท่ีนี้วา “สนามชัย” ตอมาเปน วัดหนองหมู ตาม นามบาน หนองหมู นามวดั ต้ังอยูเลขท่ี ๑๘๐ หมูที่ ๕ บานหนองหมู ตาํ บลเนินมะกอก อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค พระอธิการกลุ ธมเฺ มสโก เลาถึงวดั หนองหมูวา วดั นี้สรางขึ้นประมาณป พ.ศ. ๑๙๑๕ สมัยกรุงสุโขทัย มีนามเดิมวา วัดสนามชัยธาราม เขาใจวาเดิมคงเปน สนามสูรบขาศึกเมื่อมีชัยชนะ จึงตั้งนามบริเวณทองที่นี้วา “สนามชัย” ตอมาเปนวดั หนองหมู ตามนามบาน ยานมัทรี นามบาน ตําบลยานมัทรี อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค นายสมหมาย จนั ทรกลํ่า เลาวา คําวา “ยาน” คือบานหรือ หมบู า นยา นมทั รี เปน หมบู า นทตี่ งั้ อยรู มิ แมน า้ํ เจา พระยา ระหวา งอาํ เภอ โกรกพระกบั อําเภอพยหุ ะคีรี ต้ังอยูแนวคุงนํ้าพอดี แมนํ้าชวงนี้โคงมาก มีคนเลาวามีอยูวันหนง่ึ ไดมีการนิมนตพระลงเทศนกณั ฑมัทรี พอเทศน จบกณั ฑกพ็ อดีกบั การสิ้นสดุ คงุ ของแมนาํ้ ชาวบานจึงเรียกหมบู านนี้วา “ยานมทั ร”ี สระทะเล นามบาน ตาํ บลยานมัทรี อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวัด นครสวรรค พระครวู ิวฒั นนวกิจ เลาวา บานสระทะเลเปน หมูบานหนึง่ ในตาํ บลยานมทั รี มีสระน้ําใหญเหมือนกบั ทะเล ชาวบานเลยเรียกทะเล สัญลกั ษณนี้จึงต้ังเปนนามหมูบาน “สระทะเล”

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๒๓๓๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเชอ่ื วดั และศาสนสถาน วดั เขาไมเ ดน

๒๓๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค วัดเขาไมเดนมีช่อื เรียกเดิมวา “วัดโคกไมเดน” ตามช่อื หมูบาน ตั้งอยูท่ี หมูที่ ๘ ตาํ บลทาน้ําออย อาํ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ไมมีหลักฐานวาเปล่ียนจาก “โคกไมเดน” เปน “เขาไมเดน” ตั้งแต เมอ่ื ไหร ภูมิประเทศในบริเวณนี้เปนพื้นท่ที ่เี ปนเนินสูง (โคก) และมีภูเขา เชื่อมติดตอกันหลายลูก แตละลูกมีช่ือเรียกตางกัน เชน เขานอย เขาไมเดน เขาไหวพระ เขาสูง และเขาล่นั ทม “ไมเดน” เปนชื่อตนไมยืนตนขนาดกลาง มีผลเลก็ ผลออนจะมี สีเขียวออน ผลแกมีสีแดง รสหวานรบั ประทานได เคยเปน ตนไมทมี่ ีมาก ทสี่ ดุ ในหมบู า นน้ี จงึ เปน ทมี่ าของหมบู า นโคกไมเ ดนหรอื เขาไมเ ดน ปจ จบุ นั ยงั เหลือแตตนเล็ก มีตนใหญทส่ี ุดขณะนี้อยูท่โี รงเรียนเขาไมเดน “วัดเขาไมเดน” ตั้งอยูเชิงเขาไมเดน บริเวณนี้เคยเปน สวนหน่งึ ของเมืองเกา สมัยทวารวดีที่มีช่ือวา “เมืองบน” ตามหลักฐานทาง ประวัติศาสตรการขุดคนของกรมศิลปากร เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๗ ไดพบ โบราณสถาน โบราณวัตถุจํานวนมากทเ่ี ปนศิลปะแบบทวารวดี อีกทง้ั ขอความจากหนังสือ ตํานานมลู ศาสนาท่กี ลาวไววา “พระนางจามเทวี เดินทางไปครองเมืองหริปุญไชย พระนางนําเอาริ้วพลเสนามาครั้งน้ัน ตั้งเมืองมาโดยลําดับ” สันนิษฐานวา เมืองบน นาจะเปนเมืองหน่ึง ที่พระนางจามเทวีทรงสรางไวบริเวณวัดเขาไมเดน สันนิษฐานวา อาจ เปน วดั เกา แกส มยั ทวารวดที เี่ คยรงุ เรอื งมาในอดตี เมอื งยคุ สมยั ทวารวดี เสอื่ มสลายลง ความรงุ เรอื งในบรเิ วณนกี้ เ็ สอ่ื มสลายและสญู หายไปตาม

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอพยุหะครี ี จงั หวัดนครสวรรค ๓๒๕ กาลเวลาพ.ศ. ๒๔๖๔ พระปลัดเอ่ียม ไดเร่ิมกอสรางพระอุโบสถ พ.ศ. ๒๔๗๐ การกอสรางพระอุโบสถอยูระหวางมงุ หลงั คา พระอาจารยขม เปนพระภิกษุที่เดินทางมาจาก จังหวัดลพบุรี ไดนํารอยพระพุทธบาททําดวยเน้ือสําริด ขนาดกวาง ๖๘ เซนติเมตร มาถวายและขอรองใหพระปลัดเอ่ียมหยุดสรางอุโบสถ กอนชักชวน ใหสรางพระเจดียเพ่ือเปนท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธบาทและไดเลือก สถานท่ีกอสรางบนเขาไมเดน โดยสรางครอบเจดียเกาท่ีมีอยูแลว พ.ศ. ๒๕๐๗ ชวงตนป ไมมีพระสงฆ วัดรางในปนี้ กรมศิลปากร ไดเขามาสํารวจและขุดคนโบราณสถานและโบราณวัตถุที่บริเวณ วัดเขาไมเดนและบริเวณใกลเคียง ไดพบพระสถูปเจดีย ๑๔ แหง ใบเสมาหิน พระพุทธรปู รูปปนตางๆตอมาไดมีการรวมแรงรวมใจของ พทุ ธศาสนกิ ชนผมู จี ติ ศรทั ธาสรา งพระอโุ บสถตอ จนสาํ เรจ็ ป พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวนั ท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐

๓๒๔๖ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค พิพิธภัณฑว ดั เขาไมเดน วัดเขาแกว วัดเขาแกว มีชื่อเดิมท่ีชาวบานเรียกกันวาวัดนอก ต้ังอยูท่ี เลขท่ี ๑ หมูท่ี ๔ ตาํ บลพยหุ ะคีรี อาํ เภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค ต้ังอยูเชิงเขาแกว มีเน้ือที่ประมาณ ๒๑๗ ไรเศษ กอตั้งประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๔๘๒ เปน วดั เกา สมยั สโุ ขทยั เปน ราชธานี ไมป รากฏผสู รา ง แตส นั นษิ ฐาน จากโบราณวัตถุดงั นี้

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค ๒๓๗๕ ๑) ซากพระอุโบสถเกา ต้ังอยูบนยอดเขาดานเหนือ กอดวยอิฐแผนใหญใบเสมาเปนหินสีเขียวมีดินทับถมอยู ตนไมขึ้นจาก กลางฐานโบสถ ๒) ซากอฐิ ของวหิ ารเกา บนยอดเขา มที กุ ยอดเขาถงึ ๔ แหง พระประธานวิหารเปน พระพุทธรูปสมยั เชียงแสน ๓) พระปรางคสรางแบบสโุ ขทยั ยังปรากฏอยู สมัยทานเจาคุณพระธรรมคุณาภรณ (เชา ฐิตปฺโญป.ธ.๙) เปนเจาอาวาสของวัดเขาแกว เพ่ือใหเด็กทองที่อําเภอพยุหะคีรีไดรับ การศกึ ษาเลา เรยี นเพราะโรงเรยี นระดบั มธั ยมยงั ไมม ใี นอาํ เภอนี้ (ปจ จบุ นั มกี ารเรยี นการสอนตงั้ แตร ะดบั อนบุ าลจนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย) ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๙๘ ไดจัดตั้งสํานักวิปสสนากรรมฐานขึ้นซ่ึงมี การจัดอบรมพฒั นาจิตอยูเปน ประจําทกุ ป

๓๒๔๘ วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จังหวดั นครสวรรค วัดพระปรางคเ หลือง เปน วดั โบราณทเี่ กา แกม ากกวา วดั หนงึ่ เจา หนา ทขี่ องกรมศลิ ปากร ไดค าํ นวณอายไุ วว า เปน วดั ทถี่ กู สรา งขน้ึ ในประมาณป พ.ศ. ๒๓๐๕ ซ่ึง เปน สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย จากปชู นยี สถานโบราณเปน สง่ิ บง บอก อายขุ องศาสนาแหง นซ้ี ง่ึ ทาํ ใหเ ราไดท ราบวา วดั พระปรางคเ หลอื งมอี ายุ ยาวนานถึงปจจุบันประมาณ ๒๔๐ ป นอกจากนี้ วดั พระปรางคเหลือง ยงั ตง้ั อยใู กลโ บราณสถาน “เมอื งบน” อนั เปน หวั เมอื งโบราณสมยั ทวารวดี ซงึ่ กรมศลิ ปากรไดข ดุ คน พบวตั ถโุ บราณและซากของเมอื งสมยั ทวารวดี อนั ทาํ ใหท ราบแหลง อารยธรรมเกา แกข องชาตไิ ทยและทว่ี ดั พระปรางคเ หลอื ง เองก็ยังปรากฏรองรอยของคูเมืองโบราณอยูติดขางวัดดานทิศเหนือ ใหเห็นจนถึงปจจุบัน สิ่งเหลาน้ีจะชวยบอกใหชนรุนหลังไดทราบวา วัดพระปรางคเหลืองและตําบลทาน้ําออยเคยเปนชุมชนและแหลง อารยธรรมแหงหน่ึงของชาติไทยมาแตโบราณ อนึ่ง องคพระปรางค

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จังหวดั นครสวรรค ๒๓๙๕ ที่อยูดานหนาวัดและติดแมน้ําเจาพระยา มีลักษณะเปนการพูนดินสูง เหมือนเนินเขาเตี้ย ก็เช่ือวาเปนสถานที่ศักด์ิสิทธิ์ใครจะแตะตองไมได เพราะเคยปรากฏผลตอบุคคลบางคนท่ีไมยําเกรงตอสถานท่ีแหงนี้ จนเปน ท่ที ราบของชาวบานทวั่ ไป จากบันทึกของทางวัดและจดหมายเหตุของราชการกลาววา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาอยูหวั รชั กาลท่ี ๕ หรือ “พระพทุ ธเจา หลวง” ไดเคยเสด็จฯ ณ วดั พระปรางคเหลือง ถึง ๓ ครง้ั ในการเสดจ็ ประพาสตนทางภาคเหนือของประเทศไทยวัดพระปรางคเหลือง ตั้งอยู หมูท่ี ๑ ตาํ บลทาน้ําออย อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค มีเนื้อท่ี ๓๔ ไร ๓ งาน กอต้ังเม่อื พ.ศ. ๒๓๒๕ ไดรบั พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวนั ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๒๓ วัดพระปรางคเหลือง

๓๔๐ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จงั หวัดนครสวรรค ศาสนสถานอ่นื ๆ คริสตจักรสมั พนั ธพ ยหุ ะคีรี สงั กดั : เปน สมาชิกคริสตจกั รสมั พันธแหงประเทศไทย เลขที่ ๐๐๖/๒๕๓๘ ตั้งแตวนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๓๘ ทตี่ ้งั : ๑๐๐/๔๐ หมู๒ ตาํ บลพยหุ ะ อาํ เภอพยหุ ะ จงั หวดั นครสวรรค ๖๐๑๓๐ ความเปนมา : เดิมเชาอาคารทาํ เปน สถานประกาศศาสนา ตอมา จงึ ไดซ อื้ ทดี่ นิ และกอ สรา งเปน อาคารคอนกรตี ๒ ชนั้ จดั ตั้งเปน คริสตจักร ขึ้น ณ ทป่ี จจบุ นั ศาสนกิจ : นมสั การพระเจา ทุกวนั อาทิตย

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ๓๕๑ มสั ยิดดารุสสลามพยุหะคีรี นิกาย : ซนุ หน่ี ทตี่ ัง้ : เลขท่ี ๒๒๗/๖ หมู ๕ ตาํ บลพยหุ ะ อําเภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค ๖๐๑๓๐ ความเปนมา : เดิม นายเบิ้ม ปาทาน ชาวมุสลิม ซึ่งมีบานเรือนอยูท่ี อาํ เภอพยหุ ะครี ี มกี จิ การชาํ แหละเนอ้ื โค-กระบอื จาํ หนา ย เคยทาํ หนา ที่ อิหมามประจํามัสยิดปากีสถาน ตอมา เม่ือมีอายุมากขึ้นและมีภารกิจ ในกจิ การคา ของครอบครวั ตนเองและครอบครวั ไมส ะดวกทจ่ี ะเดนิ ทาง ไปปฏิบัติศาสนกิจที่มัสยิดปากีสถาน ดังนั้น ในป พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงได บรจิ าคทด่ี นิ บรเิ วณหนา บา นของตนเอง เนอ้ื ที่ ๕๐ ตารางวา และบรจิ าค ทรัพยสวนตัว สรางอาคารมัสยิด เปนอาคารคอนกรีตชั้นเดียว มีโดม สีเขียวบนหลงั คา

๓๒๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะครี ี จังหวัดนครสวรรค การจดทะเบียน : หนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนจัดต้ังมัสยิด (แบบ บอ.๓) หมายเลขทะเบียน ๔ เมือ่ วนั ท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๖ มี ฐานะเปน นิติบุคคล ศาสนกิจ : ๑. ทาํ พิธีละหมาด วันละ ๕ ครั้ง ทุกวัน ๒. ทําพิธีในวนั สําคญั ทางศาสนา ๓. มีการเทศนาบรรยายธรรม ปละ ๒-๓ ครั้ง ๔. รว มกบั สมาชิกของมสั ยดิ ใกลเคยี ง เดินทางไปบรรยาย ธรรมตามมัสยิดตางๆ ๕. มีการเรียนการสอนศาสนาใหกบั เยาวชนทกุ วัน ๖. มีการเรียนการสอนศาสนาใหกับผูใหญทกุ วนั ศกุ ร การจดั การศพ : ทาํ พิธีฝงศพ (มยั ยิต) ณ สุสานของมสั ยิดปากีสถาน อ. เมืองนครสวรรค จ. นครสวรรค ศาลเจา ๑) ศาลเจาปงุ เถา กงมา ตําบลทาน้ําออย มีมานานกวา ๑๐๐ ป อดีตชาวจีนท่ลี อง เรือคาขายผานจะตองแวะสักการะ เดือนพฤษภาคมของทกุ ปจะมีงาน งิ้วฉลอง เพือ่ เปนสิริมงคล

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๓ ศาลเจา ปุงเถา กง ๒) ศาลเจาพอศรีเมือง

๓๔ วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอพยุหะคีรี จงั หวดั นครสวรรค บุคคลสําคัญทางศาสนา ๑. หลวงพอ เดิม หลวงพอเดิม เกิดท่ีบานหนองโพ เมื่อวันพุธ แรม ๑๑ ค่ํา เดือน ๓ ปวอก จลุ ศกั ราช ๑๒๒๒ ตรงกบั วันที่ ๖ กมุ ภาพันธ ๒๔๐๓ โยมบิดาชอ่ื เนียม เปนชาวบานเนินมะกอก อาํ เภอพยหุ ะคีรี โยมมารดา ชอ่ื ภู เปน ชาวบานหนองโพ โดยเหตเุ ปน ลกู คนแรกของบิดามารดา ปยู า ตายายจึงใหชอื่ วา “เดิม” อปุ สมบทเปน พระภิกษุ ณ พธั สีมา วดั เขาแกว อาํ เภอพยหุ ะคีรี เมื่อวันอาทิตยท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๔๒๓ ฉาย“พุทธสโร” หลวงพอเดิมมีสมณศกั ดเิ์ ปน พระครนู ิวาสธรรมขนั ธ รองเจาคณะแขวง เมอื งนครสวรรค ตอ มาเปน เจา คณะแขวงอาํ เภอพยหุ ะครี ี ดาํ รงตาํ แหนง เจาอาวาสวัดหนองโพ อาํ เภอตาคลี จงั หวัดนครสวรรค

วิถีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอพยหุ ะครี ี จังหวดั นครสวรรค ๓๕ ระหวาง พ.ศ. ๒๔๓๐ – ๒๔๙๔ เปน พระที่สําคัญรูปหน่งึ ของ จังหวัดนครสวรรค หลวงพอเดิมเปนคนมีมานะแลวก็ต้ังตนศึกษา หาความรเู ปน การใหญ จนแตกฉานพอแกส มยั นน้ั กเ็ รม่ิ เทศนแ ละสามารถ อธบิ ายขอ ธรรมตา งๆ ใหผ ฟู ง เขา ใจงา ย นอกจากน้ี หลวงพอ ยงั มชี อ่ื เสยี ง เลื่องลือในเร่อื งวิชาอาคมยิ่งนัก มีผูไปขอเครื่องรางของขลังไวคุมครอง ปองกนั ตวั กนั มากมายนอกจากนี้ ทานยงั เปน พระนกั พฒั นา สรางถาวร วัตถทุ างพระพุทธศาสนา สรางโรงเรียน ชุดสระน้ํา สรางถนน รวมทั้ง สรางถาวรวตั ถทุ างพทุ ธศาสนาใหกับวัดอ่นื ๆ ดวยเชน กอสรางมณฑป วัดเขาแกว สรางโบสถวัดอินทาราม อําเภอพยุหะคีรีภายหลังท่ีทาน กลับจากเปนประธานงานกอสรางโบสถวัดอินทารามแลวไมนาน กถ็ ึงแกมรณภาพ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ คํานวณอายุ ได ๙๒ ป อุปสมบทมาได ๗๑ พรรษา

๓๖๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอพยหุ ะคีรี จงั หวัดนครสวรรค ๒. หลวงพอ กนั หลวงพอกัน วัดเขาแกว อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค ทา นเปน คนเดด็ ขาดจรงิ จงั มเี มตตาสงู สง ชว ยเหลอื ทกุ ๆ คนผเู ดอื ดรอ น เมื่อเอยปากเปน ชวยเสมอ จนหลายคนกลาวขานวาทานเปน ผูท่มี ีวาจา ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ โดยหลวงพอ กนั มสี มณศกั ดเ์ิ ปน พระครนู สิ ติ คณุ ากร หลวงพอ กนั (พระครนู สิ ติ คณุ ากร) นามเดมิ ชอ่ื กนั นามสกลุ ศรเี พง็ บดิ าชอื่ นายเปลยี่ น ศรเี พง็ มารดาชอื่ นางไพ ศรเี พง็ ทา นเกดิ เมอ่ื วนั จนั ทร ขนึ้ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๕ ปมะโรง ตรงกบั วนั ท่ี ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๔ ณ หมู ๒ บานพยุหะ ตาํ บลพยหุ ะ อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค มพี น่ี อ งรว มบดิ ามารดา เดียวกนั ๕ คน คือ ๑. หลวงพอกนั ๒. นายสิน๓. นางเมา ๔. นายโชติ ๕. นางคตุ เมอ่ื วยั เยาวท า นไดร บั การศกึ ษาจบชนั้ ประถมปท ่ี ๔ หรอื ไมน นั้

วิถีชีวติ วฒั นธรรม อําเภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๗ ไมทราบแนชัด ทานเปนเด็กข้ีเหรและเปนโรคหนอที่เทา เวลาเดิน ทา นตอ งเขยง เทา ทา นเปน คนพดู นอ ย เมอื่ วา งจากการเรยี นทา นจะชว ย บิดาของทานเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย เปนคนรกั สงบ ไมชอบรุกรานผูใดและ เม่อื ถูกผูใดรงั แก ทานกเ็ ฉยๆ ไมสู ไมตอลอตอเถียง ในวยั เดก็ หลวงพอ เปน คนขยนั เอางานเอาการ ไมชอบอยูเฉยๆ เม่ืออายไุ ด ๑๓ ป ทานได บรรพชาเปน สามเณร เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๓ และอยูตอมาจนอายุครบบวช จึงอุปสมบทบวชเปนพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดเขาแกว ตําบลพยุหะ อาํ เภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค เมอื่ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ โดยมีหลวงพออองเปน องคอุปช ฌายะ (รปู ยงั มีอยูทีก่ ฏุ ินิสิคณุ ากร) หลังจากทานไดอุปสมบทแลว ทานสนใจศึกษาพระธรรมวินัย เปนอยางมาก และเคยเขาสอบนักธรรมตรี สนามสอบวัดสวรรควิถี อาํ เภอเมือง จังหวัดนครสวรรค แตสอบไมได ในสมัยนั้นการศึกษาจัด วา ไมค อ ยเจรญิ นกั ทา นกข็ วนขวายในการศกึ ษาธรรมวนิ ยั สมาํ่ เสมอ แต ไมไ ดเ ขา สอบอกี เลย ทา นไดเ บนความสนใจมาทางการปฏบิ ตั ธิ รรมมาก ยิ่งข้ึน และเอาใจใสในเรื่องปฏิสังขรณวัดเปนสวนใหญ ตลอดทั้งดูแล ปกครอง เลี้ยงดลู กู ศิษยลกู หา นายสอน ศรีนุช อายุ ๘๒ ป เปน ลกู ผูพี่ ของหลวงพอ ไดเลาวา ลูกชายของแกทุกๆ คนเคยเปนศิษยของหลวง พอและเคยถกู ทานตีมาแลวทกุ คน มีอยคู ร้ังหนง่ึ ลกู ชายคนหนงึ่ ของแก เคยลอเลียนหลวงพอวา “หลวงอา ทาํ ไมหลวงอาจึงอานวาเดือน กรก- ฎา-คม (หมายถงึ เดอื นกรกฎาคม) ปรากฏวา หลวงพอ เปน คนมอี ารมณข นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook