Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานพระสอนศีลธรรม

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานพระสอนศีลธรรม

Description: มหาวิทยาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Keywords: พระสอนศีลธรรม

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร

คํานาํ สํานักงานพระสอนศีลธรรม สํานักงานอธิการบดี ไดจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๓ ฉบับน้ีข้ึนใชเปนแผนปฏิบัติการในระยะ ๑ ป เพ่ือขับเคลื่อนงาน “โครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน” ใหบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรม ดําเนินไปอยางสอดคลองกับพันธกิจมหาวิทยาลัย “สงเสริม พระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม” อีกทั้งยังเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการ งานในความรบั ผิดชอบใหเ ปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ บรรลุวตั ถุประสงค ตรงตามนโยบายของมหาวิทยาลัย สาระสําคัญของแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๓ สอดคลองกับแผนแมบทสํานักงานพระ สอนศีลธรรม ภายใตแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระยะที่ ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) ใน ยุทธศาสตรท่ี ๓ “พัฒนางานบริการวิชาการแกสังคมใหมีคุณภาพเปนท่ียอมรับในระดับชาติและนานาชาติ” โดยมสี าระสาํ คญั ประกอบดวยวสิ ัยทัศน พันธกจิ แผนยทุ ธศาสตร แผนงานโครงการ/กจิ กรรม และงบประมาณ ดําเนินการ พรอมทั้งเปาหมายตัวช้ีวัด และแนวทางการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ดังกลา วน้นั สํานักงานพระสอนศีลธรรม หวังวา แผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ นี้ จะสรางความเขาใจใน สาระสําคัญท่ีเกี่ยวกับเปาหมาย และแนวทางการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมาย รวมท้ังกลไกการติดตาม ประเมินผลใหก ับผูป ฏิบัติงานมากย่งิ ขึ้น เพอ่ื ใหก ารดาํ เนินงานเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ เกิดประสทิ ธผิ ลตาม วัตถุประสงคทตี่ ้ังไวท กุ ประการ คณะผจู ัดทํา ตุลาคม ๒๕๖๓ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ก

บทสรปุ ผูบรหิ าร ปงบประมาณ ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศีลธรรม ตั้งคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบตั ิการประจําป ให ไปศึกษา วิเคราะห ประเมินสภาพแวดลอมท่ีสงผลตอการดําเนินงาน กําหนดเปาหมาย และวางแผนการ ปฏบิ ัติงานประจาํ ป พรอมทงั้ แนวทางติดตามประเมินผล คณะทํางานจึงไดศึกษาวิเคราะห ประเมินสภาพแวดลอมของการทํางานท่ีเกี่ยวของทั้งภายในและ ภายนอก มีขอบเขตเน้ือหาขอมูลที่ทําการศึกษาวิเคราะหปรากฏดังแผนผังความเช่ือมโยงกรอบแนวคิดการ จดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําป ๒๕๖๓ แผนภาพความเชอ่ื มโยงกรอบแนวคิดการจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป ๒๕๖๓ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ข

แผนภาพแสดงความเชือ่ มโยงสัมพันธร ะบบการบริหารและการปฏิบตั งิ านตามกลไก “กระบวนงานหลกั กระบวนงานสนับสนนุ สูเปาหมายประจาํ ป ๒๕๖๓” ระบบสรรหา พฒั นาสมรรถนะ ตดิ ตามประเมินผลการสอน พระสอนศีลธรรม พระสอนศีลธรรม ของพระสอนศลี ธรรม การประกันคณุ ภาพ (QA) / การควบคุมภายใน (IC) ระบบสารสนเทศ (IT) / เสรมิ สรางพัฒนาเครอื ขาย (Network) การสรรหาและพัฒนาบุคลากร (HR) / การจดั การความรู (KM) แผนงบประมาณ / แผนปฏิบตั ิการ / การบรหิ ารความเสี่ยง (RM) งานแผน (แผนงบประมาณ / แผนปฏบิ ตั กิ าร /งานบริหารความเส่ยี ง) • มีแผนปฏบิ ตั งิ านเพ่อื บรรลเุ ปาหมายท่กี าํ หนดไว ซ่ึงกาํ หนดแนวทางปฏิบตั ไิ วใ • ปจ จยั ตาง ๆ ทอ่ี าจเปนภาวะคุกคาม (risk) ใหการบริหารและปฏบิ ัติงานไมบ ร • กระบวนการทํางานตลอดสาย ดําเนินไปตามแผนงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย พัฒนาใหเหมาะสมกับสถานการณใ นหว งเวลานั้น ๆ (Act) งานจัดการความรู • มอี งคความรูสาํ คัญและจําเปนตอการบรหิ ารและปฏบิ ตั งิ านใหบรรลุถงึ เปาหม งานพัฒนาบคุ ลากร (บคุ ลากรสํานักงาน / พระสอนศลี ธรรม) • บคุ ลากรสวนงานไดร บั การพัฒนาอยางตอเนอื่ ง มสี มรรถนะท่สี งู ในการปฏิบตั • พระสอนศลี ธรรมไดรับการพัฒนาใหม ขี ีดความสามารถจัดการเรยี นการสอนท แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕

กคุณภาพ (PDCA) ๑.มพี ระสอนศีลธรรม จาํ นวน ๑๘,๐๐๐ รปู ๒.ความสําเรจ็ ในการเบิก จายนติ ยภตั พระสอนศลี ธรรม ๙๕ % ๓.พระสอนศลี ธรรมมสี มรรถนะสูงผา นการประเมนิ ระดบั เชยี่ วชาญ ๗๖ รปู ๔.นกั เรียนไดร ับการยกยอ งดานคุณธรรม จรยิ ธรรม ๗๗ คน ๕.สถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารตามหลกั ไตรสกิ ขา ๘๐ โรง ๖.รอ ยละ ๘๐ ของกระบวนการภายใน ไดรบั การปรับปรงุ ๗.รอยละ ๘๐ ของบคุ ลากรไดรบั การพฒั นาศักยภาพ ใหช ดั เจน เชอ่ื มโยงกบั แผนงบประมาณ และแผนบรหิ ารความเส่ยี ง รรลวุ ิสยั ทัศนหรือเปา หมายทก่ี ําหนดไว ไดร บั การควบคุม ยตามท่ีกําหนดไว (Do) และไดรับการติดตามประเมินผล (Check) ปรับปรุง มายที่กาํ หนดไวในแผนปฏิบัติการ และวิสยั ทศั นใ นแผนพฒั นา ท่พี รอมใชงาน ติงาน ทเ่ี ช่ยี วชาญ ๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ค

งานพัฒนาระบบสารสนเทศงานพัฒนาระบบสารสนเทศ • ผูบริหารมีขอมูลประกอบการบรหิ าร ตัดสินใจ (ถูกตอง เปนจริง ครบถว น รวด • บคุ ลากรมขี อมลู ประกอบการปฏิบตั งิ าน (สั้น กระชบั งาย ปฏิบัติไดทนั ที) • ผมู สี ว นเกย่ี วของหรอื ผูส นใจท่ัวไป เขาถงึ และสืบคนขอ มูลไดอ ยา งสะดวก คร ระบบกลไกการประกนั คณุ ภาพ ประจาํ ป • แผนพฒั นาคณุ ภาพตามขอเสนอแนะจากผลการประเมนิ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕

ดเรว็ ) รบถวน รวดเรว็ ๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ง

รายละเอยี ดเปาหมายแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป ๒๕๖๓ วิสยั ท วสิ ยั ทศั นส วนงาน : เปน พลงั ขับเคลอ่ื นศลี ธรรมในสถานศึกษา สนับ แผนงานพื้นฐาน : ดานการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพคน ผลผลติ ท่ี ๒ : ผลงานการใหบ ริการวิชาการ งบป เปา หมาย : ตวั ช ๑. มพี ระสอนศีลธรรมสอนพระพุทธศาสนาแกนกั เรยี นในสถานศึกษา จาํ น ๒. พระสอนศีลธรรมมสี มรรถนะสงู ผานการประเมนิ ระดับเช่ียวชาญ จาํ น ๓. ความสําเรจ็ ในการเบิก จา ยนิตยภัตพระสอนศลี ธรรม รอ ยล ๔. นักเรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มทพี่ งึ ประสงคตามเกณฑส ถานศึกษา จําน ๕. สถานศึกษาไดรับการพฒั นาตามระบบกลไกวิถีพทุ ธ จาํ นว ๖. กระบวนการทํางานไดรบั การปรับปรงุ ใหดขี ้ึน ๗. บุคลกรไดร บั การพฒั นาใหม ีสมรรถนะทสี่ ูงขึ้น รอยล หนวยงานรับผิดชอบหลกั : สาํ นกั งานพระสอนศีลธรรม รอยล หนว แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕

ทศั นมหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาระดับโลก บสนนุ ยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั : พัฒนางานบริการวิชาการแกส ังคมใหม คี ุณภาพ เปนท่ียอมรับทั้งในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ประมาณ : ๔๖๐,๙๑๖,๙๐๐ บาท ชีว้ ดั : คา เปาหมาย : คาความสําเร็จ : นวนพระสอนศลี ธรรม ๑๘,๐๐๐ รปู ๑๐๐ % นวนพระสอนศลี ธรรม ๘๐ รปู ๙๕ % (๗๖ รูป) ละความสําเร็จ ๑๐๐ % ๙๕ % นวนนักเรยี นท่ไี ดร ับการยกยอ งดา นคุณธรรม ๗๗ คน ๑๐๐ % วนสถานศึกษาท่ีผา นการประเมินอตั ลกั ษณว ิถพี ุทธ ๑๐๐ โรง ๘๐ % ละของกระบวนการทํางานที่ไดร ับการปรับปรงุ ๑๐๐ % ๘๐ % ละของบคุ ลากรท่ไี ดรบั การพฒั นา ๑๐๐ % ๘๐ % วยงานรบั ผดิ ชอบรว ม : วทิ ยาเขต, วิทยาลยั , หองเรยี น และหนวยวิทยบรกิ าร ท่ีเปน ศูนยอาํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น ๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร จ

แผนงบประมาณรายจาย 2563 งบประมาณทง้ั สิน้ 1. คาตอบแทนพระสอนศีลธรรม (จาํ นวน 18,000 รูป) 1.1 คา ตอบแทนพระสอนศลี ธรรม(จาํ นวน 18,000 รูป ๆ 10 เดือน ๆ ละ 2,500 บาท {ยกเวนเดือนเมษายนและตลุ า 1.2 คา ตอบแทนพเิ ศษพื้นทส่ี ูง (35 รปู ) และพืน้ ทีเ่ สี่ยงภยั (151 รปู ) (รวม 186 รูป ๆ ละ 10 เดอื น ๆ ละ 1,500 บา 2. เงนิ เดือน จนท.โครงการฯ 2.1 จนท.สนง.พระสอนศลี ธรรม สวนกลาง 2.2 จนท.ประจาํ ศนู ยฯ สว นภมู ิภาค 3. คาดําเนินงาน 3.1 คาใชสอย สาธารณูปโภค และวัสดุ (จดั ใหสวนภูมิภาค) 3.2 คาจัดโครงการปฐมนเิ ทศพระสอนศีลธรรมประจาํ ป(จดั ใหส วนภูมิภาค) 3.3 งบบริหาร สวนกลาง (คา ใชสอย สาธารณปู โภค และวสั ด)ุ 3.4 ประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น(คณะกรรมการดําเนินงาน และคณะกรรมการอํา 3.5 ประชุมคณะผปู ระสานงานและเจาหนา ท่ี 4. คา ดาํ เนนิ งานกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาโครงการฯ 4.1 โครงการพฒั นาระบบการจัดการฐานขอ มลู พระสอนศลี ธรรม 4.2 โครงการปฐมนเิ ทศพระสอนศีลธรรม ประจาํ ปงบประมาณ2563 4.3 โครงการตดิ ตามประเมินผลและปรบั แผนแมบทสาํ นักงานพระสอนศีลธรรม 4.4 โครงการผลิตสอ่ื คลงั ความรูส าํ หรับพระสอนศีลธรรม 4.5 โครงการจัดทาํ ตัวช้วี ดั และแนวทางการประเมินสถานศกึ ษาอาชีววิถีพทุ ธ 4.6 โครงการคายพัฒนาทักษะการถกาที(วาจาสภุ าษิต) 4.7 โครงการจัดการความรู และพฒั นาสมรรถนะบุคลากร 4.8 โครงการพฒั นาสมรรถนะพระสอนศลี ธรรม หลกั สตู รActive Learning 4.9 โครงการตดิ ตามประเมนิ ประสทิ ธผิ ลการสอนของพระสอนศลี ธรรม 4.10 โครงการประชุมสัมมนาพระสอนศีลธรรม รวมกบั พระนกั เทศนแ ละพระนักเผยแผ 4.11 โครงการผลติ สือ่ โทรทศั น\"รายการอาสาตามหาคนด\"ี 4.12 โครงการโรงเรยี นวิถีพุทธชน้ั นํา 4.13 โครงงานคณุ ธรรมสง เสรมิ อัตลกั ษณว ถิ ีพุทธ 4.14 โครงการพัฒนาสมรรถนะพระสอนศีลธรรมตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รุนท่ี๔ 4.15 โครงการมาฆบชู า สมัชาวถิ ีพทุ ธ 4.16 โครงการวจิ ัยและนวตั กรรมเพื่อพัฒนาสังคมและส่ิงแวดลอม แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕

เงนิ อุดหนนุ จากรัฐ เงนิ สะสม/เงนิ นอกงบ รวม ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ปง บประมาณ 2563 เปนเงนิ ทัง้ สิ้น 58,400,000 าคม} ) 402,516,900 18,877,200 460,916,900 าท) 389,956,800 18,877,200 408,834,000 ทุกสวนงาน านวยการ) 387,445,800 406,323,000 - 2,511,000 463,260 2,511,000 วข.เชยี งใหม,วส.ปต ตานี 6,736,740 463,260 7,200,000 1,336,740 5,400,000 - 1,800,000 5,823,360 4,359,540 2,782,300 5,400,000 3,041,060 - 10,182,900 - 2,782,300 - 1,259,540 3,041,060 - 1,000,000 1,259,540 - 2,100,000 1,000,000 นายพีระพล - 34,700,000 2,100,000 นายพีระพล - 1,000,000 34,700,000 - 900,000 1,000,000 พระมหากฤษดา - 300,000 900,000 นายพีระพล - 2,000,000 300,000 นายขวญั ตระกูล - 300,000 2,000,000 นายนริ ตุ - 600,000 300,000 พระมหาสุรศักดิ์ - 300,000 600,000 นายภูวนัย - 15,000,000 300,000 นายเอกชัย - 1,500,000 15,000,000 พระมหานพดล / นายนิรตุ - 1,000,000 1,500,000 พระมหานพดล - 1,000,000 1,000,000 พระมหาสาม - 1,200,000 1,000,000 พระครูสงั ฆรกั ษสนุ ทรกมล - 2,500,000 1,200,000 นางสาวราตรี - 1,900,000 2,500,000 พระมหานพดล - 5,000,000 1,900,000 พระมหาสุรศักด์ิ - 200,000 5,000,000 นายพีระพล 200,000 พระมหานพดล ๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ฉ

กระบวนการนาํ แผนสกู ารปฏบิ ตั ิ ๑. ส่ือสาร สรางความเขาใจทิศทางองคกรทั้งวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค จุดเนนการพัฒนา และ เปาหมายการใหบ ริการหนว ยงาน ใหบ ุคลากรทุกระดับท่เี กย่ี วของรับรูและเขาใจตรงกนั อยา งทว่ั ถึง ๒. จัดโครงสราง กระบวนการทํางาน และมอบหมายผูรับผิดชอบปฏิบัติงาน ทั้งผูรับผิดชอบหลัก ผูรับผดิ ชอบรอง และผสู นับสนุน พรอมกาํ หนดบทบาทความรับผดิ ชอบอยางชดั เจน ๓. วิเคราะหเปรียบเทียบสภาพปจจุบัน และเปาหมายตามนโยบาย เพ่ือกําหนดกลยุทธและจัดทํา แผนปฏบิ ตั ิงานใหบรรลตุ ามเปา หมายตามวัตถุประสงค ๔. ดาํ เนนิ งาน กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ัติการทก่ี าํ หนด ๕. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อใหการนํากลยุทธสูการปฏิบัติอยาง เปนรูปธรรม โดยติดตาม ความกาวหนา การดําเนนิ งานตามระยะเวลาท่ีกําหนดไว และการประเมนิ ผล เม่อื ส้นิ สุดปง บประมาณ ๖. รวมรวบ บนั ทึก จัดเก็บ ผลการดาํ เนินงาน การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล พรอ มท้ังรายงาน ผลการดาํ เนนิ งานตามระยะเวลาทกี่ ําหนดไว การกํากบั ติดตาม โดยคณะทํางานกํากับติดตามประเมินผล กลุมงานแผนงานและประเมินผล สํานักงานพระสอน ศีลธรรม กํากับติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๓ และนําเสนอตอ ผูบริหาร เพือ่ พิจารณาใหขอเสนอแนะในการปรบั ปรุงแกไข จุดท่คี วรพฒั นา และสง เสรมิ สนับสนนุ จุดแขง็ การประเมินผลการดําเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๓ จะดําเนินการโดย ใชกระบวนการตามกลไกในองคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ ตัวบงช้ีท่ี ๑.๑ กระบวนการพัฒนาแผน ปจจยั ความสาํ เร็จ ๑. มหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการบริหารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน บริหารจัดการโดยเปด โอกาสใหท กุ ภาคสว นมีสวนรวมและยดึ หลักธรรมาภิบาล ๒. สํานกั งานพระสอนศีลธรรม ศนู ยอาํ นวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ทุกแหง ปฏิบตั งิ าน โดยมุงผลสัมฤทธ์ิ และทํางานแบบมีสวนรวมท่ีเอ้ือตอการพัฒนาความคิดริเร่ิมสรางสรรค การ ปฏบิ ตั ิงานใหบ รรลุตามวัตถุประสงคแ ละเปา หมายที่กําหนดไว ๓. หนวยงานเครือขาย หนวยงานที่เก่ียวของสงเสริมการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตรในการพัฒนาการ ปฏบิ ตั งิ านอยางเปนระบบ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ช

สารบัญ ก ข คาํ นํา ซ บทสรปุ ผูบรหิ าร ๑ สารบัญ ๑ สวนที่ ๑ บทนาํ ๒ ๑.๑ ความเปนมา ๒ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค ๑.๓ เปาหมาย ๓ ๑.๔ ขั้นตอนทาํ แผนของสวนงาน ๔ สวนที่ ๒ การประเมนิ สภาพแวดลอม ๔ ๒.๑ สภาพแวดลอ มทีม่ ผี ลตอ การดําเนนิ งาน ๔ ๒.๑.๑ นโยบายภาครฐั ๒.๑.๒ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม ๕ ๒.๑.๓ นโยบาย มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั /นโยบายอธกิ ารบดี ๕ ๒.๑.๔ นโยบายคณะสงฆ ๒.๑.๕ นโยบายและจดุ เนนของกระทรวงศึกษาธิการ ๗ ๒.๑.๖ นโยบายหนว ยงานภาคีเครือขา ย ๘ ก. โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั (มมร.) ๑๑ ข. สาํ นักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ค. สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ๑๑ จ. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ฉ. สํานักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ๑๑ ๒.๑.๗ เปา หมายประจําป ของสวนงาน ๑๑ ๒.๒ แผนพัฒนาคณุ ภาพสว นงาน ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ๒.๓ การประเมินความเสย่ี ง ๑๒ ๒.๕ สายโซคณุ คา สํานักงานพระสอนศีลธรรม สว นที่ ๓ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๒ ๓.๑ แผนงานและประมาณการใชจ า ยงบประมาณ ๑๓ ๓.๑.๑ ท่มี าของงบประมาณรายจาย ๓.๑.๒ แผนงานและประมาณการจา ยงบประมาณ ๑๓ ๓.๑.๓ การจดั สรรงบประมาณประจําป ๒๕๖๓ ๑๗ ๑๘ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๓ แผนปฏบิ ัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ซ

๓.๑.๔ โครงการตามแผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๔ ๓.๒ แผนปฏิบัตกิ าร ๒๕ ๓.๒.๑ โครงการ/กิจกรรมในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป ๒๕๖๓ ๒๖ สวนท่ี ๔ การรบรหิ ารแผนสูการปฏิบัติและการติดตามประเมนิ ผล ๑๐๓ ๑๐๓ ๔.๑ การบรหิ ารแผนสูการปฏบิ ตั ิ ๑๐๓ ๔.๑.๑ การจัดสรรงบประมาณ เพอ่ื การขับเคล่อื นแผนปฏบิ ตั ิการ ๑๐๓ ๔.๑.๒ ปจจัยความสาํ เร็จ ๑๐๔ ๔.๒ กระบวนการนาํ แผนสูก ารปฏิบตั ิ ๑๐๕ ๔.๓ การตดิ ตามประเมินผล ๑๐๗ ภาคผนวก ๑๐๘ ภาคผนวก ๑ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประจาํ ปงบประมาณ ๒๕๖๓ ๑๑๕ ภาคผนวก ๒ คณะกรรมการบริหารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ๑๑๕ ๑๑๘ ๒.๑ คณะกรรมการอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น ๑๒๒ ๒.๒ คณะกรรมการดาํ เนินงานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ๑๒๓ ภาคผนวก ๓ คณะทาํ งานจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปสํานกั งานพระสอนศีลธรรม ๑๒๔ ๓.๑ ปฏทิ นิ การจดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๓ ๑๒๔ ภาคผนวก ๔ โครงสรางหนว ยงาน และโครงสรางการบริหาร ๔.๑ โครงสรางหนว ยงาน ๑๒๕ ๑๒๖ ๔.๒ โครงสรางการบริหาร ๔.๓ คณะกรรมการอํานวยการ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๑๒๗ ๔.๔ คณะกรรมการดําเนินงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๑๓๑ ๑๓๕ ๔.๖ ผูรบั ผดิ ชอบพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นประจําจังหวัด สว นกลาง ๔.๗ ผูบริหารและเจา หนาทศี่ ูนยอาํ นวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ฌ

สว นที่ ๑ บทนาํ ๑.๑ ความเปน มา โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มีความสําคัญตอการผลักดันพันธกิจของมหาวิทยาลัย “ดานการบริการวิชาการแกสังคมและชุมชน” เนนกลุมโรงเรียนในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ ารเปนเปา หมาย อกี สว น หนึ่ง เปนความคาดหวังของสังคมในระดับสูง ท้ังภาคคณะสงฆ คือ การชวยสงเสริมงานดานการเผยแผ และ การศึกษาสงเคราะห บอก เปด เผย แสดงหลกั ธรรม คําสอนทางพระพุทธศาสนาสูเดก็ และเยาวชนของชาติ ให เปนคนมีความรูดีในพระธรรม นอมนําไปประพฤติปฏิบัติใหเกิดผลดีตอตัวเอง สังคม ประเทศชาติ และเปน ความคาดหวังของภาครฐั ในการชวยส่ังสอน อบรมปลกู ฝง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมใหกับเดก็ ในชาติเปนคน ดี มีศลี มีธรรม รหู นาท่ี เปนพลเมืองทีด่ ี นาํ พาประเทศชาติไปสคู วามมั่นคง มง่ั ค่งั ยัง่ ยนื ในการขับเคลื่อนโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีวางเอาไว มหาวทิ ยาลัยไดแ ตง ตง้ั คณะกรรมการข้ึน ๒ ชดุ เพ่ือกํากบั ควบคมุ ดแู ลการดาํ เนนิ โครงการฯ คือ ๑) คณะกรรมการอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มอี ธิการบดีเปนประธาน ๒) คณะกรรมการดําเนินงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มีรองอธกิ ารบดฝี ายบริหาร เปน ประธาน ในการบริหารโครงการฯ ใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยไดแบงภาระงาน พรอมท้ังงบประมาณใหกับหนวยจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยในวิทยาเขต วิทยาลัย หองเรียน หนวยวิทย บริการ รับไปดําเนินการโครงการฯ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตน และใหแตงต้ังคณะกรรมการข้ึนอีก ๑ ชุด เรียกวา “คณะกรรมการอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ประจําวิทยาเขต วิทยาลัย หองเรียน หรือหนวยวทิ ยบรกิ าร” เพอ่ื กาํ กบั ดูแลการบริหารโครงการฯ ในพ้นื ท่ี สํานักงานพระสอนศีลธรรม สํานักงานอธิการบดี ในฐานะเปนเลขานุการคณะกรรมการดําเนินงาน โครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มีพนั ธกิจสําคัญ ๔ ประการ คือ ๑) สรรหาคัดเลือกพระสงฆที่มีคุณสมบัติครบถวนตามเกณฑที่คณะกรรมการบริหารโครงการพระ สอนศีลธรรมในโรงเรียนไดกําหนดไว และมีความตองการเปนพระสอนศีลธรรมใหเขาสูกระบวนการ ระบบ กลไกการสรรหาคดั เลือกที่มีเกณฑมาตรฐานทีเ่ ปนทีย่ อมรบั ของทกุ ภาคสว น ๒) พฒั นาสรรถนะพระสอนศลี ธรรม ใหม ีขีดความสามารถท่สี ูง เปน ผูม คี วามเชยี่ วชาญในการจัดการ เรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา และจัดการฝกอบรม ขัดเกลาพฤติกรรมเชิงพุทธ สรางเสริมใหนักเรียนเปน คนดีตามหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา แผนปฏบิ ตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑

๓) ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของพระสอนศีลธรรม เพ่ือทบทวนสรางความเขาใจ ในบทบาทหนา ทีก่ ารเปน พระสอนศีลธรรม คนหารวบรวมผลผลิตผลลพั ธที่สรางประโยชนและคุณคาใหเกิดข้ึน แกสังคม ถอดเอาองคความรูท่ีเปนเทคนิค วิธีการสอนพระพุทธศาสนาจัดเก็บเปนแนววธิ ีปฏิบัติดานการสอน ศีลธรรมตนแบบ ๔) บริหารงบประมาณโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นตามหลักธรรมาภบิ าล ใหมปี ระสิทธภิ าพ เกิดประสิทธผิ ล และภาระกจิ อ่ืน ๆ ตามทม่ี หาวิทยาลยั มอบหมาย เพื่อใหการปฏิบัติงานสําเร็จดวยดีตามภาระกิจท่ีไดรับมอบหมาย สํานักงานพระสอนศีลธรรม ได ตระหนักถึงประสิทธิภาพ ความคุมทุนอยางสูงสุดตองบประมาณที่ไดรับจัดสรรมา และใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอผูรับบริการในการสงเสริมสนับสนุนการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรมแกนักเรียนในสถานศึกษา ฉะน้ัน เพื่อกําหนดทิศทางการทํางานใหมีเปาหมายที่ชัดเจน และแกไขปญหาท่ีเกิดมีขึ้น หรือปองกันปญหาท่ี อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต อีกท้ังเพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ บรรลุ วัตถุประสงค และนโยบายของมหาวิทยาลัย จึงไดจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ ตามแผนแมบท สํานักงานพระสอนศีลธรรม สอดรับกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ตาม ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนางานบริการวิชาการแกสังคมใหมีคุณภาพเปนที่ยอมรับในระดับชาติและ นานาชาติ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศีลธรรม ใหสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ ทิศทางการพัฒนาตามแผนแมบทสํานักงานพระสอนศีลธรรม และแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลัย ๑.๓ เปาหมาย สํานักงานพระสอนศีลธรรม มีแผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ ที่กําหนดเปาหมายชัดเจน เช่ือมโยง กับแผนบริหารงบประมาณ แผนพัฒนาคณุ ภาพ และแผนบรหิ ารความเสย่ี ง โดยมุง หวังใหเ กิดการเปล่ียนแปลง ท่ีพัฒนาไปในทิศทางทีด่ ขี ึ้น ดังน้ี ๑) มพี ระสอนศีลธรรม จาํ นวน ๑๘,๐๐๐ รูป ๒) ความสําเร็จในการเบิก จา ยนิตยภัตพระสอนศีลธรรม ๙๕ % ๓) พระสอนศลี ธรรมมสี มรรถนะสงู ผานการประเมินระดบั เช่ียวชาญ ๗๖ รปู ๔) นกั เรียนไดร บั การยกยองดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๗๗ คน ๕) สถานศึกษามีระบบการบรหิ ารตามหลกั ไตรสิกขา ๘๐ โรง ๖) รอ ยละ ๘๐ ของกระบวนการภายใน ไดร บั การปรับปรงุ แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒

๗) รอ ยละ ๘๐ ของบุคลากรไดร ับการพฒั นาศกั ยภาพ ๑.๔ ขั้นตอนทําแผนของสวนงาน ๑. ประมวลผล สรปุ วิเคราะหผ ลการปฏบิ ัติงานในรอบปทผี่ านมา ๒. จัดทาํ คําของบประมาณรายจา ยประจาํ ป ๓. แตง ตั้งคณะทาํ งานจดั ทาํ แผน ๔. สํารวจ ประเมนิ สภาพแวดลอม ๕. วเิ คราะห สงั เคราะหขอมลู ที่ได จัดทาํ (ราง) แผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ ๖. นําเสนอ (รา ง) แผนฯ ตอทีป่ ระชมุ ประจําสว นงานเพ่ือรวมพจิ ารณาใหค วามเห็น ๗. สง แผนฯ ใหก ับกองแผนงานเพ่ือรวบรวมจดั ทําเปนแผนปฏบิ ัติการในภาพรวมมหาวิทยาลยั ๘. นาํ แผนไปสูการปฏิบตั ิ กาํ กบั ติดตามผล แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๓

สวนท่ี ๒ การประเมนิ สภาพแวดลอม การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศีลธรรม มีขอมูลนโยบาย เอกสารท่ี เชอื่ มโยงเกย่ี วขอ งและนํามาทบทวนการจัดทําแผน ดังนี้ ๒.๑ สภาพแวดลอ มทีม่ ีผลตอการดําเนนิ งาน ๒.๑.๑ นโยบายภาครฐั ๒.๑.๒ นโยบายกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม ๒.๑.๓ นโยบายมหาวทิ ยาลัย/นโยบายอธิการบดี ๒.๑.๔ นโยบายคณะสงฆ ๒.๑.๕ นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ ๒.๑.๖ นโยบายหนว ยงานภาคเี ครอื ขาย ๒.๑.๗ เปาหมายของหนว ยงาน ๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพสว นงาน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒.๓ การประเมินความเส่ียง ๒.๔ โครงสรางการบรหิ าร ๒.๕ สายโซค ุณคาสาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม ๒.๑ สภาพแวดลอมที่มผี ลตอการดําเนินงาน ๒.๑.๑ นโยบายภาครฐั รัฐบาลใหความสําคัญกับการสงเสริมใหสถาบันทางสังคมรวมปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมท่ีดี รวมทั้งการทาํ นุบาํ รงุ ศาสนา การอนรุ กั ษ ฟน ฟู ศลิ ปวัฒนธรรมไทย และการยอมรบั ประเพณี วัฒนธรรมทดี่ ที ่ีมี ความหลากหลาย เพ่ือสรางสังคมใหมีคุณภาพ คณุ ธรรม และอยรู ว มกนั ไดอ ยา งมคี วามสขุ ดังน้ี ๑. สงเสริมวัฒนธรรมและเอกลักษณของชาติ โดยอนุรักษ ฟนฟู และเผยแพรประวัติศาสตร วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปญญา ภาษาไทยและภาษาถิ่นที่มีอัตลักษณและความหลากหลาย ผานชองทางตาง ๆ เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจในเอกลักษณของชาติ พรอมท้ังสนับสนุนการสรางสรรค ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยเพ่ือกระตุนกระแสนิยมวัฒนธรรมไทย พัฒนาตอยอดและสรางมูลคาเพิ่มใน ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมอยา งเหมาะสม ๒. ปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมที่ดีดานคุณธรรม จริยธรรม กตัญู ความซ่ือสัตย การวินัย เคารพ กฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมีสวนรวมทําประโยชนใหประเทศ และเปนพลเมืองท่ีดี โดยการสงเสริมให สถาบนั การศกึ ษา ภาคประชาสังคมและชมุ ชนเปน ฐานในการบม เพาะ สงเสริมใหภาคเอกชนดําเนนิ ธรุ กจิ อยาง มีธรรมาภิบาล ใหส่ือมีบทบาทกระตุนและสรางความตระหนักในคานิยมที่ดี รวมถึงผลิตสื่อที่มีคุณภาพและ ความรับผดิ ชอบและเปดพนื้ ที่สาธารณะใหป ระชาชนไดแสดงออกอยางสรา งสรรค แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๔

๓. ทํานุบํารุงศาสนาใหมีความเขมแข็ง สงเสริมสถาบันศาสนาทุกศาสนาใหมีบทบาทในการเผยแพร คําสอนท่ีดีงาม ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและเสริมสรางความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจ และ พัฒนาสังคมใหมีความสามัคคี ปรองดอง และยั่งยืน และใหพุทธศาสนิกชนเขาถึงแกนแทคําสอนของ พระพทุ ธเจา และสามารถนํามาปฏิบัติในชีวิตประจาํ วนั ได ๔. สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบาน ยอมรับ เคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ ชาติพนั ธุและชาวตา งชาติที่มคี วามหลากหลาย ในลักษณะพหสุ งั คมท่ีอยู รวมกัน โดยสนับสนุนการเรียนรูภาษาตางประเทศควบคูกับการสงเสริม สรางสรรคงานศิลปวัฒนธรรมท่ีเปน สากล เพอื่ การเปนสวนหนึง่ ของประชาคมโลก ๒.๑.๒ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม วิสัยทัศน “เปนองคกรนําเพื่อขับเคลอื่ นการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไปสูมาตรฐานใน ระดับสากล และเพิม่ อนั ดบั ความสามารถการแขงขันในระดับนานาชาติอยางย่ังยืน ภายใน ป พ.ศ. ๒๕๘๐” อาํ นาจหนา ท่ี (๑) สง เสรมิ สนับสนุน และกํากบั ดูแลการอุดมศึกษาใหเทาทนั การเปล่ียนแปลงของโลก โดยมีความ เปนอิสระทางวิชาการและการบริหารจัดการ ใหมีการพัฒนากําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของ ประเทศ และใหดําเนินการวิจัยและสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศท้ังทางดาน วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี สงั คมศาสตร มนุษยศาสตร และสหวทิ ยาการ (๒) สงเสริม สนับสนุน และกํากับดูแลการวิจัยและการสรางสรรคนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษา และหนวยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมท่ีอยูในสังกัดกระทรวงหรือกํากับดูแลของรัฐมนตรี รวมทั้ง ประสานงานกับหนวยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมที่อยูนอกกระทรวงเพื่อใหเกิดความรวมมือ และ ดําเนินการไปในทิศทางที่มีความเชื่อมโยงและสอดคลองกับนโยบาย ยุทธศาสตร และแผนดานวิทยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรมของประเทศ (๓) จัดใหมีระบบนิเวศและโครงสรางพื้นฐานท่ีสําคัญเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม รวมท้ังสงเสริมความรวมมือเพ่ือผลิตกําลังคนระดับสูงเฉพาะทาง และความรวมมือในดานการ วิจยั และการสรา งสรรคนวัตกรรมกบั หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน และบคุ คลหรือ หนวยงานในตา งประเทศ (๔) ปฏบิ ัติการอื่นที่มีกฎหมายกาํ หนดใหเปนหนา ทแ่ี ละอาํ นาจของกระทรวง ในการดําเนินการตาม (๓) กระทรวงอาจมอบหมายใหหนวยงานในสังกัดหรือในกํากับเปน ผูดาํ เนินการ หรืออาจรวมดําเนนิ การกบั องคก รปกครองสว นทองถ่ิน หนว ยงานเอกชนหรอื ตา งประเทศก็ได ๒.๑.๓ นโยบาย มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย/นโยบายอธิการบดี แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๕

มุงพัฒนาใหเปนมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาระดับโลก โดยจัดการศึกษาและพัฒนาองคความรู บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหนําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน มีพันธกิจที่สํานักงานพระสอน ศีลธรรมตองดําเนินการสงมอบผลผลิตใหมหาวทิ ยาลยั เพ่ือใหบรรลุวิสยั ทัศนดังกลา ว ในประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๓ พัฒนางานบริการวิชาการแกสังคมใหมีคุณภาพเปนท่ียอมรับในระดับชาติและนานาชาติ เพ่ือดําเนินการ สงเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม ใหบริการทางวิชาการในรูปแบบท่ีหลากหลาย มีการ บริการหรือบริหารเพ่ือพัฒนาพระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน ใหบริการ วิชาการดานพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม สงเสริมการเรียนรู ความรวมมืออันดีระหวาง พุทธศาสนกิ ชนในระดบั ชาติ และนานาชาติ วิสัยทศั นม หาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั พระพุทธศาสนาระดบั โลก World Class Buddhist University, WCBU พนั ธกจิ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๑. พฒั นาบณั ฑติ ใหมคี ุณภาพ ๒. พัฒนางานวจิ ยั และนวตั กรรมใหม ีคณุ ภาพทง้ั ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ๓. พฒั นางานบริการวชิ าการแกสงั คมใหมคี ณุ ภาพ เปน ท่ยี อมรับในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ๔. พัฒนางานสงเสริมพระพุทธศาสนาและทะนุบํารงุ ศิลปวัฒนธรรมใหมีคุณภาพเปนท่ียอมรับทงั้ ใน ระดับชาติและนานาชาติ ๕. พฒั นาการบริหารจดั การองคก รเชงิ พุทธบูรณาการ นโยบายการบริหารมหาวิทยาลยั อธิการบดี จดุ เนน ในทศวรรษหนาของมหาวิทยาลยั ๑. MCU Learning Community การผลิตบัณฑิตและการวิจัยดวยกระบวนการชุมชนแหงการ เรียนรู ๒. Academic Service การบริหารวชิ าการ ๓. Buddhist innovation for Mental and Social Development พุทธนวัตกรรมเพ่ือการ พฒั นาจิตใจและสังคม จุดเนนในการขบั เคลอ่ื นโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ๑. พัฒนาคุณภาพพระสอนศีลธรรม เติมเต็มความรู วิธีการวิเคราะห วิธีการขบธรรมะ หลักธรรมท่ี สําคัญทางพระพุทธศาสนา ใหพระสอนศีลธรรมมีความแมนยําในพระปริยัติธรรม จัดกิจกรรมมีโครงการท่ีจะ ไปทบทวนหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เหมอื นกับกลับไปเรยี นนักธรรม ธรรมศกึ ษาทบทวนความจําเพิ่มเติม เสริมตรงนี้ใสเขาไป ความรูที่ไดมาในชั้นแรกอาจจะเปน สุตมยปญญา, จินตามยปญญา แตวาเพราะกลับไป ทบทวนไปเพิม่ เตมิ ไปเสรมิ จะเปน ภาวนามยปญญา ไปผนวกกบั ความรคู วามเขาใจในหลักจดั การเรยี นการสอน แบบ Active Learning จะทรงประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๖

๒. พฒั นาทักษะการจัดการเรยี นการสอนดว ยวธิ ี Active Learning ใหพ ระสอนศีลธรรม ๓. ศึกษาหาแนวทางการปรับเพิ่มคาตอบแทนประจาํ เดือนใหพระสอนศีลธรรมใหมากกวาที่ไดรับอยู การดาํ เนินงานสถานศกึ ษาวถิ ีพุทธ ๑. ดา นกายภาพ การเปน สถานศกึ ษาวิถพี ุทธ ตอ งสะทอนเอกลกั ษณ อัตลกั ษณอ อกมาใหเหน็ ชดั เจน เทียบเคียงกับองคประกอบพระพุทธศาสนาทส่ี าํ คัญทสี่ ะทอ นความเปน พระพุทธศาสนา ๔ ประการ คอื ๑) ศาสนบุคคล รปู รา งหนาตา การแตง องคท รงเครื่อง ๒) ศาสนสถาน ภูมิทัศน ๓) ศาสนวตั ถุ วัสดอุ ุปกรณ ๔) ศาสนพธิ ี กจิ กรรมพธิ ีกรรม ๒. ดานจินตภาพ เอาหลักสามไตรของหลวงพอสมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย (ป.อ.ปยุตโต) มาใช คือ ๑) ไตรรตั น ใหเกิดศรทั ธาเลอ่ื มใสในพระรตั นไตร ๒) ไตรลักษณ ใหเขา ใจความเปน ไปของชวี ิต ๓) ไตรสกิ ขา ใหประพฤติปฏิบตั ติ ามหลักไตรสิกขา ศลี สมาธิ ปญญา ๒.๑.๔ นโยบายคณะสงฆ กิจการคณะสงฆมีอยูดวยกัน ๖ ดาน ไดแก ๑) ดานการศึกษา ๒) ดานการปกครอง ๓) ดานการเผย แผ ๔) ดานสาธารณปู การ ๕) ดา นการศึกษาสงเคราะห ๖) ดา นสาธารณสงเคราะห งานของสํานักงานพระสอนศีลธรรมที่สําคัญ คือ การสงเสริมสนับสนุนถวายความสะดวกใหกับพระ สอนศีลธรรม เพ่ือเขาไปปฏิบัติหนาที่จัดการเรียนการสอนพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สพฐ. และหลกั สูตรธรรมศึกษา ของแมกองธรรมสนามหลวง ซ่ึงสอดคลองกับงานคณะสงฆดานการเผยแผพระพุทธศาสนา และการศึกษาสงเคราะห เปนไปตามระเบียบ ระเบียบมหาเถรสมาคมวาดวยการเผยแผพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๕๐ บุคลากรเผยแผพระพุทธศาสนา หมายถงึ พระสงั ฆาธิการทุกระดบั ชั้น เลขานกุ ารเจา คณะจงั หวดั เลขานกุ ารเจา คณะอําเภอ พระธรรมทตู พระ นักเทศน พระวิปสสนาจารย พระจริยานิเทศก พระปริยัตินิเทศ ครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ครู สอนปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษาและครพู ระสอนศลี ธรรมในสถานศึกษา การเผยแผพ ระพุทธศาสนา การเผยแผพ ุทธศาสนา เปน หนา ที่หรือบทบาทที่พระสงฆห รือพระสังฆาธิ การจักตองกระทํา โดยการจัดการเทศนาอบรมส่ังสอน ประชาชน ใหเกิดศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา และต้ังอยูในสัมมาปฏิบัติเปนพลเมืองดีของประเทศชาติ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย (ชวง วรปฺโญ) กําหนดหนาท่ีหรือบทบาทท่ีวัดตาง ๆ เจาคณะตําบล คณะสงฆอําเภอ และคณะสงฆจังหวัด เกี่ยวกับการเผย แผ ไวด ังน้ี ๑. หาอุบายวิธใี หไ ดย นิ ไดฟ งโอวาท คาํ สั่งสอนหรือขอ แนะนาํ ที่เปน ประโยชน ๒. แนะนํา ส่ังสอน อบรม ประชาชนใหเ ขาใจในศาสนพิธีและการปฏบิ ตั ิ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๗

๓. เทศนาสั่งสอนประชาชนใหต้ังอยูในศีลธรรมและใหไดยินไดฟงเก่ียวกับพระศาสนาโดยถูกตอง การศึกษาสงเคราะห หมายถึง การจัดการศึกษาเพื่อชวยเหลือเกื้อกูลหรืออุดหนุนจุนเจือหรือการชวยเหลือ เกอื้ กลู หรอื อุดหนุนจนุ เจอื การศึกษาอื่นนอกจากการศาสนศึกษาหรือสถาบันการศกึ ษาหรือบุคคลผกู าํ ลังศึกษา เลาเรียนคณะสงฆไดกําหนดการศึกษาสงเคราะหเปนกิจการอันหนึ่งของคณะสงฆ การศึกษาสงเคราะหนั้นวา โดยลักษณะ ควรแยกเปน ๒ ลักษณะ คอื ๑. การศึกษานอกเหนือจากการศาสนศึกษาที่พระสงฆด ําเนินการเพื่อการสงเคราะหประชาชน หรือ พระภกิ ษสุ ามเณร ๒. การสงเคราะหเ กื้อกลู แกก ารศึกษา สถาบนั การศึกษา หรอื บคุ คลผกู าํ ลังศกึ ษา ๒.๑.๕ นโยบายและจดุ เนน ของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือใหการดําเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ใน ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ เปาหมายของแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตร ชาติ วัตถุประสงคของแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะ นโยบาย เรง ดว น เรอ่ื งการเตรียมคนสูศตวรรษที่ ๒๑ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเนน ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดังนี้ หลักการ ๑. ใหความสําคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ท้ังผูเรียน ครูและ บุคลากร ทางการศึกษา ขาราชการพลเรือน และผูบริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภท และ เปน การศกึ ษาตลอดชีวิต ๒. บูรณาการการทํางานรวมกันระหวางสวนราชการหลัก องคการมหาชนในกํากับ ของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการใหมีความคลองตัว รวมทั้งหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพื้นท่ี ภูมิภาคใหสามารถปฏิบัติงานรวมกันได เพื่อดําเนินการปฏิรูปการศึกษารวมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน ตามนโยบายประชารัฐ ระดบั กอนอนบุ าล เนนประสานงานกับสวนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพรอมผูเรียน ในดานสุขภาพและ โภชนาการ และจัดประสบการณก ารเรียนรทู ี่เชอื่ มโยงกบั ระบบโรงเรียนปกติ ระดับอนุบาล เนนสรางความรวมมือกับพอแม ผูปกครอง และชุมชน เพ่ือออกแบบกิจกรรมการพัฒนา ทักษะท่ี สําคัญดานตาง ๆ เชน ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจาํ ทักษะการควบคุมอารมณ ทักษะการรูจักและ ประเมนิ ตนเอง แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๘

ระดบั ประถมศกึ ษา มงุ คํานงึ ถงึ พหุปญ ญาของผูเ รยี นรายบคุ คลทห่ี ลากหลายตามศักยภาพ ดวยจุดเนน ดงั นี้ ๑. ปลกู ฝงความมรี ะเบยี บวนิ ยั ทศั นคติทถี่ ูกตอง โดยใชก ระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด ๒. เรียนภาษาไทย เนน เพอ่ื ใชเปนเคร่ืองมอื ในการเรยี นรวู ิชาอน่ื ๓. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพื้นถิน่ (ภาษาแม) เนนเพือ่ การส่ือสาร ๔. เรียนรูดวยวิธีการ Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู จากประสบการณ จริงหรือจากสถานการณจําลองผานการลงมือปฏิบัติ และเปดโลกทัศนมุมมองรวมกันของผูเรียนและครูดวย การจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นใหม ากขึน้ ๕. สรา งแพลตฟอรม ดิจิทัลเพ่อื การเรยี นรู และใชดิจทิ ลั เปนเคร่อื งมอื การเรียนรู ๖. จดั การเรยี นการสอนเพอื่ ฝกทกั ษะการคิดแบบมเี หตุผลและเปน ข้นั ตอน (Coding) ๗. พฒั นาครูใหมคี วามชํานาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร (Coding) ๘. จัดใหมีโครงการ ๑ ตําบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเนนปรับสภาพแวดลอมทั้งภายใน และ ภายนอกบริเวณโรงเรยี นใหเ อื้อตอ การสรางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ ระดับมัธยมศึกษา มงุ ตอยอดระดับประถมศึกษา ดว ยจดุ เนน ดงั นี้ ๑. จัดการเรียนรูดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร (STEM) และ ภาษาตา งประเทศ (ภาษาท่สี าม) ๒. จัดการเรยี นรูที่หลากหลาย เพอ่ื สรางทักษะพ้ืนฐานท่ีเช่ือมโยงสูการสรางอาชีพ และการมีงานทํา เชน ทักษะดา นกฬี าท่ีสามารถพัฒนาไปสูนกั กีฬาอาชีพ ทักษะภาษาเพือ่ เปน มัคคุเทศก ระดบั อาชวี ศกึ ษา มุงจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทําและสรางนวัตกรรมตามความตองการของพื้นท่ีชุมชน ภูมิภาคหรือ ประเทศ รวมทัง้ การเปนผูป ระกอบการเอง ดว ยจดุ เนน ดงั นี้ ๑. จัดการศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ใหผ ูเ รยี นมที ักษะและความเชีย่ วชาญเฉพาะดา น ๒. เรียนภาษาองั กฤษ เพอื่ เพม่ิ ทกั ษะสําหรบั ใชใ นการประกอบอาชีพ ๓. เรยี นรกู ารใชด ิจทิ ลั เพอื่ ใชเ ปน เครือ่ งมอื สาํ หรบั ในการสรา งอาชีพ ๔. จัดตัง้ ศนู ยประสานงานการผลติ และพฒั นากําลงั คนอาชวี ศกึ ษาในภมู ภิ าค การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มงุ สรา งโอกาสใหป ระชาชนผูเรยี นทีส่ ําเร็จหลักสูตร สามารถมีงานทํา ดว ยจุดเนน ดงั น้ี ๑. เรียนรูก ารใชดิจทิ ลั เพือ่ ใชเปนเครอ่ื งมือสาํ หรบั หาชองทางในการสรา งอาชพี ๒. จัดทําหลักสตู รพฒั นาอาชีพทีเ่ หมาะสมสําหรบั ผูท่เี ขา สสู งั คมสงู วยั แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๙

การขบั เคล่อื นสกู ารปฏบิ ตั ิ ๑. ทุกหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตองปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ ใหสอดคลองกับ นโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใชงบประมาณเปนรายไตรมาส รวมท้ังใชจายงบประมาณใหเปนไปตาม กฎหมาย ระเบยี บ ขอบงั คับที่เกยี่ วขอ ง ๒. จดั ทําฐานขอมูล (Big Data) ของกระทรวงศึกษาธิการ ใหค รบถวน ถกู ตอ ง ทนั สมัย ๓. ใชเทคโนโลยีและดิจิทัลเปนเครื่องมือในการพัฒนางานท้ังระบบ เนนการเรียนรูและการบริหาร จดั การ ๔. ปรับปรุงโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการใหเกิดความคลองตัว หากติดขัดในเรื่อง ขอ กฎหมาย ใหผ บู ริหารระดับสงู รวมหาแนวทางการแกไ ขรวมกัน ๕. ใหหนวยงานระดับกรมกําหนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร งบประมาณ อัตรากําลัง ตามความ ตอ งการจาํ เปน ใหแ กหนวยงานในพ้ืนที่ภูมภิ าค ๖. ใชกลไกกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดําเนินงานรวมกับ หนวยจัด การศกึ ษา ๗. เรงทบทวน (ราง) พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. .... โดยปรับปรงุ สาระสําคญั ใหเอ้ือตอ การขบั เคล่อื นนโยบายของรฐั บาล ๘. ในระดับพ้ืนท่ีหากเกิดปญหาขอติดขัดการปฏบิ ัติงาน ตองศึกษา ตรวจสอบขอมูล / ขอเท็จจริงท่ี เกิดข้ึน เชน จํานวนเด็กในพ้ืนท่ีนอยลง ซึ่งจําเปนตองมีการควบรวมโรงเรียน ใหพิจารณาสื่อสาร อธิบายทํา ความเขา ใจทช่ี ดั เจนกบั ชมุ ชน ๙. วางแผนการใชอัตรากําลังครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษา ใหมี ประสิทธิภาพ และจัดทําแผนการประเมินครูอยางเปนระบบ รวมทั้งจัดทําหลักสูตรการพัฒนาครู ใหมีองค ความรแู ละทกั ษะในดา นพหปุ ญญาของผูเรียน ๑๐. ใหศึกษาธิการจังหวัดจัดทําแผนการจัดการศึกษาของแตละจังหวัด นําเสนอตอ คณะกรรมการ ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด และขบั เคลือ่ นสูการปฏบิ ตั อิ ยา งเปนรปู ธรรม ๑๑. ใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหนาท่ี ตรวจราชการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลในระดบั นโยบาย และจดั ทํารายงานเสนอตอรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ อนึ่ง สําหรับภารกิจของสวนราชการหลักและหนวยงานท่ีปฏิบัติงานตามปกติ (Function) งานในเชิง ยุทธศาสตร (Agenda) และงานในเชิงพื้นท่ี (Area) ซึ่งไดดําเนินการอยูกอนนั้น หากรัฐบาลหรือ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสําคัญเพ่ิมเติมในปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ นอกเหนือจากที่กําหนด หากมี ความสอดคลองกับหลักการในขางตน ใหถือเปนหนาท่ีของสวนราชการหลักและหนวยงานที่เกี่ยวของ จะตอง เรงรัด กํากับ ติดตาม ตรวจสอบใหการดําเนินการเกิดผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพอยางเปนรูปธรรม ดวย เชนกัน แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๐

๒.๑.๖ นโยบายหนวยงานภาคเี ครือขา ย ก. โครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย (มมร.) โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ในกํากับของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (มมร.) ดําเนินงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพ่ือสนองงานของรัฐบาลและคณะสงฆ เชนเดียวกับ สํานักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ซ่ึงมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั มพี ระสอนศลี ธรรมในกํากับรับผิดชอบ จํานวน ๖,๔๐๐ รูป โดยไดก าํ หนดทิศทางการขับเคลื่อนงานโครงการฯ ไว ดังนี้ ๑. พระสอนศีลธรรมในโรงเรยี นมคี วามรูความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน โดยมุง เนน ใหเกิด ความสัมฤทธผิ์ ลในการสรางสงั คมไทยสูความเปนสงั คมวิถีพทุ ธ ๒. มผี ลงานวจิ ยั เพ่อื แสวงหาองคความรูในการพัฒนาการดําเนินงานใหม ีประสิทธภิ าพ ๓. มีระบบติดตามประเมินผลท่ีมีประสิทธิภาพ สําหรับใชเปนขอมูลอางอิงในการบริหาร จัดการ ๔. พระสอนศีลธรรมบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาแกนักเรียน นักศึกษา ใน สถานศึกษาทุกระดบั ทัว่ ประเทศ และสง เสริมทะนบุ าํ รุงศลิ ปวฒั นธรรมประจําชาติ ๕. มีระบบบรหิ ารจดั การทม่ี ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพ ข. สาํ นกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เปนองคกรภาครัฐ องคกรหลักในการสนองงานกิจการคณะสงฆ ขับเคลื่อน พระพทุ ธศาสนาใหเ ขม แขง็ มคี วามม่นั คง ยง่ั ยนื และสังคมมคี วามสขุ ดวยหลกั พทุ ธธรรม โดยมพี นั ธกิจ คอื ๑. เสรมิ สรางใหสถาบันและกจิ การทางพระพุทธศาสนามคี วามมั่นคงยงั่ ยนื ๒. สนับสนุนนสงเสรมิ และจัดการการศึกษาคณะสงฆและการเผยแผพ ระพุทธศาสนาเพอ่ื พฒั นาใหม คี วามรูคคู ุณธรรม ๓. จัดการศึกษาสงฆเพื่อผลิต และพัฒนาศาสนทายาทท่ีเปยมปญญาพุทธธรรมเผยแผ ทํานบุ ํารงุ พระพทุ ธศาสนาใหเ จริญงอกงาม และรวมสรางสังคมพุทธธรรมทม่ี คี วามเขม็ แข็ง ๔. ดาํ เนนิ การใหป ระเทศไทยเปนศูนยก ลางทางพระพทุ ธศาสนาโลก ๕. พัฒนาดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติใหเปนประโยชนตอพระพุทธศาสนาและ สงั คม ค. สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (สพฐ.) หัวใจสําคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การสรางและพัฒนาคนไทยเพ่ืออนาคต ของประเทศ สรา งคนไทยใหเปนคนดีและคนเกง มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคตามคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ ตามนโยบายของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานดานที่ ๓ การพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพ ทรัพยากรกรมนษุ ย แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๑

ปงบประมาณ ๒๕๖๓ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกําหนดนโยบายมุงสรางพลเมืองดี ท่ีต่ืนตัว และอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมพหุวัฒนธรรม ได (เกง ดี มีความสุข คือ เกงดวยหลักวิชามีความรูตามเน้ือหาที่ศึกษาเลาเรียน ประกอบสัมมาอาชีพ มีวินัย ซื่อสัตยสุจริต มีจิตอาสา และอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข) และทําใหการศึกษานําการแกปญหาสําคัญ ของสังคม01 รวมทั้งปญหาการคอรรัปชั่น การดําเนินงานสงเสริมระบบธรรมาภิบาลในวงการศึกษา สรางคน สรางสงั คม และสรางชาตใิ หตอตา นการทจุ ริตคอรรปั ช่ัน จ. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม กรมการศาสนา มีภารกจิ เกี่ยวกบั การดําเนนิ งานของรัฐดานศาสนา โดยการทาํ นุบํารุงสงเสริมและ ใหการอุปถัมภคุมครองกิจการดานพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืน ๆ ท่ีทางราชการรับรอง ตลอดจนสงเสริม พัฒนาความรูคูคุณธรรม สงเสริมความเขาใจอันดี และสรางความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดําเนินการเพื่อใหคนไทยนําหลักธรรมของศาสนามาปรับใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหเปนคนดีมี คุณธรรม กรมการศาสนา ไดกําหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดําเนินงานดานศาสนา ตามประเด็น ยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมสืบสานปลูกฝงจิตวิญญาณใหเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในสถาบันศาสนา และสถาบัน พระมหากษัตริย12 กรมการศาสนา เปนหนวยงานท่ีมีบทบาทในการกระตุนสง เสริมใหองคกรเครอื ขาย ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนท้ังสวนกลางและสวนภูมิภาค เขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมทางศาสนา และนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูวิถีปฏบิ ัติ โดยใหประชาชนเกิดความภาคภูมิใจ ความรักใน ความเปนชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งกรมการศาสนามุงสงเสริมสืบสาน ปลูกฝงจิตวิญญาณใหเกิด ความเลือ่ มใสศรัทธาในสถาบนั ศาสนา และสถาบนั พระมหากษัตรยิ  ฉ. สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา สํานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา มีนโยบายเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อความม่ันคงของ สังคมและ ประเทศชาติ และการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่สงผลตอ สมรรถนะของผสาํ เร็จอาชีวศึกษา ในดานคุณภาพ ไดแก ดานคุณลักษณที่พึงประสงค ดานสมรรถนะหลักและ สมรรถนะท่ัวไป ดานสมรรถนะวิชาชีพ และคานิยมอาชีวศึกษาไดแก คุณธรรม คุณภาพ ความรวมมือ และ ความเปนมืออาชีพ ของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ ระหวางยุทธศาสตรก ารพัฒนาการอาชวี ศึกษาไดแ ก วิสัยทัศนของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา ผูสําเร็จการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ มีคุณธรรม คณุ ภาพ สอดคลองกับความตองการในการพฒั นาประเทศ” ๓ นโยบายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานและคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปง บประมาณ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ 3 แผนแมบ ทเทคโนโลยสารสนเทศและการสือ่ สาร ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓) กรมการศาสนา แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร

เปาหมายดานคุณภาพของผูสําเร็จการอาชีวศึกษา คุณลักษณที่พึงประสงค ไดแก คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี พฤตกิ รรมลักษณะนิสัย และทกั ษะทางปญ ญา วตั ถุประสงคของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา เพ่อื ผลติ และพัฒนากําลังคนดานชาชีพให มคี ณุ ธรรม คณุ ภาพ และความเปนมอื อาชีพ ๒.๑.๗ เปา หมายประจําป ของสว นงาน ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อใหการดาํ เนินงานมีทศิ ทางทชี่ ัดเจน สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรมจึง ไดก าํ หนดเปาหมายทต่ี องการบรรลุไว ดงั น้ี ๑. มีพระสอนศลี ธรรม จํานวน ๑๘,๐๐๐ รปู ๒. ความสาํ เร็จในการเบกิ จายนิตยภัตพระสอนศลี ธรรม ๙๕ % ๓ .พระสอนศลี ธรรมมสี มรรถนะสงู ผานการประเมินระดับเชย่ี วชาญ ๗๖ รูป ๔. นักเรยี นไดร บั การยกยอ งดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๗๗ คน ๕. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารตามหลักไตรสิกขา ๘๐ โรง ๖. รอ ยละ ๘๐ ของกระบวนการภายใน ไดรับการปรบั ปรงุ ๗. รอยละ ๘๐ ของบคุ ลากรไดร ับการพัฒนาศกั ยภาพ ๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพสวนงาน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒) สาํ นกั งานพระสอนศีลธรรม รับ ตรวจประเมินคุณภาพประจําป และไดรับขอเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงพัฒนา ซึ่งนําไปสูการจัดทําแผนพัฒนา คุณภาพ (Improvement Plan) ดังนี้ จดุ ทคี่ วรพัฒนา/ขอเสนอแนะ การดาํ เนินการ/การปรับปรงุ ๑. ควรเสนอคณะกรรมการฯ ในการปรับปรุงเกณฑ สํานักงานพระสอนศีลธรรมกําหนดเปาหมายตวั ชีว้ ัด ตัวชีว้ ัดทส่ี ูงมากตามความเปนจรงิ เพ่ือใหกาปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงคของ มหาวทิ ยาลัยและภาครฐั จึงไมสามารถปรบั เกณฑให ต่ําลงกวา เดิมได ๒. ควรนําองคความรูท่ีสวนงานจัดทําออกเผยแพร สํานักงานพระสอนศีลธรรมจัดทําองคความรู แลว ใหสาธารณธชนทราบ เผยแพรตอสาธารณะ เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของ สามารถนาํ ไปใชไ ด แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๓

๓. มีสื่อสารสนเทศจํานวนมาก แตขาดการสรุป - สํานักงานพระสอนศีลธรรมดําเนินการรวบรวม วิเคราะหเปนสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการ สารสนเทศเพ่ือใหสะดวกตอการบริหารและการ ตดั สนิ ใจ ตัดสนิ ใจของผูบ รหิ าร - สํานกั งานพระสอนศีลธรรมดําเนนิ การพัฒนาระบบ ฐานขอมูลพระสอนศีลธรรมออนไลนใหสามารถ รายงานผลเปน สาระสนเทศไดอยางรวดเร็ว ๔. ควรนําผลการประเมินและขอเสนอแนะจาก สํ า นั ก ง า น พ ร ะ ส อ น ศี ล ธ ร ร ม ดํ า เ นิ น ก า ร นํา ผูบริหารและคณะกรรมการประจําสวนงานมาปรับ ขอเสนอแนะจากการประชุมคณะกรรมการประจํา แผนหรอื วเิ คราะหความเสยี่ ในปถดั ไป สว นงานมาวิเคราะหแ ผนควบคมุ ความเส่ียง ๕. ควรเพ่ิมขั้นตอนการปฏิบัติงานใหครบทุกกลุม สํานักงานพระสอนศีลธรรมดําเนินการใหทุกกลุม งานและรายงานใหผ บู รหิ ารทราบ งานจัดทําข้ันตอนการปฏิบัติงาน (workflow) ให ครบตามภารกจิ ทีไ่ ดรบั มอบหมายจากมหาวทิ ยาลยั ๖. ควรมีการสํารวจความตองการพัฒนาบุคลากร สํานักงานพระสอนศีลธรรมดําเนินการสํารวจความ รายบุคคลท่ีครอบคลุมทุกดาน และนํามาพัฒนาเปน ตองการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล แลวนํามา แผนปฏิบัติการประจาํ ป วิเคราะหความตองการในการพัฒนาบุคลากรเพื่อ กําหนดไวใ นแผนปฏิบัตกิ ารประจําป ๗. ควรพัฒนาพระสอนศีลธรรมท่ีบรรจุใหมและเกา สํานักงานพระสอนศีลธรรมดําเนินการพัฒนาพระ เปนประจําทกุ ปการศึกษา ไมน อยกวา รอ ยละ ๘๐ สอนศีลธรรมที่บรรจุทั้งใหมและเกา โดยกําหนด จํานวนท้ังหมด ๕,๐๐๐ รูป ตอปงบประมาณ แบงเปนพระสอนศีลธรรมท่ีบรรจุใหม รอยละ ๑๐๐ และพระสอนศีลธรรมบรรจุเดิมรอยละ ๕ จาก จํานวนท่ีมีอยู ๘. ควรเพ่ิมเกณฑตัวช้ีวัดในเกณฑการประเมินตัว เน่ืองดวยเกณฑการประเมินในขอ ๒.๔ เปนเกณฑที่ บงช้ีท่ี ๒.๔ เพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของสวน มีความสัมพันธกบั การประกันคณุ ภาพการศึกษาของ งาน มหาวิทยาลัย ดังน้ัน การปรับเกณฑขอดังกลาวตอง ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยั แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๔

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๕

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๖

๒.๓ การประเมนิ ความเสีย่ ง เพื่อใหแนใจวา เปาหมายท่ีกําหนดไว สวนงานจะสามารถดําเนินการใหบรรลุได จึงมีความจําเปนท่ี จะตองประเมินความเส่ียง เพ่ือการบริหารจัดการความเส่ียงไดอยางถูกตอง ทันตอเหตุการณ ซ่ึงในรอบ ปง บประมาณ ๒๕๖๓ น้ี ความเสย่ี งท่สี ํานกั งานพระสอนศลี ธรรม คาดการณวา ตองเผชญิ ดงั น้ี ๑) นโยบายรัฐบาล (Policy) มีแนวโนมที่เปลี่ยนแปลงมากมายหลายประการ สวนที่สนับสนุนพันธ กิจของสวนงานก็มีมาก แตบางอยางก็อาจเปนภัยคุกคามหรือความเสี่ยงตอการบริหาร ปฏิบัติงาน เชน การ กําหนดแนวทางในจดั สรรงบประมาณรูปแบบใหม ซึ่งสวนงานตอ งมีมาตรการรองรับเพ่ือใหสามารถปฏบิ ัติงาน สงมอบผลผลิตไดตรงตามเปาหมายของนโยบายภาครัฐ และสามารถปฏิบัตติ ามระบบกลไกท่ีรัฐบาลกําหนดไว ๒) สภาพแวดลอมภายในสวนงานและองคกร (Context) ในสวนงาน สภาพบรรยากาศการทํางาน ยังหางไกลความเปนองคกรแหงการเรียนรู อาจจะมีการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน รวมกันคิด รวมกันแสดง ความเห็น รวมกันทํา แตยังขาดกระบวนการสําคัญในการบันทึกจัดเก็บองคความรูส ําคัญท่ีเกิดขึ้นสง ผลใหการ บรหิ าร และการปฏบิ ัติงานของบุคลากรกาวหนาอยางชา ๆ ในระดับองคกร ดวยโครงสรา งการบรหิ ารและการ ปฏบิ ตั งิ านท่กี วางมีภาระงานประจาํ พรอมทงั้ งบประมาณกระจายอยูในพืน้ ที่ตา ง ๆ ในวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ หองเรียน หนวยวิทยบริการ ครอบคลุมพ้ืนที่ ๗๗ จังหวัดท่ัวประเทศ ซ่ึงในการปฏิบัติแตละแหงจะมีแนววิธีท่ี เปน แบบเฉพาะ จึงทําใหขาดความเปน เอกภาพสงผลใหก ารควบคุม และการติดตามประเมนิ ผลทําไดยาก ๓) ดานพระสอนศีลธรรม ดวยจาํ นวนพระสงฆท่ีมีแนวโนมลดจาํ นวนลง และแรงจงู ใจในการเขาเปน พระสอนศีลธรรมน้ัน ก็มีนอยมากดวยคาตอบแทนที่นอยนิด และระบบกลไกตาง ๆ ของทางราชการ ที่ พระสงฆตองปฏิบัติตามคอนขางมีความยุงยาก อาจทําใหพระสงฆลด หรือหมดความตองการเปนพระสอน ศีลธรรมในกํากับของมหาวิทยาลัย อีกปจจัยหนึ่ง แมวาสวนงานจะมีฐานขอมูลพระสอนศีลธรรมที่สามารถ คํานวนคาดการณ วางแผนการพัฒนาสมรรถนะพระสอนศีลธรรมได แตยังขาดหลักสูตรเฉพาะสําหรับการ พัฒนาในระยะตน และมาตรการเพ่ิมแรงจูงใจใหพระสอนศีลธรรมอยากตองการพัฒนาตนเองในระดับ หรือ ระยะตอ ๆ ไป ๔) ดานงบประมาณ และการเงิน (Money) สถานะของงบประมาณเปนประเภทเงินอุดหนุน ซึ่งมี สภาพไมมั่นคง อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามนโยบายของรัฐบาล และการบริหารงบประมาณภายในยังขาด ระบบกลไกในการบริหารและการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ เปนอุปสรรคตอระบบการเงินและบัญชีในข้ันตอน ของการปฏิบัติการ ทําใหการจัดทํางบการเงินลาชา ผูบริหารขาดสารสนเทศดานการเงินประกอบการบริหาร และตัดสินใจ ทําใหประสทิ ธผิ ลในการบริหารงบประมาณลดลง ๕) ดานการปฏิบัติงาน (Operation) มุงหมายถึง กระบวนการปฏิบัติงาน องคความรูที่จําเปนและ สําคัญตอ การบรรลเุ ปาหมายของสวนงาน ดานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ กระบวนการปฏิบัติงาน (Operation) กระบวนการทํางานประจําของสวนงานหลาย ๆ ขั้นตอน ยังขาดความ ชัดเจน กอใหเกิดความขัดของในขั้นตอนของการปฏิบัติงานเชื่อมโยงกันดวยความเขาใจในขอบเขตภาระงาน แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๗

ของกันและกันของผูรับผิดชอบหลัก และผูเกี่ยวของ และการปฏิบัติงานในทุก ๆ กิจกรรม ทุกข้ันตอนควร ดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ทุกคนมีสวนรวม รวมคิด รวมทํา รวมรับผิดชอบ ดวยกระบวนการวงจร คุณภาพ วางแผน ดําเนินการ ติดตาม ปรับปรุงแกไข ซึ่งตองอาศัยกระบวนทางการจัดการความรู (KM) และ ความสามารถทางดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เขา มาชว ยสนบั สนนุ ๖) ดานบุคลากร (Man) การบริหารกําลังคน คนเปนปจจัยสําคัญอันดับแรกที่จะขับเคลื่อนงานทุก ชนิดใหสําเร็จลุลวงไดตามเปาหมาย ในเชิงบริหารจะทําอยางไร ใหบุคลากรทุกคนมีทัศนคติท่ีดีตอสวนงาน และองคกรมีความตองการผลิตผลงานออกมาใหไดตามที่สวนงานและองคกรตองการ มีความรู และทักษะที่ ไดร ับการพัฒนาอยางตอ เน่ือง เพยี บพรอมดว ยจรรยาบรรณของบคุ ลากรมหาวทิ ยาลัย นอกจากเรื่องคุณสมบัติ ของบุคลากรที่ตองพัฒนาแลว ยังมีปจจัยเส่ียงที่สวนงานตองเผชิญ และบริหารจัดการยาก คือ การสูญเสีย บุคลากรสําคัญ ๆ เน่ืองจากการลาสิกขาของพระภิกษุ การยายสวนงานของบุคลากร เพราะทานเหลาน้นั ไมไ ด ไปแตเพียงตัว แตย ังนําเอาองคความรูที่จําเปน และสําคัญติดตามไปดว ย ๒.๕ สายโซค ุณคา สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม กระบวนการบริหารจดั การภายใน ทัง้ กระบวนการหลัก และกระบวนการสนับสนุน เปนปจ จัยสําคัญ ที่ชวยสงเสริมสวนงานบรรลวุ ิสัยทัศน หรือเปาหมายที่กําหนดไว ท้ังมีสวนผลักดันใหองคกร หรือมหาวิทยาลัย ไดรับมอบผลผลติ ที่มคี ณุ คาจากหนวยงานในสงั กดั เพอ่ื ขบั เคลอื่ นไปสวู ิสัยทัศนของมหาวทิ ยาลยั ระบบสรรหา พัฒนาสมรรถนะ ติดตามผลการสอน พระสอนศลี ธรรม พระสอนศลี ธรรม ของพระสอนศลี ธรรม การประกันคุณภาพ (QA) / การควบคุมภายใน (IC) วสิ ยั ทศั นของสวนงาน ๑)ระงบานบแสผานรส(นแเผทนศงบ(IปT)ระ/มเสารณมิ ส/รแา ผงนพปฒั ฏนบิ าัตเคิกราือรข/างยาน(Nบeรtwิหาoรrkค)วามเสย่ี ง) กบัแกแผารผนสนงรบงรบปห--ปราะมปรแะมีแจลมาผจะณานัยพณตปัฒ/าฏแนแงิบลาผๆัตะบนแิงคุ ปทาผลฏน่ีอนาิบเาบกพจตัรรื่อเิกหิ ป(บาHานรรรRภรค/)ลาว/กุเวาปากมะาราคเหบสรุก่ยีจรมคหิงัดาายกามราทคร่ีก(ควrําiาวsหมkานม)เสดรใี่ยหูไ(งวKก (MาซRรึ่งM)บก)รําิหหานรดแแลนะวปทฏาิบงปัตฏิงาิบนัตไิไมวบใหรชรลัดุวเจิสนัยทเชัศื่อนมหโรยือง เปาหมายที่กาํ หนดไว ไดรบั การควบคมุ - กระบวนการทํางานตลอดสาย ดําเนินไปตามแผนงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนดไว (Do) และไดรบั การตดิ ตามประเมนิ ผล (Check) ปรบั ปรุงพัฒนาใหเ หมาะสมกับสถานการณใ นหว งเวลาน้ัน ๆ (Act) ๒) งานจัดการความรู - มีองคความรูสําคัญและจําเปนตอการบริหารและปฏิบัติงานใหบรรลุถึงเปาหมายท่ีกําหนดไวใน แผนปฏิบตั กิ าร และวสิ ัยทศั นในแผนพัฒนา ทพ่ี รอ มใชงาน แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๘

๓) งานพฒั นาบุคลากร (บคุ ลากรสาํ นักงาน / พระสอนศีลธรรม) - บคุ ลากรสวนงานไดรับการพฒั นาอยางตอเน่อื ง มีสมรรถนะที่สงู ในการปฏิบัติงาน - พระสอนศีลธรรมไดรับการพฒั นาใหมขี ีดความสามารถจัดการเรียนการสอนท่เี ชีย่ วชาญ ๔) งานพฒั นาระบบสารสนเทศ - ผบู ริหารมีขอ มลู ประกอบการบริหาร ตัดสนิ ใจ (ถกู ตอ ง เปนจรงิ ครบถวน รวดเร็ว) - บุคลากรมขี อ มลู ประกอบการปฏบิ ัติงาน (สนั้ กระชับ งาย ปฏิบัตไิ ดท นั ที) - ผูมีสวนเกี่ยวของหรือผูสนใจทว่ั ไป เขา ถงึ และสบื คน ขอมูลไดอ ยางสะดวก ครบถว น รวดเรว็ ๕) ระบบกลไกการประกนั คุณภาพ ประจาํ ป - แผนพฒั นาคุณภาพตามขอ เสนอแนะจากผลการประเมิน แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๑๙

บทสรุป กรอบแนวคิดความเชือ่ มโยงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการประจําป ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๐

สว นที่ ๓ แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๑ แผนงานและประมาณการใชจายงบประมาณ ตามท่ีคณะกรรมการการเงนิ และทรัพยส ิน ในคราวประชุมครงั้ ท่ี ๒/๒๕๖๓ เม่ือวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๓ และสภามหาวิทยาลัยในคราวประชุมคร้ังที่ ๒/๒๕๖๓ เมื่อวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ ไดอนุมัติ แผนการใชจายงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สําหรับดําเนินงานโครงการพระสอน ศลี ธรรมในโรงเรยี น ใหเปนไปตามพันธกิจ และยทุ ธศาสตร เพ่อื บรรลุวสิ ยั ทัศนต ามทก่ี าํ หนดไว ดงั นี้ ๓.๑.๑ ทม่ี าของงบประมาณรายจา ย ๓.๑.๒ แผนงานและประมาณการจา ยงบประมาณ แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๑

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๒

๓.๑.๓ การจดั สรรงบประมาณประจาํ ป ๒๕๖๓ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๓

๓.๑.๔ โครงการตามแผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ พ

๒๕๖๓ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๔

๓.๒ แผนปฏบิ ัติการ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน “เปนพลังขับเคล่ือนศีลธรรมในสถานศึกษา” ท่ีมุงสงเสริม การเสริมสราง พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหกับนักเรียนในสถานศึกษา ผานกระบวนการจัดการเรียนการสอนวิชา พระพุทธศาสนาของพระสอนศีลธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหลักสูตรธรรมศึกษา รวมทั้ง หลักสูตรเสริมอ่ืน ๆ ของหนวยงานเครือขาย เชน โครงการพัฒนาสมรรถนะพระสอนศีลธรรมตามแนวทาง ปรัชญาของเศรฐกิจพอเพียง (กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม) ดังน้ัน ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ นี้ เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานใหบรรลุวิสัยทัศน จึงไดกําหนดแผนปฏิบัติ การประจําป ตามประเด็นยุทธศาสตรในแผนแมบ ทสํานักงานพระสอนศีลธรรม ทั้ง ๔ ดา น คือ ๑. พฒั นาและวางระบบบรหิ ารโครงการพระสอนศีลธรรมใหท ันสมยั โปรง ใส ตรวจสอบได ๒. สรางองคก รแหง การเรยี นรูเชงิ พุทธ ๓. เสริมและจดั การสมรรถนะพระสอนศลี ธรรมและบุคลากรใหมีความเปนอาชพี วิถีพทุ ธ ๔. เพิ่มคุณคาและความผูกพันใหกับผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม (พระสอนศีลธรรม, บุคลากร, สถานศึกษา, คณะสงฆ) แผนภาพแสดงแผนท่ียทุ ธศาสตรแผนแมบทสํานักงานพระสอนศีลธรรม แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๕

๓.๒.๑ โครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏบิ ัติการประจําป ๒๕๖๓ วิสยั ทศั นสว นงาน : เปนพลงั ขบั เคลื่อนศีลธรรมในสถานศกึ ษา วสิ ัยทศั นม หาว สนบั สนนุ ยุทธศ แผนงานพนื้ ฐาน: ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพคน งบประมาณ : ผลผลิตท่ี 2 : ผลงานการใหบ ริการวชิ าการ ตัวชีว้ ัด : เปาหมาย : จาํ นวนพระส 1. มีพระสอนศลี ธรรมสอนพระพทุ ธศาสนาแกน กั เรยี นในสถานศึกษา จาํ นวนพระส รอยละความ 2. พระสอนศลี ธรรมมสี มรรถนะสงู ผา นการประเมนิ ระดบั เชย่ี วชาญ จาํ นวนนกั เรยี 3. ความสําเร็จในการเบิก จา ยนิตยภตั พระสอนศลี ธรรม จาํ นวนโรงเร 4. นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมท่ีพงึ ประสงคต ามเกณฑส ถานศึกษา รอ ยละของก 5. สถานศกึ ษาไดร ับการพฒั นาตามระบบกลไกวิถพี ทุ ธ รอยละของบ 6. กระบวนการทํางานไดร ับการปรบั ปรงุ ใหด ีขนึ้ หนว ยงานรบั ผ 7. บคุ ลากรไดร บั การพฒั นาใหมีสมรรถนะทสี่ งู ขนึ้ หนวยงานรับผ หนว ยงานรบั ผิดชอบหลกั : สํานักงานพระสอนศีลธรรม แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.

วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั พระพุทธศาสนาระดับโลก ศาสตรมหาวิทยาลัย: พฒั นางานบรกิ ารวชิ าการแกส ังคมใหมคี ณุ ภาพ เปน ที่ยอมรบั ทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ 460,916,900.00 บาท คา เปาหมาย: คาความสําเรจ็ : สอนศลี ธรรม 18,000 รูป 100% สอนศีลธรรม 80 รปู 95% (76 รูป) มสาํ เรจ็ 100% (407,511,000 บาท) 95% (387,135,450 บาท) ยนท่ไี ดร บั การยกยองดา นคุณธรรม 77 คน 100% รียนท่ีผานการประเมินอตั ลกั ษณวิถีพุทธ 100 โรงเรียน 80% (80 โรงเรยี น) กระบวนการทาํ งานที่ไดร บั การปรบั ปรงุ 100% 80% บุคลากรทไี่ ดรับการพัฒนา 100% 80% ผดิ ชอบรวม: วิทยาเขต, วิทยาลยั , หอ งเรียน และหนว ยวิทยบรกิ าร ผิดชอบรอง: ท่ีเปนศูนยอ าํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน . ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๖

แผนงบประมาณรายจาย 2563 งบประมาณทง้ั ส้นิ 1. คา ตอบแทนพระสอนศลี ธรรม (จาํ นวน 18,000 รูป) 1.1 คา ตอบแทนพระสอนศลี ธรรม(จํานวน 18,000 รูป ๆ 10 เดือน ๆ ละ 2,500 บาท {ยกเวนเดอื นเมษายนและตลุ าคม 1.2 คาตอบแทนพิเศษพนื้ ที่สงู (35 รูป) และพ้นื ที่เส่ียงภยั (151 รปู ) (รวม 186 รูป ๆ ละ 10 เดอื น ๆ ละ 1,500 บาท) 2. เงินเดือน จนท.โครงการฯ 2.1 จนท.สนง.พระสอนศลี ธรรม สว นกลาง 2.2 จนท.ประจําศนู ยฯ สว นภมู ิภาค 3. คาดาํ เนินงาน 3.1 คาใชสอย สาธารณปู โภค และวสั ดุ (จัดใหส ว นภูมภิ าค) 3.2 คา จัดโครงการปฐมนิเทศพระสอนศลี ธรรมประจาํ ป(จดั ใหส ว นภมู ภิ าค) 3.3 งบบริหาร สว นกลาง (คาใชสอย สาธารณปู โภค และวัสด)ุ 3.4 ประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน(คณะกรรมการดาํ เนินงาน และคณะกรรมการ 3.5 ประชุมคณะผูป ระสานงานและเจาหนา ที่ 4. คาดาํ เนนิ งานกจิ กรรมเพอื่ พฒั นาโครงการฯ 4.1 โครงการพฒั นาระบบการจดั การฐานขอ มูลพระสอนศลี ธรรม 4.2 โครงการปฐมนเิ ทศพระสอนศลี ธรรม ประจาํ ปงบประมาณ2563 4.3 โครงการติดตามประเมินผลและปรบั แผนแมบทสาํ นกั งานพระสอนศีลธรรม 4.4 โครงการผลติ สื่อคลังความรสู าํ หรบั พระสอนศลี ธรรม 4.5 โครงการจดั ทําตวั ชีว้ ัดและแนวทางการประเมนิ สถานศกึ ษาอาชีววิถีพุทธ 4.6 โครงการคา ยพฒั นาทักษะการถกาที(วาจาสภุ าษิต) 4.7 โครงการจัดการความรู และพฒั นาสมรรถนะบุคลากร 4.8 โครงการพฒั นาสมรรถนะพระสอนศีลธรรม หลกั สูตรActive Learning 4.9 โครงการติดตามประเมนิ ประสิทธิผลการสอนของพระสอนศีลธรรม 4.10 โครงการประชุมสัมมนาพระสอนศลี ธรรม รว มกบั พระนักเทศนและพระนักเผยแผ 4.11 โครงการผลติ ส่อื โทรทัศน\"รายการอาสาตามหาคนด\"ี 4.12 โครงการโรงเรียนวถิ ีพุทธช้นั นาํ 4.13 โครงงานคุณธรรมสง เสรมิ อัตลักษณว ถิ พี ุทธ 4.14 โครงการพัฒนาสมรรถนะพระสอนศีลธรรมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รุนท่ี๔ 4.15 โครงการมาฆบชู า สมชั าวิถีพทุ ธ 4.16 โครงการวจิ ยั และนวตั กรรมเพื่อพฒั นาสงั คมและส่ิงแวดลอม แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.

เงินอุดหนนุ จากรัฐ เงินสะสม/เงินนอกงบ รวม ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ปงบประมาณ 2563 เปนเงนิ ท้งั สิน้ 58,400,000 402,516,900 18,877,200 460,916,900 389,956,800 18,877,200 408,834,000 ทุกสว นงาน 387,445,800 406,323,000 - 2,511,000 463,260 2,511,000 วข.เชยี งใหม,วส.ปต ตานี 6,736,740 463,260 7,200,000 1,336,740 5,400,000 - 1,800,000 5,823,360 4,359,540 2,782,300 5,400,000 3,041,060 - 10,182,900 - 2,782,300 - 1,259,540 3,041,060 - 1,000,000 1,259,540 - 2,100,000 1,000,000 นายพีระพล - 34,700,000 2,100,000 นายพรี ะพล - 1,000,000 34,700,000 - 900,000 1,000,000 พระมหากฤษดา - 300,000 900,000 นายพรี ะพล - 2,000,000 300,000 นายขวัญตระกลู - 300,000 2,000,000 นายนริ ุต - 600,000 300,000 พระมหาสุรศักด์ิ - 300,000 600,000 นายภวู นยั - 15,000,000 300,000 นายเอกชัย - 1,500,000 15,000,000 พระมหานพดล / นายนิรุต - 1,000,000 1,500,000 พระมหานพดล - 1,000,000 1,000,000 พระมหาสาม - 1,200,000 1,000,000 พระครสู งั ฆรกั ษสนุ ทรกมล - 2,500,000 1,200,000 นางสาวราตรี - 1,900,000 2,500,000 พระมหานพดล - 5,000,000 1,900,000 พระมหาสุรศักดิ์ - 200,000 5,000,000 นายพรี ะพล 200,000 พระมหานพดล . ๒๕๖๓ สํานักงานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๗

โครงการ ที่ ๑ โครงการพัฒนาระบบการจดั สนับสนุนยทุ ธศาสตรส าํ นกั งานพระสอนศีลธรรม ที่ 1 พัฒนาและวางระบบการบรหิ กลยทุ ธ ที่ 2 พฒั นาสารสนเทศโครงการพ ตวั ช้วี ดั ท่ี 2.1 รอ ยละความสําเร็จของกา ท่ี 2.2 ระดบั ความพึงพอใจของผ สนับสนนุ ยุทธศาสตรม หาวทิ ยาลยั ท่ี ๓ พัฒนางานบรกิ ารวชิ าการแก หน กิจกรรมหลัก / กจิ กรรมยอย ตัวช้วี ดั แผน 1. จัดตั้งคณะทํางานพฒั นาสารสนเทศโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน คณะทาํ งาน 2. ประชุมคณะทํางาน วิเคราะหความตองการใชสารสนเทศโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ขอมลู วิเคราะห จากผมู ีสว นได สว นเสยี ทุกกลมุ 3. ทาํ แผนพัฒนาระบบสารสนเทศโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น แผนพัฒนา 3.1 ฐานขอ มูลพระสอนศลี ธรรม เช่อื มโยงกบั ฐานขอมลู ศาสนบคุ คล 3.2 ฐานขอ มูลสถานศกึ ษา 3.3 ฐานขอ มูลนักเรยี น 3.4 ฐานขอมูลการใชจ ายงบประมาณ 3.5 ฐานขอ มูลองคค วามรู เพื่อการขับเคลอ่ื นศลี ธรรมในสถานศึกษา 4. ดําเนนิ การพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานขอ มลู ใหพรอมใชงาน ตามขอ3 รอ ยละความสาํ เรจ็ ตามแผน 4.1 ฐานขอ มลู พระสอนศีลธรรม เชอ่ื มโยงกับฐานขอมูลศาสนบคุ คล 4.2 ฐานขอมลู สถานศึกษา (โรงรยี นท่วั ไป / วถิ ีพทุ ธ / อ่ืน ๆ) 4.3 ฐานขอมลู นกั เรยี น 4.4 ฐานขอ มูลการใชจ า ยงบประมาณดานนติ ยภตั 4.5 ฐานขอมูลองคค วามรู เพื่อการขบั เคลือ่ นศีลธรรมในสถานศกึ ษา 5. ทดรองระบบฐานขอมูลฯ ปรบั ปรงุ แกไ ข 6. ประชาสมั พนั ธ สอ่ื สาร ชแี้ จงขัน้ ตอนวธิ ีการใชง านระบบสารสนเทศทกุ ๆ ระบบ แกผใู ชท กุ ระดับ 7. ติดตาม ทบทวน รายงานผลอยางตอเน่อื ง สมํา่ เสมอ แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.

ดการฐานขอมูลพระสอนศีลธรรม หารโครงการพระสอนศลี ธรรมใหท ันสมยั โปรง ใส ตรวจสอบได พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ารพฒั นาระบบสารสนเทศIT ผูใ ชบริการระบบสารสนเทศIT กส ังคมใหม คี ณุ ภาพ เปน ที่ยอมรบั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ นวยนับ ปงบประมาณ 2563 งบประมาณ น ผล ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ในงบ นอกงบ 1 1 1 100 ๑,๐๐๐,๐๐๐  เงินงบประมาณ - บาท  นอกงบประมาณ 1,000,000 บาท 1,000,000 บาท รวมทัง้ สนิ้ . ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๘

รายละเอยี ดโครงการฯ โครงการพัฒนาระบบฐานขอมลู พระสอนศลี ธรรมออนไลน “การจัดทําโมบายแอปพลเิ คชัน เว็บแอปพลเิ คชนั สมารท ฐานขอ มูล” ----------------------------- แผนงาน : พ้ืนฐานดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคน ผลผลติ : ศาสนกิ ชนกลุมเปา หมายไดรับความรูห ลักธรรมทางศาสนา สอดคลองนโยบายรฐั บาล : ขอที่ ๔. การศึกษาและเรยี นรู การทํานุบาํ รุง ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม ๔.๗ ทะนุบํารุงและอุปถัมภพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืน ๆ สนับสนุนใหองคกร ทางศาสนามี บทบาทสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สรางสันติสุขและความปรองดอง สมานฉนั ทใ นสังคมไทย อยางยั่งยืน และมีสว นรวมในการพัฒนาสังคมตามความพรอม สอดคลอ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ : ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ การเสริมสรา งและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนษุ ย สอดคลองยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย : ยุทธศาสตรท่ี ๓) พัฒนางานบริการวิชาการแกสังคมใหมีคุณภาพเปนท่ียอมรับในระดับชาติและ นานาชาติ สอดคลอ งแผนแมบ ทสาํ นกั งานพระสอนศีลธรรม : ยุทธศาสตรท ี่ ๑) พัฒนาและวางระบบบรหิ ารโครงการพระสอนศลี ธรรมใหทันสมัย โปรง ใส ตรวจสอบ ได หนวยงานทร่ี บั ผิดชอบ : สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย งบประมาณ : ๖๕๐,๐๐๐ บาท (หกแสนหา หม่นื บาทถวน) ๑. หลกั การและเหตผุ ล ปจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัล โมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน สมารทฐานขอมูล มีบทบาทและมี ความจําเปนตอการนํามาใชงานการทําธุรกรรมในภาคการศึกษาในทุกระดับ โดยเฉพาะอยางย่ิงการใหบริการกับ ผูสอนและผูเรียน รวมถึงการบริหารจัดการของหนวยงานภาคการศึกษาอีกดวย สํานักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีการพัฒนาอยางตอเนื่องทั้งในดานการพัฒนาพระสอนศีลธรรม การ จัดเก็บขอมูลพระสอนศีลธรรม การเบิกจายนิตยภัต โดยเฉพาะการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียกับโครงการ พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียนทุกกลมุ โดยจัดหาชอ งทางตา ง ๆ ใหสะดวกตอ การใชงาน การบริการ และการสอื่ สาร แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๒๙

ในระยะท่ีผานมา สํานักงานพระสอนศีลธรรมดําเนินการจัดทําระบบฐานขอมูลพระสอนศีลธรรม ออนไลน (www.mbpra.mcu.ac.th) เพอื่ เปนระบบสาํ หรับจัดเก็บฐานขอมลู พระสอนศลี ธรรม รับสมัคร รายงาน ผลการสอนประจําเดือน และส่ือสารขอมูลตาง ๆ โดยใหพระสอนศีลธรรมในสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยเขาใชงานระบบ เพ่ือใหเกิดการยกระดับการใหบริการท่ีทําใหเกิดความสะดวกกับพระสอนศีลธรรม นักเรียน โรงเรียน ประชาชน ในดานการลงทะเบียนสมัคร การแจงขาวสาร ประกาศประชาสัมพันธ การสืบคน ขอมูล การสงรายงานผลการสอน อันจะทําใหมีประสิทธิภาพ คุณภาพ ประสิทธิผล ในการดําเนินงานของพระ สอนศีลธรรม ในดานการบรหิ ารจัดการ การสบื คน ประเมินผล การติดตามผลและการสรปุ ผล สาํ นักงานพระสอน ศีลธรรมจึงเห็นความสําคัญในการพัฒนาระบบฐานขอมูลเขาสูโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน เพื่อใหเกิด ประโยชนต ามท่ไี ดก ลา วมาแลว ขา งตน ๒. วตั ถปุ ระสงค ๒.๑ เพ่ือยกระดับการใหบริการท่ีทําใหเกิดความสะดวกกับพระสอนศีลธรรม นักเรียน โรงเรียน ประชาชน ในดานการลงทะเบียนสมัคร การแจงขา วสาร ประกาศประชาสมั พันธ การสืบคน ขอมลู การสง รายงาน ผลการสอน ๒.๒ เพอื่ ใหเกิดประสิทธิภาพ คุณภาพ ประสทิ ธิผล ในการดาํ เนนิ งานของพระสอนศลี ธรรม ในดานการ บรหิ ารจัดการ การสบื คน ประเมนิ ผล การติดตามผลและการสรุปผล ๒.๓ เพ่ือพัฒนาและปรับปรุง ยกระดับการใหบริการของระบบฐานขอมูลเดิมในโรงการพระสอน ศีลธรรมในโรงเรียน ใหมีความกาวหนา มีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ี สอดคลองกับพฤติกรรมของผูใชง าน ทาํ ใหเกดิ การมีสวนรวมในระดับสงู ๓. กจิ กรรม/เปา หมาย/งบประมาณ เปาหมาย - พระสอนศลี ธรรมจาํ นวน ๑๘,๐๐๐ รปู - บคุ ลากรเจาหนา ที่โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน - ผูมีสวนไดสวนเสียกับโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เชน ผูบริหารสถานศึกษา นักเรียน เปน ตน ลักษณะการจดั กิจกรรม และสถานทดี่ ําเนินการ ๑) การประชุมผูเกี่ยวของ ผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อวิเคราะห จัดทํา รายงานผล ทดลองการใชงาน ณ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒) การจัดทําโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน สมารทฐานขอมูล โดยจัดจางผูรับเหมาให ดาํ เนนิ การภายใตรางขอบเขตงาน (Terms Of Reference : TOR) งบประมาณ/คา ใชจ าย งบประมาณดําเนินการโครงการ จํานวน ๖๕๐,๐๐๐ บาท (หกแสนหาหม่ืนบาทถวน) โดยมีประมาณ การคาใชจ าย ดังน้ี ๑) คาจดั ประชมุ ๔ ครง้ั ๑๐๐,๐๐๐ บาท แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๓๐

๒) คาจัดจางตาม ΤΟΡ ๔๙๕,๐๐๐ บาท ๓) คา จดั จา งทาํ สอ่ื ประชาสัมพนั ธก ารใชง าน ๕๐,๐๐๐ บาท ๔) คาตดิ ตอ ประสานงาน ๕,๐๐๐ บาท ๔. ขน้ั ตอน/ระยะเวลาการดําเนินงาน ข้ันตอน กจิ กรรมการดาํ เนนิ การ ระยะเวลาดําเนนิ การ กมุ ภาพนั ธ – ธนั วาคม ๒๕๖๓ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ๑. จัดทําโครงการและอนุมัติดําเนินงาน โครงการฯ ๒. แตงตัง้ คณะทาํ งาน ๓. ประชุมคณะงานคร้ังที่ ๑ ๔. ประกาศรางขอบเขตงาน ๕. ทําสญั ญาจาง ๖. ผรู ับจา งดาํ เนนิ การจัดทาํ ๗. ผรู ับจางรายงานผลครง้ั ท่ี ๑ ๘. ผูร ับจา งรายงานผลครัง้ ที่ ๒ ๙. ผรู บั จา งรายงานผลครง้ั ท่ี ๓ ๑๐. ประชุมคณะทาํ งานครง้ั ที่ ๒ ๑๑. ประชมุ สมั มนาเจาหนาท่ผี ูใชงาน ๑๒. ประชุมคณะทํางานครง้ั ท่ี ๓ ๑๓. ทดลองกับกลมุ ผใู ชง าน ๑๔. ปรบั แกไ ข ๑๕. สรุปและรายงานผล ระยะเวลาดาํ เนินการ เดอื นกุมภาพันธ – กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕. ตัวชีว้ ดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ ปจจัยหลักแหงความสําเร็จ ตัวชี้วัดผลการดาํ เนนิ งาน เปาหมายที่คาดวาจะไดรบั แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๓๑

การจัดทําโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอป โมบายแอปพลิเคชัน เว็บ การบริหารจัดการ การใหบริการ มี พลิเคชัน เปนไปตามความตองการของ แอปพลเิ คชัน ประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึน้ ผูใ ช พระสอนศีลธรรม ผูมีสวนไดสวนเสีย จํานวนผูเขา ใชงาน พระสอนศีลธรรม ผูมีสวนไดสวนเสีย เขาใชงานโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอป สามารถเขา ใชงานจนเกดิ ประสิทธิผล พลเิ คชัน ๖. ผลท่ไี ดรบั ๖.๑ ยกระดับการใหบริการที่ทําใหเกิดความสะดวกในการใหบริการกับพระสอนศีลธรรม นักเรียน โรงเรียน ประชาชน ในดานการลงทะเบียนสมัคร การแจงขาวสาร ประกาศประชาสัมพันธ การสืบคนขอมูล การ สงรายงานผลการสอน ๖.๒ เกดิ ประสิทธิภาพ คณุ ภาพ ประสิทธผิ ล ในการดาํ เนินงานของพระสอนศีลธรรม ในดา นการบรหิ าร จดั การ การสืบคน ประเมนิ ผล การตดิ ตามผลและการสรปุ ผล ๖.๓ ยกระดับการใหบริการของระบบฐานขอมูลเดิมในโรงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ใหมี ความกาวหนา มีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัยทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีสอดคลองกับพฤติกรรมของ ผใู ชง าน ทาํ ใหเ กดิ การมสี ว นรว มในระดบั สงู แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ นกั งานพระสอนศลี ธรรม มจร ๓๒