Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะคลายโศก

ธรรมะคลายโศก

Published by WATKAO, 2021-01-08 02:11:49

Description: ธรรมะคลายโศก

Keywords: ธรรมะคลายโศก

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

ธรรมะคลายโศก ISBN : 978-616-8103-05-0 ผคู้ ้นควา้ และเรียบเรียง : สริ ปิ ณุ โฺ ณ ภาพประกอบ : www.dmc.tv ออกแบบปก : จริ พฒั น์ ยังโปย้ รูปเล่ม/จดั อาร์ต : สกุ ัญญา บุญทนั พิมพค์ รั้งที่ ๑ : พ.ศ. ๒๕๖๑ ลขิ สิทธแ์ิ ละจดั พมิ พ์โดย : สมาคมสมาธิเพื่อการพัฒนาศีลธรรมโลก โทร. ๐๓๘-๔๒๐๐๔๓ พิมพท์ ่ี : บรษิ ัท พมิ พ์ดี จำ� กัด โทร. ๐-๒๔๐๑-๙๔๐๑ ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของสำ� นกั หอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloguing in Publication Data สิริ ปุณฺ โณ. ธรรมะคลายโศก.-- นนทบรุ ี : สมาคมสมาธิเพอื่ การพฒั นาศลี ธรรมโลก, 2561. 192 หนา้ 1. พระสูตร 2. ธรรมะสำ� หรับคนป่ วย I. สิริปุณฺโณ ผคู้ น้ ควา้ และเรียบเรียง. II. ชื่อเรื่อง. 294.3144 www.kalyanamitra.org

ค�ำ น�ำ ผลงานเรียบเรียงธรรมะจากพระสูตรเล่มที่ ๓ ได้ เรียบเรียงเนื้อหาจาก ๒๒ พระสูตร ที่เก่ียวข้องกับ ความเจ็บป่วย ความทุกข์จากการพลัดพราก จัดท�ำ ๒ ส่วน คือ ธรรมะคลายโศกสำ� หรับฆราวาส และธรรมะ คลายโศกสำ� หรับพระ ธรรมะสำ� หรบั พระ รวมถงึ พระสตู รทเี่ กย่ี วกบั บทสวด โพชฌงค์ของพระ ท่ีใช้สาธยายเวลาเจ็บป่วย วิธีการ เยยี่ มไข้ การปลอบประโลมใจ หรอื การใหธ้ รรมะแกผ่ ปู้ ว่ ย หวังว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ มุมมอง ความ เชื่อมโยงในเน้ือหา และสาระจากเรื่องท่ีเรียบเรียงขึ้น ทง้ั หมดในเลม่ น้ี เจรญิ สขุ สวัสดี สิรปิ ณุ โฺ ณ วิสาขบชู า พ.ศ.๒๕๖๑ ไลน์ไอดี Line ID : Siripunno แฟนเพจ Facebook: Siripunno อีเมล์ E-mail : [email protected] www.kalyanamitra.org

สารบัญ ธรรมะคลายโศกสำ� หรบั ฆราวาส ๙ ๓๗ ๑. ธนัญชานสิ ตู ร ๔๕ วา่ ดว้ ยธนัญชานพิ ราหมณ์ ๕๓ ๒. คิลายนสตู ร ๖๓ ธรรมเปน็ ท่ตี ้ังแหง่ ความเบาใจ ๔ ประการ ๖๙ ๓. นกุลสูตร ว่าด้วยค�ำเตอื นของนกลุ มารดาคฤหปตานี ๔. ปฐมทุสีลยสตู ร จ�ำแนกโสดาปัตตยิ ังคะ ๔ ดว้ ยอาการ ๑๐ ๕. ทตุ ิยทสุ ีลยสตู ร กลัวความตายเพราะไมม่ ีธรรม ๔ ประการ ๖. อนาถปิณฑโิ กวาทสูตร ความเป็นไปแหง่ อาพาธ www.kalyanamitra.org

๗. สิริวัฑฒสตู ร ๘๕ ผเู้ จริญสติปฏั ฐาน ๔ ไดอ้ นาคามผิ ล ๘. นารทสูตร ๘๙ วา่ ด้วยฐานะ ๕ ท่ีใครๆ ในโลกไมพ่ งึ ได้ ๙. ฐานสูตร ๑๐๓ ว่าด้วยฐานะ ๕ ประการ ท่ีใครๆ ไมพ่ ึงได ้ ๑ ๐. ปยิ ชาตกิ สูตร ๑๑๑ ว่าด้วยสิ่งเป็นท่ีรัก ๑๑. อภยสตู ร ๑๒๗ วา่ ดว้ ยบคุ คลผกู้ ลวั ตายและผไู้ มก่ ลวั ความตาย www.kalyanamitra.org

ธรรมะคลายโศกสำ� หรับพระ ๑๒. อาพาธสตู ร ๑๓๕ ว่าด้วยทรงแสดงสัญญา ๑๐ ประการ แก่พระคริ ิมานนท์ผ้อู าพาธ ๑๓. ปฐมคลิ านสูตร ๑๔๕ พระมหากัสสปหายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗ ๑๔. ทตุ ยิ คิลานสูตร ๑๔๙ พระมหาโมคคลั ลานะหายอาพาธ ดว้ ยโพชฌงค์ ๗ ๑๕. ตตยิ คิลานสตู ร ๑๕๓ พระผ้มู พี ระภาคหายประชวร ด้วยโพชฌงค์ ๗ ๑๖. คลิ านสตู ร ๑๕๕ จติ ตั้งมน่ั ในสติปฏั ฐานทกุ ขเวทนา ไม่ครอบง�ำ ๑๗. คิลานสตู ร ๑๕๙ ว่าด้วยมตี นเปน็ เกาะ www.kalyanamitra.org

๑๘. คลิ านสูตร ๑๖๓ วา่ ด้วยคณุ ธรรมส�ำหรบั ภกิ ษผุ อู้ าพาธ ๑๙. ปฐมอปุ ฏั ฐากสตู ร ๑๖๗ วา่ ดว้ ยธรรมของภกิ ษุไขท้ ่ีท�ำให้พยาบาล และง่าย ๒๐. ทตุ ยิ อปุ ัฏฐากสูตร ๑๖๙ ว่าด้วยธรรมของภกิ ษผุ ู้ควร และไม่ควรพยาบาลภิกษไุ ข้ ๒๑. ธชัคคสูตรที่ ๓ ๑๗๓ อานภุ าพแหง่ การระลึกถึงพระรตั นตรัย ๒๒. ผัคคณุ สตู ร ๑๗๙ ว่าดว้ ยพระพทุ ธองค์เสดจ็ เย่ยี ม พระผคั คุณะอาพาธ www.kalyanamitra.org

8 www.kalyanamitra.org

๑. ธนัญชานิสตู ร๑ วา่ ด้วยธนญั ชานิพราหมณ์ ขา้ พเจ้าได้สดับมาแลว้ อย่างนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวหิ าร เวฬวุ นั กลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์. สมัยนั้นแล ท่านพระสารีบุตรเที่ยวจาริกไปใน ทักขิณาครี ชี นบท พรอ้ มดว้ ยภิกษหุ มู่ใหญ่. ครง้ั นน้ั ภกิ ษรุ ปู หนงึ่ จำ� พรรษาอยใู่ นพระนครราชคฤห์ ไดเ้ ขา้ ไปหาทา่ นพระสารบี ตุ รถงึ ทกั ขณิ าครี ชี นบทไดป้ ราศรยั กับท่านพระสารีบุตร คร้ันผ่านการปราศรัยพอให้ระลึก ถึงกันไปแลว้ น่ัง ณ ทีค่ วรสว่ นข้างหนงึ่ . ท่านพระสารีบุตรได้ถามภิกษุนั้นว่า “ดูกร๒ ท่าน ผู้มีอายุ พระผู้มีพระภาคไม่ทรงพระประชวร และยังทรง พระก�ำลังอยู่หรอื ?” ๑ ม.ม., ล.๒๑, น.๓๘๔, มมร. ๒ (ดูกะระ ดูกอน) ดูก่อน ดูรา ค�ำกล่าวข้ึนต้นข้อความกับผู้ท่ีจะ พดู ดว้ ยให้สนใจฟงั . ธนัญชานิสูตร 9 www.kalyanamitra.org

ภิกษุน้ันกราบเรียนว่า “พระผู้มีพระภาคไม่ทรง พระประชวรและยังทรงพระก�ำลังอยู่ ท่านผู้มอี าย.ุ ” สา. “ท่านผู้มีอายุ ก็ภิกษุสงฆ์ไม่ป่วยไข้ และยังมี กำ� ลงั อยูห่ รือ ?” ภิ. “แม้ภิกษุสงฆ์ก็ไม่ป่วยไข้ และยังมีก�ำลังอยู่ ทา่ นผมู้ ีอายุ.” สา. “ดกู รท่านผมู้ อี ายุ ธนัญชานิพราหมณอ์ ยู่ทใี่ กล้ ประตตู ัณฑุลปาละ ในพระนครราชคฤหน์ นั้ เขาไมป่ ่วยไข้ และยังมีก�ำลงั อยหู่ รอื ?” ภ.ิ “แมธ้ นญั ชานพิ ราหมณก์ ไ็ มป่ ว่ ยไข้ และยงั มกี ำ� ลงั อยู่ ท่านผมู้ ีอายุ.” สา. “ดูกรท่านผู้มีอายุ ธนัญชานิพราหมณ์ยังเป็น ผไู้ ม่ประมาทหรือ ?” ภิ. “ทไี่ หนไดท้ า่ นผมู้ อี ายุ ธนญั ชานพิ ราหมณข์ องเรา จะไมป่ ระมาท เขาอาศยั พระราชาเทยี่ วปลน้ พวกพราหมณ์ และคฤหบดี อาศยั พวกพราหมณแ์ ละคฤหบดปี ลน้ พระราชา ภรรยาของเขาผู้มีศรัทธา ซ่ึงน�ำมาจากสกุลท่ีมีศรัทธา ท�ำกาละเสียแล้ว เขาได้หญิงอ่ืนมาเป็นภรรยาหาศรัทธา มไิ ด้ เขาน�ำมาจากสกุลท่ีไม่มีศรทั ธา.” สา. “ดกู รทา่ นผมู้ อี ายุ เราไดฟ้ งั วา่ ธนญั ชานพิ ราหมณ์ เป็นผู้ประมาท เป็นอันได้ฟังชั่วหนอท�ำไฉน เราจะพึงได้ 10 www.kalyanamitra.org

พบกบั ธนญั ชานพิ ราหมณบ์ างครงั้ บางคราว ทำ� ไฉน จะพงึ ได้เจรจาปราศรยั กนั สักนอ้ ยหนงึ่ ?” คร้ังนั้น ท่านพระสารีบุตรอยู่ในทักขิณาคิรีชนบท ตามควรแลว้ จึงหลีกจาริกไปทางพระนครราชคฤห์ เท่ียว จาริกไปโดยล�ำดบั ไดถ้ งึ พระนครราชคฤห์แล้ว. ไดย้ นิ วา่ สมยั นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ รอยู่ ณ พระวหิ าร เวฬุวันกลนั ทกนวิ าปสถาน ใกลพ้ ระนครราชคฤห์. ครั้งนน้ั เวลาเช้า ทา่ นพระสารีบุตรนุง่ แล้ว ถอื บาตร และจวี รเขา้ ไปยังพระนครราชคฤห์. สมัยน้ัน ธนัญชานิพราหมณ์ใช้คนให้รีดนมโคอยู่ที่ คอกโค ภายนอกพระนคร. ทา่ นพระสารบี ตุ รเทย่ี วบณิ ฑบาต ในพระนครราชคฤห์ ภายหลงั ภตั กลบั จากบณิ ฑบาตแลว้ เขา้ ไปหาธนญั ชานิพราหมณ์ถงึ ท่อี ยู่. ธนญั ชานพิ ราหมณไ์ ดเ้ หน็ ทา่ นพระสารบี ตุ รกำ� ลงั มา แต่ไกล จึงเข้าไปหาท่านพระสารีบุตร แลว้ ได้กล่าววา่ “นิมนต์ด่ืมน้�ำนมสดทางนี้เถิด ท่านสารีบุตรท่าน ยงั มีเวลาฉนั อาหาร.” สา. “อยา่ เลยพราหมณ์ วนั นฉ้ี นั ทำ� ภตั ตกจิ เสรจ็ แลว้ ฉันจักพักกลางวนั ที่โคนต้นไม้โน้นท่านพงึ มาในทนี่ ้ัน.” ธนัญชานิพราหมณ์รบั ค�ำทา่ นพระสารีบุตรแล้ว ธนัญชานิสูตร 11 www.kalyanamitra.org

คร้ังนั้น ธนัญชานิพราหมณ์บริโภคอาหารเวลาเช้า เสร็จแล้ว ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบุตร ได้ปราศรัยกับ ท่านพระสารีบุตรคร้ันผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกัน ไปแล้ว จงึ นั่ง ณ ทีค่ วรข้างหนึง่ .  การประพฤติไม่ชอบธรรม  ท่านพระสารบี ตุ รได้ถามว่า “ดกู รธนัญชานิ ท่านเปน็ ผ้ไู มป่ ระมาทหรอื ?” ธนัญชานิพราหมณ์ได้ตอบวา่ “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร ทไ่ี หนขา้ พเจา้ จะไมป่ ระมาท เพราะข้าพเจ้าต้องเลี้ยงมารดาบิดา ต้องเล้ียงบุตรและ ภรรยา ตอ้ งเลย้ี งพวกทาส กรรมกร และคนรบั ใชต้ อ้ งทำ� กจิ ส�ำหรับมิตรและอ�ำมาตย์ แก่มิตรและอำ� มาตย์ ตอ้ งทำ� กจิ สำ� หรบั ญาติสาโลหติ แก่ญาติสาโลหติ ต้องทำ� กจิ สำ� หรบั แขก แก่แขก ต้องท�ำบุญท่ีควรท�ำแก่ปุพเปตชนส่งไปให้ ปุพเปตชนต้องท�ำการบวงสรวงแก่พวกเทวดา ต้องท�ำ ราชการใหแ้ กห่ ลวง แมก้ ายนกี้ ต็ อ้ งใหอ้ ม่ิ หนำ� ตอ้ งใหเ้ จรญิ .” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? บคุ คลบางคนในโลกน้เี ปน็ ผปู้ ระพฤติไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ บดิ ามารดา นายนริ ยิ บาล 12 www.kalyanamitra.org

จะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ น้ั ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤติ ไมช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความ ปรารถนาหรอื วา่ เราเปน็ ผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ มารดาบดิ า ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ ง พึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย หรือมารดาบิดาของผู้น้ันจะพึง ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ‘ผนู้ เ้ี ปน็ ผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลายขอนายนริ ยิ บาลอย่าพงึ ฉุดคร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ท่ีแท้ ถึงผู้น้ัน จะคร�่ำครวญมากมาย นายนิริยบาลก็พึงโยนลงในนรก จนได้.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนเี้ ป็นผปู้ ระพฤตไิ ม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ บตุ รและภรรยา นายนริ ยิ - บาลจะพงึ ฉดุ ครา่ ผนู้ นั้ ไปนรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤติ ไมช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความ ปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม เพราะเหตุ แหง่ บตุ รและภรรยาขอนายนริ ยิ บาลอยา่ งพงึ ฉดุ ครา่ เราไป นรกเลย หรือว่าบุตรหรือภรรยาของผู้นั้น’ จะพึงได้ตาม ความปรารถนาว่า ‘ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ ธนัญชานิสูตร 13 www.kalyanamitra.org

ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พึงฉุดคร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นน้ัน ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ ถึงผู้นั้น จะคร่�ำครวญมากมาย นายนิริยบาลก็พึงโยนลงในนรก จนได.้ ” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจข้อความนั้นเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ นายนริ ยิ บาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ น้ั ไปนรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤติไม่ชอบธรรมและประพฤติผิดธรรม เขาจะ พงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราเปน็ ผปู้ ระพฤติ ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรมเพราะเหตแุ หง่ ทาส กรรมกร และคนรับใช้ ขอนายนิริยบาลอย่างพึงฉุดคร่าเราไปนรก เลย’ หรอื ว่าพวกทาส กรรมกรและคนรับใช้ของเขาจะพึง ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ‘ผนู้ ป้ี ระพฤตไิ มช่ อบธรรมประพฤติ ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พงึ ฉดุ คร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ท่ีแท้ ถึงผู้น้ัน จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได.้ ” 14 www.kalyanamitra.org

สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกนี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและอ�ำมาตย์ นาย นิริยบาลจะพึงฉุดคร่าเขาผู้น้ันไปยังนรก เพราะเหตุแห่ง การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ได้ตามความปรารถนาหรือหนอว่า ‘เราเป็นผู้ประพฤติ ไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรมเพราะเหตุแห่งมิตรและ อ�ำมาตย์ ขอนายนิริยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย’ หรอื วา่ มติ รและอำ� มาตยข์ องเขาพงึ ไดต้ ามความปรารถนา วา่ ‘ผนู้ ป้ี ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรมเพราะเหตุ แห่งเราทั้งหลาย ขอนายนิริยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเขาไป นรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นน้ัน ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ ถึงผู้นั้น จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได.้ ” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตุแห่งญาติสาโลหติ นายนิริย- บาลจะพึงฉุดคร่าเขาผู้น้ันไปยังนรก เพราะเหตุแห่ง การประพฤติไม่ชอบธรรมและประพฤติผิดธรรม เขาจะ ธนัญชานิสูตร 15 www.kalyanamitra.org

พงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราประพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งญาติสาโลหิต ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย’ หรอื วา่ ญาติ สาโลหติ ของเขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ‘ผนู้ ป้ี ระพฤติ ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอย่าพงึ ฉุดคร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นน้ัน ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ ถึงผู้นั้น จะครำ�่ ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได้.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ แขก นายนริ ยิ บาลจะพงึ ฉุดคร่าเขาผู้นั้นไปยังนรก เพราะเหตุแห่งการประพฤติ ไมช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความ ปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งแขกขอนายนิริยบาลอย่าพึงฉุด ครา่ เราไปนรกเลย’ หรอื วา่ แขกของเขาจะพงึ ไดต้ ามความ ปรารถนาวา่ ‘ผนู้ ปี้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เขาไปนรกเลย’ ” 16 www.kalyanamitra.org

ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ท่ีแท้ ถึงผู้นั้น จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได้.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ปพุ เปตชน นายนริ ยิ บาล จะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤติ ไมช่ อบธรรมและประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความ ปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ ห่งปพุ เปตชน ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย’ หรอื วา่ ปพุ เปตชนของเขาจะพงึ ได้ตามความปรารถนาว่า ‘ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลายขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พงึ ฉุดคร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใชเ่ ชน่ นั้น ทา่ นพระสารีบตุ ร ทีแ่ ท้ ถงึ ผนู้ น้ั จะ คร�่ำครวญมากมาย นายนิริยบาลก็พึงโยนเขาลงในนรก จนได.้ ” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเทวดา นายนิริยบาล ธนัญชานิสูตร 17 www.kalyanamitra.org

จะพึงฉุดคร่าเขาผู้น้ันไปยังนรก เพราะเหตุแห่งการ ประพฤตไิ ม่ชอบธรรมและประพฤติผิดธรรม เขาจะพงึ ได้ ตามความปรารถนาหรอื หนอวา่ ‘เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเทวดาขอนายนิริยบาล อย่าพึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย’ หรือว่าเทวดาของเขาจะ พึงได้ตามความปรารถนาว่า ‘ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทง้ั หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอย่าพึงฉดุ คร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ท่ีแท้ ถึงผู้น้ัน จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได.้ ” สา. “ดกู รธนญั ชานิ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน? บคุ คลบางคนในโลกนปี้ ระพฤติไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พระราชา นายนริ ยิ บาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม และประพฤติผิดธรรม เขาจะพึงได้ตามความปรารถนา หรือหนอว่า เราประพฤตไิ ม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตุแห่งพระราชา ขอนายนริ ิยบาลอย่างพงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรือว่าพระราชาของผู้น้ันจะพึงได้ตาม ความปรารถนาว่า ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ 18 www.kalyanamitra.org

ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยิ บาลอยา่ พึงฉุดคร่าเขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ท่ีแท้ ถึงผู้นั้น จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได.้ ” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? บุคคลบางคนในโลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ การเลยี้ งกาย เพราะเหตุ ท�ำนุบ�ำรุงกายนายนิริยบาลจะพึงฉุดคร่าเขาผู้นั้นไปยัง นรก เพราะเหตุแห่งการประพฤติไม่ชอบธรรมและ ประพฤติผิดธรรม เขาจะพึงได้ตามความปรารถนาหรือ หนอว่า ‘เราประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุการท�ำนุบ�ำรุงกาย ขอนายนิริยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย’ หรือว่า ชนเหล่าอ่ืนของเขาจะพึงได้ตามความปรารถนาว่า ‘ผู้น้ี ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุการ เลี้ยงกาย เพราะเหตุท�ำนบุ ำ� รงุ กาย ขอนายนริ ิยบาลอย่า พงึ ฉุดครา่ เขาไปนรกเลย’ ” ธ. “ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ ถึงผู้นั้น จะครำ�่ ครวญมากมาย นายนริ ยิ บาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรก จนได้.” ธนัญชานิสูตร 19 www.kalyanamitra.org

สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ัน เป็นไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิด ธรรม เพราะเหตแุ หง่ มารดาบดิ า กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบ ธรรม ประพฤติถกู ธรรม เพราะเหตุแหง่ มารดาบิดา ไหน จะประเสริฐกว่ากัน ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร ผทู้ ป่ี ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ิดธรรม เพราะเหตแุ ห่งมารดาบดิ า ไมป่ ระเสรฐิ ส่วนผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุ แหง่ มารดาบิดา ประเสริฐ ด้วยวา่ การประพฤติชอบธรรม และการประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบ ธรรมและการประพฤติผดิ ธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทม่ี เี หตุ ประกอบ ด้วยธรรม เป็นเคร่ืองให้บุคคลอาจเลี้ยงมารดาบิดาได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้ มีอยู่. ดูกรธนญั ชานิ ท่านจะเข้าใจความขอ้ น้นั เปน็ ไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตุแห่งบุตรและภรรยา กับบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรมเพราะเหตุบุตรและภรรยา ไหนจะ ประเสรฐิ กวา่ กนั ?” 20 www.kalyanamitra.org

ธ. “ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร บุคคลผู้ประพฤติ ไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งบุตรและ ภรรยา ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตแุ หง่ บตุ รและภรรยา ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤติชอบธรรมและการประพฤตถิ ูกธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม และการประพฤติ ผิดธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทมี่ เี หตุ ประกอบ ดว้ ยธรรม เปน็ เครอื่ งใหบ้ คุ คลอาจเลย้ี งบตุ รและภรรยาได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้ มีอย.ู่ ดกู รธนัญชานิ ทา่ นจะเขา้ ใจความข้อนน้ั เป็นไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตุแห่งพวกทาส กรรมกร และคนรับใช้ กับบุคคล ผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่ง พวกทาส กรรมกร และคนรบั ใช้ ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤติผดิ ธรรมเพราะเหตแุ หง่ พวกทาส กรรมกร และคนรบั ใช้ ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่งพวกทาส กรรมกรและ ธนัญชานิสูตร 21 www.kalyanamitra.org

คนรับใช้ ประเสริฐ ด้วยว่า การประพฤติชอบธรรมและ การประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่า การประพฤติไม่ชอบ ธรรมและการประพฤตผิ ิดธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทม่ี เี หตุ ประกอบ ดว้ ยธรรม เปน็ เครอ่ื งใหบ้ คุ คลอาจเลยี้ งพวกทาส กรรมกร และคนรับใช้ได้ ไม่ต้องกระท�ำกรรมอันลามก และให้ ปฏิบัติปฏปิ ทาอนั เป็นบญุ ได้ มีอย.ู่ ดกู รธนัญชานิ ท่านจะเขา้ ใจความขอ้ น้ันเป็นไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตแุ ห่งมติ รและอำ� มาตย์ กบั บุคคลผูป้ ระพฤตชิ อบธรรม และประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและอ�ำมาตย์ ไหนจะประเสริฐกวา่ กนั ?” ธ. “ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร บุคคลผู้ประพฤติ ไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและ อ�ำมาตย์ ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรมเพราะเหตแุ หง่ มติ รและอำ� มาตย์ ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรมและการประพฤติถูกธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤติ ผิดธรรม.” 22 www.kalyanamitra.org

สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทม่ี เี หตุ ประกอบ ด้วยธรรม เป็นเครื่องให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่มิตร และอ�ำมาตย์ได้ ไม่ต้องท�ำกรรมอันลามก และให้ปฏิบัติ ปฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้ มอี ย.ู่ ดกู รธนญั ชานิ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นัน้ เป็นไฉน ? บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรมประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตุ แหง่ ญาตสิ าโลหติ กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ ถูกธรรมเพราะเหตุแห่งญาติสาโลหิต ไหนจะประเสริฐ กว่ากัน ?” ธ. “ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร บุคคลผู้ประพฤติ ไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งญาติ สาโลหิต ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตุแหง่ ญาติสาโลหิต ประเสรฐิ ด้วยวา่ การประพฤติชอบธรรมและการประพฤติถกู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤติ ผิดธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทมี่ เี หตุ ประกอบ ด้วยธรรม เป็นเครื่องให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่ญาติ สาโลหติ ได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทา อนั เป็นบุญไดม้ อี ย.ู่ ธนัญชานิสูตร 23 www.kalyanamitra.org

ดูกรธนญั ชานิ ทา่ นจะเข้าใจความขอ้ น้นั เป็นไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตุแห่งแขก กับบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติ ถูกธรรม เพราะเหตุแห่งแขก ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ ห่งแขก ไมป่ ระเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรมและการประพฤติ ถกู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤติไมช่ อบธรรมและการ ประพฤติผดิ ธรรม.” สา. “ดูกรธนัญชานิ การงานอ่ืนท่ีมีเหตุ ประกอบ ด้วยธรรม เป็นเคร่ืองใหบ้ คุ คลอาจทำ� กรณยี กจิ แกแ่ ขกได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้ มอี ย่.ู ดูกรธนญั ชานิ ท่านจะเขา้ ใจความข้อนัน้ เปน็ ไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุ แห่งปุพเปตชน กับบคุ คลผูป้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ ถูกธรรมเพราะเหตุแห่งปุพเปตชน ไหนจะประเสริฐ กวา่ กัน ?” 24 www.kalyanamitra.org

ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งปุพเปตชน ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติ ถูกธรรม ประเสริฐด้วยว่า การประพฤติชอบธรรมและ การประพฤติถูกธรรม ประเสรฐิ กว่า การประพฤติไม่ชอบ ธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอน่ื ทม่ี เี หตุ ประกอบ ดว้ ยธรรม เปน็ เครอื่ งใหบ้ คุ คลอาจทำ� กรณยี กจิ แกป่ พุ เปตชน ได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บุญได้มอี ยู.่ ดกู รธนัญชานิ ทา่ นจะเข้าใจความขอ้ นัน้ เปน็ ไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตแุ หง่ เทวดา กับบคุ คลผู้ประพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ ถกู ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เทวดา ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรมประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เทวดา ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผู้ประพฤตชิ อบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะ เหตแุ หง่ เทวดา ประเสริฐ ด้วยวา่ การประพฤตชิ อบธรรม และการประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบ ธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม.” ธนัญชานิสูตร 25 www.kalyanamitra.org

สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอนื่ ทมี่ เี หตุ ประกอบ ด้วยธรรม เป็นเครื่องให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่เทวดา ได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บุญได้ มอี ยู่. ดกู รธนญั ชานิ ท่านจะเขา้ ใจความขอ้ นัน้ เปน็ ไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตแุ หง่ พระราชา กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ ถูกธรรม เพราะเหตุแห่งพระราชา ไหนจะประเสริฐ กวา่ กนั ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พระราชา ไมป่ ระเสรฐิ ส่วนบุคคลผูป้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ ูกธรรม เพราะ เหตแุ หง่ พระราชา ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรม และการประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่า การประพฤติ ไมช่ อบธรรมและการประพฤตผิ ิดธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอนื่ ทม่ี เี หตุ ประกอบ ดว้ ยธรรม เปน็ เครอื่ งใหบ้ คุ คลอาจทำ� กรณยี กจิ แหง่ พระราชา ได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บุญไดม้ ีอยู.่ 26 www.kalyanamitra.org

 การประพฤติชอบธรรมประเสรฐิ  ดูกรธนญั ชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน ? บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรมประพฤติผิดธรรม เพราะ เหตุการเล้ียงกาย เพราะเหตุท�ำนุบ�ำรุงกาย กับบุคคล ผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุการ เล้ียงกาย เพราะเหตุการท�ำนุบ�ำรุงกาย ไหนจะประเสริฐ กว่ากนั ?” ธ. “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบ ธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตกุ ารเลย้ี งกาย เพราะเหตุ ท�ำนุบ�ำรุงกาย ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบ ธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตกุ ารเลย้ี งกาย เพราะเหตุ ทำ� นุบำ� รงุ กาย ประเสรฐิ ดว้ ยว่า การประพฤติชอบธรรม และการประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่า การประพฤติ ไม่ชอบธรรมและการประพฤติผิดธรรม.” สา. “ดกู รธนญั ชานิ การงานอยา่ งอนื่ ทม่ี เี หตุ ประกอบ ดว้ ยธรรม เปน็ เครอ่ื งใหบ้ คุ คลอาจเลย้ี งกาย ทำ� นบุ ำ� รงุ กายได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้มีอยู.่ ” ครั้งน้ันแล ธนัญชานิพราหมณ์ชื่นชมอนุโมทนา ภาษิตของทา่ นพระสารีบุตร ลุกจากอาสนะหลีกไปแล้ว. ธนัญชานิสูตร 27 www.kalyanamitra.org

 ธนญั ชานพิ ราหมณอ์ าพาธ  ครั้นสมัยต่อมา ธนัญชานิพราหมณ์เป็นผู้อาพาธ ได้รับทกุ ขเ์ ปน็ ไข้หนกั . จึงเรยี กบุรษุ คนหนึ่งมาว่า “บรุ ษุ ผเู้ จรญิ มานเ่ี ถดิ ทา่ น ทา่ นจงเขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ -ี พระภาคถึงท่ีประทับจงถวายบังคมพระบาทของพระผู้มี พระภาคด้วยเศยี รเกลา้ ตามค�ำของเราวา่ ‘ขา้ แต่พระองค์ ผเู้ จรญิ ธนญั ชานพิ ราหมณอ์ าพาธ ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั ’ เขาถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคด้วย เศยี รเกลา้ และจงเข้าไปหาทา่ นพระสารีบตุ รถึงทอี่ ยู่ แล้ว จงไหวเ้ ทา้ พระสารบี ตุ รตามคำ� ของเราวา่ ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ธนัญชานิพราหมณ์อาพาธ ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก’ เขาไหว้เท้าท่านพระสารีบุตรด้วยเศียรเกล้า และจงเรียน ท่านอย่างน้วี า่ ‘ขา้ แต่ทา่ นผเู้ จริญ ขา้ พเจ้าขอโอกาส ขอ ทา่ นพระสารบี ตุ รจงอาศยั ความอนเุ คราะหเ์ ขา้ ไปยงั นเิ วศน์ ของธนญั ชานิพราหมณเ์ ถิด.’ ” บุรุษนน้ั รับคำ� ธนญั ชานพิ ราหมณแ์ ลว้ ได้เข้าไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคถงึ ทปี่ ระทบั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาค แลว้ น่งั ณ ท่ีควรสว่ นขา้ งหน่ึง. แลว้ ได้กราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธนัญชานิพราหมณ์อาพาธ ได้รับทกุ ข์ เป็นไขห้ นัก” 28 www.kalyanamitra.org

เขาถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคด้วย เศียรเกล้า แลว้ ไดเ้ ขา้ ไปหาทา่ นพระสารบี ตุ รถึงทอี่ ยู่ ไหว้ ท่านพระสารบี ตุ รแลว้ น่ัง ณ ท่คี วรสว่ นข้างหนงึ่ . แลว้ ได้ เรียนท่านพระสารบี ุตรว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธนัญชานิพราหมณ์อาพาธ ไดร้ ับทุกข์ เป็นไขห้ นกั ” เขาไหวเ้ ทา้ ของทา่ นพระสารบี ตุ รดว้ ยเศยี รเกลา้ และ ส่งั มาอย่างนี้ “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอโอกาส ขอท่าน พระสารบี ตุ รจงอาศยั ความอนเุ คราะหเ์ ขา้ ไปยงั นเิ วศนข์ อง ธนญั ชานิพราหมณ์เถิด.” ทา่ นพระสารีบุตรรับนิมนตด์ ว้ ยอาการดุษณีภาพ.  พระสารบี ตุ รเข้าไปเย่ียม  ลำ� ดบั นนั้ ทา่ นพระสารบี ตุ รนงุ่ แลว้ ถอื บาตรและจวี ร เขา้ ไปยงั นเิ วศนข์ องธนญั ชานพิ ราหมณ์ แลว้ นง่ั บนอาสนะ ทเ่ี ขาจดั ถวาย. ได้ถามธนญั ชานพิ ราหมณ์วา่ “ดกู รธนญั ชานิ ทา่ นยงั พอทนไดห้ รอื ? พอจะยงั ชวี ติ ให้เป็นไปได้หรือ ? ทุกขเวทนา ค่อยถอยลงไม่เจริญข้ึน หรอื ? อาการปรากฏค่อยคลายไมท่ วีขนึ้ หรือ ?” ธนัญชานิสูตร 29 www.kalyanamitra.org

ธนัญชานพิ ราหมณ์กราบเรยี นว่า “ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร ขา้ พเจา้ ทนไมไ่ หวจะยงั ชวี ติ ใหเ้ ป็นไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พเจ้ากล้านัก เจรญิ ขน้ึ ไมถ่ อยเลย ปรากฏอาการทวยี ง่ิ ขึ้น ไมล่ ดถอย ข้าแต่ท่านพระสารีบุตรผู้เจริญ เปรียบเหมือน บุรุษมีก�ำลัง เอาเหล็กแหลมคมกดศีรษะฉันใด ข้าพเจ้า กฉ็ ันนั้นแล ลมเสยี ดแทงศีรษะกล้านกั ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร ขา้ พเจา้ ทนไมไ่ หว จะยงั ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทุกขเวทนาของขา้ พเจา้ กล้านกั เจรญิ ขนึ้ ไมถ่ อยเลย ปรากฏอาการทวยี งิ่ ขน้ึ ไมล่ ดถอย เปรยี บเหมอื น บุรุษมีกำ� ลงั เอาเส้นเชอื กทีเ่ ขมง็ มัดรัดศีรษะฉันใด เวทนา ในศรี ษะของข้าพเจา้ ก็เหลือทนฉันนั้น ข้าพเจ้าทนไม่ไหว จะยังชีวิตให้เปน็ ไปไม่ได้ ทุกข- เวทนาของข้าพเจ้ากลา้ นกั เจรญิ ขึน้ ไมถ่ อยเลย ปรากฏ อาการทวีขน้ึ ไม่ลดถอย ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร เปรียบเหมือนนายโคฆาต หรือลกู มอื นายโคฆาตคนขยนั เอามดี ส�ำหรบั เชือดเนื้อโค อันคมมาเชือดท้องฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉันน้ัน ลมเสียดท้อง กล้านกั 30 www.kalyanamitra.org

ขา้ พเจา้ ทนไมไ่ หวจะยงั ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนา ของขา้ พเจา้ กลา้ นกั เจรญิ ยง่ิ ขน้ึ ไมถ่ อยเลย ปรากฏอาการ ทวขี น้ึ ไมล่ ดถอย ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร เปรียบเหมือนบุรุษมีก�ำลัง สองคน ชว่ ยกนั จบั บรุ ษุ มกี ำ� ลงั นอ้ ยกวา่ คนละแขน รมยา่ ง ไว้ที่หลุมถ่านเพลิงฉันใด ในกายของข้าพเจ้าก็ร้อน เหมอื นกันฉันน้นั ขา้ พเจ้าทนไม่ไหว จะยังชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ข- เวทนาของข้าพเจ้ากล้านัก ทวีขึ้นไม่ถอยเลย ปรากฏ อาการทวีขึ้น ไม่ลดถอย.  ว่าดว้ ยทคุ ต-ิ สุคติภมู ิ  สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? นรกกับก�ำเนดิ สตั ว์ดิรัจฉาน ไหนจะดีกว่ากนั ?” ธ. “กำ� เนดิ สตั วด์ ริ จั ฉานดกี วา่ นรก ทา่ นพระสารบี ตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? กำ� เนดิ สตั วด์ ริ จั ฉานกบั ปติ ตวิ สิ ยั ๓ ไหนจะดกี วา่ กนั ?” ๓ น. กำ� เนดิ แหง่ เปรต พระพทุ ธศาสนาสอนวา่ คนทที่ ำ� กรรมดกี รรมชว่ั พอประมาณ เมอื่ สนิ้ ชพี แลว้ จติ จะถอื กำ� เนดิ เปน็ สตั วโลกชนดิ หนง่ึ มีรา่ งอันไม่สมประกอบ เรยี กว่า เปรต. ธนัญชานิสูตร 31 www.kalyanamitra.org

ธ. “ปิตติวิสัยดีกว่าก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน ท่านพระ- สารีบตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? ปติ ตวิ สิ ัยกับมนุษย์ ไหนจะดกี ว่ากนั ?” ธ. ”มนษุ ยด์ ีกว่าปติ ติวิสยั ท่านพระสารีบตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน? มนษุ ยก์ บั เทวดาชน้ั จาตมุ มหาราช ไหนจะดกี วา่ กนั ?” ธ. “เทวดาช้ันจาตุมมหาราชดีกว่ามนุษย์ ท่าน พระสารบี ตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? เทวดาชั้นจาตุมมหาราชกับเทวดาช้ันดาวดึงส์ ไหนจะดกี วา่ กนั ?” ธ. “เทวดาชน้ั ดาวดงึ สด์ กี วา่ เทวดาชน้ั จาตมุ มหาราช ท่านพระสารีบตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? เทวดาชั้นดาวดึงส์กับเทวดาชั้นยามา ไหนจะดี กวา่ กัน ?” ธ. “เทวดาช้ันยามาดีกว่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ ท่าน พระสารีบุตร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็น ไฉน ? เทวดาชน้ั ยามากบั เทวดาชนั้ ดสุ ติ ไหนจะดกี วา่ กนั ?” 32 www.kalyanamitra.org

ธ. “เทวดาช้ันดุสิตดีกว่าเทวดาช้ันยามา ท่านพระ- สารีบุตร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? เทวดาช้ันดุสิตกับเทวดาชั้นนิมมานรดี ไหนจะดี กว่ากัน ?” ธ. “เทวดาชั้นนิมมานรดีดีกว่าเทวดาช้ันดุสิต ท่าน พระสารบี ตุ ร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? เทวดาชนั้ นมิ มานรดกี บั เทวดาชนั้ ปรนมิ มติ วสวสั ดี ไหนจะดีกว่ากนั ?” ธ. “เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดีดีกว่าเทวดาช้ัน นิมมานรดี ทา่ นพระสารบี ุตร.” สา. “ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็น ไฉน ? เทวดาชั้นปรนิมมติ วสวสั ดกี บั พรหมโลก ไหนจะดี กวา่ กัน ?” ธ. “ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ‘พรหมโลก’ ท่าน พระสารีบตุ รกล่าววา่ ‘พรหมโลก’ หรอื ?” คร้ังน้ัน ท่านพระสารีบตุ รมคี วามด�ำริว่า ‘พราหมณ์ เหลา่ น้ี นอ้ มใจไปในพรหมโลกถา้ กระไร เราพึงแสดงทาง เพ่ือความเป็นสหายกับพรหมแก่ธนัญชานิพราหมณ์เถิด’ ดงั น้ี แล้วจึงกลา่ ววา่ ธนัญชานิสูตร 33 www.kalyanamitra.org

“ดกู รธนญั ชานิ เราจกั แสดงทางเพอื่ ความเปน็ สหาย กับพรหม ท่านจงฟัง จงตงั้ ใจให้ดเี ราจกั กล่าว.” ธนญั ชานิพราหมณร์ ับคำ� ทา่ นพระสารีบตุ รแล้ว. ทา่ นพระสารีบุตรไดก้ ลา่ วว่า “ดกู รธนัญชานิ ก็ทางเพื่อความเปน็ สหายกบั พรหม เป็นไฉน ? ดกู รธนญั ชานิ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ มใี จประกอบดว้ ย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศหน่ึงอยู่ ทิศท่ี ๒ ทิศที่ ๓ ทิศที่ ๔ กเ็ หมือนกนั ตามนยั น้ี ทัง้ เบ้ืองบน เบื้องล่าง เบอ้ื งขวาง แผ่ไปตลอดโลก ท่ัวสัตว์ทุกเหล่า เพ่ือประโยชน์แก่สัตว์ ท่ัวหน้า ในที่ทุกสถาน ด้วยใจอันประกอบด้วยเมตตา อันไพบูลย์ เป็นมหคั คตะ หาประมาณมิได้ ไมม่ ีเวร ไม่มี ความเบยี ดเบยี นอยู่ แมข้ อ้ นก้ี เ็ ปน็ ทางเพอ่ื ความเปน็ สหาย กับพรหม ดูกรธนัญชานิ อีกประการหน่ึง ภิกษุมีใจประกอบ ดว้ ยกรณุ า... มีใจประกอบด้วยมุทิตา... มีใจประกอบด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศท่ี ๒ ทิศท่ี ๓ ทิศท่ี ๔ กเ็ หมอื นกนั ตามนยั นี้ เบอ้ื งบน เบอื้ งลา่ ง เบอ้ื งขวาง แผไ่ ป ตลอดโลก ทวั่ สัตวท์ กุ เหลา่ เพอื่ ประโยชนแ์ กส่ ตั วท์ ั่วหนา้ ในที่ทกุ สถาน ด้วยใจอันประกอบด้วยอุเบกขาอันไพบลู ย์ 34 www.kalyanamitra.org

เป็นมหัคคตะ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีความ เบยี ดเบยี นอยนู่ แ้ี ล เปน็ ทางเพอ่ื ความเปน็ สหายกบั พรหม.” ธ. “ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร ถ้าเช่นน้ัน ขอท่านจง ถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคด้วยเศียรเกล้า ตามค�ำของขา้ พเจา้ ว่า ‘ข้าแตพ่ ระองคผ์ เู้ จริญ ธนัญชานิ- พราหมณ์ป่วย ได้รับทุกข์เป็นไข้หนัก เขาถวายบังคม พระบาทของพระผู้มีพระภาคด้วยเศยี รเกลา้ .’ ” ครง้ั นนั้ แล ทา่ นพระสารบี ตุ รไดป้ ระดษิ ฐานธนญั ชาน-ิ พราหมณ์ไว้ในพรหมโลกชั้นต่�ำ ในเม่ือยังมีกิจท่ีจะพึง ทำ� ให้ย่งิ ข้ึนได้ แลว้ ลกุ จากอาสนะหลกี ไป. ทันใดนั้น เมื่อท่านพระสารีบุตรหลีกไปไม่นาน ธนญั ชานพิ ราหมณท์ ำ� กาละแล้วไปบงั เกิดยงั พรหมโลก. ครง้ั นน้ั พระผมู้ พี ระภาคตรสั เรยี กภกิ ษทุ ง้ั หลายมาวา่ “ดกู รภกิ ษทุ ง้ั หลาย สารบี ตุ รนไี้ ดป้ ระดษิ ฐานธนญั ชา- นิพราหมณ์ไว้ในพรหมโลกช้ันต�่ำ ในเม่ือยังมีกิจที่จะพึง ทำ� ใหย้ ่ิงข้ึนได้ แลว้ ลกุ จากอาสนะหลีกไป.” ครงั้ นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ รเขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ถงึ ทปี่ ระทบั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคแลว้ นงั่ ณ ทคี่ วร สว่ นขา้ งหนึ่ง แลว้ ไดก้ ราบทูลวา่ ธนัญชานิสูตร 35 www.kalyanamitra.org

“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธนัญชานิพราหมณ์ป่วย ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก เขาถวายบังคมพระบาทของ พระผมู้ พี ระภาคด้วยเศยี รเกลา้ .” พระผูม้ ีพระภาคตรัสวา่ “ดูกรสารีบุตร ท�ำไมเธอจึงประดิษฐานธนัญชานิ- พราหมณไ์ วใ้ นพรหมโลกชน้ั ตำ�่ ในเมอ่ื มกี จิ อนั จะพงึ ทำ� ให้ ยิง่ ขึ้นไปได้ แล้วลกุ จากอาสนะหลกี ไปเล่า ?” สา. “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ขา้ พระองคม์ คี วามคดิ เหน็ อยา่ งนว้ี า่ ‘พราหมณเ์ หลา่ นนี้ อ้ มใจไปในพรหมโลก ถา้ กระไร เราพงึ แสดงทางเพอ่ื ความเปน็ สหายกบั พรหมแกธ่ นญั ชา- นพิ ราหมณ์เถดิ ’ ดังนี้ พระเจ้าข้า.” พ. “ดูกรสารีบุตร ธนัญชานิพราหมณ์ท�ำกาละไป บังเกิดในพรหมโลกแลว้ ฉะน้ีแล.” 36 www.kalyanamitra.org

๒. คิลายนสตู ร๔ ธรรมเปน็ ทีต่ ัง้ แห่งความเบาใจ ๔ ประการ สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ นโิ คธาราม ใกล้พระนครกบลิ พสั ด์ุ ในแคว้นศากยะ กส็ มยั นนั้ ภกิ ษุมากรูปกระท�ำจีวรกรรมของพระผ้มู ี พระภาคด้วยหวังว่า ‘พระผู้มีพระภาคทรงท�ำจีวรส�ำเร็จ แล้ว จกั เสดจ็ หลีกไปสู่ท่ีจารกิ โดยล่วง ๓ เดือน’ พระเจา้ มหานามศากยราช ไดท้ รงสดบั ขา่ ววา่ ‘ภกิ ษุ มากรูปกระท�ำจีวรกรรมของพระผู้มีพระภาคด้วยหวังว่า พระผมู้ พี ระภาคทรงทำ� จวี รสำ� เรจ็ แลว้ จกั เสดจ็ หลกี ไปสทู่ ี่ จาริกโดยล่วง ๓ เดือน’ ครั้งน้ันพระเจ้ามหานามะศากยะราชจึงเสด็จเข้าไป เฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงท่ีประทับ ถวายบังคมแล้ว นั่งอยู่ ณ ทีส่ ว่ นควรขา้ งหนึง่ ไดก้ ราบทลู กบั พระผู้มพี ระภาคว่า “…ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ หมอ่ มฉนั ไดย้ นิ มาวา่ ‘ภกิ ษุ หลายรูปด้วยกัน ช่วยกันท�ำจีวรให้พระองค์ ด้วยหวังวา่ ๔ ส.ํ ม. ล. ๓๑, น.๓๙๐, มมร. คิลายนสูตร 37 www.kalyanamitra.org

38 www.kalyanamitra.org

เม่ือจีวรส�ำเร็จแล้ว พระองค์จะเสด็จไปสู่ที่จาริกโดยล่วง ๓ เดอื น’ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ กเ็ รอื่ งนหี้ มอ่ มฉนั ยงั ไมไ่ ด้ ฟงั มา ยงั ไมไ่ ดร้ บั มาจากเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาค ว่า ‘อุบาสกผู้มีปัญญา พึงกล่าวสอนอุบาสกผู้มีปัญญาท่ี ป่วยไขไ้ ดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไข้หนักอยา่ งไร’? ” ณ ที่นน้ั พระผูม้ พี ระภาคได้ตรัสตอบ ดังนี้ ว่า “มหาบพิตร อุบาสกผู้มีปัญญาพึงปลอบอุบาสก ผูม้ ีปญั ญา ท่ีป่วยไขไ้ ด้รับทกุ ขเ์ ปน็ ไขห้ นกั ดว้ ยธรรมเปน็ ท่ีต้งั แห่งความเบาใจ ๔ ประการอย่างนีว้ ่า ท่านจงเบาใจเถิดว่า ท่านมีความเลื่อมใสอันไม่ หว่ันไหวในพระพทุ ธเจ้าว่า แม้เพราะเหตอุ ยา่ งน้ๆี พระ- ผู้มีพระภาคเจ้านั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ เปน็ ผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี เปน็ ผรู้ โู้ ลกอยง่ แจม่ แจง้ เปน็ ผสู้ ามารถ ฝึกคนที่ควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูผู้สอน ของเทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม เป็นผู้มีความจ�ำเริญจ�ำแนกธรรมออกสั่งสอน สตั ว์ ดงั น้ี คิลายนสูตร 39 www.kalyanamitra.org

ทา่ นจงเบาใจเถดิ วา่ ทา่ นมคี วามเลอื่ มใสอนั หยงั่ ลงมนั่ ไม่หวั่นไหวในพระธรรมว่า พระธรรมเป็นสิ่งที่พระผู้มี พระภาคเจา้ ตรสั ไวด้ แี ลว้ เปน็ สง่ิ ทผ่ี ศู้ กึ ษาและปฏบิ ตั พิ งึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ สงิ่ ทปี่ ฏบิ ตั ไิ ดแ้ ละใหผ้ ลไดไ้ มจ่ ำ� กดั กาล เปน็ สง่ิ ทค่ี วรกลา่ วกบั ผอู้ นื่ วา่ ทา่ นจงมาดเู ถดิ เปน็ สง่ิ ทคี่ วร นอ้ มเข้ามาใส่ตวั เป็นส่งิ ทีผ่ ้รู กู้ ร็ ูไ้ ด้เฉพาะตน ดังนี้ และทา่ นจงเบาใจเถดิ วา่ ทา่ นมคี วามเลอื่ มใสอนั หยงั่ ลงมั่น ไม่หว่ันไหวในพระสงฆ์ว่า สงฆ์สาวกของพระผู้มี พระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว เป็นผู้ปฏิบัติเพ่ือรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว เป็นผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ คู่แห่ง บุรุษสค่ี ู่ นับเรียงตวั ได้แปดบรุ ุษ นัน่ แหละ คือสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นสงฆ์ ที่ควรแก่สักการะท่ีเขา น�ำมาบูชา เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะท่ีเขาจัดไว้ต้อนรับ เป็นสงฆ์ท่ีควรรับทักษิณาทาน เป็นสงฆ์ท่ีบุคคลท่ัวไป จะพงึ ทำ� อญั ชลี เปน็ สงฆท์ เี่ ปน็ นาบญุ ของโลก ไมม่ นี าบญุ อ่นื ย่งิ กว่า ดงั นี้ และทา่ นจงเบาใจเถดิ วา่ ทา่ นเปน็ ผปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ด้วยศีลทั้งหลายในลักษณะเป็นท่ีพอใจของพระอริยเจ้า เป็นศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นศีลที่เป็น 40 www.kalyanamitra.org

อสิ ระจากตัณหา อนั วญิ ญชู นสรรเสริญ ไม่ถูกตัณหาและ ทฎิ ฐลิ บู คล�ำ เป็นศีลที่เปน็ ไปพรอ้ มเพ่ือสมาธิ ดังน…ี้ มหาบพิตร อุบาสกผู้มีปัญญาพึงปลอบประโลม อุบาสก ผู้มีปัญญาท่ีป่วยไข้ได้รับทุกข์เป็นไข้หนัก ด้วย ธรรมะอันเป็นท่ีต้ังแห่งความเบาใจส่ีประการอย่างนี้แล้ว พึงถามเขาอย่างนี้ว่า “ท่านมีความห่วงใยในมารดาและ บดิ าอยหู่ รอื ?” ถา้ เขาตอบอยา่ งนว้ี า่ “เรายงั มคี วามหว่ งใยในมารดา และบดิ าอย”ู่ อุบาสกน้ันก็พึงกล่าวกับเขา ดังน้ีว่า “ท่านผู้เช่น กับเรา ซ่ึงมีความตายเป็นธรรมดา ถ้าแม้ท่านกระท�ำ ความหว่ งใยในมารดาและบดิ า เขากจ็ กั ตอ้ งตายไป ถา้ แม้ ทา่ นจะไม่กระท�ำความห่วงใยในมารดาและบิดา กจ็ ะตาย ไปเหมอื นกนั ขอทา่ นจงละความหว่ งใยในมารดาและบดิ า ของท่านเสียเถดิ …” ถา้ เขากลา่ วอยา่ งนว้ี า่ “ เราละความหว่ งใยในมารดา และบิดาของเราแล้ว.” อุบาสกน้ันพึงถามเขาอย่างน้ีว่า “ก็ท่านยังมีความ หว่ งใยในบุตรและภริยาอยหู่ รอื ?” คิลายนสูตร 41 www.kalyanamitra.org

ถ้าเขากล่าวอยา่ งนวี้ ่า “เรายังมคี วามหว่ งใยในบุตร และภรยิ าอย”ู่ อุบาสกน้ันพึงกล่าวกะเขาอย่างน้ีว่า “ท่านผู้เช่น กับเรา ซึ่งมีความตายเป็นธรรมดา ถ้าแม้ท่านจักกระท�ำ ความห่วงใยในบุตรและภริยา ก็จักตายไป ถ้าแม้ท่าน จักไม่กระท�ำความห่วงใยในบุตรและภริยา ก็จักตายไป เหมอื นกนั ขอทา่ นจงละความหว่ งใยในบตุ รและภรยิ าของ ทา่ นเสียเถิด” ถ้าเขากล่าวอย่างน้ีว่า “เราละความห่วงใยในบุตร และภรยิ าของเราแลว้ ” อุบาสกน้ันพึงถามเขาอย่างนี้ว่า “ท่านยังมีความ หว่ งใยในกามคุณ ๕ อนั เป็นของมนษุ ยอ์ ยู่หรือ ?” ถ้าเขากล่าวอย่างน้ีว่า “เรายังมีความห่วงใยใน กามคุณ ๕ อนั เป็นของมนษุ ยอ์ ย่”ู อบุ าสกนนั้ พงึ กลา่ วกะเขาอยา่ งนวี้ า่ “กามอนั เปน็ ทพิ ย์ ยังดีกว่า ประณีตกว่า กามอันเป็นของมนุษย์ ขอท่าน จงพรากจติ ใหอ้ อกจากกามอนั เปน็ ของมนษุ ย์ แลว้ นอ้ มจติ ไปในพวกเทพชัน้ จาตมุ หาราชเถิด” 42 www.kalyanamitra.org

ถ้าเขากล่าวอย่างน้ีว่า “จิตของเราออกจากกาม อันเป็นของมนุษย์แล้ว จิตของเราน้อมไปในพวกเทพ ชน้ั จาตมุ หาราชแลว้ .” อุบาสกน้ันพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า “พวกเทพช้ัน ดาวดึงส์ยังดีกว่า ประณีตกว่า พวกเทพช้ันจาตุมหาราช ขอท่านจงพรากจิตให้ออกจากพวกเทพช้ันจาตุมหาราช แลว้ น้อมจิตไปในพวกเทพชนั้ ดาวดงึ สเ์ ถิด” ถา้ เขากลา่ วอยา่ งนวี้ า่ “จติ ของเราออกจากพวกเทพ ชั้นจาตุมหาราชแล้ว จิตของเราน้อมไปในพวกเทพ ช้นั ดาวดงึ สแ์ ล้ว” อุบาสกน้ันพึงกล่าวกะเขาอย่างน้ีว่า “พวกเทพ ชั้นยามายังดีกว่า ประณีตกว่า พวกเทพช้ันดาวดึงส์... พวกเทพช้ันดุสิตยังดีกว่า ประณีตกว่าพวกเทพช้ันยามา ...พวกเทพชั้นนิมมานรดยี ังดีกวา่ ประณีตกวา่ พวกเทพ ชั้นดุสิต...พวกเทพชั้นปรนิมมิตวสวัตตียังดีกว่า ประณีต กวา่ พวกเทพชน้ั นมิ มานรดี ... พรหมโลกยงั ดกี วา่ ประณตี กว่าพวกเทพชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ขอท่านจงพรากจิตให้ ออกจากพวกเทพช้ันปรนิมมิตวสวัตตี แล้วน้อมจิตไปใน พรหมโลกเถดิ ” คิลายนสูตร 43 www.kalyanamitra.org

ถา้ เขากลา่ วอยา่ งนว้ี า่ “จติ ของเราออกจากพวกเทพ ช้ันปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว จิตของเราน้อมไปในพรหมโลก แลว้ .” อุบาสกน้ันพึงกล่าวกะเขาอย่างน้ีว่า “ดูกรท่าน ผู้มีอายุ แม้พรหมโลกก็ไม่เท่ียง ไม่ย่ังยืน ยังนับเน่ือง ในสกั กายะ๕ ขอทา่ นจงพรากจติ ใหอ้ อกจากพรหมโลก แลว้ นำ� จติ เขา้ ไปในความดบั สักกายะเถดิ ” ถา้ เขากลา่ วอยา่ งนวี้ า่ “จติ ของเราออกจากพรหมโลก แลว้ เรานำ� จิตเข้าไปในความดับสกั กายะแล้ว” “ดูกรมหาบพิตร อาตมภาพไม่กล่าวถึงความต่าง อะไรกันของอบุ าสก ผมู้ จี ิตพ้นแล้วอย่างนี้ กับภิกษผุ ้พู น้ แลว้ ตง้ั ร้อยปี คือ พ้นดว้ ยวิมตุ เิ หมอื นกัน.” ๕ [กายะ] น. กายของตน. คำ� วา่ สักกายะน้นั ควรจะกล่าววา่ อุปาทานขันธ์ ๕. (สกั กายสตู ร) 44 www.kalyanamitra.org

๓. นกลุ สูตร๖ ว่าดว้ ยค�ำเตอื นของนกลุ มารดาคฤหปตานี สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่ป่า เภสกาลามคิ ทายวนั ใกล้นครสุงสมุ ารคีระ แควน้ ภัคคะ สมยั นนั้ นกลุ บดิ าคฤหบดอี าพาธมที กุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั คร้ังน้ัน นกุลมารดาคฤหปตานีได้กล่าวเตือนนกุลบิดา คฤหบดีวา่ “ดูก่อนคฤหบดี ทา่ นอย่าเป็นผูม้ ีความห่วงใย กระท�ำกาละเลย เพราะการกระท�ำกาละของผู้มีความ ห่วงใยเปน็ ทกุ ข์ และพระผู้มพี ระภาคเจา้ ก็ทรงติเตยี น ดูก่อนคฤหบดี ท่านจะพึงมีความห่วงใยอย่างนี้ว่า ‘เม่อื เราลว่ งไปแล้ว นกุลมารดาคฤหปตานี จักไม่สามารถ เลีย้ งทารกด�ำรงการอยู่ครองเรอื นไวไ้ ด’้ แต่ข้อน้ันท่านไม่พึงเห็นอย่างนี้ เพราะดิฉันเป็น คนฉลาด ปัน่ ฝ้าย ทำ� ขนสัตว์ เมอ่ื ท่านลว่ งไปแล้ว ดิฉัน ย่อมสามารถเลย้ี งทารก ดำ� รงการอยูค่ รองเรอื นไว้ได้ ๖ องั . ฉกก., ล.๓๖, น.๕๕๘, มมร. นกุลสูตร 45 www.kalyanamitra.org

46 www.kalyanamitra.org

เพราะฉะนั้น ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลย เพราะการกระท�ำกาละของผมู้ ีความห่วงใยเปน็ ทกุ ข์ และพระผู้มพี ระภาคเจ้าก็ทรงติเตียน. ดกู อ่ นคฤหบดี ก็ทา่ นจะพงึ มคี วามห่วงใยอย่างนว้ี ่า ‘เมื่อเราล่วงไปแล้ว นกุลมารดาคฤหปตานี จักได้คนอ่ืน เปน็ สามี’ แตข่ อ้ นน้ั ทา่ นไมพ่ งึ เหน็ อยา่ งนี้ ทง้ั ทา่ นทง้ั ดฉิ นั ยอ่ ม รู้ว่า ได้อยู่ร่วมกันมาอย่างเคร่งครัดต่อระเบียบประเพณี ตลอด ๑๖ ปี เพราะฉะนั้น ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลย เพราะการกระท�ำกาละของผมู้ คี วามหว่ งใยเปน็ ทกุ ข์ และพระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงตเิ ตยี น. ดกู อ่ นคฤหบดี กท็ า่ นจะพงึ มคี วามห่วงไยอยา่ งน้วี า่ ‘เมื่อเราล่วงไปแล้วนกุลมารดาคฤหปตานี จักไม่ต้องการ เห็นพระผู้มีพระภาคเจา้ ไมต่ อ้ งการเห็นพระภกิ ษุสงฆ์’ แตข่ อ้ นนั้ ทา่ นไมพ่ งึ เหน็ อยา่ งน้ี เพราะดฉิ นั ตอ้ งการ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างย่ิง และต้องการเห็น พระภกิ ษุสงฆ์อย่างยง่ิ นกุลสูตร 47 www.kalyanamitra.org

เพราะฉะน้ัน ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลยเพราะการกระท�ำกาละของผู้มีความห่วงใย เป็นทุกข์ และพระผู้มพี ระภาคเจา้ ก็ทรงตเิ ตียน. ดูกอ่ นคฤหบดี ก็ทา่ นจะพงึ มคี วามห่วงใยอยา่ งนวี้ า่ ‘เม่ือเราล่วงไปแล้ว นกุลมารดาคฤหปตานี จักไม่เป็น ผูก้ ระท�ำให้บรบิ ูรณ์ในศลี ’ แตข่ อ้ นนั้ ทา่ นไมพ่ งึ เหน็ อยา่ งน้ี เพราะบรรดาสาวกิ า ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ท่ียังเป็นคฤหัสถ์ นุ่งห่มผ้าขาว กระท�ำให้บริบูรณ์ในศีล มีประมาณเท่าใด ดิฉันก็เป็นคนหนึ่งในจ�ำนวนสาวิกาเหล่าน้ัน ก็ผู้ใดพึงมี ความสงสัยหรือเคลือบแคลง ขอผู้นั้นจงเข้าไปเฝ้า ทูล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งก�ำลังประทับอยู่ที่ป่าเภสกาลามิคทายวัน ใกล้นคร สุงสุมารครี ะ แควน้ ภคั คะ แลว้ จงทลู ถามเถิด เพราะฉะน้ัน ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลยเพราะการกระท�ำกาละของผู้มีความห่วงใยเป็น ทุกข์ และพระผูม้ ีพระภาคเจา้ กท็ รงตเิ ตยี น. ดูกอ่ นคฤหบดี ก็ท่านจะพึงมีความหว่ งใยอย่างนวี้ ่า ‘นกลุ มารดาคฤหปตานี จกั ไมไ่ ด้ความสงบใจ ณ ภายใน’ 48 www.kalyanamitra.org

แต่ข้อนั้นท่านไม่พึงเห็นอย่างนี้ เพราะพวกสาวิกา ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ที่ยังเป็นคฤหัสถ์ นุ่งห่มผ้าขาว ได้ความสงบใจ ณ ภายใน มีประมาณ เท่าใด ดิฉันเป็นคนหน่ึงในจ�ำนวนสาวิกานั้น ก็ผู้ใด พึงมีความสงสัยหรือเคลือบแคลง ขอผู้น้ันจงเข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ซึ่งก�ำลังประทับอยู่ที่ป่าเภสกาลามิคทายวัน ใกล้นคร สงุ สมุ ารคีระ แคว้นภัคคะ แลว้ จงทลู ถามเถดิ เพราะฉะน้ัน ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลยเพราะการกระท�ำกาละของผู้มีความห่วงใยเป็น ทกุ ข์ และพระผู้มีพระภาคเจา้ กท็ รงติเตียน. ดกู อ่ นคฤหบดี กท็ า่ นจะพงึ มคี วามหว่ งใยอยา่ งน้ี วา่ ‘นกุลมารดาคฤหปตานียังไม่ถึงการหย่ังลง ยังไม่ถึงท่ีพึง ยงั ไมถ่ งึ ความเบาใจ ยงั ไมข่ า้ มพน้ ความสงสยั ยงั ไมป่ ราศจาก ความเคลอื บแคลง ยงั ไมถ่ งึ ความแกลว้ กลา้ ในธรรมวนิ ยั น้ี ยงั ไมห่ มดความเชอื่ ถือต่อผอู้ ่ืนในศาสนาของพระศาสดา’ แต่ข้อน้ันท่านไม่พึงเห็นอย่างนี้ เพราะพวกสาวิกา ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ที่ยังเป็นคฤหัสถ์ นงุ่ ห่มผา้ ขาว ไดถ้ งึ การหย่ังลง ได้ถงึ ที่พง่ึ ถงึ ความเบาใจ ขา้ มพน้ ความสงสยั ปราศจากความเคลอื บแคลง ถงึ ความ นกุลสูตร 49 www.kalyanamitra.org

แกล้วกล้า ในธรรมวินัยนี้ ไม่มีความเชื่อถือต่อผู้อื่นใน ศาสนาของพระศาสดา มีประมาณเท่าใด ดิฉันก็เป็น คนหนึ่งในจ�ำนวนสาวิกาเหล่าน้ัน ก็ผู้ใดพึงมีความสงสัย หรือเคลือบแคลง ขอผู้นั้นจงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ซ่ึงประทับอยู่ที่ ปา่ เภสกาลามิคทายวัน ใกลน้ ครสงุ สุมารคีระแควน้ ภัคคะ แล้วจงทูลถามเถดิ เพราะฉะน้ัน ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระท�ำ กาละเลย เพราะการกระท�ำกาละของผู้มีความห่วงใย เปน็ ทุกข์ และพระผ้มู พี ระภาคเจ้ากท็ รงติเตยี น. ครั้งน้ันแล เมื่อนกุลบิดาคฤหบดีอันนกุลมารดา คฤหปตานีกล่าวเตือนนี้ ความเจ็บป่วยน้ันได้สงบระงับ โดยพลนั และนกลุ บดิ าคฤหบดไี ดห้ ายจากการเจบ็ ปว่ ยนน้ั ก็และการเจ็บป่วยนั้น อันนกุลบิดาคฤหบดีละได้แล้ว โดยประการน้นั ครั้งน้ันนกุลบิดาคฤหบดีพอหายจากการเจ็บป่วย ไม่นาน ถือไม้เท้าเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึง ท่ปี ระทับ ถวายบังคมแลว้ น่งั ณ ที่ควรส่วนขา้ งหนึ่ง ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะนกุลบิดา คฤหบดวี ่า 50 www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook