Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลักสัมพันธ์วัดโมลี

หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลักสัมพันธ์วัดโมลี

Published by WATKAO, 2021-01-11 01:55:01

Description: หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลักสัมพันธ์วัดโมลี

Keywords: บาลีไวยากรณ์และหลักสัมพันธ์

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สัมพนั ธ์ พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙, Ph.D.) รวบรวมและเรียบเรยี ง ISBN: ๙๗๔-๙๔๗๙๓-๕-๑ พิมพ์ครั้งท่ี ๑ : พ.ศ. ๒๕๔๘ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม พิมพค์ รั้งท่ี ๒ : พ.ศ. ๒๕๕๐ จำ� นวน ๑,๐๐๐ เลม่ พิมพ์ครงั้ ท่ี ๓ : พ.ศ. ๒๕๕๑ จำ� นวน ๑,๕๐๐ เล่ม พมิ พค์ ร้งั ที่ ๔ : พ.ศ. ๒๕๕๒ จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม พิมพค์ รง้ั ท่ี ๕ : พ.ศ. ๒๕๕๔ จ�ำนวน ๖,๐๐๐ เลม่ พมิ พค์ ร้ังท่ี ๖ : พ.ศ. ๒๕๕๕ จ�ำนวน ๖,๐๐๐ เลม่ พิมพค์ รงั้ ท่ี ๗ : พ.ศ. ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๘,๐๐๐ เล่ม พิมพค์ รง้ั ที่ ๘ : พ.ศ. ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม พิมพค์ รง้ั ที่ ๙ : พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพค์ รั้งที่ ๑๐ : พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เลม่ พมิ พ์ครั้งท่ี ๑๑ : พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เลม่ พิมพ์คร้งั ที่ ๑๒ : พ.ศ. ๒๕๕๙ จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ เลม่ พมิ พ์ครั้งที่ ๑๓ : พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม พมิ พค์ รั้งที่ ๑๔ : พ.ศ. ๒๕๖๑ จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ครง้ั ที่ ๑๕ : พ.ศ. ๒๕๖๑ จ�ำนวน ๑๑,๐๐๐ เล่ม พมิ พ์ครั้งที่ ๑๖ : พ.ศ. ๒๕๖๒ จำ� นวน ๕,๐๐๐ เลม่ พสิ ูจน์อกั ษร : คณาจารยส์ �ำนักเรียนวดั โมลีโลกยาราม แบบปก-รูปเลม่ : พระเทพปริยัติโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙, Ph.D.) www.kalyanamitra.org

(ก) อนุโมทนากถา ส�ำนักเรียนวัดโมลีโลกยาราม ได้จัดการศึกษา พระปริยัติธรรมทัง้ แผนกบาลีและแผนกธรรมมานาน พอสมควร ได้ตงั้ เปนส�ำนักเรียนโดยมติมหาเถรสมาคม ครงั้ ท่ี ๒๐/๒๕๓๔ เจ้าส�ำนักเรยี นและคณะครูได้ร่วมกนั จดั การเรียนการสอนพระปริยตั ิธรรมทงั้ สองแผนกจนถึง ปจจุบนั ในการจดั การเรยี น การสอน และการวดั ผลภายใน สำ� นกั เรยี นไดอ้ าศยั อาจารยใ์ หญแ่ ละคณะครขู องสำ� นกั รว่ มกนั ด�ำเนินการอย่างจรงิ จงั และเปนระบบ ส่งผลให้มผี ูส้ อบได ้ มากขน้ึ ตามลำ� ดบั เปน ทน่ี ่าพอใจ ขออนุโมทนาแก่ทา่ นเจา้ คณุ พระเมธวี ราภรณ์ (สทุ ศั น์ วรทสฺสี ป.ธ.๙)* อาจารยใ์ หญ่ ทม่ี อี ุตสาหะรวบรวมหลกั สตู ร บาลไี วยากรณ์และหลกั สมั พนั ธ ์ เป็นหนงั สอื เลม่ เลก็ เหมาะแก่ การพกพา อนั จกั เปนประโยชน์เกอ้ื กลู แก่พระภกิ ษุสามเณร ผูแ้ รกศกึ ษาภาษาบาลแี ละผูส้ นใจทวั่ ไป และขออนุโมทนา แกเ่ จา้ ภาพทกุ ทา่ นทร่ี ว่ มจดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ น้ ี เพอ่ื ถวายเปน ธรรมวทิ ยาทานแกค่ รู พระภกิ ษสุ ามเณร และผสู้ นใจโดยทวั่ กนั พระพรหมกวี (วรวิทย)์ เจา้ สำ� นกั เรยี นวดั โมลโี ลกยาราม ๑ มกราคม ๒๕๕๔ * ปจ จบุ นั พระเทพปรยิ ตั โิ มล ี เจา้ สำ� นกั เรยี นรปู ปจจบุ นั www.kalyanamitra.org

(ข) คำ� น�ำ หลกั สูตรเปนประมวลความรู้ท่ีจดั ให้ผู้เรียนทงั้ ใน หอ้ งเรยี น และนอกหอ้ งเรยี น จะเป็นกจิ กรรม โครงการ หรอื แผน เพ่อื เปนแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนให ้ ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถ มีคุณลักษณะตาม เจตนารมณ์ของหลกั สตู ร นอกจากนนั้ ยงั เปนแผนปฏบิ ตั ิ งานของครูในการจดั การเรยี นรูแ้ ก่ผูเ้ รยี น เรยี กไดว้ ่าเป็น เข็มทิศในการจัดการศึกษาแก่บุคลากร หลักสูตรบาลี ไวยากรณ์กม็ หี ลกั การเดยี วกนั น้ี เปนการศกึ ษากฎเกณฑ์ ของภาษามคธ การตคี วาม รวมทงั้ คณุ ลกั ษณะเชงิ นามธรรม ด้วย มีเปาหมายเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพการเรียนร ู้ หลกั การส�ำคญั ของพระศาสนาส�ำหรบั พระภกิ ษุสามเณร ซ่งึ โบราณาจารย์ได้รวบรวมไวเ้ พ่อื เป็นแนวทางการแปล คมั ภรี ท์ างพระพทุ ธศาสนา การศึกษาพระบาลีถือเปนการศึกษาเพ่ือพัฒนา ศาสนทายาท มใิ ช่พฒั นาเพยี งความรู้ภาษาบาลซี ่ึงเปน เปลอื กเท่านัน้ แต่มหี ลกั ธรรมซ่งึ เป็นกระบวนการฝึกหดั พฒั นาคุณสมบตั ภิ ายใน ใหเ้ ปนพระภกิ ษุสามเณรทด่ี งี าม ของพระศาสนา กล่าวคอื มคี วามอดทน มคี วามมุ่งมนั่ พฒั นาตน มวี ริ ยิ ะอุตสาหะในการศึกษา มสี มั มาคารวะ www.kalyanamitra.org

(ค) และมสี ตปิ ญญา ซง่ึ ถอื เปนหวั ใจของการศกึ ษา การศกึ ษา พระบาลเี ปนบนั ไดแห่งการปฏบิ ตั ิ เปนความมนั่ คงของ พระศาสนา เปนการศกึ ษาของคณะสงฆ์ จดั โดยคณะสงฆ์ และเพอ่ื การคณะสงฆแ์ ละการพระศาสนา ฉะนนั้ พระภกิ ษุ สามเณรควรจะต้องศึกษาพระบาลีให้เข้าใจตามก�ำลัง สตปิ ญญาของตน แลว้ ทรงจำ� บอกสอนผอู้ น่ื หนงั สอื น้ีมี ๒ สว่ น คอื หลกั บาลไี วยากรณ์อนั เปน หลกั เบอ้ื งตน้ สำ� หรบั ผแู้ รกศกึ ษาพระบาลี และหลกั สมั พนั ธไ์ ทย สำ� หรบั ผแู้ รกศกึ ษาประโยค ป.ธ.๓ ไดร้ บั การตพี มิ พม์ ากกวา่ ๔๐,๐๐๐ เลม่ แลว้ ซง่ึ ขา้ พเจา้ มคี วามประสงคจ์ ะพมิ พท์ กุ ปี เพ่อื ถวายเปนวทิ ยาทานแก่พระภกิ ษุสามเณรและผู้ใคร่ ศกึ ษาพระบาลที วั่ ประเทศ. ขออนุโมทนาเจา้ ภาพทกุ ทา่ นผมู้ สี ว่ นรว่ มในการจดั พมิ พ์ หนงั สอื น้ีสบู่ รรณโลก (พระเทพปริยตั ิโมลี) เจา้ สำ� นกั เรยี นวดั โมลโี ลกยาราม กรงุ เทพมหานคร ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.watmoli.com, www.watmoli.org www.kalyanamitra.org

สารบญั อนุโมทนา (ก) คำ� น�ำ (ข) บาลีไวยากรณ์ ๑ อกั ขรวิธี ภาคที่ ๑ ๒ สมญั ญาภิธาน ๒ สระ ๓ พยญั ชนะ ๔ ฐานกรณ์ของอกั ขระ ๖ อกั ขระทเ่ี กดิ ในฐานเดยี ว ๖ อกั ขระทเ่ี กดิ ใน ๒ ฐาน ๗ เสยี งอกั ขระ ๘ พยญั ชนะสงั โยค ๑๐ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ ๑๓ นามและอพั ยยศพั ท์ ๑๓ ลงิ ค์ ๑๕ เกณฑก์ ารจดั ลงิ ค ์ ๒ อยา่ ง ๑๖ นามนามเป็นลงิ คเ์ ดยี ว ๑๗ นามนามศพั ทเ์ ดยี วมรี ปู อยา่ งเดยี ว ๑๘ www.kalyanamitra.org

นามนามมมี ลู ศพั ทเ์ ป็นอนั เดยี ว ๑๘ คณุ นามเป็น ๓ ลงิ ค์ ๒๐ วจนะ ๒๑ วภิ ตั ติ ๒๑ อายตนิบาต ๒๓ การนั ต์ ๒๔ อ การนั ต ์ ในปุลงิ ค์ ๒๕ อ ิ การนั ต ์ ในปุล งิ ค์ ๒๖ อ ี การนั ต ์ ในปลุ งิ ค์ ๒๗ อุ การนั ต ์ ในปุลงิ ค์ ๒๘ อ ู การนั ต ์ ในปุลงิ ค์ ๒๙ อา การนั ต ์ ในอติ ถลี งิ ค์ ๓๐ อ ิ การนั ต ์ ในอติ ถลี งิ ค์ ๓๒ อ ี การนั ต ์ ในอติ ถลี งิ ค์ ๓๓ อุ การนั ต ์ ในอติ ถลี งิ ค์ ๓๔ อ ู การนั ต ์ ในอติ ถลี งิ ค์ ๓๕ อ การนั ต ์ ในนปสุ กลงิ ค์ ๓๖ อ ิ การนั ต ์ ในนปสุ กลงิ ค์ ๓๘ อุ การนั ต ์ ในนปุสกลงิ ค์ ๓๙ www.kalyanamitra.org

กตปิ ยศพั ท์ ๔๑ มโนคณะ ๕๑ สงั ขยาคณุ นาม ๕๕ สพั พนาม ๖๕ อพั ยยศพั ท์ อุปสคั ๘๐ นิบาต ๘๑ ปจจยั ๘๑ อาขยาต ๘๗ วิภัตติ กาล ๙๑ บท ๙๑ วจนะ ๑๐๑ บุรุษ ๑๐๕ ธาตุ ๑๐๖ วาจก ๑๐๖ ปจจัย ๑๐๗ อสฺ ธาตุ ๑๑๓ กิตก์ ๑๑๕ ๑๑๘ www.kalyanamitra.org ๑๒๑

นามกิตก์ ๑๒๑ สาธนะ ๑๒๒ ปจจยั แหง่ นามกติ ก ์ ๑๒๕ วเิ คราะห์แห่งนามกติ ก์ ๑๒๖ วเิ คราะหใ์ นกติ ปจจยั ๑๒๖ วเิ คราะหใ์ นกจิ จปจจยั ๑๓๑ วเิ คราะหใ์ นกติ กจิ จปจจยั ๑๓๒ กิริยากิตก์ ๑๔๓ วภิ ตั ต ิ ๑๔๓ กาล ๑๔๔ ปจจยั แหง่ กริ ยิ ากติ ก ์ ๑๔๖ สมาส ๑๕๙ กมั มธารยสมาส ๑๕๙ ทคิ สุ มาส ๑๖๔ ตปั ปรุ สิ สมาส ๑๖๖ น บุพพบท กมั มธารยสมาส ๑๖๘ ทวนั ทวสมาส ๑๖๙ อพั ยยภี าวสมาส ๑๗๒ พหพุ พหิ สิ มาส ๑๗๔ www.kalyanamitra.org

ฉฏั ฐอี ุปมาพหพุ พหิ สิ มาส ๑๗๘ น บุพพบท พหพุ พหิ สิ มาส ๑๘๒ ภนิ นาธกิ รณพหพุ พหิ สิ มาส ๑๘๒ สหบุพพบทพหพุ พหิ สิ มาส ๑๘๔ สรปุ สมาส ๑๘๕ ตทั ธิต ๑๘๗ โคตตตทั ธติ ๑๘๘ ตรตยาทติ ทั ธติ ๑๙๑ ราคาทติ ทั ธติ ๑๙๓ ชาตาทติ ทั ธติ ๑๙๔ สมหุ ตทั ธติ ๑๙๖ ฐานตทั ธติ ๑๙๗ พหลุ ตทั ธติ ๑๙๙ เสฏฐตทั ธติ ๒๐๐ ตทสั สตั ถติ ทั ธติ ๒๐๒ ปกตติ ทั ธติ ๒๐๕ ปรู ณตทั ธติ ๒๐๗ สงั ขยาตทั ธติ ๒๐๙ วภิ าคตทั ธติ ๒๐๙ www.kalyanamitra.org

ภาวตทั ธติ ๒๑๐ อพั ยยตทั ธติ ๒๑๕ สนธิ ๒๑๗ สระสนธ ิ ๒๑๘ พยญั ชนะสนธ ิ ๒๒๔ นิคคหติ สนธ ิ ๒๒๗ หลกั สมั พนั ธ์ ๒๓๑ บรรณานุกรม ๒๖๒ รายนามเจา้ ภาพ ๒๖๓ www.kalyanamitra.org

สงั ขยา ๑ ถงึ ๔ ใชก้ บั สพั พนาม อกี ๕ ตาม ๙๘ แผดเป็นคณุ ๙๙ ถงึ โกฏิ มเี กอ้ื หนุน ไมเ่ ป็นคณุ เป็นนามนามแจกไดจ้ รงิ ๑ ถงึ ๑๘ สามลงิ ค์ ลบไมส่ ญู ๑๙ หนุน ๙๘ อติ ถลี งิ ค์ ๙๙ เขา้ ถงึ ล้าน เป็นนปงุ . โกฏิ ยงุ่ อิตถฺ ีลิงค์ แจกไดเ้ อง เอกะ ๑ เป็นเอกวจนะ ๒ ถงึ ๑๘ เป็นพหวุ จนะ ๑๙ ถงึ ๙๘ เป็นเอกะ ๙๙ ถงึ โกฏิ หลายพจน์ จดใหด้ ี อาขยาต วภิ ตั ตอิ าขยาตประหลาดมาก จดจำ� ยากแปลงไดห้ ลายเงอ่ื นไข อนฺติ แปลงเป็น เร ถมเถไป เอยยฺ ใช้ เอถ เขา้ มาแทน ลบ ยยฺ คง เอ ไว้ ทา่ นกลา่ วมา แปลงเป็น อา สิยา ได้ ไมเ่ สยี แผน หิ มิ ม ทา้ ยธาตุ คาดเป็นแกน จำ� ใหแ้ มน่ ทฆี ะ อะ ทกุ ที เอยยฺ ามิ ใช้ เอยยฺ ํ แทนบา้ งนะ เอยยฺ าม เป็น เอมุ ไวศ้ กั ดศิ ์ รี รสั สะ อี เป็น อิ ตามบาล ี บางที อุํ เป็น อสํ ,ุ อึสุ เกนิ ตถฺ กบั มหฺ า ตอ้ งลง อิ อกี ทงั้ อี แทน โอ ไดเ้ คอะเขนิ สสฺ ํ แทน สสฺ ามิ ไมต่ อ้ งเชญิ สสฺ า เพลนิ รสั สะได้ ตงั้ ใจจำ� . www.kalyanamitra.org

บาลไี วยากรณ์ ๑. บาลีไวยากรณ์นี้แบ่งออกเป็ น ๔ ภาค คือ อกั ขรวิธี ๑ วจีวิภาค ๑ วากยสมั พนั ธ์ ๑ ฉันทลกั ษณะ ๑ (๑) อกั ขรวิธี วา่ ดว้ ยอกั ษร จดั เป็น ๒ คอื สมญั ญาภิธาน แสดงชอ่ื อกั ษรทเ่ี ป็นสระ และ พยญั ชนะ พรอ้ มทงั้ ฐานกรณ์ ๑ สนธิ ต่ออกั ษรท ่ี อยใู่ นคำ� อน่ื ใหเ้ น่ืองเป็นอนั เดยี วกนั ๑. (๒) วจีวิภาค แบง่ คำ� พดู ออกเป็น ๖ สว่ น คอื นาม ๑ อพั ยยศพั ท์ ๑ สมาส ๑ ตทั ธิต ๑ อาขยาต ๑ กิตก์ ๑. (๓) วากยสมั พนั ธ ์ วา่ ดว้ ยการก และ ประพนั ธผ์ กู คำ� พดู ทแ่ี บ่งไวใ้ นวจวี ภิ าค ใหเ้ ขา้ เป็น ประโยคอนั เดยี วกนั . (๔) ฉันทลกั ษณะ แสดงวธิ แี ตง่ ฉนั ท ์ คอื คาถาทเ่ี ป็นวรรณพฤทธ ิ และมาตราพฤทธ.ิ www.kalyanamitra.org

2 หลักสูตรบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สัมพันธ์ อักขรวิธี ภาคท่ี ๑ สมญั ญาภธิ าน ๒. เน้ือความของถอ้ ยคำ� ทงั้ ปวง ตอ้ งหมายรู้ กนั ดว้ ยอกั ขระ คำ� วา่ อกั ขระ จดั เป็น ๒ อยา่ ง คอื เป็ นเสียงอย่าง ๑ เป็ นตัวหนังสืออย่าง ๑ เพราะฉะนัน้ เสียงกด็ ี ตวั หนังสือกด็ ี ช่ือว่า อกั ขระ คำ� วา่ อกั ขระ แปลวา่ ไมร่ จู้ กั สิ้นอยา่ ง ๑ ไม่เป็นของแขง็ อย่าง ๑. ๓. อกั ขระทใ่ี ชใ้ นบาลภี าษานนั้ ม ี ๔๑ ตวั คอื อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๘ ตวั น้ี ชอ่ื สระ ก ข ค ฆ ง จฉชฌ ฏ  ฑ ฒณ ตถทธน ปผพภม ยรลวสหฬ ํ ๓๓ ตวั น้ี ชอ่ื พยญั ชนะ. www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ัติโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 3 สระ ๔. ในอกั ขระ ๔๑ ตวั นนั้ อกั ขระเบอื้ งต้น ๘ ตวั ตงั้ แต่ อ จนถึง โอ ชอ่ื วา่ สระ ออกเสยี ง ไดต้ ามลำ� พงั ตนเอง และทำ� พยญั ชนะใหอ้ อกเสยี งได้ สระ ๘ ตวั นี้ ชื่อว่า นิสสยั เพราะเป็นท่ี อาศยั ของพยญั ชนะ บรรดาพยญั ชนะตอ้ งอาศยั สระ จงึ ออกเสยี งได้ ๕. สระมมี าตราเบา ๓ ตวั คอื อ อิ อุ ชอ่ื วา่ รสั สะ มีเสียงสนั้ เหมอื นคำ� วา่ อต ิ คร ุ เป็นตน้ สระอกี ๕ ตวั อน่ื จากรสั สะ ๓ ตวั คอื อา อี อู เอ โอ ชอ่ื วา่ ทีฆะ มเี สียงยาว เหมอื นคำ� วา่ ภาค ี วธ ู เสโข เป็นตน้ แต ่ เอ โอ ทม่ี พี ยญั ชนะสงั โยค คอื ซอ้ นกนั อยเู่ บอ้ื งหลงั ทา่ นกลา่ ววา่ เป็นรสั สะ เหมอื นคำ� วา่ เสยฺโย โสตฺถ ิ เป็นตน้ ๖. สระที่เป็นทีฆะลว้ น และสระท่ีเป็นรสั สะ มีพยญั ชนะสงั โยค และนิ คคหิตอยู่เบื้องหลงั ช่ือวา่ ครุ มเี สียงหนัก เหมอื นคำ� วา่ ภปู าโล เอส ี มนุสฺสนิ ฺโท โกเสยฺยํ เป็นตน้ สระท่ีเป็นรสั สะลว้ น www.kalyanamitra.org

4 หลักสูตรบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสมั พนั ธ์ ไมม่ พี ยญั ชนะสงั โยค หรอื นิคคหิตอยเู่ บอื้ งหลงั ชอ่ื วา่ ลหุ มเี สยี งเบา เหมอื นคำ� วา่ ปต ิ มนุ ิ เป็นตน้ ๗. สระนนั้ จดั เป็นคไู่ ด้ ๓ ค ู่ คอื อ อา เรียกว่า อวณฺโณ, อิ อี เรียกว่า อิวณฺโณ, อุ อู เรียกว่า อวุ ณฺโณ, เอ โอ ๒ ตวั น้ีเป็นสงั ยตุ ตสระ คอื ประกอบ เสยี งสระ ๒ ตวั เป็นเสยี งเดยี วกนั คอื อ กบั อ ิ ผสมกนั เป็น เอ, อ กบั อุ ผสมกนั เป็น โอ เพราะฉะนนั้ สระ ๒ ตวั น้ี จงึ เกดิ ใน ๒ ฐาน พยัญชนะ ๘. อกั ขระทเ่ี หลอื จากสระ ๓๓ ตวั ม ี ก เป็นตน้ มนี ิคคหติ เป็นทส่ี ดุ ชอ่ื พยญั ชนะ คำ� วา่ พยญั ชนะ นนั้ แปลวา่ ทำ� เนื้อความ ให้ปรากฏ พยญั ชนะทงั้ ๓๓ ตวั น้ี ชื่อว่า นิสสิต เพราะตอ้ งอาศยั สระจงึ ออกเสยี งได้ ๙. พยญั ชนะ ๓๓ ตวั น้ี จดั เป็น ๒ พวก คอื วรรค ๑ อวรรค ๑. www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ตั ิโมลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 5 วรรค จดั เป็น ๕ ดังนี้ ก ข ค ฆ ง ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ ก วรรค จ ฉ ช ฌ  ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ จ วรรค ฏ  ฑ ฒ ณ ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ ฏ วรรค ต ถ ท ธ น ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ ต วรรค ป ผ พ ภ ม ๕ ตวั น้ี เรยี กวา่ ป วรรค พยญั ชนะ ๒๕ ตัว น้ีเป็นพวกๆ กัน ตาม ฐานกรณ์ทเ่ี กดิ จงึ ชอ่ื วา่ วรรค พยญั ชนะ ๘ ตวั นี้ คือ ย ร ล ว ส ห ฬ ํ เรยี กว่า อวรรค เพราะไม่เป็นพวกเป็นหมู่กนั ตามฐานกรณ์ทเ่ี กดิ ๑๐. พยญั ชนะคอื ํ เรยี กวา่ นิคคหิต ตาม ศาสนโวหาร เรยี กวา่ อนสุ าร ตามคมั ภรี ศ์ พั ทศาสตร์ นิคคหิต แปลวา่ กดสระ หรอื กรณ์ คอื อวยั วะที่ทำ� เสียง อนุสาร แปลวา่ ไปตามสระ คอื พยญั ชนะ ตวั น้ี ตอ้ งไปตามหลงั สระ คอื อ อ ิ อุ เสมอ เหมอื นคำ� วา่ อหํ เสตุ ํ อกาส ึ เป็นตน้ www.kalyanamitra.org

6 หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สัมพนั ธ์ ฐานกรณข์ องอักขระ ๑๑. ฐาน คอื ทต่ี งั้ ทเ่ี กดิ ของอกั ขระม ี ๖ คอื กณฺโ คอ, ตาลุ เพดาน, มทุ ธฺ า ศีรษะกว็ ่า ป่ มุ เหงือกกว็ ่า, ทนฺโต ฟัน, โอฏฺโ ริมฝี ปาก, นาสิกา จมูก. อกั ขระบางเหล่าเกดิ ในฐานเดยี ว บางเหลา่ เกดิ ใน ๒ ฐาน อักขระทเ่ี กิดในฐานเดียว อ อา, ก ข ค ฆ ง, ห, ๘ ตวั น้ีเกดิ ในคอ เรยี กวา่ กณฺชา อิ อี, จ ฉ ช ฌ , ย, ๘ ตวั น้ีเกดิ ทเ่ี พดาน เรยี กวา่ ตาลชุ า ฏ  ฑ ฒ ณ, ร ฬ, ๗ ตวั น้ีเกดิ ในศรี ษะ กว็ า่ ทป่ี มุ่ เหงอื กกว็ า่ เรยี กวา่ มทุ ธฺ ชา ต ถ ท ธ น, ล ส, ๗ ตวั นเ้ี กดิ ทฟ่ี น เรยี กวา่ ทนฺตชา อุ อ,ู ป ผ พ ภ ม, ๗ ตวั น้ีเกดิ ทร่ี มิ ฝีปาก เรยี กวา่ โอฏฺชา www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ตั โิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 7 นิคคหิต เกดิ ในจมกู เรยี กวา่ นาสิกฏฺานชา อกั ขระท่ีเกิดใน ๒ ฐาน เอ เกดิ ใน ๒ ฐาน คอื คอและเพดาน เรยี กวา่ กณฺตาลโุ ช โอ เกดิ ใน ๒ ฐาน คอื คอและรมิ ฝีปาก เรยี ก วา่ กณฺโฏฺโช พยญั ชนะท่ีสดุ วรรค ๕ ตวั (ง  ณ น ม) เกดิ ใน ๒ ฐาน คอื ตามฐานของตนๆ และจมกู เรยี กวา่ สกฏฺานนาสิกฏฺานชา ว เกิดใน ๒ ฐาน คอื ฟนและรมิ ฝีปาก เรยี กวา่ ทนฺโตฏฺโช ห ทป่ี ระกอบดว้ ยพยญั ชนะ ๘ ตวั คอื  ณ น ม, ย ล ว ฬ ทา่ นกลา่ ววา่ เกดิ แตอ่ ก เรยี กวา่ อรุ ชา ทไ่ี มไ่ ดป้ ระกอบดว้ ยพยญั ชนะเหลา่ น้ ี เกดิ ใน คอตามฐานเดมิ ของตน เรยี กวา่ กณฺชา ๑๒. กรณ ์ คอื ทท่ี ำ� อกั ขระมี๔ คอื ชิวหฺ ามชฌฺ ํ ทา่ มกลางลน้ิ ๑, ชิวโฺ หปคคฺ ํ ถดั ปลายลน้ิ เขา้ มา ๑, www.kalyanamitra.org

8 หลกั สูตรบาลีไวยากรณ์และหลักสัมพันธ์ ชิวหฺ คคฺ ํ ปลายลน้ิ ๑, สกฏฺานํ ฐานของตน ๑. ท่ามกลางลิ้น เป็นกรณ์ของอักขระท่ีเป็น ตาลชุ ะ, ถดั ปลายลิ้นเข้ามา เป็นกรณ์ของอกั ขระ ทเ่ี ป็นมทุ ธชะ, ปลายลิ้น เป็นกรณ์ของอกั ขระท่ี เป็นทนั ตชะ, ฐานของตน เป็นกรณ์ของอกั ขระท่ี เหลอื จากน้ี. เสยี งอกั ขระ ๑๓. สระสนั้ มาตราเดยี ว สระยาว ๒ มาตรา สระท่ีมีพยญั ชนะสงั โยคอยู่เบ้ืองหลงั ๓ มาตรา พยญั ชนะทงั้ ปวงกง่ึ มาตรา โฆสะ อโฆสะ สิถลิ ธนิต พยญั ชนะที่มีเสียงก้อง เรยี กวา่ โฆสะ พยญั ชนะท่ีมีเสียงไมก่ ้อง เรยี กวา่ อโฆสะ พยญั ชนะท่ี ๓, ท่ี ๔, ท่ี ๕ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ ๒๑ ตวั น้ีเป็น โฆสะ www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั โิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 9 พยญั ชนะท่ี ๑, ท่ี ๒ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส ๑๑ ตวั นเ้ี ป็น อโฆสะ นคิ คหติ (◦) นกั ปราชญผ์ รู้ ศู้ พั ทศาสตรป์ ระสงค์ เป็นโฆสะ สว่ นนกั ปราชญ์ฝายศาสนาประสงคเ์ ป็น โฆสาโฆสวิมตุ ติ คอื พ้นจากโฆสะและอโฆสะ ๑๔. พยญั ชนะวรรคท่เี ป็นโฆสะและอโฆสะ แบง่ เป็น ๒ ตามเสยี งหยอ่ น และเสยี งหนกั พยญั ชนะที่ถกู ฐานของตนหยอ่ นๆ ชอ่ื สิถิล พยญั ชนะท่ีถูกฐานของตนหนัก บนั ลือ เสียงดงั ช่ือ ธนิต พยญั ชนะท่ี ๑ และ ท่ี ๓ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ก ค, จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ เป็น สิถิล พยญั ชนะท่ี ๒ และ ท่ี ๔ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ข ฆ, ฉ ฌ,  ฒ, ถ ธ, ผ ภ เป็น ธนิต ๑๕. เมอ่ื ผศู้ กึ ษากำ� หนดจำ� โฆสะ อโฆสะ สถิ ลิ ธนิต ไดแ้ ลว้ พงึ รเู้ สยี ง ดงั น้ี สิถิลอโฆสะ ไดแ้ ก ่ พยญั ชนะท่ี ๑ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ก, จ, ฏ, ต, ป มเี สยี งเบากวา่ ทกุ พยญั ชนะ www.kalyanamitra.org

10 หลกั สูตรบาลีไวยากรณ์และหลกั สัมพนั ธ์ ธนิตอโฆสะ ไดแ้ ก่ พยญั ชนะท่ี ๒ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ข, ฉ, , ถ, ผ มเี สยี งหนกั กวา่ สถิ ลิ อโฆสะ สิถิลโฆสะ ได้แก่ พยญั ชนะท่ี ๓ และท่ี ๕ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ค ง, ช , ฑ ณ, ท น, พ ม, มเี สยี งดงั กวา่ ธนิตอโฆสะ ธนิตโฆสะ ไดแ้ ก ่ พยญั ชนะท่ี ๔ ในวรรคทงั้ ๕ คอื ฆ, ฌ, ฒ, ธ, ภ มเี สยี งดงั กอ้ งกวา่ สถิ ลิ โฆสะ เป็นชนั้ ๆ ๑๖. พยญั ชนะสงั โยค คอื ลกั ษณะทจ่ี ะประกอบ พยญั ชนะซอ้ นกนั มหี ลกั ดงั น้ี พยญั ชนะวรรค พยญั ชนะท่ี ๑ ซ้อนหน้าพยญั ชนะที่ ๑ และ ที่ ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะท่ี ๓ ซ้อนหน้าพยญั ชนะท่ี ๓ และ ท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะท่ี ๕ สดุ วรรค ซ้อนหน้าพยญั ชนะ ในวรรคของตนได้ทงั้ ๕ ตวั ยกเสียแต่ตวั ง www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ัติโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 11 ซึ่งเป็ นตวั สะกดอย่างเดียว, มิได้มีสำ� เนียงใน ภาษาบาลี ซ้อนหน้าตวั เองไม่ได้. พยัญชนะอวรรค พยญั ชนะ ๓ ตวั คอื ย ล ส ซอ้ นหน้าตวั เอง ได้ เชน่ เสยฺโย อสฺโส เป็นตน้ พยญั ชนะ ๔ ตวั คอื ย ร ล ว ถา้ อยหู่ ลงั พยญั ชนะตวั อ่นื จะออกเสยี งผสมกบั พยญั ชนะตวั หน้า เชน่ คารยฺห,ํ ชวิ ฺหา เป็นตน้ . ส เมอ่ื ใชเ้ ป็นตวั สะกด มสี ำ� เนยี งเป็น อสุ มุ ะ คอื มลี มออกจากไรฟน หน่อยหนง่ึ เชน่ ปรุ สิ สมฺ า เป็นตน้ ห ถา้ อยหู่ น้าพยญั ชนะอน่ื กท็ ำ� ใหส้ ระทอ่ี ยขู่ า้ ง หน้าตนออกเสยี งมลี มมากขน้ึ เชน่ พฺรหฺม เป็นตน้ ถา้ อยหู่ ลงั พยญั ชนะ ๘ ตวั คอื  ณ น ม, ย ล ว ฬ กม็ เี สยี งเขา้ ผสมกบั พยญั ชนะนนั้ เชน่ ปโฺ ห คารยฺหํ เป็นตน้ จบสมัญญาภธิ าน www.kalyanamitra.org

กลว้ ยไมอ้ อกดอกช้า ฉนั ใด การศกึ ษาเปน็ ไป ฉันนัน้ แต่ออกดอกคราใด งามเดน่ การศกึ ษาปลูกปน้ั เสรจ็ แล้ว แสนงาม. ม.ล. ปิ่น มาลากุล www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ัตโิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 13 วจวี ิภาค ภาคท่ี ๒ นามและอพั ยยศัพท์ นามศพั ทน์ ัน้ แบง่ เป็น ๓ คือ นามนาม ๑ คณุ นาม ๑ สพั พนาม ๑. นามทเ่ี ป็นชอ่ื ของคน, สตั ว,์ ท,่ี สงิ่ ของ, เป็น นามนาม นามนามน้ี แบง่ ออกเป็น ๒ คอื สาธารณนาม ๑, อสาธารณนาม ๑. นามทท่ี วั่ ไปแกค่ น, สตั ว,์ ท,่ี อน่ื ได ้ เหมอื น คำ� วา่ มนุสฺโส มนุษย,์ ตริ จฺฉาโน สตั วด์ ริ จั ฉาน, นครํ เมอื ง เป็นตน้ เป็น สาธารณนาม. นามทไ่ี มท่ วั่ ไปแกส่ งิ่ อน่ื เหมอื นคำ� วา่ ทฆี าว ุ กุมารชอ่ื ทฆี าว,ุ เอราวโณ ชา้ งชอ่ื เอราวณั สาวตฺถ ี เมอื งชอ่ื สาวตั ถี เป็นตน้ เป็น อสาธารณนาม. นามทแ่ี สดงลกั ษณะของนามนาม สำ� หรบั หมาย ใหร้ วู้ า่ นามนามนนั้ ดหี รอื ชวั่ เป็นตน้ เป็น คณุ นาม www.kalyanamitra.org

14 หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสัมพนั ธ์ เหมอื นคำ� วา่ ปญฺ วา มปี ญ ญา ปรุ โิ ส บรุ ษุ ถอื เอา- ความตามภาษาของเราว่า บุรุษมปี ญญา ปรุ ิโส เป็น นามนาม ปญฺ วา เป็น คณุ นาม. คณุ นามนแ้ี บง่ เป็น ๓ ชนั้ คอื ปกติ ๑ วิเสส ๑ อติวิเสส ๑. คณุ นามทแ่ี สดงความดหี รอื ชวั่ เป็นปกตเิ หมอื น คำ� วา่ ปณฑฺ โิ ต เป็นบณั ฑติ ปาโป เป็นบาป ชอ่ื ปกติ. คณุ นามทแ่ี สดงความดหี รอื ชวั่ มากหรอื นอ้ ยกวา่ ปกต ิ เหมอื นคำ� วา่ ปณฺฑติ ตโร เป็นบณั ฑติ กวา่ ปาปตโร เป็นบาปกวา่ ชอ่ื วิเสส. วิ เสส นั้นใช้ ตร, อิ ย ปจจัยในตัทธิต ต่อปกตบิ า้ ง ใชอ้ ุปสคั อติ (ย่ิง) น�ำหน้าบา้ ง. คุณนามท่แี สดงความดหี รอื ชวั่ มากท่สี ุดหรอื นอ้ ยทส่ี ดุ เหมอื นคำ� วา่ ปณฺฑติ ตโม เป็นบณั ฑติ ทส่ี ดุ ปาปตโม เป็นบาปทส่ี ดุ ชอ่ื อติวิเสส. อติวิเสส ใช ้ ตม, อิฏฺ ปจจยั ในตทั ธติ ตอ่ ปกตบิ า้ ง ใชอ้ ุปสคั และนิบาต คอื อติวิย (เกิน- เปรียบ) น�ำหน้าบา้ ง. www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยัติโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 15 สพั พนาม เป็นชอ่ื สำ� หรบั ใชแ้ ทนนามนาม ทอ่ี อก ชอ่ื มาแลว้ เพอ่ื จะไมใ่ หซ้ ้ำ� ๆ ซากๆ ซง่ึ ไมเ่ พราะหู นามทงั้ ๓ นัน้ ต้องประกอบดว้ ยลิงค์ วจนะ และ วิภตั ติ ลิงค์ คอื เพศของนามศพั ท์ นามศพั ทใ์ นบาลภี าษานนั้ ทา่ นแบง่ เป็น ๓ ลงิ ค์ คอื ปํ ุลิงฺคํ เพศชาย ๑, อิตฺถีลิงฺคํ เพศหญิง ๑, นปํ สุ กลิงฺคํ มิใช่เพศชาย มิใช่เพศหญิง ๑ นามนามเป็ นลิงค์เดียว คือ จะเป็นปุลิงค ์ อติ ถลี งิ ค์ หรอื นปุสกลงิ ค์ กอ็ ย่างเดยี วบา้ ง เป็น ๒ ลงิ ค์ คอื ศพั ทอ์ นั เดยี ว มรี ูปอย่างเดยี วเป็นได ้ ทงั้ ๒ ลงิ ค์ หรอื มูลศพั ท์เป็นอนั เดยี ว เปล่ยี นแต่ สระท่สี ุดให้แปลกกนั พอเป็นเคร่อื งหมายให้ต่าง ลงิ คก์ นั บา้ ง. คณุ นามและสพั พนามเป็นได้ทงั้ ๓ ลิงค์ www.kalyanamitra.org

16 หลักสูตรบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สัมพันธ์ เกณฑก์ ารจดั ลิงค์ ๒ อย่าง ลงิ คน์ นั้ จดั ตามสมมติของภาษาบา้ ง ตาม กำ� เนิดบา้ ง ที่จดั ตามสมมตินัน้ เหมอื นหน่ึงก�ำเนิดสตรี สมมตใิ หเ้ ป็นปุลงิ ค ์ และของทไ่ี มม่ วี ญิ ญาณ สมมติ ใหเ้ ป็นปลุ งิ คแ์ ละอติ ถลี งิ ค ์ เหมอื นคำ� วา่ ทาโร เมยี สมมตใิ หเ้ ป็นปุลงิ ค์ ปเทโส ประเทศ สมมตใิ หเ้ ป็น ปุลงิ ค ์ ภมู ิ แผน่ ดนิ สมมตใิ หเ้ ป็นอติ ถลี งิ ค์ ท่ีจดั ตามก�ำเนิ ดนัน้ เหมือน ปุริโส ชาย เป็นปลุ งิ ค ์ อิตถฺ ี หญงิ เป็นอติ ถลี งิ ค ์ เป็นตน้ . www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั โิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 17 นามนามเป็นลิงค์เดียว ปํ ลุ ิงค์ อิตถีลิงค์ นปํ สุ กลิงค์ อมโร เทวดา อจฉฺ รา นางอปั สร องคฺ ํ องค์ อาทจิ โฺ จ พระอาทติ ย์ อาภา รศั มี อารมมฺ ณํ อารมณ์ อนิ ฺโท พระอนิ ทร์ อทิ ธฺ ิ ฤทธิ ์ อณิ ํ หน้ี อโี ส คนเป็นใหญ่ อสี า งอนไถ อรี ณิ ํ ทงุ่ นา อทุ ธิ ทะเล อฬุ ุ ดาว อทุ กํ น้�ำ เอรณฺโฑ ตน้ ละหงุ่ เอสกิ า เสาระเนยี ด เอฬาลกุ ํ ฟก เหลอื ง โอโฆ หว้ งน้�ำ โอชา โอชา โอกํ น้�ำ กณฺโณ หู กฏิ สะเอว กมมฺ ํ กรรม จนฺโท พระจนั ทร์ จมู เสนา จกขฺ ุ นยั นต์ า ตรุ ตน้ ไม้ ตารา ดาว เตลํ น้�ำมนั ปพพฺ โต ภเู ขา ปภา รศั มี ปณฺณํ ใบไม้ ยโม พระยม ยาคุ ขา้ วตม้ ยานํ ยาน www.kalyanamitra.org

18 หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสมั พันธ์ นามนามศพั ทเ์ ดยี วมรี ปู อยา่ งเดยี ว เปน็ ๒ ลงิ ค์ ปํ ลุ ิงค์ นปํ สุ กลิงค์ คำ� แปล อกฺขโร อกฺขรํ อกั ษร อคาโร อคารํ เรอื น อุตุ อุตุ ฤดู ทวิ โส ทวิ สํ วนั มโน มนํ ใจ สวํ จฺฉโร สวํ จฺฉรํ ปี นามนามมีมลู ศพั ท์เปน็ อยา่ งเดยี ว เปล่ยี นแต่ สระทีส่ ุดเป็น ๒ ลงิ ค์ ปํ ลุ ิงค์ อิตถีลิงค์ คำ� แปล อรหา หรอื อรหํ อรหนฺตี พระอรหนั ต์ อาชวี โก อาชวี กิ า นกั บวช (ชาย-หญงิ ) อปุ าสโก อปุ าสกิ า อบุ าสก, อบุ าสกิ า กมุ าโร กมุ าร,ี กมุ ารกิ า เดก็ (ชาย-หญงิ ) ขตฺตโิ ย ขตฺตยิ าน,ี ขตฺตยิ า กษตั รยิ ์ โคโณ คาวี โค www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ตั โิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 19 ปํ ลุ ิงค์ อิตถีลิงค์ คำ� แปล โจโร โจรี โจร าตโก าตกิ า ญาติ ตรโุ ณ ตรณุ ี ชายหนุ่ม, หญงิ สาว เถโร เถรี พระเถระ, พระเถรี ทารโก ทารกิ า เดก็ ชาย, เดก็ หญงิ เทโว เทวี พระเจา้ แผน่ ดนิ , พระราชเทวี นโร นารี คน (ชาย - หญงิ ) ปรพิ ฺพาชโก ปรพิ ฺพาชกิ า นกั บวช (ชาย - หญงิ ) ภกิ ฺขุ ภกิ ฺขนุ ี ภกิ ษุ, ภกิ ษุณี ภวํ โภตี ผเู้ จรญิ มนุสฺโส มนุสฺสี มนุษย์ (ชาย - หญงิ ) ยกฺโข ยกฺขนิ ี ยกั ษ,์ ยกั ษณิ ี ยวุ า ยวุ ตี ชายหนุ่ม, หญงิ สาว ราชา ราชนิ ี พระเจา้ แผน่ ดนิ , พระราชนิ ี สขา สขี เพอ่ื น (ชาย - หญงิ ) หตฺถี หตฺถนิ ี ชา้ งพลาย, ชา้ งพงั www.kalyanamitra.org

20 หลกั สูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สมั พนั ธ์ คณุ นามเป็น ๓ ลิงค์ ปํ ลุ ิงค์ อิตถีลิงค์ นปํ สุ กลิงค์ คำ� แปล กมฺมกาโร กมฺมการนิ ี กมฺมการํ ทำ� การงาน คณุ วา คณุ วตี คณุ วํ มคี ณุ จณฺโฑ จณฺฑา จณฺฑํ ดรุ า้ ย เชฏฺโ เชฏฺา เชฏฺํ เจรญิ ทส่ี ดุ ตาโณ ตาณา ตาณํ ตา้ นทาน ถโิ ร ถริ า ถริ ํ มนั่ ทกฺโข ทกฺขา ทกฺขํ ขยนั ธมฺมโิ ก ธมฺมกิ า ธมฺมกิ ํ ตงั้ ในธรรม นาโถ นาถา นาถํ ทพ่ี ง่ึ ปาโป ปาปา ปาปํ บาป โภคี โภคนิ ี โภคิ มโี ภคะ มตมิ า มตมิ ตี มตมิ ํ มคี วามคดิ ลาภี ลาภนิ ี ลาภิ มลี าภ สทฺโธ สทฺธา สทฺธํ มศี รทั ธา www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั โิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 21 วจนะ ค�ำพูดในบาลีภาษา จัดเป็น ๒ วจนะ คือ เอกวจนํ ค�ำพูดส�ำหรบั ออกช่ือของสิ่งเดียว ๑, พหวุ จนํ คำ� พดู สำ� หรบั ออกชอ่ื ของมากกวา่ สงิ่ เดยี ว คอื ตงั้ แต่ ๒ สง่ิ ขน้ึ ไป ๑ วจนะทงั้ ๒ น้ี มีเคร่ืองหมายให้แปลกกนั ท่ีท้ายศพั ท์ เหมือนคำ� ว่า ปรุ ิโส ชายคนเดียว เป็นเอกวจนะ ปรุ ิสา ชายหลายคน เป็นพหวุ จนะ. วิภตั ติ วิภตั ติ คือ เครื่องจำ� แนกนามศพั ทใ์ ห้มีรปู ต่างๆ กนั บอกให้ทราบถึง ลิงค์ วจนะ และ อายตนิ บาต มี ๑๔ ตวั แบ่งเป็นเอกวจนะ ๗ พหวุ จนะ ๗ ดงั น้ี :- www.kalyanamitra.org

22 หลักสตู รบาลีไวยากรณ์และหลักสัมพนั ธ์ วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปมา ท่ี ๑ สิ โย ทตุ ิยา ที่ ๒ อํ โย ตติยา ท่ี ๓ นา หิ จตตุ ถฺ ี ที่ ๔ ส นํ ปญจฺ มี ท่ี ๕ สมฺ า หิ ฉฏฺี ที่ ๖ ส นํ สตตฺ มี ที่ ๗ สมฺ ึ สุ ปฐมาวภิ ตั ตทิ ต่ี น้ นนั้ แบ่งเป็น ๒ คอื เป็น ลิงฺคตโฺ ถ หรอื กตตฺ า ทเ่ี ป็นตวั ประธานอยา่ ง ๑ เป็น อาลปนํ คำ� สำ� หรบั รอ้ งเรยี กอยา่ ง ๑. www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 23 อายตนบิ าต อายตนิบาต คอื คำ� เชอื่ มหรอื คำ� ตอ่ ระหวา่ งศพั ท์ ใช้เป็นคำ� แปลประจำ� หมวดวิภตั ติทงั้ ๗ ดงั นี้ :- วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปมาท่ี ๑ อ.- (อนั วา่ ) อ.-ท. (อนั วา่ -ทงั้ หลาย) ทตุ ยิ าท่ี ๒ ซง่ึ , ส,ู่ ยงั , สน้ิ , ซง่ึ -ท., ส-ู่ ท., ยงั -ท., สน้ิ -ท., ตลอด, กะ, เฉพาะ ตลอด-ท., กะ-ท., เฉพาะ-ท. ตตยิ าท่ี ๓ ดว้ ย, โดย, อนั , ตาม, ดว้ ย-ท., โดย-ท., อนั -ท., เพราะ, ม,ี ดว้ ยทงั้ , ตาม-ท., เพราะ-ท., ม-ี ท., ขา้ ง, ทาง ดว้ ยทงั้ -ท., ขา้ ง-ท., ทาง-ท. จตตุ ฺถที ่ี ๔ แก,่ เพอ่ื , ตอ่ แก-่ ท., เพอ่ื -ท., ตอ่ -ท. ปญฺจมที ่ี ๕ แต,่ จาก, กวา่ , เหตุ แต-่ ท., จาก-ท., กวา่ -ท., เหต-ุ ท. ฉฏฺที ่ี ๖ แหง่ , ของ, เมอ่ื แหง่ -ท., ของ-ท., เมอ่ื -ท. สตฺตมที ่ี ๗ ใน, ใกล,้ ท,่ี ครนั้ เมอ่ื , ใน-ท., ใกล-้ ท., ท-่ี ท., ในเพราะ, เหนอื , ครนั้ เมอ่ื -ท., ในเพราะ-ท., บน, ณ เหนอื -ท., บน-ท., ณ-ท. อาลปนะ แน่ะ, ดกู อ่ น, ขา้ แต่ แน่ะ-ท., ดกู ่อน-ท., ขา้ แต-่ ท. www.kalyanamitra.org

24 หลักสูตรบาลไี วยากรณ์และหลกั สมั พนั ธ์ นามนาม ตอนท่ี ๑ สามญั ศพั ท์ การนั ต์ สระท่ีสดุ แห่งศพั ท์ เรยี กวา่ การนั ต ์ แบง่ ลง ในลงิ คท์ งั้ ๓ ดงั น้ี :- ในปํ ลุ ิงค ์ มกี ารนั ต์ ๕ คอื อ อิ อี อ ุ อ.ู ในอิตถีลิงค ์ มกี ารนั ต์ ๕ คอื อา อิ อี อ ุ อ.ู ในนปํ สุ กลิงค ์ มกี ารนั ต์ ๓ คอื อ อิ อ.ุ โดยย่อมี ๖ การนั ต์ คือ อ อา อ ิ อ ี อุ อ.ู โดยพิสดารมี ๑๓ การนั ต์ คือ อ อ ิ อ ี อุ อ,ู อา อ ิ อ ี อุ อ,ู อ อ ิ อุ. นามศพั ท์ท่ยี งั มไิ ด้ประกอบด้วยวภิ ตั ติ หรอื ศพั ทน์ ิบาต เรยี กวา่ ศพั ท์ นามศพั ทท์ ป่ี ระกอบดว้ ยวภิ ตั ตแิ ลว้ เรยี กวา่ บท www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 25 วิธีแจกการันต์ท้ัง ๕ ในปุลํ งิ ค์ อ การนั ต์ ในปํ ลุ ิงคแ์ จกอย่าง ปรุ ิส (บรุ ษุ ) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. ปรุ ิโส ปรุ ิสา ท.ุ ปรุ ิสํ ปรุ ิเส ต. ปรุ ิเสน ปรุ ิเสหิ ปรุ ิเสภิ จ. ปรุ ิสสสฺ ปรุ ิสาย ปรุ ิสตถฺ ํ ปรุ ิสานํ ป.ฺ ปรุ ิสสมฺ า ปรุ ิสมหฺ า ปรุ ิสา ปรุ ิเสหิ ปรุ ิเสภิ ฉ. ปรุ ิสสสฺ ปรุ ิสานํ ส. ปรุ ิสสมฺ ึ ปรุ ิสมหฺ ิ ปรุ ิเส ปรุ ิเสสุ อา. ปรุ ิส ปรุ ิสา ศพั ทท์ ่ีเป็น อ การนั ต์ เช่นนี้ แจกเหมือน ปรุ ิส. อาจรยิ อาจารย์ กุมาร เดก็ ขตฺตยิ กษตั รยิ ์ คณ หมู่ โจร โจร ฉณ มหรสพ ชน ชน ตุรค มา้ เถน ขโมย ทตู ทตู ธช ธง นร คน ปาวก ไฟ ผลกิ แกว้ ผลกึ พก นกยาง ภว ภพ มนุสฺส มนุษย์ ยกฺข ยกั ษ์ รกุ ฺข ตน้ ไม้ โลก โลก วานร ลงิ สหาย เพอ่ื น หตฺถ มอื www.kalyanamitra.org

26 หลักสตู รบาลีไวยากรณแ์ ละหลักสมั พันธ์ อิ การนั ต์ ในปํ ลุ ิงคแ์ จกอย่าง มนุ ิ (ผรู้ ้)ู ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. มนุ ิ มนุ ิโน มนุ โย มนุ ี ท.ุ มนุ ึ มนุ ิมหฺ า มนุ โย มนุ ี ต. มนุ ินา มนุ ิโน มนุ ีหิ มนุ ีภิ จ. มนุ ิสสฺ มนุ ิมหฺ ิ มนุ ีนํ มนุ ีภิ ป.ฺ มนุ ิสมฺ า มนุ ีหิ ฉ. มนุ ิสสฺ มนุ ีนํ มนุ ี ส. มนุ ิสมฺ ึ มนุ ีสุ อา. มนุ ิ มนุ โย ศพั ทท์ ่ีเป็น อิ การนั ต์ เช่นนี้ แจกเหมือน มนุ ิ. อคฺคิ ไฟ อริ ขา้ ศกึ อหิ งู ถปติ ชา่ งไม้ นิธิ ขมุ ทรพั ย์ ปติ เจา้ , ผวั มณิ แกว้ มณี วธิ ิ วธิ ี วหี ิ ขา้ วเปลอื ก สมาธิ สมาธิ www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ัตโิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 27 อี การนั ต์ ในปํ ลุ ิงคแ์ จกอยา่ ง เสฏฺี (เศรษฐี) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. เสฏฺี เสฏฺิโน เสฏฺี ท.ุ เสฏฺึ เสฏฺนิ ํ เสฏฺโิ น เสฏฺี ต. เสฏฺนิ า เสฏฺีหิ เสฏฺภี ิ จ. เสฏฺสิ สฺ เสฏฺโิ น เสฏฺนี ํ ปฺ. เสฏฺสิ มฺ า เสฏฺิมหฺ า เสฏฺหี ิ เสฏฺภี ิ ฉ. เสฏฺสิ สฺ เสฏฺโิ น เสฏฺนี ํ ส. เสฏฺิสมฺ ึ เสฏฺิมหฺ ิ เสฏฺีสุ อา. เสฏฺิ เสฏฺโิ น เสฏฺี ศพั ทท์ ่ีเป็น อี การนั ต์ เช่นนี้ แจกเหมือน เสฏฺี. กร ี ชา้ ง ตปสี คนมตี บะ ทณฺฑี คนมไี มเ้ ทา้ ภาณี คนชา่ งพดู โภคี คนมโี ภคะ มนฺตี คนมคี วามคดิ เมธาวี คนมปี ญ ญา สขิ ี นกยงู สขุ ี คนมสี ขุ หตฺถี ชา้ ง www.kalyanamitra.org

28 หลกั สูตรบาลีไวยากรณ์และหลกั สมั พันธ์ อุ การนั ต์ ในปํ ลุ ิงคแ์ จกอย่าง ครุ (คร)ู ดงั นี้ :- เอกวจนํ พหวุ จนํ ป. ครุ ครโว ครู ท.ุ ครุํ ครโว ครู ต. ครนุ า ครหู ิ ครภู ิ จ. ครสุ สฺ ครโุ น ครนู ํ ป.ฺ ครสุ มฺ า ครมุ หฺ า ครหู ิ ครภู ิ ฉ. ครสุ สฺ ครโุ น ครนู ํ ส. ครสุ มฺ ึ ครมุ หฺ ิ ครสู ุ อา. ครุ ครเว ครโว ศพั ทท์ ี่เป็น อุ การนั ต์ เช่นนี้แจกเหมือน คร.ุ เกตุ ธง ชนฺตุ สตั วเ์ กดิ ปสุ สตั วข์ องเลย้ี ง พนฺธุ พวกพอ้ ง พพฺพุ เสอื ปลา, แมว ภกิ ฺขุ ภกิ ษุ รปิ ุ ขา้ ศกึ สตฺตุ ศตั รู เสตุ สะพาน เหตุ เหตุ www.kalyanamitra.org

พระเทพปรยิ ัติโมลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 29 อู การนั ต์ ในปํ ลุ ิงคแ์ จกอยา่ ง วิฺ ู (ผรู้ วู้ ิเศษ) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. วิฺญู วิฺ ุโน วิญฺ ู ท.ุ วิฺ ุํ วิฺโุ น วิญญฺ ู ต. วิญฺ นุ า วิฺหู ิ วิญญฺ ภู ิ จ. วิญฺ สุ สฺ วิฺุโน วิฺนู ํ ป.ฺ วิฺ ุสมฺ า วิญฺ มุ หฺ า วิฺูหิ วิญญฺ ภู ิ ฉ. วิญฺ สุ สฺ วิฺุโน วิฺูนํ ส. วิฺุสมฺ ึ วิฺ มุ หฺ ิ วิญฺ สู ุ อา. วิฺุ วิญฺ โุ น วิญฺ ู ศพั ทท์ ่ีเป็น อู การนั ต์ เช่นนี้แจกเหมือน วิญญฺ .ู อภภิ ู พระผเู้ ป็นยง่ิ กตญฺ ู ผรู้ อู้ ปุ การะทค่ี นอน่ื ทำ� แลว้ ปารคู ผถู้ งึ ฝง เวทคู ผถู้ งึ เวท สยมฺภู พระผเู้ ป็นเอง จบวธิ แี จกการนั ต์ ๕ ในปํุลิงค์ www.kalyanamitra.org

30 หลักสูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สัมพนั ธ์ วธิ ีแจกการนั ตท์ งั้ ๕ ในอิตถีลงิ ค์ อา การนั ต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง กญฺ า (นางสาวน้อย) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. กฺา กฺาโย กฺ า ท.ุ กฺํ กฺาโย กฺ า ต. กฺ าย กฺาหิ กฺ าภิ จ. กฺ าย กฺ านํ ปญ.ฺ กฺ าย กฺาหิ กฺ าภิ ฉ. กฺ าย กฺานํ ส. กฺาย กฺ ายํ กฺาสุ อา. กฺเ กฺาโย กฺ า www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยัตโิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 31 ศพั ทท์ ี่เป็น อา การนั ต์ เช่นนี้แจกเหมอื น กฺา. อจฉฺ รา นางอปั สร อาภา รศั มี อกิ ขฺ ณกิ า หญงิ แมม่ ด อสี า งอนไถ อกุ ฺกา คบเพลงิ อกู า เลน็ เอสกิ า เสาระเนยี ด โอชา โอชา กจฺฉา รกั แร้ คทา ตะบอง ฆฏกิ า ลมิ่ เจตนา เจตนา ฉุรกิ า กฤช ชปา ชะบา ตารา ดาว ถวกิ า ถงุ ทารกิ า เดก็ หญงิ โทลา ชงิ ชา้ ธารา ธารน้�ำ นารา รศั มี ปญฺ า ปญ ญา พาหา แขน ภาสา ภาษา มาลา ระเบยี บ ลาขา ครงั่ สาลา ศาลา สลิ า ศลิ า หนุกา คาง www.kalyanamitra.org

32 หลกั สตู รบาลไี วยากรณ์และหลักสัมพนั ธ์ อิ การนั ต์ ในอติ ถลี งิ ค์ แจกอยา่ ง รตตฺ ิ (ราตร)ี ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. รตตฺ ิ รตตฺ ิโย รตตฺ ี ท.ุ รตตฺ ึ รตตฺ ิโย รตตฺ ี ต. รตตฺ ิยา รตตฺ ีหิ รตตฺ ีภิ จ. รตตฺ ิยา รตตฺ ีนํ รตตฺ ีภิ ปญ.ฺ รตตฺ ิยา รตยฺ า รตตฺ ีหิ ฉ. รตตฺ ิยา รตตฺ ีนํ รตตฺ ี ส. รตตฺ ิยา รตตฺ ิยํ รตยฺ ํ รตตฺ ีสุ อา. รตตฺ ิ รตตฺ ิโย ศพั ท์ทเ่ี ป็น อิ การันต์ เช่นนแ้ี จกเหมอื น รตตฺ ิ. อาณิ ลมิ่ อทิ ฺธิ ฤทธิ ์ อตี ิ จญั ไร อกุ ฺขลิ หมอ้ ขา้ ว อมู ิ คลน่ื กฏิ สะเอว ขนฺติ ความอดทน คณฺฑิ ระฆงั ฉวิ ผวิ ชลฺลิ สะเกด็ ไม ้ ตนฺติ เสน้ ดา้ ย นนฺทิ ความเพลดิ เพลนิ ปญฺหิ สน้ เทา้ มติ ความรู้ ยฏฺิ ไมเ้ ทา้ รติ ความยนิ ดี ลทฺธิ ลทั ธิ วติ รวั้ สตฺติ หอก สนฺธิ ความตอ่ www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั โิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 33 อี การนั ต์ ในอติ ถลี งิ ค์ แจกอยา่ ง นารี (นาง) ดงั น้ี :- เอก. พห.ุ ป. นารี นาริยํ นาริโย นารี ท.ุ นารึ นาริยํ นาริโย นารี ต. นาริยา นารีหิ นารีภิ จ. นาริยา นารีนํ ปญ.ฺ นาริยา นารีหิ นารีภิ ฉ. นาริยา นารีนํ ส. นาริยา นารีสุ อา. นาริ นาริโย นารี ศัพท์ท่ีเป็น อี การนั ต์ เช่นน้แี จกเหมือน นารี. กุมารี เดก็ หญงิ ฆรณี หญงิ แมเ่ รอื น ถ,ี อติ ฺถี หญงิ ธานี เมอื ง ปวี แผน่ ดนิ มาตลุ านี ปา , น้า วชี นี พดั สมิ ฺพลี ไมง้ ว้ิ www.kalyanamitra.org

34 หลักสูตรบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสัมพันธ์ อุ การนั ต์ ในอติ ถลี งิ ค์ แจกอยา่ ง รชชฺ ุ (เชอื ก) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. รชชฺ ุ รชชฺ โุ ย รชชฺ ู ท.ุ รชชฺ ุํ รชชฺ โุ ย รชชฺ ู ต. รชชฺ ยุ า รชชฺ หู ิ รชชฺ ภู ิ จ. รชชฺ ยุ า รชชฺ นู ํ รชชฺ ภู ิ ปญ.ฺ รชชฺ ยุ า รชชฺ หู ิ ฉ. รชชฺ ยุ า รชชฺ นู ํ รชชฺ ู ส. รชชฺ ยุ า รชชฺ ยุ ํ รชชฺ สู ุ อา. รชชฺ ุ รชชฺ โุ ย ศพั ท์ทเ่ี ปน็ อุ การนั ต์ เช่นนี้แจกเหมอื น รชฺชุ. อุรุ ทราย กาสุ หลมุ เธนุ แมโ่ คนม ยาคุ ขา้ วตม้ ลาวุ น้�ำเตา้ วชิ ฺชุ สายฟา www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั ิโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 35 อู การันต์ ในอิตถลี ิงค์ แจกอยา่ ง วธู (หญิงสาว) ดงั นี้ :- เอก. พห.ุ ป. วธู วธยุ ํ วธโุ ย วธู ท.ุ วธุํ วธโุ ย วธู ต. วธยุ า วธหู ิ วธภู ิ จ. วธยุ า วธนู ํ ปญ.ฺ วธยุ า วธหู ิ วธภู ิ ฉ. วธยุ า วธนู ํ ส. วธยุ า วธสู ุ อา. วธุ วธโุ ย วธู ศพั ท์ท่เี ป็น อู การันต์ เช่นนีแ้ จกเหมอื น วธู. จมู เสนา ชมฺพู ไมห้ วา้ ภู แผน่ ดนิ , คว้ิ วริ ู เถาวลั ย์ สรพู ตุ๊กแก สนิ ฺธู แมน่ ้�ำสนิ ธู จบวธิ ีแจกการันต์ ๕ ในอิตถีลงิ ค์ www.kalyanamitra.org

36 หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลักสมั พนั ธ์ วิธแี จกการนั ตท์ ัง้ ๓ ในนปํสุ กลิงค์ อ การันต์ ในนปํุสกลิงค์ แจกอย่าง กลุ (ตระกลู ) ดงั น้ี :- เอก. พห.ุ ป. กลุ ํ กลุ านิ ท.ุ กลุ ํ กลุ านิ ต. กเุ ลน กเุ ลหิ กเุ ลภิ จ. กลุ สสฺ กลุ าย กลุ ตถฺ ํ กลุ านํ ปญ.ฺ กลุ สมฺ า กลุ มหฺ า กลุ า กเุ ลหิ กเุ ลภิ ฉ. กลุ สสฺ กลุ านํ ส. กลุ สมฺ ึ กลุ มหฺ ิ กเุ ล กเุ ลสุ อา. กลุ กลุ านิ www.kalyanamitra.org

พระเทพปริยตั โิ มลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 37 ศพั ท์ทเ่ี ปน็ อ การนั ต์ เชน่ นีแ้ จกเหมือน กุล องฺค องค์ อณิ หน้ี อทุ ร ทอ้ ง โอฏฺ รมิ ฝีปาก กฏฺ ไม้ กมล ดอกบวั ฆร เรอื น จกฺก จกั ร, ลอ้ ฉตฺต ฉตั ร, รม่ ชล น้�ำ ตล พน้ื ธน ทรพั ย์ ปณฺณ ใบไม,้ หนงั สอื ผล ผลไม้ พล กำ� ลงั , พล ภตฺต ขา้ วสวย มชฺช น้�ำเมา ยนฺต ยนต ์ รฏฺ แวน่ แควน้ รตน แกว้ วตฺถ ผา้ สกฏ เกวยี น www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook