กคแู่มมือาแน่วรวทัยดางรปูแฏุ่ิบลนัติ บรรณาธิการ กิตตพิ งศ์ แซเ่ จง็ บญุ ฤทธ์ิ สขุ รัตน์ เอกชัย โควาวสิ ารชั ประกายดาว พรหมประพัฒน์ จันทกานต์ กาญจนเวทางค์
คู่มือแนวทางปฏบิ ตั กิ ารดูแลแมว่ ัยรนุ่ISBN : 978-616-11-2380-2บรรณาธิการ กติ ตพิ งศ์ แซ่เจง็ บญุ ฤทธิ์ สขุ รตั น์ เอกชยั โควาวสิ ารชั ประกายดาว พรหมประพัฒน์ จนั ทกานต์ กาญจนเวทางค์พิมพ์คร้ังท่ี 2 กันยายน 2558จ�ำนวนท่ีพิมพ ์ จำ� นวน 1,000 เลม่จดั ท�ำโดย สำ� นกั อนามัยการเจรญิ พนั ธุ์ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ โทร. 0 2590 4265 http://rh.anamai.moph.go.thพมิ พ์ท ่ี ศนู ย์สอื่ และสง่ิ พมิ พแ์ กว้ เจ้าจอม กรุงเทพฯ
การดูแลคู่มือแนวทางปฏิบัติแม่วัยรุ่น
คำ� นำ� ปญั หาการตงั้ ครรภ์ในวยั รนุ่ เปน็ ปญั หาทมี่ คี วามซบั ซอ้ นและมคี วามรนุ แรงเพม่ิ มากขนึ้ มผี ลกระทบตอ่ ตวั วยั รนุ่ เองโดยตรงและสง่ ผลกระทบต่อบตุ รดว้ ย ทง้ั นยี้ ังมผี ลกระทบตอ่ ดา้ นอ่ืน ๆ เชน่ ปญั หาครอบครัว การศกึ ษา ด้านสังคมและเศรษฐกจิ ซงึ่ กระทรวงสาธารณสขุ โดย กรมอนามยั ไดเ้ รง่ รดั การดำ� เนนิ การแผนงาน/โครงการ ภายใตย้ ทุ ธศาสตรส์ ง่ เสรมิสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัยรุ่น มีการพัฒนาและสนับสนุนโรงพยาบาลตามแนวทางมาตรฐานบริการสุขภาพท่ีเป็นมติ รสำ� หรบั วัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services) เพ่อื ใหว้ ัยรนุ่ และเยาวชนทกุ กลุ่มเข้าถงึ บรกิ ารสุขภาพท่ีเปน็ มิตรตามความต้องการ และแม้วา่ โรงพยาบาลจะดำ� เนนิ งานตามแนวทางมาตรฐานฯ ดังกลา่ ว การพฒั นาแนวทางและเครือ่ งมอื ในการให้บริการขน้ั พืน้ ฐานสำ� หรับกลุ่มเยาวชนท่แี ตกตา่ งกนั กย็ ังมคี วาจำ� เป็น ดังนั้นกรมอนามยัโดยส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์และหน่วยงานภาคีที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ศูนย์อนามัยและโรงพยาบาลท่ีมีรูปแบบบริการแม่วัยรุ่น จึงร่วมกันพัฒนา “คู่มือแนวทางปฏิบัติการดูแลแม่วัยรุ่น” เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือท่ีส�ำคัญในการดูสุขภาพแม่วัยรุ่นเป็นการเฉพาะ เพื่อให้แม่วัยรุ่นเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีเป็นมิตร ได้รับการดแู ลอยา่ งต่อเนอื่ งและมีคุณภาพ โดยเน้ือหาในคมู่ อื ฯ ประกอบดว้ ยการบริการและการดูแลทสี่ �ำคญั ตัง้ แต่การฝากครรภ์การคลอดและหลงั คลอด การคุมก�ำเนดิ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพเพ่อื ป้องกันการต้ังครรภซ์ ำ้� การใหก้ ารปรึกษา ดแู ลชว่ ยเหลอืทางด้านจิตใจสังคม การศกึ ษา อาชีพ รวมไปถึงการดแู ลอยา่ งต่อเนอื่ งและส่งตอ่ ไปยังหน่วยงาน องคก์ รภาคีเครอื ขา่ ยและชุมชนก
ขอขอบคณุ ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ เกยี รตคิ ณุ นายแพทยส์ วุ ชยั อนิ ทรประเสรฐิ แพทยห์ ญงิ นนั ทา อว่ มกลุ ทป่ี รกึ ษาสำ� นกัอนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ และพลโท รองศาสตราจารยน์ ายแพทยว์ โิ รจน์ อารยี ก์ ลุ ประธานอนกุ รรมการสขุ ภาพวยั รนุ่ ราชวทิ ยาลยักมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย อาจารยย์ พุ า พนู ขำ� ทปี่ รกึ ษาสำ� นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ ที่ไดก้ รณุ าใหข้ อ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ประโยชน์และเป็นท่ีปรึกษาในการจัดท�ำคู่มือฯ นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์นายแพทย์เอกชัย โควาวิสารัช ผู้แทนจากราชวิทยาลัยสตู นิ รแี พทยแ์ หง่ ประเทศไทย และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จนั ทกานต์ กาญจนเวทางค์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารนี ครราชสมี าได้กรุณาพจิ ารณาและตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา ท�ำให้คมู่ อื เลม่ นม้ี ีความสมบูรณย์ ่ิงขนึ้ กรมอนามัย จงึ ขอขอบคณุ มาณ โอกาสนี้ กรมอนามยั หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื เลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ บคุ ลากรสาธารณสขุ ในการจดั บรกิ าร และการดแู ลแมว่ ยั รนุ่ใหม้ คี ณุ ภาพ สามารถปรบั ใชเ้ ป็นแนวทางปฏบิ ัติใหเ้ หมาะกับบรบิ ทของโรงพยาบาล/สถานบริการสาธารณสขุ ต่อไป กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ข
รายนามผู้นพิ นธ์กิตตพิ งศ์ แซเ่ จ็ง บุญย่ิง มานะบริบรู ณ์ พ.บ.,ส.ม., ว.ว. (ระบาดวทิ ยา) พ.บ.,ว.ว. (กุมารเวชศาสตร์) M.P.H., Antwerp Belgium Certificate in Adolescent Medicine (Canada) ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั อนามยั การเจริญพนั ธุ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลจันทกานต ์ กาญจนเวทางค์ บญุ ฤทธ ิ์ สุขรัตน์ พย.บ., พย.ม., พย.ด., (นานาชาต)ิ พ.บ., ว.ว. (สตู ิ-นรเี วช) The State University of New York at Buffalo, USA นายแพทยช์ �ำนาญการพิเศษ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ส�ำนกั วชิ าพยาบาลศาสตร์ ผู้ช่วยผอู้ �ำนวยการส�ำนกั อนามัยการเจริญพันธ์ุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี นครราชสมี า กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุจริ าภรณ์ อรุณากรู สุรพนั ธ์ แสงสวา่ ง พ.บ., ว.ว. (กุมารเวชศาสตร)์ พ.บ.,ว.ว. (สูต-ิ นรีเวช), อ.ว.(เวชศาสตรป์ อ้ งกัน) Certificate in Adolescent Medicine (USA) ป.บณั ฑิตช้นั สงู (ตจวิทยา) อาจารย์ ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ นายแพทยช์ ำ� นาญการพเิ ศษ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ เชยี งใหม่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศนู ยอ์ นามยั ที่ 10 เชยี งใหม่ดรณุ ี ทองคำ� ฟู เบ็ญจา ยมสาร พย.บ., ค.บ. (สขุ ศึกษา) คม. (สาขาการส่งเสริมสุขภาพ) พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ นักวิชาการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพเิ ศษ ศนู ย์อนามัยท่ี 8 นครสวรรค์ ศนู ยอ์ นามัยท่ี 10 เชียงใหม่ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุดวงใจ แซ่ไหล ประกายดาว พรหมประพฒั น์ พย.บ., ศษ.ม. (ศึกษาศาสตรเ์ พอ่ื พฒั นาชุมชน) ป.บ.ส., พยาบาลเวชปฏิบตั ทิ ารกแรกเกิด พยาบาลวิชาชพี ช�ำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพเิ ศษ สำ� นักอนามัยการเจรญิ พนั ธ์ุ ศูนยอ์ นามยั ที่ 12 ยะลา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุขนวพร นาวีสาคร ผอ่ งศรี สวยสม พย.ม.,การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช พย.บ. (สาขาการพยาบาลมารดาและทารก) พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการ ห้องตรวจโรคผปู้ ่วยนอกสูตนิ รเี วชกรรม ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 สุพรรณบรุ ี โรงพยาบาลตากสนิ กรงุ เทพมหานครค
พัชรนิ ทร์ กสบิ ตุ ร รชั น ี ลักษิตานนท์ ป.บ.ส.,บริหารธรุ กจิ บัณฑติ (การจดั การทวั่ ไป) พย.บ,วทม. (วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต วทม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) สาขาการเจริญพนั ธ์แุ ละวางแผนประชากร) นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ สำ� นักอนามัยการเจริญพนั ธุ์ พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการ ศูนย์อนามัยท่ี 4 ราชบุรี กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุภทั รวลัย ตลงึ จิตร วไล เชตะวนั พ.บ., (เกยี รตินยิ มอันดบั 2) พ.ด. (สาขาระบาดวิทยา) ป.บ.ส., วทบ. (การพยาบาลสาธารณสุข) ว.ว. (สูตศิ าสตร์และนรีเวชวทิ ยา) Certificate Breastfeeding : Practice and policy : Institute of child อาจารย์ สาขาสูตศิ าสตร์และนรีเวชวทิ ยา หน่วยเวชศาสตรม์ ารดา Health, UK และทารก ภาควชิ าสตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวิทยา นักวชิ าการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล เชียงใหม่ ศูนย์อนามยั ท่ี 10 เชียงใหม่ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุมณรี ัตน์ อวยสวัสดิ์ วีนสั ฉัตรชลอลกั ษณ์ พย.ม. (สาขาวิชาเวชปฏบิ ัตคิ รอบครัวและชมุ ชน) ป.บ.ส. วุฒิบัตร ความช�ำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและผดงุ ครรภ์ (APN) วทม. (สาธารณสขุ ศาสตร์ สาขาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์) สาขา การพยาบาลเวชปฏิบตั ชิ ุมชน พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการ ศนู ยอ์ นามัยที่ 4 ราชบุรี พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ กลุม่ งานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลสงู เนิน จงั หวัดนครราชสมี า บุษกร แสงแกว้มลุล ี แสนใจ พย.บ.,พย.ม. (การพยาบาลผ้ใู หญ)่ วท.ม.(วทิ ยาการระบาด) นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ส�ำนกั อนามยั การเจรญิ พนั ธุ์ นักวชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพิเศษ กลมุ่ อนามยั แม่และเด็ก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ศนู ย์อนามยั ที่ 7 อุบลราชธานี กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข เอกชยั โควาวิสารัชมาลี ชยั มังคโล พ.บ., (เกยี รตนิ ิยมอนั ดับ 2) ป.ชนั้ สูง (สตู ิ - นรเี วช), สบ. อ.ว. (อนสุ าขาเวชศาสตรม์ ารดาและทารกในครรภ)์ , เจา้ พนกั งานสาธารณสขุ ชำ� นาญงาน ศูนยอ์ นามัยที่ 4 ราชบุรี อ.ว. (สาขาเวชศาสตรค์ รอบครัว) กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รองศาสตราจารย์ แพทย์ผเู้ ชยี่ วชาญทางด้านสตู ินรีเวชวทิ ยา และเวชศาสตร์มารดา และทารกในครรภ์ โรงพยาบาลราชวถิ ีวรรณดี จนั ทรศริ ิ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ คม. (คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาพัฒนาครอบครัวและสังคม) ง นกั วชิ าการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ ศนู ย์อนามยั ที่ 3 ชลบุรี กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
สารบัญ หน้า ก- ขค�ำน�ำ ค- ง จ- ฉรายนามผ้นู ิพนธ ์ 1 - 15สารบัญ 16 - 22 23 - 30บทนำ� 32 - 38 39 - 55 • สถานการณป์ ญั หาการต้ังครรภใ์ นวัยรุน่ 56 - 62 • ผลกระทบของการต้ังครรภใ์ นวัยรุ่น • ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการเข้าถึงบรกิ ารของแม่วัยรุ่น • ความส�ำคญั ในการดแู ลแม่วยั รุ่นบทที่ 1 กรอบแนวคิดการจัดบริการและการดแู ลแมว่ ยั รุน่ บทที่ 2 การบรกิ ารและการดแู ลขณะตง้ั ครรภ ์บทที่ 3 การบริการและการดแู ลระหวา่ งคลอด บทที่ 4 การบรกิ ารและการดูแลแมว่ ยั รุน่ บตุ ร และครอบครวั ระยะหลังคลอด บทท่ี 5 การตดิ ตามและประเมินผลการจดั บริการสขุ ภาพสำ� หรับแมว่ ัยรนุ่ จ
ภาคผนวก 63 - 71 • ภาคผนวก 1 การประเมินทางดา้ นสงั คมจิตวิทยาของวยั รุน่ 74 - 75 • ภาคผนวก 2 แบบฟอรม์ การประเมินทางด้านจิตสงั คม 76 - 84 • ภาคผนวก 3 แบบประเมินภาวะสขุ ภาพแม่วยั รนุ่ 86 - 91 • ภาคผนวก 4 การให้การปรึกษาวัยรนุ่ และครอบครัว 93 - 96 • ภาคผนวก 5 คำ� แนะน�ำการคุมกำ� เนดิ ในสตรวี ัยรุน่ 97 - 98 • ภาคผนวก 6 หลักเกณฑเ์ งอ่ื นไขและอตั ราการจา่ ยค่าบรกิ ารคุมก�ำเนดิ ก่ึงถาวรในวยั รนุ่ ตามแผนการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาการต้งั ครรภ์วัยรุ่น 99 - 101 ภายใต้ระบบหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 102 - 107 • ภาคผนวก 7 การทำ� ให้น�้ำนมยังคงมปี รมิ าณพอเพยี งเมื่อแมว่ ยั รนุ่ และทารกต้องแยกจากกัน 108 - 111 • ภาคผนวก 8 การสรา้ งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน • ภาคผนวก 9 รายชอื่ องคก์ รภาคีเครอื ขา่ ยท่ีให้การชว่ ยเหลอื แม่วยั รุ่นและบุตร ฉ
บทนำ� บุญฤทธิ์ สขุ รตั น์ กติ ติพงศ์ แซ่เจง็ ประกายดาว พรหมประพฒั น์สถานการณป์ ญั หาการตั้งครรภ์ในวยั รนุ่ วยั รนุ่ เปน็ ช่วงวัยของการเปลย่ี นแปลงจากวยั เดก็ สู่วยั ผ้ใู หญเ่ ป็นช่วงทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลง ทั้งดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์และสงั คม เชน่ มีอารมณร์ นุ แรง มคี วามอยากรู้ อยากทดลองสิ่งใหม่ ๆ มีพัฒนาการทางเพศมคี วามตอ้ งการทางเพศ และเรม่ิ มีเพศสมั พันธ์อกี ทง้ั การเปลีย่ นแปลงดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ เทคโนโลยีการสื่อสารที่รวดเร็วเข้าถงึ ง่าย ทำ� ให้วยั รนุ่ มที ศั นคติและพฤติกรรมทางเพศเส่ยี งสงู ยอมรับการมีเพศสมั พันธ์ในวัยรุน่ ในขณะเดยี วกนั กล็ ะเลยการปอ้ งกนั ปัญหาที่เกดิ จากการมเี พศสมั พนั ธ์ ไมว่ า่ จะเปน็ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธแ์ ละเอดส์ รวมถงึ การตง้ั ครรภซ์ งึ่ สว่ นใหญม่ กั จะเปน็ การตง้ั ครรภ์โดยไมไ่ ดต้ งั้ ใจหรอื ไมไ่ ด้มกี ารวางแผนมากอ่ น เปน็ มูลเหตนุ �ำไปสู่ปัญหาการท�ำแทง้ โดยเฉพาะการท�ำแท้งเถอ่ื นหรือการยตุ ิการต้ังครรภ์ดว้ ยวิธที ่ีไม่ปลอดภยั ข้อมูลจากระบบเฝา้ ระวงั ของส�ำนักระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค พบวา่ จ�ำนวนวยั รนุ่ ของไทยท่ีมปี ระสบการณ์การมเี พศสมั พันธเ์ พม่ิ ขึ้นอยา่ งชดั เจนจากในอดีต ทัง้ เพศหญิงและ เพศชาย (ดูรูปที่ 1) บทนำ� 1
รปู ท่ี 1 ร้อยละของวัยรุ่นทีเ่ คยมีเพศสัมพันธ์ (1) รอ้ ยละของวยั รุน่ ท่ีเคยมเี พศสัมพันธ์ เปรียบเทียบนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 กบั นกั เรยี นอาชีวะชน้ั ปีท่ี 2 นกั เรียนหญิง นกั เรียนชาย2557 18.9 47.1 2557 24.2 46.0 2556 25.9 46.22556 17.2 45.3 2555 24.8 46.1 2554 28.0 49.82555 20.2 51.1 2553 25.9 46.6 2552 24.7 44.02554 16.4 41.6 2551 24.1 43.3 2550 21.2 40.22553 15.5 41.0 2549 21.0 36.2 2548 17.7 37.52552 13.9 37.4 2547 17.8 32.02551 14.7 36.52550 12.9 34.12549 12.2 28.22548 8.7 29.72547 5.0 21.20.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 อาชีวะช้ันปีที่ 2 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 อาชวี ะชั้นปีที่ 2แหล่งขอ้ มูล: ดัดแปลงจากรายงานผลการเฝา้ ระวังพฤติกรรมท่ีสัมพันธก์ ับการตดิ เชื้อเอชไอวี กลุม่ นักเรียน ประเทศไทย พ.ศ. 2547-2557, สำ� นักระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค นอกจากร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่นจะมีแนวโน้มสูงขึ้นแล้ว ในด้านการป้องกันการต้ังครรภ์และการติดเชือ้ เอชไอวีโดยการใชถ้ งุ ยางอนามยั ถึงแมว้ ่าจะดมู ีแนวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ แต่ในช่วง 5 ปหี ลงั สดุ ก็คงทีอ่ ย่ทู ่เี พยี งประมาณรอ้ ยละ 50 ถงึ รอ้ ยละ 60 เทา่ น้นั ทงั้ ในขณะที่มีเพศสมั พนั ธค์ ร้งั แรก และการมเี พศสัมพนั ธค์ รง้ั ล่าสุดกบั แฟนหรือคนรัก(ดูรูปท่ี 2, 3)(1) ซึ่งการท่ีวัยรุ่นไทยจ�ำนวนมากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน ย่อมท�ำให้เกิดปัญหาตามมามากมายโดยเฉพาะการตง้ั ครรภ์โดยไม่ได้ต้ังใจ2 คู่มอื แนวทางปฏิบัตกิ ารดูแลแม่วยั รนุ่
รูปที่ 2 รอ้ ยละของการใช้ถุงยางอนามยั ในการมีเพศสมั พนั ธค์ รัง้ แรก รอ้ ยละของการใชถ้ งุ ยางอนามยั ในการมเี พศสัมพนั ธ์ครั้งแรก เปรียบเทียบนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 กับนกั เรียนอาชวี ะชัน้ ปีที่ 2 นกั เรยี นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 นกั เรียนอาชีวะช้นั ปีท่ี 22557 646.52.2 2557 61.22556 61.624.1 62.32555 53.546.4 2556 59.32554 51.514.1 58.82553 495.21.0 2555 56.2 54.62552 47.651.5 2554 55.0 50.02551 495.19.1 2553 49.42550 46.349.7 48.1 51.42549 42.8 48.2 2552 47.3 48.32548 39.1 46.9 2551 45.62547 30.634.8 48.3 41.32546 21.8 33.3 2550 39.0 45.22545 2278..70 43.82544 172.70.0 2549 40.0 39.42543 14.3 24.0 2548 30.42542 10.8 20.82541 11.1 21.7 2547 นักเรยี นหญิง นกั เรียนชาย นักเรียนหญงิ นกั เรียนชายแหลง่ ข้อมูล: ดดั แปลงจากรายงานผลการเฝา้ ระวังพฤติกรรมท่สี มั พันธก์ บั การติดเช้อื เอชไอวี กลมุ่ นกั เรียน ประเทศไทย พ.ศ. 2547-2557, สำ� นกั ระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค บทน�ำ 3
รูปท่ี 3 รอ้ ยละของการใชถ้ งุ ยางอนามยั ในการมเี พศสัมพนั ธค์ รงั้ ลา่ สุดกับแฟนหรือคนรกั รอ้ ยละของการใชถ้ ุงยางอนามยั ในการมีเพศสัมพันธค์ รง้ั ลา่ สุดกับแฟนหรือคนรกั เปรยี บเทียบนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กบั นักเรียนอาชีวะชัน้ ปที ี่ 2 นกั เรียนมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 นกั เรียนอาชีวะชน้ั ปีที่ 22557 68.5 2557 52.0 64.7 54.6 59.3 67.02556 67.0 2556 65.0 2555 39.6 54.22555 56.52554 43.8 2554 38.6 51.225532552 51.2 2553 34.5 43.92551 46.52550 47.9 2552 46.7 38.1 32.6 46.3 34.7 2551 31.9 42.9 44.7 2550 30.1 45.0 38.1 2549 25.8 42.6 44.1 34.62549 4477..22 2548 23.8 42.22548 7777..44 2547 23.2 22.3 นกั เรยี นหญงิ นักเรียนชาย นกั เรยี นหญงิ นักเรยี นชายแหลง่ ข้อมูล: ดดั แปลงจากรายงานผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมท่ีสัมพันธก์ ับการติดเชือ้ เอชไอวี กลุ่มนกั เรยี น ประเทศไทย พ.ศ. 2547-2557, สำ� นกั ระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค ถงึ แมว้ า่ การตงั้ ครรภ์ในวยั รนุ่ มกั จะเปน็ การตงั้ ครรภ์โดยไมไ่ ดว้ างแผนมากอ่ น และสว่ นหนง่ึ เลอื กทจ่ี ะจบการตงั้ ครรภ์ลงกอ่ นครบกำ� หนดคลอดดว้ ยการทำ� แทง้ ในแตล่ ะปกี ม็ วี ยั รนุ่ จำ� นวนมากทต่ี ง้ั ครรภแ์ ละเลอื กทจ่ี ะตง้ั ครรภต์ อ่ ไปจนคลอดและกลายเปน็ มารดาวยั รุน่ องค์การสหประชาชาตจิ ึงได้ก�ำหนดให้การลดอตั ราคลอดโดยมารดาอายุ 15-19 ปี (Adolescentbirth rate) เป็นหนึง่ ในตวั ช้วี ัดของเปา้ หมายการพฒั นาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals, MDGs)(2)4 ค่มู อื แนวทางปฏิบตั ิการดูแลแมว่ ัยรุ่น
ซึ่งสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าในรอบ 10 ปีหลัง อัตราคลอดโดยมารดาวยั รุ่นมแี นวโนม้ สูงขน้ึ จาก 31.1 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีหนงึ่ พนั คน ในปี พ.ศ. 2543 ขน้ึ มาสูงถึง 53.4 ในปี พ.ศ. 2555 และลดลงเหลือ 47.9 ในปี พ.ศ. 2557(3)(ดูรปู ที่ 4) โดยถา้ คดิ เป็นจำ� นวนแลว้ จะพบวา่ ในปัจจบุ ันประเทศไทยมีมารดาวัยรุ่นอายุต�่ำกวา่ 20 ปี ถงึ ปลี ะกว่า 120,000 คนในจ�ำนวนน้ีกว่า 3,000 คนเป็นมารดาท่ีมีอายุต�่ำกว่า 15 ปี ซึ่งเป็นวัยท่ียังไม่พร้อม ในทุกด้านในการท่ีจะเป็นมารดา(ดูตารางท่ี 1) นอกจากนแ้ี ลว้ ในกลุ่มมารดาอายุ 15-19 ปี ในแตล่ ะปีมีจ�ำนวนกว่าร้อยละ 10 หรือคิดเปน็ จ�ำนวนมากกว่า10,000 คน ท่ีเป็นการคลอดซ้ำ� หรอื เป็นการคลอดคร้ังท่ี 2 ขึ้นไป ซึ่งเป็นส่วนหนงึ่ ทแี่ สดงให้เหน็ ว่ามารดาวยั รุ่นบางสว่ นอาจจะไม่ไดร้ ับการดแู ลทด่ี พี อ ท�ำใหป้ ัญหาเกิดข้นึ ซำ�้ แลว้ ซ�้ำเล่า (ดูรปู ที่ 5) รปู ที่ 4 อัตราคลอดในวัยรนุ่ อายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2533-255770.0ัอตรา ่ตอประชากรห ิญงอา ุย 15-19 ีป 1,000 คน60.0 53.4 50.1 53.4 253350.0 47.3 48.9 50.1 51.2 253440.0 39.2 49.7 47.9 253530.0 253641.9 41.2 49.3 50.1 253740.742.8 253840.2 39.1 37.9 2539 36.0 254042.239.7 2541 2542 31.1 33.7 2543 254432.6 2545 254620.0 2547 254810.0 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557แหลง่ ขอ้ มลู : ดดั แปลงจากสถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ. 2533-2557, สำ� นกั นโยบายยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ บทนำ� 5
ตารางที่ 1 ตารางสรุปข้อมูล จำ� นวน, รอ้ ยละ และอตั ราการคลอดในวัยรนุ่ พ.ศ. 2535-2557 พ.ศ. จำ� นวน จำ� นวน จำ� นวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ อตั ราการคลอด อัตราการคลอด 2535 การคลอด การคลอด การคลอด (อายุ 10-14) (อายุ 15-19) (อายุ 10-14) (อายุ 15-19) 2536 (อายุ 10-14) (อายุ 15-19) (ท้งั หมด) 2537 1,963 123,382 964,557 0.2 12.8 0.6 40.7 2538 2,133 121,911 957,832 0.2 12.7 0.7 40.2 2539 2,106 122,406 960,248 0.2 12.7 0.7 42.8 2540 2,237 117,899 963,678 0.2 12.2 0.8 41.2 2541 1,703 113,272 944,118 0.2 12.0 0.6 39.7 2542 1,633 102,529 897,604 0.2 11.4 0.6 36.0 2543 1,761 110,996 897,495 0.2 12.4 0.6 39.1 2544 1,525 91,785 772,604 0.2 11.9 0.6 32.6 2545 1,444 86,675 773,009 0.2 11.2 0.5 31.1 2546 1,706 92,587 790,425 0.2 11.7 0.6 33.7 2547 1,641 93,554 782,911 0.2 11.9 0.7 37.9 2548 1,791 94,082 742,183 0.2 12.8 0.7 39.2 2549 2,469 110,206 813,069 0.3 13.6 1.0 47.3 2550 2,586 113,048 809,485 0.3 14.0 1.1 49.3 2551 2,545 112,509 793,623 0.3 14.2 1.1 48.9 2552 2,654 116,086 797,588 0.3 14.6 1.1 49.7 2553 2,745 118,921 784,256 0.3 15.2 1.1 50.1 2554 2,928 119,828 765,047 0.4 15.7 1.2 50.1 2555 3,074 120,115 761,689 0.4 15.8 1.4 50.1 2556 3,398 128,765 782,198 0.4 16.5 1.5 53.4 2557 3,710 128,493 780,975 0.5 16.5 1.8 53.4 3,415 121,960 748,081 0.5 16.3 1.7 51.2 3,213 112,277 711,805 0.5 15.8 1.6 47.9 แหลง่ ขอ้ มูล: ดัดแปลงจากสถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ. 2535-2557, ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ6 คมู่ ือแนวทางปฏบิ ตั กิ ารดแู ลแม่วยั รนุ่
รปู ท่ี 5 จำ� นวนและรอ้ ยละการคลอดซำ้� ในมารดาอายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2546-25572557 14,338 (12.8) 112,2772556 15,294 (12.5) 121,9602555 15,440 (12.0) 128,4932554 15,229 (11.8) 128,7652553 13,611 (11.3) 120,1152552 13,741 (11.5) 119,8282551 13,578 (11.4)2550 13,056 (11.2) 118,9212549 12,781 (11.4) 116,0862548 12,266 (10.9) 112,5092547 11,476 (10.4) 113,0482546 10,281 (20.8) 110,206 94,8020.0 30,000 60,000 90,000 120,000 คลอดครั้งแรก คลอดซ�ำ้ (ร้อยละ)แหล่งข้อมลู : ทะเบยี นเกดิ ส�ำนักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง วเิ คราะห์โดย ส�ำนักอนามัยการเจริญพนั ธุ์ กรมอนามัย ทางกระทรวงสาธารณสขุ ไดก้ ำ� หนดใหป้ ญั หาการตงั้ ครรภ์ในวยั รนุ่ เปน็ ปญั หาหลกั ทตี่ อ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข และตง้ั เปา้ หมายทจ่ี ะลดอตั ราการคลอดในวยั ร่นุ อายุ 15-19 ปีใหเ้ หลือตำ�่ กว่า 50 ตอ่ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี หน่ึงพันคน จากการวเิ คราะห์ข้อมูลรายจงั หวดั และรายเขตสุขภาพ พบว่าปัญหาการตง้ั ครรภ์ในวยั รุน่ นน้ั กระจายไปท่วั ประเทศ และจำ� เป็นต้องได้รบั ความร่วมมอื จากทกุ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการแก้ไขปัญหา (ดรู ปู ที่ 6, 7) บทน�ำ 7
รูปที่ 6 อัตราการคลอดในวัยร่นุ อายุ 15-19 ปี แยกรายจงั หวดั พ.ศ. 2557 อตั ราการคลอดในวัยรุ่น15-19 ปี 1,000 คน มากกวา่ 75.0 50.0 - 74.9 25.0 - 49.00 นอ้ ยกว่า 25.0 แหล่งข้อมลู : ทะเบียนเกดิ ส�ำนกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง วิเคราะห์โดยสำ� นกั อนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามยั8 คู่มอื แนวทางปฏบิ ตั ิการดูแลแม่วัยรนุ่
รปู ท่ี 7 อตั ราการคลอดในวัยรนุ่ อายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทย แบง่ ตามเขตสขุ ภาพ70.0 61.4ัอตรา ่ตอประชากรห ิญงอายุ 15-19 ีป 1,000 คน60.048.1 52.5 49.4 56.0 เขต 150.0 49.2 49.5 52.1 47.9 เขต 2 เขต 340.0 35.142.3 43.5 42.3 43.5 เขต 4 เขต 530.0 เขต 6 เขต 720.0 เขต 8 เขต 910.0 เขต 100.0 เขต 11 เขต 12 ก ุรงเทพฯ ประเทศไทย แหล่งขอ้ มูล: ทะเบยี นเกดิ สำ� นกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง, วเิ คราะห์โดยสำ� นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ กรมอนามยัผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวยั รนุ่ วัยรนุ่ เปน็ วัยท่สี ดใส รา่ เริง เป็นวยั ศกึ ษาเล่าเรยี น ส่วนใหญว่ ยั รุ่นมกั อยากอยู่ในช่วงวัยรุ่นนาน ๆ วัยรุ่นกา้ วสูก่ ารเป็นแม่ก่อนวัยอันสมควร จะมีแม่วัยรุ่นที่มีความพร้องและไม่มีความพร้อมรับสภาพการเป็นแม่วัยรุ่นซึ่งผลจากการต้ังครรภ์และคลอดบตุ รก่อนวัยอันควรนี้ ส่งผลกระทบที่ยงิ่ ใหญต่ อ่ ตัววยั รนุ่ ทตี่ ั้งครรภท์ ้ังด้านรา่ งกายและจิตใจและสง่ ตอ่ ไปยงั ลกู ที่เกดิ ใหม่มีผลกระทบต่อด้านสังคมที่ท�ำให้เกิดแม่เลี้ยงเด่ียว แม่วัยรุ่นออกจากระบบการศึกษาก่อนวัย ทั้งยังส่งผลต่อภาระการใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในภาพรวมอกี ดว้ ย บทน�ำ 9
ผลกระทบด้านสขุ ภาพรา่ งกายและจติ ใจ การตั้งครรภ์ในวยั ร่นุ จะมโี อกาสสงู ท่จี ะเป็นการตง้ั ครรภ์โดยไม่ไดม้ กี ารวางแผนมากอ่ น ทำ� ให้กลุ่มทย่ี งั ไมพ่ ร้อมที่จะต้ังครรภ์ต่อไป พยายามหาทางยุติการตั้งครรภ์ ในกลุ่มท่ีไม่สามารถเข้าถึงบริการยุติการต้ังครรภ์ที่ปลอดภัยได้ก็จะมีโอกาสไปท�ำแท้งเถ่ือนหรือหาทางยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ส่งผลให้มีความเส่ียงท่ีจะเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำ� แทง้ ที่ไม่ปลอดภัย ส่วนในกลุม่ ทเี่ ลอื กตงั้ ครรภต์ อ่ ไปเนอ่ื งจากการเจริญเติบโตด้านร่างกายของแม่วัยร่นุ ยังไม่เตม็ ท่ี จงึ มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการตง้ั ครรภส์ ูงกวา่ การตงั้ ครรภ์ในวยั ผใู้ หญ่ รวมทัง้ ปัจจยั ดา้ นจติ ใจ อารมณ์และสังคม ที่ต้องเปลี่ยนบทบาทจากเด็กหญิงมาเป็นแม่ท่ีต้องรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ในทันที มักประสบกับความเครียดและโรคซึมเศร้า เนื่องจากไม่ได้มีการเตรียมตัวส�ำหรับการใช้ชีวิตครอบครัวและเป็นแม่ ถือว่าเป็นภาวะวิกฤตท่ีเกิดข้ึนโดยไม่ได้มีความพร้อม ท้ังร่างกายและจิตใจ ขาดวุฒิภาวะในการเป็นพ่อแม่ และส่วนใหญ่เป็นการตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผนท่ีจะตั้งครรภ์ ไม่ได้ฝากครรภ์หรือฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์มาก ๆ เป็นเหตุให้ไม่ได้รับการดูแลท่ีดีระหว่างการต้ังครรภท์ เ่ี หมาะสม ภาวะเสีย่ งหรอื โรคประจำ� ตัวบางอย่างไมไ่ ด้รบั การดแู ลแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นท่เี กิดขึ้นในระหว่างต้ังครรภ์ไม่ได้รับการวินิจฉัยต้ังแต่เร่ิมแรก ท�ำให้อาจส่งผลกระทบด้านสุขภาพ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ต้ังแต่ในระยะการต้ังครรภ์ คลอด หลังคลอด การตั้งครรภ์ในแม่วัยรุ่นจึงเป็นการต้ังครรภ์เสี่ยงสูง (high risk pregnancy)รวมถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพของทารกแรกเกิด มีการศึกษาจ�ำนวนมากที่แสดงให้เห็นถึงการเพ่ิมความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซอ้ นตา่ ง ๆ ในขณะตงั้ ครรภ์ ทงั้ ในชว่ งกอ่ นคลอดและหลงั คลอด ผลการศกึ ษาเหลา่ นอ้ี าจจะมคี วามแตกตา่ งกนั บา้ งองค์การอนามัยโลกได้เคยท�ำการทบทวนวรรณกรรม และสรุปเกี่ยวกับผลของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นว่าเพ่ิมความเส่ียงท่ีจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้(4) ภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ เอชไอวี/เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ภาวะตกเลือดหลังคลอด ภาวะป่วยทางจิต นอกจากน้ีการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังมีผลต่อสุขภาพทารกในครรภ์ โดยเพ่ิมความเสย่ี งตอ่ ทารกเสียชวี ติ หลงั คลอดภายใน 7 วนั ทารกเสียชีวติ หลังคลอดภายใน 42 วัน ทารกคลอดก่อนกำ� หนดทารกแรกเกดิ น�้ำหนักต�่ำกว่า 2,500 กรมั และทารกมีความผดิ ปกติแตก่ �ำเนดิ ในขณะเดยี วกนั การต้ังครรภ์ในวยั รุ่นก็ลดความเสย่ี งตอ่ การผา่ ทอ้ งทำ� คลอด และการตกเลอื ดกอ่ นคลอด สว่ นผลลพั ธข์ องการตงั้ ครรภท์ เ่ี ราเคยคดิ วา่ การตง้ั ครรภ์ในวัยรนุ่ จะท�ำให้ความเส่ียงเพ่มิ ขึ้น เชน่ การตายของมารดา ภาวะความดนั โลหติ สงู ในขณะตั้งครรภ์ ระยะเวลาในการคลอด10 คู่มอื แนวทางปฏิบตั กิ ารดูแลแมว่ ัยรนุ่
ยาวนาน หรือทารกเกิดไร้ชีพ กลับพบวา่ การตง้ั ครรภ์ในวัยร่นุ ไมไ่ ดเ้ พม่ิ ความเสี่ยงเหลา่ น้ี ในบางผลลพั ธ์ของการต้งั ครรภ์ การศกึ ษาทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ทำ� ใหย้ งั ไมส่ ามารถสรปุ ไดว้ า่ มคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งไรกบั การตง้ั ครรภ์ในวยั รนุ่ เชน่ ภาวะขาดสารอาหารของมารดา การฆา่ ตวั ตายของมารดา ทารกเสยี ชวี ติ หลงั คลอดภายใน24 ชวั่ โมง และทารกแรกเกดิ นำ�้ หนกั ตำ�่ กวา่ เกณฑต์ ามอายคุ รรภ์(ดตู ารางที่ 2)ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคมพบว่า มารดาวัยรุ่นจะมีโอกาสสูงที่จะหยุดการศึกษากลางคันหรือเรียนไม่จบเนอ่ื งจากในหลาย ๆ ประเทศการตง้ั ครรภ์ในขณะทเ่ี ปน็ นกั เรยี นยงั ไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั เปน็ เรอ่ื งนา่ อบั อาย ทำ� ใหห้ ญงิ วยั รนุ่ ทต่ี ง้ั ครรภ์ถกู บังคบั ทงั้ ทางตรงหรือทางอ้อมใหอ้ อกจากโรงเรยี น ซึ่งมีการออกจากโรงเรียนกลางคันถงึ รอ้ ยละ 30(5) ทางกองทุนเพอ่ื เด็กแหง่ สหประชาชาตไิ ดส้ รปุ ความสมั พนั ธข์ องอายมุ ารดาเมอื่ คลอดบตุ รคนแรกกบั ฐานะทางเศรษฐกจิ และสงั คมหลงั จากคลอดบตุ รและพบว่า เม่ือเปรียบเทียบกบั มารดาท่ีคลอดบุตรคนแรกหลังอายุ 20 ปี มารดาท่คี ลอดบตุ รคนแรกขณะอายุ 15-19 ปีจบการศึกษาระดับมัธยมปลายร้อยละ 51 เท่านน้ั ในขณะท่มี ารดาทค่ี ลอดบุตรคนแรกหลังอายุ 20 ปี จบการศึกษา อยา่ งนอ้ ยระดับมัธยมปลายถึงร้อยละ 89(5) ส่งผลให้หญิงวัยรุ่นเหล่าน้ีมีระดับการศึกษาต่�ำกว่าท่ีควรจะเป็น ท�ำให้เสียโอกาสในการทำ� งานทด่ี ีหรือแมก้ ระทัง่ ตกงาน จากการศึกษาเดยี วกันยงั พบอีกว่ามมี ารดาวัยรนุ่ ตกงานสงู ถงึ ถึงร้อยละ 59 และรอ้ ยละ 45มรี ายได้เฉล่ยี อยู่ในกลมุ่ ที่มีรายไดเ้ ฉลีย่ ต�่ำท่สี ดุ ของประเทศ(6) (ดูตารางท่ี 3) ซ่งึ เหล่านท้ี ำ� ให้เปน็ ภาระของครอบครวั สงั คมตลอดจนประเทศชาติต่อไป นอกจากนี้ เด็กท่ีเกิดจากมารดาวัยรุ่นยังมีความเส่ียงที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมกับสารเสพติดอาชญากรรม ความรุนแรงในรปู แบบต่าง ๆ โดยพบว่า ร้อยละ 50-60 ของมารดาวยั ร่นุ เคยถกู กระท�ำความรนุ แรงทางเพศหรอืทางรา่ งกาย(7) ส�ำหรับประเทศไทยยงั ไม่มขี ้อมูลภาพรวมผลกระทบทางดา้ นสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม โดยการศึกษาท่มี ีส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาวิจัยเก่ียวกับผลกระทบทางด้านสุขภาพในแต่ละพ้ืนที่ท่ีท�ำการศึกษา หรือเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพซง่ึ อาจจะยังไม่สามารถสะท้อนภาพรวมของประเทศได้ชดั เจน บทนำ� 11
ตารางที่ 2 สรปุ ผลการศกึ ษาทผ่ี ่านมาเกี่ยวกับผลของการต้ังครรภ์ในวยั รุ่นกับผลกระทบทางดา้ นสขุ ภาพ(4)ปญั หาสขุ ภาพ จำ� นวนการศึกษา ข้อสรปุ เพิม่ ความเสี่ยง ไม่มผี ล ลดความเสี่ยง รวมพฤตกิ รรมสขุ ภาพการสูบบหุ ร่ี 5 1 - 6 เพิม่ ความเสีย่ งสารอาหาร 1 - - 1 ยังสรุปไม่ได้ปญั หาสขุ ภาพทีอ่ าจส่งผลกบั ผลลัพธ์ของการต้งั ครรภ์ภาวะซีดหรอื โลหิตจาง 15 8 - 23 เพมิ่ ความเสี่ยงเอชไอว/ี เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ 2 - - 2 เพ่ิมความเสี่ยงผลตอ่ สขุ ภาพมารดาการตายของมารดา 5 6 2 13 ไมเ่ พม่ิ ความเสี่ยงภาวะแทรกซอ้ นจากการแท้ง 20 - - 20 เพิม่ ความเสี่ยงภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ ์ 10 11 - 21 ไม่เพมิ่ ความเสี่ยงระยะเวลาในการคลอด 3 4 1 8 ไมเ่ พ่ิมความเสย่ี งการผ่าทอ้ งทำ� คลอด 2 10 17 29 ลดความเสีย่ งตกเลือดกอ่ นคลอด 2 3 3 8 ลดความเส่ยี งตกเลอื ดหลังคลอด 3 5 - 8 เพ่มิ ความเสย่ี งมภี าวะผดิ ปกตทิ างจิต 2 - 1 3 เพิม่ ความเสยี่ งฆ่าตัวตาย 1 - - 1 ยงั สรปุ ไม่ได้ผลตอ่ สุขภาพทารกในครรภ์ทารกเกิดไร้ชพี 9 14 2 25 ไมเ่ พ่ิมความเส่ียงทารกเสียชีวติ หลงั คลอดภายใน 24 ชั่วโมง 2 4 - 6 ยังสรุปไมไ่ ด้ทารกเสยี ชวี ติ หลังคลอดภายใน 7 วนั 18 9 - 27 เพม่ิ ความเสย่ี งทารกเสียชีวติ หลังคลอดภายใน 42 วนั 12 4 - 16 เพ่ิมความเสย่ี งทารกคลอดกอ่ นก�ำหนด 45 16 - 61 เพ่ิมความเสีย่ งทารกแรกเกดิ นำ�้ หนักตำ�่ กว่าเกณฑ์ 37 14 - 51 เพิ่มความเสี่ยงทารกแรกเกดิ นำ�้ หนักตำ่� กว่าเกณฑ์ตามอายคุ รรภ์ 10 5 - 15 ยงั สรปุ ไม่ได้ทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจน 9 10 - 19 ไมเ่ พิ่มความเสยี่ งทารกมีความผดิ ปกตแิ ต่กำ� เนดิ 5 4 - 9 เพ่มิ ความเสย่ี ง12 คมู่ ือแนวทางปฏิบตั กิ ารดแู ลแมว่ ัยรุ่น
ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมภายหลังการคลอดของวยั ร่นุ อายุ 15-19 ปี กบั กลุม่ อายุ 20 - 29 ปี ในกลมุ่ ประชาคมยโุ รป(6) ผลกระทบ (รอ้ ยละ)ประเทศ ระดับการศึกษา ไมม่ งี านทำ� ไม่มคี ู่ ท้งั สามีและภรรยา อยู่ในกลุ่มร้อยละ 20 ต�่ำกวา่ มธั ยมปลาย 15-19 20-29 ไม่มีงานทำ� ที่มีรายไดต้ ่ำ� ทีส่ ดุเนเธอแลนด ์ 15-19 20-29 53 42 อติ าลี 64 54 15-19 20-29 15-19 20-29 15-19 20-29สเปน 50 22 70 66 13 7 31 7 78 26เดนมาร์ก 77 52 46 25 15 3 18 5 36 20ฟนิ แลนด ์ 80 59 42 27 20 7 27 12 35 22ฝรงั่ เศส 65 17 61 35 16 12 22 6 24 8เบลเยีย่ ม 24 9 55 27 11 5 13 8 29 17กรซี 62 24 61 55 16 10 18 6 51 18เยอรมนั 52 22 60 36 24 8 32 7 45 19ออสเตรีย 74 35 30 31 4 6 6 6 30 17ไอร์แลนด์ 57 24 69 51 18 10 24 5 54 21โปรตุเกส 52 23 37 32 13 12 6 4 31 24องั กฤษ 73 37 61 37 42 14 46 14 41 23รวมทกุ ประเทศ 92 78 59 41 15 7 8 4 26 16(คา่ เฉลี่ย) 65 37 39 15 43 14 53 23ความแตกตา่ ง 67 34 18 23 19 26 8 45 21(ร้อยละ) 33 4 18 24 บทนำ� 13
ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การเขา้ ถงึ บริการของแมว่ ยั รุ่น 1. ปัจจัยจากแม่วยั รุน่ • ไมม่ ีความรใู้ นการดูแลตนเอง ไม่ได้เตรยี มพร้อมระหวา่ งตั้งครรภน์ ำ� ไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อน ตกเลอื ด ติดเช้ือตลอดจนการเจบ็ ปว่ ยและเสยี ชวี ติ ได้ในที่สดุ • ขาดความตระหนัก ขาดประสบการณ์ในการตั้งครรภ์และวฒุ ภิ าวะน้อย • ส่วนใหญเ่ ป็นการตัง้ ครรภท์ ี่ไม่ได้ตง้ั ใจหรือไมต่ ้องการ มคี วามเสยี่ งสูงตอ่ การแทง้ หรือการทำ� แท้ง ซ่งึ น�ำไปสู่ ปัญหาการไม่ไดฝ้ ากครรภต์ ามนัดหมาย หรอื หลีกเล่ียงทีจ่ ะไปสถานบริการสขุ ภาพใกล้บา้ น เพราะต้องการ ปกปิดจากผูป้ กครอง คนรจู้ กั • บางรายอาจตั้งครรภจ์ ากการถกู ข่มขืน หรือกระท�ำช�ำเรา • การตง้ั ครรภ์ที่ไมไ่ ดร้ ับการยอมรบั ทำ� ใหอ้ บั อาย ไมก่ ลา้ มาฝากท้อง • ตอ้ งการความเป็นส่วนตวั และรักษาความลับในการฝากครรภ์และการดแู ลมากกวา่ ปกติ • มีปัญหาค่าใช้จ่ายในการเข้ารบั บรกิ าร 2. สถานบริการสาธารณสขุ • ไมเ่ อื้อตอ่ การเขา้ ถงึ บรกิ ารอนามัยการเจริญพันธ์ุท่ีเปน็ มิตรสำ� หรับแมว่ ัยรุน่ • ทัศนคตขิ องผู้ใหบ้ รกิ ารยังมองแมว่ ยั รุ่นในเชิงตำ� หนิ ท�ำใหแ้ ม่วยั รุ่นไม่ไว้วางใจ • การจัดบรกิ ารสำ� หรบั แม่วยั ร่นุ ไม่ครบวงจร ตง้ั แตก่ ารฝากครรภ์ การคลอด และการดูแลหลงั คลอดรวมถึง การคุมก�ำเนิดที่ไม่เหมาะกับแม่วัยรุ่น และไม่มีการติดตามดูแลต่อเน่ืองและการส่งต่อไปยังหน่วยงาน ท่ีเกีย่ วข้องในการดูแลช่วยเหลือความสำ� คัญในการดแู ลแมว่ ัยรนุ่ สถานการณก์ ารตงั้ ครรภ์ในวยั รนุ่ ทมี่ อี ตั ราเพม่ิ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและแมว่ ยั รนุ่ มอี ายนุ อ้ ยลงเรอื่ ย ๆ เปน็ ความสำ� คญัต่อระบบบริการสาธารณสุขท่จี ะต้องมกี ระบวนการให้บรกิ ารดแู ลเฉพาะแบบองค์รวม เช่ือมโยงครบวงจรทง้ั ในโรงพยาบาลและในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ท้ังตัววัยรุ่น ครอบครัว สถานศึกษา บุคลากรทางการแพทย์ หน่วยงาน14 คู่มือแนวทางปฏบิ ัตกิ ารดแู ลแม่วัยรนุ่
ภาครัฐ และองค์กรเอกชนต่าง ๆ ในชมุ ชน จ�ำเป็นตอ้ งให้ความสำ� คญั ตง้ั แต่การปอ้ งกนั การมีเพศสมั พนั ธ์กอ่ นวยั อนั ควร การคมุ กำ� เนดิ ระบบบริการชว่ ยเหลอื ส�ำหรบั แมว่ ัยรุ่น และการป้องกันการต้งั ครรภ์ซ�้ำ ซึ่งส่งิ เหล่าน้ีเปน็ บทบาทสำ� คัญท่ีบุคลากรสาธารณสขุ ทจี่ ะเป็นผ้นู ำ� หรอื รเิ ร่มิ ในการสร้างความเชอ่ื มโยง ในการใหค้ วามส�ำคัญและยดึ หลักมาตรฐานการให้บรกิ ารสุขภาพที่เป็นมิตรส�ำหรับวัยรุ่นและเยาวชน เพื่อช่วยลดทอนปัญหาท่ีเน่ืองมาจากการท่ีแม่วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ เช่น การท�ำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากการต้ังครรภ์และการคลอด รวมทั้งการช่วยลดผลกระทบ ต่อภาระการท�ำงานดา้ นสาธารณสขุ ภาระสังคมและภาระค่าใชจ้ ่ายของรฐั ในระยะยาวเอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค. รายงานผลการเฝา้ ระวงั พฤตกิ รรมทสี่ มั พนั ธก์ บั การตดิ เชอ้ื เอชไอวี กลมุ่ นกั เรยี น ประเทศไทย พ.ศ. 2541-2557: สำ� นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค. 2. United Nations. Official list of MDG indicators.2008 [cited 2013 November 25]. Available from: http://mdgs. un.org/unsd/mdg/resources/attach/indicators/officiallist 2008.pdf. 3. สำ� นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . สถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ. 2533-2557: สำ� นกั นโยบาย และยุทธศาสตร์ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ . 4. Department of Making Pregnancy Safer. Position paper on mainstreaming adolescent pregnancy in efforts to make pregnancy safer. Geneva : World Health Organization ; 2010. 5. The National Campaign to Prevent Teen pregnancy. Teen Pregnancy and Education 2010 August 14, 2012. Available from : http://www.thenationalcampaign.org/why-it-matters/pdf/education.pdf. 6. UNICEF. ‘A league table of teenage births in rich nations’, Innocenti Report CardNo.3. Florence: UNICEF Innocenti Research Centre ; 2001. 7. The National Campaign to Prevent Teen pregnancy. Teen Pregnancy and Violence 2010 August 14, 2012. Available from : http://www.thenationalcampaign.org/why-it-matters/pdf/education.pdf. บทน�ำ 15
กรอบแนวคดิ การจดั บบรทกิทาี่ 1รและการดแู ลแม่วัยรุ่น บุญฤทธิ์ สขุ รัตน์ ประกายดาว พรหมประพฒั น์ วรรณดี จันทรศริ ิ มาลี ชยั มงั คโล สถานการณก์ ารตงั้ ครรภ์ในวยั รนุ่ ทม่ี อี ตั ราเพมิ่ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและแมว่ ยั รนุ่ มอี ายนุ อ้ ยลงเรอ่ื ย ๆ เปน็ ความสำ� คญัต่อระบบบริการสาธารณสขุ ที่จะตอ้ งมกี ระบวนการให้บริการดแู ลเฉพาะแบบองค์รวม เชือ่ มโยงครบวงจรท้งั ในโรงพยาบาลและในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ทั้งตัววัยรุ่น ครอบครัว สถานศึกษา บุคลากรทางการแพทย์ หน่วยงานภาครฐั และองคก์ รเอกชนต่าง ๆ ในชมุ ชน จำ� เป็นต้องให้ความสำ� คัญตั้งแต่การปอ้ งกันการมเี พศสัมพันธก์ ่อนวยั อันควรการคุมก�ำเนิด ระบบบริการชว่ ยเหลือสำ� หรบั แม่วัยรุ่น และการป้องกนั การตงั้ ครรภ์ซ�้ำ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้เี ปน็ บทบาทส�ำคัญที่บุคลากรสาธารณสุขที่จะเป็นผู้น�ำหรือริเร่ิมในการสร้างความเช่ือมโยง ในการให้ความส�ำคัญและยึดหลักมาตรฐานการให้บริการสุขภาพท่ีเป็นมิตรส�ำหรับวัยรุ่นและเยาวชน เพ่ือช่วยลดทอนปัญหาที่เน่ืองมาจากการที่แม่วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ เช่น การท�ำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากการตั้งครรภ์และการคลอด รวมท้ังการช่วยลดผลกระทบต่อภาระการทำ� งานด้านสาธารณสขุ ภาระสังคมและภาระค่าใชจ้ ่ายของรฐั ในระยะยาว กรมอนามยั โดยสำ� นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ เลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของปญั หาแมว่ ยั รนุ่ ทม่ี คี วามรนุ แรงและเพมิ่ มากขนึ้จึงไดจ้ ดั ท�ำคู่มอื แนวทางปฏบิ ตั ิการดแู ลแมว่ ัยรนุ่ ขน้ึ โดยมีวตั ถุประสงค์ให้บุคลากรสาธารณสุขทีป่ ฏิบัติงานในโรงพยาบาลสถานบริการสาธารณสขุ ทุกระดบั ใช้เปน็ แนวทางในการจัดบรกิ ารแม่วยั รุ่นและบุตร ใหไ้ ดร้ บั บรกิ ารสขุ ภาพท่ีมีมาตรฐานแบบองค์รวมและเป็นมิตรโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว เชื่อมโยงครบวงจร ท้ังในโรงพยาบาลและชุมชน รวมท้ังหนว่ ยงานองคก์ รภาคีเครอื ข่ายทเี่ กี่ยวข้องเพื่อใหเ้ กิดการผลลัพธก์ ารดูแลทม่ี ีคุณภาพมาตรฐาน ดังตอ่ ไปนี้ 1. ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ คลอดและหลงั คลอด ลดลง 2. ปอ้ งกนั และลดการตงั้ ครรภ์ซ�ำ้ ในช่วงวยั รุน่ รวมทั้งสง่ เสรมิ การคมุ ก�ำเนิดในแมว่ ัยรุน่16 คู่มือแนวทางปฏิบตั ิการดูแลแม่วยั รนุ่
3. แม่วัยรุ่นท่มี ปี ญั หาไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลืออยา่ งเหมาะสม ครบวงจรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และหนว่ ยงาน ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 4. สง่ เสรมิ การปรับตวั ของแม่วัยรนุ่ ครอบครวั และเสริมสร้างการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน 5. ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของครอบครวั สามี ญาติ ในการดแู ลแมว่ ยั รุ่นใหม้ สี ขุ ภาพร่างกาย และจติ ใจทดี่ ที ง้ั แมแ่ ละลกู 6. รอ้ ยละของเดก็ แรกเกิด - ต�ำ่ กวา่ 6 เดอื น กินนมแม่อย่างเดยี ว เพิ่มขึ้น 7. ร้อยละของเดก็ มีพัฒนาการสมวยั เพิ่มขึ้น 8. อตั ราการคลอดก่อนก�ำหนด และทารกแรกเกิดนำ้� หนักนอ้ ย ลดลง 9. แมว่ ยั รุ่นมพี ฤตกิ รรมการมีเพศสมั พันธ์ทปี่ ลอดภัย 10. แมว่ ัยรนุ่ มอี ตั ราการทอดทิ้งบตุ ร ลดลง 11. คณุ ภาพชวี ติ แม่วัยร่นุ ดีข้นึ การหย่าร้างในแม่วัยรุ่น ลดลงกลุ่มเปา้ หมายของการใช้คู่มอื ฯ 1. เจา้ หนา้ ท่ผี ้ใู หบ้ รกิ ารทกุ หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งในการดแู ลแมว่ ยั รุ่นอายนุ อ้ ยกว่า 20 ปี รวมทั้งบตุ รของแมว่ ยั รุ่น สามี และครอบครัว/ชมุ ชน 2. สำ� นักงานสาธารณสขุ จงั หวัด 3. โรงพยาบาล /สถานบริการสาธารณสขุ ทุกระดับขอบเขตของการดูแลแมว่ ยั รุน่ การใหบ้ ริการดูแลแมว่ ยั รุ่นอายุน้อยกวา่ 20 ปี ตั้งแตร่ ะยะต้งั ครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลงั คลอด อยา่ งเป็นองค์รวมและมีคณุ ภาพ ทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคม ส่งเสริมการเลี้ยงลกู ด้วยนมแมแ่ ละการคมุ ก�ำเนิดเพ่ือป้องกนั การตง้ั ครรภซ์ ้�ำและป้องกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ รวมไปถึงการใหค้ รอบครัวมสี ่วนรว่ ม และบทบาทดแู ลชว่ ยเหลอื ใหก้ ำ� ลงั ใจ ตลอดจนการติดตามดูแลต่อเน่ืองและส่งต่อชุมชน หน่วยงานองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน มูลนิธิ เพื่อให้การช่วยเหลือ ซ่งึ แม่วัยรนุ่ อาจจำ� เป็นต้องไดร้ บั การจัดที่อยพู่ กั พงิ ในระหวา่ งการตงั้ ครรภ์ คลอด หลงั คลอด กรณีทอ่ี ยูก่ บั กรอบแนวคิดการจดั บริการและการดแู ลแม่วยั รนุ่ 17
ครอบครวั ไมไ่ ด้ การช่วยเหลือคา่ ใชจ้ ่ายในการฝากครรภ์ การคลอด การคมุ ก�ำเนดิ หลงั คลอด การดูแลหลังคลอดรวมทั้งการรับเป็นบุตรบุญธรรม ในกรณีไม่สามารถเล้ียงบุตรด้วยตนเอง และส่งเสริมให้แม่วัยรุ่นสามารถปรับตัวในสังคมการวางแผนชีวิต การกลับเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา โดยความรว่ มมอื จากโรงเรยี น ความสมั พนั ธ์ในชีวิตคู่ การมีอาชพี และการหารายได้ทพ่ี อเพียงในการด�ำรงชีวติ โดยมกี รอบแนวคดิ การจดั บริการแมว่ ัยรุ่น (ดูรูปท่ี 8) และแผนภูมิการจัดบรกิ ารแมว่ ยั รนุ่ ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ (ดูรปู ที่ 9)รปู ท่ี 8 กรอบแนวคดิ การจดั บริการและการดูแลแม่วยั รนุ่ กจิ กรรมการใหบ้ ริการที่เปน็ มิตรโดยการมสี ่วนร่วม แม่วยั รุ่น ของครอบครวั ชุมชน และภาคส่วนตา่ งๆ 1. ลดภาวะแทรกซอ้ นจากการตงั้ ครรภ์ ทง้ั ระยะกอ่ นคลอด, ขณะคลอด และหลงั คลอด• การให้บริการระหวา่ งตัง้ ครรภ์ (pregnancy care) - ทารกแรกคลอดนำ�้ หนักตำ่� กวา่ 2,500 กรัม• การใหบ้ รกิ ารระหว่างคลอด (childbirth care) - ทารกเกิดกอ่ นกำ� หนด• การให้บรกิ ารหลงั คลอด (postpartum maternal care) - ภาวะเครยี ด, ซมึ เศร้า• การวางแผนครอบครัวและการคมุ กำ� เนดิ (Family planning) 2. รอ้ ยละของเดก็ แรกเกิด - ต�ำ่ กว่า 6 เดอื น กินนมแม่อยา่ งเดยี ว เพม่ิ ข้นึ• การดูแลทารกแรกเกิด (immediate newborn care) 3. รอ้ ยละของการตงั้ ครรภซ์ ำ�้ ในวยั รนุ่ ลดลง• การดูแลทารกหลังคลอด (postnatal newborn care) 4. แม่วัยรนุ่ ได้รบั การดแู ลช่วยเหลืออยา่ งเหมาะสม• การดแู ลตอ่ เนอื่ งและการสง่ ตอ่ (referal system) 5. แมว่ ัยรุน่ มีเพศสมั พนั ธ์อยา่ งปลอดภัย• การใหค้ ำ� ปรึกษาและดูแลด้านจิตสงั คม (psychosocial care) 6. แมว่ ยั รุ่นมีอัตราการหยา่ ร้างลดลง 7. แมว่ ัยรุ่นมีคณุ ภาพชวี ิตโดยรวมดขี ้ึน หลกั การให้บรกิ าร1. การดูแลตามมาตรฐานบริการสขุ ภาพท่ีเปน็ มิตรส�ำหรับวัยรุน่ และเยาวชน (Youth Friendly Health Services : YFHS) โดยการเชื่อมโยงทง้ั ภายใน และภายนอกโรงพยาบาล2. แนวทางการดูแลหญิงมคี รรภ์ทมี่ ปี จั จัยเส่ียงสงู /มาตรฐานงานอนามยั แมแ่ ละเดก็3. ระบบบรกิ ารทค่ี �ำนึงถึงการรกั ษาความลับ ความเป็นสว่ นตวั ไม่ตตี รา เปน็ องคร์ วมและครบวงจร4. การมสี ่วนร่วมของครอบครัว/ชมุ ชน5. พัฒนาและปรบั ปรุงระบบบรกิ ารท่เี ป็นมติ รอยา่ งต่อเนอ่ื งและมคี ุณภาพ18 คู่มอื แนวทางปฏบิ ตั ิการดูแลแม่วัยรุ่น
รูปท่ี 9 แผนภมู กิ ารจดั บริการแม่วยั รุ่นในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ แม่วยั รนุ่ คลินิกวัยรนุ่ one stop service - ประเมินคัดกรอง - การใหก้ ารปรกึ ษา - ส่งต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ที่ให้บริการยตุ กิ ารต้งั ครรภ์ ทีป่ ลอดภัย - นดั หมายเพือ่ การดูแลพร้อม ไมพ่ รอ้ ม ทำ� ไม่ได้ ต่อเนอื่ ง • ให้การปรึกษาทางเลอื ก ตอ้ งการยุติ • การประเมินด้านจิตสังคม การตัง้ ครรภ์ ตัง้ ครรภ์ต่อ ทำ� ได้ ให้การปรึกษาวางแผนครอบครัว ยุติการ และการคุมก�ำเนดิ เพ่อื ป้องกนั ต้ังครรภ์ ตงั้ ครรภ์ซ้ำ� คลนิ กิ ฝากครรภ์ / ห้องคลอด / หลังคลอด การดแู ลตอ่ เนือ่ งหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง หนว่ ยบริการสขุ ภาพ ครอบครวั /ชุมชน หน่วยงาน/องค์กร/ภาคเี ครือขา่ ย- คลนิ กิ สขุ ภาพเด็กดี (ดูภาคผนวก 8) ดา้ นสังคมที่เกีย่ วข้อง- คลินกิ นมแม่ (ดูภาคผนวก 8)- คลินิกวางแผนครอบครัว คลนิ ิกใหก้ ารปรกึ ษา กรอบแนวคดิ การจดั บริการและการดูแลแม่วัยรุ่น 19
นยิ ามศพั ท์ในแผนภมู ิการจัดบริการแมว่ ัยรนุ่ ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข 1. คลินกิ วัยรุ่น หมายถึง คลินกิ ทมี่ บี ริการสุขภาพทีเ่ ปน็ มติ รสำ� หรับวัยรนุ่ และเยาวชน (Youth Friendly HealthServices) เป็นการจัดรูปแบบบริการท่ีมีความเป็นมิตร ค�ำนึงถึงความต้องการของวัยรุ่นและความพร้อมของโรงพยาบาลเปน็ หลกั ภายในคลนิ กิ ควรมพี น้ื ที่กวา้ งพอสำ� หรบั ใหบ้ ริการ มีที่น่งั รอรบั บริการมพี ื้นทส่ี �ำหรับให้การปรกึ ษาทเ่ี ปน็ สัดส่วนมีความเป็นส่วนตัวและการรักษาความลับท่ีผู้ให้บริการปรึกษาไม่ควรละเลย ไม่ว่าจะเก่ียวกับการให้การปรึกษา แนะน�ำการรกั ษาโรคหรือภาวะอาการตา่ ง ๆ โดยเฉพาะกลมุ่ แมว่ ยั รนุ่ ที่ตอ้ งการปกปดิ การตัง้ ครรภ์ แมว่ ัยรนุ่ อาจกังวลใจต่อการเปดิ เผยข้อมูลการตั้งครรภ์ ซ่งึ เปน็ ส่งิ จำ� เปน็ ทจ่ี ะได้มกี ารชีแ้ จง ตกลงบริการ อธิบายให้แมว่ ัยรนุ่ และผปู้ กครองรบั ทราบตงั้ แต่เรมิ่ ตน้ ให้บริการ และมกี ารบริการเบ็ดเสรจ็ ในจดุ เดยี วโดยทีมงาน ผใู้ หบ้ ริการควรมีการทบทวนขน้ั ตอนหรอื ผงั การเชอ่ื มโยงงานบรกิ ารท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การดูแลวยั ร่นุ โดยเฉพาะหญงิ ต้งั ครรภ์/แม่วัยรนุ่ และวยั รนุ่ ทุกกลมุ่ ควรได้รับบรกิ ารท่ีเปน็ มติ ร มคี ณุ ภาพ สะดวก รวดเรว็ และลดขนั้ ตอนเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการ โดยคลินิกวัยรุ่นอาจตั้งอยู่ในหรอื นอกโรงพยาบาลก็ได้(1) 2. แมว่ ยั ร่นุ หมายถึง หญงิ ตงั้ ครรภ์ วัยรนุ่ ทอ่ี ายุน้อยกว่า 20 ปี โดยนบั อายปุ ระมาณถึงวันคะเนก�ำหนดคลอด 3. การประเมนิ คดั กรองหมายถงึ เมอ่ื หญงิ วยั รนุ่ ตงั้ ครรภเ์ ขา้ มารบั บรกิ ารไมว่ า่ จะพรอ้ มตง้ั ครรภห์ รอื ไมพ่ รอ้ มมกั จะไดร้ บัการคัดกรองจากหน่วยงานภายในโรงพยาบาลหลายจดุ เชน่ จุดประชาสัมพันธ์ คลนิ กิ ฝากครรภ์ งานนรเี วช ตึกผปู้ ่วยในหรือแผนกฉุกเฉิน ฯลฯ จึงควรจัดหน่วยงานเฉพาะเพ่ือคัดกรอง โดยสอบถามความต้องการ ความช่วยเหลือเบ้ืองต้นและซกั ถามถึงการตั้งครรภ์ครง้ั นี้ ซ่งึ เป็นการคดั กรองเบือ้ งต้นจึงมีความสำ� คญั ทจ่ี ะทำ� ให้หญงิ วยั ร่นุ ตั้งครรภ์ไดร้ ับการดูแลชว่ ยเหลือทเี่ หมาะสม 4. การใหก้ ารปรกึ ษาหมายถงึ กระบวนการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทอ่ี าศยั สมั พนั ธภาพทด่ี ีระหวา่ งผใู้ หก้ ารปรกึ ษาและผรู้ บั บรกิ ารโดยผู้ให้การปรึกษาใช้เทคนิคและขั้นตอนต่าง ๆ ช่วยให้ผู้รับบริการส�ำรวจปัญหาของตนเอง รับรู้ เข้าใจและร่วมมือกับผใู้ ห้การปรึกษาเพอ่ื ดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาน้ัน(2) 5. การให้การปรึกษาทางเลือก หมายถึง การให้การปรึกษาเกี่ยวกับทางเลือกในการต้ังครรภ์ต่อไปหรือยุติการต้ังครรภ์ที่ปลอดภัย โดยเน้นการให้การดูแลและช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมข้ึนมา โดยการจัด20 คมู่ อื แนวทางปฏบิ ัติการดแู ลแมว่ ยั รุน่
ระบบบรกิ ารใหค้ �ำปรกึ ษาทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม ให้มที างเลือกเม่อื ต้องการยุตกิ ารต้งั ครรภ์ ก็ให้มีการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ทปี่ ลอดภัยหรือเมื่อวัยรนุ่ เลอื กการต้ังครรภ์ต่อไป ก็ตอ้ งการความช่วยเหลอื เชน่ กนั ไม่วา่ จะเป็นการทำ� ความเขา้ ใจกบั ครอบครัว โอกาสในการศกึ ษาต่อ หรือโอกาส ในการทำ� งานในอนาคต เป็นตน้ (2) 6. การประเมนิ ด้านจติ สังคม หมายถึง การประเมินเพอ่ื ดปู จั จยั เส่ยี งด้านครอบครัว การศกึ ษา อารมณ์ การใชช้ ีวิตสารเสพตดิ ภาวะซมึ เศรา้ ที่อาจพบได้ในแม่วัยรุ่น โดยอาจใชก้ ารประเมนิ ทางด้านสงั คมจิตวิทยาของวัยรนุ่ (3,4) (รายละเอยี ดในภาคผนวก 1) หรอื การใช้แบบประเมินสขุ ภาพจิตหญิงตัง้ ครรภ์ (ในสมุดบันทกึ สุขภาพแมแ่ ละเด็ก) แบบคัดกรองภาวะซมึ เศรา้(2Q) แบบประเมนิ โรคซึมเศรา้ (9Q) และแบบประเมนิ การฆ่าตวั ตาย (8Q)(5) 7. การยตุ ิการตั้งครรภท์ ีป่ ลอดภยั หมายถึง การยุติการตั้งครรภท์ างการแพทยต์ ามมาตรา ๓๐๕ แหง่ ประมวลกฎหมายอาญาน้นั จะกระทําได้เม่ือหญงิ ตั้งครรภ์นนั้ ยินยอม แพทยผ์ ูก้ ระทําการยุติการตัง้ ครรภ์ ทางการแพทย์ตามขอ้ บังคับนี้ต้องเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชพี เวชกรรมตามกฎหมาย การยตุ ิการตั้งครรภ์ แบง่ เป็น 2 วิธีใหญ่ๆ คือ 1) การยุติการตัง้ ครรภ์โดยวิธีใชย้ า (medical abortion) คือการใชส้ ารทีอ่ อกฤทธท์ิ างเภสชั กรรมเพ่ือท�ำใหเ้ กิดการแทง้ 2) การยุตกิ ารตัง้ ครรภ์โดยวธิ ที างศลั ยกรรม (surgical abortion) คอื การใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางการแพทยส์ อดผา่ นปากมดลกู เขา้ ไปในโพรงมดลกู เพอ่ื ทำ� ใหเ้ กดิ การแทง้ 8. คลนิ กิ ฝากครรภ์ หอ้ งคลอด หลงั คลอด หมายถงึ หนว่ ยงานภายในโรงพยาบาลทม่ี กี ารดแู ลหญงิ ตง้ั ครรภต์ ามมาตรฐานการดูแลหญิงมีครรภ์ทมี่ ปี จั จยั เสย่ี ง และมาตรฐานงานอนามยั แมแ่ ละเด็ก 9. หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง หมายถงึ หนว่ ยงานหรอื คลนิ กิ ในโรงพยาบาลทมี่ กี ารดแู ลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตามแนวทางมาตรฐานบรกิ ารสขุ ภาพทเี่ ปน็ มติ รสำ� หรบั วยั รนุ่ และเยาวชน ไดแ้ ก่ คลนิ กิ สขุ ภาพเดก็ ดี คลนิ กิ นมแม่ คลนิ กิ วยั รนุ่ คลนิ กิ วางแผนครอบครวัและคลินกิ ใหก้ ารปรึกษา 10. หนว่ ยบรกิ ารสุขภาพ หมายถงึ หน่วยบรกิ ารสุขภาพที่รบั สง่ ตอ่ แม่วัยรนุ่ และบุตรเพื่อการดูแลตอ่ เนอ่ื งในชุมชน เช่นรพ.สต. รพช. เป็นตน้ 11. การดแู ลต่อเนอ่ื ง หมายถงึ 11.1 การเยยี่ มบา้ น การตดิ ตามทางโทรศพั ท์ หรอื สง่ ตอ่ ไปยงั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใกลบ้ า้ น รวมทง้ั การนดั หมายผรู้ บั บริการกลบั มารับบรกิ ารท่ีโรงพยาบาล เม่อื หลังคลอด 1 เดือน ในเรอื่ งการให้การปรึกษาและการชว่ ยเหลือการเลยี้ งลูก กรอบแนวคิดการจัดบรกิ ารและการดแู ลแมว่ ัยรนุ่ 21
ดว้ ยนมแม่ ประเมนิ สภาพจติ ใจและภาวะซมึ เศรา้ ในแมห่ ลงั คลอด การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการและการฉดี วคั ซนี ใหแ้ กท่ ารกแนะนำ� การเล้ียงลกู การคุมกำ� เนดิ เพือ่ ป้องกันการต้ังครรภ์ซำ้� ในช่วงวัยรุน่ การใหก้ ารปรึกษาปญั หาอ่ืนท่ตี ามมา เชน่การยอมรบั และความสมั พันธ์ในครอบครวั การศกึ ษาและอาชพี เปน็ ตน้ 11.2 การสรา้ งความรว่ มมอื และส่อื สารข้อมลู โดยประสานงานกับหน่วยบริการสุขภาพ ชมุ ชน และองค์กรอน่ื ๆ เพอื่ ใหม้ คี วามตอ่ เนอ่ื งของการตดิ ตามดแู ลแมว่ ยั รนุ่ และบตุ ร และบรู ณาการกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ในกระบวนการดูแลโดยคำ� นึงถึงการรกั ษาความลบั ความเป็นส่วนตัว และค�ำนงึ ถึงศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ 11.3 การตดิ ตามผลการดแู ลตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ ความตอ้ งการและปญั หาของแมว่ ยั รนุ่ ไดร้ บั การตอบสนองและนำ� ผลการตดิ ตามมาใช้ปรบั ปรงุ และวางแผนการจัดบรกิ ารเอกสารอา้ งองิ 1. ยุพา พูนข�ำ, สมศักด์ิ สุทัศน์วรวุฒิ, รุจิรา วัฒนย่ิงเจริญชัย. คู่มือแนวทางการด�ำเนินงาน “คลินิกวัยรุ่น” (สถานบริการที่เป็นมติ รสำ� หรับวยั รนุ่ และเยาวชน): ส�ำนักอนามยั การเจรญิ พันธ์ุ กรมอนามยั ; 2552. 2. คู่มอื การให้การปรกึ ษา ปัญหาการตัง้ ครรภ์ไมพ่ ร้อม. เบญจพร ปัญญายง, บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ พับลิสซง่ิ จำ� กัด; 2554. 3. Practical Point in Adolescent Health Care. วโิ รจน์ อารยี ก์ ลุ , ศริ ไิ ชย หงษส์ งวนศรี, บุญยิง่ มานะบริบูรณ์, รสวันต์ อารีมติ ร, จริ าภรณ์ ประเสริฐวทิ ย์, สภุ ิญญา อนิ อวิ , บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพมหานคร: เอ-พลสั พรน้ิ ; 2555. 4. วิโรจน์ อารียก์ ลุ . การดูแลสุขภาพและการให้คำ� แนะน�ำวยั รนุ่ (Adolescent Health Care and supervision). กรุงเทพมหานคร: กองกมุ ารเวชกรรม วทิ ยาลยั แพทยศาสตรพ์ ระมงกุฎเกล้า; 2553. 5. เบญจพร ปัญญายง.คู่มือการให้การปรึกษาวัยรุ่นด้านจิตสังคมแบบบูรณาการ.กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ พับลิสซ่ิง จ�ำกัด; 2557.22 คมู่ อื แนวทางปฏบิ ตั กิ ารดแู ลแม่วยั รุน่
การบริการและกบาทรทดี่ 2ูแลขณะต้งั ครรภ์ ภทั รวลัย ตลงึ จิตร จริ าภรณ์ อรณุ ากูร มลลุ ี แสนใจ มณีรตั น์ อวยสวัสดิ์ นวพร นาวีสาคร ผ่องศรี สวยสมความสำ� คญั การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่วนใหญ่จะเป็นครรภ์เส่ียงสูง (high risk pregnancy) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของแม่และเด็กทง้ั ในเชิงสุขภาพกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและเศรษฐกจิ แมว่ ยั ร่นุ จงึ มคี วามจำ� เป็นท่ีตอ้ งได้รบั การดแู ลเฉพาะจากผ้ใู หบ้ ริการทม่ี คี วามรู้ มคี วามเข้าใจในความต้องการของวัยรุ่น อีกทงั้ การต้งั ครรภ์ในวยั รุน่ สว่ นใหญ่ เปน็ การตั้งครรภท์ ่ีไมไ่ ดม้ กี ารวางแผนจงึ ตอ้ งมกี ระบวนการใหบ้ รกิ ารเฉพาะ เพอ่ื ลดปญั หาและภาวะแทรกซอ้ นทเ่ี กดิ ตามมาจากการตง้ั ครรภค์ ลอด รวมถงึ ระยะหลงั คลอดและการใชช้ วี ติ ในสงั คมทเ่ี หมาะสมตอ่ ไป การจดั บรกิ ารดแู ลสขุ ภาพแมว่ ยั รนุ่ ระหวา่ งการตงั้ ครรภ์ ใหค้ วามสำ� คญั ในการใหแ้ มว่ ยั รนุ่ไดร้ ับบรกิ ารดูแลแบบองค์รวม โดยการมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั รวมถงึ การส่งตอ่ ไปยงั ชุมชนและหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งกรณีมีปัญหาการรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับ กรณีต้องการปกปิด และส่ิงท่ีต้องค�ำนึงอย่างยิ่งในของแม่วัยรุ่นในขณะตง้ั ครรภ์ เชน่ - ภาวะเลือดจางและภาวะทพุ โภชนาการในระหวา่ งการต้งั ครรภ์ - ภาวะความดันโลหติ สูงจากการตงั้ ครรภ์ (hypertensive disorder in pregnancy) - ภาวะคลอดก่อนกำ� หนด ทารกแรกเกิดน�้ำหนกั นอ้ ย และทารกเจรญิ เตบิ โตชา้ ในครรภ์ - มโี อกาสแทง้ สูง เปน็ ตน้ สำ� หรบั ดา้ นจติ สังคม พบว่า วยั รุน่ ส่วนใหญ่ ตง้ั ครรภ์โดยไม่ได้วางแผน บางรายไมไ่ ด้รบั การยอมรบั จากสามี ครอบครวับางรายตอ้ งประสบกบั ปญั หาตอ้ งออกจากระบบการศกึ ษากอ่ นกำ� หนด สญู เสยี อนาคต และขาดโอกาสทางการประกอบอาชพี ทดี่ ี การบรกิ ารและการดูแลขณะต้งั ครรภ์ 23
ในสงั คม ทำ� ใหแ้ มว่ ยั รนุ่ หลายคนขาดโอกาสในการพฒั นาศกั ยภาพตวั เอง รสู้ กึ อบั อาย ไมพ่ งึ พอใจการตง้ั ครรภ์ การตงั้ ครรภ์ในวัยรุ่นส่วนหน่ึงเกิดจากการล่วงละเมิดทางเพศ ถูกบังคับขืนใจ ถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัว สิ่งเหล่านี้ผู้ให้บริการในงานบริการฝากครรภ์ต้องให้ความสนใจในการให้ครอบครัวได้รับรู้ และมีส่วนร่วมดูแลตั้งแต่ต้น เพื่อช่วยให้แม่วัยรุ่นได้รับการดูแลจากคนใกล้ชิด โดยเฉพาะสามีของแม่วัยรุ่นซึ่งจะคอยให้ก�ำลังใจ มีความรู้ความเข้าใจ ช่วยดูแลสุขภาพแม่และลูกในครรภต์ ลอดการตงั้ ครรภ์วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ประเมนิ ปัจจัยเส่ียง พฤตกิ รรมเส่ียง และผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนกบั แมว่ ยั รนุ่ และครอบครัวจากการตง้ั ครรภ์ 2. เพื่อใหแ้ ม่วยั รนุ่ มคี วามรทู้ ถ่ี ูกตอ้ งและสามารถปฏบิ ตั ิตวั ไดเ้ หมาะสมในขณะตั้งครรภ์ 3. เพอ่ื ใหแ้ มว่ ยั รนุ่ ไดร้ บั การเตรยี มพรอ้ มทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ เขา้ ใจบทบาทของการเปน็ แมท่ เ่ี หมาะสม รวมถงึ การเล้ียงลูกด้วยนมแม่ 4. เพอื่ สามารถปฏิบัติตัวและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซอ้ นจากการต้งั ครรภ์1. องคป์ ระกอบของการบรกิ ารดแู ลแม่วยั รุน่ ในระยะตัง้ ครรภ์ 1.1 ทีมผู้ให้บริการฝากครรภ์ ประกอบด้วยแพทย์/พยาบาลผู้รับผิดชอบ และทีมสหวิชาชีพอื่น เช่น สูติแพทย์กมุ ารแพทย์ จติ แพทยเ์ ดก็ และวยั รนุ่ พยาบาลคลนิ กิ วยั รนุ่ นกั จติ วทิ ยา/พยาบาลจติ เวช/พยาบาลวชิ าชพี นกั สงั คมสงเคราะห์นักโภชนาการ ทันตแพทย์ ทนั ตภบิ าล เปน็ ต้น 1.2 สถานทฝี่ ากครรภ์ ควรมสี ถานทท่ี เ่ี ปน็ สดั สว่ นแยกจากหนว่ ยบรกิ ารอน่ื (ถา้ มคี วามพรอ้ มกค็ วรมสี ถานทต่ี า่ งหาก หรอืใช้สถานท่เี ดิมแตแ่ ยกชว่ งเวลา) และควรมหี ้องใหก้ ารปรกึ ษาโดยค�ำนงึ ถงึ การรกั ษาความเปน็ ส่วนตัวของแม่วัยร่นุ 1.3 การใหบ้ รกิ ารเบด็ เสรจ็ ในจดุ เดยี ว (one stop service) โดยเรม่ิ ตงั้ แตก่ ารสรา้ งความสมั พนั ธ์ใหเ้ กดิ ความไวว้ างใจการประเมนิ ปัญหาทางด้านสังคมและจิตใจ สาเหตุของการต้ังครรภ์ตลอด จนถงึ การให้การปรกึ ษาก่อนตรวจเลอื ด และ24 คมู่ ือแนวทางปฏิบัตกิ ารดแู ลแมว่ ยั รนุ่
ใหบ้ รกิ ารฝากครรภ์ รวมถึงใหค้ ำ� แนะน�ำตา่ งๆ เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มทจี่ ะเป็นมารดาในชว่ งทีม่ าฝากครรภ์ 1.4 การส่งเสริมให้สามีและครอบครัวมีส่วนร่วมดูแลในขณะต้ังครรภ์ โดยการการวางแผนร่วมกับสามีและครอบครัวในกระบวนการดูแลวัยรุ่นตั้งครรภ์ต้ังแต่เร่ิมแรก การฟังผลเลือด กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่เพ่ือเตรียมความพร้อมบทบาทการเป็นแม่วยั รุ่น และบทบาทสามี/ครอบครวั ในการดูแลแมว่ ยั รุน่ โดยเฉพาะในรายทมี่ คี วามเส่ยี ง2. กิจกรรมการใหบ้ รกิ ารและการดแู ลแม่วัยร่นุ ขณะตง้ั ครรภ์ การใหบ้ รกิ ารเหมอื นการดแู ลหญงิ ตง้ั ครรภท์ ว่ั ไป ตามคมู่ อื การดแู ลผตู้ ง้ั ครรภแ์ นวใหม่ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 2 กรมอนามยักระทรวงสาธารณสุข) และเพิม่ เตมิ กระบวนการดูแลตอ่ ไปน้ี อ(สาปัยดคุ รารหภ)์ ์ กิจกรรม ผ้ใู หบ้ รกิ าร พยาบาล • ยนื ยันการต้ังครรภแ์ ละคำ� นวณอายุครรภ์ แพทย/์ พยาบาล การฝากครรภ์ • ซกั ประวัติ ตรวจร่างกายท่ัวไป ตามมาตรฐานการฝากครรภ์ ตรวจเตา้ นมและหวั นม พยาบาล คร้ังแรก • คดั กรองความเสี่ยงโดยใช้ แบบประเมินความเสย่ี งของหญิงต้งั ครรภ์ (classifying form) กรณแี มอ่ ายนุ ้อยกวา่ 17 ปี พยาบาล/เจา้ หนา้ ทีค่ ลนิ ิก • ประเมนิ สุขภาพร่างกายท่วั ไปและประเมินสุขภาพจิตหญงิ ตัง้ ครรภ์ วัยรุน่ ในสมุดบันทกึ สขุ ภาพแม่และเดก็ อาจร่วมกับการประเมินทางด้าน จติ สังคม (ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวก1) ทีมสหวชิ าชีพ • กรณีพบความเสีย่ งควรมีการวางแผนรว่ มกบั ครอบครวั รวมท้งั /คลินิกวยั รุ่น ประสานงานกับหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพ่ือให้การดแู ลชว่ ยเหลืออยา่ ง เป็นรูปธรรม การบริการและการดูแลขณะตงั้ ครรภ์ 25
อ(สาปัยดคุ รารหภ์)์ กจิ กรรม ผ้ใู ห้บริการ การตรวจครรภฺ์ • การให้การปรกึ ษาวยั รุ่นและครอบครัว (ดรู ายละเอยี ดใน ทมี สหวิชาชีพ คร้ังแรก (ตอ่ ) ภาคผนวก 4) เน้นการสรา้ งสัมพันธภาพ ส่งเสรมิ ให้พ่อ แม่ ผปู้ กครองไดร้ ับทราบและมีส่วนร่วมในการชว่ ยเหลือดแู ลตง้ั แต่ เร่ิมแรกกรณีแม่วัยร่นุ ยินยอม • การตรวจทางห้องปฏบิ ัติการตามมาตรฐาน เจ้าหน้าทห่ี อ้ งปฏิบตั กิ าร • ใหค้ ำ� แนะน�ำในการตรวจคัดกรองภาวะผดิ ปกติในช่วงไตรมาสแรก พยาบาล ของการตัง้ ครรภ์ (first trimester screening ใน ชว่ งอายุครรภ์ ไม่เกนิ 14 สัปดาห)์ • แจง้ ชอ่ งทางท่แี มว่ ยั รนุ่ สามารถติดต่อได้ในกรณที ีม่ เี หตฉุ ุกเฉนิ พยาบาล และควรมหี มายเลขโทรศพั ท์ที่สามารถตดิ ต่อได้ของแม่วัยรนุ่ และผปู้ กครองของแมว่ ยั รนุ่ • นัดหมายครง้ั ตอ่ ไปอกี 1-2 สปั ดาหเ์ พ่อื ใหก้ ารปรกึ ษา แจ้งผล พยาบาล การตรวจเลอื ด และติดตามความเสยี่ งจากการมาฝากครรภ์ คร้งั แรก (เม่ืออายุครรภ์ 14 สปั ดาห)์ 14-16 • ประเมินสขุ ภาพรา่ งกายทว่ั ไปตามสมุดบนั ทึกสุขภาพแม่และเดก็ พยาบาล - กรณีสงสัยมีการตดิ เชื้อในชอ่ งคลอดและโรคติดตอ่ พยาบาล/แพทย์ ทางเพศสัมพนั ธ์ควรส่งพบแพทย์ - การฟงั ผลเลือดและการใหก้ ารปรึกษาเพ่อื ติดตามและแกไ้ ข ทมี สหวิชาชพี /พยาบาล ความเสยี่ งตามปญั หาทพี่ บ26 คู่มอื แนวทางปฏิบตั ิการดูแลแม่วยั รุ่น
อ(สาปัยดคุ รารหภ)์ ์ กิจกรรม ผู้ใหบ้ รกิ าร 20-22 - กิจกรรมโรงเรยี นพ่อแม่ พร้อมหญิงตง้ั ครรภก์ ลุ่มอายุอ่นื ครง้ั ที่ 1 ทมี สหวชิ าชพี /พยาบาล (ตามมาตรฐานของกรมอนามยั ) และประเมนิ ผลหลงั การเขา้ 24 กิจกรรมโรงเรยี นพ่อแม่ พยาบาล 28 หมายเหตุ : กรณมี แี มว่ ยั รุน่ หลายคน และกรณปี กปิดควรพิจารณาแยก ทีมสหวิชาชพี กลมุ่ จัดกิจกรรมโรงเรยี นพอ่ แมเ่ ฉพาะแม่วัยรุ่น เพอ่ื ใหค้ วามร้แู ละขอ้ มลู ทีมสหวชิ าชีพ/พยาบาล ทีจ่ ำ� เปน็ สำ� หรับแม่วัยรนุ่ นดั หมายครง้ั ต่อไป อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ • ประเมนิ สุขภาพร่างกายทวั่ ไปและประเมินสุขภาพจติ หญงิ ตงั้ ครรภ์ แพทย์ (สมุดบันทกึ สุขภาพแมแ่ ละเดก็ ) พยาบาล • การใหก้ ารปรึกษาเพอื่ ติดตามและแกไ้ ขความเส่ยี งตามปัญหาท่พี บ ทมี สหวิชาชพี • กิจกรรมโรงเรียนพอ่ แม่ ครง้ั ท่ี 2 (เฉพาะกลมุ่ แมว่ ัยรนุ่ ) พยาบาล เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มบทบาทการเปน็ แม่ การปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ พยาบาล ทางเพศสมั พนั ธ์ และการปอ้ งกันการคลอดก่อนกำ� หนด เน้นการมสี ่วนรว่ มของสามีและครอบครัว • การตรวจอัลตร้าซาวด์ตามมาตรฐาน • ประเมนิ สขุ ภาพร่างกายทั่วไปตามสมดุ บันทึกสุขภาพแม่และเดก็ • การให้การปรกึ ษาเพอื่ ตดิ ตามและแกไ้ ขความเส่ียงตามปัญหาท่พี บ • ตรวจคดั กรองเบาหวานในหญงิ ตงั้ ครรภต์ ามความเสย่ี ง • ประเมินสุขภาพรา่ งกายทว่ั ไปและประเมินสขุ ภาพจติ หญงิ ตง้ั ครรภ์ (สมุดบนั ทกึ สุขภาพแม่และเดก็ ) การบริการและการดูแลขณะตง้ั ครรภ์ 27
อ(สาัปยดุครารหภ์) ์ กิจกรรม ผู้ให้บริการ 28 • การให้การปรกึ ษาเพ่อื ตดิ ตามและแก้ไขความเสย่ี ง ทีมสหวชิ าชีพ ตามปญั หาทีพ่ บ พยาบาล/แพทย์ • กิจกรรมโรงเรยี นพอ่ แม่ คร้ังท่ี 3 (เนน้ เรือ่ งการนบั ลูกดน้ิ ทีมสหวชิ าชพี /พยาบาล การเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ และอาการผดิ ปกตทิ ี่ตอ้ งรีบมาพบ แพทย์ การเตรยี มคลอด) 30 • ประเมนิ สขุ ภาพรา่ งกายทว่ั ไปตามสมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ พยาบาล 32 • การให้การปรึกษาเพ่อื ตดิ ตามและแก้ไขความเส่ยี ง พยาบาล ตามปัญหาทีพ่ บ • ประเมินสุขภาพร่างกายทัว่ ไป และประเมินสุขภาพจิต พยาบาล หญงิ ตัง้ ครรภ์ (สมดุ บันทกึ สขุ ภาพแม่และเด็ก) • การประเมินทางด้านจติ สงั คม (ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวก1) พยาบาล/เจา้ หนา้ ทค่ี ลนิ กิ วยั รนุ่ • การใหก้ ารปรกึ ษาเพอ่ื ติดตามและแกไ้ ขความเสย่ี งตามปญั หา พยาบาล ท่ีพบ • เจาะเลอื ดครง้ั ท่ี 2 ตามมาตรฐาน เจา้ หนา้ ทีห่ ้องปฏบิ ัติการ 34 • ประเมนิ สขุ ภาพรา่ งกายทว่ั ไปตามสมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ พยาบาล/สหวิชาชีพ • ฟังผลเลือด และการใหก้ ารปรึกษาเพอื่ ตดิ ตามและแกไ้ ข ทมี สหวชิ าชีพ ความเสี่ยงตามปัญหาท่ีพบ และครอบครวั • กิจกรรมโรงเรยี นพอ่ แม่ ครั้งที่ 4 (เฉพาะกลมุ่ แมว่ ยั รุ่น) พยาบาล/ทีมสหวิชาชีพ (เพื่อเตรียมความพรอ้ มบทบาทการเป็นแมว่ ัยรุ่น และบทบาทสามี/28 คมู่ ือแนวทางปฏบิ ตั กิ ารดแู ลแมว่ ยั รนุ่
อ(สาปัยดุครารหภ)์ ์ กิจกรรม ผใู้ ห้บริการ 34 ครอบครัวในการดแู ลแม่วยั รุ่น ประเมินความเสยี่ งต่อการคลอด กอ่ นกำ� หนด การวางแผนคลอดและการเลี้ยงดูบุตร รวมไปถึงแนะนำ� เรื่องการคมุ ก�ำเนิดทเ่ี หมาะสม *เน้นยาฝงั คมุ กำ� เนดิ และห่วงอนามยั ) 36 • ประเมินสุขภาพร่างกายท่ัวไปและประเมินสขุ ภาพจิตหญิงตงั้ ครรภ์ พยาบาล ทุก 1 สปั ดาห์ จนกวา่ จะคลอด ตามสมดุ บันทกึ สุขภาพแมแ่ ละเดก็ • ให้คำ� แนะน�ำรายบุคคลในเรอ่ื งต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี พยาบาล 1. แนะนำ� อาการทตี่ อ้ งมาโรงพยาบาล เพอื่ การคลอด เชน่ เจบ็ ครรภ์ นำ�้ เดนิ มีมกู เลอื ดออก 2. ให้ค�ำแนะน�ำอาการผดิ ปกติอ่นื ๆ ทต่ี ้องรีบมาโรงพยาบาล เช่น เลอื ดออก เด็กดน้ิ น้อยลง ปวดศรี ษะ ตาพร่ามวั มีไข้ เปน็ ต้น 3. ใหโ้ อกาสถามและตอบขอ้ สงสยั ยนื ยนั คำ� แนะนำ� ที่ใหแ้ ละผทู้ ต่ี ดิ ตอ่ ไดใ้ นกรณฉี กุ เฉนิ หรอื สถานทท่ี ่ีไปคลอด วนั คะเนกำ� หนดคลอด (EDC) ถา้ ยังไม่คลอดเมอื่ ถึงปลายสปั ดาหท์ ่ี 40 ใหก้ ลับไปตรวจ ท่ีโรงพยาบาลอีก • ให้ค�ำปรึกษารายบุคคล/เปน็ คู่/ครอบครัวเพื่อวางแผนการคลอด พยาบาล และใหก้ ารช่วยเหลือกรณีท่มี ีปญั หาในการเลี้ยงดูบุตร • ใหค้ ำ� ปรึกษาเรอื่ งทางเลือกการคมุ ก�ำเนดิ และการเตรียมความพรอ้ ม พยาบาล/สหวิชาชพี ในการตัดสนิ ใจ • วางแผนติดตามเยย่ี มหลังคลอด (ถ้าแมว่ ัยรุน่ ยนิ ยอมขอแผนผัง/ พยาบาล/สหวิชาชพี แผนท่ีบ้าน) การบริการและการดแู ลขณะตัง้ ครรภ์ 29
อ(สาปัยดุครารหภ)์ ์ กิจกรรม ผู้ให้บรกิ าร • ประเมนิ สขุ ภาพรา่ งกายทั่วไปและตรวจภายใน พยาบาล 40 • ส่งพบแพทย์ทุกรายเพือ่ ประเมินการคลอด พยาบาล/แพทย์ในการดแู ลแมว่ ยั รนุ่ ขณะตง้ั ครรภน์ นั้ นอกจากการดแู ลตามปกตขิ องหญงิ ตงั้ ครรภว์ ยั อน่ื จะตอ้ งเนน้ ประเดน็ ดงั ตอ่ ไปนท้ี กุ ราย 1. การกำ� หนดอายคุ รรภท์ แ่ี นน่ อนตงั้ แตแ่ มว่ ยั รนุ่ มาฝากครรภค์ รง้ั แรก ๆ เนอ่ื งจากมกั จะจำ� ประจำ� เดอื นครง้ั สดุ ทา้ ยไมไ่ ด้ และมาฝากครรภช์ า้ จงึ มักจะตอ้ งตรวจอัลตร้าซาวดเ์ พ่ือก�ำหนดอายุครรภแ์ ละก�ำหนดคลอด 2. ภาวะทพุ โภชนาการ จากการรบั ประทานอาหารไมเ่ หมาะสม ดงั นน้ั จงึ ควรใหค้ วามสำ� คญั กบั นำ้� หนกั ตวั มารดาและขนาดของครรภ์ในการมาฝากครรภท์ ุกครงั้ หากมคี วามผดิ ปกตคิ วรตรวจอัลตราซาวน์ เพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารก 3. พฤตกิ รรมเสย่ี ง ไดแ้ ก่ การสบู บหุ ร่ี การดม่ื สรุ า สารเสพตดิ รวมทงั้ การมเี พศสมั พนั ธ์โดยไมไ่ ดป้ อ้ งกนั จงึ มโี อกาสมีโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ เชน่ หดู หงอนไก่ เริม ไดบ้ อ่ ยขน้ึ จงึ ควรมกี ารประเมนิ และให้การปรึกษาและให้ความสนใจในเร่ืองเหลา่ นี้ 4. การถกู ทำ� รา้ ย ความรนุ แรงในครอบครวั พบไดบ้ อ่ ยขนึ้ ในกลมุ่ วยั รนุ่ ตงั้ ครรภ์ ควรมกี ารประเมนิ ใหค้ วามสนใจเรอื่ งนี้ทุกราย นอกจากน้ีควรประเมินด้านจิตสังคมโดยมีแนวทางการประเมินและแบบฟอร์มการประเมินด้านจิตสังคม(ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวก 1,2) เพอ่ื การคน้ หาปัญหาของแม่วัยรุน่ อย่างรอบดา้ น และวางแผนการดูแลและให้การปรึกษาร่วมกบั การประเมินภาวะสุขภาพแม่วยั รุน่ (ดูรายละเอยี ดในภาคผนวก 3) เพื่อใช้ประโยชน์ในการดูแลอยา่ งต่อเน่ืองและการสอื่ สารขอ้ มลู ตลอดการตง้ั ครรภ์ คลอด หลงั คลอด รวมทงั้ การดแู ลตอ่ เนอ่ื งและการสง่ ตอ่ ไปยงั เครอื ขา่ ย ซง่ึ ควรจดั เกบ็แยกจากแฟ้มประวัติเพ่อื เป็นการเก็บรักษาความลับของผรู้ ับบริการ30 คมู่ อื แนวทางปฏิบตั กิ ารดูแลแมว่ ัยรุ่น
เอกสารอา้ งอิง 1. World Health Organization, United Nations Population Fund, UNICEF and The World Bank. Pregnancy, childbirth, postpartum and newborn care: a guide for essential practice. Geneva, World Health Organization ; 2006. 2. World Health Organization. WHO Recommended interventions for improving maternal and newborn health. Geneva : WHO Press; 2009. 3. World Health Organization. Packages of interventions for family planning, safe abortion care, maternal, newborn and child health. Geneva: WHO Press ; 2010. การบริการและการดูแลระหวา่ งคลอด 31
การบริการและกบาทรทดี่ 3ูแลระหว่างคลอด เอกชยั โควาวสิ ารัช สุรพนั ธ์ แสงสวา่ ง รชั นี ลักษิตานนท์ วีนสั ฉัตรชลอลกั ษณ์ความสำ� คญั การคลอดเป็นกระบวนการท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติเมื่ออายุครรภ์ครบก�ำหนด การคลอดส่วนใหญ่สามารถด�ำเนินไปได้ตามปกติ แตก่ อ็ าจเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นบางอย่างได้ โดยภาวะแทรกซอ้ นอาจเกิดขึ้นอย่างรวดเรว็ ไม่คาดฝัน ดงั นน้ัพยาบาลควรใหค้ วามรแู้ กม่ ารดาตงั้ แตร่ ะยะฝากครรภเ์ กยี่ วกบั การเจบ็ ครรภแ์ ละการคลอด เมอื่ เขา้ สรู่ ะยะคลอดกค็ วรประเมนิสภาพมารดาอย่างละเอียดรอบคอบ เพือ่ ค้นหาปัจจัยเส่ยี งและวางแผนการพยาบาล เพือ่ ป้องกันหรือแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที โดยปกตกิ ระบวนการคลอดใชร้ ะยะเวลาโดยเฉลย่ี ไมเ่ กนิ 24 ชว่ั โมง ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทงั้ ดา้ นรา่ งกายจิตใจ และอารมณ์ สาเหตสุ �ำคัญของการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ นั้น คือการหดรัดตัวของมดลกู แม่วยั ร่นุ ในระยะคลอดจะมีการรบั รคู้ วามรสู้ กึ เจบ็ ปวดทรี่ นุ แรง มคี วามทนตอ่ ความเจบ็ ปวดในการคลอดไดน้ อ้ ย และมกี ารทนความเจบ็ ปวดในการคลอดไม่คอ่ ยได้ การดูแลชว่ ยเหลือในระยะคลอดเป็นวิธกี ารดแู ลท่จี ะชว่ ยใหแ้ ม่วัยรุ่นสามารถเผชญิ การคลอดไดด้ ีขนึ้ ซึ่งไดแ้ ก่การให้ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการคลอด การเปลีย่ นแปลงและการปฏบิ ตั ติ วั ในแตล่ ะระยะของการคลอดและการปฏิบัตติ วัทชี่ ่วยบรรเทาความเจบ็ ปวดด้วยตนเองโดยใช้เทคนคิ การหายใจและการผอ่ นคลายกลา้ มเน้อื เพ่อื ช่วยให้แมว่ ยั ร่นุ สามารถเผชญิ กบั ความเจบ็ ปวดและสามารถควบคมุ สถานการณ์ไดด้ ขี นึ้ การดแู ลทางดา้ นจติ ใจ อารมณ์ โดยการใชค้ ำ� พดู ใหก้ ำ� ลงั ใจและการสัมผัสเพ่ือการดูแล ส่งผลให้แม่วัยรุ่นเกิดความม่ันใจ มีก�ำลังใจ เกิดความอบอุ่นใจและสุขสบาย โดยเฉพาะถ้ามีญาติ/สามีคอยช่วยเหลือ ให้ก�ำลังใจ จะน�ำไปสู่การเผชิญการคลอดได้ดี และการดูแลความสุขสบายด้านร่างกายโดยการเปล่ียนท่าทาง การดูแลความสะอาดร่างกาย อาหารและน�้ำ การพักผ่อน และการขับถ่ายปัสสาวะ ส่งผลให้เกิดความสบาย และควรกระทำ� อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนสนิ้ สดุ ระยะคลอด คาดวา่ จะชว่ ยใหแ้ มว่ ยั รนุ่ มรี ะดบั ความเจบ็ ปวดลดลง สามารถเผชญิ ความเจ็บปวดในการคลอดได้ดีข้นึ32 ค่มู อื แนวทางปฏิบัตกิ ารดูแลแมว่ ัยรุ่น
โดยสรปุ จะเหน็ ไดว้ า่ แมว่ ยั รนุ่ เปน็ วยั ทมี่ ปี ระสบการณช์ วี ติ นอ้ ย ความสามารถในการเผชญิ กบั สถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ในการคลอดไม่ดีเท่าที่ควร เม่ือเทียบกับแม่วัยผู้ใหญ่ แม่วัยรุ่นจึงมีความต้องการได้รับการสนับสนุน การดูแลท่ีครอบคลุมทั้งด้านข้อมูล ด้านอารมณ์ จิตใจและด้านร่างกาย โดยเฉพาะการควบคุมความเจ็บปวด และการบรรเทาความเจ็บปวดในการคลอด ซง่ึ ความเจบ็ ปวดจากการคลอดเปน็ ตวั แปรหลกั ทสี่ ำ� คญั ตอ่ การรบั รปู้ ระสบการณก์ ารการคลอดตามมาภายหลงั คลอดวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื 1. สร้างความไวว้ างใจ ความมั่นคงปลอดภัยแกแ่ ม่วยั รุ่น 2. เตรยี มความพรอ้ มด้านร่างกายเพ่ือการคลอด 3. ลกู เกิดรอดแม่ปลอดภัย 4. สรา้ งความผกู พันระหว่างแมล่ กู หลงั คลอดทนั ที (early bonding) 5. การบนั ทึกการรกั ษาพยาบาลทีค่ รบถว้ นและต่อเนอ่ื ง1. องคป์ ระกอบของการบริการและการดแู ลแม่วัยรุ่นระหวา่ งคลอด 1.1 ผู้ใหบ้ รกิ าร พยาบาลผู้ให้บริการระหว่างคลอด ควรได้รับความรู้และมีการพัฒนาอย่างเหมาะสมและได้รับการอบรมต่อเนื่องเพิ่มพูนความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะในการใหบ้ รกิ ารทางดา้ นสตู กิ รรม นอกจากน้แี ลว้ ควรมีทัศนคติทีด่ ีตอ่ วัยรนุ่ โดยผ่านการอบรมการจดั บรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ รกบั วยั รนุ่ และเยาวชน มที ักษะการใหก้ ารปรึกษา มที ัศนคติ/แนวคดิ ทป่ี ราศจากอคติ และการเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ วัยร่นุ และเยาวชน 1.2 สถานทใี่ ห้บรกิ าร หอ้ งรอคลอด ห้องคลอด จดั หอ้ งที่เป็นสัดสว่ น สะอาด มเี ครื่องมอื อุปกรณ์ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การคลอด และอปุ กรณ์ชว่ ยฟื้นคนื ชีพมารดาและทารกท่ีพร้อมใช้ การจดั ส่ิงแวดล้อมระหวา่ งคลอด ควรลดส่ิงกระต้นุ ที่ไมจ่ ำ� เป็น แสงสว่างพอเหมาะไม่มเี สยี งดังรบกวน ลดความพลกุ พลา่ นจากการท�ำงานของเจ้าหน้าทแ่ี ละจัดเวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้พอเหมาะไม่รบกวนมารดามากเกินไป การบรกิ ารและการดูแลระหว่างคลอด 33
1.3 การใหส้ ามแี ละครอบครัวมสี ว่ นร่วมดแู ลในระยะคลอด อาจให้สามีหรือญาติที่ใกล้ชิดเข้าไปในบริเวณห้องรอคลอด เพื่อให้ก�ำลังใจด้วยการพูดปลอบโยนและสัมผัสลดความเครยี ด วติ กกงั วล สว่ นการจะใหเ้ ขา้ ไปในหอ้ งคลอด ควรพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไปตามความจำ� เปน็ และความเหมาะสม2. กิจกรรมการบริการและการดูแลแมว่ ยั รนุ่ ระหว่างคลอด ระยะต่างๆ วัตถุประสงค ์ กจิ กรรมระยะรอคลอด 1. สรา้ งความไวว้ างใจ 1. สรา้ งสัมพันธภาพกับแม่วัยรนุ่ ตงั้ แตแ่ รกรบั มีการแนะน�ำ ความมน่ั ใจในบริการ ตนเอง ใหค้ วามสนใจและความมัน่ ใจวา่ มารดาและทารก ทปี่ ลอดภัยแกแ่ มว่ ัยรุ่น ในครรภ์จะปลอดภัย ไม่ทอดทง้ิ ใหอ้ ยู่ตามล�ำพงั 2. ประเมนิ ปญั หาความรนุ แรง ความเรง่ ดว่ นและความตอ้ งการ ของแมว่ ัยรุน่ เบื้องต้นทนั ทที ่ีมาถึงห้องคลอด บนพนื้ ฐาน ของสัมพันธภาพอันดี 3. ใหข้ อ้ มลู แกแ่ มว่ ยั รนุ่ และญาตติ ง้ั แตแ่ รกรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล เกย่ี วกบั กระบวนการคลอดและการได้รบั การช่วยเหลอื ในระยะเจบ็ ครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลงั คลอด โดยมี การทบทวนซ�้ำและให้ขอ้ มลู แกแ่ มว่ ยั รุ่นเปน็ ระยะ ๆ ว่าจะมี เหตกุ ารณอ์ ะไรเกิดขึ้นตอ่ ไป 4. การชว่ ยเหลือประคับประคองด้านจิตใจ โดยใช้คำ� พดู สุภาพ นุ่มนวลออ่ นโยน ให้กำ� ลังใจและการสัมผัส ปลอบประโลม อนุญาตใหญ้ าต/ิ สามเี ปน็ ผ้ดู แู ลท้งั ด้านรา่ งกายและจติ ใจ อยา่ งใกลช้ ิด ด้วยการสัมผสั การนวดบรรเทาความเจบ็ ปวด และการควบคมุ การหายใจ การอยู่ใกล้ชิด พดู คุยหรอื การต้องการอย่อู ย่างสงบ ส่ิงเหลา่ นี้เป็นสง่ิ ทผ่ี ดู้ แู ลและ แมว่ ัยรุน่ สามารถส่ือสารร้กู นั ได้ดว้ ยภาษาพดู หรือภาษากาย34 ค่มู อื แนวทางปฏิบตั ิการดูแลแมว่ ยั รนุ่
ระยะตา่ งๆ วัตถุประสงค ์ กจิ กรรม 2. เตรยี มความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย 1. แรกรับแม่วัยรุ่น ดูแลให้แมว่ ยั รุน่ เปลย่ี นเสอื้ ผา้ เพอ่ื การคลอด ทำ� ความสะอาดรา่ งกาย และขลบิ ขนบริเวณอวัยวะเพศ ในบางราย ตรวจสญั ญาณชพี ตรวจรา่ งกาย ตรวจทา่ ของ ทารกในครรภ์ 2. สวนอุจจาระในกรณมี ีขอ้ บ่งช้ีและพาแม่วัยรนุ่ ไปนอนพัก ในห้องรอคลอด 3. ดูแลเร่ืองการรบั ประทานอาหาร/สารน�้ำ 4. เฝา้ ระวงั และดแู ลความกา้ วหนา้ ของการคลอด และอาการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ วางแผนการดแู ลใหเ้ หมาะสม โดยฟังหวั ใจทารกทุกครงึ่ ช่วั โมง บันทกึ การหดรัดตัวของ มดลกู ทุก ½-1 ชวั่ โมง และตรวจภายในตามความจำ� เปน็ หรือทกุ 4 ชว่ั โมง ทั้งนต้ี อ้ งบันทกึ โดยใช้กราฟดแู ลคลอด ด้วย (partograph) 5. เมอ่ื มกี ารแตกของถุงนำ้� คร่�ำขณะเฝา้ คลอด ต้องตรวจ การเปดิ ขยายของปากมดลูก ตรวจหาส่วนนำ� และตรวจหา ภาวะสายสะดอื ย้อย และควรฟงั เสียงหัวใจของทารกทันที เพราะสายสะดอื อาจถูกกดได้ 6. การฟงั อตั ราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ถ้าพบทารก มภี าวะเครียด (fetal distress) รายงานแพทย์ทราบ เพื่อการรักษาตอ่ ไป 7. ใหแ้ ม่ปสั สาวะเม่อื ปวด ไม่ใหอ้ ้ันปัสสาวะเพอื่ ไมข่ ัดขวาง การหดรัดตวั ของมดลูกและการเคลือ่ นตำ่� ของทารกลงมา ในองุ้ เชงิ กราน การบรกิ ารและการดูแลระหวา่ งคลอด 35
ระยะต่างๆ วัตถปุ ระสงค์ กิจกรรม 8. เตรยี มอปุ กรณ์สำ� หรับการช่วยเหลือแมว่ ัยร่นุ และทารก ระยะคลอด 3. ลกู เกดิ รอดแมป่ ลอดภยั ในกรณที ต่ี อ้ งไดร้ บั การรกั ษาอยา่ งเรง่ ดว่ น เชน่และหลงั คลอด การผา่ ตดั คลอด การชว่ ยฟืน้ คนื ชีพทารกหลังคลอด 9. เตรยี มความพรอ้ มทง้ั รา่ งกายและจติ ใจทงั้ แมว่ ยั รนุ่ และสาม/ี 2 ชว่ั โมง ญาติ เม่อื ตอ้ งเปลยี่ นวธิ ีคลอด โดยแจ้งให้แมว่ ัยรนุ่ /สาม/ี ญาติ ทราบถึงภาวะวิกฤต และแผนการรกั ษาที่ต้องเปลย่ี น ไปตามความจำ� เป็น 1. ตดิ ตามประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของแมว่ ยั รนุ่ และทารกในครรภ์ อยา่ งละเอียดและต่อเน่ือง จนกระท่งั แมว่ ยั ร่นุ เจ็บครรภ์ถี่ มากขึน้ จนกระทง่ั ปากมดลูกเปดิ หมด (10 เซนติเมตร) มีลมเบง่ 2. ให้การดูแลตามมาตรฐานการดูแลระยะคลอด 3. เฝ้าระวงั อาการเปลยี่ นแปลงและภาวะผิดปกตทิ ีอ่ าจจะ เกิดขน้ึ พร้อมทั้งให้การช่วยเหลอื รายงานแพทยท์ ราบ เชน่ แม่ตกเลือดหลังคลอด ทารกเกิดน้ำ� หนักน้อย (low birth weight) ภาวะขาดออกซิเจน (birth asphyxia) อุณหภูมิกายตำ่� (sub temperature) และภาวะนำ้� ตาล ในเลอื ดตำ�่ (hypoglycemia) 4. เตรยี มอุปกรณส์ ำ� หรบั ชว่ ยเหลอื มารดาและทารกตามสภาพ ปญั หา 5. ประสานงานหนว่ ยงานภายในและภายนอก เพ่ือส่งต่อ กรณที ารกเกดิ ภาวะ low birth weight, birth asphyxia, sub temperature และ hypoglycemia36 คมู่ อื แนวทางปฏิบตั กิ ารดูแลแม่วยั รุ่น
ระยะต่างๆ วตั ถุประสงค ์ กจิ กรรม 4. หลังคลอดทนั ที 6. เม่ือเฝ้าระวงั อาการเปลย่ี นแปลงของแมว่ ยั รนุ่ และทารก สรา้ งความผูกพันระหว่างแมล่ กู ครบ 2 ชว่ั โมง ไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ ยา้ ยแมว่ ยั รุ่นและ (early bonding) ทารกไปรบั การดแู ลตอ่ ทหี่ อผู้ปว่ ยหลังคลอด 1. ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างแมแ่ ละทารก โดยนำ� ทารก 5. มีบนั ทึกการรักษาพยาบาล วางบนอกแม่ ใหแ้ ม่ได้โอบกอดลกู ทันทีภายใน 30 นาทีแรก ท่ีครบถ้วนและต่อเนือ่ ง หลงั คลอด อยา่ งนอ้ ยนาน 1 ชัว่ โมง เมื่อแม่และทารก มคี วามพร้อม 2. ส่งเสริมปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างแมว่ ยั รุน่ และบุตรภายหลงั คลอด ในระยะ 2 ช่วั โมงแรก โดยการกระตุน้ ให้ทารกได้ดดู นม โดยเรว็ ในชว่ ง 2 ชั่วโมงแรกหลงั คลอด 3. ในกรณที ่ีทารกอยู่ในภาวะเสยี่ งจำ� เปน็ ต้องได้รับดูแล เป็นพิเศษ ควรส่งเสรมิ ใหม้ สี ัมพนั ธภาพระหวา่ งแมว่ ยั ร่นุ กับทารกเท่าท่ีจะท�ำได้ 1. บนั ทกึ ขอ้ มลู การรกั ษาพยาบาลตอ้ งครอบคลมุ ในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี 1.1 การประเมินปญั หาและความต้องการของแม่วยั รนุ่ ท้งั แรกรบั และการดแู ลต่อเน่ือง 1.2 การวางแผนและวินิจฉยั การรักษาพยาบาล 1.3 กิจกรรมการพยาบาลท่ีให้แกแ่ ม่วยั รนุ่ ทุกระยะ อยา่ งต่อเนอ่ื ง 1.4 ผลลัพธ์ของการพยาบาลตลอดระยะเวลาที่ดแู ล 2. บันทึกข้อมูลการรักษาพยาบาลให้ครอบคลุม ถูกต้อง และ ตอ่ เน่ือง ต้งั แตแ่ รกรบั จนกระทัง่ จ�ำหน่ายตามแนวทาง การบนั ทึก และข้อความทีบ่ นั ทึกต้องชัดเจน กะทัดรดั การบริการและการดแู ลระหว่างคลอด 37
ระยะต่างๆ วตั ถปุ ระสงค ์ กจิ กรรม สามารถสอื่ ความหมายแก่ทมี การรักษาพยาบาลได้ ถา้ บนั ทกึ ผดิ ใหข้ ดี ออกแลว้ ลงชอื่ กำ� กบั หา้ มใชน้ ำ�้ ยาลบคำ� ผดิ 3. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ถูกตอ้ ง เชอื่ ถือไดข้ องขอ้ มูล การบนั ทึกการรักษาพยาบาลในแตล่ ะเวร/วนั 4. น�ำผลการตรวจสอบคณุ ภาพการบันทกึ ไปพัฒนาปรบั ปรงุ การดูแลรกั ษาพยาบาลตอ่ ไปเอกสารอ้างองิ 1. กรมอนามัยโดยกองอนามัยการเจริญพันธุ์ และกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ. คู่มือการมีส่วนร่วมของ สามีหรือญาติในการเฝา้ คลอด; 2555. 2. ธญั รดี จริ สนิ ธปิ ก. มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล.กรงุ เทพฯ: สาํ นกั การพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสขุ ; 2551. 3. มาณี จันทร์โสภา, ฉวี เบาทรวง, สุกญั ญา ปรสิ ญั ญกุล.ผลของการสนับสนนุ ทางสังคมตอ่ ความเจบ็ ปวดใน การคลอดและการรบั รปู้ ระสบการณ์การคลอดของผูค้ ลอดวยั ร่นุ ครรภ์แรก; 2554. 4. ศศธิ ร พุ่มดวง .การดูแลมารดาในระยะคลอด. สงขลานครนิ ทรเ์ วชสาร ปีที่ 24 ฉบบั ที่ 1 ม.ค.-ก.พ. 2549 ; 59-63. 5. James E. Rosen. WHO; Position paper on mainstreaming adolescent pregnancy in efforts to make pregnancy safer. the WHO Document Production Services, Geneva, Switzerland; 2010.38 ค่มู อื แนวทางปฏิบตั ิการดูแลแม่วัยรุ่น
การบริการและการดูแลแม่วัยรนุ่ บทบทตุ ่ี ร4 และครอบครวั ระยะหลังคลอด บุญยิ่ง มานะบริบรู ณ์ จันทกานต์ กาญจนเวทางค์ วไล เชตะวนั เบ็ญจา ยมสาร ดวงใจ แซ่ไหล ดรุณี ทองค�ำฟู บุษกร แสงแกว้ความส�ำคัญ แม่วัยรนุ่ หลงั คลอด เป็นบุคคลทีต่ ้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่วกิ ฤตแิ ละส�ำคัญท่ีสดุ ชว่ งหนง่ึ ของชวี ิต นอกจากปญั หาทางด้านร่างกาย คือมีการคลอดยาก คลอดล�ำบาก หรือได้รับการท�ำหัตถการช่วยคลอดแล้ว แม่วัยรุ่นยังเผชิญกับปัญหาทางด้านอารมณ์ จิตใจและสังคม ที่ต้องมีเปลี่ยนจากสถานการณ์เด็กวัยรุ่นมาเป็นแม่ ซึ่งต้องมีความรับผิดสูงแบบผู้ใหญ่โดยที่หลาย ๆ ราย ไม่สามารถปรับตัวได้ ดังน้ันการดูแลและให้ความช่วยเหลือแม่วัยรุ่นภายหลังคลอด จึงเป็นเรื่องส�ำคัญท่ีบุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรตระหนักและให้ความส�ำคญั และสง่ เสริมสนบั สนุนการมสี ว่ นรว่ มและบทบาทของครอบครัว ชมุ ชน ในช่วงการดูแลหลังคลอด เพอื่ ให้แมว่ ัยรุ่นและบตุ รมสี ุขภาพร่างกายแขง็ แรง มีจติ ใจทีเ่ ข็มแขง็ สามารถก้าวผ่านช่วงเวลาท่ียากล�ำบากไปได้ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จึงเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในการให้การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ให้ความชว่ ยเหลอื และให้ค�ำแนะต่าง ๆ เพ่อื ลดพฤติกรรมเสย่ี งของแม่วัยร่นุ เพอ่ื ให้แม่วัยร่นุ มที กั ษะในการเล้ียงดบู ตุ รไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและบุตรทค่ี ลอดจากแมว่ ัยรนุ่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการสมวยั การดูแลแมว่ ยั ร่นุและบตุ รจงึ ควรไดร้ บั การดแู ลจากทมี สหวชิ าชพี แบบบรู ณาการและอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ การดแู ลแบบองคร์ วมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนบรรลุเป้าหมายสูงสดุ ของการดแู ลแมว่ ยั รนุ่ บุตร และครอบครวั การบริการและการดแู ลแมว่ ยั รุ่น บตุ ร และครอบครวั ระยะหลังคลอด 39
วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนทางดา้ นรา่ งกาย และจิตใจของแม่วัยรนุ่ และบุตร 2. เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการเลย้ี งดลู กู และสง่ เสรมิ การเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแม่ โดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั 3. เพอื่ ใหแ้ มว่ ยั รนุ่ สามารถดแู ลสขุ ภาพของตนเองและบตุ ร รวมทง้ั มที กั ษะในการเลย้ี งดบู ตุ รและใชช้ วี ติ ครอบครวั เม่ือกลบั ไปอยูบ่ ้านได้อยา่ งมคี วามสขุ สามารถเลยี้ งลูกด้วยนมแมไ่ ด้อย่างนอ้ ย 6 เดือนหลังคลอด 4. เพอ่ื ใหบ้ ุตรทเี่ กดิ จากแม่วยั รุ่นมกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการสมวัย 5. เพื่อใหแ้ ม่วยั รุ่นไดร้ บั บริการวางแผนครอบครัวทมี่ ีประสทิ ธิภาพ และปอ้ งกนั การตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงคซ์ �้ำ 6. เพ่ือใหแ้ ม่วยั รุ่นและบตุ รไดร้ บั การดูแลชว่ ยเหลอื ทางด้านสงั คม และสามารถใชช้ วี ิตได้อย่างมีความสขุ1. องค์ประกอบของการบรกิ ารและการดูแลแม่วัยร่นุ บุตร และครอบครัวระยะหลงั คลอด 1.1 ผใู้ หบ้ รกิ าร ประกอบดว้ ยบคุ ลากรทมี สหวชิ าชพี จากหลายหนว่ ยงาน ตงั้ แตเ่ จา้ หนา้ ทหี่ อ้ งหลงั คลอด คลนิ กิ วางแผนครอบครวั คลนิ กิ วยั รนุ่ คลนิ กิ นมแม่ และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ซง่ึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารสอื่ สารขอ้ มลู แมว่ ยั รนุ่ การทำ� ความเขา้ ใจความรว่ มมอื และการประสานงาน แกท่ กุ หนว่ ยงานในการดแู ลตอ่ เนอ่ื งภายในโรงพยาบาล โดยคำ� นงึ ถงึ การรกั ษาความลบัของแม่วัยรุ่น รวมท้ังการสื่อสารข้อมูลเพื่อการดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อไปยังเครือข่าย การนัดหมายและการติดตามผลการดูแลต่อเนื่อง 1.2 สถานที่ให้บริการ หน่วยบริการภายในโรงพยาบาลท่ีเก่ียวข้องในการดูแลแม่วัยรุ่นและบุตร ควรจัดสถานท่ีให้มีความเป็นส่วนตัว ตามความเหมาะสม 1.3 การส่งเสริมใหส้ ามีและครอบครวั มีส่วนรว่ มดแู ล และช่วยเหลอื ให้แม่วยั รนุ่ สามารถดแู ลตนเอง การเลี้ยงดูบุตรรวมทงั้ การสรา้ งสมั พันธภาพและปอ้ งกันการทอดทง้ิ บุตร40 ค่มู อื แนวทางปฏิบตั กิ ารดแู ลแม่วัยรุ่น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128