Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต

คู่มือฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Published by pornra2512999, 2022-07-14 15:17:36

Description: คู่มือฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Search

Read the Text Version

คู่มือประจำฐาน ……………………….. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองบรุ รี มั ย์ สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดบรุ ีรมั ย์ สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ก

คำนำ แผนการจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ (ศรร.) ฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต กศน.อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และเป็นคู่มือใช้ในการประกอบการเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนรูใ้ นฐาน การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ (ศรร.) ฐานการเรียนรู้ตลอด ชีวิต จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ นกั ศึกษา ครู และผู้ที่สนใจเปน็ อย่างยิง่ คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญ ข เรื่อง หนา้ คำนำ ก สารบญั ข รปู แบบการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่ฐู านการเรยี นรู้ 1 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2 ชอื่ ครู/วทิ ยากรประจำฐาน 6 ช่ือนกั ศึกษาประจำฐาน 6 วัตถปุ ระสงค์ 6 เน้ือหา/ ความรู้ 6 วธิ ีใชฐ้ านการเรยี นรู้ 7 ตารางการปฏบิ ัติและเวลาทีใ่ ช้ 7 ส่อื /เคร่ืองมือช่วยสรา้ งการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น 8 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 กระบวนการจัดการเรยี นรู้/วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ 8 การวัดและประเมินผล 10 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 การสง่ เสริมการเรียนรูก้ ารใช้ห้องสมุด 12 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 ส่งเสริมการอ่าน (เกมพยากรณเ์ ลขบัตรประชาชน) 28 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การทำถุงหอมสมุนไพร 45 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 มหัศจรรยส์ ีธรรมชาติ (ผา้ มัดยอ้ ม) 63 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 เสริมสรา้ งจินตนาการระบายสี 88 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 105 แบบประเมนิ ผลงาน 106 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ 108 109 รูปภาพประกอบ การจัดกจิ กรรมฐานการเรียนรตู้ ลอดชีวติ

1 รปู แบบการขับเคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สู่ฐานการเรียนรู้ รูปแบบการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ฐานการเรียนรู้ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองบุรีรมั ย์ จงั หวดั บุรรี ัมย์ เร่ิมจากกองอำนวยการรักษาความม่ันคงภายใน ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ได้ลงนามบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือโดยมวี ตั ถุประสงคด์ ้านการรักษา ความมนั่ คงสถาบนั หลกั ของชาติ โดยให้บุคลากรในสังกัดสำนักงาน กศน. ทุกระดับ และประชาชนได้ตระหนักรู้และเกิดความภาคภูมิใจในการ ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่สู่ ประชาชนอย่างแพร่หลาย และเกิดความซาบซึ้งในสถาบันพระมหากษัตริย์ของประเทศไทย และให้ความ ร่วมมือในการส่งเสริมหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท และได้กำหนดให้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลในกศน.ตำบลทุกแห่งทั่วประเทศ รวม 7,424 แห่ง เพื่อ เป็นศูนย์เรยี นรู้และประสานการทำงานในการขับเคลื่อนการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ร่วมกับภาคส่วนต่างๆในรูปแบบประชารัฐ สถานศึกษาและประชาชนให้เป็นรูปธรรมเพ่ือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราช สมบตั คิ รบ 70ปีในปพี ุทธศักราช 2559 สำนักงาน กศน.จังหวดั บุรีรัมย์ร่วมกับกองอำนวยการรักษาความม่ันคงภายในจังหวัดบุรีรัมย์และภาคี เครือข่ายจึงร่วมกันจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลข้ึน ในกศน.ตำบลทุกแห่ง เพื่อให้การดำเนินงานสนับสนุนแนวทางในการเผยแพร่องค์ความรู้ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมร่ วมทั้งหลักการทรงงาน เพือ่ สรา้ งจติ สำนึกความหวงแหนสถาบันหลัก ของชาตผิ ่านกลไกทางการศึกษาของ กศน. และภาคเี ครอื ข่ายไปสู่นักศึกษา กศน. และประชาชน

2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทาน แก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับ วกิ ฤตการณ์ หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ บนพนื้ ฐานวถิ ชี วี ติ ดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยกุ ต์ใช้ เมื่อมีการกล่าวถึงเศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะแนวความคิดหรือปรัชญา ในการดำรงชีวิต\"ทฤษฎี ใหม่\" ก็มักจะได้รับการกล่าวอ้างถึงควบคู่กันเสมอในฐานะตัวอย่างหรือแนวทางในการนำ หลักเศรษฐกิจ พอเพียงมาปฏิบัติเพราะทฤษฎีใหม่ คือการเลี้ยงตัวเองได้ในระดับชีวิตที่ประหยัด ไม่ว่าจะเป็นในเรือ่ งของการ ปลูกพืช เลยี้ งสตั ว์ ในการพงึ่ พาตนเอง และการแบง่ ปนั ตลอดจนการดำเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมส่ กู่ ารดำรงชวี ิต และเกดิ ความซาบซึง้ ในสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานการขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถใช้วิธีการและแนวทางการจัดการเรียนการสอนตามหลักการทรงงานและแนว พระราชดำรินำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ไปใช้ในวิถีชีวิตและขับเคลื่ อนศูนย์ เรยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบลต่อไป รูปแบบหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3 แผนภูมกิ ารขับเคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่ฐานการเรยี นรู้กศน.อำเภอเมอื งบรุ ีรมั ย์ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณะกรรมการขบั เคลือ่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชพี ทกั ษะการดำเนินชวี ติ การพฒั นาสงั คม รายวชิ า ฐานการเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษา คณะกรรมการประเมินผลการจัดกจิ กรรม รายงานผลการจดั กจิ กรรม

4 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะ แนวทางที่ควรดำรงอยู่และปฏิบัติตนแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤต เศรษฐกิจ 2550 ให้ใช้เป็นแนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอดพ้นวิกฤต และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และ ยงั่ ยนื ภายใตค้ วามเปล่ยี นแปลงต่างๆ ลกั ษณะของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. เปน็ วิถกี ารดำเนินชีวิต ท่ใี ช้คุณธรรมกำกับความรู้ 2. เป็นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มนั่ คง ยง่ั ยนื 3. เปน็ หลกั คดิ และหลักปฏบิ ตั ิ - เพอ่ื ให้คนส่วนใหญ่พอมีพอกนิ พอใช้ สามารถพ่ึงตนเองได้ - เพอื่ ให้คนกับคนในสังคม สามารถอยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข - เพ่ือใหค้ นกับธรรมชาติ อยรู่ ่วมกนั อย่างสมดุล ยง่ั ยืน และให้แต่ละคนดำรงตนอยา่ งมีศกั ดิ์ศรี และ รากเหง้าทางวฒั นธรรม องคป์ ระกอบปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง ประกอบดว้ ย 2 - 3 – 4 ได้แก่ 2 เงื่อนไข 3 หลกั การ 4 มิติ โดยมกี ระบวนการดังน้ี 1. ก่อนที่จะลงมือทำกิจกรรมใดๆ นั้นต้องมีเงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การตัดสินใจ และการกระทำ เปน็ ไปพอเพียง จะตอ้ งอาศัยทง้ั คณุ ธรรมและความรู้ ดงั นี้ - เงื่อนไขความรู้ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อยา่ งรอบดา้ น มีความรอบคอบ และความระมดั ระวงั ท่ีจะนำความรู้ตา่ งๆ เหล่านั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน - เงื่อนไขคุณธรรมที่จะต้องสร้างเสริมให้เปน็ พืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้าน จิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการ ดำเนินชีวิต และด้านการกระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหน่ี รู้จักแบ่งปัน และ รับผดิ ชอบในการอยู่รว่ มกับผูอ้ ื่นในสังคม 2. ระหว่างดำเนินการใหใ้ ช้ 3 หลักการ เปน็ ตวั กำกบั ในการทำกิจกรรม คอื - ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีตอ่ ความจำเป็น และเหมาะสมกบั ฐานะของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบียน ตนเองและผูอ้ ืน่ - ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่างๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดงี าม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวขอ้ ง ตลอดจนคำนึงถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึน้ จากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบรู้และรอบคอบ - การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงในดา้ นต่างๆไม่ว่าจะเปน็ ด้านเศรษฐกจิ สงั คม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม เพือ่ ให้สามารถปรับตัว และรับมอื ไดอ้ ยา่ งทันท่วงที เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่เป็นทั้งแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแต่ละ บุคคล และองค์กร โดยคำนงึ ถึงความพอประมาณกับศกั ยภาพของตนเอง และสภาวะแวดลอ้ ม ความมเี หตุ

5 มีผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง โดยใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่ว มมือ ปรองดองกันในสังคม ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่วนต่างๆของสังคมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์พลังในทางบวก นำไปสู่ความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัฒนไ์ ด้ การนำเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ ตอ้ งคำนึงถงึ 4 มิติ ดังนี้ 1.ด้านวตั ถุ หมายถงึ การลดรายจา่ ย / เพม่ิ รายได้ / ใช้ชวี ิตอย่างพอควร / คดิ และวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมคิ มุ้ กนั / ไม่เสีย่ งเกนิ ไป / การเผอ่ื ทางเลือกสำรอง 2.ดา้ นสงั คม หมายถงึ การชว่ ยเหลอื เก้ือกูล / รู้รักสามัคคี / สรา้ งความเข้มแขง็ ให้ครอบครวั และชมุ ชน 3.ด้านสิ่งแวดล้อม หมายถงึ การรูจ้ ักใชแ้ ละจดั การอยา่ งฉลาดและรอบคอบ / เลอื กใชท้ รัพยากรทมี่ ีอยู่อย่างรู้ค่า และเกดิ ประโยชน์สูงสดุ / ฟ้นื ฟทู รัพยากรเพอ่ื ให้เกิดความยง่ั ยนื สงู สดุ 4.ดา้ นวัฒนธรรม หมายถึง การเอื้อเฟื้อ แบ่งปัน / เห็นประโยชน์และคุ้มค่าของภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญา ทอ้ งถ่นิ / รูจ้ กั แยกแยะและเลือกรบั วฒั นธรรมอ่ืน ๆ

6 ฐานการเรียนร้ตู ลอดชีวิต 1. ชื่อครู/วทิ ยากรประจำฐาน 1. นางสาวบวั หลวง หงษ์ยนต์ 2. นายเฉลิมชัย เสารีรัมย์ 3. นางสาวไขแสง ซอกรมั ย์ 4. นางสาวสุวรรนีย์ เทพนภา 5. นางจารุณี สาตราภยั 6. นางสาวดวงฤดี ไสวบญุ ธรรม 7. นางสาวปภชั ญา มุมบา้ นเซ่า 8. นางสวุ ชั รา ศริ ิศิลป์ 9. นางสาวลภณพร เกตชุ ติ 10. นางสาววิภารัตน์ เกตชุ ิต 11. นางสาวสุภาภรณ์ สตาสทิ ธ์ิ 12. นางสาวพรอุรา อุรรี ัมย์ 2. ชื่อนกั ศึกษาประจำฐาน 1. นางสาวนารีย์ ชยั ชมุ พล 2. นางสาวพรรณิดา จารัมย์ 3. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ส่งเสริมการเรยี นร้กู ารใช้หอ้ งสมดุ (ห้องสมุดกบั การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ) 2. เพือ่ ส่งเสรมิ ส่งเสรมิ นิสัยรกั การอ่านและให้เกดิ การใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่ือง (กจิ กรรมส่งเสริมการ อา่ น เกมพยากรณเ์ ลขบัตรประจำตัวประชาชน) 3. เพ่อื สง่ เสริมความรู้ความสามารถด้านอาชพี ให้แกผ่ ้รู บั บริการ (กจิ กรรมการทำถุงหอมสมนุ ไพร) 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถด้านอาชีพให้แก่ผู้รับบริการ (กิจกรรมการทำผ้ามัดย้อมจากสี ธรรมชาติ) 5. เพื่อเสริมสร้างจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ให้แก่ผู้รับบริการ (กิจกรรมเสริมสร้างจิตนาการ ระบายสี) 6. ผรู้ บั บรกิ ารสามารถนำความรู้ท่ีไดป้ ระยุกตใ์ ชห้ รอื ต่อยอดความรู้ในชวี ติ ประจำวนั 4. เนื้อหา/ ความรู้ 1. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรูก้ ารใชห้ อ้ งสมดุ 2. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบตั รประจำตัวประชาชน) 3. กิจกรรมถุงหอมสมนุ ไพร 4. กจิ กรรมมัดยอ้ มจากสีธรรมชาติ 5. กิจกรรมเสรมิ สรา้ งจิตนาการระบายสีสำหรับเดก็ 5. วธิ ใี ช้ฐานการเรยี นรู้ 1. ศึกษาใบความรู้ 2. เตรยี มวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 3. ลงมอื ปฏิบตั ิ 4. สรุปองคค์ วามรู้ที่ได้รับ

6. ตารางการปฏิบตั แิ ละเวลาทีใ่ ช้ 7 ห้องสมุดกับการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ เวลาทใี่ ช้ 10 นาที 1. กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้การใชห้ ้องสมดุ 50 นาที ลำดบั การปฏบิ ตั ิ 50 นาที 1 ชี้แจงวัตถปุ ระสงค์ 50 นาที 20 นาที 2 เรยี นรู้ความเป็นมาและความสำคัญของห้องสมุด เวลาที่ใช้ 3 เตรียมวัสดุอุปกรณ์และลงมอื ปฏิบตั ิ การจัดหมวดหมหู่ นงั สือระบบ 10 นาที ทศนิยมของดวิ อ้ี 15 นาที 15 นาที 4 ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดบรุ รี มั ย์ 15 นาที 15 นาที 5 สรุปองค์ความรทู้ ไี่ ดร้ บั จากการเรยี นรู้การใชห้ ้องสมุด 30 นาที 20 นาที 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบัตรประจำตัวประชาชน) เวลาที่ใช้ ลำดับ การปฏิบตั ิ 10 นาที 1 ช้ีแจงวัตถุประสงค์ 15 นาที 2 ความสำคัญของการอ่าน 15 นาที 3 ความหมายของการอา่ น 50 นาที 4 จดุ มุ่งหมายและประเภทของการอา่ น 10 นาที 5 ประโยชนข์ องการอา่ น 20 นาที 6 เกมพยากรณ์เลขบตั รประชาชน 7 ใบงาน/สรุปองค์ความรู้ทีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน เวลาท่ีใช้ 10 นาที 3. กจิ กรรมการทำถุงหอมสมุนไพร 15 นาที ลำดับ การปฏบิ ัติ 15 นาที 60 นาที 1 ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ 20 นาที 2 สมุนไพรภมู ิปญั ญาไทย 3 สรรพคุณและประโยชนข์ องสมุนไพร 4 กระบวนการทำถุงหอมสมุนไพร 5 ประโยชน์ของถุงหอมสมนุ ไพร 6 สรุปองคค์ วามรู้ท่ีไดร้ บั จากการทำถงุ หอมสมนุ ไพร 4. กิจกรรมการมดั ยอ้ มจากสีธรรมชาติ ลำดบั การปฏบิ ัติ 1 ชี้แจงวตั ถุประสงค์ 2 ความเป็นมา ภมู ปิ ญั ญายอ้ มผา้ จากสธี รรมชาติ 3 สียอ้ มกบั การสร้างสรรค์ 4 กระบวนการทำผา้ มัดย้อม 5 และการมัดยอ้ มจากสีธรรมชาติ

5. กิจกรรมเสรมิ สร้างจิตนาการระบายสี 8 ลำดับ การปฏบิ ตั ิ เวลาทใี่ ช้ 1 ช้ีแจงวัตถุประสงค์ 10 นาที 2 ความรูเ้ บอื้ งต้นเกย่ี วกับการระบายสี 20 นาที 3 เทคนิคการระบายสเี พื่อเสรมิ สร้างพัฒนาการ 20 นาที 20 นาที 4 ประโยชนจ์ ากการระบายสี 30 นาที 20 นาที 5 ฝกึ ปฏบิ ตั ริ ะบายสี 6 สรปุ องคค์ วามรทู้ ี่ได้รับจาการระบายสี 7. สอ่ื /เครือ่ งมอื ช่วยสรา้ งการเรียนรู้ของผูเ้ รียน 1. ใบงาน / ใบความรู้ 2. วัสดอุ ุปกรณใ์ นการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นดว้ ยวธิ ตี ่างๆ 3. แหลง่ เรยี นรู้ฐานการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 4. การถอดบทเรียน 8. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ขยัน 2. ประหยดั 3. ซ่อื สัตย์ 4. สามคั คี 5. มีน้ำใจ 6. มวี นิ ัย 9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้/วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ 1 .ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน 2. ขน้ั สอน 3. ขน้ั สรุป ขนั้ ท่ี 1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ส่อื การเรียนรู้ : ใบความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติในการทำกจิ กรรม ฐานห้องสมุดกบั การเรียนรู้ ตลอดชีวิต 1. ครูนำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยการ อธิบายความหมาย ประเภท หลกั การ และความสำคญั ของห้องสมดุ กบั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 2. ครอู ธบิ าย ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ เรยี นรู้เร่ืองห้องสมดุ กับการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 3. แบ่งผูร้ บั บรกิ ารออกเป็น 5 กลมุ่ มาทฐี่ านหอ้ งสมุดกับการเรียนร้ตู ลอดชีวติ - หนว่ ยการเรียนรู้สง่ เสริมการเรยี นร้กู ารใชห้ อ้ งสมุด - หน่วยการเรียนรสู้ ง่ เสริมการอา่ น (เกมพยากรณ์เลขบัตรประจำตัวประชาชน) - หน่วยการเรียนรู้ถงุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรียนรกู้ ิจกรรมมดั ยอ้ มจากสีธรรมชาติ - หน่วยการเรียนรเู้ สรมิ สรา้ งจิตนาการระบายสี

9 ขั้นที่ 2 ขนั้ สอน 1. นำผ้รู ับบริการมาทฐี่ านการเรียนร้ตู ลอดชีวิต และใหผ้ ้รู ับบรกิ ารเรยี นรูต้ ามฐาน การเรยี นรู้ โดยรปู แบบหนว่ ยการเรยี นรู้ จำนวน 5 หน่วย - หนว่ ยการเรยี นร้สู ่งเสริมการเรียนรกู้ ารใชห้ อ้ งสมุด - หนว่ ยการเรยี นรู้ส่งเสริมการอา่ น (เกมพยากรณเ์ ลขบัตรประจำตัวประชาชน) - หนว่ ยการเรียนรู้ถงุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรยี นรู้กิจกรรมมัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ - หนว่ ยการเรียนรู้เสริมสร้างจติ นาการระบายสี 2. ครอู ธิบาย ช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ - หนว่ ยการเรียนรสู้ ่งเสรมิ การเรียนรูก้ ารใชห้ อ้ งสมดุ - หน่วยการเรยี นรู้ส่งเสริมการอ่าน (เกมพยากรณเ์ ลขบัตรประจำตัวประชาชน) - หนว่ ยการเรียนรถู้ งุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรียนรกู้ ิจกรรมมัดย้อมจากสีธรรมชาติ - หนว่ ยการเรยี นรเู้ สรมิ สรา้ งจติ นาการระบายสี 3. ให้ผรู้ ับบริการ ศึกษาใบความรู้ เร่อื ง - หน่วยการเรยี นรู้สง่ เสริมการเรียนรกู้ ารใชห้ อ้ งสมุด - หน่วยการเรยี นรู้ส่งเสริมการอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบัตรประจำตวั ประชาชน) - หนว่ ยการเรยี นรู้ถงุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรยี นรู้กจิ กรรมมัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ - หน่วยการเรยี นรู้เสรมิ สรา้ งจติ นาการระบายสี 4.ครูซักถามและกระตุ้นให้ผรู้ ับบริการช่วยกนั ตอบอภิปรายสรปุ และให้ผู้รบั บรกิ ารจดบันทึกไว้ 5. ครสู าธติ วธิ กี ารทำกิจกรรม ให้ผู้รับบริการดู และอธบิ ายขน้ั ตอนในการทำกิจกรรมอยา่ งละเอียด พร้อมทัง้ ใหน้ ักศึกษาซักถามข้อสงสยั - หนว่ ยการเรยี นรู้ส่งเสริมการเรยี นรูก้ ารใชห้ ้องสมุด - หนว่ ยการเรยี นรู้สง่ เสรมิ การอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบัตรประจำตัวประชาชน) - หน่วยการเรยี นรู้ถงุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรียนรู้กจิ กรรมมดั ย้อมจากสีธรรมชาติ - หน่วยการเรียนรู้เสริมสร้างจิตนาการระบายสี 6. ผรู้ ับบรกิ ารปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยใหศ้ ึกษารายละเอียดในการปฏิบัตงิ านจากใบงาน - หนว่ ยการเรยี นรู้สง่ เสริมการเรียนร้กู ารใช้ห้องสมุด - หน่วยการเรียนรสู้ ่งเสริมการอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบัตรประจำตัวประชาชน) - หนว่ ยการเรยี นร้ถู งุ หอมสมุนไพร - หน่วยการเรียนรู้กิจกรรมมดั ยอ้ มจากสธี รรมชาติ - หนว่ ยการเรียนรูเ้ สรมิ สร้างจิตนาการระบายสี ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรุป สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ : 1. ครแู ละผ้รู บั บริการชว่ ยกนั สรุปกจิ กรรมและประโยชนข์ องกิจกรรมด้วยวธิ ีการ 2. ให้ผู้รับบริการทำแบบทดสอบหลังเรยี น

10 10. การวดั และประเมินผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธวี ัด เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับดีข้นึ ไป ( รอ้ ยละ ๗๐ ) 1. สงั เกตพฤติกรรม - การสังเกต - แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม ระดบั ดขี นึ้ ไป ( ร้อยละ ๗๐ ) การทำงานกลุม่ - แบบประเมินช้นิ งาน 2. ชน้ิ งานและใบงาน - การประเมินผลจาก 2.1 ใบงาน เร่ือง ช้ินงานและใบงาน ส่งเสรมิ การเรยี นรกู้ ารใช้ หอ้ งสมุด 2.2 ใบงาน เรือ่ ง กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน “เกมพยากรณ์บตั ร ประชาชน” 2.3 ถงุ หอมสมนุ ไพร และผ้ามดั ย้อมจากสี ธรรมชาติ 2.4 ภาพระบายสี ส่งิ ท่ตี ้องการวัด วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 3. คุณลกั ษณะพอเพยี ง - การสังเกต - แบบประเมิน ระดับดขี ึ้นไป ( รอ้ ยละ ๗๐ ) 4. พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ิต - การตอบคำถาม - แบบคำถาม ผา่ น/ไมผ่ ่าน

11 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การส่งเสรมิ การเรยี นรกู้ ารใช้ห้องสมดุ

12 เรอ่ื งท่ี 1 ความเป็นมาและความสำคัญของหอ้ งสมดุ ความหมายของหอ้ งสมุด คำว่า “ห้องสมุด” มีคำที่ใช้กันอยู่หลายคำในประเทศไทย สมัยก่อนเรียกส่า “หอหนังสือ” ห้องสมุด ตรงกับภาษาอกั ฤษวา่ Library มาาจากศัพท์ภาษาละตนิ ว่า Libraria ห้องสมุด คือ สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการต่างๆ ซึ่งได้บันทึกไว้ในรูปแบบหนังสือ วาสาร ต้นฉบับ ตัวเขียน สิ่งตีพิมพ์อื่นๆ หรือโสตทัศนวัสดุ และมีการจัดอย่างมีระเบียบเพ่ือบริการแก่ผู้ใช้ ในอันที่ส่งเสริมการ เรียนรู้และความสรรโลงใจตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้จัดหา และจดั เตรียมใหบ้ ริการแกผ่ ใู้ ช้ห้องสมุด ความสำคญั ของห้องสมุด ห้องสมุดเป็นแหล่งรวมรวมสรรพวิทยาต่างๆ หาลายสาขา สำหรับบริการผู้ที่ต้องการศึกษาหาความรู้ หรอื ค้นค้าวข้อมูลตา่ งๆ ความสำคญั ของห้องสมุดพอสรปุ ได้ ดังน้ี 1. ห้องสมุดเป็นที่รวบรวมวิทยาการต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการเรียนการสอน ซึ่งทั้งที่ผู้เรียนและ ผู้สอนใช้เป็นสถานที่ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม ทำให้การเรียนการสอนทันสมัยอยู่เสมอ ทำให้ผู้สอนมี ความรู้ใหม่ ๆ และรอบรู้ในเรื่องที่สอนมากขึ้น ผู้เรียนสามารถเข้าไปค้นคว้าหาความรู้ในแขนงวิชาที่เรียนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ.2542 ที่มุ่งจัดการเรียนการสอยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ห้องสมุดจึงกลายเป็นแหล่งข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการเรียนการสอนมากยิง่ ขึ้น ห้องสมุดต้องมีความสมบรู ณ์ พรอ้ มทจ่ี ะให้ผู้เรียนและผสู้ อนใช้ เป็นแหลง่ คน้ คว้าอยา่ งกวา้ งขวางและเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 2. ห้องสมุดเป็นแหล่งสารนิเทศที่มีความสำคัญต่อการค้นคว้าวิจัย การเลือกการอ่านหนังสือเพื่อ ค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ประดิษฐ์คิดค้นใหม่ได้โดยอิสระตามความสนใจของแต่ละบุคคลสามารถค้นหาคำตอบท่ี ตอ้ งการอยา่ งมีระบบวิธี โดยการใช้สารนเิ ทศต่างๆ ท่มี อี ยใู่ นหอ้ งสมุดเพื่อความสมบูรณ์ ถูก๖องและเพิ่มคุณค่า ของการวิจยั 3. ห้องสมุดเป็นแหล่งสารนิเทศที่เปิดโอกาสให้ทุกคนเลือกศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระตามความ ตอ้ งการของแตล่ ะคนภายใต้เง่ือนไขระเบยี บจอ้ บังคับของห้องสมุดไม่จำกัดสิทธิและโอกาสในการศกึ ษาคน้ ควา้ 4. ห้องสมดุ เปน็ แหล่งข้อมลู ที่ส่งเสรมิ การอา่ นและค้นคว้าดว้ ยตนเอง การอ่านเป็นการพฒั นาความรู้ ความคิดประสบการณ์ ทักษะทางภาษา และการอ่านเป็นการศึกษาที่ไม่สิ้นสุด ห้องสมุดจึงเป็นสถานที่สำคัญ ตอ่ การอ่านหนังสอื ถือเป็นแหลง่ ขอ้ มูลสำหรับการอา่ นที่ดที ี่สดุ แหล่งหนึ่ง 5. หอ้ งสมุดเป็นสถานทส่ี ำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพราะเปน็ ศูนย์รวมความรูค้ วามคิดที่ปิดโอกาส ให้ทุกคนแสวงหาความรู้ได้ตามต้องการเป็นการสง่ เสริมให้นักเรยี นนักศึกษาและประชาชนให้รจู้ ักใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความคิดในการพัฒนางานอาชีพของตนและเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางกา ร ประกอบอาชีพ รวมทั้งเป็นแหล่งส่งเสริมความบันเทิง การอ่านจึงเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน 6. ห้องสมุดเป็นสถานที่ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงามจาการที่สภาพสังคมและวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ทำให้มีการแลกเปลี่ยนและเลียนแบบวัฒนธรรมระหว่างชนชาติอย่างกว้างขวาง ห้องสมุดจึงกลายเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์วัฒนธรรมของช าติให้คงอยู่ ห้องสมดุ เป็นแหล่งรวบรวมสารนเิ ทศดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมเพ่อื เผยแพร่ให้อนชุ นรุน่ หลังไดร้ จู้ ักและรักษาสืบ ต่อไป และเป็นศูนย์รวมของคนในสังคมทีเข้ามาใช้ ห้องสมุดเป็นจำนวนมากทำให้ผู้ใช้รู้จักระเบียบ ข้อบังคับ และมารยาทในการใช้ห้องสมุดร่วมกัน เป็นการสร้างวัฒนธรรมที่ดีงามอยา่ งหน่ึงและห้องสมุดยังเป็นศูนย์รวม กิจกรรมตา่ งๆ ของสงั คม เชน่ การจัดนิทรรศการวันสำคญั ของชาติ

13 7. ห้องสมุดจะเป็นแหล่งข้อมูลที่ผู้อ่านสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเรยี นรู้ได้มากที่สุด เนื่องจาก ห้องสมุดส่วนใหญ่เป็นแหล่งข้อมูลที่ให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าเป็นคลังแห่งความเรียนรู้ที่ให้อิสระแก่ผู้ใช้เพื่อ นำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาความเจริญก้าวหน้าและใช้ในการประกอบธุรกิจต่างๆ โดย ผู้ใช้บริการไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการไม่หาซื้อหนังสือ เอกสาร ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ จึงสามารถประหยัด ค่าใชจ้ ่ายได้มาก จะเห็นได้ว่าห้องสมุดมีความสำคัญกับผู้ใช้ห้องสมุดอย่างมาก ถ้าผู้ใช้รู้คุณค่าในสมบัติทุกชิ้นท่ีมีอยู่ใน ห้องสมุด รู้จักใช้อย่างถูกวิธี ระมัดระวังอย่างให้หนังสือ เอาสาร หรือสื่อสารนิเทศต่าง ๆ ในห้องสมุดฉีกขาด หรือสูญหาย ก็นับว่าผู้ใช้ช่วยกันดูแลทรัพย์สมบัติส่วนรวมให้คงอยู่สืบไป อีกทั้งเป็นการฝึกนิสัยในการรู้จัก ระมัดระวงั อยเู่ สมอ ๆ จนกลายเปน็ นิสยั ท่ตี ิดตวั ผใู้ ช้ตลอดไป วตั ถุประสงคข์ องห้องสมดุ วัตถุประสงค์สำคญั ของหอ้ งสมุดโดยท่ัวไปมี 5 ประการ คือ 1. เพื่อการศึกษา (Education) ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมทรัพยากรสารนิเทศหลายรูปแบบทุกสาขาวิชา ของสถาบนั การศึกษาทุกระดับ เปน็ สถานท่ีท่นี ักเรียน นกั ศึกษา ครูอาจารยแ์ ละบุคคลทั่วไปทุกระดับต้ังแต่ช้ัน อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาเข้าไปศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองได้ อย่างกว้างขวาง สามารถศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองนอกจากการเรียนการสอนในห้องเรียน ผศู้ ึกษาจำเป็นต้องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องสมุดประกอบคำสอนของครูอาจารย์จึงมีความรู้อย่างสมบูรณ์ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาถึง ชั้นสูงกอ็ าจใชห้ ้องสมุดศกึ ษาต่อไปตลอดชพี เพราะหอ้ งสมดุ เปน็ แหล่งวชิ าใหค้ น้ หาส่ิงทีส่ งสัยไดต้ ลอดเวลา 2. เพ่ือให้ความรู้และข่าวสาร (Information) ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมสรรพวิทยาการทุกสาขา เปิด โอกาสให้ทกุ คนแสวงหาความรู้ ขา่ งสารต่าง ๆ อย่างกวา้ งขวาง ตามความสนใจของแตล่ ะคนอย่างไมม่ ีข้อจำกัด ห้องสมุดเป็นศูนย์กลางสำหรับนักศึกษาวิชาการใหม่ ๆ และติดตามข่างความเคลื่อนไหวทั้งภายในภายนอก ประเทศทั่วโลก ทำให้เป็นคนทันสมัยทันโลก มีความคิดริเริ่มใหม่ ๆ ที่จะช่วยพัฒนาประเทศ ช่วยให้เป็น พลเมืองทมี่ คี ณุ ภาพ มีความรับผดิ ชอบ 3. เพ่ือการคน้ ค้าวิจยั (Research) หอ้ งสมุดเป็นท่ีเก็บรกั ษาหนังสอื และวสั ดอุ ปุ กรณ์ทุกชนดิ ไวส้ ำหรับ ใหบ้ รกิ าร ผทู้ ี่ทำการวจิ ัยเรื่องใหม่ ๆ ขึ้นมายอ่ มต้องคน้ คว้าเรื่องท่ีมีอยู่เดมิ เสียก่อน ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมของ ความรู้ ผู้ใช้สามารถเลือกศึกษาคน้ คว้าไดต้ ามความต้องการของตนเองอย่างกว้างขว้าง โดยเฉพาะในห้องสมดุ ของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษามีหน้าที่สำคัญอย่างยิ่งประการหนึ่ง คือ ส่งเสริมการค้นคว้าและวิจัย จึง ต้องจัดหาเอกสารที่จำเป็นสำหรับการค้นคว้าและวิจัย การค้นคว้าวิจัยจะช่วยให้เกิดพัฒนาการในวิชาการใน สาขาต่าง ๆ 4. เพ่ือความจรรโลงใจ (Inspiration) การอา่ นหนงั สือนอกจากเปน็ การรวบรวมข่างสารความร้ตู ่าง ๆ แล้วยังสามารถให้ความสุขทางใจ เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรทั้งรูปของสิ่งพิมพ์และ โสตทัศนวสั ดตุ ่าง ๆ สง่ เสรมิ ให้ผใู้ ชเ้ กดิ ความรู้ความคิดสร้างสรรค์ เมอื่ ผู้ใชไ้ ดใ้ ชป้ ระโยชน์จากวัสดสุ ารต่าง ๆ ที่ มใี นหอ้ งสมดุ แล้ว อาจไดร้ ับความประทับใจจนเกิดแรงบันดาลใจให้มีความคดิ สร้างสรรค์หรือเกิดความจรรโลง ใจ ความเจริญงอกงามทางจติ ใจ สร้างสรรค์ความดแี ก่ตนเองละสังคมทำให้เกิดความชื่นชมในความคดิ ที่ดีงาม ของผู้อ่ืน 5. เพื่อนันทนาการ (Recreation) ห้องสมุดมิได้มีเฉพาะข่าวสารความรู้ทางวิชาการเท่านั้น แต่ยังมี ความเพลิดเพลินในรูปแบบต่าง ๆ ที่รวบรวมไว้ให้บริการผู้ใช้ห้องสมุดให้ได้ผ่อนคลายและได้รับความ เพลดิ เพลนิ จากการอ่าน ซ่ึงถือวา่ เปน็ การพักผ่อนหย่อนใจที่ดีท่สี ดุ ทำให้คนเรารจู้ ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เปน็ งานอดิเรกอย่างหนงึ่

14 องค์ประกอบของหอ้ งสมดุ หอ้ งสมุด คือ แหลง่ รวบรวมวสั ดเุ พือ่ การศึกษาและค้นคว้าวิจัย แบง่ เปน็ ประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. สิ่งตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสาร จุลสาร ในสาขาวิชาต่าง ๆ หนังสือเป็น ความรทู้ ัว่ ไป หนังสือทมี่ คี ุณคา่ ถาวรและหนังสอื อา้ งอิง 2. หนงั สือตัวเขียน ได้แก่ สมดุ ยอ่ ย หนังสืออา่ น และต้นฉบับทีเ่ ขยี นด้วยลายมืออื่น ๆ 3. โสตทศั นวสั ดุ ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์สารคดี ฟิลม์ สคริป สไลด์ แถบเสียง แผ่นเสียง ลกู โลก แผนท่ี รูปภาพ 4. วัสดยุ ่อส่วน ได้แก่ ไมโครฟลิ ม์ ไมโครการด์ ไมโครฟชิ ซึ่งตอ้ งใช้เคร่อื งอา่ นเปน็ พเิ ศษ ส่วนประกอบสำคญั ของห้องสมดุ คือ อาคารสถานที่ วสั ดเุ พื่อการศึกษาและค้นควา้ วจิ ยั บรรณารักษ์ท่ี มีคุณวุฒิทางบรรณารักษ์ศาสตร์และมีเจ้าหน้าที่ห้องสมุดในจำนวนที่เพียงพอทำหน้าที่ให้บริการอย่างมี ประสิทธิภาพตามวัตถปุ ระสงค์ของห้องสมดุ และมเี งินงบประมาณอย่างเพียงพอ ประเภทของห้องสมดุ และแหลง่ เรียนรู้ ห้องสมุด สถานที่รวบรวมทรัพยากรสารนิเทศต่าง ๆ ที่เลือกสรรแล้ว เข้ามาไว้บริการแก่ผู้ใช้ให้ ทนั สมยั และสอดคล้องกับความต้องการ โดยมีบรรณารกั ษ์เปน็ ผดู้ ำเนินการเกย่ี วกับการจัดหา รวบรวม จัดเก็บ และให้บริการอย่างมีระบบเป็นแหล่งสารนิเทศที่เก่าแก่และที่สำคัญที่สุด ที่จัดให้บริการสารนิเทศอย่าง กว้างขวางแบง่ เปน็ 5 ประเภท คอื 1. หอสมุดแหง่ ชาติ นับเป็นหอ้ งสมุดทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ ดำเนิน การโดยรัฐบาลหน้าทห่ี ลักคอื รวบรวม หนงั สอื ส่ิงพมิ พ์และสื่อความรู้ ทกุ กอยา่ งที่ผลิตขึน้ ในประเทศ และทุกอย่างท่เี กีย่ วกับประเทศ ไม่ว่าจะจัดพิมพ์ ในประเทศใด ภาษาใด 2. ห้องสมุดประชาชน เช่นเดียวกับหอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประ- ชาชนดำเนินการโดยรัฐ อาจจะเป็น รัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถิ่นหรือเทศบาล แล้วแต่ระบบการปกครองของแต่ละประเทศ ตามความหมายเดิม หอ้ งสมดุ ประ ชาชนเปน็ ห้องสมุดท่ีประชาชนตอ้ งการให้มีในชมุ ชน 3. ห้องสมดุ ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย เป็นห้องสมดุ ที่ต้ังอยู่ใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทำหน้าท่ี ส่งเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยการจัดรวบรวมหนังสือและสื่อความรู้อื่น ๆ ในหมวดวิชาต่าง ๆ ตามหลกั สูตร ช่วยเหลือในการคน้ ควา้ วิจัยของอาจารย์และนักศกึ ษา 4. ห้องสมุดโรงเรียน เป็นห้องสมุดที่ตั้งอยู่ในโรงเรียนมัธยม และ โรงเรียนประถมศึกษา มีหน้าที่ส่งเสริม การเรียนการสอนตามหลักสูตรโดย การรวบรวมหนังสือและสือ่ ความรู้อื่น ๆ ตามรายวิชา แนะนำสั่งสอนการ ใช้ ห้องสมุดแกน่ กั เรียน 5. หอ้ งสมดุ เฉพาะ คอื หอ้ งสมุดซ่ึงรวบรวมหนังสือในสาขาวชิ าบาง สาขาโดยเฉพาะ มกั เป็นส่วนหน่ึงของ หน่วยราชการ องค์การ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทำหน้าที่จัดหาหนังสือและให้บริการความรู้ ข้อมูล และ ขา่ วสาร เฉพาะเรื่องทเ่ี กี่ยวข้องกบั การดำเนนิ งานของหน่วยงานนัน้ ๆ บรกิ ารของห้องสมดุ ห้องสมุดที่ดีควรมีการจัดบริการท่ีสอนงความตอ้ งการของผู้ใช้อย่างกว้างขวาง ผู้ใช้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและสามารถใช้ห้องสมุดในการเพิ่มพูนความรู้ตลอดจนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใ ห้เกิดประโยชน์ใน ชวี ิตประจำวันไดเ้ ปน็ อย่างดี ดงั น้นั ห้องสมดุ ท่ีดคี วรจัดหา จัดระเบยี บและจัดบริการดังตอ่ ไปน้ี 1. บรกิ ารทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดจะคดั เลอื กและจดั หาวัสดุสารนิเทศหนังสอื และวัสดุ ส่งิ พิมพ์ โสตทัศน์วัสดุ เตรียมไว้เพ่ือให้บริการแก่ผูใ้ ช้ 2. บริการให้ยมื และรบั คนื วสั ดุสารนเิ ทศ ส่ิงพิมพ์ หรือเอกสาร โดยจดั หาวสั ดุสารนิเทศใน รปู แบบตา่ ง ๆ ไว้บริการ และอนญุ าตใหย้ ืมไปใช้นอกสถานท่ีได้ และนำกลบั มาคนื ในระยะเวลาทีก่ ำหนดไว้

15 3. บรกิ ารสืบคน้ สารนิเทศอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ได้แก่ บริการอินเตอร์เนต็ บรกิ ารฐานข้อมลู ซีดรี อม ซดี ีรอม มัลติมเี ดีย 4. จัดบริการแนะนำการอ่าน บริการตอบคำถาม บริการช่วยการค้นคว้า บริการแนะนำการ ใช้ห้องสมุด แนะนำหนังสือดีหรือหนังสือที่หน้าสนใจ หนังสือที่จัดหาเข้าห้องสมุดใหม่ ๆ เพื่อให้ผู้บริการได้ ทราบ 5. มีหนังสืออ้ายงอิง หนังสือสำรองท่ีสงวนไว้เฉพาะในหอ้ งสมุดหรือให้ขอยืมได้ในเวลาจำกัด ในกรณีที่หนังสือมีจำนวนน้อย แต่มีผู้ใช้จำนวนมากอาจจะแยกออกมาเพื่อบริการเฉพาะกลุ่ม และเปิดโอกาส ให้ผ้ใู ชไ้ ดใ้ ชห้ นังสืออา้ งองิ อยา่ งทั่วถึงกันและควรจดั บริการหนงั สือจองด้วย 6. บรกิ ารโสตทัศนวัสดแุ ละอุปกรณ์ เชน่ ชดุ ศกึ ษาวดิ ีทศั น์ด้วยตนเอง เครือ่ งฉายภาพน่งิ รายการโทรทศั นผ์ า่ นดาวเทียม แผน่ ซดี เี พลง หรอื ภาพยนตร์ 7. บริการยืมหรือถ่ายสำเนาเอกสารระหว่างห้องสมุดหากหนังสือหรือเอกสารที่ผู้ใช้ต้องการ ไมม่ บี ริการ ณ หอ้ งสมุดแหง่ นัน้ สามารถตดิ ต่อไปยังหอ้ งสมุดสถาบันอดุ มศกึ ษาแห่งอืน่ ท่มี เี อกสารนนั้ ๆ เพื่อขอ ถ่ายเอกสารหรือยืมฉบบั จรงิ 8. บริการรวบรวมบรรณานุกรมหรือจัดทำสาระสังเขป เช่น บริการรวบรวมรายชื่อเอกสาร เฉพาะเรื่องสำหรับนักวิจัยที่กำลังศึกษาเรื่องนั้น ๆ จัดทำดรรชนีบทความจากวารสารเป็นบริการที่ทำขึ้นเพ่ือ อำนวยความสะดวกแกผ่ ูใ้ ชใ้ นการคน้ ควา้ หาบทความเร่ืองจ่าง ๆ ที่ดพี มิ พ์ในวารสารภาษาไทย 9. มีการจัดหนงั สอื เป็นหมวดหมูต่ ามระบบสากลไว้ในชัน้ เปิดเพื่อใหผ้ ู้ใช้สามารถหยบิ ได้ด้วย ตนเองโดยสะดวก ทำเป็นคู่มอื หรือเคร่ืองมือที่ชว่ ยอำนวยความสะดวกในการใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ของห้องสมุด เช่น บัตรรายการ รายชอื่ หนงั สอื คมู่ ือการใชห้ ้องสมุด 10. บริการถ่ายสำเนาเอกสารสิ่งพิมพ์หรือโสตทัศน์วัสดุ เช่น การนำสำเนาเทปโทรทัศน์ รายการสารคดี ซ่ึงถือเปน็ บริการพิเศษเพอ่ื การศึกษา 11. บริการสง่ เสรมิ การใช้ เช่น ตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ปฐมนิเทศ/นำชมห้องสมุด แนะนำวิธีสืบค้นข้อมูล บริการข่างสารทันสมัย จัดนิทรรศการ จัดทำเอกสาร แผ่นผับคู่มือต่าง ๆ เช่นแนะนำ การใชห้ ้องสมดุ 12. บริการความรสู้ ้ชู มุ ชน เช่น การรณรงค์ใหค้ วามรู้แก่คนในชมุ ชน โครงการส่งเสริมการรู้ หนังสือ โครงการส่งเสริมการรักการอ่านแก่เยาวชน การอบรมระยะสั้น ๆ เช่น การค้นสารนิเทศอินเตอร์เน็ต การจัดปาฐกถา อภิปราย โตว้ าที ฉายภาพยนตร์ เป็นต้น 13. บริการค้นหาข้อมูล เป็นบริการที่ห้องสมุดได้จัดให้มีฐานข้อมูลในเรื่องต่าง ๆ ไว้ให้แก่ ผู้ใช้ เช่น ฐานข้อมูลรายการสาธารณโดยวิธีออนไลน์ ซึ่งห้องสมุดจัดทำขึ้นโดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการที่ ต้องการใช้ได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ห้องสมุดอาจจะจัดซื้อฐานข้อมูลในรูปซีดีรอม ซึ่งมีหลายสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ทางด้านธุรกจิ ฯลฯ ผ้ใุ ชต้ ้องใหเ้ จ้าหนา้ ที่ช่วยค้นข้อมูลทตี่ อ้ งการ 14. จัดสถานที่สะอาดเรียบร้อยเหมาะสมเป็นห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับความ สะดวกสบายตามสมควร เช่น มีแสงสว่างเพียงพอ มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งสบาย ปราศจาดเสียงรบกวนทำลานสมาธิ มี อากาศถ่ายเท หรอื มพี ดั ลมระยาสบอากาศ 15. จัดบริการอำนวยความสะดวกอื่น ๆ เช่น จัดสถานที่พิเศษสำหรับนักค้นคว้าวิจัยใน ระดับสูงบรกิ ารถ่ายสำเนาหนังสือและภาพ บรกิ ารเคร่ืองอ่านเอกสารสำเนา ตามคำวามจำเป็นและระดับความ ต้องการของผใู้ ชบ้ ริการ จดั สง่ เอกสารใหแ้ ก่ผูใ้ ชบ้ รกิ าร เป็นต้น

16 เรือ่ งท่ี 2 การจดั หมวดหมูห่ นังสอื การจัดหมวดหมู่หนังสือ เป็นการจัดหนังสืออย่างมีแบบแผน โดยจัดหนังสือที่มีเนื้อเรื่องเหมือนกัน หรือคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน แล้วใช้สัญลักษณ์แทนเพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้ ในการค้นหาหนังสือ ซึ่งมี อยู่หลายระบบด้วยกัน แต่ที่นิยมใช้สำหรับห้องสมุดโรงเรียน คือ ระบบทศนิยมของดิวอี้ และห้องสมุด มหาวทิ ยาลัยคอื ระบบรฐั สภาอเมริกัน 1. ความหมายของการจดั หมวดหมู่หนังสือ การจดั หมวดหมูห่ นังสือ คือ การจัดกล่มุ หนังสือ โดยพิจารณาจากเนื้อหาสาระของหนังสือเป็น สำคัญ หรือลักษณะการประพันธ์อย่างเดียวกันไว้ด้วยกัน โดยมีสัญลักษณ์แสดงเนื้อหา ของหนังสือแต่ละ ประเภทโดยจะเขยี นสญั ลกั ษณแ์ ทนประเภทของหนังสือไวท้ ่สี ันหนังสือแต่ละเล่ม เพ่ือจะเปน็ การบอกตำแหน่ง ของหนังสอื ทอี่ ยใู่ นห้องสมุด หนังสอื ทีเ่ นอื้ หาเหมือนกนั หรอื คล้ายคลงึ กันจะจัดวางไว้ด้วยกนั หรอื ใกล้ ๆ กัน 2. ความสำคญั ของการจดั หม่หู นังสอื 2.1 ผู้ใช้ห้องสมุดและเจ้าหน้าที่ห้องสมุดสามารถค้นหาหนังสือที่ต้องการได้ ง่ายและ ประหยัดเวลา เพราะเมื่อมีการจัดหมู่หนังสืออย่างเป็นระบบที่สันหนังสือทุกเล่มจะมีเลขหมู่หนังสือ ผู้ใช้ ห้องสมุดสามารถค้นหนังสือได้โดยเปิดดูเลขจากบัตรรายการ แล้วตรงไปหาหนังสือจากชั้นได้อย่าง รวดเร็ว เจ้าหนา้ ท่หี อ้ งสมุดก็สามารถจัดเก็บหนงั สือขึ้นได้ถกู ต้องและรวดเร็ว 2.2 หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอย่างเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกันจะรวมอยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน ช่วยให้ ผู้ใชห้ ้องสมดุ มีโอกาสเลอื กหนังสอื เนือ้ เรื่องท่ีต้องการจากหนงั สือหลาย ๆ เล่มไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 2.3 หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธ์กันจะอยู่ใกล้ ๆ กัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถ หาหนงั สอื ท่ีมเี ร่อื งราวเหมอื นกันมาประกอบเนื้อหาให้สมบูรณ์ยงิ่ ขน้ึ 2.4 ชว่ ยให้ทราบวา่ มจี ำนวนหนงั สือในแต่ละหมวดมากนอ้ ยเพยี งใด 2.5 เมื่อได้หนงั สือใหม่เข้ามาในห้องสมดุ ก็สามารถจดั หมวดหมู่ แลว้ นำออกขนึ้ ช้ันรวมกับหนังสือท่ี มีอยกู่ อ่ นแล้วเพ่อื ให้บรกิ ารได้อย่างรวดเรว็ 3. ประโยชนข์ องการจดั หมวดหม่หู นังสือ 3.1 หนังสอื แต่ละเล่มจะมีสญั ลกั ษณ์แทนเนอ้ื หาของหนังสือ 3.2 หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอย่างเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกันจะรวมอยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน ช่วยให้ ผใู้ ชม้ ีโอกาสเลือกหนังสอื หรือเนื้อเรอื่ งตามท่ีต้องการจากหนงั สือไดห้ ลายเล่ม 3.3 หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวเน่ืองกัน หรือสัมพันธ์กันจะอยู่ใกล้ ๆ กัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถ หาหนงั สือที่มเี ร่ืองราวเหมือนกันมาใชป้ ระกอบเนื้อหาไดส้ มบูรณย์ ง่ิ ขึน้ 3.4 หนงั สือทมี่ ลี ักษณะคำประพนั ธ์แบบเดยี วกนั จะอย่รู วมกนั ตามภาษาของคำประพนั ธ์ นนั้ ๆ 3.5 ช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถค้นหาหนังสือได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว และช่วยประหยัดเวลา เพราะทีส่ ันหนังสือทกุ เลม่ จะปรากฏเลขเรยี กหนังสอื เจา้ หนา้ ทีส่ ามารถจัดเกบ็ เข้าทไี่ ด้ถกู ตอ้ ง รวดเร็ว 3.6 ช่วยให้ทราบจำนวนหนังสือแต่ละสาขาวิชาว่ามีจำนวนมากน้อยเท่าใด หากวิชาใดยังมีจำนวน นอ้ ยไมเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการจะไดจ้ ดั หาเพมิ่ เตมิ ใหเ้ หมาะสม 3.7 เพิ่มประสิทธิภาพในการสืบค้นวัสดุห้องสมุด ลดความผิดพลาดในการสืบค้น สามารถค้นได้ อย่างถูกตอ้ ง สมบูรณ์ รวดเรว็ และประหยัดเวลา

17 4. ระบบการจดั หมวดหมหู่ นังสอื ท่คี วรทราบ ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่สำคัญ การจัดหมวดหมู่หนังสือในปัจจุบันมีการจัดในระบบ ต่างๆ ดังน้ี 4.1 ระบบเอ็กซ์แพนซพี (Expansive Classification) ของ ชารล์ ส์ แอมมิ คัดเตอร์ (Chartes Ammi Cutter) 4.2 ระบบทศนยิ มของดิว อ้ี (Dewey Decimal Classification) หรือ DC หรือ DDC ของ เมลวลิ ดวิ อ้ี (Melvil Dewey) 4.3 ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั (Library of Congress Classification ) หรอื LC ของ เฮอร์ เบริ ์ท พุทนัม (Derbert Putnam) และคระบรรณารกั ษ์หอสมุดรฐั สภาอเมริกนั 4.4 ระบบทศนยิ ม สากล (Universal Decimal Classification) หรือ UDC ของ พอล อ๊อต เล็ต (Paul Otlet) และอองรี ลา ฟอนแตน (Henri La Fontaine) 4.5 ระบบซบั เจค (Subject Classification) หรอื SC ของ เจมส์ ดฟั ฟ์ บราวน์ (James Duff Brown) 4.6 ระบบโคลอน (Colon Classification) หรอื CC ของ เอส. อาร์. แรงกานาธาน (S.R. Ranganathan) 4.7 ระบบบรรณานกุ รม (Bibliographic Classification) หรือ BC ของ เฮนร่ี เอฟเวลิน บลสิ ส์ (Henry Evelyn Bliss) ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือทั้ง 7 ระบบ บางระบบมีการนำมาใช้น้อยมาก แต่บางระบบมี การนำมาใช้แพร่หลายในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย ได้แก่ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และ ระบบทศนยิ มของดวิ อ้ี ทั้งสองระบบน้ีหอ้ งสมุดไดน้ ำมาใชแ้ ตกต่างกันตามลักษณะและขนาดของห้องสมุด ซึ่ง นบั วา่ เปน็ ระบบการจดั หมวดหมทู่ ส่ี ำคัญ และเปน็ ที่นยิ มใช้มากท่สี ุด 5. การจดั หมู่หนังสือระบบทศนยิ มของดิวอ้ี การจดั หมวดหมหู่ นังสือระบบทศนยิ มของดิวอ้ี (Dewey Decimal Classification) เรยี ก ย่อ วา่ ระบบ D.C. หรือ D.D.C. ระบบนีต้ ้งั ช่ือตามผู้คิดค้น คอื นายเมลวิล ดวิ อี้ ( Melvil Dewey) บรรณารกั ษ์ชาวอเมรกิ นั ดวิ อีม้ คี วามสนจานห้องสมุดเป็นพเิ ศษ ในขณะที่เป็นนักศึกษาชน้ั ปที ่ี 3 ใน วิทยาลัยแอมเฮิร์สต์ ในรฐั แมสซาซเู สตต์ ไดส้ มัครเข้าทำงานห้องสมุดของวทิ ยาลัยนนั้ ในตำแหน่งผู้ชว่ ย บรรณารกั ษ์ ดิวอ้ีได้ไปดงู านดา้ นการจดั หนังสือให้สะดวกแก่การใช้ในห้องสมุดต่างๆ ถึง 50 แห่ง แล้วจงึ ได้ เริ่มคิดระบบการจดั หมวดหมู่แบบทศนยิ มข้นึ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ไดน้ ำเสนอต่อ คณะกรรมการห้องสมุดของวิทยาลยั น้ัน จดั พมิ พ์เปน็ รูปเล่มครัง้ แรกเมื่อปี ค.ศ. 1876 และได้มีการปรับปรุง แก้ไขเพ่ิมเตมิ เลขหมู่ให้ทันสมัยอยูเ่ สมอ และจดั พิมพ์ใหมค่ รงั้ หลงั สดุ เม่อื ปี พ.ศ. 2534 เป็นการพมิ พ์ครั้ง ท่ี 20 ระบบนี้ใชต้ ัวเลขเปน็ สัญลกั ษณแ์ ทนชนิดของหนังสือ โดยใช้ตวั เลขสามหลกั และยังสามารถใช้จุด ทศนยิ มหลังเลขหลักรอ้ ย ชว่ ยในการแบง่ ย่อยเน้ือหาวชิ าได้อกี ดว้ ย ระบบน้ีใชง้ ่าย เข้าใจและจำไดง้ ่าย จึง เป็นระบบการจดั หม่ทู ่ีนยิ มใชก้ นั แพร่หลายในห้องสมุดโรงเรยี น ห้องสมดุ ประชาชน ในทกุ ๆ ประเทศทว่ั โลก รวมทง้ั ประเทศไทยเราดว้ ระบบทศนิยมของดวิ อ้ี แบ่งหนงั สือเป็นหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดยอ่ ย ๆ ดังนี้

18 หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบ่งครั้งท่ี 1 คือ การแบ่งความรู้ต่าง ๆ ออกเป็น 10 หมวดใหญ่ โดยใช้ ตัวเลขหลักรอ้ ยเป็นสญั ลกั ษณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ หมวด 000 เบด็ เตลด็ ความรู้ทวั่ ไป บรรณารกั ษศาสตร์ หมวด 100 ปรชั ญา จติ วิทยา หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สงั คมศาสตร์ หมวด 400 ภาษาศาสตร์ หมวด 500 วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ หมวด 600 เทคโนโลยี หรอื วทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต์ หมวด 700 ศลิ ปกรรม และนันทนาการ หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ภมู ศิ าสตร์และประวตั ศิ าสตร์ แล้วยังมีการแบ่งเป็นหมวดย่อย (Division) หรือการแบ่งครั้งที่ 2 คือ การแบ่งหมวดใหญ่แต่ละหมวด ออกเปน็ 10 หมวดย่อย โดยใช้ตวั เลขหลกั สบิ แทนสาขาวิชาตา่ งๆ จะเห็นได้ว่าการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้น้ี จะใช้วิธีแบ่งหนังสือจากหมวดหมู่ใหญ่ กว้าง ๆ ไปหาหมวดหมู่ย่อย ๆ ต่อไปได้อีกโดยใช้จุดทศนิยมแบบไม่รู้จบ ซึ่งผู้อ่านไม่จำเป็นจำให้ได้ ทั้งหมด แต่ควรจำให้ได้เฉพาะหมวดใหญ่ 10 หมวดว่าแต่ละหมวดเกี่ยวกับสาขาวิชาอะไร และจำเลขหมู่ ของหนงั สือบางเล่มทผี่ ู้อา่ นใชเ้ ป็นประจำก็เพยี งพอแล้ว เพราะผ้ใู ชห้ อ้ งสมุดเปน็ ต้องรู้จักวิธีการใช้ห้องสมุดเพ่ือ การศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 6. การจัดหมูห่ นงั สอื ท่ีไม่ใช้ตวั เลขเปน็ สญั ลักษณ์ หนังสือบางประเภทผู้อ่านให้ความสนใจด้านการใช้ภาษา ตลอดจนวิธีการดำเนินเรื่องมากกว่าสาระ ทางวิชาการ ห้องสมุดจึงใช้อักษรย่อของคำที่บอกประเภทหนังสือนั้น ๆ แทนการให้เลขหมู่แต่ละเล่ม ซ่ึง ห้องสมุดแต่ละแห่งอาจจะใช้ตัวอักษรย่อแตกต่างกันสำหรับหนังสือประเภทเดียวกัน เช่น เพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการจดั หม่หู นังสือ หอ้ งสมุดสว่ นมากนิยมใช้ตวั อักษร เป็นสญั ลักษณ์แทนการให้เลขหมู่หนังสือ บางประเภท เพราะห้องสมดุ พจิ ารณาเห็นวา่ หนังสอื ประเภทนั้นๆ ผู้อ่านมิได้ให้ความสนใจสาระทางวิชาการ มากเท่ากับการใช้ถ้อยคำ ภาษา ตลอดจนวิธีการดำเนินเรื่อง ห้องสมุดจึงใช้อักษรย่อของคำที่บอกประเภท หนังสือนั้น ๆ แทนการใช้สัญลักษณ์สำหรับหนังสือเหล่านี้ แต่ละห้องสมุดอาจจะใช้ตัวอักษรแตกต่าง กัน สำหรับหนังสือประเภทเดียวกนั สำหรับห้องสมดุ โรงเรยี นกบนิ ทร์วทิ ยาใช้สัญลักษณ์ ดังนี้ น แทน นวนิยาย (นวนิยาภาษาไทย) Fic แทน Fiction (นวนยิ ายภาษาตา่ งประเทศ) รส แทน รวมเรื่องส้ัน ยว แทน หนังสือสำหรบั เยาวชน พ แทน หนงั สือพอ็ คเก็ตบุ๊ค อ แทน หนังสอื อา้ งอิง Ref แทน หนังสอื อา้ งอิงภาษาตา่ งประเทศ (Reference Book) บ แทน แบบเรียน

19 หนังสือที่มีสัญลักษณ์พิเศษที่ใช้ตัวย่อแทนเลขหมู่หรือสัญลักษณ์ของระบบการจัดหมู่เหล่าน้ี จะ เรียงอยู่บนชั้นแยกจากหนังสืออื่น ๆ ที่ให้หมวดหมู่หรือสัญลักษณ์ตามระบบการจัดหมวดหมู่หนังสื อที่เป็น สากล

20 เรอ่ื งที่ 3 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั บุรรี มั ย์ แผนทีต่ ้งั ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดบรุ ีรมั ย์ ประวตั คิ วามเป็นมา ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดบุรีรมั ย์ ขณะน้ันยังไม่มอี าคารเปน็ เอกเทศ เร่ิมก่อต้ังคร้งั แรกเม่อื ตน้ ปี พ.ศ.2492 โดยใช้สถานทีบ่ ริเวณบา้ นพักข้าราชการของศกึ ษาธิการ จังหวัดบุรรี ัมย์ (นายสขุ มุ ชยสมบัติ) เป็น ท่ที ำการชวั่ คราว ในปี พ.ศ. 2497 ไดย้ า้ ยออกไปเชา่ อาคารเลขที่ 210 ถ.จิระ อ.เมอื ง จ.บรุ รี ัมย์ และปี พ.ศ. 2525 ได้รับงบประมาณก่อสรา้ งอาคารใหม่ บนท่ดี นิ บรจิ าคของเทศบาลเมอื งบรุ ีรมั ย์ จำนวนเน้อื ที่ 3 งาน 20 ตารางวา เปน็ ทต่ี ้ังของห้องสมดุ ในปจั จุบนั ลักษณะอาคาร คอนกรีต จำนวน 1 ชัน้ (ช้ันเดียว) จำนวน พน้ื ทใี่ ช้สอย ประมาณ 300 ตารางเมตร ประกาศจัดตั้งปีพุทธศักราช 2525 ที่ต้ัง หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดบรุ รี ัมย์ 325 ถนนสุนทรเทพ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ สภาพทต่ี งั้ หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั บรุ ีรัมย์ เป็นส่วนหน่งึ ของสถานศกึ ษาสงั กัดศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองบุรีรมั ย์ ตง้ั อยู่ เลขที่ 325 ถนนสุนทรเทพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บรุ รี มั ย์ รหสั ไปรษณีย์ 31000 อาคารมลี ักษณะเป็นเอกเทศจดั ต้ังปีพุทธศกั ราช 2525 แยกอาคารกบั ศูนยก์ ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองบรุ ีรัมย์ เวลาทำการ วันจนั ทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 - 18.00 น. วนั เสาร์ – อาทิตย์ เวลา 08.30 – 16.30 น. หยุดวันนกั ขตั ฤกษ์

21 โซนท่ใี ห้บรกิ าร หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั บุรีรัมย์ ได้ดำเนนิ การเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรูต้ น้ แบบ (Co - Learning Space) โดยมีการให้บริการการเรยี นร้ตู ามอัธยาศยั สำหรับผรู้ ับบริการทุกช่วงวัย เพ่ือเปิดโอกาสใหเ้ รียนรู้ ไดอ้ ยา่ งเสมอภาคเท่าเทยี มกันอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวิต 1) โซนทำงาน หรือประชุม (Co – Working Zone) ให้บริการห้องประชุมกลุ่มย่อย ห้องปฏิบัติงาน กลุม่ ห้องสอนเสรมิ นอกเวลาเรยี น หรอื กจิ กรรมอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม 2) โซนส่งเสริมการอ่าน คน้ ควา้ ข้อมูล สือ่ (Learning Zone) จดั บรกิ ารสอ่ื สารสนเทศ เพื่อใหบ้ รกิ าร มสี ารสนเทศท่หี ลากหลายสามารถอ่านไดท้ ุกชว่ งวัย

22 3) โซนกิจกรรม (Activities Zone) ใหบ้ ริการห้องหรือพื้นท่ีจดั กจิ กรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วง วัย เพอื่ บริการบคุ คลภายนอก หรอื กิจกรรมทห่ี ้องสมดุ จัดขึ้น 4) โซนพักผ่อน (Relax Zone) & โซนกาแฟ (Coffee Zone) พื้นที่บริการเพื่อการพักผ่อนนั่งเล่น พบปะพดู คยุ อ่านหนังสอื มบี รกิ าร wifi ฟรี โซนกาแฟจดั เป็นพื้นทส่ี ำหรบั นั่งพักผ่อนสบาย ๆ เพอ่ื อ่านหนงั สือ จบิ กาแฟ และมีบริการจำหน่ายอาหารวา่ งและเคร่อื งดืม่ 5) โซนคอมพิวเตอร์ (Computer Zone) บริการคอมพิวเตอร์ เพื่อการเรียนการสอน การทำงาน การเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนทัง้ ในและนอกระบบโรงเรียน หรือเพอ่ื ความบันเทิงอน่ื ๆ ฯลฯ

23 การสืบคน้ ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ ปัจจุบันการดำเนินงานต่าง ๆ ของห้องสมุดประชาชน ด้านการบริการ การจัดกิจกรรม การ ประชาสมั พนั ธจ์ ำเป็นต้องมีสื่อหรอื เทคโนโลยี เข้ามาใช้ควบค่กู นั ไปเพ่อื ใหเ้ กดิ ความสะดวกสบาย เขา้ ถงึ แหล่ง การใช้ได้ง่าย และเอื้อประโยชน์ต่อผู้รับบริการสูงสุด บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดเป็นส่วนหนึ่งในการ ดำเนินงานโดยการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการปฏิบัติงานห้องสมุด ซึ่งในการดำเนินงานห้องสมุด ประชาชนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้นำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการบริการห้องสมุด โดยการใช้งานผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ “ระบบเชอ่ื มโยงแหลง่ การเรียนรู้ (Learning Resources Linkage System)” ของห้องสมุดประชาชน โดยระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้นี้มีการบริการข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ของห้องสมุด ประชาชน มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมห้องสมุดได้อย่างกว้างขวาง และสามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา จากอินเทอร์เน็ต และสมาชิกห้องสมุดหรือผู้รับบริการ ยังสามารถเข้าดูข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดได้ตาม อัธยาศยั ท่ีบา้ น โดยจะมบี รกิ าร เชน่ หนังสือออกใหม่ การจองหนงั สือ การสมคั รสมาชิก กจิ กรรมส่งเสริม การอา่ น ส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องหอ้ งสมดุ เปน็ ต้น หน้าเวบ็ ไซต์ระบบเช่ือมโยงแหลง่ การเรียนรู้ (Learning Resources Linkage System) ของห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั บุรรี มั ย์ (http://lrls.nfe.go.th//LRLS/frontend/theme/index.php?Submit=Init&ID_Lib=346)

24 หน้าระบบเช่ือมโยงแหล่งการเรยี นรสู้ ำหรับผู้ใช้บริการ หน้าเวบ็ ไซต์หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั บรุ รี มั ย์ การสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ผา่ น YouTube

25 ใบงาน เรื่อง การสง่ เสรมิ การเรียนรู้การใชห้ อ้ งสมุด 1. ความหมายของ “ห้องสมดุ ” …………………………………………………………………………............................................................................. ........................................………………………………………………………………………………….……………………… ……………………………..................................................................................................................………… ………………....................................................................................................................... ....................... ................................................................................................................................................................ 2. วตั ถุประสงคข์ องห้องสมดุ มกี ่ีประเภท อะไรบ้าง ………………………………………………………………………….............……………………………………………………… ………………………….……………………………………………………………………………........................................... ............................................................................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ..... 3. ระบบทศนิยมของดวิ อแี้ บ่งออกเป็นก่ีหมวดใหญ่ อะไรบ้าง …………………………………………………………………………............................................................................. ........................................………………………………………………………………………………….……………………… …………………………….................................................................................................................. ………… ………………................................................................................................................ .............................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .... 4. จงบอกความหมายของสัญลักษณ์หนังสือตอ่ ไปน้ี น แทน ............................................................................. รส แทน ............................................................................. ยว แทน ............................................................................. อ แทน ............................................................................. บ แทน .............................................................................

26 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 สง่ เสรมิ การอ่าน (เกมพยากรณ์เลขบตั รประชาชน)

27 ใบความรู้ที่ 1 ความสำคญั ของการอ่าน การอ่านมีความสำคัญต่อมนุษย์ตั้งแต่เด็กจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทำให้รับรู้ข่าวสาร ขอ้ มูลตา่ งๆท่วั โลก ซ่ึงปจั จบุ นั เปน็ โลกของข้อมูลข่าวสารตา่ งๆทว่ั โลก ทำให้ผอู้ า่ นมคี วามสขุ มีความหวัง และมี ความอยากรู้อยากเห็นอันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเ อง คือ พัฒนาการศึกษาพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความอยากรู้ อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ ความสามารถ ซ่งึ ความรู้ต่างก็ไดม้ าจากการอ่านนนั่ เอง(ฉววี รรณ คหู าภนิ นท,์ 2542,หน้า 11) การอ่านเป็นพฤติกรรมการเรยี นรู้อย่างหนึ่งของมนษุ ย์ ท่ีใช้สายตาและสมองรับรคู้ วามหมาย รวมทั้ง ความเข้าใจจากสิ่งที่อ่าน หากมนุษย์ไม่มีการจดบันทึกเรื่องราวความเป็นมาของตนเอง อีกทั้งมนุษย์ไม่รู้จัก ความหมายของภาษาที่กลุ่มชนนั้น ๆ ใช้บันทึกโดยเฉพาะไม่รู้จักการอ่าน ย่อมทำให้มนุษย์ขาดการเรียนรู้ และความเขา้ ใจซ่งึ กันและกัน ปจั จบุ นั มสี ่อื มวลชน เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์ ภาพยนตร์ เขา้ มาแยง่ เวลาของเราไป แต่การอ่านก็ยังถือว่า เปน็ ส่งิ ท่ดี ี ไมอ่ าจนำเอาสงิ่ ใดมาทดแทนได้ หนงั สือจะเป็นกญุ แจไขความร้แู ละความลี้ลับต่าง ๆ ในโลกให้แก่ เราตามตอ้ งการ และจากการอา่ นเราจะไดค้ วามรูส้ กึ ละเอียดอ่อน ความซาบซงึ้ ไปกับความไพเราะและรสของ ภาษา เกิดภาพพจน์ได้เปน็ อยา่ งดี ซึ่งสือ่ อยา่ งอื่นจะไม่มสี ง่ิ เหล่านี้ การอา่ น เปน็ สง่ิ จำเปน็ ต่อชวี ิต ต่อความเจรญิ ด้านต่าง ๆ ของมนษุ ยม์ าก การอา่ นหนังสือนอกจากจะ ทำให้ผู้อ่านเป็นผู้หูตากว้างแล้ว คนอ่านจะเป็นผู้ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวของโลกปัจจุบัน และอาจ เป็นเครื่องกระตุ้นให้เกิดความสงบในใจ ส่งเสริมวิจารณญาณและประสบการณ์ให้เพิ่มพูนขึน้ การอ่านยังทำ ให้บคุ คลเป็นผู้มคี ุณค่าในสงั คม มีประสบการณช์ ีวิต และช่วยยกฐานะของสงั คม สงั คมมบี ุคคลท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ในการอ่านอยู่มาก สังคมนน้ั ย่อมจะเจริญพฒั นาไปได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบนั ความก้าวหนา้ อย่างรวดเร็ว ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำให้ความรู้ต่าง ๆ ล้าสมัยเร็วขึ้น หนังสือเท่านั้นที่สามารถทัน ความก้าวหน้า เหล่าน้ี การอ่าน เป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิต ต่อความเจริญในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์มาก การอ่านหนังสือ นอกจากจะทำใหผ้ ูอ้ ่านเปน็ ผ้หู ูตากวา้ งแลว้ คนอ่านจะเป็นผูท้ นั ต่อเหตุการณ์ ความเคล่อื นไหวของโลกปัจจุบัน และอาจเป็นเคร่ืองกระต้นุ ให้เกดิ ความสงบในใจ สง่ เสริมวจิ ารณญาณและประสบการณใ์ หเ้ พิ่มพนู ขึน้ การอ่านยงั ทำใหบ้ ุคคลเป็นผมู้ ีคุณค่าในสังคม มีประสบการณช์ ีวติ และชว่ ยยกฐานะของสงั คม สังคมมี บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการอ่านอยู่มาก สังคมนั้นย่อมจะเจริญพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว ปัจจุบัน ความกา้ วหนา้ อย่างรวดเรว็ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำให้ความรูต้ ่าง ๆ ล้าสมยั เรว็ ข้ึน หนังสือเท่านั้น ที่สามารถทนั ความกา้ วหน้าเหลา่ น้ี สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินเปน็ องค์ประธานเปิด การประชุใหญ่สามัญประจำปี 2530 ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ได้ทรงบรรยายพิเศษในหัวข้อ เรื่อง “การสร้างสังคมการอ่านและการใช้สารนิเทศ” ณ โรงแรมบางกอกพาเลส เมื่อ วันที่ 21 ธันวาคม

28 2530 ทรงกล่าวถึง เหตุที่พระองค์โปรดการอ่านหนังสือ และความสำคัญของการอ่านหนังสือไว้ 8 ประการ คือ (อา้ งถึงใน อัมพร ทองใบ, 2540 : 9) 1. การอ่านหนังสอื ทำให้ไดเ้ นือ้ หาสาระความรู้ มากกว่าการศึกษาหาความรูด้ ้วยวธิ ีอนื่ ๆ 2. ผูอ้ า่ นสามารถอ่านหนงั สอื ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี สามารถนำตดิ ตวั ไปได้ 3. หนังสือเกบ็ ไว้ไดน้ านกวา่ ส่ืออยา่ งอื่น 4. ผู้อา่ นสามารถฝึกการคดิ และสรา้ งจินตนาการไดเ้ องขณะท่ีอา่ น 5. การอ่านส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่าและมากกว่าสื่ออย่างอื่น เพราะขณะอ่านจิตใจต้อง มุ่งมนั่ อยู่กับขอ้ ความ พินจิ พเิ คราะห์ขอ้ ความ 6. ผู้อ่านเป็นผู้กำหนดการอ่านได้ด้วยตนเอง จะอ่านคร่าว ๆ หรืออ่านอย่างละเอียด อ่านข้ามหรือ อา่ นทกุ ตวั อักษรก็ได้ จะเลือกอา่ นเล่มไหนก็ได้ 7. หนังสือมหี ลายรูปแบบ และราคาถกู กวา่ สอื่ อย่างอน่ื 8. ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นได้ด้วยตนเองในขณะที่อ่าน สามารถวินิจฉัยเน้ือหาสาระได้ หนังสือบางเล่ม สามารถนำไปปฏบิ ตั ิได้ด้วย และเมื่อปฏิบตั แิ ลว้ ก็เกิดผลดี ส. ศิวรักษ์ (2512 : นำเรื่อง) ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอ่านหนังสือไว้ว่า “การอ่านหนังสือ เป็นกจิ ทจี่ ำเป็นสำหรับทุก ๆ คน ทอี่ า่ นออกเสียงได้ ยง่ิ ได้อ่านหนังสืออยี ิ่งมีค่ามาก สมดังคำของ ฟรานซิล เบคอน ทว่ี ่า “การอา่ นช่วยให้คนเป็นคนเตม็ ท่ี” นายตำรา ณ เมอื งใต้ (2515 : 298-299) กลา่ วถงึ ความสำคัญของตวั หนังสือและหนังสอื วา่ “...บางทีการที่เราได้อ่านหนังสือกันอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน จะทำให้เราลืมนึกถึงความสำคัญของตัวอักษร อนั ปรากฏอยขู่ ้างหนา้ เราเสียกไ็ ด้ ตวั อักษรน้ีเป็นสง่ิ จารกึ และรักษาความคิดเห็นอันลำ้ ค่าของปราชญแ์ ละกวีไว้ ให้เรา...การที่เราจะหาประโยชนใ์ นการอ่านให้ได้เต็มที่ ก็ควรระลึกได้ หรือแลเห็นความสำคัญของตัวหนังสือ ซ่ึงเราได้พบอย่ทู กุ วัน จนกลายเป็นสิง่ ธรรมดานน้ั เสียก่อน” รัญจวนอินทรกำแหง และคณะ (2523 : 27-28) กล่าวถึง ความสำคัญของการอ่านหนังสือไว้ว่า “การอ่านหนังสือความจำเป็นต่อชีวิตของคนในยุคปัจจุบันยิ่งกว่ายุคที่ผ่านมา เพราะโลกปัจจุบันเป็นโลกท่ี หมุนเรว็ ทงั้ ในด้านวัตถุ วทิ ยาการ และแปรเปลี่ยนเร็ว ฉะนน้ั จงึ จำเป็นอยา่ งยง่ิ ทีจ่ ะต้องอ่านหนังสือ เพ่ือให้ สามารถติดตามความเคลอ่ื นไหว ความก้าวหน้า และความเปลี่ยนแปรท้ังหลายไดท้ นั กาล” สมถวิล วิเศษสมบัติ (2528 : 73) ได้กล่าวถึงทักษะการอ่านไว้ สรุปได้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่ สำคัญ และใช้มากในชีวิตประจำวัน ผู้ที่มีนิสัยรักการอ่านและมีทักษะในการอ่านมีอัตราเร็วในการอ่านสูง ยอ่ มแสวงหาความรแู้ ละการศกึ ษาเล่าเรยี นได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ สามารถนำความร้ทู ่ไี ด้จากการอา่ นไปใช้ใน การพดู และการเขยี นได้เป็นอย่างดี ยุพร แสงทักษิณ (2531 : 1) กลา่ วว่า “การอ่านหนงั สือ เปน็ เร่อื งจำเป็นสำหรบั มนุษย์ การอ่านทำ ใหเ้ ราสามารถก้าวตามโลกได้ทัน เพราะโลกปจั จบุ ันน้ีไมไ่ ดห้ ยดุ นง่ิ มคี วามก้าวหนา้ เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ทง้ั ในดา้ นวัตถุ วทิ ยาการ ความคดิ ฯลฯ ดว้ ยเหตทุ ีเ่ ราตอ้ งมคี วามสัมพนั ธ์กับสังคมและส่ิงแวดล้อม เราจึงควร ต้องปรบั ตวั เราใหส้ อดคล้องไปดว้ ย มฉิ ะนั้นเราจะกลายเป็นคนโง่ ล้าหลงั อาจประพฤตปิ ฏบิ ัติผิด ๆ พลาด ๆ ก็ได้ ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์” สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2538 : 136) กล่าวถึง ทักษะการอ่านไว้ว่า “ทักษะ การอ่านเป็นทักษะท่ีสำคัญ และใช้มากในชีวิตประจำวัน เพราะเป็นทักษะที่นักเรียนใช้แสวงหาสรรวิทยาการ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ความบนั เทงิ และการพักผ่อนหย่อนใจ ผูท้ ี่มนี สิ ัยรักการอ่านและมีทักษะในการอ่าน มอี ัตราเร็วใน

29 การอ่านสูง ย่อมแสวงหาความรู้ และศึกษาเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการ อา่ นไปใชใ้ นการพดู และการเขียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี” ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ จินตนา ใบกาซูยี (2534 : 57) ที่กล่าวถึงความสำคัญของ การอ่าน มีใจความโดยสรุปว่า การอ่านเป็นสิ่งจำเป็นสำหับชีวิตปัจจุบัน ทั้งในด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน ด้ าน การศึกษาหาความรู้เพื่อประกอบอาชีพในอนาคต เป็นการพัฒนาความเจริญงอกงามทางสมองและปัญญา รวมทัง้ เปน็ การพกั ผ่อนหยอ่ นใจจากชวี ติ ประจำวนั อัมพร สุขเกษม (2542 : 1) ไดก้ ล่าวถึง การอา่ นหนังสอื วา่ มีความสำคญั ตอ่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต มนุษย์ และมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศด้วย เพราะการอ่านหนังสือช่วยให้ผู้อ่านรู้จักวิธีบำรุงรักษา สุขภาพของตน รจู้ ักวิธกี ารใหม่ ๆ สำหรับใชพ้ ัฒนาอาชพี ช่วยผอ่ นคลายความเครยี ด มคี วามเพลดิ เพลนิ เกิด ความคิดสรา้ งสรรค์ เข้าใจความเคล่ือนไหวทางการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม สามารถรบั รูแ้ ละปรับตัวให้เข้า กับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซง่ึ ล้วนแตเ่ ปน็ ประโยชน์ทั้งสน้ิ ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ และคณะ (2546 : 55-56) กล่าวถึง ความสำคญั ของการอ่านสรปุ ได้ ดงั นี้ 1. การอ่านเปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผทู้ ่ีอยูใ่ นวยั ศึกษาเลา่ เรยี น จำเป็นต้องอ่าน หนังสอื เพ่อื การศกึ ษาหาความรู้ต่าง ๆ 2. การอ่านเป็นเครื่องมือช่วยให้ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนำความรู้ท่ี ได้จากการอา่ นไปพฒั นางานของตนได้ 3. การอา่ นเป็นเคร่อื งมือสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของคนรนุ่ หน่ึง ไปสู่คนรุ่นต่อ ๆ ไป 4. การอ่านเป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมีความคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ที่ได้จากการ อา่ น เมอ่ื เก็บสะสมเพิ่มพนู นานวนั เข้า ก็จะทำใหเ้ กดิ ความคิด เกิดสติปัญญา เป็นคนฉลาดรอบรไู้ ด้ 5. การอ่านเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นวิธีหนึ่งในการแสวงหาความสุข ใหก้ ับตนเองท่ีงา่ ยที่สดุ และได้ประโยชน์คุ้มคา่ ที่สดุ 6. การอ่านเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งด้านจิตใจและบุคลิกภาพ เพราะ เมอ่ื อา่ นยอ่ มรู้มาก สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการดำรงชวี ติ ได้อย่างมีความสุข 7. การอ่านเป็นเครอ่ื งมอื ในการพฒั นาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวตั ิศาสตร์ และสังคม 8. การอ่านเป็นวิธีการหนึ่งในการพฒั นาระบบการส่ือสารและการใชเ้ คร่ืองมือทางอเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ กล่าวโดยสรุป การอ่านมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เพราะเราต้องแสวงหา ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร การเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอ่านส่งเสริมให้ผู้อ่านมี พัฒนาการในความรู้และความคิด มองโลกที่กว้างไกล เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมผ่านสื่อการส อน ซึ่งสิ่ง เหล่านีจ้ ะชว่ ยใหส้ ามารถตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง มคี วามเฉลียวฉลาด สามารถประกอบอาชีพและเปน็ พลเมือง ที่ดขี องประเทศชาติได้

30 ใบความรทู้ ี่ 2 ความหมายของการอา่ น มผี ู้ใหค้ ำจำกัดความ ใหน้ ยิ าม หรอื ใหค้ วามหมายของการอา่ นไว้ตา่ ง ๆ กัน ดงั น้ี พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 1405) ให้คำจำกัดความว่า “อ่าน ก. ว่า ตามตัวหนังสือ ; ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ ; สงั เกต หรือพจิ ารณาดเู พ่อื ใหเ้ ข้าใจ” เช่น อา่ นสหี นา้ อา่ นรมิ ฝีปาก อ่านในใจ ; ตีความ เชน่ อา่ นรหัส อ่าน ลายแทง ; คิด, นบั (ไทยเดมิ ) ประทีป วาทิกทินกร และ สมพันธุ์ เลขะพันธุ์ (2534 : 2) ให้ความหมายไว้ว่า “การอ่าน คือ การ รับรู้ข้อความในข้อเขียนของตนเอง หรือของผู้อื่น รวมทั้งการรับรู้เครื่องหมายสื่อสารต่าง ๆ ” เช่น เครื่องหมายจราจร และเครอ่ื งหมายทแ่ี สดงในแผนภมู ิ เป็นต้น กุสุมา รักษมณี และ คณะ (2536 : 77) นิยามความหมายของการอ่านวา่ “การอ่านเป็นพฤติกรรม การสนทนาโต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับผู้เขียน โดยการสื่อสารผ่านสาร หรือข้อเขียนที่เรียบเรียงเป็นข้อความ ภาษา ซงึ่ มีรูปแบบและวัตถุประสงคแ์ ตกตา่ งกนั ไป แทนการพดู คุยกันโดยตรง” เปลือ้ ง ณ นคร (2538 : 14) การอ่าน (หนงั สือ) คอื กระบวนการที่จะเข้าใจความหมาย ท่ีติดอยู่ กับตวั อักษรหรอื ตัวหนงั สือ พันธุ์ทิพา หลาบเลิศบุญ และ คณะ (2539 : 45) กล่าวว่า การอ่าน คือ การแปลความหมายของ ตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และนำความคิดไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ดังนั้นหัวใจของการอ่านอยู่ที่การเข้าใจ ความหมายของคำ ศรีสุดา จริยากุล (2545 : 5) ให้ความหมายของการอ่านไว้ใน “ความเข้าใจทั่วไปเกี่ยวกับการอ่าน” ว่า “การอ่าน คือ การรับรู้ความหมายของสารจากลายลักษณ์อักษร ซึ่งอาจจะเป็นการอ่านในลักษณะการ อ่านออกเสียง หรือการอ่านในใจกไ็ ด้” ทิพย์สุเนตร อนัมบุตร (2551 : 5) ให้คำจำกัดความว่า การอ่าน คือ การรับสารในการใชภ้ าษาไม่ว่า จะเปน็ ภาษาใด ย่อมประกอบดว้ ย 2 ฝา่ ย คือ ฝา่ ยส่ง >สาร >ฝ่ายรับ ฝา่ ยส่งสารย่อมสง่ โดยการพูดหรือการ เขยี น ฝ่ายรับสารจงึ รบั ได้โดยการฟังหรอื การอ่าน นอกจากความหมายของการอ่านที่ได้กล่าวมานี้แล้ว ยังมีนักการศึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนอ่าน และด้านการอา่ นชาวต่างประเทศ ไดใ้ หค้ วามหมายของการอา่ นไว้ ดังตอ่ ไปนี้ อัลเฟรดสเตปเฟอรุด (Alfred Stefferud, 1953 : 84) ให้คำจำกัดความของการอ่านไว้ว่า เป็นการ กระทำทางจติ ใจ ทผี่ ้อู า่ นยอมรับความหมายจากความคิดเหน็ ของบคุ คลอ่นื จอร์จ ดี. สปาช และ พอล ซี. เบิรก์ (George D. Spache and Paul C. Berg,1955 : 3-4) กลา่ วว่า การอ่าน เป็นการผสมผสานระหว่างทักษะหลายชนิด เพื่อสร้างความเข้าใจ โดยเป็นไปตามจุดประสงค์ตาม ต้องการ และวธิ ีการของผอู้ า่ น พอล ดี. ลิดดี (Paul D. Leedy,1965 : 3) ให้นิยามการอ่านไว้ว่า คือ การรวบรวมความคิดและ ตีความหมาย ตลอดจนประเมินค่าความคดิ เหล่านนั้ ทีป่ รากฏอยตู่ ามส่ิงพมิ พ์แตล่ ะหนา้ เอดการ์เดล (Edgar Dale, 1956 : 89) ใหค้ วามหมายไวว้ ่า การอา่ น หมายถึง กระบวนการค้นหา ความหมายจากส่ิงพมิ พ์ เป็นการเพิ่มพูนประสบการณข์ องผู้อ่าน การอ่านไม่ได้หมายความเฉพาะการมองผ่า นาแตล่ ะประโยค หรือแตล่ ะย่อหนา้ เท่าน้ัน แต่ผู้อา่ นตอ้ งเขา้ ใจความคิดนั้น ๆ ดว้ ย

31 มอร์ติเมอร์ เจ. แอดเลอร์ (Mortimer J. Adler, 1959 : 27) กล่าวว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการตีความหมาย หรือสร้างความเข้าใจจากตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่น ๆ ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจมาก ขนึ้ กระบวนการต่าง ๆ ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจน้ี เรียกว่า ศลิ ปะในการอา่ น กูดแมน (Goodman, 1970 : 5-11)ได้ใหค้ ำจำกัดความของการอ่านวา่ “การอ่านเปน็ กระบวนการที่ สลับซับซ้อนเกี่ยวกับการแสดงปฏิกิริยาร่วมกัน ระหว่างความคิดและภาษา เนื่องจากผู้อ่านจะต้องพยายาม สร้างความหมายขึน้ จากตวั อักษร การอ่านจึงเป็นกระบวนการท่ีต้องใชค้ วามคิดอยู่ตลอดเวลา ผู้อ่านจะต้อง อาศัยการพินิจพิจารณาสิ่งที่ปรากฏอยู่ในข้อความที่อ่าน เพื่อใช้เป็นเครื่องช่วยในการเลือกความหมายท่ี เหมาะสมทส่ี ุดจากเนอ้ื ความทอี่ า่ น จากคำจำกัดความนิยามดังกล่าวมาแล้ว อาจสรุปและเพิ่มเติมความหมายของการอ่านได้ว่า การอ่าน เป็นพฤติกรรมการสนทนาโต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับผู้เขียน เป็นกระบวนการของการรับรู้และเข้าใจสาระที่ เขียนขึ้น เป็นการรวบรวมความคดิ ตคี วาม ทำความเข้าใจในสิ่งท่ีอ่าน เพอื่ พฒั นาตนเองทั้งในด้านสติปัญญา อารมณ์ และสงั คม

32 ใบความรู้ท่ี 3 จุดม่งุ หมาย จุดมงุ่ หมาย และประเภทของการอ่าน การอ่าน มีจุดประสงค์ที่กำหนดขึ้นตามความต้องการของผู้อ่าน ซึ่งอาจต้องการศึกษาค้นคว้าข้อมูล เพื่อประโยชน์เชิงวิชาการ หรืออ่านเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การอ่านของแต่ละคน มีจุดมุ่งหมาย แตกต่างกนั ออกไป อาจจำแนกได้กวา้ ง ๆ ดงั นี้ 1. อ่านเพื่อหาความรู้หรือเพิ่มพูนความรู้ เป็นความรู้จากหนังสือประเภทตำราทางวิชาการ สารคดี ทางวิชาการ การวิจัยประเภทต่าง ๆ หรือการอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่านจากหนังสือที่มีสาระ เดียวกัน ควรอา่ นจากผู้เขยี นหลาย ๆ คน เพือ่ เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง แมน่ ยำของเนือ้ หา ผู้อา่ นจะมี ความรอบรู้ ได้แนวคิดที่หลากหลาย การอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้นี้ เป็นการอ่านเพื่อสั่งสมความรู้และ ประสบการของผู้อ่าน 2. อ่านเพื่อให้ทราบข่าวสาร ความคิด เป็นการอ่านเพื่อให้ทราบข่าวสารความคิด เข้าใจแนวคิด ซ่ึง ได้แก่ การอ่านหนงั สอื ประเภทบทวิจารณ์ขา่ ว รายงานการประชุม ผู้อ่านไม่เคยเลอื กอ่านหนังสือท่ีสอดคล้อง กับความคดิ และความชอบของตน ควรเลือกอ่านอยา่ งหลากหลาย จะทำใหม้ ีมุมมอท่ีกว้างขึ้น จะชว่ ยให้เรามี เหตุผลอื่น ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ ได้ลุ่มลึกมากขน้ึ 3. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรือเพื่อความบันเทิง ความชื่นชม การอ่านเป็นอาหารใจ ให้เกิด ความบันเทิงใจ อ่านแล้วเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ที่ได้จากการอ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดี เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล การ์ตูน หรืออ่านบทละคร อ่านบทกวีนิพนธ์ บทเพลง บทขำขัน เป็นต้น นอกจากจะเพลิดเพลนิ ไปกับภาษาและเร่ืองราวทีส่ นกุ สนานแลว้ ยงั ไดค้ วามรู้ และคตขิ อ้ คดิ ควบคูไ่ ปดว้ ย 4. อ่านเพื่อพัฒนาวิจารณญาณและค่านิยม การอ่านเพื่อพัฒนาวิจารณญาณและค่านิยม จะ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนในระดับที่สูงขึ้น และมีการเพิ่มพูนมวลประสบการณ์ทาง โลกและชีวิตที่เจนจัดมากขึ้น นักเรียนจึงจะเข้าใจคติธรรมท่ีแทรกอยู่ในวรรณกรรมที่อ่าน ด้วยกระบวนการ คิดวิเคราะห์อย่างสมเหตุสมผล สามารถเลือกและประยุกต์สิ่งที่มีคุณค่ามาพัฒนาตนเองให้เป็นทรัพยากร บุคคลที่มีคุณภาพ และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอยา่ งมีคุณค่า สามารถรับใช้สังคมประเทศชาติให้เจริญก้าวหนา้ ตามกำลังสติปัญญาที่เพ่ิมพูนขึ้น อันสืบเนื่องมาจากนักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สภาพแวดล้อมของชีวิต ในดา้ นทีเ่ ปน็ สัจธรรมความจรงิ สมบูรณ์ขึ้น (กุสมุ า รกั ษมณี และคณะ, 2536 : 79) 5. การอ่านเพื่อกิจธุระหรือประโยชน์อื่น ๆ การอ่านเพื่อกิจธุระอื่น ๆ นอกเหนือจากจุดมุ่งหมายท่ี กล่าวมาแล้ว เป็นการอา่ นเพือ่ ประโยชนเ์ ฉพาะกจิ เช่น อ่านแบบฟอร์มชนดิ ตา่ ง ๆ อ่านหนงั สือสัญญาเงินกู้ จำนอง และซอื้ ขาย อา่ นใบสมัครและระเบยี บการ อ่านคำสั่งและสัญญาณบง่ บอกท่ีมคี วามหมายต่าง ๆ เป็น ต้น เราถือว่าสารเหล่านี้จะมีแบบแผนและรายละเอียดเฉพาะกลุ่ม เฉพาะองค์การ หรือเฉพาะสังคม ซึ่งการ ติดต่อสื่อสารในโลกปัจจุบัน เราไม่อาจหลีกเลี่ยงการอ่านสิ่งเหล่านี้ได้เลย หากอ่านผิดพลาดหรือไม่เข้าใจ วตั ถปุ ระสงค์ที่แทจ้ ริง อาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย หรือเสยี ผลประโยชนข์ องเราได้ นอกจากนี้ ยังมีผู้อ่านหลายท่านที่นิยมอ่านหนังสือเพื่อเสริมโลกทรรศน์ของตนเอง ให้ทันสมัยรู้ทัน เหตุการณ์ความเคลื่อนไหวในสังคม เช่น นักธุรกิจ จำเป็นต้องอ่านบทความหรือข่าวเศรษฐกิจจาก หนังสือพิมพ์ วารสาร แ ละนิตยสาร ที่เกี่ยวข้องกับงานของตนอยู่ตลอดเวลา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพใน

33 การทำงาน และการตัดสินใจที่สอดคล้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ บางท่านสนใจอ่านติดตามข่าวสารการเมือง การปกครอง หรือประวัติบุคคล และบทบาทของเขาที่กำลังดำเนินอยู่ในสงคม เช่น ผู้นำประเทศ ผู้นำ ความคิดทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการสมาคมกับผูอ้ ื่น จะช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของเขาให้น่านิยมศรัทธา มากยิ่งขน้ึ เพราะเปน็ ผู้ทีม่ ีโลกทรรศน์ดีกว่าผูท้ ่ีไมส่ นใจอ่าน หรอื ตดิ ตามเหตกุ ารณเ์ หลา่ นเี้ ลย กล่าวโดยสรปุ จดุ ประสงค์ของการอา่ นแตล่ ะคนจะแตกต่างกันไปตามความต้องการ ผู้อ่านจะกำหนด จุดประสงค์ของการอ่าน เพื่อตอบสนองความต้องการโดยเฉพาะของตนเอง การอ่าน แต่ละครั้งย่อม ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านทัง้ สิ้น ข้อควรคำนึงสำหรับผู้ที่อยู่ในวยั เรียน คือ ควรใช้วจิ ารณญาณในการเลอื ก เรื่องที่จะอ่าน และรู้จักแยกแยะ นำสิ่งที่เป็นประโยชน์จากการอ่านไปใช้ในการประอบกิจกรมที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินชีวิตในแต่ละด้านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ จึงจัดเป็นปัจจัยสำคัญที่จะเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ของการ อ่านให้บรรลุจดุ มงุ่ หมายแตล่ ะข้อตามทีก่ ลา่ วมา ประเภทของการอ่าน การอ่านสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า จะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา ถ้าหากพิจารณาการอ่านโดยดูจากจุดมุ่งหมายของผู้อ่านเป็นหลัก เราอาจจะแบ่งได้ ดังนี้ (อัมพร ทองใบ, 2540 : 18-19) 1. อ่านผ่าน ๆ หรืออ่านเอาเรื่อง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้อ่าน เช่น การพลิกตำราบางเล่ม เพื่อดูว่าเนื้อหาครอบคลุมเรื่องที่จะค้นคว้าหรือไม่ อาจจะอ่านเพียงหัวเรื่องหรืออ่านหน้าสารบัญ หรืออ่าน หนา้ ผนวกทา้ ยเล่ม เปน็ ต้น 2. การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความและเพื่อทำความเข้าใจ เป็นการอ่านเพื่อแสวงหา ความรู้ความบันเทิงให้แก่ตนเอง ผู้อ่านจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ และสามารถเข้าใจเรื่องราวท่ีได้อ่าน โดยตลอด การอ่านหนังสือเมื่ออ่านไปโดยตลอดก็พอจะเก็บใจความได้ว่า เรื่องที่อ่านมีเนื้ อหาเรื่องราวว่า อย่างไร หากมีบางตอนทีอ่ าจจะไม่เขา้ ใจ เพราะเร่ืองท่ีอา่ นนน้ั ยากเกินความรูข้ องผู้อา่ นทจี่ ะทำความเข้าใจได้ ผูอ้ ่านควรจะพยายามเอาชนะด้วยการอ่านอย่างมีสมาธิ และรบั รคู้ วามหมายทุกถ้อยคำจนเกดิ ความเข้าใจเน้ือ เร่อื งได้ตลอด สอางค์ ดำเนินสวสั ด์ิ และคณะ (2546 : 88) แบ่งลักษณะการอ่านเปน็ 5 ชนิด คอื 1. การอ่านอย่างคร่าว ๆ เป็นการอ่านเพื่อสำรวจว่า ควรจะอ่านหนังสือเล่มนี้อย่างละเอียดต่อไป หรือไม่ โดยอ่านเพยี งชอ่ื เร่อื ง หวั ข้อเรื่อง ชื่อผู้แตง่ คำนำ หรอื การอ่านเน้อื หาบางตอนโดยรวดเร็ว 2. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็นการอ่านเพื่อเก็บแนวคิดที่ต้องการ และอ่านข้ามตอนที่ไม่ ต้องการ 3. การอ่านเพื่อสำรวจเนื้อหา เป็นการอ่านเพื่อทำเป็นบันทึกย่อ หรือทบทวนเพื่อสรุปสาระสำคัญ ของเร่ืองทง้ั หมด 4. การอา่ นเพื่อศกึ ษาอยา่ งลกึ ซ้ึง เป็นการอา่ นละเอียด เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจเร่อื งท่อี ่านอยา่ งชดั เจน 5. การอ่านเพื่อวิเคราะห์และวิจารณ์ เป็นการอ่านละเอียด เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาว่า มีความหมาย และมีความสำคัญอยา่ งไร รวมท้งั แสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ลเกีย่ วกบั เร่อื งทีอ่ ่าน

34 การอ่านแต่ละชนิดมีจุดประสงค์ต่างกัน และใช้เนื้อหาต่างกัน ผู้อ่านควรพิจารณาว่า ใช้การอ่านในลักษณะ ใดบ้างในชวี ติ ประจำวนั และพจิ ารณาว่าตนมปี ระสทิ ธภิ าพในการอา่ นหรอื ไม่โดยใช้เกณฑ์ขั้นต้น ดังน้ี 1. เขา้ ใจรายละเอยี ดของเนือ้ เร่ือง 2. จบั ใจความสำคญั ของเรือ่ งได้ 3. สรุปความคดิ หลกั ของเร่ืองได้ 4. ลำดบั ความคิดในเรอื่ งได้ 5. คาดคะเนเหตกุ ารณ์ทไ่ี ม่ปรากฏในเรื่อง หรอื เหตุการณท์ จ่ี ะเกิดขน้ึ ตอ่ ไปได้ นอกจากการเบง่ ประเภทของการอ่าน ตามเกณฑ์ทีก่ ล่าวมาแลว้ นั้น ยงั มกี ารแบ่งประเภทที่แตกต่างกัน ไปอีก ดังเช่น สนุ ันทา มั่นเศรษฐวทิ ย์ (2551 : 17 : 20) ได้แบ่งประเภทของการอา่ นไว้ 4 ประเภท แตล่ ะประเภท มีจดุ ม่งุ หมายของการใชท้ แ่ี ตกต่างกัน ดังนี้ 1. การอ่านเคร่า ๆ จุดประสงค์ของการอ่านประเภทนี้ เพื่อค้นหาเอกสารอ้างอิงสำหรับใช้ในการ ค้นคว้า หรือการหาส่อใหม่ ๆ ในห้องสมุด นอกจากนั้นยังเป็นการค้นหาคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใหม่ ๆ เพือ่ รวบรวมความคดิ ของผู้เขยี น อีกทัง้ ยงั ใชเ้ พอ่ื การอ่านสนั ทนาการ ไดแ้ ก่ การอ่านวารสารบนั เทิง การอ่าน เรือ่ งราวตา่ ง ๆ ที่ใหค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะใช้การเคลื่อนสายตาอย่างรวดเร็ว จากบรรทัดบนสุดสู่บรรทัดล่าง โดยข้ามคำ กลุ่มคำ และประโยคที่ไม่สำคัญ เพื่อตรวจดูเฉพาะหัวข้อหรือคำสำคัญ หรือคำตอบตามที่ต้องการ โดย สังเกตคำที่ขดี เสน้ ใต้ หรือคำทเ่ี ป็นตวั หนา 2. การอ่านเร็ว จุดประสงค์ของการอ่านเร็ว เพื่อเป็นการทบทวนสารที่อ่าน อีกทั้งยังใช้เพื่อการ ค้นหาแนวคิดหลักและแนวคิดย่อย เปน็ การนำขอ้ มูลจากสารที่อ่านไปใชป้ ระโยชน์ การอา่ นวธิ ีนี้ยังใช้เพื่ออ่าน สารที่ทำให้เกิดความเพลดิ เพลนิ เช่น การอ่านนิทาน นิยาย นวนิยาย และสื่อการอ่านอื่น ๆ ที่ช่วยให้ผู้อ่าน ไดร้ บั การผ่อนคลายทางจติ ใจ วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคล่ือนสายตาอย่างรวดเร็ว จากซ้ายไปขวา โดยไม่เคลื่อนใบหน้าเปน็ การอ่านที่ ใช้การเคลื่อนตาอย่างรวดเร็ว โดยการรับรู้เป็นคำ เป็นกลุ่มคำ หรือประโยคเป็นการอ่านที่เร่งรีบ เพื่อความ เข้าใจเร่อื งราวโดยใช้เวลาทจี่ ำกัด 3. การอ่านปกติ จุดประสงค์ของการอ่านปกติ เพื่อค้นหาข้อมูลและตอบคำถามอาจใช้ในการทำ แบบฝึกหัด หรือการทำรายงาน อ่านแล้วจดบันทึกเพื่อสรุปเน้ือเรือ่ งแต่ละตอน เป็นการอ่านเพื่อนำข้อมลู มา ไขปริศนา อ่านเพื่อคำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดหลักกับแนวคิดย่อย การอ่านปกติมักจะใช้กบั การอ่านสารที่มีความยากง่ายอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งหมายความว่า ผู้อ่านรู้จักคำที่อยู่ในสารมากกว่าร้อย ละ 70 และอ่านได้ 250 คำ/นาที ตอบคำถามได้ถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตาจากซ้ายไปขวา โดยมิได้เร่งรีบ เพื่อรับรู้คำกลุ่มคำ ประโยค และ เรื่องท้ังหมด การอา่ นปกติเป็นการอ่านโดยมไิ ด้เร่งรดั แต่ตอ้ งการความเขา้ ใจในเรื่องราวโดยมิได้พลาดประเด็น สำคญั และต้องการให้บรรลผุ ลตามจดุ ประสงค์มากกว่าที่จะเน้นในเรื่องของเวลา 3. การอ่านละเอียด จุดประสงค์ของการอ่านาเพื่อตรวจรายละเอียดของเรื่องในทุกประเด็น โดยไม่ พลาดความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยค นอกจากนั้นยังเป็นการประเมินค่าเรื่องที่อ่าน เรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ แ ละตดิ ตามทิศทางของเรื่อง เพือ่ มิใหพ้ ลาดประเด็นสำคัญ สรุปเร่อื งด้วยภาษา ของตนเอง รวมท้ังวิเคราะห์การนำเสนอผลงานของผู้เขียนได้อย่างถูกต้อง การอ่านวิธีนี้ยังใช้

35 ประโยชน์ในการอ่านสารประเภทวรรณกรรมและวรรณคดีอย่างละเอียด เพื่อให้เกิดความเข้าใจและ เกิดความซาบซงึ้ ในการใชภ้ าษา 4. การวเิ คราะหร์ ูปแบบ ตลอดจนลักษณะของการใช้ภาษา คณุ คา่ ทไ่ี ดร้ ับทางภาษาจำเป็นต้องใช้การ อ่านอยา่ งละเอยี ดเชน่ กนั วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตา ผ่านทุกตัวอักษรของคำ กลุ่มคำ และประโยคทำความเข้าใจ ความหมายทั้งทางตรงและทางนัย เพื่อให้ได้ข้อมูลตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการ สารที่ใช้วิธีอ่านประเภทนี้ มักจะเป็นสารวิชาการ ใช้ภาษาที่ยากและมีเรื่องราวซับซ้อน ซึ่งต้องใช้เวลาในการอ่านมากกว่าการอ่าน ประเภทอ่นื ๆ เพราะตอ้ งการความละเอยี ดรอบคอบ กล่าวโดยสรปุ การอ่านเปน็ การรบั รู้ความหมายของสาร การอ่านมีความสำคญั เพราะ เป็นเคร่ืองมือ แสวงหาความรู้และความบันเทิง ผู้อ่านแต่ละคนจะมีจุดมุ่งหมายในการอ่านไม่เหมือนกัน บางคนชอบอ่าน เพ่ือแสวงหาความรู้ บางคนชอบอา่ นเพื่อแสวงหาความบันเทงิ และบางคนอ่านเพ่ือนำความรจู้ ากการอ่านไปใช้ เพื่อประโยชน์อื่น ๆ การแบ่งประเภทของการอ่าน สามารถแบง่ ออกเปน็ ประเภทต่าง ๆ ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับว่าจะ ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา อาจแบ่งโดยพิจารณาจดุ มุ่งหมายเปน็ หลกั หรืออาจแบ่งโดยพิจารณาจาก ลักษณะการอ่านเป็นหลัก คือ การอ่านในใจ แลการอ่านออกเสียง โดยจะมีวิธีการอ่านแตกต่างกันไป แต่ อยา่ งไรก็ตามการอ่านจะบรรลุจุดประสงค์ได้ ผู้อ่านควรมจี ดุ หมายในการอ่าน และเข้าวิธีที่จะอ่าน เพ่ือให้ได้ ประโยชนส์ มตามความมงุ่ หมาย

36 ใบความรู้ท่ี 4 ประโยชน์ของการอา่ น หนังสือทดี่ ี ยอ่ มให้คุณค่าแก่ผู้อา่ นเสมอ ไม่วา่ จะเปน็ หนงั สือทางวิชาการ หรือเรือ่ งอา่ นเล่น ทนั ทที ี่ หยิบหนงั สอื ขึ้นมาอ่าน แมจ้ ะเพียง 2-3 นาที ผอู้ ่านกจ็ ะ “ได”้ ประโยชนไ์ ม่ด้านก็ดา้ นหนงึ่ เช่น ประโยค ทไ่ี พเราะ ประทบั ใจ มีข้อคดิ ซึ่งอาจแกป้ ัญหาที่คดิ ไม่ตกอยนู่ าแล้ว ประโยชนข์ อง การอ่านมีหลาย ประการ ดงั ท่ี เทือก กสุ มุ า ณ อยุธยา (2511 : 47) กล่าววา่ การอ่านหนังสือ มปี ระโยชน์ ดงั นี้ 1. ประโยชนใ์ นฐานท่ีเป็นวรรณคดี คือ ผู้อ่านได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ เกิดอารมณ์สะเทือน ใจ และความนกึ ฝนั ไปตามทอ้ งเร่อื ง 2. ประโยชน์อันเกิดแก่ผู้เขียนเอง ได้แก่ การระบายอารมณ์ การแสดงความคิด การให้ทัศนะ หลกั เกณฑ์ชวี ติ แกผ่ ู้อ่าน 3. ประโยชน์ในฐานทเี่ ปน็ เครื่องบนั เทิง ทง้ั ยังมีการประยกุ ต์เปน็ ละครวทิ ยุ ละครโทรทศั น์ ภาพยนตร์ เปน็ ต้น 4. ประโยชน์ในด้านความรู้ เช่น สภาพความเป็นอยู่ ภูมิฐานสง่าของบ้านเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ หรอื เป็นสง่ิ สะท้อนให้เห็นสภาพชวี ติ ในเรื่องที่แต่งกไ็ ด้ เชน่ เหตกุ ารณใ์ นประวัติศาสตร์ จะทำให้ผู้อ่านทราบ รายลเอยี ดของชวี ติ ได้ดีกว่าหนงั สอื ประวตั ิศาสตร์ 5. ประโยชนใ์ นดา้ นภาษา ผูอ้ า่ นจะไดร้ บั รสไพเราะทางภาษา ท่ีรอ้ ยกรองไว้อย่างประณตี บรรจงแล้ว 6. ประโยชนท์ างด้านคตธิ รรม เป็นเครือ่ งชำระจิตใจผู้อ่าน ยกระดับจิตใจให้สูงขนึ้ ถ้าเป็นวรรณคดี ที่ดี 7. ประโยชนท์ างการเมือง อาจทำใหก้ ารเมืองผันแปรได้ โดยผู้แต่งใชน้ วนิยายเป็นส่ือคัดค้านความอ ยุติธรรม และทำให้ผ้อู า่ นเหน็ ด้วยได้ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ คณะ (2546 : 56-57) กลา่ วถึงประโยชนข์ องการอา่ น สรปุ ไดด้ ังน้ี 1. ทำใหม้ คี วามรู้ในวิชาการดา้ นต่าง ๆ อาจเปน็ ความร้ทู วั่ ไป หรือความรูเ้ ฉพาะด้านก็ได้ 2. ทำให้รอบรูท้ ันโลก ทันเหตุการณ์ ซ่ึงนอกจากจะทำให้รู้ทันข่าวสารบ้านเมืองและสภาพการณ์ต่าง ๆ ในสมัยสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศแล้ว ยังจะได้ทราบข่าวกีฬา ข่าวบันเทิง บทความวิจารณ์ ตลอดจนการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกด้วย ซึง่ จะเป็นประโยชน์อยา่ งย่ิง ในการปรับความเป็นอยู่ให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพสงั คมของตนในขณะน้นั 3. ทำให้คน้ หาคำตอบทต่ี อ้ งการได้ การอา่ นหนังสอื จะชว่ ยตอบคำถามท่ีเราข้องใจ สงสยั ตอ้ งการรู้ได้ เช่น อา่ นพจนานุกรม เพ่อื หาความหมายของคำ อา่ นหนังสือกฎหมาย เพ่ือต้องการรขู้ ้อปฏิบตั ิ เปน็ ตน้ 4. ทำให้เราเกิดความเพลิดเพลิน การอ่านหนังสือที่มีเนื้อหาดี น่าอ่าน น่าสนใจ ย่อมทำให้ผู้อ่านมี ความสุขความเพลิดเพลิน เกิดอารมณ์คล้องตามอารมณ์ของเรื่องนั้น ๆ ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ข้อคิด และยังเป็นการยกระดบั จิตใจผู้อ่านให้สูงขน้ึ ไดอ้ ีกด้วย 5. ทำให้เกดิ ทกั ษะและพัฒนาการในการอา่ น ผู้ที่อา่ นหนังสอื สมำ่ เสมอ ย่อมเกดิ ความชำนาญในการ อ่าน สามารถอ่านได้เร็ว เข้าใจเรือ่ งราวที่อ่านไดง้ ่าย จังใจความได้ถูกตอ้ ง เข้าใจประเด็นสำคัญของเร่ือง และ สามารถประเมนิ คุณคา่ เรือ่ งทีอ่ ่านไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล

37 6. ทำให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตที่สมบูรณ์ ผู้ที่อ่านมากย่อมรู้เรื่องราวต่าง ๆ มาก เกิดความรู้ ความคิดที่หลากหลายกว้างไกล สามารถนำมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชีวิตมีคุณค่าและมี ระเบียบแบบแผนท่ีดยี ่ิงขนึ้ 7. ทำให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ ผู้อ่านมากย่อมรอบรู้มากมีข้อมูลต่าง ๆ สั่งสมไว้มาก เมื่อสนทนากับผู้อื่นย่อมมีความมั่นใจไม่ขัดเขิน เพราะมีภูมิรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้ คำแนะนำแกผ่ ้อู ืน่ ในทางท่กี ่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ผูร้ อบรูจ้ ึงมกั ไดร้ ับการยอมรับ และเปน็ ทเี่ ช่อื ถอื จากผอู้ ื่น การอ่านหนังสือจะให้ประโยชน์มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการ “อ่านเป็น” ซึ่งจะต้องฝึก การ อ่านอย่างสม่ำเสมอจนเกดิ ความเข้าใจ ความซาบซ้ึง รู้จกั วิเคราะห์ และเกิดความคดิ จากการอ่านหนังสือ ซึ่งถือ วา่ สำคัญมาก ดงั ท่ี รัญจวน อินทรกำแหง (2518 : 36-37) กลา่ วไว้ในวรรณกรรมวจิ ารณ์ ตอท่ี 2 ว่า “... การอ่านหนังสือที่จะได้รับ “ค่า” ของหนังสือจริง ๆ นั้น ต้องอ่านให้ได้ “ความคิด” ที่แฝงอยู่เบื้องหลัง ตัวหนังสือนั้น มฉิ ะนน้ั แล้ว การอา่ นน้ันก็หาความหมายอันใดไม่ และกเ็ ปน็ ท่ีนา่ เสียดายเวลาอันมีค่าท่ีจะเสีย ไปในการอา่ นน้ัน...” การอ่านที่จะให้ผู้เรียนเกิด “ความคิด” จากหนังสือที่อ่านก็โดยการที่ครูหรือผู้ปกครองช่วยชี้แนะ หรือชว่ ยเลือกหนังสืออ่านให้เหมาะสมกบั วัย เชน่ เน้อื เรอื่ งเป็นเรื่องราวท่ีอยู่ในความสนใจของเด็กตาวัยของ เขา สำนวนภาษาท่เี ด็กในวัยนนั้ ๆ จะเขา้ ใจได้ ตวั ละครเป็นบคุ คลที่อยใู่ นวัยเดยี วกันหรือใกล้เคียงกัน ถา้ เป็น เช่นนั้น เด็กจะเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ยิ่งอ่าน ยิ่งสนุก เปลื้อง ณ นคร (2538 : 16) ได้ยกคำของ จางจื้อ นักปราชญ์โบราณผู้มีชื่อเสียงของจีน มากล่าวไว้ใน “ศิลปะแห่งการอ่าน” ว่า “ถ้าในโลกนี้ไม่มี หนงั สือกแ็ ล้วไปเถิด แตเ่ ม่ือหนังสือมีอยู่ในโลก เรากค็ วรจะอา่ น”

38 เกมพยากรณจ์ ากเลขจากบตั ร ประชาชน อุปกรณ์ 1. บัตรประชาชน 2.ใบงาน 3.เครือ่ งคอมพวิ เตอรห์ รอื สมารท์ โฟน ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรม 1. ให้ผู้รับบริการนำเลขบตั รประจำตวั ประชาชนมาบวกกนั ตวั อย่าง เช่น 4 5694 34825 486 นำตวั เลขมาบวกกัน ดังน้ี 4+5+6+9+4+3+4+8+2+5+4+8+6= 68 6+8 = 14 1+4 = 5 (ตอ้ งทำให้เป็นเลขจำนวนเดียวก่อนทีจ่ ะอ่านพยากรณ์ทกุ คร้งั ) 2.เมือ่ ได้ตวั เลขแลว้ ให้ไปอ่านคำพยากรณต์ ามหมายเลขจากผลลัพธ์ที่ได้ จากเว็บไซตh์ ttps://www.sanook.com/horoscope/2977/ 3.สรุปลงในใบงาน 4.นำผลสรปุ มาแสดงความคดิ เหน็ ด้วยกัน

39 ผลการพยากรณเ์ ลขทไ่ี ด้ เลข 1 แสดงถึงความเด็ดเดี่ยว กล้าทำ กล้าแสดงออก เป็นผู้นำในหน้าที่การงาน อยู่ในจำพวกแนว หน้า และบางคร้งั ถูกคนอื่นมาขอความช่วยเหลือทั้งทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง และคำปรกึ ษาอยู่ตลอดเวลา จนทำให้ไม่ เป็นตวั ของตัวเองเทา่ ที่ควร แต่หากไม่พอใจใครแล้ว เขาจะไม่สนใจเลยเด็ดขาด เปน็ จำพวกหยิ่งในศักดศิ์ รีฆ่าได้ หยามไม่ได้ ไม่ยอมก้มหัวเพื่อลดศักดิ์ศรีให้ใคร หากจำเป็นจริงๆ ยอมให้ได้เพียงกายเท่านั้น จะมีนิสัย ละเอียดอ่อนในเรื่องความรัก ยอมหมดเปลืองเท่าไหร่ก็ยอมเพื่อความรัก ในอนาคตหากเป็นนักธุรกิจ จะ ประสบความสำเร็จ และสามารถทำงานได้ดที ุกแขนง เลข 2 แสดงถึงความสำเร็จ ความอบอุ่นจากมิตร-บริวาร แต่บางครั้งไม่ค่อยมีความเด็ดขาดไปบ้าง เป็นคนที่ไม่ชอบอยูค่ นเดียว หากจะลงทุนทำธรุ กจิ ถ้าได้ร่วมทำกับคนอื่นจะดีกว่าทำคนเดียว จะมเี สนห่ ก์ ับเพศ ตรงข้าม เปน็ ทร่ี กั ใคร่ของเหล่าเพื่อนฝูง แตบ่ างคร้งั จะโดนอิจฉาอยบู่ ่อยๆ เพราะเสนห่ ด์ ีเกินไป ตามเลขศาสตร์ บ่งบอกว่าหากจะให้ทำงานสำเร็จ โด่งดัง มีชื่อเสียง จะต้องทำงานร่วมกับคู่ครองตนเอง วัยกลางคนจะได้มี ความสุขกับครอบครวั ฐานะดี มคี วามสบายตามลำดบั เลข 3 แสดงถึงความทุกข์ใจ จะมีปัญหาเรื่องต่างๆผ่านเข้ามาในชีวิตอยู่เรื่อยๆ หากจิตใจไม่เข้มแข็ง จะทำใหท้ ุกข์ใจไม่สบายกายอยูเ่ รื่อยไป และจะตอ้ งเพ่มิ การเอาใจใส่ค่คู รองและครอบครวั ใหม้ ากกวา่ เดิม ระวัง จะมปี ัญหากบั บุคคลท่ี 3 เข้ามาสรา้ งความแตกแยกในครอบครัว (หมายเลข 3 นีเ้ ป็นเลขแหง่ เงารกั เงารา้ ง) ถ้า จะลงทุนทำธุรกิจ ไม่ควรที่จะร่วมหุ้นหรือไว้ใจบริวารให้มากนัก อย่าเป็นนักบุญให้ผู้อื่นจนเกิดเป็นความทุกข์ ให้กับตนเอง และหากช่วยเหลือใครแล้ว จะหวังผลคืนได้ยาก เพราะหมายเลข 3 เป็นเลขของผู้ให้ๆอย่างเดียว แตเ่ มือ่ ผ่านปญั หาทง้ั ปวงไปแลว้ อกี ไมน่ านจะมคี วามสขุ ความสบายกบั ครอบครัว เลข 4 แสดงถึงเลขแห่งจักรพรรดิ์ จะมีคนคอยเป็นห่วง จะเป็นที่รักใคร่ของผู้สูงอายุ แต่จะมีความ เหน็ดเหนื่อยมากอยู่เหมือนกนั เพราะคำว่า \"แม่ทัพ\"ก็รู้ความหมายอยู่แล้ว ไม่มีแม่ทัพคนใดไม่มผี ลงานแล้วจะ ได้เป็นแม่ทัพหรอกนะ แต่หมายเลข 4 เป็นเลขแห่งความสำเร็จ ความยิ่งใหญ่ ความก้าวหน้า ความท้าทาย หากจะให้มีความเจริญก้าวหน้าเร็วๆ ก็ต้องกล้าทำ กล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจ แต่ระวังจะมีเพศตรงข้ามหลง รัก และเข้ามาขอสวามิภกั ดิ์ด้วย และไม่ต้องเป็นห่วง จะทำอะไรก็จะมีคนคอยสรรเสรญิ เยนิ ยอ แต่ก่อนที่จะมี การเยนิ ยอก็จะมกี ารติฉินนินทาก่อน หากอดทนไม่สนใจ ไม่แครค์ วามรสู้ ึกของคนอื่นได้ละก็ ชวี ิตนี้รวยใจสบาย กายอยา่ งแน่นอน เลข 5 แสดงถึงเลขแห่งเวทมนต์ และเสน่หากับเพศทั่วไป มีความหยิ่งทะนงในตัวเอง ยอมก้มหัวให้ ผู้อื่นได้แค่กาย แต่ใจนั้นไม่ยอมใคร เป็นที่ปรึกษาผู้อื่นได้ดี แต่ตนเองยามเดือดร้อนหาใครช่วยปรึกษาด้วยน้นั ชา่ งยากมาก เพราะหมายเลข 5 จะมีความสบายกายแตท่ กุ ข์ใจอยู่เรื่อย เพราะคิดมากจนเกินเหตุ และจะเป็นที่ รักใคร่ของญาติมิตร หากดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเอกสารจะประสบความสำเร็จดี มีชื่อเสียง แต่ไม่ว่างานด้าน ไหนๆ หมายเลข 5 ทำได้หมด แต่จะต้องมีเวลาให้กับเรื่องส่วนตัวบ้าง เช่น เรื่องความรักอย่าปล่อยให้นาน เกนิ ไป จะไดพ้ ง่ึ พาอาศัยบุตร-บรวิ ารในภายภาคหนา้ จะมคี วามพอดกี ับชีวติ เกดิ ความสุขตลอดกาล

40 เลข 6 แสดงถึงคนที่มีดีอยู่ในตัว แต่ไม่ค่อยยอมนำออกมาใช้ให้เป็นประโยชน์ อย่าปล่อยเวลากับ ความคิดให้มากนัก หมายเลข 6 เสน่ห์อยู่ที่ \"เงา\"ของตนเอง จะมีคนรักใคร่เอ็นดูทั้งเด็กและผู้ใหญ่ แต่ต้อง แต่งตัวให้เกิดจุดเด่นแก่ตนเอง และมีจิตสัมผสั เหนือธรรมชาติ หากได้นั่งสมาธิบำเพ็ญศีลจะมบี ารมสี ูง ผู้คนจะ รักใคร่เอ็นดู จะทำอะไรก็ล้วนแต่ประสบความสำเร็จดีทั้งสิ้น หมายเลข 6 ต้องลดโทนเสียงลงอีก เพราะโทน เสียงนนั้ บง่ บอกถึงอำนาจ ความยิง่ ใหญ่เกินตัว ไม่ไพเราะแก่ผไู้ ดย้ ิน ผใู้ หญร่ ักใคร่เอ็นดสู นบั สนุนในดา้ นการงาน เมือ่ เกิดปญั หาใดๆ ตนเองมักจะเอาตัวรอดไดเ้ สมอ จะมคี วามสุขในบั้นปลาย เลข 7 อย่าปล่อยเวลาให้เสียไปกับคนอื่นให้มากนัก และอย่ายึดติดอยู่กับที่ เพราะหมายเลข 7 เป็น หมายเลขที่ต้องเดินทางเพื่อทำการค้า เป็นไกด์ หรือทำงานที่ต้องมีการเจรจาอยู่ตลอดเวลา จะทำให้ประสบ ความสำเรจ็ ระวังจะมปี ญั หาเรอื่ งรักๆ ใครๆ่ เกิดข้นึ ในครอบครัว หรือเร่ืองรกั 3 เสา้ เกดิ ข้นึ ในชีวติ คู่ และปญั หา ต่างๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ในชวี ิตคณุ ก็ไม่ตอ้ งวิตกใหม้ ากนัก เพราะทุกอย่างจะคล่ีคลายไปได้ด้วยดี การเงินถึงจะไม่คล่อง บ้างบางครั้ง แต่ก็ไม่ใช่ปัญหา เพราะหมายเลข 7 เป็นเลขที่ส่งลาภผลอยู่เนอื งๆ หากผู้ใดท่ีได้หมายเลข 7 ละก็ ต้องยอมเหนื่อยหน่อยน่ะในระยะต้นๆ และอีกไม่นานจะมีความสุข โชคลาภเพิ่มพูน และจะได้รับความสุขกับ มติ ร-บริวาร เลข 8 แสดงถึงคนมีบุญบารมี และวาสนาดี มีชื่อเสียงให้คนทั้งหลายได้ประจักษ์ แต่ต้องหมั่นเรียนรู้ เร่งศึกษา อย่าอยู่นิ่ง กล้าเปิดเผย กล้าทำ กล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจ รีบไขว่คว้า แล้วหน้าที่การงานที่ทำจะ ได้ผลดีเป็นที่พอใจ และผู้ใหญ่จะให้ความช่วยเหลือ อย่าหลงใหลมัวเมาในกิเลสตัณหาให้มากนัก อย่าสนุกจน ลืมครอบครัว แล้วบั้นปลายชีวิตจะมีฐานะดี เป็นที่พอใจของวงศ์ตระกูล มีชื่อเสียงเป็นที่นับถือของคนทั่วไป (แตต่ ้องขยันใหม้ ากๆนะ) เลข 9 แสดงถงึ อำนาจ ความยิ่งใหญ่ หากเป็นผนู้ ำจะเจริญกา้ วหน้า ทำงานดว้ ยสมอง เป็นนักพูดหรือ นักบรรยายจะมีชื่อเสียงโด่งดัง แต่หน้าที่ที่เหมาะคือผู้เผยแพร่ศาสนา จะมีผู้คนยกย่องสรรเสริญ และยังมีจิต สัมผัสเหนอื คนทั่วไป บางครัง้ สามารถรู้เหตกุ ารณ์ลว่ งหน้า ใครได้หมายเลข 9 จะเปน็ ผู้อยู่เหนือลิขิตสวรรค์ จะ ทำอะไรกส็ ามารถประสบความสำเรจ็ ได้ดว้ ยตนเอง แต่มีขอ้ เสียเพราะหมายเลข 9 เปน็ เลขแหง่ คณุ ความดี หาก ทำในส่งิ ไม่ดี ผิดกฎหมาย ผิดศลี ธรรม หรือทำใหผ้ ู้อ่ืนเดือดร้อน จะไดร้ ับผลกรรมซ่ึงจะหนักกว่าผู้อ่ืนหลายเท่า และจะต้องระวังเรือ่ งชู้สาวใหม้ าก อย่าใจอ่อน จะนำไปส่คู วามเดือดรอ้ น เพราะจะมเี สนห่ ์ต่อเพศตรงข้ามและผู้ พบเห็น

41 ใบงาน เรอ่ื งกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น “เกมพยากรณบ์ ตั รประชาชน” ชอ่ื – สกลุ .....................................................................................ระดบั ชนั้ .......................... 1.ผลลพั ธข์ องบตั รประชาชน คือ ......................................................................................................................... 2.ฉันมีข้อดี คอื ...................................................................................................................... .............................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ...................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 3.ข้อควรพฒั นา คอื .......................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................................ ............. ..................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ...................................................................................................................................................... ....................... 4. จรงิ ๆแลว้ ฉันเป็นคน ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ........................................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................ ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................

42 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 การทำถุงหอมสมนุ ไพร

43 ใบความร้ทู ่ี 3 เร่อื ง การทำถุงหอมสมุนไพร สมุนไพรนีม้ ีคา่ มาก พระเจ้าอย่หู ัวทรงฝากให้รกั ษา แตป่ ยู่ ่าตายายใชก้ นั มา ควรลกู หลานร้รู กั ษาใชส้ ืบไป เป็นเอกลกั ษณข์ องชาติควรศึกษา วิจัยมาประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมยั รปู้ ระโยชนร์ ู้คณุ โทษสมุนไพร เพือ่ คนไทยอยรู่ อดตลอดกาล การแพทยแ์ ผนไทย ยาจากพืชสมุนไพรเป็นมรดกทางวฒั นธรรมจากธรรมชาติ อนั มีคา่ ของย่ิงของเราชาว ไทย ท่ีสบื ทอดกันมานานหลายศตวรรษ ตอ่ มาเมื่อมกี ารนำระบบการแพทย์ทางตะวนั ตกเข้ามาใช้อย่างแพรห่ ลาย ทำใหก้ ารแพทย์แผนไทยค่อย ๆ เลอื นหายไปจากความทรงจำของเรา จากสภาพของเศรษฐกจิ ในยุคปัจจบุ ัน ประเทศของเราต้องมีการใชจ้ า่ ยเงนิ ทองอยา่ งประหยัดและค้มุ ค่า ป้องกันการไหลออกของเงนิ ลดการขาดดลุ การค้ากับตา่ งประเทศ ดงั น้ัน….ถึงเวลาแล้วทเ่ี ราคนไทยจะต้องช่วยชาติ หนั กลบั มาสนใจภูมิปญั ญาพนื้ บา้ น ใช้พืชสมนุ ไพรเป็นทางเลอื กในการดูแลสขุ ภาพ ทไี่ ม่มองแบบแยกสว่ น และ คำนงึ ถงึ ทกุ มิติทเ่ี กีย่ วข้องเป็นองค์รวมเพ่ือดำรงคงไว้ และสืบสานพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้คงอยตู่ อ่ ไปอยา่ งยั่งยนื ซึง่ หากจะกล่าวไปแลว้ การใช้ยาสมุนไพรกม็ ิไดแ้ ตกต่างไปจากการใช้ยาแผนปจั จบุ ัน ในแงว่ ัตถปุ ระสงค์เพ่ือ รกั ษาอาการของโรค แตจ่ ะแตกต่างในเร่ืองรายละเอยี ดและวธิ ีการใช้ยา และสิง่ ที่ต้องจำไว้ในการดูแลสขุ ภาพ คือ ยา มไี ว้รักษาโรคหรืออาการทางร่างกายเทา่ นน้ั ไมร่ วมถงึ ด้านจิตใจและสิ่งแวดล้อม การมีสขุ ภาพดีอย่างแทจ้ ริง จะตอ้ ง ดีทง้ั ด้านร่างกาย จติ ใจ และส่ิงแวดล้อม ดงั คำกลา่ วทีว่ า่ \"แมจ้ ะมยี าดีและวิเศษสักเพียงใด หากผู้ปว่ ยส้ินหวงั หมด กำลงั ใจทจ่ี ะอยูห่ รือต่อสู้ กไ็ ม่อาจช่วยใหร้ อดได้\" ในทางตรงกนั ขา้ มบางคนเปน็ โรคร้ายแรง แตม่ ีกำลังใจที่จะต่อสู้ ได้รับความรัก ความอบอ่นุ ก็อาจมีชีวิตรอดได้เช่นกัน

44 ความหมาย ตามพจนานุกรมของราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 สมนุ ไพร น. ผลติ ผลธรรมชาติได้จากพชื สัตว์ แร่ธาตุ ท่ีใชเ้ ป็นยาหรอื ผสมกบั สารอ่นื ตามตำรบั ยา เพ่ือ บำบดั โรค บำรุงร่างกาย หรือใชเ้ ป็นยาพิษ เชน่ กระเทยี ม นำ้ ผึง้ รากดิน(ไส้เดือน) เขากวางออ่ น กำมะถัน ยางน่อง โลต่ นิ๊ ตามพระราชบญั ญัตยิ า พ.ศ.2510 \"สมุนไพร เป็นยาที่ได้จากพืช สตั ว์ หรอื แร่ธาตุ ซ่งึ ได้ผสมปรุงแปรสภาพ\" พชื สมุนไพร การใช้พืชสมนุ ไพรในปจั จุบัน คือการนำเอาสว่ นต่าง ๆ ของพืช มาใช้ โดยมีวิธีการเก็บ การแปรสภาพ และ การเก็บรักษา ดังนี้ ช่วงการเกบ็ ราก เหงา้ (หัว) ใหเ้ กบ็ ช่วงทพี่ ชื หยดุ เจริญเตบิ โต ใบดอกร่วงหมด หรือช่วงต้นฤดหู นาวถงึ ปลายฤดู ร้อน ใบ กง่ิ ควรเกบ็ ชว่ งทพี่ ชื เจริญเตบิ โตมากที่สดุ หรือบางชนดิ อาจระบชุ ่วงเวลาการเกบ็ ท่ี ชัดเจน ดอก โดยทวั่ ไปเก็บในชว่ งดอกเร่มิ บาน ผล สามารถเกบ็ ไดห้ ลากหลาย แล้วแต่ชนิดของพืช เช่นชว่ งผลยงั ไม่สุก หรือชว่ งท่ีผล แก่เตม็ ทีแ่ ลว้ เมลด็ สามารถเกบ็ ไดห้ ลากหลาย แลว้ แต่ชนิดของพชื เช่นช่วงผลยังไม่สกุ หรือช่วงท่ผี ล เปลือกต้น แก่เตม็ ท่ีแลว้ เปลือกราก ลำตน้ โดยมากเก็บระหวา่ งชว่ งฤดรู อ้ นตอ่ กับฤดฝู น โดยมากเก็บระหว่างชว่ งฤดรู อ้ นต่อกับฤดูฝน ควรเก็บช่วงที่พืชเจริญเตบิ โตมากท่ีสดุ หรือบางชนดิ อาจระบชุ ่วงเวลาการเกบ็ ที่ ชัดเจน การแปรสภาพ ทำได้โดยการหนั่ ผึง่ แดด ผ่ึงในร่ม อบแห้ง การเกบ็ รกั ษา

45 ก่อนเก็บจะต้องแน่ใจวา่ พืชสมนุ ไพรเหล่านัน้ แหง้ สนทิ เพอ่ื ป้องกนั การขึน้ รา และการเปลย่ี นแปลง ลกั ษณะ โดยแบ่งแยกการเกบ็ ใหเ้ ปน็ สดั สว่ น ในท่ีซ่งึ หนอน หนู หรอื แมลงต่าง ๆ ไม่สามารถมาทำลายได้ ข้อปฏิบัติในการใชส้ มนุ ไพร ใชใ้ ห้ถูกต้น ใชใ้ หถ้ ูกส่วน ใชใ้ ห้ถูกขนาด ใชใ้ ห้ถูกวธิ ี ใช้ใหถ้ ูกกับโรค ใช้ใหถ้ ูกต้น เพราะสมนุ ไพรมีชือ่ พ้องและซำ้ กันมาก และบางทอ้ งถนิ่ ก็เรียกไม่เหมือนกนั ผ้ใู ชจ้ ึงตอ้ งรจู้ ัก สมุนไพรเปน็ อย่างดี ลำต้นอย่างใด มีลกั ษณะแบบไหน เรยี กชอื่ วา่ อะไร ใช้ให้ถูกสว่ น ทั้งนี้เพราะตน้ สมุนไพรไม่ว่าเป็นราก ดอก ใบ เปลือก ผล เมล็ด จะมีฤทธ์ิต่างกนั จะต้องรู้ ว่าส่วนใดใช้เปน็ ยาได้ ใชใ้ หถ้ กู ขนาด พบว่าหากใช้สมนุ ไพรน้อยไปกร็ ักษาไม่ได้ผล มากไปกอ็ าจเปน็ อนั ตราย หรือเกิดพิษต่อ รา่ งกายได้ ใชใ้ หถ้ กู วิธี พืชสมุนไพรบางชนดิ จะต้องใช้สด บางชนดิ ตอ้ งใชป้ นกบั เหล้า บางชนดิ ตอ้ งต้ม จึงต้องรวู้ ธิ ใี ช้ และใชใ้ ห้ถูกวธิ ี ใชใ้ ห้ถกู กับโรค เช่นหากทอ้ งผกู ต้องใช้พชื ที่มฤี ทธเิ์ ป็นยาระบาย ไม่ใชย้ าที่มีฤทธ์ิฝานสมาน เพราะจะทำ ให้ท้องผูกยง่ิ ขึน้ ความหมายท่คี วรรู้ หมายถงึ ใบไม้ที่จวนแก่ ใบเพสลาด ่ ท้งั หา้ หมายถึงส่วนของราก ต้น ผล ใบ ดอก เหลา้ แอลกอฮอล์ หมายถึงเหล้าโรง (28 ดีกรี) นำ้ ปนู ใส หมายถงึ แอลกอฮอลช์ นิดสีขาว สำหรบั ผสมยา ห้ามใช้แอลกอฮอล์ชนิดจดุ ไฟ ต้มเอานำ้ ดม่ื หมายถึงนำ้ ที่ทำขนึ้ โดยการนำปนู ทีก่ ินกับหมาก มาละลายน้ำสะอาดตงั้ ทิ้งไวใ้ นภาชนะแล้ว ชงเอานำ้ ดืม่ นำรินนำ้ ใสท่อี ยดู่ ้านบนมาใช้ 1 กำมือ หมายถึงต้มสมุนไพรดว้ ยการใส่นำ้ พอประมาณ หรอื สามเท่าของปริมาณทต่ี อ้ งการใช้ ตม้ พอ 1 กอบมือ เดอื ดอ่อน ๆ ใหเ้ หลือ 1 สว่ นจาก 3 ส่วน ข้างต้น รินเอาน้ำดมื่ ตามขนาด หมายถึงใส่น้ำเดือดหรือนำ้ ร้อนจัด ลงบนสมนุ ไพรที่อย่ใู นภาชนะเปิดฝาทิ้งไวส้ ักครู่จงึ ใชด้ ่ืม มีปริมาณเทา่ กบั สห่ี ยบิ มือหรือสองฝา่ มือ หรอื หมายความถึงปรมิ าณของสมนุ ไพรท่ไี ด้จาก การใช้มือเพียงขา้ งเดียวกำโดยให้ปลายนว้ิ จรดอ้งุ มือโหยง่ ๆ มปี รมิ าณเท่าสองฝ่ามอื หรือหมายความถึงปริมาณของสมุนไพรท่ีไดจ้ ากการใชม้ ือสองข้าง กอบเข้าหากันให้ส่วนปลายของน้วิ แตะกัน 1 ถ้วยแก้ว มีปรมิ าตรเท่ากับ 250 มล. 1 ถว้ ยชา มีปรมิ าตรเท่ากบั 75 มล. 1 ช้อนโต๊ะ มปี ริมาตรเทา่ กบั 15 มล. 1 ช้อนคาว มีปริมาตรเท่ากับ 8 มล. 1 ชอ้ นชา มปี ริมาตรเทา่ กับ 5 มล.

46 สมุนไพร 10 ชนดิ สรรพคุณเป็นยา รกั ษาโรคได้ ควรมตี ิดไวป้ ระจำบ้าน 1. ใบเตย 2. ขิง

47 3. ตะไคร้ 4.ชะพลู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook